a day BULLETIN 628

Page 1

629 628 627

TODAY EXPRESS PRESENTS

03 FEB 2020

S P A C E F O R L I F E , CITIES FOR PEOPLE


CONTENTS 628

P6

IN CASE YOU MISSED IT ใครคือคนเผาป่า? ไม่สา� คัญเท่าเรามีสว ่ น ในการเผามากขนาดไหน

629 628 627

TODAY EXPRESS PRESENTS

03 FEB 2020

P8

THE CONVERSATION ‘มองเมื อ ง’ ด้ ว ยสายตาของ เกี๊ ย ง ่ วชาญ วงเฉลียง ในฐานะสถาปนิกผูเ้ ชีย ด้านการออกแบบบ้านและสิ่งก่อสร้าง ให้มีชีวิตชีวา

P18

THEY SAID ‘วิง ่ สร้างเมือง’ เพื่อการพัฒนา ‘สร้าง เมือง’ อย่างเป็นรูปธรรมและยัง ่ ยืน

P22 S P A C E F O R L I F E , CITIES FOR PEOPLE

เนื่องเพราะ ‘เกี๊ยง’ - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ เป็ นที่จดจ�า ่ วชาญในการออกแบบ ในสองบทบาทหลักๆ นัน ่ คือการเป็นสถาปนิกผูเ้ ชีย ่ เป็นอาชีพหลักของเขา และการเป็นหนึง ่ ในสมาชิกของวงดนตรี บ้าน ซึง ที่หลายคนคิดถึงอย่างเฉลียง ท�าให้เราอยากได้โมเมนต์ของปกฉบับนี้ ่ ม ่ น ่ ถือ และนักดนตรี ทีด ู ม ี ด ู้ ความสมดุลของสองฝั่ ง ทัง ู า่ เชือ ้ สถาปนิกทีด ่ อ ๊ ง’ ทีเ่ ห็นบนปกฉบับนีจ ้ ง ทีด ู บอุน ่ ดังนัน ึ มีรอยยิม ้ ภาพ ‘พี่เกีย ้ ทีเ่ ป็นมิตร แต่ก็ยังแฝงความมีมาดตามแบบฉบับของสถาปนิก เหมือนกับสิ่งที่เรา สนทนากับเขาในประเด็นของ ‘ความสมดุล’ ระหว่างสิ่งก่อสร้างกับ พื้นที่สาธารณะที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตคนเมืองในฉบับนี้

FEATURE คุณคิดว่ากรุงเทพฯ มีพ้ืนที่สาธารณะ มากพอส�าหรับ ‘การมีชีวิต’ ของคุณ หรือเปล่า?

P28

SPACE & TIME เยี่ ย มชม NARIT Planetarium เพื่อพบกับเหตุผลว่าท�าไมดาราศาสตร์ ไม่เคยหลุดไปจากวงโคจรของชีวต ิ เรา

P30

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและ สังคมผ่านสายตาของ โตมร ศุขปรีชา

TEAM ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการอ�านวยการ นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ทีป ้ ิมพ์โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร โตมร ศุขปรีชา บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร สุธามาศ ทวินน ั ท์ นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ พิทยาเวทย์ ศักดิส ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตัง ์ ิทธิ์ ไม้ล�าดวน ่ ออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา พิสจ ู น์อก ั ษร/ผูด ้ แ ู ลสือ ่ อง บรรณาธิการดิจต ิ อลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ิ สกุล กวินนาฏ หัวเขา ทีป ่ วง รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ศรวณีย์ ศิรจ ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน ธนโชติ ทองรัก ปิ่ นเพชร ภูจ่าพล คุลิกา แก้วนาหลวง ฟ้าใส ผลผลาหาร ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com 02 2


หนั ง สื อ บนเว็ บ ไซต์ ล ด 10% ทุ ก รายการ สมั ค รสมาชิ ก นิ ต ยสาร a day และ a day BULLETIN ในราคาพิ เ ศษ สมั ค รสมาชิ ก abooker รั บ ส่ ว นลด on top ทุ ก สิ น ค้ า อี ก 5% ค่ า จั ด ส่ ง ราคามิ ต รภาพ หนั ง สื อ ไปหาถึ ง ที่ มี ข องแถมเพี ย บ!

godaypoets.com @


ส�ำรวจปริมำณพื้นที่สีเขียวสำธำรณะในกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ท่ว ั โลก ปัจจุบน ั กรุงเทพมหานครมีพน ื้ ทีส ั้ หมดทีม ่ เี ขียวอยูเ่ พียง 39.2 ตารางกิโลเมตร จากขนาดพืน ้ ทีท ่ ง ่ ากถึง 1,569 ตารางกิโลเมตร เกิดอะไรขึน ้ กับเมืองหลวง ของเรา แล้วประเทศอืน ่ เขามีปัญหาเรือ ่ งพื้นทีส ่ าธารณะสีเขียวเช่นนีเ้ หมือนกรุงเทพฯ บ้างหรือเปล่า เราชวนคุณมาดูตัวเลขต่อไปนี้ เพื่อร่วมวิเคราะห์ สถานการณ์พื้นทีส ่ าธารณะสีเขียวของเมืองไทยไปพร้อมๆ กัน

3 เมืองที่มีพ้ืนที่สีเขียวสำธำรณะ มำกที่สุดในโลก

่ ีพื้นทีส ่ ีเขียวสำธำรณะ 3 เมืองทีม น้อยที่สุดในโลก

เรือ ่ ง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

54%

47%

กรุงมอสโก ประเทศ รัสเซีย มีพน ื้ ที่ สีเขียวมากทีส ุ ่ ด ในโลก โดยวัด จากประชากร 12.9 ล้านคน

อันดับที่ 2 คือสิงคโปร์ ทีม ี ระชากรต่อพืน ่ ป ้ ที่ สีเขียวเพียง 5.61 ล้าน คนเท่านัน ้

1

2

2%

2%

2.5%

เมืองดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ต่อจ�านวนประชากร 3.14 ล้านคน

กรุงอิสตันบูล ประเทศตุรกี ต่อจ�านวนประชากร 15 ล้านคน

เมืองมุมไบ ประเทศ อินเดีย ต่อจ�านวน ประชากร 18 ล้านคน

3

46% พืน ้ ทีส ่ เี ขียวของเมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ต่อจ�านวนประชากร 5.1 ล้านคน

13% จ�ำนวนพื้นที่สีเขียว ่ ระชำชน ในกรุงเทพฯ ทีป สำมำรถเข้ำไปได้ใน ระยะ 400 เมตร

กรุงเทพ ฯ

17%

พื้นที่สีเขียวจำก ภำพถ่ำยดำวเทียม ที่แสดงให้เห็นว่ำ กรุงเทพฯ มีพื้นที่ ปกคลุมไปด้วย ร่มไม้เท่ำใด

องค์การอนามัยโลก

สถำนกำรณ์พื้นที่สำธำรณะ สีเขียวในกรุงเทพฯ

6.4

พืน ้ ทีส ่ เี ขียวคิดเป็นตารางเมตร ต่อคนกรุงเทพฯ จากพืน ้ ทีส ่ เี ขียว ทัง ้ หมด 39.2 ตารางกิโลเมตร ซึง ่ ตามหลักองค์การอนามัยโลก มีคา่ เฉลีย ่ อัตราพืน ้ ทีส ่ เี ขียว ต่อจ�านวนประชากรในเมือง ควรอยูท ่ ่ี 9 ตารางเมตรต่อคน

20

ที่มา : www.mnn.com, www.mnn.com, www.waymagazine.org

DATABASE

THE PERCENTAGE OF PUBLIC GREEN SPACE AROUND THE WORLD


REPORT

LIFE

LIFESTYLE

PEOPLE

CULTURE

THOUGHT


เรือ ่ ง : อรุณวตี รัตนธารี

IN CASE YOU MISSED IT

2

3

WHY: ใครคือคนเผา? ไม่ส�าคัญเท่าเรามีส่วนในการเผามากขนาดไหน

ภำพ : พงศ์ศิลา ค�ามาก

ข ณ ะ ค น ก รุ ง เ ท พ ฯ ก� ำ ลั ง เ ผ ชิ ญ ฝุน ่ ละออง PM 2.5 มำตลอดหลำยสัปดำห์ และดูเหมือนว่ำจะยังคงเรือ ้ รังอีกนำนนับเดือน หำกประเมินจำกมำตรกำรรับมือของภำครัฐ ขณะเดียวกัน อีกหลำยพื้นทีข ่ องประเทศไทย ก็เริ่มมีกลิ่นควันจำงๆ ลอยมำตำมอำกำศ เช่นกัน และคำดว่ำกลุ่มควันเหล่ำนั้นจะยิ่ง รุนแรงขึ้นเท่ำทวีตำมสภำพอำกำศแล้งระอุ เมือ ่ ย่ำงเข้ำสู่หน้ำร้อนทีก ่ �ำลังมำถึง ข้ อ แตกต่ ำ งส� ำ คั ญ ระหว่ ำ งปั ญหำ หมอกควันของ 2 พื้นทีน ั้ นอกจำกอยูต ่ รง ่ น แหล่ ง ก� ำ เนิ ด ควั น อั น ขึ้ น อยู่ กั บ ปั จ จั ย ทำง ภูมศ ิ ำสตร์และรำยละเอียดแวดล้อม ยังอยูต ่ รง ระดับกำรตระหนักรูถ ้ ง ึ ปัญหำของสังคมทีม ี อ ่ ่ ต พืน ู ย์กลำงทำงเศรษฐกิจและพืน ้ ทีศ ่ น ้ ทีห ่ ำ่ งไกล โดยเฉพำะพื้ น ที่ ห่ ำ งไกลในระดั บ ชำยขอบ ซึง ิ ่ น่ำสนใจว่ำบริเวณดังกล่ำวนัน ้ อยูใ่ กล้ชด กับปัญหำมำนำนกว่ำในเมืองหลวงหลำยเท่ำ นำนจนถึ ง ขนำดสุ ด ท้ ำ ยกลำยเป็ น ควำมเคยชิน... อำจเป็นควำมเคยชินเดียวกับทีค ่ นเมือง รูส ้ ก ึ กับปัญหำรถติดแสนสำหัสมำหลำยสิบปี เป็ นควำมเคยชินในภำวะจ�ำยอมต่อปั ญหำ อันซับซ้อนเชือ ่ มโยงกับโครงสร้ำงทำงสังคม ทีด ู ล้วยำกจะพบทำงออกในเร็ววัน ่ แ

ชีวิตที่ต้องจ�ำยอมต่อฝุ่นควัน

​“ทางสายการบินมีความจ�าเป็นต้องเลือ ่ นเทีย ่ วบิน ออกไปอย่ า งไม่ มี ก� า หนด​เนื่ อ งจากสภาพอากาศ ไม่เหมาะสมกับการเอาเครือ ่ งลงในขณะนี้” ​คอ ื ข้อความทีพ ่ นักงานต้อนรับของสายการบินหนึง่ บอกกับผู้เขียนราวกับเป็นเรือ ่ งปกติเมื่อต้นหน้าร้อน ปีกอ ่ น​ส�าคัญคือข้อความดังกล่าวเกิดขึน ้ ก่อนเวลาเรียก ขึน ้ เครือ ่ งเพียง​15​นาที​แต่เมือ ่ เหลือบมองสภาพอากาศ ภายนอกท่าอากาศยานจังหวัดแม่ฮอ ่ งสอนแล้วก็ได้แต่ ถอนหายใจ​เพราะทิวเขาด้านนอกถูกปกคลุมด้วยควัน หนาจนเป็นภาพพร่าเลือน​ทัง้ ทีข ่ ณะนัน ่ งวัน ้ เลยเวลาเทีย มาเพียงไม่กี่นาที ​ย่ิงเมื่อมองไปยังผู้โดยสารเที่ยวบินเดี ยวกั น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนในพื้นที่​ ส่วนมากกลั บไม่แสดง อาการร้อนอกร้อนใจอะไร​ราวกับเป็นเรือ ่ งสามัญของ การเดินทางในช่วงนี​้ ถึงขนาดทีผ ่ โู้ ดยสารชาวแม่ฮอ ่ งสอน คนหนึ่งเปรยว่า​“ถ้าในหน้าแล้ง​ซื้อตั๋วเครือ ่ งบินแล้ว ก็ต้องดูตั๋วรถตู้หรือรถทัวร์เผื่อเอาไว้ด้วยเลย”​ก่อน แนะน�าให้ผเู้ ขียนเปลีย ่ นวิธก ี ารเดินทางเป็นรถประจ�าทาง แทนการรอเทีย ่ วบินถัดไปทีอ ่ าจไม่มาถึงในวันสองวัน ​ปญ ั หาหมอกควันในจังหวัดภาคเหนือตอนบน ร้ายแรงถึงขนาดนั้น​ ระดับที่กลายเป็นเรือ ่ งสามัญที่ ประชากรในพืน ้ ทีต ่ อ ้ งจ�ายอมใช้ชว ี ต ิ กันไปทัง้ ทีอ ่ ากาศ ทีใ่ ช้หายใจเข้าขัน ้ มลพิษ​ราวกับเป็นปัญหาทีไ่ ร้ทางออก​ กระทัง่ ต่างฝ่ายต่างจนใจในการหาค�าตอบ​ต้องก้มหน้า เยียวยาตัวเองไปจนกว่าจะพ้นฤดูควัน ​ถา ้ ไล่เรียงจากอดีตจนปัจจุบน ั ​จะพบว่าปัญหา

หมอกควันนั้นซับซ้อนและเรือ ้ รังก่อนทีเ่ ราจะหันกลับ มาสนใจจนกลายเป็นกระแสหลายสิบปี​เพียงแค่ใน วันนี้มันหนักหน่วงและเสียงดังขึ้นเรือ ่ ยๆ​จากความเดื อ ดร้อ นที่ ก ระจายสู่ ค นวงกว้ า งซึ่ ง เสี ย งดั ง กว่ า ประชากรในพื้นที่ห่างไกลก็เท่านั้น

จำกไฟกองเล็กๆ ทีจ ่ ด ุ สูผ ่ ลกระทบในวงกว้ำง

​จริง อยู่ ที่ ค วั น ส่ ว นใหญ่ เกิ ด จากฝี มื อ มนุ ษ ย์​ (ควันจากการเผาไหม้โดยแสงแดดได้รบ ั การพิสจ ู น์แล้ว ว่าเกิดขึน ้ ยากและน้อยมาก)​ทว่าค�าถามส�าคัญอาจไม่ใช่ ว่ามนุษย์คนไหน?​เมือ ่ พืน ้ ทีเ่ กิดควันนับล้านไร่กว้างเกินกว่า จ ะจับมือใครดม​ แต่คือการท�าความเข้าใจเบือ ้ งหลัง การตัดสินใจเผาของเขาเหล่านัน ้ ด้วยสายตาเป็นธรรม​ โดยไม่ลืมว่าผู้ได้รบ ั ผลกระทบจากควันไฟไม่ใช่แค่ ชาวเรา​แต่รวมถึงคนทีเ่ ราเรียกว่าชาวเขาด้วยเช่นกัน ​จากประสบการณ์ตรงของผูเ้ ขียนทีท ่ า � งานและ ใกล้ชด ิ กับกลุม ่ ชาติพน ั ธุม ์ าระยะหนึง่ ​ยืนยันได้วา่ การเผา บนที่สูงนั้นมีหลากหลายรู ปแบบขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ ทีแ ่ ตกต่างกัน​ยิง่ ไปกว่านัน ้ ยังพูดได้วา่ การเผา​‘ภายใน ชุมชน’​ส่วนมากค่อนข้างรัดกุม​เนือ ่ งจากเป็นกระบวนการ หนึง่ ในการท�าไร่หมุนเวียน​(Land​rotation​farming)​ หรือการท�าเกษตรเชิงวัฒนธรรมทีต ่ ้องอาศัยการเผา เพื่อเปิดหน้าดินและเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมก่อน เริม ่ ต้นฤดูกาลเพาะปลูกก่อนย่างเข้าหน้าฝน​โดยการเผา รูปแบบนี้อาศัยการสังเกตธรรมชาติในการประเมิน ความเสีย ่ ง​ทัง้ ทิศทางลม​ความชืน ้ ในอากาศ​ปริมาณ น�าฝนในรอบปี​และหากตัดสินใจเผาก็ตอ ้ งท�าแนวกันไฟ

06


ที่น่ำตกใจคือคนเผำเป็นมืออำชีพ ที่วำงแผนมำอย่ำงดีและมีเป้ำหมำย ชัดเจน

​“ระยะหลังคนเผาช�านาญขึ้นเรือ ่ ยๆ​ หลักฐานที่พบบริเวณจุดเกิดเหตุไม่ได้มีแค่ ไม้ขด ี ไฟหรือซากเชือ ้ เพลิงธรรมดาอีกต่อไป แล้ ว ​แต่ เป็ น ฉนวนที่ ท� า ขึ้ น ส� า หรับ เผาป่ า โดยเฉพาะ​ครัง้ หลั ง สุด ที่เจอคื อเชื้ อเพลิ ง อัดแท่งแบบที่จะค่อยๆ​ไหม้ทีละนิดเพื่อยื้อ เวลาให้คนเผาหลบหนีออกนอกพืน ้ ทีก ่ ่อนที่ ไฟจะลุกลาม​แสดงว่าคนเผาเป็นมืออาชีพ​ ท�างานอย่างมีระบบและหวังผลชัดเจน” ​ทศเล่าถึงสถานการณ์ที่เขาและกลุ่ม นักดับเพลิงอาสาลงความเห็นกันว่าน่าเป็นห่วง​ ด้วยไม่รูว้ า ่ แรงจูงใจอะไรทีท ่ า � ให้ใครสักคน ตั้งใจในการเผาถึงขนาดนี้ ​ยังไม่นับความเหลื่อมล�าด้านความรู ้ และความบกพร่องของชุดข้อมูลทีผ ่ ม ู้ อ ี า � นาจ ใช้เป็นบรรทัดฐานในการจัดการกับปัญหา

ISSUE 628

03 FEB 2019

ควั น ไฟอย่ า งเข้ ม งวด​ทั้ ง งานวิ จั ย ที่ เน้ น

ศึกษาผลกระทบของควันมากกว่าวิเคราะห์ ปัญหาแบบองค์รวม​หรือข้อมูลเชิงสถิติที่ ขาดมิติท างวั ฒ นธรรม​สุ ด ท้ า ยต่ า งฝ่ า ย จึ ง ขาดความเข้าใจกันและกัน ​ฉะนัน ่ ถามว่า​‘หมอกควันภาคเหนือ ้ เมือ มาจากไหน?’​จึงไม่สามารถตอบได้ด้วย ค�าตอบเดียว​ไม่มีวาทกรรมใดใช้อธิบาย สาเหตุ ข องปั ญ หาหมอกควั น ได้ อ ย่ า ง ครอบคลุมหมดจด​ไม่ว่าจะเพราะชาวเขา ท�าไร่เลือ ่ นลอย​ชาวเขาเผาป่าเพือ ่ หาของป่า​ หรื อ เพราะการท� า เกษตรเชิ ง เดี่ ย วที่ มี นายทุ น ใหญ่ เป็ น เงาทะมึ น อยู่ เบื้ อ งหลั ง​ ก็ ไ ม่ ใช่ ค� า ตอบที่ จ ะได้ ค ะแนนเต็ ม จาก โจทย์ใหญ่ข้อนี้เสียทีเดียว

ปัญหำของ (ภู) เขำ แต่เรำก็มีส่วน เกี่ยวข้อง

​หากถอยกลับมามองในภาพกว้าง​ จะพบว่าต้นทางของปัญหาหมอกควันนั้น ล้วนมีรากจากปัญหาเชิงโครงสร้างทัง้ สิน ้ ​ ทั้งเรือ ่ งความเหลื่อมล�าจากการรวมศูนย์ ของอ�านาจการตัดสินใจและด�าเนินนโยบาย​ เรือ ่ งสิทธิใ์ นทีด ่ น ิ ท�ากิน​หรือเรือ ่ งผลประโยชน์ มู ล ค่ า มหาศาลระหว่ า งกลุ่ ม ทุ น และรัฐ ในระบบอาหารอุตสาหกรรม​แปลว่าการแก้ปญ ั หาเฉพาะจุดอย่างการออกมาตรการ ค วบคุ ม การเผาอย่ า งเข้ ม งวดย่ อ มลด

หมอกควันได้แค่เพียงชั่วคราว ​แ น ว ท า ง ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า อั น ซับซ้อนนี้ จึงอาจต้องตั้งต้นด้วยการมอง ให้เห็นภาพใหญ่​ว่าโจทย์ขอ ้ นีเ้ ราล้วนมีสว ่ น เกี่ ย วข้ อ งด้ ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น ​ไม่ ว่ า จะภาครัฐ​ ภาคอุ ต สาหกรรม​คนเมื อ ง​คนชนบท​ กลุ่มชาติ พันธุ์​รวมถึ งประเทศเพื่อนบ้าน ทีก ่ ลุม ่ ทุนไทยมีสว ่ นในการสนับสนุนให้เกิด การท�าเกษตรเชิงเดี่ยวเพิ่มขึ้นทุกวัน​และ พยายามหาทางออกอย่างมีส่วนร่วมโดย ควบรวมเอามิตด ิ า้ นวิถช ี ว ี ต ิ ​ความเหลือ ่ มล�า ทัง้ ด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมเข้ามาคิด หาค�าตอบอย่างไม่คาดโทษและไม่ทง้ิ ใคร ไว้ ข้ า งหลั ง ​ซึ่ ง บางครั้ง อาจต้ อ งอาศั ย การออกแบบนโยบายสาธารณะทีท ่ ก ุ ฝ่าย มีส่วนร่วมในเนื้ อหา​และส่งเสริมการท�า ความเข้าใจระหว่างคนแต่ละกลุ่ม ​ความเข้าใจทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ในวันทีเ่ รา ตระหนักว่าการบริโภคอาหารอุตสาหกรรม ก็เป็นส่วนหนึง่ ของปัญหาหมอกควันไม่มาก ก็น้อย​และการห้ามเผาทัง้ ทีน ่ ่ันคือวิถีหรือ การหารายได้เพียงไม่กี่ทาง​ก็ไม่ต่างอะไร จากการถูกห้ามใช้รถยนต์สว ่ นบุคคลทัง้ ที่ ระบบขนส่งสาธารณะยังไม่เอือ ้ ต่อการใช้ชวี ต ิ ในเมืองหลวง ​และสุดท้ายปัญหาคงเริม ่ คลี่คลาย เมือ ่ เราทุกคนมองว่า​‘ชาวเขา’​ก็คอ ื ​‘พวกเรา’​ เหมือนกัน​

ปัญหาหมอกควันในจังหวัดภาคเหนือตอนบนร้ายแรงถึงขนาดนั้น ระดับที่กลายเป็นเรื่องสามัญที่ประชากรในพื้นที่

จากชายป่ า หลายเมตร​พร้อ มจั ด เวรยาม เฝ้ากันข้ามวันจนกว่าจะแน่ใจว่าไฟมอดดับ​ แต่เมื่อชุมชนโอบล้อมด้วยผืนป่านับล้านไร่​ ก็ ย่ อ มมี ก ารเผาอี ก หลายรู ป แบบเกิ ด ขึ้ น ไกลสายตาด้วยเหมือนกัน ​อย่างที​่ ‘ทศ’​-​ชัยธวัช​จอมติ​ชาวปกาเกอะญอจากหมูบ ่ า ้ นห้วยหินลาดใน​จังหวัด เชียงราย​และนักดับเพลิงอาสาผูบ ้ ก ุ ป่าฝ่าควัน เข้าไปดับไฟป่ามานานนับสิบปี​บอกกับผูเ้ ขียน ระหว่างสนทนากันในงานเสวนาว่าด้วยเรือ ่ ง ปัญหาหมอกควันทางภาคเหนือเมื่อหลาย เดือนก่อน​ว่าเขาและคนในชุมชนก็ตอบไม่ได้ เช่นกันว่าใครคือมือเพลิง​เพราะการจุดไฟนัน ้ ใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที​แต่ กว่าคนในชุมชน จะรูต ้ ัวไฟก็ลุกลามหนักแล้ว ​“ส่วนหนึง่ ของไฟป่าเกิดจากการลักลอบ หาของป่าจริง​แต่จะเหมารวมว่าเป็นฝีมือ ชาวเขาทัง้ หมดไม่ได้​เพราะแต่ละชนเผ่าก็มี วิ ธี ก ารหาของป่ า โดยไม่ ใช้ ไฟกั น ทั้ ง นั้ น ”​ เขาเสริมถึ งข้อสังเกตในมุมคนที่อยู่กับป่า มานานว่า​ไฟป่าส่วนมากมักเกิดบริเวณป่า ทีอ ่ ยูใ่ กล้กบ ั ถนน​ซึง่ นั่นก็ทา � ให้เดาสาเหตุได้ หลายทาง​อาทิ ​การท� า เกษตรเชิ ง เดี่ ย ว​ โ ดยเฉพาะข้าวโพดที่รุกเข้ามาในพื้นที่ป่า เนื่ อ งจากปั ญ หากรรมสิ ท ธิ์ในที่ ดิ น ท� า กิ น​ จึ ง ต้ อ งตั ด ถนนเข้ า มาเพื่ อ การขนส่ ง ด้ ว ย​ และไฟก็มักลุกลามจากตรงนั้น​ทว่าคนท�า เกษตรเชิงเดีย ่ วก็ไม่จา � เป็นต้องอาศัยอยูท ่ ส ี่ งู เสมอไป​เมือ ่ ปัญหาทีด ่ น ิ ท�ากินและระบบเกษตร พันธสัญญานัน ้ ผูกโยงกับเกษตรกรไทยนับแสน ครอบครัว ​เขาส�าทับถึงอีกหลายแรงจูงใจในการเผา​ทั้งความขัดแย้งส่วนบุคคลเมื่อรัฐออก มาตรการลงโทษผู้น�าชุมชนหากเกิดไฟป่า ในช่วงเวลาห้ามเผา​หรือการเผาเพื่อรุกไล่ ทีด ่ ินก็มใี ห้เห็นอยูป ่ ระปราย​ทีส ่ า � คัญ​ไฟป่า ไม่ได้เกิดเฉพาะในฤดูรอ ้ นอย่างทีห ่ ลายคน เข้าใจ​แต่เกิดอยูเ่ รือ ่ ยไปตลอดทัง้ ปี​เพียงแค่ หนักหน่วงในช่วงอากาศร้อนแล้งจนได้รบ ั ผลกระทบเป็นวงกว้า ง​และนั่ น เท่ ากั บ ว่ า คนข้างบนย่อมเผชิญควันบ่อยกว่าคนข้างล่าง หลายเท่า

ต้องจ�ายอมใช้ชีวิตกันไปทั้งที่อากาศที่ใช้หายใจเข้าขั้นมลพิษ ราวกับเป็นปัญหาที่ไร้ทางออก

เ ป็ น หลุ ม ลึ ก รอบแปลงซึ่ ง เว้ น ระยะห่ า ง

07


เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์

ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร

T H E C O N V E R S AT I O N

08


S P A C E F O R L I F E ,

CITIES FOR PEOPLE issue 628

03 FeB 2020

เคยตั้งค�ำถำมหรือไม่ว่ำ เรำอยำกได้เมือง แบบไหน? ่ เมืองเจริญขึน ้ สิง เมือ ่ ก่อสร้ำงในรูปแบบตึก ทันสมัยสูงใหญ่ผุดขึ้นมำแทบทุกส่วนของเมือง ถนนขยำยแผ่ออก เพื่อให้รถยนต์วิ่งได้ แต่ในอีก มุมหนึ่ง ผู้อยู่อำศัยในเมืองใหญ่กลับต้องใช้ชีวิต ่ ก้ำวออกมำบนถนนก็ไม่มี อยูใ่ นห้องแคบๆ และเมือ ‘พื้นที่’ ที่จะสำมำรถให้ใช้ชีวิตอย่ำง ‘สำธำรณะ’ ได้มำกเพียงพอ อะไรคือ ‘พื้นที่สำธำรณะ’ กันแน่? เมื่ อ เมื อ งไร้ พื้ น ที่ ส ำธำรณะ ชี วิ ต ชี ว ำและ ควำมน่ำอยูข ่ องเมืองย่อมหำยไป เพรำะขำดไร้พื้นที่ ที่ ผู้ ค นจะได้ อ อกมำมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั น ทั้ ง ยั ง ริ บ ่ ข คุณภำพชีวต ิ ทีด ี องผูอ ้ ยูอ ่ ำศัยไปด้วยโดยไม่รต ู้ ว ั ส�ำหรับกรุงเทพฯ มีผลส�ำรวจบ่งชีว้ ำ่ เมืองหลวง ของเรำมีพ้ืนที่สำธำรณะ โดยเฉพำะ ‘พื้นที่สเี ขียว’ น้อยมำกอย่ำงน่ำใจหำย นัน ่ ย่อมส่งผลกระทบต่อ ‘สมดุล’ ที่ดีในกำรใช้ชีวิตของคนเมืองแน่ๆ ด้วยเหตุน้ี adB จึงชวนคุณมำ ‘มองเมือง’ ด้ ว ยสำยตำของสถำปนิ ก ผู้ เ ชี่ ย วชำญในกำรออกแบบบ้ ำ นอย่ ำ ง ‘เกี๊ ย ง’ - เกี ย รติ ศั ก ดิ์

เวทีวุฒาจารย์ หรือที่กลุ่มคนฟังเพลงรู้จักเขำ

ในนำม เกี๊ยง วงเฉลียง และเป็นผู้ท่ส ี นใจประเด็น ่ งพื้นทีส ่ ำธำรณะกับพื้นทีส ่ เี ขียวในเมือง ถึงขัน เรือ ้ ่ ในหัวเรีย ่ วหัวแรงจัดงำน ‘วิง เป็นหนึง ่ สร้ำงเมือง’ ขึ้นมำ

“ควำมสมดุลเกี่ยวข้องกับทุกอย่ำงบนโลก ่ ด้วย คือกำรเดิน ใบนี้ เหมือนเป็นธรรมะอย่ำงหนึง สำยกลำง ถ้ำเรำไม่มำกไป ไม่น้อยไป ทุกอย่ำง ก็จะดี สุดโต่งไปก็ไม่ดี น้อยไปก็ไม่ดี” บทสนทนำนี้ เ กิ ด ขึ้ น ที่ บ ริ ษั ท สถำปนิ ก 49 ่ เขำชีใ้ ห้เรำเห็นถึงควำมส�ำคัญ (A49) อันแสนร่มรืน ของกำรสร้ำงสมดุลที่ดีระหว่ำงพื้ นที่สำธำรณะ ่ ส่งผลกระทบต่อชีวต และสิง ิ คนเมือง ่ ก่อสร้ำง ซึง ทัง ี ต ิ ชีวำ ควำมยัง ้ ในแง่ควำมมีชว ่ ยืน และสุขภำวะ ่ ี ดังนัน ทีด ้ ระชำชน ้ กำรสร้ำงจิตส�ำนึก ให้ควำมรูป ถึงควำมส�ำคัญของพื้ นที่สำธำรณะเหล่ำนี้ในมิติ ที่มำกกว่ำแค่ห้ำงสรรพสินค้ำ นั่ น คื อ กุ ญ แจส� ำ คั ญ ในกระบวนกำรที่ จ ะ ท� ำ ให้ เ กิ ด กำรเปลี่ ย นแปลงอย่ ำ งเป็ น รู ป ธรรม ที่โครงสร้ำงภำครัฐต้องใส่ใจมำกขึ้น เพื่ อไปสู่ ควำมฝั น ที่ เ รำจะมี เ มื อ งดี ๆ ส� ำ หรั บ อยู่ อ ำศั ย ทั้งในวันนี้ และวันข้ำงหน้ำ เพรำะเรำก็คือเมือง และเมืองก็คือเรำ

“พอเมืองมีสมดุลที่ดีระหว่ำงสิ่งก่อสร้ำงกับ พื้นที่สำธำรณะ คุณภำพชีวิตที่ดีก็จะเกิด”

09


เรื่องพื้นที่สาธารณะถือว่ามีความส�าคัญอย่างไร ในสังคมเมืองปัจจุบัน

เป็นสิง่ ส�ำคัญมำก เพรำะถือเป็นเรือ ่ งควำมสมดุล ของกำรใช้ชีวิต ยกตัวอย่ำง สถำนที่หนึ่งมีพื้นที่เปิดโล่ง กั บ สิ่ ง ก่ อ สร้ ำ งอยู่ ถ้ ำ สองสิ่ ง นี้ ส มดุ ล กั น ทุ ก คนจะ มีควำมสุข คุณสังเกตไหม เวลำเรำไปอยู่ที่ที่ตึกน้อยๆ มี ธ รรมชำติ เ ยอะๆ เรำจะรู ้ สึ ก สบำย แต่ เรำคิ ด ว่ ำ

ตอนนี้กรุงเทพฯ ไม่มีควำมสมดุลแล้ว แต่ต่ำงจังหวัด

อำจจะมีบำงที่ที่มีควำมสมดุลอยู่

ถื อ เป็ น เรื่ อ งปกติ ข องสั ง คมเมื อ งหรื อ เปล่ า ที่ พ อมี ค วามเจริ ญ เพิ่ ม ขึ้ น มี ก ารก่ อ สร้ า งตึ ก อาคาร พื้นที่สาธารณะก็หายไป เรำว่ำอยู่ที่กำรวำงแผนด้ วย ถ้ ำระดั บนโยบำย

ของประเทศมีกำรวำงแผนที่ดี มันสำมำรถควบคุมได้

แต่เรำอำจจะช้ำไปหรือเปล่ำ ไม่ใช่แค่เรือ ่ งพืน ้ ทีส ่ ำธำรณะ แต่กับหลำยๆ เรือ ่ ง เรำว่ำสิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ ในเมืองไทยตอนนี้

มันเกิดจำกกำรวำงแผนทัง้ หมด ท�ำไมเรำไม่มท ี ส ี่ ำธำรณะ สวยๆ อย่ำงริมน�ำที่คนเดินได้ เหมือนเมืองอื่นที่รม ิ น�ำ เป็ น พื้ น ที่ ส ำ ธ ำ ร ณ ะ ที่ ทุ ก ค น ส ำ ม ำ ร ถ เ ดิ น สั ม ผั ส บรรยำกำศได้ ไม่ใช่เป็นตึกที่อยู่รม ิ น� ำ แต่พื้นที่รม ิ น� ำ

ของบ้ำนเรำกลับกลำยเป็นของเอกชนที่จับจองไว้แล้ว

พืน ้ ทีส ่ ำธำรณะต้องเป็นพืน ้ ทีท ่ ท ี่ ก ุ คนใช้ได้ แล้วก็

ควรจะเป็นทีโ่ ล่ง ทีส ่ ำ � คัญคือควรจะเป็นทีท ่ ม ี่ ค ี วำมร่มรืน ่ ทุกคนเข้ำไปใช้แล้วได้ประโยชน์ และมีควำมสุข

ปกติคุณมีโอกาสใช้พ้ืนที่สาธารณะบ่อยไหม

เรำใช้เป็นประจ�ำ ช่วงเย็นหลังเลิกงำน เรำจะไปวิง่ ที่สวนข้ำงเอ็มโพเรียม เพรำะใกล้ออฟฟิศ เรำว่ำพื้นที่

สำธำรณะที่เป็นสวนแบบนี้ ควรจะมีกระจำยอยู่เยอะๆ เอำเป็นว่ำเรำอยูต ่ รงส่วนไหนของเมือง ก็สำมำรถเดินไป

หำสวนสำธำรณะได้แบบนัน ้ เลย เช่น จำกออฟฟิศเดินไปหำ สวนได้ แต่กรุงเทพฯ เท่ำทีท ่ รำบคือน้อยมำก คือมีอยูป ่ ระมำณ 7% แต่ถ้ำจะให้ดีต้อง 20% ขึ้นไป

่ นแปลง หลายปีทผ ี่ า่ นมาคุณสังเกตเห็นความเปลีย อย่างไรบ้างในแง่พื้นที่สาธารณะของกรุงเทพฯ

หน่วยงำนรัฐยังไม่เท่ำไหร่ แต่ของเอกชนเรำว่ำมี

ล้ง 1919 คือศูนย์กำรค้ำ แนวรำบริมแม่นำ้� เจ้ำพระยำ ด้ ำ นฝั่ งธนบุ รี ตั้ ง อยู่ ที่ ปลำยสุดของถนนเชียงใหม่ แขวงคลองสำน เขต คลองสำน กรุงเทพมหำนคร มีเนื้อที่ประมำณ 6 ไร่ และ พื้ น ที่ อ ำ ค ำ ร

6,800

ตำรำงเมตร ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จำกกำรบูรณะอำคำรเก่ ำ ทั้ ง ห ม ด โ ด ด เ ด่ น ด้ ว ย สถำปัตยกรรมจีน ก่ออิฐ ถื อ ปู น

แ ล ะ ก ำ ร ใ ช้

โ ค ร ง ส ร้ ำ ง ไ ม้ ที่ ยั ง ค ง เก็ บ รู ป แบบอย่ ำ งเดิ ม ไว้ ภ ำ ย ใ น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย โ ก ดั ง เ ก่ ำ ข อ ง ต ร ะ กู ล ห วั่ ง ห ลี ,

ศ ำ ล เ จ้ ำ แ ม่

หม่ำโจ้ว, ศำลเจ้ำจีนเก่ำแก่ ในเขตคลองสำน, ท่ำเรือ หวั่ ง หลี , ลำนกิ จ กรรม กลำงแจ้ง และโคเวิรก ์ กิง ้ สเปซ

กำรเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น มีสัญญำณที่ดีขึ้น ยกตัวอย่ำง เรำชอบโครงกำรประเภทอยู่ ร ม ิ น� ำ แล้ ว เปิ ด เป็ น พื้ น ที่

โล่งๆ มีพื้นที่ส่วนกลำงให้คนได้เดินสัมผัสริมน�ำเยอะๆ ยกตัวอย่ำงล้ง 1919 หรือแม้กระทัง่ โครงกำรทีค ่ อมเมอร์เชียล

มำกๆ อย่ำงไอคอนสยำม เรำว่ำก็มีส่วนดีอย่ำงกำรมี ลำนใหญ่ๆ อยูร่ ม ิ น�ำ ถึงแม้จะเป็น hard scape เสียส่วนใหญ่ คือไม่ค่อยมีต้นไม้ หรืออย่ำงเอเชียทีค เรำว่ำโครงกำร

แบบนี้เรำชอบ เพรำะมันเปิดโอกำสให้คนเข้ำไปสัมผัส

บรรยำกำศในพื้นที่ที่มันควรจะเป็น และเป็นพื้นที่ที่คน ทุกคนควรได้ไปอยู่ใกล้บ่อยๆ

้ ทีแ ่ บบล้ง 1919 ถือว่าเป็นหน้าตาพืน ้ ทีส ่ าธารณะ พืน ของคนยุคใหม่หรือเปล่า อย่างทีเ่ ห็นกันบ่อยๆ เช่น พื้นที่เก่าที่ถูกรีโนเวตเพื่อประโยชน์บางอย่าง เรำว่ำล้ง 1919 ก็เป็นส่วนทีด ่ ี แต่ถำ ้ ให้ดีกว่ำนั้นคือ ควรเป็นทีส ่ ำธำรณะจริงๆ ไม่มค ี อมเมอร์เชียลมำเกีย ่ วข้อง

อย่ำงเช่นเป็นสวนริมน�ำ อย่ำงตรงตีนสะพำนพระรำม 7 เคยไปนั่ง มันมีสเตป มีอะไรอยู่รม ิ น�ำ เคยไปนั่งเล่นรูส ้ ึก แฮปปี้ มำก มีควำมชิล มีควำมรูส ้ ก ึ สบำยมำก แต่ถำมว่ำ

มีคอมเมอร์เชียลแล้วเป็นแบบล้ง 1919 ดีไหม ดี ดีกว่ำ ไม่มี อย่ำงน้ อยช่วยเพิ่มพื้นที่โล่ งที่คนได้ ใช้ประโยชน์ แต่กอ ่ นล้ง 1919 อำจจะทิง้ เป็นทีร่ กร้ำง ไม่มใี ครใช้ประโยชน์

ได้ แต่ปจ ั จุบน ั เริม ่ มีกำรพัฒนำ เริม ่ มีคนเข้ำไปใช้ประโยชน์ แถมยังเป็นพื้นที่ที่มี open space เยอะ ไม่ใช่ตึกสูงๆ

10


้ ทีเ่ หล่านัน ่ า่ งประเทศ การได้ไปเห็นพืน ้ ทีต ท� า ใ ห้ คุ ณ รู้ สึ ก นึ ก เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ บ้านเราในแง่ไหนบ้าง

หรือตึกแน่นๆ ใช้พื้นที่ดินไปหมด แล้วไม่เหลือ พื้นที่เปิดโล่งเลย

บ้ ำ น เร ำ พื้ น ที่ ส ำ ธ ำ ร ณ ะ ที่ เป็ น

สวนใหญ่ๆ ควรจะต้องเกิดขึ้นอีกเยอะมำก

่ งพื้นที่ ท�าไมคนไทยถึงไม่คอ ่ ยตระหนักเรือ ้ ทีส ่ าธารณะ สาธารณะ เพราะหากพู ดถึงพืน เราก็มักนึกถึงห้างสรรพสินค้า

แต่ปญ ั หำคือจะเอำพืน ้ ทีจ ่ ำกตรงไหนมำท�ำ

สวนได้ เรำมีควำมคิ ดว่ำ พวกหน่ วยงำน

เรำไม่แน่ ใจว่ำคนไทยมีควำมรู แ ้ ค่ไหน

หรือศูนย์รำชกำร ถ้ำสำมำรถย้ำยไปนอกเมือง

สรรพสินค้ำเซ็นทรัลเวิลด์ที่มีลำนใหญ่ๆ เรำก็

ให้คนเมืองได้จะดีมำก เพรำะพืน ้ ทีห ่ น่วยงำน

หนึ่ ง และเปิ ด เป็ น ส่ ว นโล่ ง ๆ ให้ ค นเข้ ำ ไปใช้

จะไปไล่เวนคืนที่ดินจำกประชำชนคงสร้ำง

ร่มรืน ่ ยิง่ ดีใหญ่ แต่สงิ่ เหล่ำนี้กต ็ อ ้ งกลับไปเรือ ่ ง

ยุคปัจจุบันคนโหยหำสวนสำธำรณะเยอะ

ค่อนข้ำงเร็ว แต่กำรวำงแผนของเรำช้ำ และ ไม่ทัน เจอปัญหำแล้ วถึ งมำหำวิธีแก้ เรำว่ำ

กันมำกขึน ้ อย่ำงสวนทีเ่ รำไปวิง่ เรำวิง่ มำเป็น สิบปี แต่กอ ่ นคนโล่งมำก แต่เดีย ๋ วนี้คนเยอะ

ของกำรก่อสร้ำงอำคำรที่ละเอียดกว่ำนี้ และ

ดังนั้น ถ้ำมีสวนสวยๆ เรำเชื่อว่ำประชำชน

หน่อย และเอำพืน ้ ทีม ่ ำท�ำเป็นสวนสำธำรณะ

เกี่ ยวกั บเรือ ่ งพื้นที่สำธำรณะ แต่ อย่ำงห้ำง-

QUOTE ยกตัวอย่ำงเรื่องปัญหำฝุน ่ PM 2.5 เรำว่ำมันเกิดจำกเรื่องควำมสมดุลระหว่ำงสิ่งที่เป็นธรรมชำติกับสิ่งก่อสร้ำงที่เรำบอกเลยนะ

เรำมีควำมเชื่อเสมอว่ำถ้ำกรุงเทพฯ มี open space เยอะกว่ำนี้ มีต้นไม้เยอะกว่ำนี้ หรือต้นไม้ไม่ถูกตัดบ่อยขนำดนี้ และปล่อยให้มันเติบใหญ่

ฝุน ่ อำจจะน้อยกว่ำนี้ เพรำะเรำมีควำมเชื่อว่ำต้นไม้เป็นธรรมชำติท่ช ี ่วยกรองฝุน ่ ได้ issue 628

03 FeB 2020

รำชกำรหลำยๆ ทีม ่ ข ี นำดใหญ่มำก แล้วกำรที่

ถือว่ำเป็นสิง ่ ที่ดี เพรำะกำรออกแบบตึกสักตึก ประโยชน์ ได้ ถื อว่ำเป็นสิ่งที่ดี ยิ่งถ้ ำมีต้นไม้

ควำมเดือดร้อนให้เขำค่อนข้ำงมำก เรำเชือ ่ ว่ำ

กำรวำงแผน กำรเจริญ เติ บ โตของบ้ ำ นเรำ

เพรำะเท่ำทีส ่ ม ั ผัสมำ คนชอบออกก�ำลังกำย

ถ้ำมีกำรวำงแผนตั้งแต่ต้น มีกฎหมำยต่ำงๆ

มำก เพรำะฉะนั้น คนโหยหำเรือ ่ งนี้กันมำก

บั ง คั บ ให้ ตึ ก ที่ จ ะสร้ำ งมี พื้ น ที่ เปิ ด โล่ ง เยอะ

จะแฮปปี้ มำก

กว่ำนี้ เรำว่ำมันท�ำได้

PM 2.5 เรำว่ำมันเกิ ดจำกเรือ ่ งควำมสมดุล

นอกจากเรื่ อ งการวางผั ง เมื อ งที่ เ รา ไม่ได้วางมาตั้งแต่ต้น ยังมีสาเหตุอ่ืน อี ก ไหมที่ ท� า ไมบ้ า นเราไม่ ส ามารถ มีพื้นที่สาธารณะได้เหมือนหรือมากเท่า ประเทศอื่น

บอกเลยนะ เรำมีควำมเชือ ่ เสมอว่ำถ้ำกรุงเทพฯ

กำรศึกษำ ให้ตระหนักถึงคุณค่ำ และควำม-

หรือต้นไม้ไม่ถูกตัดบ่อยขนำดนี้ และปล่อยให้

กำรมีจต ิ ส�ำนึกทีด ่ ี หรือปลูกฝังให้คนตระหนัก

มีค�าที่ว่า เมืองดี สุขภาวะคนก็ดี ถ้าเมือง ป่วย คนก็ปว ่ ย คุณเห็นด้วยไหม ถูกต้องเลย ยกตัวอย่ำงเรือ ่ งปัญหำฝุ่น

เพรำะเรำยั ง ไม่ ป ลู ก ฝั ง คน และให้

ระหว่ำงสิง่ ทีเ่ ป็นธรรมชำติกับสิง่ ก่อสร้ำงทีเ่ รำ

มี open space เยอะกว่ำนี้ มีต้นไม้เยอะกว่ำนี้

ส�ำคัญของพืน ้ ทีส ่ ำธำรณะมำกพอ โดยเริม ่ จำก

มันเติบใหญ่ ฝุน ่ อำจจะน้อยกว่ำนี้ เพรำะเรำมี

ถึงกำรใช้ทรัพยำกรต่ำงๆ ว่ำเป็นสิ่งที่มีค่ำ

ได้ อย่ำงในซอยออฟฟิศเรำ มีชว ่ งหนึ่งทีต ่ ้นไม้

ถ้ำเรือ ่ งเหล่ำนีเ้ กิดขึน ้ ได้มน ั จะช่วยหลำยอย่ำง

ปลูกจิตส�ำนึกให้คนพยำยำมใช้ขนส่งสำธำรณะ

ควำมเชือ ่ ว่ำต้นไม้เป็นธรรมชำติที่ช่วยกรองฝุ่น

เขำก็มำตัด แล้วบอกว่ำมันมีปญ ั หำกั บสำยไฟ

มำก ทั้งเรือ ่ งอำกำศ ทั้งประหยัดพลังงำน แต่กฎหมำยอำจจะต้องแรงด้วย อย่ำงญีป ่ น ุ่

เลย ลองดูประเทศเพือ ่ นบ้ำนเรำอย่ำงสิงคโปร์

แต่ตอนนี้กฎหมำยบ้ำนเรำเอื้อให้เรำใช้รถ

ด้ ำ นหน้ ำ ตึ ก มั น โตแล้ ว สวยมำก แต่ อยู่ดีๆ

ก็ มี เ รื่ อ งค่ ำจอดรถในเมื อ งที่ โ หดมำก

คือตรงไหนต้นไม้เริม ่ โตเริม ่ สวย โดนตัดทุกที

เขำปล่อยต้นไม้ให้เติบใหญ่เยอะมำก หรือเรำ

ส่วนตัวเป็นหลัก ขนำดไปจอดทีห ่ ำ้ งยังฟรีเลย

ถ น น ที่ มี ต้ น ไ ม้ ส ว ย ๆ เห ลื อ อ ยู่ น้ อ ย ม ำ ก คือประเด็นสำยไฟกับต้นไม้ ถ้ำเรำเก็บสำยไฟ

่ าธารณะทีด ่ ี ในมุมมองของคุณ พื้นทีส มีคุณค่าหรือตอบโจทย์ในมิติไหนของ ชีวิตประชาชนได้บ้าง

ไปเลย ทัศนียภำพเรำจะสวยขึ้นเยอะ สังเกต

เมือง พอเมืองมีสมดุลทีด ่ รี ะหว่ำงสิง่ ก่อสร้ำง

เพิ่งไปนครวัดที่เขมร ต้ นไม้เขำสู ง ใหญ่ ม ำก พอกลับมำดูบ้ำนเรำมีน้อยมำก เรำจะเห็นว่ำ

ก็กลับมำตรงที่เรือ ่ งควำมสมดุลของ

ลงใต้ดินได้ ปัญหำเรือ ่ งกำรตัดต้นไม้จะหมด

กับพืน ้ ทีส ่ ำธำรณะ คุณภำพชีวต ิ ทีด ่ ก ี จ ็ ะเกิด

หลำยๆ เมื อ ง ถ้ ำ สำยไฟลงใต้ ดิ น บ้ ำนเมื อ ง จะสะอำดตำมำก

่ าธารณะ คุณเดินทางไปหลายแห่ง มีพน ื้ ทีส ต่างประเทศที่คุณชื่นชอบมากๆ ไหม

เรำชอบที่ปรำก สำธำรณรัฐเช็ก สองฝั่ง ริม แม่ น� ำ เขำสวยมำก แม้ ก ระทั่ ง ตั ว สะพำน

ชำร์ลส์ก็สวย พื้นที่รม ิ แม่น�ำเขำเปิดเป็นพื้นที่

สำธำรณะให้ประชำชนเดินได้ตลอดระยะทำง ที่ทอดยำวเป็นสิบๆ กิโลเมตร ตัวอำคำรจะถูก

เซตเข้ ำ ไปลึ ก มำกเพื่ อ เว้ น พื้ น ที่ ร ิม แม่ น� ำ ไว้

จะไม่มีอำคำรที่เป็นของเอกชนอยู่รม ิ น� ำเลย

สะพำนชำร์ ล ส์ เป็ น สะพำน เก่ำแก่สไตล์โกธิกที่ทอดข้ำม แม่น้�ำวัลตำวำที่เชื่อมระหว่ำง Old Town และ Little Town สร้ ำ งขึ้ น ในปี 1357 สมั ย พระเจ้ำชำร์ลส์ท่ี 4 แล้วเสร็จ สมบูรณ์ในช่วงต้นศตวรรษที่ 15 จุดเด่นของสะพำนนี้คือ รูปปั้ นโลหะของเหล่ำนักบุญ ่ ง สไตล์บำรอกทีต ั้ อยูส ่ องข้ำง

ท�ำให้ได้เห็นอะไรทีก ่ ว้ำงๆ เห็นมุมมองทีก ่ ว้ำงๆ

สะพำนรำว 30 รู ป และ

บรรยำกำศก็ดี คือมีช่วงเวลำหนึ่งที่เขำจะเปิด

สองฝั่ งริ ม แม่ น้� ำ ก็ ส ำมำรถ

มีคนเดิ นเล่ น เอนจอยกั นริมสะพำน ข้ำมไป

ของอำคำร

ก็สวยงำม เป็นควำมรูส ้ ึกที่ดีมำก

ตำมฉบับแบบยุโรปได้

ดู แ ล้ วสบำยตำ ไม่ ต้ องมี ตึ กอะไรมำบั ง

โคมไฟอีกหลำยต้น ส่วนพื้นที่

เป็นถนนคนเดิน ไม่มีรถ มีศิลปินมำนั่งวำดรูป

เดินเล่นชมวิวและบรรยำกำศ

ข้ ำ มมำบนสะพำนใหญ่ สองข้ ำ งริม แม่ น� ำ

บ้ ำ น เ รื อ น

สถำปั ต ยกรรมที่ ส วยงำม

เรำเข้ำใจว่ำเมืองที่เป็นเมืองหลวงก็ต้องมี

สิง่ ก่อสร้ำงค่อนข้ำงมำก แต่อย่ำลืมว่ำกำรที่ เรำสร้ำงอะไรขึน ้ มำสิง่ หนึง่ อีกสิง่ หนึง่ ก็ตอ ้ ง

หำยไป กำรสร้ำงตึกขึน ้ มำหนึ่งตึก พืน ้ ทีโ่ ล่ง

ก็ จ ะหำยไปหนึ่ ง แห่ ง รวมถึ ง ธรรมชำติ

หลำยส่วน ไม้เอย หินเอย ฉะนั้น เมืองที่มี

พืน ้ ทีส ่ ำธำรณะเยอะ ย่อมมีควำมสุขอยูแ ่ ล้ว อำกำศก็จะดี สุดท้ำยควำมเชื่อของเรำคือ ถ้ำเมืองมีพื้นที่สำธำรณะที่เป็นพื้นที่สีเขียว

เยอะขึน ้ มันจะช่วยปรับสมดุลของธรรมชำติ

ในเมือง อุณหภูมิ อำกำศ กำรช่วยท�ำให้ฝนตก ตำมฤดูกำล ทุกอย่ำงจะกลับมำสมดุลหมด

สิง่ เหล่ำนีล ้ ว ้ นเกีย ่ วข้องกับชีวต ิ ของเรำทุกคน

การมีพื้นที่สาธารณะหรือพื้ นที่สีเขียว เพี ยงอย่างเดียว จะช่วยเรื่องปัญหา เหล่านี้ของเมืองได้จริงเหรอ

เรำได้ยน ิ มำอย่ำงประเทศจีน บำงเมือง

11


เขำมี ปั ญ หำเรื่ อ งฝุ่ น ทรำยที่ พั ด เข้ ำ มำ กระทบ เขำก็ใช้วิธีปลูกต้นไม้เรียงเป็นแถว

ประมำณเกือบสิบชั้น ช่วยลดปริมำณฝุ่นที่

เข้ำมำเหลื อแค่ ประมำณ 10-20% เรำว่ำ

ธรรมชำติ อ ย่ ำ งไรก็ ดี อ ยู่ แ ล้ ว สมั ย ก่ อ น

ต อ น เร ำ เ ด็ ก ๆ นั่ ง ร ถ ไ ม่ ต้ อ ง เปิ ด แอ ร์

เปิดหน้ำต่ำงอำกำศก็สบำย ธรรมชำติมน ั ดี

เพรำะสมดุลมันดีไง แต่พอเมื่อไหร่มีกำร-

พัฒนำขึ้นเรือ ่ ยๆ สิ่งก่ อสร้ำงก็ จะเยอะขึ้น เรือ ่ ยๆ ท�ำให้สมดุลเสีย

พอพู ดถึ ง พื้ น ที่ ส าธารณะ คุ ณ จะโยง ไปถึ ง พื้ น ที่ สี เ ขี ย วบ่ อ ยมาก คุ ณ เชื่ อ ในเรื่องนี้มากขนาดไหน

เรำเชือ ่ ในเรือ ่ งนีม ้ ำก เรำเชือ ่ ว่ำทีต ่ รงไหน

มีธรรมชำติ มีต้นไม้เยอะๆ จะท�ำให้เรำอยู่

สบำย แม้ ก ระทั่ ง จุ ด เล็ ก ๆ ยกตั ว อย่ ำ ง กำรออกแบบบ้ำนหลังหนึง่ ตอนเริม ่ ออกแบบ

ก็ต้องไปดูไซซ์ ดูที่ดิน ถ้ำเห็นว่ำมีต้นไม้เก่ำ ใหญ่ๆ เรำจะโน้มน้ำวลูกค้ำสุดตัวเลยว่ำให้เก็บ อย่ำตัด เดีย ๋ วเรำจะพยำยำมออกแบบหลบให้

(หัวเรำะ) คือคุณสร้ำงตึก ใช้เวลำสองสำมปี

ก็สร้ำงเสร็จ แต่ตน ้ ไม้มน ั สร้ำงตัวเองประมำณ 40-50 ปีนะ ไปตัดมันเท่ำกับคุณสูญเสียอะไร อีกเยอะเลย ลูกค้ำบำงคนก็เชื่อและเก็บไว้

ซึ่ ง เรำว่ ำ มั น สวยมำก นอกจำกเพิ่ ม พื้ น ที่ ให้เกิดควำมสวยงำม ได้ควำมร่มรืน ่ ก็ยัง

สิ ง ค โ ป ร์ มี พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ต่อประชำกรมำกเป็นอันดับ ต้ น ๆ ของโลก คื อ 66 ตำรำงเมตรต่ อ คน โดย แนวคิ ด กำรเปลี่ ย นเมื อ ง ให้เป็นสีเขียวของสิงคโปร์ เริ่มต้นเมื่อปี 1967 จำก วิ สั ย ทั ศ น์ ข องผู้ น� ำ อย่ ำ ง ่ ระกำศนโยบำย ลี กวน ยู ทีป ่ น Garden City เพื่อเปลีย สิงคโปร์ให้เป็ นเมืองที่เต็ม ไปด้วยพื้นที่สีเขียว และมี สภำพแวดล้ อ มที่ ส ะอำด ผ่ำนกำรวำงแผนและพัฒนำ อย่ ำ งจริ ง จั ง จนท� ำ ให้ สิ ง คโปร์ ก ลำยเป็ น เมื อ ง ่ ค ทีม ี วำมหนำแน่นของพื้นที่ ่ ด สีเขียวมำกทีส ุ ในโลก

เพิม ่ คุณค่ำให้บำ้ นของเขำด้วย เพรำะมันเป็น

เหมื อ นประวั ติ ศ ำสตร์ในกำรที่ จ ะเล่ ำ ให้ ลูกหลำนฟังได้ว่ำ บ้ำนนี้เกิดขึ้นได้อย่ำงไร

เรำว่ ำ นั ก เรีย นสถำปั ต ย์ ทุ ก คนถู ก

ปลูกฝังตัง้ แต่เรียนให้รก ั พืน ้ ทีส ่ เี ขียว ตอนเรียน

เรำอำจจะไม่อินเท่ำไหร่ แต่พอจบมำแล้ว

มันโคตรอินเลย คือบ้ำนหลำยหลังพอเขำ

เชื่อเรำแล้วเก็บต้นไม้ไว้ สิ่งที่ออกมำตอน บ้ำนสร้ำงเสร็จคือควำมแฮปปี้ มำกๆ

ในฐานะสถาปนิ ก เรื่ อ งการส่ ง เสริ ม พื้ น ที่ ส าธารณะและพื้ น ที่ สี เ ขี ย วของ ภาครัฐ มันสะท้อนอะไรต่อคุณบ้าง

มันไม่ทันใจ แต่ว่ำก็เข้ำใจ เพรำะว่ำ

นิสย ั คนไทยไม่เหมือนชำวบ้ำน เวลำภำครัฐ อยำกท�ำอะไรที่ต้องกำรเด็ดขำด กฎหมำย

ก็ ต้ อ งรุ น แรง คนไทยก็ จ ะด่ ำ รับ ไม่ ไหว อย่ำงเรือ ่ งฝุน ่ ถ้ำเขำประกำศห้ำมใช้รถยนต์

วันคู่วันคี่ จะรับกันได้ไหม เรำเชื่อว่ำรัฐก็จะ

โดนด่ำเหมือนกันว่ำแก้ปัญหำที่ปลำยเหตุ

คนไทยเรำเคยตัวทีจ ่ ะปฏิบต ั ต ิ ว ั แบบสบำยๆ

ถ้ ำ เจอกฎหมำยอะไรแรงๆ จะรับ ไม่ ไ ด้

อย่ำงเรือ ่ งขำยของบนทำงเท้ำทีถ ่ อ ื เป็นพืน ้ ที่ สำธำรณะ เรำดีใจมำกทีท ่ ำงเท้ำของบำงย่ำน

ถูกเคลี ยร์ไป เพรำะแต่ ก่อนเดิ นไม่ได้ เลย แน่นไปหมด แต่ในขณะเดียวกันก็มห ี ลำยคน บอก ท�ำไมไม่มองในแง่ชำวบ้ำนบ้ำง ไปไล่ที่ เขำ เขำค้ ำขำยไม่ได้ แต่ เรำอยำกให้มอง

ภำพรวมของเมืองมำกกว่ำ มันท�ำให้ทุกสิ่ง

ทุ ก อย่ ำ งดู ส บำยตำ สวยงำม และดี ขึ้ น ประชำชนคนที่ ไ ม่ ไ ด้ ซื้ อ ของก็ ใช้ เ ส้ น ทำง เดินเท้ำได้อย่ำงดี

พู ดถึ ง เรื่ อ งทางเท้ า ก็ ถื อ เป็ น พื้ นที่ ส า ธ า ร ณ ะ ที่ ส� า คั ญ แ ล ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ความสวยงามของเมื อ ง รวมถึ ง

12


คุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนเมื อ ง มากเหมือนกัน

ถูกต้ อง ยิ่งถ้ ำเรำพัฒนำ ดีๆ มีฟต ุ พำทกว้ำงๆ มีตน ้ ไม้สวยๆ

ยิ่ ง ดี หลำยเมื อ งต่ ำ งประเทศ เป็ น แบบนั้ น นะ คื อ เหลื อ ถนน

ไม่ ใ หญ่ ม ำก แต่ ต รงฟุ ต พำท ใหญ่ ม ำก มี ทั้ ง เลนจั กรยำน เลนคนพิ ก ำร มี ต้ น ไม้ ส วยงำม

ปัจจุบันมีกลุ่มเอกชนและ ประชำชนที่ ท� ำ โครงกำร เรื่องพื้นที่สำธำรณะหลำย

ก ำ ร ก่ อ ส ร้ ำ ง ข อ ง ท ำ ง เท้ ำ ที่

ก ลุ่ ม เ ช่ น โ ค ร ง ก ำ ร GoodWalk Thailand ที่ มีเป้ำหมำยเพื่อส่งเสริมให้

มำสวนบึงยำสูบได้ แล้วก็ว่ง ิ บน ถนนสุขม ุ วิทต่อมำทีส ่ วนเบญจสิร ิ

่ คน คุณกังวลไหม คุณมีลก ู หนึง กับการที่ลูกต้องเติบโตมาใน เมืองที่พ้ืนที่สาธารณะก็น้อย แถมเต็ ม ไปด้ ว ยปั ญ หาบน ท้องถนน

ก็ ไ ม่ ซ� ำ เวลำวิ่ ง ได้ เพลิ ด เพลิ น ไปกับสิง่ ทีเ่ รำเห็นอยู่ ถึงแม้วำ ่ เรำ

ต้ องมีควำมกั งวลอยู่แล้ ว แต่ ก็

พอไปวิง่ ครัง้ ใหม่ ด้วยบรรยำกำศ

แน่นอน คนเป็นพ่อเป็นแม่

ต้องพยำยำมดูแลเขำให้มำกทีส ่ ด ุ

คื อ วิ่ ง ได้ ส ำมสวนในวั น เดี ย ว

แฮปปี้ มำก บรรยำกำศต่ ำ งๆ

อำจจะเคยเห็นตรงนี้มำแล้ว แต่

ด้วยแสงพระอำทิตย์ทไี่ ม่เหมือน

footing หรือฐำนรำก ทีด ่ ี เรำท�ำ

มำก สักวันหนึง่ เขำจะสูก ้ บ ั สิง่ ทีอ ่ ยู่

ท�ำได้ เพรำะพอเริม ่ มีกำรพัฒนำ

ตัวแผ่นบล็อกปูนเฉยๆ ซึ่งสักวัน

คนอ่อนแอ เพรำะฉะนัน ้ ง ้ มันก็ตอ

กันง่ำยๆ แค่บดอัดทรำยแล้วก็ปู หนึ่ งพื้นที่แบบนี้ จะทรุ ด เพรำะ กำรท�ำพื้นที่ที่ดีก็ต้องมีกำรตอก

เชื่ อ ว่ ำ สั ก วั น ภำครั ฐ คง

รอบตัวเขำไม่ได้ และกลำยเป็น

เร็ ว ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ทุ ก อย่ ำ งอยู่ ใ น

ท�ำให้สมดุลอยู่ดี บำงอย่ำงเรำก็

ภำครัฐถึงจะเริม ่ ท�ำอะไรสักอย่ำง

จุ ด พี ก มำกๆ จนคนอยู่ ไ ม่ ไ ด้

ต้องปล่อยให้เขำลองเรียนรูบ ้ ้ำง

แ ต่ ป ร ะ เท ศ ไท ย อ ำ จ จ ะ ต้ อ ง

พืน ้ ทีจ ่ ะแน่นมำก ไม่มก ี ำรทรุดตัว

อำจจะไปเจออะไรที่ ล� ำบำก

ว ำ ง แ ผ น บ้ ำ น เ ร ำ ช้ ำ ม ำ ก

แบ บ นั้ น เพ ร ำ ะ เข ำ ท� ำ ถ น น

ศึ ก ษำ แก้ ปั ญ หำด้ ว ยตั ว เอง

จ้องโจมตีเยอะ ถึงแม้วำ่ แผนงำน

ถ ำ ม ว่ ำ มี ค ว ำ ม ห วั ง ไ ห ม มี

ประปำ โทรศั พ ท์ อยู่ ข้ ำ งใต้

คุณพู ดถึงค�าว่าสมดุลแทบใน ้ า� คัญอย่างไร ทุกมิติ ค�าค�านีส ในชีวิตคุณ

บ้ำนเรำจะมีรถไฟฟ้ำเยอะขนำดนี้

เพรำะฉะนั้น จะไม่มีกำรทรุดตัว

เกี่ ย วข้ อ งกั บ ทุ ก อย่ ำ งบนโลก

แล้ว ตอนนีส ้ ร้ำงกันทุกหัวระแหง

แก๊สรวม คือจะไม่มก ี ำรส่งถังแก๊ส

ด้วย คือกำรเดินสำยกลำง ถ้ำเรำ

เข็มให้โครงสร้ำงมันถำวร ถ้ำท�ำดี

ถนนหนทำงเมืองนอกเขำจะเป็น

ไปพร้อมกับงำนสำธำรณูปโภค เรำเคยสังเกตมีบำงที่เขำท�ำเป็น

อุโมงค์ใหญ่ข้ำงใต้ รถสำมำรถ ลงไปได้ดว ้ ย แล้วซ่อนระบบไฟฟ้ำ

ใดๆ ทัง้ สิน ้ เมืองนอกเขำใช้ระบบ

ตำมบ้ ำ น แต่ เป็ น กำรปล่ อย ท่อแก๊ สเหมือนท่อประปำแล้วก็

จ่ำยเข้ำตำมบ้ำน โครงสร้ำงจึง ต้องแข็งแรงมำกๆ เพรำะถ้ำพื้น

ทรุ ดตัวเมื่อไหร่ ท่อแก๊สเกิดหัก ขึน ้ มำจะอันตรำยมำก เขำวำงแผน อย่ำงดี แต่ของบ้ำนเรำจะลงทุน

เฉพำะตึ ก ตึ กจะมีกำรตอกเข็ม ที่ดี แต่พวกถนนหนทำงจะไม่มี

ทุกวันนีเ้ ราเห็นความพยายาม ของภาคเอกชนที่ ใ ช้ ค วามรู้ ความสามารถเพื่ อ ส่ ง เสริ ม เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ เป็ น ประโยชน์กับพื้ นที่สาธารณะ ห รื อ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ใ น เ มื อ ง คุณว่ามันเพียงพอหรือยัง ถือเป็นเรือ ่ งดีทม ี่ ภ ี ำคเอกชน

หรือประชำชนมำสนับสนุนเรือ ่ ง

นี้ เยอะ ส่วนในแง่ของสถำปนิ ก

เอง เรำว่ำในจิตส�ำนึกของกำรพยำยำมส่ ง เสริม ประเด็ น พื้ น ที่

สำธำรณะถือว่ำมีอยูแ ่ ล้ว เพียงแต่

สถำปนิ ก จะมี เงื่ อ นไขตรงที่ ว่ ำ

ถึงแม้เรำจะมีควำมกังวลว่ำเขำ

ก็ ต้ อ งยอม เพื่ อ ให้ เ ขำเรี ย นรู ้ เขำถึงจะเติบโตอย่ำงแข็งแกร่ง

เ ร ำ ว่ ำ ค ว ำ ม ส ม ดุ ล

ใบนี้ เหมือนเป็นธรรมะอย่ำงหนึง ่ ไม่มำกไป ไม่น้อยไป ทุกอย่ำง

03 FeB 2020

สั ก วั น หนึ่ ง คิ ด ว่ ำ เรำก็ ค งได้ ใช้ ประโยชน์จำกตรงนี้เต็มที่

พู ด แม้ ก ระทั่ ง คุ ย ตั ว ต่ อ ตั ว กั บ

เลยว่ำกำรรับงำนต่ำงๆ ต้องขอ

เป็นหลังเลิกงำน ไม่กวนเวลำงำน หรือ ไม่ ก็ เป็ น ช่ ว งเสำร์อ ำทิ ต ย์ ก ำ ร ซ้ อ ม ก็ เป็ น ต อ น เ ย็ น ห ลั ง

เลิ กงำน ถำมว่ำเหนื่ อยขึ้นไหม

เหนื่อยมำก (หัวเรำะ) แต่ทง้ั หมด

เรำพู ด ในฐำนะที่ เป็ น คน

โอกำสได้พด ู ได้อภิปรำย เรำก็จะ ลูกค้ำ ยกตัวอย่ำงจุดง่ำยๆ เช่น

กำรเก็ บ ต้ น ไม้ เ ก่ ำ ที่ เรำพู ด ไป

กำรพู ด แบบนั้ น ถำมว่ ำ ลู ก ค้ ำ เสียผลประโยชน์ไหม บำงทีเขำเสีย

นะ เขำมีที่ดินกว้ำง แต่มีต้นไม้ ขวำงอยูเ่ ต็มไปหมด ถ้ำเขำตัดไป

ก็ เพื่ อ ที่ จ ะไม่ ใ ห้ ม ำรบกวนกั บ

อำจจะสร้ำ งตึ ก ได้ เ ยอะกว่ ำ นี้

หลั ก คื อ สถำปนิ ก พอมี ส มดุ ล

ให้เก็บไว้ แต่อย่ำงที่บอก อำชีพ

สิ่ ง ที่ เรำตั้ ง ใจจะท� ำ เป็ น อำชี พ

เรำก็รูส ้ ึกว่ำตัวเองท�ำงำนอำชีพ

สถำปนิ ก ได้ ค่ อ นข้ ำ งที่ จ ะโอเค

ในสำยตำของเรำ และในสำยตำ ของลูกค้ำ

เห็ น สวนที่ เป็ น สเกลสวนลุ ม พิ นี

กำรเก็ บ ต้ น ไม้ ไ ว้ กั บ พื้ น ที่ เ ดิ ม

ซึ่งแรกๆ มีสำยเดี ยวก็ ดีใจมำก

เยอะๆ เรำจะตกลงกั บ ทำงวง

ฉะนั้ น ช่วงพีกๆ ที่มีง ำนดนตรี

ทุกคนอยำกให้เป็นอย่ำงนั้นไหม แน่นอนว่ำอยำก อย่ำงเช่นเรือ ่ ง

อย่ ำ งแต่ ก่ อ นไม่ เ คยคิ ด เลยว่ ำ

ตั ว เล็ ก ๆ คนหนึ่ ง ทุ ก ครั้ ง ที่ มี

คื อ ดนตรี ให้ ไ ม่ ม ำรบกวนกั บ

เรำว่ ำ ทุ ก คนด� ำ รงอยู่ ไ ด้ ต้ อ งมี

หรือ เปล่ ำ แต่ ถ ำมว่ ำ สถำปนิ ก

เต็ ม ไปหมด ก็ น่ ำ เสี ย ดำย แต่

งำนประจ�ำอย่ำงสถำปนิก เพรำะ

สถำปนิกและนักดนตรี เรำก็ต้อง

ให้ท�ำตำมอย่ำงที่เรำต้องกำรได้

สำมำรถโน้ ม น้ ำ วจิ ต ใจลู ก ค้ ำ

เป็ น สิ่ ง ที่ ดี แต่ ก็ จ ะมี ค นค้ ำน

สร้ำงสมดุลระหว่ำงสิง ่ ทีเ่ รำชอบ

ก็ ไ ม่ ดี อ ย่ ำ ง เร ำ เ อ ง เป็ น ทั้ ง

ค ว ำ ม ย ำ ก อ ย่ ำ ง ห นึ่ ง ว่ ำ เร ำ

งำนเรำ เพรำะฉะนั้ น ก็ จ ะเป็ น

กำรจั ด กำรช้ ำ มำก แล้ ว มี ค น

ในฐานะสถาปนิ ก คุ ณ มี วิ ธี สร้ า งจิ ต ส� า นึ ก ให้ ป ระชาชน ใ น ก า ร ต ร ะ ห นั ก ถึ ง พื้ น ที่ สาธารณะได้อย่างไร

ก็ จะดี สุดโต่ งไปก็ ไม่ดี น้ อยไป

เรายั ง มี ค วามหวั ง กั บ เรื่ อ ง พื้ นที่ ส าธารณะที่ จ ะส่ ง ผล ต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องเรา ในอนาคตได้ขนาดไหน

เรำท�ำงำนโดยมีเจ้ ำของมำจ้ำง

ใช้เวลำพอสมควร เพรำะกำร-

เรำมีควำมหวังตลอดเวลำ

ควำมหวัง เรำมีควำมหวังว่ำจะ เกิดขึน ้ อีกเยอะๆ ครัง้ หนึง ่ เรำเคย

แต่ ว่ ำ เขำกลั บ มำเชื่ อ เรำที่ บ อก สถำปนิ ก เป็ น อำชี พ ที่ เซอร์ วิ ส

ลูกค้ำ เขำเป็นคนจ่ำยเงินให้เรำ

เรำก็จะมีโอกำสน้อยกว่ำชำวบ้ำน

ดังนัน ้ สิง่ ส�ำคัญคือกำรให้ควำมรู ้ ให้ประชำชนเข้ำใจ แล้วให้เสียง ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น ไ ป ถึ ง ร ะ ดั บ ผูบ ้ ริหำรประเทศ เพือ ่ ให้เขำใส่ใจ ในเรื่อ งนี้ ม ำกๆ และลงมื อ ท� ำ ให้เป็นรูปเป็นร่ำงขึ้นมำ

QUOTE

วำงแผนในกำรวิง่ เรำนัง่ รถไฟฟ้ำ

13

เรำว่ำควำมสมดุลเกี่ยวข้องกับทุกอย่ำงบนโลกใบนี้ เหมือนเป็นธรรมะอย่ำงหนึ่งด้วย คือกำรเดินสำยกลำง ถ้ำเรำไม่มำกไป ไม่น้อยไป

กัน มันก็ได้ควำมรูส ้ ก ึ อีกแบบหนึง่

นะ ว่ำถ้ำเรำประคบประหงมเขำ

ทุกอย่ำงก็จะดี สุดโต่งไปก็ไม่ดี น้อยไปก็ไม่ดี อย่ำงเรำเองเป็นทั้งสถำปนิกและนักดนตรี เรำก็ต้องสร้ำงสมดุลระหว่ำงสิ่งที่เรำชอบคือดนตรี

แต่ในขณะเดียวกันเรำก็รูป ้ ญ ั หำ

ไม่เหมือนบ้ำนเรำที่ไม่มีกำรท�ำ

มี ก ำรตอกเข็ ม เหมื อ นตึ ก เลย

issue 628

ไปลงที่สวนลุมฯ วิ่งเสร็จก็ ทะลุ

ให้ไม่มำรบกวนกับงำนประจ�ำอย่ำงสถำปนิก

เกิ ด กำรเดิ น ของผู้ ค นใน พื้นทีเ่ มืองในชีวต ิ ประจ�ำวัน หรือกลุม ่ Big Tree องค์กร อำสำสมัครที่มีจุดประสงค์ ในกำรสร้ำงควำมเข้ำใจให้ ่ วกับเรือ ่ งต้นไม้ กับผูค ้ นเกีย ใหญ่ ใ นเมื อ ง ที่ เ ริ่ ม จำก กำรรวมตัวกันของคนทีเ่ ห็น ควำมส�ำคัญของต้นไม้ใหญ่ และน�ำไปสูก ่ ำรหำทำงรักษำ ต้นไม้ใหญ่ให้อยูก ่ บ ั เมืองได้

ต่ ำ งประเทศเขำลงทุ น ดี ม ำก

เพื่อคงพื้นที่สีเขียวไว้


A MUST EVENT

ระยิบระยับอัมพวา ต้อนรับเทศกาลแห่งความรัก ด้วยอีเวนต์นา ่ รัก ระยิบระยับอัมพวา 'สายน้�าแห่งชีวิต วิถีหัตถกรรม จรัส แสง' ภายในงานมีกจ ิ กรรมเวิรก ์ ช็อป มากมาย อาทิ ท�ากระดาษสาจาก ใยมะพร้าว การจักสานใบมะพร้าว ท� า ผ้ า มั ด ย้ อ มจากกะลามะพร้า ว และเพลิ ด เพลิ น ไปกั บ สิ น ค้ า ท� า มื อ เต็มอิ่มกับอาหารท้องถิ่น ฟังทอล์ก เกีย ่ วกับการอนุรก ั ษ์หง่ิ ห้อย สอยโคระ (ผลไม้ ที่ ถู ก หุ้ ม ไว้ กั บ เครื่ อ งสาน เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ห น อ น ม า ช อ น ไ ช ท�าความเสียหายให้กับผลไม้) และ แลกของรางวั ล สุ ด พิ เ ศษที่ ห าชม ทีไ่ หนไม่ได้ งานนีจ ้ ด ั ขึน ้ ในวันที่ 14-15 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 13.00-21.00 น. ณ โครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรก ั ษ์ รายละเอียดเพิม ่ เติม www.facebook. com/RayibRayabAmphawa

R E S TA U R A N T

MONO SEI

เปิดบริการตั้งแต่เวลา 18.00-23.00 น. (ปิดทุกวัน จันทร์) ภายในโรงแรมอินเตอร์ คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ ชั้น G ส�ารองโต๊ะโทร. 09-46546326 หรือ reservation@ monosei.com

いらっしゃいませ ยินดีต้อนรับสู่ร้านอาหารญี่ปุน ่ สไตล์โอมะกะเสะที่ไม่ได้มีดีแค่ซูชิ เพราะ ทางร้านต้องการก้าวออกจากกรอบของการกินอาหารแบบเดิมๆ จึงยกระดับ โอมะกะเสะขึน ุ ่ มากประสบการณ์จา� นวน 4 ท่าน ้ ไปอีกขัน ่ น ้ ด้วยการรวบรวมเชฟญีป ผูม ้ จ ี ด ุ เด่นเเละความเชีย วชาญในแต่ ล ะด้ า นของอาหารญี ป ุ ่ มาร่วมกันสร้างสรรค์ ่ ่ น คอร์สอาหารสุดพิ เศษจากวัตถุดิบคัดสรรชั้นดีจากทั่วทุกมุมโลก ทั้งเนื้อวัว สัตว์ทะเล เครือ ิ ทีไ่ ม่สามารถ ่ งเทศ ดอกไม้เฉพาะฤดูกาล และผลไม้ ล้วนเป็นวัตถุดบ หาซื้อ ได้ ทั่ ว ไป วั ต ถุ ดิบ หลายชนิ ดต้ อ งประมู ล แข่ ง ขั น จึ ง จะได้ ม าซึ่ ง ของที่ ดี และสดใหม่ที่สุด เพื่อน�ามาปรุงอย่างพิถีพิถันเป็นเมนูแบบฟิวชันฟู ด ้ ที่สามารถ ผสมผสานระหว่างรสชาติดั้งเดิมของวัฒนธรรมญี่ปุน ่ และความหรูหราของ ยุคสมัยปัจุบันได้อย่างลงตัวและครบถ้วน ซึง่ ความเป็นเลิศทีว ่ า ่ มานั้นอยูท ่ รี่ า้ น Mono Sei โดยเขามีบริการ Dinner Course จ�านวน 24 คอร์ส ทีจ ่ ัดมาเต็มๆ ครบๆ จุกๆ ทัง้ เครือ ่ งดื่ม อาหารเรียกน�าย่อย และขนมหวาน ในราคา 12,000+++ บาท (น�าสปาร์กลิงผสมส้มยูสท ุ เี่ สิรฟ ์ เป็นออร์เดิรฟ ์ บอกเลยว่าสดชืน ่ มาก) หากลูกค้าไม่รบ ั ประทานเนือ ้ วัว แพ้อาหารประเภทไหน หรือไม่ชอบวัตถุดบ ิ ชนิดใด สามารถแจ้งกับทางร้านให้ทราบได้ โดยเชฟจะปรับเปลีย ่ นรายการอาหารใหม่ ให้คณ ุ ว้าวไปกับความครีเอตของเหล่าเชฟ ที่ไม่เหมือนใคร และทางร้านยังบันทึกไว้เป็นข้อมูลส�าหรับการรับประทานอาหารในครัง้ ต่ อๆ ไปส�าหรับคุณด้ วย สนใจอยากไปชิมอาหารญีป ่ น ุ่ แบบพรีเมียมนี้ ดูรายละเอียดเพิม ่ เติมได้ที่ https://monosei.com

Mono หมายถึง หนึ่งเดียว Sei ในภาษาญี่ปุน่ แปลว่า ดียิ่งขึ้น

เมื่อน�าค�าทั้งสองมารวมกันจึงเป็นความหมายที่ร้านตั้งใจสื่อสารกับลูกค้าทุกคน

CONCERT CHON LIVE IN BANGKOK วงดนตรีจากเมืองซานดิเอโก รัฐแคลิฟอร์เนี ย ที่จะมาเขย่าโสตประสาทของการจัดเรียงสเกลโน้ต ด้วยเมโลดีส ้ ด ุ พิลก ึ ของดนตรีประเภท โปรเกรสซีฟร็อกและแมธร็อกทีเ่ ปิด ประสบการณ์ทางดนตรีอน ั แปลกใหม่ ให้กบ ั ผูฟ ้ งั ผ่านผลงานสร้างชือ ่ ให้วง อย่าง Nayhoo และ Can't Wait หากใครสนใจ พบกั บ วง Chon ได้ ใ นวั น ที่ 7 กุ ม ภาพั น ธ์ 2563 ที่ Lido Connect ซื้ อ บั ต รได้ ที่ Ticketmelon.com

14


BOOK

คดีนี้ขอตาย 7 ครั้ง

PRODUCT

CAFÉ

ฉุย

TIM HORTONS

หากคุ ณ มี อ าการวิ ง เวี ย นศี ร ษะ ตาลาย คล้ายจะเป็นลม หายใจไม่ทว่ั ท้อง อยากให้ลอง ฉุย ยาดมสมุนไพรสัญชาติไทย ทีโ่ ดดเด่นด้วยกลิน ่ หอม เย็นๆ เป็นท็อปโน้ตตามด้วยผลไม้และดอกไม้ทม ี่ ี ถึ ง 12 กลิ่ น ไม่ ว่ า จะเป็ น กลิ่ น เปปเปอร์ มิ น ต์ กลิน ่ กุหลาบ กลิน ่ บัว กลิน ่ มะลิ กลิน ่ มะม่วง เป็นต้น ราคา 39 บาท และแบบแพ็กเกจใหม่ลายยักษ์ อารมณ์ ดีและนางกวักเรียกทรัพย์ รวม 6 กลิ่น ราคา 240 บาท รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www. facebook.com/chouibrand

ร้านกาแฟยอดนิยมจากประเทศแคนาดา ที่มาเปิดสาขาแรกที่สามย่านมิตรทาวน์ เอาใจ คนรักรสชาติกาแฟคุณภาพดีพร้อมบรรยากาศ คาเฟ่ ในระดั บ ราคาที่ ทุ ก คนเข้ า ถึ ง ง่ า ย โดยมี เครือ ่ งดื่มขึน ้ ชือ ่ อย่างทิมส์ ลาเต้ ส�าหรับดื่มคู่กับ ขนมอบใหม่ทง้ั โดนัท มัฟฟิน ครัวซองต์ คุกกี้ หรือ ขนมยอดนิยมอย่างทิมบิตส์หลากหลายรสชาติ เช่ น ช็ อ กโกแลตทรัฟ เฟิ ล และคุ้ ก กี้ ค รัม เบิ ล นอกจากนีย ้ งั มีแซนด์วช ิ ร้อน ชุดอาหารเช้าทีป ่ รุงสด จากครัว และรายการอาหารพิเศษทีม ่ ข ี ายเฉพาะ สาขาแรกในประเทศไทยเท่ า นั้ น คื อ บาร์บี คิ ว พูลพอร์ก พานินี่ แซนด์วช ิ และทูนา ่ กริลล์ชส ี เมลต์ เปิ ด บริก ารทุ ก วั น ตั้ ง แต่ 7 โมงเช้ า ถึ ง เที่ ย งคื น รายละเอี ย ดเพิ่ม เติ ม www.facebook.com/ timhortonsth

WORKSHOP

MOVIE

UMESHU SEASON2 - CLASS OF HANDCRAFT NO.002

CLASSIC AGAIN

ใครทีต ่ ้ง ั หน้าตั้งตารอคอร์สดองเหล้าบ๊วย ห้ า มพลาด เพราะปี นี้ ด อกบ๊ ว ยที่ อ.เชี ย งดาว จ.เชียงใหม่ เริม ่ ว ่ บานแล้ว อีกไม่นานก็จะได้เก็บเกีย ผล ดั ง นั้ น ทาง Waang pi จึ ง เปิ ด รอบให้ จ อง คอร์ส Umeshu สูตรพิเศษ พร้อมการพักผ่อน และการดินเนอร์สด ุ ชิลที่ 606 Studio โดยคอร์สนี้ ได้รวมการสัมผัสบรรยากาศของหมูบ ่ า้ นบนยอดเขา เพื่อไปคัดสรรผลบ๊วยในสวนเก่าแก่บนความสูง กว่า 1,200 เมตร คอร์สนี้สองวันหนึ่งคืน อาหาร 5 มื้ อ ในราคา 5,900 บาท และยั ง ได้ บ๊ ว ยสด กลั บ บ้ า น น� าตาลโฮมเมด พร้ อ มโหลหมั ก กิจกรรมจัดขึน ้ ภายในเดือนมีนาคมนี้ รายละเอียด เพิม ่ เติม www.facebook.com/waangpi

หนังฉบับรีเมกจาก The Classic (2003) ที่ เ คยสร้า งความหวั่ น ไหวในจิ ต ใจ จนน� า ตา ต้ องริน ไหล โดยคราวนี้ เป็นเรือ ่ งของ ‘โบต้ า’ หญิงสาวทีแ ่ อบหลงรัก ‘นน’ แต่เธอก็ไม่อาจบอก ความในใจได้ เพราะกลัวจะผิดใจกับเพื่อนสนิท ของเธอทีแ ่ อบชอบหนุม ่ คนนีอ ้ ยูเ่ ช่นกัน จนวันหนึง่ ที่ เ ธอได้ พ บจดหมายรัก ครั้ง แรกของแม่ เ ธอ ข้อความในจดหมายกับเรือ ่ งราวของคนรุน ่ ก่อน ได้เปลีย ่ นความคิดเดิมๆ ของโบต้า และท�าให้เธอ มองความรั ก ในมุ ม ที่ ไ ม่ เ คยนึ กถึ งมาก่ อน แต่ สุ ด ท้ า ยแล้ ว จดหมายนี้ จ ะพาความรู ้ สึ ก ของเธอไปพบค�าตอบแบบไหน ติดตามความรัก ค รั้ ง นี้ ไ ด้ ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ 6 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 3 ในโรงภาพยนตร์

นิ ย ายสื บ สวนฆาตกรรมเรื่อ งแรกของ สจวร์ต เทอร์ทน้ ั นักเขียนหน้าใหม่ทไี่ ด้รบ ั รางวัล นิยายยอดเยีย ่ มจากหลายเวที พร้อมค�าชมจาก นั ก วิ จ ารณ์ อ ย่ า งล้ น หลาม เนื้ อ เรื่ อ งเริ่ ม ต้ น ณ เวลาใกล้เที่ยงคืน เอเวอลิน ฮาร์ดแคสเซิล ลูกสาวของตระกูลฮาร์ดแคสเซิล ถูกฆาตกรรม กลางงานเลี้ยง โดยที่ เอเดน บิชอป ไม่สามารถ ช่วยชีวต ิ เธอได้ทน ั แต่ทแ ี่ ปลกไปกว่านัน ้ คือ ทุกครัง้ ทีเ่ วลาวนกลับมาเริม ต้ น ใหม่ เหตุ ก ารณ์ นี้จะเกิด ่ อีกครัง้ เหมือนภาพฉายซ�า ส่วนเอเดนจะตืน ่ ขึน ้ มา ในร่างคนอืน ่ ภายในคฤหาสน์ เพือ ่ เก็บเงือ ่ นง�าต่างๆ มาใช้ไขคดี ซึ่งเขาได้สิทธิ์อยู่ในร่างคนอื่นเพียง 8 ครัง้ ทางเดียวทีจ ่ ะท�าลายวงจรนี้ได้คือเอเดน ต้องหาให้พบว่าใครคือฆาตกรตัวจริง (ส�านักพิมพ์ Maxx Publishing / ราคา 459 บาท)

A C C E S S O RY

TENS SUNGLASSES มองโลกความเป็นจริงให้กลายเป็นโทนสี แห่งจินตนาการราวกับหลุดมาจากหนังของ เวส แอนเดอร์สัน ด้วยแว่นกันแดด Tens รุน ่ พิเศษ Spectachrome ซึ่ ง ออกแบบฟิ ล เตอร์ห รือ ตัวกรองแสงของแว่นโดยได้รบ ั แรงบันดาลใจ มาจากการเลือกใช้สี Emerald Greens และ Citron ในภาพยนตร์เรือ ่ ง Moonrise Kingdom, T h e R o y a l Te n e n b a u m s แ ล ะ H o t e l Chevalier ส่วนกรอบแว่นก็ออกแบบให้มล ี ก ั ษณะ ทัง้ ย้อนยุคและร่วมสมัย ไม่วา ่ จะเป็นใครหรืออยู่ วัยไหน หากได้ ใส่แว่นตารุ น ่ นี้ คุณจะดูเท่และ ไม่เหมือนใคร มีให้เลือกถึง 5 แบบ สั่งซื้อได้ที่ https://tens.co

ISSUE 628

0033 FFEEBB 22002200

จดหมาย สายฝน ร่มวิเศษ

13 15


TASTE THE ITALIAN EXPERIENCE WITH ่ ในยามเช้าด้วยกลิน ่ งชงกาแฟแบบแคปซูล ทีเ่ รียบง่าย ทันสมัย ใช้งานง่าย ปลุกความสดชืน ่ กาแฟหอมๆ จากเครือ แ ต่ให้รสชาติความเข้มข้นราวกับมีบาริสตามาชงให้ถึงบ้าน อย่าง Nespresso ที่วันนี้ได้ออกคอลเลกชันใหม่ ่ กาแฟของชาวอิตาลี หยิบเอาเอกลักษณ์ ‘Ispirazione Italiana’ ได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากวัฒนธรรมการดืม ่ การคัว กาแฟที แ ตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะเมื อ ง มาบรรจุ ใ นแคปซู ล เสิ ร ฟ ์ ให้ ค ุณถึงที่บ้าน เพียงกดปุม ่ เดียวก็สามารถ ่ ลิ้มรสกาแฟเข้มข้น หอมละมุน พร้อมน�าพาคุณท่องเที่ยวไปยังแต่ละเมืองของอิตาลี

ITALIAN COFFEE CULTURE ช าวอิตาลีกว่า 75% ชืน ่ ชอบการดื่ม กาแฟในบ้าน จนกลายเป็นวัฒนธรรมทีเ่ พิม ่ ค วามรื่ น รมย์ ใ ห้ กั บ ชี วิ ต ของชาวอิ ต าลี โดยผูป ้ ฏิวต ั วิ งการกาแฟชาวมิลานอย่าง ลุยจี เบซเซรา (Luigi Bezzera) ได้คด ิ ค้นและผลิต เครือ ่ งชงกาแฟเอสเพรสโซขึ้นเป็นครัง้ แรก ของโลก ซึง่ สามารถชงกาแฟได้งา่ ยและรวดเร็ว เพี ย งครึ่ง นาที แถมยั ง ได้ ร สชาติ ที่ เข้ ม ข้ น โดยจดสิทธิบต ั รอย่างเป็นทางการเมือ ่ ค.ศ. 1901 นับตัง้ แต่นน ั้ เป็นต้นมา เครือ ่ งชงกาแฟ เ อสเพรสโซก็ได้ปรับเปลี่ยนรูปร่าง หน้าตา และวิ ธีก ารใช้งานมาโดยตลอด จนมาถึ ง เครื่อ งชงกาแฟ Nespresso ที่ ท� า ให้ เรา สามารถดื่ ม ด� า กาแฟได้ ง่ า ยยิ่ ง ขึ้ น เพี ย ง ปลายนิ้ ว กาแฟแท้ค่ั วบดบรรจุในแคปซูล อะลูมเิ นียม ทีค ่ ด ั สรรเมล็ดกาแฟและคัว ่ อย่าง ละเอียดอ่อนจนได้ความเข้มทีแ ่ ตกต่าง ในปีนี้ Nespresso ได้แรงบันดาลใจ อ อกกาแฟคอลเลกชันใหม่ ‘Ispirazione Italiana’ ทีร่ วมกาแฟเอสเพรสโซรสเข้ม และ ริสเทรตโต้รสหนักแน่นเข้าด้วยกัน จนได้กาแฟ 7 รสชาติ ให้ความรูส ้ ก ึ เหมือนได้เดินทางไป ชิ ม กาแฟสไตล์ อิ ต าเลี ย นต้ น ต� า รับ ที่ ช วน หลงใหลของเมืองต่างๆ ในประเทศอิตาลี เช่น โรม, ฟลอเรนซ์, เนเปิลส์ และเวนิส ฯลฯ

ISPIRAZIONE NAPOLI:

รสเข้ม ละมุน

เนเปิลส์จะมีถนนสายกาแฟทีม ่ วี ฒ ั นธรรม ก ารดืม ่ กาแฟแบบท้องถิน ่ ซึง่ หยัง่ รากลึกกัน มาเนิน ่ ก ี ลิน ่ นานดังนัน ่ อายเมืองเนเปิลส์ ้ กาแฟทีม จึงถูกตีความและพัฒนารสชาติกาแฟให้เข้มข้น ขึน ้ กว่าเดิม โดยเริม ่ ตัง้ แต่การปล่อยให้เมล็ด ก าแฟโรบัสตาสุกอย่างเต็มที่ ก่อนน�าไปคั่ว ผ่านฝีมอ ื ชัน ่ ให้ได้รสชาติทน ี่ ุ่มละมุน ้ ครู เพือ ห อมมัน แต่ แอบซ่อนความขมเล็ กๆ ไว้ที่ ป ลายลิ้น สามารถสะท้อนความเป็นเมืองห ลวงด้านกาแฟของประเทศอิตาลีได้เป็น อ ย่างดี และไม่ว่าคุณจะดื่ มเป็นกาแฟด� า อย่างเอสเพรสโซช็อต หรือจะเติมนมลงไป เล็ ก น้ อ ย ก็ จ ะได้ ร สชาติ เข้ ม ข้ น แต่ ล ะมุ น ดุจได้เดินทางไปเมืองเนเปิลส์


ISPIRAZIONE VENEZIA:

ISPIRAZIONE RISTRETTO ITALIANO:

หนักแน่น และ กลมกล่อม

ความคลาสสิก ที่ลงตัว

เวนิสเป็นเมืองโบราณทีม ่ ป ี ระวัตศ ิ าสตร์ อันยาวนาน รวมไปถึงการเป็นเมืองทีน ่ า � เข้า ก าแฟหลากหลายประเทศทั่วโลก ในขณะ เ ดียวกันยังมีชอ ื่ เสียงด้านการคัว ่ กาแฟระดับ มืออาชีพ ทีเ่ น้นการรักษาสมดุลของรสชาติ จากเมล็ดกาแฟ จึงให้เนื้อกาแฟทีห ่ นักแน่น แ ต่หอมกลิ่นคั่ว ดุจกลิ่นคาราเมล และยัง สามารถเติมนม หรือท�าเป็นคาปูชโิ น่ก็จะได้ กาแฟหอมละมุนแบบฉบับเมืองเวนิส

ถ้ า พู ด ถึ ง ขนบธรรมเนี ย ม การดืม ่ กาแฟ คงหนีไม่พน ้ การดืม ่ แบบ ริสเทรตโต้ หรือกาแฟช็อตเล็ ก ซึ่งได้ แรงบันดาลใจมาจากทูตานุทต ู จากประเทศอิตาลี ซึง่ Ispirazione Ristretto Italiano นีไ้ ด้เกิดจาก ผลลั พ ธ์ ข องการคั่ ว นานเพื่ อ ให้ ไ ด้ ร สชาติ ที่เข้มข้น ลงตัวดังเอกลักษณ์ของกาแฟใน สไตล์อต ิ าเลียน พร้อมกลิน ่ นๆ ่ หอมดุจผลไม้ออ ซึ่งยังคงรสชาติคงเดิมเสมอทุกครัง้ ที่ผ่าน เครือ ่ งชงกาแฟเนสเพรสโซ

ISPIRAZIONE ROMA:

สง่างามและ ซับซ้อนดั่งเมืองโรม

หากกาแฟคื อ จุ ด ตั้ ง ต้ น ของประสบการณ์ใหม่ๆ เราจึง อยากชวนคอกาแฟมาสั ม ผั ส รสชาติกาแฟอิตาลีแท้ๆ ไปกับ เ น ส เ พ ร ส โ ซ ทั้ ง 7 ร ส ช า ติ ในคอลเลกชันกาแฟใหม่ ‘Ispirazione Italiana’ เริม ่ ต้นเพียงแคปซูลละ 20 บาท สามารถหาซื้ อ ได้ แ ล้ ว วั น นี้ ที่ เนสเพรสโซ บูติค • สยามพารากอน ชั้น 1 • ไอคอนสยาม ชั้น 1 • เซ็นทรัล เอมบาสซี ชั้น 2 • เอ็มควอเทียร์ ชั้น 1 • เมกาบางนา ชั้น 1 หรือสั่งออนไลน์ทาง

www.nespresso.com “ร่วมชิมกาแฟฟรี และพบกับ กาแฟสูตรพิเศษ พร้อมกิจกรรม และเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ในราคา สุดพิเศษ” ตั้งแต่วันที่

31

ราค สุดพ า ิเศษ

มกราคม ถึง 4 กุมภาพันธ์ 2563 ณ Quartier Gallery ห้างสรรพสินค้าเอ็มควอเทียร์

ISPIRAZIONE FIRENZE ARPEGGIO:

กรุงโรมเป็นเมืองแห่งประวัตศ ิ าสตร์ที่ สะท้อนให้เห็นถึงความหรูหราและสง่างามทีม ่ ี มาเนิ่นนาน กลิน ้ ่ กาแฟหอมๆ ลอยคละคลุง ออกจากร้านกาแฟพืน ้ ถิน ่ ระจายตัวอยูท ่ วั่ เมือง ่ ทีก ราวกับว่าเมืองแห่งนี้ถูกคลุมไปด้วยหมอก หอมๆ จากไอร้อนจากเครือ ่ งเอสเพรสโซ ความซับซ้อนนีจ ้ งึ ได้กลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของ Ispirazione Roma ด้วยวิธก ี ารคัว ่ อันประณีต สร้างรสชาติทซ ี่ บ ั ซ้อน ให้กาแฟเข้มข้น แต่คง ความสมดุลของกลิน ี่ อดแทรก ่ หอมดุจผลไม้ทส อยู่ในทุกๆ จิบ เปรียบเสมือนการท่องเที่ยว ไปยังเมืองโรมอันน่าอัศจรรย์แห่งนี้

ละมุนประดุจเมือง ฟลอเรนซ์

เมืองฟลอเรนซ์ คือภาพสะท้อนของวัฒนธรรม ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นศูนย์กลางแห่ง ภูมป ิ ญ ั ญาซึง่ ตัง้ อยูใ่ จกลางของประเทศอิตาลี ก่ อ นที่ จ ะขยายอิ ท ธิ พ ลไปจนทั่ ว ประเทศ ดังนัน ้ กาแฟ Ispirazione Firenze Arpeggio นีจ ้ งึ มีสไตล์การคัว ่ ของ Arpeggio นอกจาก ไ ด้ ร ับ อิ ท ธิ พ ลข้ า งต้ น ผสานเข้ า กั บ ผลไม้ พื้นเมืองที่พบได้ ทางตอนเหนื อของอิ ตาลี ท�าให้ได้กลิน ่ หอมผลไม้พร้อมกลิน ่ ของโกโก้ จากทางใต้ ผนึ ก รสชาติ เข้ ม ข้ น หอมมั น ละมุนลิน ่ บ ิ กาแฟนี้ ้ ทุกครัง้ ทีจ

ISPIRAZIONE PALERMO KAZAAR:

หนักแน่น เข้ม เต็มอารมณ์ ปาแลร์โมคือเมืองที่ได้รบ ั อิทธิพล ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมมาจากแอฟริกัน และอาหรับ ทีผ ่ สมผสานกันได้อย่างลงตัว ท�าให้เกิดเป็นแรงบันดาลใจคิดค้นกาแฟ สูตรพิเศษ Palermo คัว ่ ให้ได้รสเข้ม ่ เข้ม เพือ หนักๆ แต่ได้กลิ่นหอมของเปลือกไม้และ เครือ ่ งเทศชัดเจน พร้อมดืม ่ ด�าไปกับเครม่า เข้มข้นหนานุม ่ ราวกับเป็นพระราชาแห่งกาแฟ

ISPIRAZIONE GENOVA LIVANTO:

ความสมดุลที่ลงตัว

เจนัวคือเมืองท่าทีส ่ า� คัญของอิตาลี เป็นสถานทีต ่ ง้ั ต้นของนักเดินเรือ เพื่ อ ออกเดิ น ทางตามหากลิ่ น หอมและรสชาติ ก าแฟต่ า งๆ ที่ มี อ ยู่ มากมายทัว ้ พบขุมทรัพย์ลา � ค่าทีร่ อคอย ่ โลก และแล้วนักเดินเรือก็ได้คน มาเนิ่นนาน นั่นก็คือเมล็ดกาแฟในแถบลาตินอเมริกา แรงบันดาลใจนี้ แปรเปลีย ่ นให้เกิดเป็นรสชาติทโี่ ดดเด่น ด้วยการผสมผสานเมล็ดกาแฟ จากประเทศบราซิล โคลอมเบีย และกัวเตมาลา แบบคัว ่ กลาง ทีใ่ ห้รสชาติ และกลิ่ นหอมแนวธัญพืชและคาราเมล ความลงตั วที่ให้ความรู ส ้ ึก ราวกับเพชรที่ประดับอยู่บนยอดมงกุฎ


เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์

ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร

THEY SAID

18


RUN FOR GREEN LIFE แม้องค์การอนามัยโลกจะระบุว่า เมืองที่ดีควรมีพื้นที่สีเขียวเฉลี่ย 9 ตารางเมตรต่อคน แต่จากข้อมูลส�านักงานสวนสาธารณะ กรุงเทพมหานคร เมื่อปี 2560 ระบุว่า กรุงเทพฯ มีพ้ืนที่สีเขียวรวม 6.43 ตารางเมตรต่อคนเท่านั้น ซึ่งต�่ากว่าเกณฑ์ที่ก�าหนด จากโจทย์ ส� า คั ญ นี้ จึ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด กิ จ กรรม ‘วิ่ ง สร้ า งเมื อ ง’ โดยที ม งานคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ และสมาคมนิ สิ ต เก่ า คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเล็งเห็นความส�าคัญของการ ‘สร้างเมือง’ ด้วยการสร้าง ‘งานสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม’ ที่มีคุณประโยชน์ต่อเมือง และมุ่งมั่น ที่จะสร้างจิตส�านึกให้กับประชาชนร่วมมือกันเพิ่มพื้นที่สีเขียว อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อผลักดันให้เกิดการพัฒนา ‘สร้างเมือง’ อย่างเป็นรูปธรรมและ ยั่งยืน ซึ่งปีนี้จัดเป็นปีท่ี 4 แล้ว

่ สร้างเมือง วิง ่ เพือ

“การสร้างเมืองไม่จา� เป็น ต้องไปสร้างก็ได้ บางที เราแค่ ท� า ให้ เ ขารู้ สึ ก คิ ด ไปกั บ เรา และมี พฤติกรรมออกมา มันก็ ถือเป็นการสร้างเมือง ทางอ้อมได้เหมือนกัน”

“เมื่อปี 2559 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ครบรอบ 84 ปี มีการตัง้ คณะอนุกรรมการมาเพือ ่ จะจัดงาน เฉลิมฉลองและหารายได้ โดยในปีแรกเราน�ารายได้ไปเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสร้า งอาคารเรีย นหลั ง ใหม่ ข องคณะฯ ส่วนปีทส ี่ องน�ามาซือ ้ ครุภณ ั ฑ์ แต่กรรมการสมาคมก็คด ิ กันว่า ครั้ง ถั ด ไปอยากจะท� า อะไรที่ เป็ น การสร้า งเมื อ งจริง ๆ เราจึงคุยกันว่าอยากจะจัดงานวิง่ แล้วน�ารายได้สว ่ นหนึ่ง ไปร่ว มสร้า งเมื อ ง จนกระทั่งไปเจอพื้ น ที่ ที่ บางกระเจ้ า ซึ่ ง เราอยากสนั บสนุ น จึ งมี ก ารสร้า งกิ จ กรรมขึ้ น มาคื อ ‘วิ่ ง สร้า งเมื อ ง’ เพราะเรื่อ งของเทรนด์ ก ารวิ่ ง ค่ อ นข้ า ง เป็นทีน ่ ิยมมาก เราจึงจัดกิจกรรมให้มาออกก�าลังกายกัน และเป็นการหารายได้อีกทางหนึ่ง”

่ มโยงเมืองสูธ เชือ ่ รรมชาติ

“เราบังเอิญไปเจอกับ สุกจ ิ พลับจ่าง ทีเ่ รียกตัวเองว่า เป็นยามเฝ้าหิง่ ห้อย ซึง่ เป็นกลุม ่ อนุรก ั ษ์ธรรมชาติทบ ี่ างกระเจ้า เป็ นคนที่ โตมาในพื้ น ที่ น้ั น เขาอยากได้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในเรือ ่ งของการสร้างสะพานไปยังพืน ้ ทีอ ่ ก ี พืน ้ ทีห ่ นึง่ ซึง่ เป็น พืน ้ ทีส ่ เี ขียวทีย ่ งั ดิบอยูม ่ าก ซึง่ พืน ้ ทีต ่ รงนั้นเป็นพืน ้ ทีท ่ เี่ รา เข้าไปศึกษา และพบว่ายังมีหิ่งห้อยอยู่จริงๆ แต่ปัจจุบัน มีเรือ ่ งของน�าขึน ้ น�าลง เรือ ่ งของน�าท่วม ไปจนถึงการสร้าง เขือ ่ นกัน ุ ภาพน�าด้อยลงไป หิง่ ห้อยก็เริม ่ หายไป ้ น�า ท�าให้คณ แต่ ก็ ยั ง มี บ างพื้ น ที่ ที่ ห่ิ ง ห้ อ ยเข้ า มาอยู่ พื้ น ที่ ต รงนั้ น คน ยังเข้าไปไม่ถึง เราจึงคิดว่าน่าจะดีถ้ามีสะพานเชื่อมเป็น แหล่งให้คนเข้าไปถึง เข้าไปเรียนรู ้ เข้าไปเห็นว่าใกล้ๆ กรุงเทพฯ ก็ยงั มีหงิ่ ห้อยอยู่ ประเด็นของเราคือวิถีชว ี ต ิ ของกรุงเทพฯ ไม่ได้มแ ี ค่คนเมืองอย่างเดียว แต่ยงั มีทใี่ กล้ๆ ทีเ่ ขายังอยู่ ด้ ว ยกั น กั บ ธรรมชาติ ไ ด้ สะพานตั ว นี้ เราท� า เพื่ อ หลั ก ๆ คือการสร้างจิตส�านึกให้คน เพือ ่ ให้คนเข้าไปเห็น ไปเรียนรู”้

ช่วยกันคนละไม้คนละมือเพื่อพื้นที่สีเขียว

“ถ้าพูดตามจริงพืน ้ ทีส ่ เี ขียวในกรุงเทพฯ มีน้อยมาก แต่ถามว่าเรามีไหม เราก็มี แต่เป็นลักษณะพืน ้ ทีส ่ เี ขียวใหญ่ๆ เช่น สวนลุมพินี สวนจตุจักร สวนหลวง ร.9 บางกระเจ้า แต่มันไม่มีสวนขนาดเล็กที่คนสามารถไปจูงหมาเดินเล่น ได้ มันต้องนัง่ รถไฟฟ้าไป ขับรถไป แล้วไปจอดรถเพือ ่ ไปวิง่ เพราะว่ า ด้ ว ยสภาพของการลงทุ น หรือ อะไรก็ แ ล้ ว แต่ มันท�าให้พน ื้ ทีเ่ หล่านีม ้ น ั ไม่เกิดขึน ้ ถ้าจะช่วยกันในระดับใหญ่ คงยาก เพราะผังเมืองคงปรับเปลีย ่ นยากส�าหรับกรุงเทพฯ สิง่ ทีท ่ า� ได้คอ ื ปรับปรุงตัวคนเราให้ชว ่ ยกันคนละไม้คนละมือ ปลูกทุกอย่างขึ้นมาได้ ปลูกต้นไม้ก็ง่ายที่สุด แต่ก็ช่วยได้ มากที่สุดด้วย”

เปลี่ยนพื้นที่ที่อยู่เป็นสีเขียว

“ปัจจุบน ั ของเราก็มก ี ฎหมายเรือ ่ ง EIA หรือกฎหมาย

Run For Better City 2020 issue 628

ว่าด้วยการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ก�าหนดว่า ทุกโครงการสาธารณะต้องมีพน ื้ ทีส ่ เี ขียว สิง่ เหล่านีส ้ อ ื่ ให้เห็น ว่าภาครัฐให้ความส�าคัญกับเรือ ่ งนีอ ้ ยู่ หากถามว่าในระดับ ของคนทัว ้ ทีส ่ เี ขียว ่ ไปจะท�าอย่างไรในการช่วยส่งเสริมพืน ได้บา้ ง ยกตัวอย่างในระดับของบ้านของคอนโดฯ ตรงพืน ้ ที่ ระเบียงก็สามารถเปลีย ่ นให้กลายเป็นต้นไม้ได้ มันปลูกไม่ยาก ถ้าเริม ี น ื้ ทีส ่ เี ขียวขึน ้ ่ กันคนละไม้คนละมือ ท�าระเบียงให้มพ ให้พน ื้ ทีต ่ ก ึ สูงมีออกซิเจนออกมา”

ร่วมสร้างจิตส�านึกที่ดีเพื่อส่งต่อการสร้างเมือง

“บางกระเจ้าก็คอ ื กรุงเทพฯ ถ้าเกิดเราคลุมให้มน ั เป็น สีเขียวได้อย่างนี้ก็จะดีกับภาพรวมทั้งเมืองของกรุงเทพฯ ดังนัน ่ งของจิตส�านึกหรือพฤติกรรมของคนทีอ ่ ยูร่ ว่ มกัน ้ เรือ ในเมืองเป็นสิง ส� า คั ญ การที เ ่ ราปลู ก จิ ต ส� า นึ ก ให้ คนลด ละ ่ เลิก ในเรือ ่ งต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมถือว่าส�าคัญมาก อย่างบางกระเจ้าเราก็ทา � เป็นตัวอย่างเล็กๆ ให้คนเขาเห็น สิ่งที่ดีๆ สิ่งที่เขารูส ้ ึกว่าสัมผัสได้แล้วอยู่ในใจเขา และเขา อาจน�าไปเผยแพร่ตอ ่ หรือท�าต่อ อันนีเ้ ป็นแรงกระตุน ้ ทีท ่ า� ให้ คนเข้าถึงได้งา่ ยกว่า การสร้างเมืองไม่จา� เป็นต้องไปสร้างก็ได้ บางทีเราแค่ท�าให้เขารูส ้ ึก คิดไปกับเรา และมีพฤติกรรม ออกมา มันก็ถือเป็นการสร้างเมืองทางอ้อมได้เหมือนกัน”

เมืองคือคน คนคือเมือง

“คุณปุ้ย (วรรณพร ล�าซ�า) ที่เป็นคนริเริม ่ โครงการนี้ เคยพูดไว้วา ่ ความหมายค�าว่าวิง่ สร้างเมืองของเรา ไม่ได้ ตีความเมืองเป็นสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรม จับต้องได้ แต่เป็นนามธรรม ดังนั้น การสร้างเมืองของเรา คือการสร้างเมืองที่น่าอยู่ ถ้ามีแต่ตึก มีแต่ถนน ไม่มีคน มันก็ไม่เป็นเมือง เพราะ มีแต่สงิ่ ทีส ่ ร้างขึน ้ ค�าว่าเมืองแปลว่ามีชว ี ต ิ คุณปุย ้ บอกว่า โครงการวิ่ ง ของเราเพื่ อ สร้า งให้ ค นมี ชี วิ ต ที่ ดี คนต้ อ ง มีคณ ุ ภาพชีวต ิ ทีด ่ ีก่อนเมืองถึงจะดีตาม นี่คือความหมาย ของค�าว่าสร้างเมืองในความหมายของพวกเรา”

วิง ่ั ยืน ่ สร้างเมืองให้ยง

“จุดประสงค์ของงานวิง่ สร้างเมืองไม่ได้มาจัดงานวิง่ หรือ บั น เทิ ง กั บ พี่ น้ อ งสถาปั ต ย์ อ ย่ า งเดี ย ว แต่ มี ค วามตัง้ ใจจริงทีจ ่ ะสร้างอะไรบางอย่างให้เกิดขึน ้ ถ้าเราสามารถ หาโครงการที่นอกเหนือจากเกาะหิ่งห้อย แต่กลายเป็น สิ่งอื่นๆ ต่อไปเรือ ่ ยๆ ได้ก็จะเกิดความยั่งยืน โครงการวิ่ง สร้ า งเมื อ งเป็ น จุ ด ที่ เ ชื่ อ มโยงคนที่ อ าศั ย อยู่ ใ นเมื อ ง หน่วยงานที่ท�าโครงการเกี่ยวกับเรือ ่ งเหล่านี้ รวมทั้งกลุ่ม คนทีส ่ นใจงานออกแบบ กับไอเดียดีๆ ทีเ่ ขาอยากช่วยเมือง ซึง่ เรามองว่าจุดทีเ่ ด็กสถาปัตย์และนักออกแบบทัง้ หลายมี คือเรารูว้ ่าใครอยากท�าอะไรดีๆ ถ้าเราเป็นคนที่เชื่อมโยง สิ่งเหล่านี้ได้ด้วยโครงการวิ่งสร้างเมืองที่มันเกีย ่ วข้องกัน ก็นา่ จะเป็นสิง่ ทีเ่ ราอยากจะท�าในปีตอ ่ ๆ ไป”

สีผ ่ น ู้ �าของโครงการ ‘วิง่ สร้างเมือง 2020’ หรือ ‘Run For Better City 2020’ ในธีม ‘เกาะหิง่ ห้อย’ ทีก ่ �าลังจะเกิดขึน ้ พร้อมกับความหวังนี้ ประกอบไปด้วย ‘เกี๊ยง’ - เกียรติศก ั ดิ์ เวทีวฒ ุ าจารย์, ‘ไก่’ - กฤษณะ ธนะธนิต, ‘ป๊อด’ - ประกิต พนานุรต ั น์, ‘ตุ่ม’ - ศุภลักษ์ สุวต ั ถิ และ ‘ส้ม’ - ศรีสเุ มธ ฤทธิไพโรจน์

03 FeB 2020

19


BULLETIN B ฟินเต็มอิ่ม 4 ชั่วโมงกว่า กับ LOVEiS Homecoming Concert สนุกสุดประทับใจกันไปเรียบร้อยแล้ว ส�ำหรับคอนเสิรต ์ ‘LOVEiS Homecoming Concert’ ทีร่ วมศิลปินทัง้ รุน ่ ใหม่และรุน ่ เก๋ำ ของค่ำย LOVEiS Entertainment เมือ ่ วันที่ 21 ธันวำคมทีผ ่ ำ่ นมำ โดยมี แสตมป์ อภิวช ั ร์, ตู่ ภพธร, ลิปตำ มำสวมบทหมอเป้งในเพลง รักติดไซเรน ต่อด้วยแว่นใหญ่ และโมนิค ทีข ่ น เพลงดังมำร้อง รวมไปถึงเพลงบอกตัวเอง ที่ ได้ ธีร ์ ไชยเดช มำเล่นกีตำร์ให้ฟงั ต่อด้วย เพลงฮิตของ ป๊อด ธนชัย อย่ำงเพลงบุษบำ และตำสว่ำง ทีไ่ ด้ แสตมป์ อภิวช ั ร์, คิว ฟลัวร์ และโอ แว่นใหญ่ มำร่วมร้อง เซอร์ไพรส์ยงั ไม่ หมดแค่นี้ ยังมี โป้ โยคีเพลย์บอย, กัน นภัทร, ไทรอัมพ์สคิงดอม, B5 และ น้อย พรู ต่อด้วย วงวัยรุน ่ ทีก ่ ำ � ลังมำแรงอย่ำง MEAN จำกนัน ้ ก็ตอ ่ ด้วยเพลงสนุกๆ จำกค่ำยแร็ปเปอร์อย่ำง PROM+ น�ำทีมโดย อุย ๋ Buddha Bless และ ลูกทีม ทีม ่ ท ี ศกัณฐ์ นำยนะ นินว ิ และไข่มก ุ มำ แร็ปกันอย่ำงสนุกสนำน ปิดท้ำยด้วยเพลงมัน คงเป็นควำมรัก ทีศ ่ ล ิ ปินทุกคนมำร่วมร้องส่ง ควำมรักและควำมสุขให้กบ ั ผูช ้ มก่อนกลับบ้ำน

สถาบันวิจัยฟรีสแลนด์คัมพิน่า ร่วมกับนักโภชนาการไทย ลงพื้นที่ส�ารวจสุขภาพเด็กไทย กว่า 3,500 คนทั่วประเทศ

ทีเอ็มบีปลื้ม ยอดขายกองทุน เปิด TMB-ES-GSBOND พุ ่งทุบสถิติ

โอ๊ต-ป๊อบ ชวนคนโคตรคูล ท�าดี ฟุ ตบอลมหากุศล

ซุปเปอร์พาร์ค ประเทศไทย น�าเสนอบริการจัดงานเลี้ยง สุดพิเศษ เพลิดเพลินกับ การสังสรรค์ได้ในสไตล์คุณ!

ส ถ ำ บั น วิ จั ย ฟ รี ส แ ล น ด์ คั ม พิ น่ ำ ประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ ร่ ว มมื อ กั บ นั ก โภชนำกำรสถำบันโภชนำกำร มหำวิทยำลัย มหิดล เริม ่ ลงพื้นที่ส�ำรวจภำวะโภชนำกำร เด็ ก ไทย ตั้ ง เป้ ำ 3,500 คนทั่ ว ประเทศ ภำยในปี 2563 โดยกำรส�ำรวจครัง้ นี้เป็น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง โ ค ร ง ก ำ ร ส� ำ ร ว จ ภ ำ ว ะ โภชนำกำรเด็กในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้ง ที่ 2 (Southeast Asia Nutrition Survey: SEANUTS II) ซึ่งจะด�ำเนินกำร ส� ำ ร ว จ ภ ำ ว ะ โ ภ ช น ำ ก ำ ร ข อ ง เ ด็ ก ก ว่ ำ 18,000 คน ในประเทศไทย อิ น โดนี เซี ย เวียดนำม และมำเลเซีย

ทีเอ็ มบีเผย เปิดขำยกองทุนเปิด ทีเอ็มบี อีสท์สปริง Global Smart Bond (TMB-ES-GSBOND) นั ก ลงทุ น ตอบรับ ท่วมท้น ทุบสถิติสูงเป็นประวัติกำรณ์ ยอด ทะลุ 4,200 ล้ ำนบำท โดย นำงกิ ดำกำร ชัฏสุวรรณ หัวหน้ำเจ้ำหน้ำทีบ ่ ริหำรผลิตภัณฑ์ กองทุนรวม ทีเอ็มบี เปิดเผยว่ำ “ปัจจัยที่ ท� ำ ให้ ก องทุ น นี้ ป ระสบควำมส� ำ เร็จ อย่ ำ ง มำกในกำรเสนอขำยครัง้ แรกคือ สภำวะที่ อัตรำดอกเบี้ยอยู่ในระดับต�ำ ท�ำให้ลูกค้ำ มองหำกำรลงทุนทีส ่ ำมำรถให้ผลตอบแทน ที่ ดี ก ว่ ำ เงิ น ฝำกแต่ ต้ อ งไม่ เ สี่ ย งมำก เหตุ ต อ บ โจ ท ย์ ใน ก ำ ร ส ร้ ำ ง ผ ล ต อ บ แท น ท่ ำ มกลำงภำวะดอกเบี้ ย ต� ำ และตลำดมี ควำมผันผวน...”

จบไปด้ วยควำมสนุ ก หั วใจพองโต กับงำนดีๆ ของคนโคตรคูล น�ำทีมโดย ‘โอ๊ต’ - ปรำโมทย์ ปำทำน และ ‘ป๊อบ’ - ปองกูล สืบซึง้ จัดโครงกำร ‘รวมมิตรฟุตบอลกำรกุศล คนโคตรคูลมำท�ำดี’ ณ สนำมแกรนด์ซอคเกอร์ โปร เกษตรนวมินทร์ เมื่อวันที่ 19 มกรำคม ที่ผ่ำนมำ ภำยในงำนเต็มเป็นไปด้วยเสียง หั ว เรำะ ควำมสนุ ก สนำน หยอกล้ อ กั น จำกเหล่ำคนดังที่ลงเตะฟุตบอล ทั้ง อำร์ต มำรุต, ว่ำน ธนกฤต, อุล ภำคภูม,ิ นนน กรภัทร์, อัทธ์ Yes’sir Days ฯลฯ พร้อมด้วยสีสน ั จำก เชียร์ลีดดิ้งสุดสวย ซำนิ นิภำภรณ์ และ ลุลำ กั น ยำรัต น์ โดยรำยได้ ห ลั ง หั ก ค่ ำ ใช้ จ่ ำ ย ไ ด้ บ ริ จ ำ ค ส ม ท บ ทุ น โ ค ร ง ก ำ ร ไฟ ป่ ำ ออสเตรเลีย

ซุปเปอร์พำร์ค ประเทศไทย สวนสนุก ในร่ ม ระดั บ โลก น� ำ เสนอช่ ว งเวลำแห่ ง ควำมประทับใจ ด้วยบริกำรจัดเลี้ยงแบบ ครบวงจรเพื่อสร้ำงสรรค์สุดยอดงำนเลี้ยง ส�ำหรับคุณ ด้วยแพ็กเกจงำนเลี้ยงหลำกหลำยรูปแบบ นับตั้งแต่บริกำรห้องจัดเลี้ยง ส่วนตัว พร้อมบริกำรอำหำรเครือ ่ งดืม ่ ไปจน ถึ ง บริก ำรจั ด เลี้ ย งสุ ด ยิ่ ง ใหญ่ ต ระกำรตำ บนพืน ้ ทีก ่ ว่ำ 4,000 ตำรำงเมตร เพียบพร้อม ด้ ว ย ฐ ำ น เ ค รื่ อ ง เ ล่ น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ที่ สนุกสนำนมำกกว่ำ 25 ชนิดแบบเต็มอัตรำ รำยละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ที่ www.facebook. com/superparkth โทร. 0-2073-0917 (10.00-19.00 น.) หรืออี เมล parties@ superpark.co.th

20


BOARD

TALK OF THE TOWN

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

โครงการประกวดวาดภาพ ระบายสี ‘ฟ.ฟันสวย ยิ้มใส’ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จเทพรัตนราชสุดาฯ โครงกำร ‘ฟ.ฟันสวย ยิ้มใส’ (Bright Smiles Bright Futures) โดยควำมร่วมมือ ระหว่ ำ งบริ ษั ท คอลเกต-ปำล์ ม โอลี ฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, ส�ำนักทันตสำธำรณสุข กรมอนำมั ย กระทรวงสำธำรณสุ ข และ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน ้ ฐำน ้ พืน กระทรวงศึ ก ษำธิ ก ำร ได้ จั ด กิ จ กรรม ประกวดวำดภำพระบำยสีชงิ ถ้วยพระรำชทำนฯ พร้อมทุนกำรศึกษำ มำอย่ำงต่อเนื่องเป็นปี ที่ 6 เพือ ่ ส่งเสริมกำรใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์ จินตนำกำรและควำมรู ส ้ ึกที่ดีต่อกำรดูแล สุขภำพช่องปำกและฟัน ผ่ำนกำรวำดภำพ ในกลุ่มเด็กอำยุระหว่ำง 6-9 ปี โดยผลงำน ชนะเลิศ ได้แก่ ผลงำนของ ด.ญ. ณัฐชยำภรณ์ ดอกพิกล ุ อำยุ 9 ปี นักเรียนชัน ้ ประถมศึกษำ ปีที่ 3 โรงเรียนบ้ำนหนองดุม จ.นครรำชสีมำ

บัตรเครดิตเซ็นทรัล เดอะวัน เดอะแบล็ค จัดกิจกรรม ‘เดอะแบล็ค ไนท์ โอมากาเสะ เพอร์เฟคชัน ่ ’

เหล่าเมกเกอร์แห่โชว์ผลงาน สิ่งประดิษฐ์สุดล�้าในงาน ‘Maker Faire Bangkok 2020’

เปิดตัว ‘ENCORE’ หูฟง ั จาก แรงบันดาลใจ ‘ตูน อาทิวราห์’

นิทรรศการภาพ ‘การแสดงพลุ งาน Amazing Thailand Countdown 2020 ณ ไอคอนสยาม’

บัตรเครดิตเซ็นทรัล เดอะวัน เดอะ แบล็ค น�ำโดย อธิศ รุจิรวัฒน์ (ที่ 2 จำกซ้ำย) กรรมกำรผู้จัดกำร บริษัท เจเนอรัล คำร์ด เซอร์วิสเซส จ�ำกัด จัดกิจกรรม ‘The Black Night Omakase Perfection’ เพือ ่ ขอบคุณ สมำชิกบัตรเครดิต เซ็นทรัล เดอะวัน เดอะ แบล็ค ชวนร่วมลิม ้ รสอำหำรอิตำเลียนสไตล์ โอมำกำเสะทีร่ งั สรรค์เฉพำะส�ำหรับสมำชิก บัตร โดยเชฟเมำริซิโอ เมนโคนี เชฟชื่อดัง โดยมี อำรีย์ นำคชัยยะ และ ตรีนำค นำคชัยยะ ให้ เกี ย รติ ร ่ว มงำน ณ ร้ำ น White Lies เพนนินซูล่ำ พลำซ่ำ ถ.รำชด�ำริ กรุงเทพฯ

มหกรรมแสดงผลงำนสิง่ ประดิษฐ์ของ เหล่ ำ เมกเกอร์ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ในภู มิ ภ ำค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ‘Maker Faire Bangkok 2020: The Future We Make’ โดยควำมร่วมมือระหว่ำงบริษัท เชฟรอน ประเทศไทยส�ำ รวจและผลิ ต จ� ำ กั ด และ กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัย และนวัตกรรม โดยส�ำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์แ ละเทคโนโลยี แห่ ง ชำติ (สวทช.) ภำยในงำนเต็มเปี่ ยมไปด้วยควำมสนุกสนำน และควำมคิดสร้ำงสรรค์จำกผลงำนสิง่ ประดิษฐ์ ของเมกเกอร์ชำวไทยและชำวต่ำงประเทศ พร้อมด้วยเวิรก ์ ช็อปหลำกหลำยรูปแบบ อนึ่ง งำน Maker Faire Bangkok 2020 จัดขึ้น เมือ ่ วันที่ 18-19 มกรำคม 2563 ณ ลำนหน้ำ ศูนย์กำรค้ำเดอะสตรีท รัชดำ

นักร้องหนุม ่ ‘ตูน’ - อำทิวรำห์ คงมำลัย จับมือร่วมกับ อมรศักดิ์ แดงแสงทอง ผูด ้ แ ู ล แบรนด์และกำรตลำด แถลงข่ำวเปิดตัวหูฟงั ‘ENCORE’ (อังกอร์) 4 รุน ่ พิเศษ ซึง่ เกิดจำก แรงบันดำลใจในกำรฟังเพลงของตูน พร้อม เป็ น ผู้ ค รีเอตหู ฟั ง ชุ ด นี้ ด้ ว ยตนเองเพื่ อ คน ดนตรี โดยมี หนึ่ง จักรวำล, หนึ่ง อภิวัฒน์ และน้ องแม็ค the Voice Kids ร่วมงำน พ ร้ อ ม กั บ โช ว์ เพ ล ง ณ ล ำ น กิ จ ก ร ร ม อัฒจันทร์ สยำมสแควร์วัน เมื่อเย็นวันก่อน

ไอคอนสยำมน� ำ ภำพควำมงดงำม อลังกำรของสุดยอดกำรแสดงพลุรก ั ษ์ โลก เฉลิมฉลองค�ำคืนส่งท้ำยปีเก่ำต้อนรับปีใหม่ ให้ทก ุ ท่ำนร่วมดืม ่ ด�ำประทับใจกับควำมยิง่ ใหญ่ ตระกำรตำอี ก ครั้ ง ในนิ ท รรศกำรภำพ ‘กำรแสดงพลุ ง ำน Amazing Thailand Countdown 2020 ณ ไอคอนสยำม’ รวบรวมภำพถ่ ำ ยกำรแสดงพลุ จ ำกฝี มื อ คนไทย ช่ำงภำพมืออำชีพ สือ ่ มวลชน รวมถึง ประชำชนและนักท่องเทีย ่ วทีไ่ ด้บน ั ทึกภำพ ไฮไลต์กำรแสดงพลุในค�ำคืนส่งท้ำยปีเก่ำ ต้ อนรั บ ปี ใ หม่ ณ ไอคอนสยำม โดย นิ ท ร ร ศ ก ำ ร จ ะ จั ด แ ส ด ง ถึ ง วั น ที่ 1 2 กุมภำพันธ์ 2563 บริเวณรัษฎำฮอลล์ ชั้น 1 ไอคอนสยำม เข้ำชมได้โดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำย

ISSUE 628

03 FEB 2020

21


เรือ ่ ง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล, สุธามาส ทวินันท์

ภาพ : Google Street View

FEATURE

22


THE FREEDOM OF PUBLIC LIFE SPACE คุ ณ คิ ด ว่ า กรุ ง เทพฯ มี พ้ื นที่ ส าธารณะ มากพอส�าหรับ ‘การมีชีวิต’ ของคุณหรือเปล่า? ผศ. ดร. นิ ร มล เสรี ส กุ ล เคยพู ดไว้ ใ น ง า น T E D x C h u l a l o n g k o r n U ใ น หั ว ข้ อ ‘เมื อ งของเรา เรื่ อ งของเรา’ ไว้ น่ า สนใจว่ า “เราใช้ ชี วิ ต ครึ่ ง หนึ่ ง นอกบ้ า น แล้ ว ครึ่ ง หนึ่ ง ของชี วิ ต นอกบ้ า น คื อ ชี วิ ต ในพื้ น ที่ ส าธารณะ สมั ย นี้ เ ราเกิ ด ที่ โ รงพยาบาล ขึ้ น รถสาธารณะ ไ ป ท� า ง า น เ รี ย น ห นั ง สื อ ซื้ อ ข อ ง ที่ ต ล า ด วิ่ ง ออกก� า ลั ง กายที่ ส วนสาธารณะ ป่ว ยก็ ไ ป โรงพยาบาล ตายไปก็ เ ผาที่ เ มรุ ร่ ว มกั บ คนอื่ น หรื อ ฝั ง ในสุ ส านร่ ว มกั บ ผี อ่ื น ๆ” ดังนั้น ‘พื้ นที่สาธารณะ’ จึงเป็ นสิ่งส�าคัญ มาก ยิ่ ง ค น เ ข้ า ม า อ ยู่ ใ น เ มื อ ง ม า ก เ ท่ า ไ ห ร่ พื้ น ที่ ท่ี ค นต้ อ ง ‘ใช้ ร่ ว มกั น ’ ก็ ยิ่ ง ส� า คั ญ มากขึ้ น เท่ า นั้ น ต ล อ ด ชี วิ ต ข อ ง ค น เ มื อ ง เ ร า ล้ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง แ ล ะ เ ข้ า ไ ป ใ ช้ ง า น พื้ น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ ไ ม่ ว่ า ท า ง ใ ด ก็ ท า ง ห นึ่ ง ทุ ก ค น ไ ด้ ใ ช้ พื้ น ที่ สาธารณะทั้ ง นั้ น บทบาทของพื้ น ที่ ส าธารณะ จึ ง ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ ส ถ า น ที่ ห รื อ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว เ พี ย ง อย่ า งเดี ย ว แต่ ร วมทุ ก พื้ นที่ ท่ี ใ ช้ ร่ ว มกั น สหประชาชาติ ไ ด้ แ บ่ ง พื้ น ที่ ส าธารณะไว้ สามประเภท คื อ พื้ น ที่ ท างเดิ น พื้ น ที่ เ ปิ ดโล่ ง และสาธารณู ป โภค ซึ่ ง เป็ นรากฐานส� า คั ญ ของโครงสร้างพื้ นฐานในเมือง และมีส่วนส�าคัญ อ ย่ า ง ม า ก ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ทางสั ง คมโลก ทุ ก วั น นี้ ภาพของพื้ นที่ ส าธารณะตาม ความเข้ า ใจของผู้ ค นกลายเป็ นพื้ นที่ สี เ ขี ย ว ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในรู ป แบบของพื้ น ที่ ส าธารณะที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ มื อ ง ดู ดี ขึ้ น พ ร้ อ ม ทั้ ง ป รั บ ภู มิ ทั ศ น์ ข อ ง เ มื อ ง ใ ห้ น่ า อ ยู่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง ด้ า น สิ่งแวดล้อม และเป็ นทางเลือกที่ดี เพื่ อถมที่ว่าง ของเมื อ งให้ ก ลายเป็ นที่ ว่ า งอิ ส ระในรู ป แบบ ต่ า งๆ ให้ กั บ ชาวเมื อ ง ที่ จ ริ ง แล้ ว รั ฐ บาลไทยก็ มี ค วามตั้ ง ใจ จะให้ ก รุ ง เทพฯ มี พ้ื น ที่ สี เ ขี ย วที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ อ ย่ า งอิ ส ระเพิ่ ม มากขึ้ น จาก 13% เป็ น 50% ภ า ย ใ น ปี 2 0 3 0 โ ด ย มี ก า ร ริ เ ริ่ ม โ ค ร ง ก า ร พื้ นที่ สี เ ขี ย วในกรุ ง เทพฯ หลายโครงการ adB อยากพาคุณไปดูว่า พื้ นที่สาธารณะ แ ล ะ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ข อ ง ก รุ ง เ ท พ ฯ คื อ อ ะ ไ ร มี ตั ว อย่ า งพื้ น ที่ เ จ๋ ง ๆ จากทั่ ว โลกอย่ า งไรบ้ า ง และที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด ก็ คื อ - พื้ นที่ ท่ี ก� า ลั ง จะเกิ ด ใ ห ม่ ใ ห้ เรา ไ ด้ ใ ช้ เป็ น ที่ ห ย่ อ น ใ จ ร วม ถึ ง เป็ น ‘ห้ อ งรั บ แขก’ ด้ ว ยนั้ น มี ท่ี ไ หนบ้ า ง และพื้ นที่ เ หล่ า นี้ จ ะเปลี่ ย นโฉมหน้ า ของ กรุ ง เทพฯ ไปอย่ า งไร

ISSUE 628

03 FEB 2020

23


พื้ น ที่ ส าธารณะเป็ น ฟัน เฟือ ง ขั บ เคลื่ อ นประชาธิ ป ไตย

DEMOCRATIC SPACES 01

นั ก อ อ ก แบ บ เ มื อ ง ห ล า ย ค น ม อ ง ว่ า

บ้างก็ตรอกซอกซอยเล็กๆ ในการรวมกลุม ่ กันแทน

ต้องค�านึงถึงการออกแบบเมืองให้มพ ี น ื้ ทีส ่ า� หรับ

Democracy’ ของ Richard Sennett

ถ้ า เราสั ง เกตประเทศที่ มี ค วามเป็ น

ความส�าคัญของการมีพื้นที่สาธารณะ ว่าเป็น

เมื อ งสมั ย ใหม่ ที่ มี ค วามเป็ น ประชาธิ ป ไตย การ ‘ส่งเสียง’ ของผู้คนเป็นหลักส�าคัญ

ประชาธิปไตยมากๆ อย่างสหรัฐอเมริกา ลอนดอน

หรือปารีส จะพบพื้นที่ขนาดใหญ่ที่มีลักษณะ เป็ น ศู น ย์ ก ลางให้ ป ระชาชนออกไปประท้ ว ง

โดยเฉพาะ แต่ประเทศทีย ่ งั ไม่เป็นประชาธิปไตย

สมบูรณ์เท่าไหร่นักมักไม่ค่อยมีพื้นที่ดังกล่าว มารองรับ ดังนัน ้ ประชาชนจึงต้องใช้ถนนหนทาง

GREAT MIND GOOD LIFE 02

การออกแบบพื้นที่สาธารณะให้มีคุณภาพสูง

ศาสตราจารย์ ท างสั ง คมวิ ท ยา ได้ พู ด ถึ ง

ของเมื อ ง เพื่ อ จะกระตุ้ น ให้ ค นออกใช้ ชี วิ ต

มีความหลากหลาย และแทรกอยูท ่ ก ุ หย่อมย่าน

นอกบ้านมากกว่าอยู่ในพื้นที่ส่วนตัว ที่ส�าคัญ

ต้องเปิดกว้างให้คนในสังคมเข้ามาใช้พื้นที่ได้

รากฐานของประชาธิปไตยทีม ่ ม ี าตัง ุ กรีก ้ แต่ยค

อย่า งเท่า เทียม เพราะเมื่อไรก็ ต ามที่เราเห็ น

เป็นการส่งเสริมให้คนหลุดออกจากเรือ ่ งส่วนตัว

ความแตกต่ า งของคนในสั ง คมทุ ก ระดั บ ชั้ น

เดิ น ออกจากบ้ า น เข้ า มารับ ฟั ง ขบคิ ด หรือ

ผลที่ตามมาคือ การยอมรับและขจัดความคิด

ถกเถียงกิจของสาธารณะร่วมกัน การมีพื้นที่

ที่ว่าคนเราไม่มีทางเท่ากันออกไป

สาธารณะจึงเป็นการสร้างพลเมืองที่ดีที่ช่วย ขับเคลื่อนเมืองต่อไป

ความเขี ย วขจี เยี ย วยาสุ ข ภาพจิ ต ปัจจุบันประชากรโลกกว่า 55% อาศัย

ย้ อ นกลั บ ไปติ ด ตามสถานที่ ที่ ผู้ ให้ ข้ อ มู ล เคย

ของใบไม้ยง ั สามารถช่วยชโลมจิตใจ ปลุกชีวต ิ

ตัวเลขดังกล่าวจะขยับขึ้นไปเป็น 68% ปัญหา

ผูอ ้ าศัยอยูใ่ กล้พน ื้ ทีส ่ เี ขียวมีความทุกข์ทางจิตใจ

ของสุขภาพจิตทีด ่ ข ี น ึ้ แต่งานศึกษาของ Emmen,

อยู่ในพื้นที่เขตเมือง และในปี 2025 คาดว่า

ก็ คื อ ชาวเมื อ งจะมี สุ ข ภาพที่ ดี ไ ด้ อ ย่ า งไร หากยังขาดแคลนพืน ้ ทีส ่ าธารณะ เพราะงานวิจย ั หลายส� า นั ก ต่ า งชี้ ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ว่ า ‘ธรรมชาติ’ ช่วยให้คนเมืองมีสุขภาพจิตดีขึ้น

Appledoorn และ Leiden ในเนเธอร์แลนด์

น้ อ ยกว่ า แม้ ว่ า จะตั ด ตั ว แปรเรื่ อ งรายได้

ยังพบว่าพื้นที่สีเขียวที่มีแหล่งน�าสามารถช่วย

การศึกษา และการจ้างงานที่มีความสัมพันธ์

เพิ่มราคาของที่อยู่อาศัยโดยรอบได้ ถึง 11%

ต่อสุขภาพออกไปแล้วก็ตาม

ถ้ามองเห็นทิวทัศน์ของสวนสาธารณะเพิม ่ ราคา

การมี พื้ น ที่ สี เขี ย วในเมื อ งจึ ง เป็ น ดั ช นี

ชี้วัดความอยู่ดีมีสุขของคนเมืองอย่างหนึ่ งที่

วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล สุ ข ภาวะคนเมื อ งจ� านวน

ว่าต้นไม้กับสวนสาธารณะนั้นนอกจากจะท�า

10,000 คน โดยใช้ แ ผนที่ ค วามละเอี ย ดสู ง

อันสดใสให้กลับมาได้เช่นกัน ไม่เพียงแค่เรือ ่ ง

อยู่อาศัยตลอดกว่า 18 ปี ผลการศึกษาพบว่า

ไม่นานมานี้ นักวิจัยจาก University of

Exeter Medical School ประเทศอั งกฤษ

ได้ 8% หรือเพียงแค่ มีสวนอยู่ใกล้ ๆ ก็ ยังเพิ่ม ราคาได้ถึง 6%

ผู้บริหารเขตนครใหญ่หลายประเทศตระหนัก หน้าทีเ่ สมือนปอดของเมืองหลวงแล้ว ความเขียว

เพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว เพิ่ ม ทางอยู่ ร อด ของสิ่ ง แวดล้ อ ม

THE SURVIVAL 03

ลักษณะของเมืองทีด ่ จ ี งึ จ�าเป็นต้องลงทุน

ในการบรรยายชื่ อ ‘The Spaces of

หลายปีมาแล้วทีช ่ ว ่ งเดือนมกราคม-มีนาคม

อืน ่ ๆ ของคณะนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยี

ฝุน ่ ละออง PM 2.5 โดยไม่อาจฝากความหวังการ-

ETH ประเทศสวิ ต เซอร์แ ลนด์ ระบุ ว่ า ทั่ ว โลก สามารถปลูกป่าเพิม ่ ได้ถึง 10 ล้านตารางกิโลเมตร

ต้ องทนเผชิญอาจทวีความรุ นแรงน้ อยลงกว่านี้

ถ้ า หากทุ ก คนช่ ว ยกั น ปลู ก ต้ น ไม้ เป็นจ�านวนราว

ของทุกปี ชาวกรุงเทพฯ ต้องเผชิญหน้ากับวิกฤต แก้ไขปัญหาไว้ที่ภาครัฐได้ แต่สถานการณ์ที่เรา หากเราเมืองของเรามีจ�านวนต้นไม้มากเพียงพอ

เพือ ่ ชีใ้ ห้เห็นถึงประโยชน์ของเปลีย ่ นพืน ้ ทีว ่ า่ ง

ให้กลายเป็นพื้นที่สีเขียวสาธารณะ มีข้อมูลการวิเคราะห์ภาพถ่ายทางดาวเทียมประกอบกับข้อมูล

WHAT MAKES A GREAT PUBLIC SPACES?

ในบรรยากาศโลกทุกวันนี้ ที่สะสมมาจากน� ามือ มนุษย์ตั้งแต่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม

ในขณะทีน ่ ก ั วิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อมบางส่วน

โดยไม่เบียดเบียนพื้นที่การเกษตรและเขตชุมชน

ในสหราชอาณาจักร กลับมองว่าวิธน ี ี้ไม่ใช่กลยุทธ์

1 ล้านล้านต้น ลงในพืน ้ ทีว ่ า่ งดังกล่าวอย่างเร่งด่วน

เชื้อเพลิ งฟอสซิลเป็นวิธีที่ควรท�าเป็นอั นดั บแรก

คาดว่าป่าที่เกิดใหม่จะช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศได้ถึง 200 กิกะตัน

ที่ ดี ที่ สุ ด พวกเขาเห็ น ว่ า แผนหยุ ด ยั้ ง การใช้ มากกว่าจะสามารถช่วยโลกและมนุษย์ได้เร็วกว่า

หรือ 25% ของปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ทง้ั หมด

ลั ก ษณะ 4 ประการของพื้ น ที่ ส าธารณะที่ ดี Project for Public Spaces (PPS) หน่ ว ยงานไม่ แ สวงหาผลก� า ไรของสหรั ฐ อเมริ ก าผู้ ผ ลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การสร้ า งพื้ น ที่ สาธารณะเพื่ อ ความเข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชน ได้ ป ระเมิ น พื้ น ที่ ส าธารณะหลายพั น แห่ ง ทั่ ว โลก และพบว่ า พื้ น ที่ ส าธารณะที่ ดี นั้ น มี ลั ก ษณะส� า คั ญ อยู่ 4 อย่ า ง ดั ง นี้

เข้ า ถึ ง พื้ นที่ ไ ด้ ง่ า ยและ มี ก ารเชื่ อ มต่ อ ที่ ดี

ทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว มใน งานกิ จ กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น

ให้ ค วามรู้ สึ ก สะดวกสบาย และมี ภ าพลั ก ษณ์ ที่ ดี

เอื้ อ ต่ อ การเข้ า สั ง คม

ควรเป็ นพื้ น ที่ เ ปิ ด ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ใ นเชิ ง กายภาพ หรื อ ประชาชนทุ ก คนสามารถ มองเห็ น ได้ ง่ า ย เดิ น ทางสะดวก เข้ า ใช้ ไ ด้ เ ลย โดยไม่ตอ ้ งขออนุญาต รวมทัง ่ มโยง ้ ท�าหน้าทีเ่ ชือ การเข้ า ถึ ง กั บ พื้ น ที่ อื่ น ๆ ภายในเมื อ ง

ควรเอื้อ ให้ส ามารถจัดกิจ กรรมได้หลากหลาย รู ป แบบ มี ผู้ ค นหมุ น เวี ย นกั น มาเข้ า ร่ ว มงาน หรื อ เป็ นผู้ จั ด กิ จ กรรมอยู่ เ สมอ เพื่ อ แสดง ให้ เ ห็ น ว่ า พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วใช้ ง านได้ จ ริ ง

ต้ อ งให้ ค วามรู้ สึ ก ปลอดภั ย ต่ อ ผู้ เ ข้ า ใช้ มี ค วามสะอาด จ� า นวนที่ นั่ ง เพี ย งพอ สภาพแวดล้ อ ม และการออกแบบ สร้ า งบรรยากาศเชื้ อ เชิ ญ ให้ อ ยากใช้ ง าน ตั้ ง แต่ แ รกเห็ น

เป็ นสถานที่ ที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การเข้ า สั ง คม มี ก ารพบปะเพื่ อ แลกเปลี่ ย น ความรู้ ความคิ ด เห็ น หรื อ ประสบการณ์ ระหว่ า งคนในชุ ม ชนด้ ว ยกั น ไปเอง จนถึ ง คนต่ า งเมื อ งอยู่ ส ม�่ า เสมอ 24


ตั ว อย่ า งพื้ น ที่ ส าธารณะจากต่ า งประเทศ ที่ มี ค วามส� า คั ญ ต่ อ เมื อ งและผู้ ค น

THE ART OF CREATING GREAT SPACE 04

เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น เราจึงหยิบยกตัวอย่างจาก 4 ประเทศที่มีพื้นที่สาธารณะที่ตอบโจทย์คนในเมืองได้อย่างสร้างสรรค์และมีความสวยงามทางด้าน

สถาปัตยกรรม

1

AMSTERDAM, NETHERLANDS

ด อ ก เ ต อ ร์ ก ช ก ร ว ร อ า ค ม

ไ ด้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ก รุ ง อั ม ส เ ต อ ร์ ดั ม

THE HIGH LINE : MANHATTAN, US

ที่ยังคงอนุรก ั ษ์ คลองสายเก่าระยะทาง

ที่เกิดจากการพัฒนาเมืองด้วยวิธีการ

และขนส่งสินค้า แต่ในอดีต รัฐบาลก็เคย

ลอยฟ้ า (elevated) ที่ มี ค วามยาว

ไม่เห็นประโยชน์ของคลอง แต่นก ั วิชาการ

ทางรถไฟเก่า (The New York Central

พวกเขามองว่าคลองนี้เป็นเอกลักษณ์

East Side ของแมนฮั ต ตั น ในอดี ต

ภูมิสถาปนิกแห่งบริษัท Landprocess ประเทศเนเธอร์แ ลนด์ เมื อ งโมเดิ ร ์น

1

ส่วนทีแ ่ มนฮัตตันก็มพ ี น ื้ ทีส ่ าธารณะ

กว่า 100 กิโลเมตร ให้เป็นทางสัญจร

น�ากลับมาใช้ใหม่ อย่างสวนสาธารณะ

มีแผนที่จะถมคลองให้เป็นถนน เพราะ

2 .3 3 กิ โ ล เ ม ต ร ดั ด แป ล ง ม า จ า ก

ศิลปินและชาวเมืองต่อต้านอย่างหนัก

Railroad Line) ซึ่งตั้งอยู่ทาง Lower

ของเมือง ทั้งยังสร้างรายได้จากการท่ อ งเที่ ย วทางเรือ เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของ

ทางรถไฟนี้ใช้เป็นเส้นทางส่งอาหารสด

“เพราะทุกคนหันหน้าเข้าหาคลอง

เกิดอุบต ั เิ หตุและมีผเู้ สียชีวต ิ จ�านวนมาก

ธรรมชาติ คน เมือง และทุกสิง่ ทุกอย่าง

จึงได้มีโครงการปรับปรุงพื้นที่ และยก

บ้านช่องโบราณสองฝั่งคลองก็ยงั คงอยู่

ตั้งชื่อว่า The High Line แต่แล้วมันก็

คลอง และไม่เห็นความส�าคัญ เราหันหลัง

กลุ่มคนชีใ้ ห้รฐ ั บาลเห็นว่า ควรปรับเป็น

คลองคื อ ท่ อ ระบายน� า หลงลื ม ไปว่ า

สวนสาธารณะลอยฟ้ า ก็ ไ ด้ เริ่ม สร้า ง

เมือง

2

3

มายั ง ย่ า นอุ ต สาหกรรมและโรงงาน

ทีใ่ หญ่ทส ี่ ด ุ ในแมนฮัตตัน แต่ก็เป็นจุดที่

ต่างฝ่ายต่างได้รบ ั ประโยชน์ ไม่วา่ จะเป็น

เช่ น กั น ต่ อ มารัฐ บาลเมื อ งนิ ว ยอร์ก

ร่ ว มกั น ท้ า ยสุ ด เมื อ งก็ ส วย ตึ ก ราม

ทางรถไฟขึน ้ เพือ ่ ความปลอดภัย พร้อม

เป็นที่น่าเสียดายที่ในกรุงเทพฯ ไม่เก็บ

ถู ก ทิ้ ง ร้ า งนานกว่ า 20 ปี ก่ อ นจะมี

ให้คลอง เปลีย ่ นคลองให้เป็นถนน คิดว่า

พื้ น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ ก ร ะ ทั่ ง ปี 2 0 0 6

คลองเป็ น แหล่ ง ชี วิ ต ที่ มี ค วามส� า คั ญ

และเปิดใช้ตั้งแต่ปี 2009 เป็นต้นมา

ม า ก ก ว่ า ที่ เ ป็ น อ ยู่ เ ร า จึ ง คิ ด ว่ า อั ม สเตอร์ดั ม เป็ น ตั ว อย่ า งของพื้ น ที่

สาธารณะที่ มี ค ลองเป็ น พื้ น ฐานของ ชีวิตคนและเมืองได้ดี” 2

3

OIL TANK CULTURE PARK : SEOUL, SOUTH KOREA

เมื่อพูดถึงการน�าโครงสร้างเดิม

CHEONGGYECHEON STREAM : SEOUL, SOUTH KOREA

กลั บมาท�าใหม่ให้เป็นพื้นที่สาธารณะ

ประเทศเกาหลี ใ ต้ ในอดี ต ก็ เ คยเจอ

ฟุตบอล เดิมทีเป็นคลังเก็บน�ามันส�ารอง

ชองกเยชอน คลองโบราณอายุ ก ว่ า

ทางด้านความปลอดภัยของประชาชน

ในอดีตที่นี่ก็เคยถูกถมท�าเป็นถนนและ

ต่ อ มาทาง Seoul Metropolitan

เน่ า เสี ย และเต็ ม ไปด้ ว ยชุ ม ชนแออั ด

พื้นที่ให้กลายเป็น Culture Park ที่เกิด

อีกครัง้ เป้าหมายคือ เปลีย ่ นให้เป็นคลอง

ประชาชนทั่วไป ช่วยกั นวางแผนและ เสนอไอเดี ย เพื่ อ ให้ ทุ ก คนได้ ใช้ ง าน

ทีโ่ ซลเองก็มส ี ถานทีท ่ น ี่ า ่ สนใจ อย่าง Oil Tank Culture Park ที่ มี ข นาดกว่ า

อีกมุมหนึ่งของโลกอย่างกรุงโซล

140,022 ตารางเมตร เทียบเท่า 22 สนาม

ปัญหาเรือ ่ งคลองแบบเดียวกัน โดยเฉพาะ

และปิ ด ตั ว ในปี 2000 ด้ ว ยเหตุ ผ ล

600 ปี ที่มีระยะทางเกือบ 6 กิโลเมตร

ก่อนจะถูกทิ้งร้างเป็นเวลาเกือบ 10 ปี

ทางด่ วน เกิ ดตึ กสูงมากมายจนคลอง

Government ได้ปรับปรุงและพัฒนา

จนเมือ ่ ปี 2003 ได้มโี ครงการฟื้ นฟูคลอง

จากการรวมตัวกันของผูเ้ ชีย ่ วชาญและ

ที่มีล�าธารไหลยาว และฟื้ นฟูธรรมชาติ

4

4

สองฝั่งคลอง ในขณะเดี ยวกั นยังปรับ ภูมท ิ ศ ั น์ให้สวยงาม เกิดเป็น Cheonggye

ตามที่ ต้ อ งการจริง ๆ กระทั่ ง ปี 2013

กว่ า 22 แห่ ง พร้ อ มให้ ช าวเกาหลี

อย่างเป็นทางการ สามารถดึงดูดผู้คน

ก็ เริ่ ม ปรั บ กระบวนการรี โ นเวตและ

Plaza ทีม ่ ท ี างเดินเลียบคลอง และสะพาน

จัดการปรับพื้นที่ อีก 4 ปีต่อมา จึงเปิด

ในเมืองจ�านวนมากได้ใช้ประโยชน์อย่าง

ได้มากมาย

อิสระตั้งแต่ปี 2005 จนถึงทุกวันนี้

ISSUE 628

03 FEB 2020

25


PUBLIC SPACE IN BANGKOK ตั ว อย่ า งในไทย นอกจากตั ว อย่ า งของต่ า งประเทศแล้ ว ในกรุ ง เทพฯ ก็ มี พื้ น ที่ ส าธารณะที่ น่ า สนใจ ซึ่ ง เปิ ด ให้ ทุ ก คนเข้ า ใช้ ม าได้ สั ก ระยะแล้ ว พร้ อ มกั บ พื้ น ที่ ส าธารณะใหม่ ล่ า สุ ด ที่ ค าดว่ า น่ า จะเปิ ด ให้ ใ ช้ บ ริ ก ารได้ ภ ายในปี นี้

สนามปั่ นจั ก รยาน เจริ ญ สุ ข มงคลจิ ต

ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ธ นาคาร แห่ ง ประเทศไทย

หรื อ ย่ า นสะพานเหล็ ก ให้ ก ลายเป็ น พื้ น ที่

เดิมทีสนามปั่นจักรยานแห่งนีเ้ ป็นพืน ้ ทีป ่ ด ิ ทีอ ่ ยูใ่ นความดูแลของ บมจ. ท่าอากาศยานไทย

หลังนี้เคยเป็นโรงพิมพ์ธนบัตรของ

ให้เป็นแหล่งท่องเทีย ่ วเชิงอนุรก ั ษ์ทางวัฒนธรรม

มาตรฐานระดับสากลที่เปิดให้นักปั่ นชาวไทย

การปรับปรุงครัง้ ใหญ่ให้กลายเป็น

จัดระเบียบและรือ ้ ถอนสิ่งปลูกสร้างกีดขวาง

โดยไม่ต้องเสียค่ าใช้จ่ายแต่ อย่างใด พร้อม

คลองโอ่ ง อ่ า ง โครงการปรับ ภู มิ ทั ศ น์ ค ลองโอ่ ง อ่ า ง

สาธารณะแก่ประชาชนในชุมชน พร้อมผลักดัน ดูเหมือนจะได้ใช้งานกันเร็วๆ นี้ หลังมีการ-

ล�าคลองออกไปทัง ้ หมด ลดปัญหาน�าเน่าเสีย

เพิ่มศักยภาพในการระบายน� า พร้อมติดตั้ง

ราวกั้นป้องกันการตกลงไปในคลองเรียบร้อย แล้ว แม้การก่อสร้างบางส่วนยังไม่แล้วเสร็จดี

แต่ภายหลังได้ปรับปรุ งให้เป็นลู่ป่ ันจักรยาน

ทั้ ง มื อ อาชี พ และมื อ สมั ค รเล่ น มาใช้ บ ริก าร ยกระดับสิ่งอ�านวยความสะดวกทั้งโครงการ ให้ เป็ น พื้ น ที่ ส่ ง เสริม สุ ข ภาพส� า หรับ ทุ ก คน ในครอบครัว

แต่คด ิ ว่าไม่นานเกินรอคงได้เห็นคลองโฉมใหม่

อาคารริม แม่ น� า เจ้ า พระยา

ธนาคารแห่งประเทศไทย แต่ได้รบ ั

พื้ น ที่ ส าธารณะแห่ ง การเรี ย นรู ้ ภายในอาคารประกอบด้วยพิพธ ิ ภัณฑ์ ห้องสมุด โคเวิรก ์ กิง้ สเปซ ห้องประชุม ร้า นกาแฟ และพื้ น ที่ นั น ทนาการ

ที่ส�าคั ญกว่านั้ นคื อเปิดให้พวกเรา

เข้าไปใช้บริการได้ฟรี เว้นแต่การยืมคืนหนังสือในห้องสมุดที่ต้องสมัคร สมาชิกเสียก่อน

HUMAN MOVEMENT IN PUBLIC SPACES การมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ ค น จากตัวอย่างพืน ้ ทีส ่ าธารณะทัง้ ในกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ของโลก ท�าให้เราเห็นว่า สิง่ ทีจ ่ ะท�าให้ public space ในรูปแบบต่างๆ เกิดขึน ้ และใช้งานได้ตรงตามความต้องการ

ของชาวเมืองได้จริงนั้น ส่วนหนึ่งต้องเกิดมาจาก ‘ความเคลื่อนไหว’ ของคนในเมืองเป็นหลัก

กชกรอธิบายว่า “พลังของคนหนึ่งคนสามารถเปลี่ยนชีวต ิ ตัวเองและกระทบไปเปลี่ยนภาพรวมได้ โดยเฉพาะพืน ้ ทีส ่ าธารณะสีเขียว ตอนนี้อย่างเรือ ่ งฝุน ่ เราต้องการอากาศ

ที่ปลอดภัย เราต้องการพื้นที่สีเขียว ต้นไม้อีกจ�านวนมาก รัฐไม่เห็นความส�าคัญตรงนี้ ทางแก้ปัญหาที่ชัดเจนในระยะยาว เราทุกคนต้องสร้างจิตส�านึกร่วมกัน เราต้องไม่พอใจ

ในสิง่ ทีเ่ ป็นอยู่ และลุกขึน ้ มาสร้างทางออก อย่างทีเ่ มืองนอก จากประวัติศาสตร์ พืน ้ ทีส ่ าธารณะเกิดจากการไม่ยอมปล่อยให้เป็นพืน ้ ทีส ่ ว ่ นบุคคลหรือของรัฐ ด้วยการเรียกร้องของ คนในเมืองนั้น ประเทศนั้น มารวมตัวกัน เพื่อให้ได้พื้นที่สาธารณะที่ทุกคนมีส่วนร่วมและใช้งานได้จริง แต่เราไม่ได้บอกว่าให้ท�าแบบนั้นนะ (หัวเราะ)

“แค่ เราต้ องเริม ่ ที่ตัวเอง ทางออกมีไว้ให้ปรับใช้มากมาย เช่น ลดการขับรถ หยุดเผา ปลูกต้นไม้ และพยายามปรับทัศนคติต่อค�าว่า ‘ส่วนรวม’ ที่ต้องเริม ่ ตั้งแต่ตอนนี้

ซึ่งเป็นเวลาที่ดีที่สุด ท่ามกลางความวิกฤตที่สุด ที่ก�าลังจะเกิดขึ้นต่อคุณภาพชีวิตผู้คน และเมือง เพราะเราต้องการต้นไม้หลายล้านต้น ส�าหรับเราแล้ว ก็อยากน�าวิชาชีพที่เราท�า มาช่วยวิกฤตนี้”

26


สะพานด้ ว น โครงการเปลี่ ย น ‘สะพานด้ ว น’ ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ร ะหว่ า ง

สะพานเขี ย ว โครงการปรับปรุงทางเดินและทางจักรยานบนสะพาน

สะพานพระปกเกล้ากับสะพานพุทธฯ ที่ถูกทิ้งร้างกว่า 30 ปี

ลอยฟ้าระยะทางกว่า 1.5 กิโลเมตร ทีเ่ ชือ ่ มระหว่างสวนลุมพินี

เจ้าพระยาแห่งแรกของกรุงเทพฯ และของโลก เพื่อให้ทุกคน

กับบริบทสภาพแวดล้อมของพืน ้ ทีเ่ พือ ่ สร้างให้เกิดประสบการณ์

มาสู่ ก ารพั ฒ นาเป็ น สวนและทางเดิ น ลอยฟ้ า ข้ า มแม่ น� า

มีพน ื้ ทีท ่ า� กิจกรรม พืน ้ ทีส ่ า� หรับพักผ่อน และเป็นโครงข่ายพืน ้ ที่ สีเขียวเชื่อมสองสวนสาธารณะริมสองฝั่ งแม่น�าเข้าด้วยกัน

ปัจจุบน ั อยูร่ ะหว่างการด�าเนินงานก่อสร้าง คาดว่าน่าจะแล้วเสร็จ

ภายในปลายเดือนมีนาคมนี้

และสวนเบญจกิติ ด้วยกระบวนการออกแบบทีใ่ ห้ความส�าคัญ และกิ จกรรมที่หลากหลาย เพราะปัจจุบันบริเวณดั งกล่ าว มี ส ภาพทรุ ด โทรม เสี่ ย งต่ อ การกลายเป็ น แหล่ ง มิ จ ฉาชี พ

โดยคาดว่าจะเห็นได้สะพานเขียวโฉมใหม่ที่ปลอดภัย ร่มรืน ่

ส่งเสริมคุณภาพชีวต ิ ชุมชนและกระตุ้นเศรษฐกิจภายในย่าน ภายในกลางปี 2563

PIT TERRACE : ICHIKAWAMISATO, JAPAN จิตส�านึกและทัศนคติทด ี่ อกเตอร์

กชกรได้ เอ่ ย ขึ้น มานั้ น ท� า ให้ เรานึ ก ถึ ง ร้า นตั ด ผมแห่ ง หนึ่ ง ในเมื อ งอิ ชิ ก าวะ-

มาซาโตะ ประเทศญีป ่ น ุ่ เขาพยายามแก้ ปัญหาเรือ ่ งปฏิสม ั พันธ์ของคนในชุมชน

ทีน ่ ับวันจะน้อยลงเรือ ่ ยๆ ด้วยการสร้าง

พื้น ที่ส าธารณะบนพื้น ที่ส่ว นหนึ่ งของ

ลานจอดรถ สร้างเป็นระเบียงไม้สีขาว ไม่กต ี่ ารางเมตร ท�าหน้าทีเ่ ป็นทัง้ ม้านัง่ โต๊ะ

และสวนเล็กๆ เพือ ่ ให้เด็กๆ และชาวเมือง มาร่ว มปลู ก ต้ น ไม้ ในวั น เปิ ด เวิ ร ก ์ ช็ อ ป และแน่นอน พืน ้ ทีน ่ เี้ ปิดให้ทก ุ คนได้เข้ามา ใช้ และนับตัง้ แต่การก่อสร้าง ทีน ่ ไี่ ด้กระตุน ้

ชาวเมืองให้หน ั มาติดตัง้ พืน ้ ทีก ่ งึ่ สาธารณะ ในพืน ้ ทีบ ่ ริเวณลานจอดรถของหน้าบ้าน

ตัวเอง จนทุกวันนีท ้ น ี่ ไี่ ด้กลายเป็นส่วนหนึง่ ของชีวิตชาวเมืองนี้ไปโดยปริยาย

ISSUE 628

03 FEB 2020

27


เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ

SPACE & TIME

ท้องฟ ้าจ�าลอง : เรียนรูก ้ ารชมท้องฟ ้า และดวงดาว 30 นาที ภาพยนตร์ ดาราศาสตร์ 30 นาที อังคาร-ศุกร์ รอบฉาย 11.00 น. และ 14.00 น. เสาร์ รอบฉาย 11.00 น. / 14.00 น. / 17.00 น. อาทิตย์ รอบฉาย 11.00 น. และ 14.00 น.

ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

เยี่ยมชม NARIT Planetarium เพื่อพบกับเหตุผลว่าท�าไม ดาราศาสตร์ไม่เคยหลุดไปจากวงโคจรของชีวิตเรา

Princess Sirindhorn AstroPark

อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร ตั้งอยู่เลขที่ 260 หมู่ 4 ต�าบลดอนแก้ว อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180 โทรศัพท์ : 053-121-268-9 โทรสาร : 053-121-250 อีเมล : info@narit.or.th

อาคารหลั ง คาทรงโค้ ง ที่ ตั้ ง อยู่ ภ ายในอุ ท ยานดาราศาสตร์ สิ ริ น ธร ด้ า นข้ า งส� า นั ก งานใหญ่ ข องสถาบั น วิ จั ย ดาราศาสตร์ แ ห่ ง ชาติ ่ ท ่ วกับดาราศาสตร์อยูภ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT คืออาคารทีม ี อ ้ งฟ ้าจ�าลอง และนิทรรศการเกีย ่ ายใน พร้อมเปิดให้ทก ุ คนในจังหวัดเชียงใหม่ ่ เพิม ่ ซึง ่ ก�าลังจะเป็นแหล่งท่องเทีย ่ วเชิงวิชาการทีส ่ า� คัญของไทย และเอเชียตะวันออกได้เข้ามาชมเพือ ้ างด้านดาราศาสตร์แบบไม่นา่ เบือ ่ ความรูท เฉียงใต้ในอีกไม่นานนี้ Astronomy in Everyday Life

​“ดาราศาสตร์เ กี่ ย วโยงเข้ า กั บ ทุ ก อย่ า งในชี วิ ต ”​ นี่ คื อ ค� า พู ด ของ​

ดอกเตอร์ศรัณย์​โปษยะจินดา​ผูอ ้ า � นวยการสถาบันวิจย ั ดาราศาสตร์แห่งชาติ​ ทีก ่ ลายเป็นวลีตด ิ ตัวของเขาไปแล้วเมือ ่ เวลาใครๆ​ถามว่าเราจะดูดาวหรือศึกษา

ไม่หยุ ดยั้ง”​ดอกเตอร์ศรัณย์เล่ าถึ งความหิ วกระหายในองค์ ความรู ใ้ หม่ๆ​ ทัง ิ ส์​ระบบทรัพยากร​เรือ ่ งของทัศนศาสตร์​หรือ ้ ด้านวิศวกรรม​หุ่นยนต์​ฟิสก การสร้างชิน ้ งานความละเอียดสูงทีไ่ ม่ใช่เพียงการท�าชิน ้ ส่วนของกล้องดูดาว

ขึ้ น มาเอง​แต่ ยั ง ส่ ง ต่ อไปถึ งการสร้า งขาเทียม​สะโพกเทียมที่มีคุณ ภาพดี​

เรือ ่ งดาราศาสตร์ไปท�าไม

น�าหนักเบา​เพื่อให้ผู้พิการสามารถใช้ชีวิตได้ไม่ต่างกับคนปกติ​​

ของเราบ้าง​อย่างแรกเลยคือ​สัญญาณไว-ไฟทีแ ่ ทบจะกลายเป็นปัจจัยในการ-

NARIT Planetarium

​ดังนั้น​เราจึงขอเล่าแบบย่อๆ​แล้วกันว่าดาราศาสตร์สง่ ผลอะไรกับชีวต ิ

ใช้ชว ี ต ิ ของคนเมืองทุกวันนีก ้ ค ็ ด ิ ค้นโดยนักดาราศาสตร์​เลนส์จากกล้องถ่ายรูป

หรือเทคโนโลยีการเคลือบเลนส์แว่นตาเพือ ่ ลดแสงสะท้อน​ฟิลม ์ ติดกระจกป้องกัน ความร้อน​แม้แต่ฟล ิ ม ์ กันกระแทกบนหน้าจอโทรศัพท์มอ ื ถือของคุณ​หรือผ้าห่มฟอยล์

ทีใ่ ห้ความอบอุน ่ แก่ผป ู้ ระสบภัยก็คอ ื สิง่ ทีไ่ ด้มาจากเทคโนโลยีของดาราศาสตร์

​“สิง่ ทีจ ่ า � กัดดาราศาสตร์ไว้คอ ื เทคโนโลยี​ถ้ามนุษย์มเี ทคโนโลยีทด ี่ ก ี ว่านี้​

เราจะค้นพบสิง ้ ​นั่นท�าให้​NARIT​ต้องพัฒนาตัวเองอย่าง ่ ใหม่ๆ​ได้รวดเร็วขึน

​เรือ ่ งของดาราศาสตร์ทงั้ หมดทีว ่ า่ มานัน ้ ยังส่งมาถึง​NARIT​Planetarium​

แห่งนี้ด้วย​โดยตัวอาคารภายนอกของอาคารท้องฟ้าจ�าลองและนิทรรศการ

แห่งนี้ออกแบบโดยอิงมาจากทรงหลังคาที่เรียกว่า​‘กูบช้าง’​ของทางล้านนา​ (หลังคาทรงโค้งส�าหรับให้รม ่ เงากับผูท ้ น ี่ ั่งอยูบ ่ นหลังช้าง)​หาใช่การออกแบบ

ใ ห้ดูเก๋หรือทันสมัยแบบโรงละครในเมืองนอกอย่างที่เราเข้าใจในตอนแรก​ ด้านในจะเป็นห้องท้องฟ้าจ�าลองระบบดิจิตอล​360​องศา​ความจุ​160​ที่นั่ง​ 28


( มีพื้นที่ส�าหรับรถผู้พิการ)​ โดยเรียกว่า​

แต่ละดวงในระบบสุรย ิ จักรวาลเราจะหนัก

คุณภาพดีจ�านวน​ 12​ ตัว​ ฉายภาพด้วย

ส�าหรับเราอีกแล้ว)​ หรือวงล้อโมเมนตัม​

FullDome​Digital​ที่ ใช้ โปรเจกเตอร์ ซอฟต์แวร์พเิ ศษทีท ่ า � ให้ภาพทีป ่ รากฏนั้น

ไร้รอยต่ อ​แนบเนี ยนสนิ ทไปทั่วหลั งคา​ โดยมีทง้ั การฉายเรือ ่ งของระบบดวงดาว พร้อมการบรรยายทีส ่ นุกไม่งว ่ ง​และหนัง ที่ถ่ายท�า ในระบบ​FullDome​ที่รองรับ ความละเอียดได้ในระดับ​8K

​“การใช้ ก ารฉายแบบนี้ ข้ อ ดี คื อ​

ท� า ให้ มี ต้ น ทุ น ของอุ ป กรณ์ ที่ ไ ม่ สู ง มาก​ และต่อไปเราก็สามารถพัฒนาซอฟต์แวร์ ขึน ้ มาได้เอง​รวมถึงเนือ ้ หาต่างๆ​เพือ ่ น�ามา

เท่ า ไหร่​(ข้ อ มู ล นี้ ท� า ให้ รู ้ว่ า โลกไม่ ใช่ ที่

ที่ให้เราไปยืนบนจานหมุนแล้วถือวงล้อ

ทีห ่ มุนอยูใ่ นทิศทางต่างๆ​จะพบว่าร่างกาย ของเราหมุ น ไปได้ เ องตามแรงเหวี่ ย ง

ของวงล้อทีถ ่ ืออยู​่ ซึง ่ เป็นหลักการเพือ ่ ให้

ประคองยานอวกาศเมื่ อ อยู่ ใ นสภาพ ที่ไร้น�าหนักให้ทรงตัวได้

ดาราศาสตร์ไม่เคยหลุดไปจากวงโคจร ของชีวิตเรา

​ห ลั ง จ า ก ส นุ ก กั บ นิ ท ร ร ศ ก า ร

ฉายในระบบนี้ ​และสามารถน� าสิ่งที่เรา

ดาราศาสตร์​และชมท้องฟ้าจ�าลองในระบบ

ที่มีระบบการฉายแบบเดียวกันได้ด้วย”​

ทีร่ ะลึก​ซึง่ เราแนะน�าว่าให้พกถุงผ้าใบใหญ่ๆ​

สร้างขึ้นมานั้ นไปขายยังประเทศต่ างๆ​ นี่ คื อ ความเกี่ ย วข้ อ งของดาราศาสตร์ ทีด ่ อกเตอร์ศรัณย์หมายถึง​ทัง้ ๆ​ทีเ่ รือ ่ งของ

ซอฟต์แวร์และภาพยนตร์นั้นในตอนแรก เราแทบจะนึกไม่ออกเลยว่าจะโยงมาทาง ดาราศาสตร์ได้อย่างไร​(โดยทีเ่ ราลืมไปว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์พลังการประมวลผลสูง

ของประเทศไทยก็ประกอบและติดตั้งอยู่ ที่​NARIT​นี้เอง)

ดาวนับแสนที่มีวงแหวนนับร้อย ทั้ง ดาวเคราะห์น้อย ดาวฤกษ์ลอยคว้างๆ

​ด้ านนอกของห้องท้องฟ้าจ� าลอง

คื อพื้นที่จ�านวนสองชั้นซึ่งเป็นที่ต้ั งของ

นิทรรศการเกีย ่ วกับดาราศาสตร์ในเฟสแรก​

ดิจต ิ อลแล้ว​แนะน�าให้เดินมาทีร่ า้ นขายของ มาด้ วย​เพราะคุณอาจจะถูกใจกั บของ

เกีย ่ วกับอวกาศน่ารักๆ​ทัง้ หลายจนสองมือ

หอบกลับไปไม่ไหว​และถ้าคุณหิวขึ้นมา​ ภายในอาคารก็มรี า้ นอาหาร​The​Planet​ ไว้ต้อ นรับ ด้ ว ย​ซึ่ ง มี เมนู อร่อยมากมาย​ โดยเฉพาะถ้ามากันในวันเสาร์นค ี่ อ ื กินข้าว

รอกิจกรรมดูดาวตอน​18.00-22.00​น.​ ได้เลย​ซึง่ การชมดาวนีเ้ ป็นหนึง่ ในกิจกรรม ที่ทุกคนในครอบครัวสามารถท�าร่วมกัน

ได้​และสามารถต่อยอดไปยังกิจกรรมอืน ่ ๆ​ ที่ทาง​NARIT​จะจัดขึ้นเป็นประจ�าอย่าง ค่ายดาราศาสตร์เพือ ่ ทุกคนในครอบครัว ด้วย

​คุ ณ ค ง เ ข้ า ใ จ แ ล้ ว ใ ช่ ไ ห ม ว่ า

มีทง ั้ หมด​ 19​ โซน​ ให้เราได้เยี่ยมชมและ

ดาราศาสตร์เกี่ยวข้องกับมนุษย์ท้ังเรือ ่ ง

ดาวเคราะห์​เมือ ่ เดินขึน ้ ไปชัง่ น�าหนักแล้ว​

ได้อย่างไร​

เล่นสนุกได้​เช่น​โซนน�าหนักของคุณบน จอจะแสดงผลว่ า ตั ว เราบนดวงดาว

ISSUE 628

03 FEB 2020

ก า ย ภ า พ ​จิ ต ใจ ​แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์

29


เรือ ่ ง : โตมร ศุขปรีชา

EDITOR’S NOTE

รู ไ้ หมครับ - ว่านั กวิทยาศาสตร์เพิ่งหมุน ‘เข็มนาฬิกาแห่งหายนะ’ (Doomsday Clock) เข้าไปใกล้เวลาเทีย ่ งคืน - ซึง ่ ก็คือจุดจบของโลก มากขึน ้ อีก 20 วินาทีแล้ว นัน ่ ท�าให้มนุษย์เข้าใกล้ หายนะมากทีส ่ ด ุ เท่าทีเ่ คยเป็นมาในประวัตศ ิ าสตร์

โลก - นั่นคืออยู่ห่างหายนะแค่ 100 วินาที (หรือ 1 นาที 40 วินาที) เท่านั้นเอง นั่ น แป ล ว่ า จ า ก ก า ร ค า ด ก า ร ณ์ ข อ ง นักวิทยาศาสตร์ ทีป ่ ระมวลประเมินสถานการณ์ ทุกอย่างเข้าด้วยกัน ทุกมิตค ิ ล้ายก�าลังเขม็งเกลียว และพุง่ ตรงไปสูจ ่ ด ุ เดียว - นัน ื หายนะของโลก ่ ก็คอ

DOOMSDAY CLOCK

Doomsday Clock คือนาฬิกาเชิงสัญลักษณ์ ทีเ่ อาไว้เป็นมาตรวัดหรือเป็นตัวแทนของ ‘โอกาส’ ที่ จ ะเกิ ด หายนะระดั บ สิ้น โลก (Global Catastrophe) ขึ้นมา และส่งผลต่อการด�ารงอยู่ของ เผ่าพันธุม ์ นุษย์ทั้งปวง องค์ ก รที่ ดู แ ลเรื่ อ งนี้ คื อ Bulletin of the Atomic Scientists ซึ่งคณะกรรมการเป็น นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล 13 คน มานัง่ พิจารณา ร่วมกันว่า โลกนี้ใกล้ถึงคราวหายนะแล้วหรือยัง โดยเมื่ อ ถื อ ก� า เนิ ด ขึ้ น ในตอนแรก นาฬิ ก านี้ มี เป้าหมายเพื่อเปรียบเทียบหายนะที่จะเกิดจาก

สงครามนิวเคลียร์และเทคโนโลยีตา่ งๆ มีการตัง้ ค่า ‘วาระสุดท้าย’ เอาไว้ที่ ‘เทีย ่ งคืน’ แล้วคณะกรรมการ ก็จะคอยขยับปรับเข็มนาฬิกา ถ้ามีใครฮึม ่ ฮัม ่ จะท�า สงครามนิวเคลียร์ เกิดความขัดแย้งระดับโลก

ก็ จะมี ก ารค� านวณให้ เข็ ม นาฬิ กาขยั บ เข้ า ใ ก ล้ ‘เที่ ย ง คื น ’ ม า ก ขึ้ น แ ต่ ถ้ า เ มื่ อ ไห ร่ ส ถานการณ์ คลีค ่ ลายลง ก็จะมีการค�านวณเพือ ่ ปรับเข็มนาฬิกาให้ออกห่างเที่ยงคืน นาฬิกานีเ้ กิดขึน ้ เพราะกลุม ่ นักวิทยาศาสตร์ และนั ก วิ จั ย ที่ ท� า งานด้ า นปรมาณู (เรีย กว่ า Atomic Scientists) ที่เคยเข้าร่วมในโครงการ แมนฮัตตันช่วงสงครามโลกครัง้ ทีส ่ อง แต่หลังจาก เห็นผลลัพธ์ในการทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมา และนางาซากิแล้ว พวกเขาก็เริมรู ่ สึ้ กว่าระเบิดปรมาณู เป็นภัยทีอ ่ าจท�าให้โลกล่มสลายได้ ดังนั้น จึงคิด มาตรวั ด เป็ น นาฬิ ก าหายนะนี้ ขึ้ น เพื่ อ เตื อ นใจ พวกผู้ น� า โลกทั้ ง หลาย ว่ า เราเข้ า ใกล้ ห ายนะ

มากน้อยแค่ไหนแล้ว ครัง้ แรกสุดที่นาฬิกานี้เกิดขึ้น คือปี 1947 ตอนนั้นเข็มนาฬิกาอยู่ห่างเที่ยงคืน 7 นาทีถ้วน แม้ตอนนัน ่ อง ้ จะเป็นยุคหลังสงครามโลกครัง้ ทีส

แต่มาตรวัดนี้แสดงให้เห็นว่าโลกน่าจะ ‘น่าอยู่’ ไม่น้อยทีเดียว หลั ง จากนั้ น คณะกรรมการมี ก ารขยั บ เข็มนาฬิกานีอ ้ ก ี ถึง 23 ครัง้ โดยครัง้ ทีโ่ ลกห่างไกล จากหายนะมากทีส ่ ด ุ คือปี 1991 (หรือยุค ‘เก้าศูนย์’ ที่ ส ถานการณ์ โ ลกคลี่ ค ลายในหลายระดั บ ทั้ ง การพั ง ทลายของก� า แพงเบอร์ลิ น รวมถึ ง การยุติลงของสงครามเย็น)

ส่ ว นครั้ ง ที่ เ ข้ า ใกล้ ห ายนะที่ สุ ด เพราะ ความขัดแย้งทางการเมือง คือเมือ ่ นาฬิกาถูกตัง้ ค่า อยูห ่ า ่ งหายนะแค่ 2 นาที ซึง่ เคยเกิดขึน ้ สองครัง้ นั่นคือปี 1953 ซึง ่ เป็นช่วงเวลาทีส ่ งครามเย็นถึง จุ ดสู ง สุ ด ทั้งสหรัฐ อเมริก าและโซเวี ยตรัส เซี ย ต่างทดลองระเบิดไฮโดรเจนกันทัง้ คู่ และอีกครัง้ ในปี 2018 หลังบรรดาผู้น�าโลกล้มเหลวในการเจรจาเรือ ่ งอาวุธนิวเคลียร์และภาวะโลกร้อน จะเห็นว่า ในยุคก่อนๆ สิง่ ทีค ่ ณะกรรมการ พิจารณาว่าอาจท�าลายล้างโลกได้มากที่สุดคือ สงครามนิ วเคลี ยร์และความขัดแย้ง แต่ ในยุ ค ถั ดมา มี ก ารนั บรวมประเด็ น เรือ ่ งสิ่งแวดล้ อ ม เช่น การเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศเข้าไปด้วย

ทว่ า แม้ นั บ รวมทั้ ง ภาวะโลกร้ อ นและ ความขั ด แย้ ง ทางนิ ว เคลี ย ร์เข้ า ด้ ว ยกั น แล้ ว นาฬิ กาแห่งหายนะก็ยัง ‘เคย’ เข้าใกล้เที่ยงคืน มากที่สุดเพียงสองนาทีเท่านั้นเอง

ดูมสเดย์เข้าใกล้เราแล้วกระนั้นหรือ หลายคนอาจคิดว่า นี่เป็นเพราะไวรัสจาก อูฮ ่ น ั่ ทีอ ่ าจก่อให้เกิดโรคระบาดขนาดใหญ่ทเี่ รียกว่า Pandemic ใช่ไหม แต่ค�าตอบที่น่าขนลุกก็คือ - (ยัง) ไม่ใช่ นาฬิ ก าถู ก ขยั บ เข้ า ใกล้ ห ายนะ เพราะ ส น ธิ สั ญ ญ า นิ ว เ ค ลี ย ร์ พิ สั ย ก ล า ง ร ะ ห ว่ า ง สหรัฐอเมริกากับรัสเซียพังทลายลงในเดือนสิงหาคม ปีทแ ี่ ล้ว ท�าให้ทง้ั สองประเทศสามารถติดตัง้ มิสไซล์

ท�าลายล้างได้ไกลขึน ้ และต่างฝ่ายต่างมีโอกาส เตรียมตัวรับมือได้น้อยลง ทีส ่ า � คัญก็คือ รัฐบาล ของทรัมป์ยงั ตัง้ ท่าจะถอนตัวออกจากสนธิสญ ั ญา Open Skies Treaty ทีอ ่ นุญาตให้ทงั้ สหรัฐฯ และ รัสเซีย สังเกตการณ์กองก�าลังของกันและกันได้ เพือ ่ เป็นการป้องกันตัวเอาไว้กอ ่ นด้วย นอกจากนี้ ยังมีปญ ั หาเรือ ่ งอิหร่านและเกาหลีเหนือ รวมทัง้ ความ ล้ ม เหลวในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศที่ชัดขึ้นเรือ ่ ยๆ นั่นแปลว่า การที่เข็มนาฬิ กาขยับเข้าใกล้ หายนะทีส ่ ด ุ ครัง้ นี้ ยังเป็นเพียงเรือ ่ งความขัดแย้ง และภาวะโลกร้อนเท่านัน ี ระเด็นหายนะ ้ ยังไม่มป อย่างเรือ ่ งโรคระบาดเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยซ�า

เข็มนาฬิกาจริงอยูท ่ ไี่ หน - ใครเล่าจะรูแ ้ น่? นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ย่ อ มต้ อ งรั ด กุ ม เสมอ การน� า เสนอข้ อ มู ล ใดๆ ออกมาต้ อ งรอบคอบ ไม่ก่อให้เกิดอาการตื่นตูม

จนกระทัง่ ปีนี้ ปี 2020 นี้ - ทีน ่ ก ั วิทยาศาสตร์ ขยั บ เข็ ม เวลาให้ เข้ า ใกล้ ห ายนะมากที่ สุ ด ใน ประวัติศาสตร์

ดังนั้ น การที่เข็มนาฬิกาแห่งหายนะขยับ เข้าใกล้เทีย ่ งคืนมากทีส ่ ด ุ ในประวัตศ ิ าสตร์ครัง้ นี้ โดยยั ง ไม่ ไ ด้ นั บ รวมผลลั พ ธ์ ข องหายนะจาก โรคระบาดเข้าไปด้วย - จึงเป็นเรือ ่ งทีต ่ อ ้ งจับตามอง อย่างใกล้ชิด,

ค�าถามก็คือ - อะไรท�าให้นักวิทยาศาสตร์ ท�าอย่างนั้น

ว่า ‘เที่ยงคืน’ ก�าลังเคลื่อนเข้าหาเราอย่าง เงียบเชียบอยู่หรือเปล่า

30


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.