ISSUE 241 1 - 7 MARCH 2013
ISSUE 241, 1 - 7 MARCH 2013
Finally Found Something and Someone เมื่อ 5 ปีที่แล้ว ที่ประเทศญี่ปุ่น เต่าทะเลพันธุ์หายากตัวหนึ่งโดนฉลามเจ้าสมุทรกัดเป็นแผลเหวอะหวะ สูญเสียขาคู่หน้ารวมทั้งส่วนที่เป็นครีบซึ่งช่วยพยุงตัว เวลาว่ายน�า้ ไปกับเหตุการณ์ครัง้ นัน้ แต่มนั รอดตายอยูก่ ลางทะเลได้อย่างหวุดหวิด เพราะบังเอิญถูกลากติดกับอวนหาปลาขึน้ มา จากนัน้ จึงมีคนพามันมาทีศ่ นู ย์อนุรกั ษ์ สัตว์น�้าที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ช่วยชีวิตและรักษาบาดแผลของมันอย่างเร่งด่วนจนพ้นขีดอันตราย จากวันนั้น ทีมเจ้าหน้าที่ของศูนย์อนุรักษ์ฯ ก็ตั้งชื่อให้มันว่า เจ้ายู (Yu) ซึ่งวันนี้มันมีอายุครบ 25 ปีแล้ว เรื่องราวทั้งหมดนี้แค่เริ่มต้น และนี่ก็ไม่ใช่เรื่องย่อภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องใหม่ของสตูดิโอจิบลิในญี่ปุ่น แต่อย่างใด หากแต่มนั คือเรือ่ งจริง ตัวแสดงจริง เล่นจริง เจ็บจริง... แม้เราจะเชือ่ กันว่าเต่าเป็นสัตว์ทอี่ ายุยนื และมีความอดทนสูง แต่ไม่วา่ จะเป็นเต่าหรือคน ก็คงไม่อยาก มีอายุยืนเพียงเพื่อจะอดทนอยู่กับอาการบาดเจ็บและการใช้ชีวิตที่ไม่เข้าที่เข้าทางเสียทีหรอก ผู้เขียนเชื่ออย่างนั้น หลังจากได้รับการรักษาอาการบาดเจ็บจนหายดีแล้ว ขั้นตอนต่อมาก็คือ การฟื้นฟูร่างกายเพื่อให้เจ้ายูสามารถกลับไปใช้ชีวิตในน�้าได้แม้จะไม่เหมือนเดิม เพราะโจทย์ในการใช้ชีวิตของเจ้ายูมีความยากล�าบากกว่าเต่าตัวอื่นหลายเท่าเนื่องจากเสียขาหน้าไป จึงท�าให้มันว่ายน�้าไม่ได้ คิดง่ายๆ ว่าเมื่อขาหน้าไม่มีจะว่ายน�้า มันก็ไม่ต่างอะไรกับวัตถุหนักๆ ที่ปล่อยลงน�้าแล้วหัวปักทิ่มลงไป แม้จะมีขาหลังเหลืออยู่ แต่ก็ไม่สามารถพยุงตัวลอยไปไหนได้ไกล เป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเจ้ายู ต้องพยายามหาทางประดิษฐ์คดิ ค้นขาเทียมเพือ่ ช่วยให้มนั ว่ายน�า้ และด�ารงชีวติ ในน�า้ ได้ใกล้เคียงกับความปกติทสี่ ดุ การสร้างขาเทียมให้เจ้ายูจงึ เป็นงานทีล่ ะเอียดอ่อน และเป็นที่เหน็ดเหนื่อยส�าหรับคนท�างานมาก เพราะธรรมชาติไม่ได้สร้างให้คนมาคิดขาให้เต่าทะเลอยู่แล้ว แถมพอท�าเสร็จ เต่าก็บอกไม่ได้อีกว่าพอดีหรือเปล่า ขาดเหลืออะไรอีกไหม ผลคือเจ้าหน้าที่ต้องใช้เวลาคิดกันหัวแทบแตกในการสร้างขาเทียมให้เจ้ายู ท�าไปคู่แล้วคู่เล่า ก็ยังไม่พอดีสักที บางคู่ใส่แล้วท�าท่าว่าจะดี แต่พอใช้ไปสักพักก็หลุดพลัว้ ะออกมา หรือบางคูใ่ ส่แล้วไม่พอดี ก็ยงิ่ ท�าให้เจ้ายูเจ็บมากขึน้ ไปอีก ท�าไปท�ามา ปาเข้าไป 26 คูแ่ ล้ว ก็ยงั ไม่ประสบความส�าเร็จ จนเจ้าหน้าที่ เริ่มท้อและนึกอยากจะยกมือยอมแพ้ แต่จะด้วยความที่เจ้ายูยังมีบุญอยู่ หรือเพราะเจ้าหน้าที่อยากฮึดสู้เป็นครั้งสุดท้ายก็ไม่ทราบ ขาเทียมเวอร์ชันล่าสุดจึงถูกคิดค้น ขึน้ มาอีกครัง้ คราวนีต้ รงส่วนเท้าหรือครีบของมันท�าจากยางและมีวสั ดุคอยยึดขาเทียมนีไ้ ว้กบั เสือ้ ทีค่ ล้ายเสือ้ นักด�าน�า้ ซึง่ สวมติดไว้กบั ตัวเจ้ายู เมือ่ ทดลองน�ามาสวมใส่ ให้เจ้ายู และปล่อยให้มันว่ายน�้าในแทงก์ที่เตรียมไว้ ผลที่ได้คือเจ้ายูสามารถว่ายน�้าได้อย่างคล่องแคล่วและไม่มีอาการเจ็บ แม้ว่าถัดไปอีกไม่กี่วัน ขาเทียมข้างหนึ่ง จะลื่นหลุดไปบ้าง แต่ก็แก้ไขได้และท�าให้เจ้าหน้าที่มีความหวังอย่างเต็มเปี่ยมอีกครั้งที่เจ้ายูจะใช้ชีวิตในโลกภายนอกได้ ขาเทียมคู่ที่ 27 จึงถือเป็นคู่ที่ใช้การได้จริง และได้ชื่อว่าประสบความส�าเร็จ (เสียที) คู่เทียม จึงกลายเป็น คู่แท้ ส�าหรับเจ้ายูในที่สุด กว่าที่เจ้ายูจะเจอคู่ที่แท้จริง กว่าจะเจอสิ่งที่ดีพอจนพอดี และไม่สร้างความเจ็บปวดทรมานให้อีก จึงไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เลย ซึ่งก็ไม่ต่างกันสักนิดกับชีวิตคน อย่างเราๆ เพราะสิ่งที่เคยคิดว่าดีและใช่ที่สุดแล้วในวันนี้ อีกวันหนึ่งอาจเป็นสิ่งที่ไม่ใช่และเราจ�าเป็นต้องปล่อยไปจากชีวิต แทนที่จะยึดมั่น กอดเก็บเอาไว้ เพื่อสร้าง ความเจ็บปวดไปเรือ่ ยๆ แต่ขณะเดียวกันก็ตอ้ งยอมรับความจริงด้วยว่า ระหว่างการค้นหาสิง่ ทีพ่ อดี เราก็ยอ่ มพบกับความเจ็บปวดบ้างอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้เช่นนีแ้ หละ เพราะมันคือขั้นตอนหนึ่งของการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งที่ชีวิตให้เรามา ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของสักอย่างหรือใครสักคน เพียงแต่ไม่มีอะไรมารับประกันได้ว่า สุดท้ายแล้ว เราจะเจอสิ่งที่พอเหมาะพอดีหรือไม่ เจอแล้วจะคุ้มค่ากับการรอคอยที่แสนเจ็บปวดหรือเปล่า แต่ผู้เขียนเชื่ออยู่อย่างว่า เต่าอย่างเจ้ายู คงไม่น่าจะเคยคิดหรือตั้ง ความหวังหรอกว่าวันหนึ่งมันจะได้ขาเทียมที่พอเหมาะพอดีกับชีวิตมัน สิ่งที่มันท�าได้ดีที่สุดเท่าที่เต่าตัวหนึ่งจะท�าได้คือ กัดฟันอดทนกับชีวิตในแต่ละวันที่ผ่านไป ส่วนพวกเราน่ะหรือ? แน่ละว่า ความอดทนคือคุณสมบัตทิ เี่ ราต้องมีตดิ ตัวไว้ แต่ในฐานะทีเ่ ราใช้ปญ ั ญาคิดได้ดกี ว่าสิง่ มีชวี ติ ชนิดอืน่ ๆ บนโลกนี้ เราก็ไม่ควรจะใช้ แค่ความอดทน หากแต่ยังต้องใช้สมองคิดและแยกแยะได้ด้วยว่า อะไรคือสิ่งที่ควรอดทนและอะไรที่ไม่จ�าเป็นต้องเสียเวลาทน อะไรคือสิ่งที่เราควรหวังและอะไรคือ สิ่งที่เราไม่ต้องเสียเวลาไปตั้งความหวัง อะไรคือสิ่งที่เราควรปล่อยไป และอะไรคือสิ่งที่เราควรต่อสู้เพื่อให้ได้มา เราคงไม่อาจคิดได้ในชั่วข้ามคืน แต่เราก็ต้องคิด ไม่ใช่ปล่อยให้ตวั เองเจ็บปวดกับสิ่งที่ไม่พอดี ครั้งแล้วครั้งเล่า และไม่กล้าแม้แต่จะปล่อยไป ทั้งที่รู้ว่ามันไม่ใช่ เพียงเพราะกลัวว่าจะไม่มี
ปีที่ 5 ฉบับที่ 241 วันที่ 1 - 7 มีนาคม 2556
วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter:@khaopan, www.facebook.com/adaybulletin
06 10 30
06 GOODNEWS
ติ ด ตามข่ า วสารดี ๆ รอบโลกประจ�าสัปดาห์ ได้ในห้องข่าวแห่งนี้
16
เตรี ย มพร้ อ มก่ อ นไป เลื อ กตั้ ง ด้ ว ยนานา ทัศนะจากคนกรุงเทพฯ และนโยบายเด็ ด ของ ผู ้ ส มั ค รผู ้ ว ่ า ฯ กทม. ที่น่าจับตามอง
16 A MUST
สารพัดสิ่งที่เราคัดสรร มาฝากแบบ A Must พลาดแล้ ว จะหาว่ า ไม่เตือน
18 SHOPPING
แต่งองค์ทรงเครื่องเพื่อ เพิ่มเสน่ห์ให้กับตัวเอง ด้วยเสื้อผ้าและเครื่องประดั บ ที่ เ ราคั ด สรร มาให้คุณโดยเฉพาะ
21 CALENDAR
ใคร ท� า อะไร ที่ ไ หน เช็กดูได้ สุดสัปดาห์นี้ จะได้ไม่พลาดเรื่องราว สนุกๆ
22 HOME MADE
แวะเยีย่ มบ้านหลังใหม่ ทีส่ วย เรียบง่าย แต่นา่ อยู่ ของ ‘ดี เ จกฤษณ์ ’ กฤษณ์ พ งศ์ สุ ธ าศิ ล พรมแพร
24 26 29 30 HEALTH ALL ABOUT THE WORDS THE GUEST AND HEART BIZ ทุ ก ถ้ อ ยค� า มี ค วาม- พบกั บ เรื่ อ งราวของ รวมสาระความรู ้ ที่ จ ะ ท� า ใ ห ้ คุ ณ แ ข็ ง แ ร ง ทั้งกายและใจ
22 เป็นระยะเวลา เกื อ บสองปี แ ล้ ว ที่ ผ ม ไ ด ้ รู ้ จั ก กั บ นิ ต ยสาร a day BULLETIN พอนั่ ง นึ ก ย้ อ นไปในช่ ว ง น�้ า ท่ ว มใหญ่ เ มื่ อ
10 FEATURE
เรี ย นรู ้ ที่ จ ะเป็ น ผู ้ ใ ห้ พร้อมซึมซับข้อคิดดีๆ ใ น ก า ร ท� า ง า น จ า ก พรรณสิ รี คุ ณ ากรไพบู ล ย์ ศิ ริ ผู ้ จั ด การ มูลนิธิรามาธิบดีฯ
ปลายปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา ก็อดข�าตัวเอง ไม่ได้ เพราะอยากอ่าน a day BULLETIN มาก จนถึงขั้นต้องลุยน�้าไปตามหานิตยสารเล่มนี้ ซึ่งปกติแล้วผมจะได้รับแจกทุกเย็นวันศุกร์ที่ สถานีรถไฟฟ้า BTS หมอชิต แต่เมื่อถึงวันศุกร์ ที่น�้าทะลักเข้าท่วมกรุงเทพฯ จุดแจกที่สถานี รถไฟฟ้ า BTS หมอชิต ก็ต ้ อ งมีอัน งดแจกไป
หมายและคุณค่าเสมอ ค้นหาได้ในหน้านี้
การเดินทางด้วยรถไฟ จ า ก ล อ น ด อ น ถึ ง กรุงเทพฯ ใน 1 เดือน ของ แวววรรณ และ วรรณแวว หงษ์วิวัฒน์
ชั่วคราว แต่ผมก็ไม่ย่อท้อ ลงทุนนั่งรถไฟใต้ดิน ไปยังสถานีสีลม เพื่อไปรับ a day BULLETIN ที่สถานีนั้น และสุดท้ายก็ได้มา แม้จะเป็นการลงทุ น เพื่ อ การอ่ า นอย่ า งถึ ง ที่ สุ ด แต่ ผ มก็ มี ความสุขที่ได้ท�าลงไปครับ -Yotsawat Phithakkana
ส่งความคิดเห็น ค�าติ-ชม หรือข้อเสนอแนะทีม่ ตี อ่ a day BULLETIN ได้ที่ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 3 ซอย เจริญมิตร ถนนสุขุมวิท 63 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 หรือทางอีเมล adaybulletin08@gmail.com กรุณาเขียนชื่อ-นามสกุลจริงและที่อยู่มากับจดหมาย เพื่อ ความสะดวกในการจัดส่งของรางวัลไปให้ และบรรณาธิการ ขออนุญาตตัดทอนจดหมายตามสมควร พิ เ ศษ! จดหมายที่ ไ ด้ รั บ เลื อ กลงตี พิ ม พ์ ใ น ช่วงเดือนนี้ จะได้รับหนังสือดีๆ จากส�านักพิมพ์ a book ส่งไปให้ถึงบ้าน
ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา นิติพัฒน์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา กองบรรณาธิการ เอกพล บรรลือ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ อาทิตยา อาศิรวาท บรรณาธิการภาพ นิติพัฒน์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม นราธิป บุญเรือง กิตติ ศรีวิเชียร พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ฝ่ายผลิต ศิริ ศิริจรรยากุล ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้อ�านวยการกลุ่มโฆษณา อุบลวรรณ จรเจริญสุข ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา นิชาภา สารพันธ์ 08-1812-0606, ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 08-6378-6037 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 08-1859-8851, โสรดา มิใย 08-9969-6611 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-9662-7073, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 08-9170-6001, วิชยุตม์ โชติวาณี 08-0776-6868, รวงรัชต์ ด้านเทาลา 08-1412-9478 ผู้จัดการ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 3 ซอยเจริญมิตร ถนนสุขมุ วิท 63 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2203-1040 อีเมล adaybulletin08@gmail.com ติดต่อฝ่ายโฆษณา โทร. 0-2203-1040 ต่อ 801, 802, 803, 804, 805, 807 แฟกซ์ 0-2203-1040 ต่อ 811 เว็บไซต์ www.daypoets.com/adb ฝ่ายสมาชิก นริศรา เปยะกัง โทร. 0-2726-9996 ต่อ 11, 12, 49
04
THE DATABASE ที่มา : www.guardian.co.uk
10 อันดับประเทศที่มีอัตราส่วนประชากรที่มีปืนไว้ในครอบครองมากที่สุดในโลก %
88.8
%
54.8
%
47.7
%
45.3
%
% 37.8
THE POLL
36.4
35%
ที่มา : สวนดุสิตโพล
สิ่งที่คนกรุงเทพฯ พึงพอใจมากที่สุดที่จะมีการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ครั้งนี้ อันดับ 1
นโยบายทีผ่ ส้ ู มัครแต่ละคน อันดับ 2 น�ามาใช้ในการหาเสียง มีผู้สมัครหน้าใหม่ อันดับ 3 น่าสนใจและอยากให้ หลายคน ท�าให้มี การแข่งขัน อันดับ 4 ท�าโดยเร็ว ความหลากหลาย ชิงต�าแหน่งผู้ว่าฯ กกต. ท�าหน้าที่ได้ดี และมีตัวเลือกมากขึ้น กทม. ครั้งนี้ ยังไม่มี มีการเตรียมพร้อม อันดับ 5 การทะเลาะเบาะแว้ง และท�างาน ได้ เ ห็ น เทคนิค วิธกี ารที่รุนแรง เป็นระบบมากขึ้น หาเสียงของผู้สมัคร แต่ละคนที่น่าสนใจ
47.24%
20.31%
16.95%
570.1
8.41%
2,870 วัน คือระยะเวลาทีส่ มเด็จพระสันตปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 อยู ่ ใ นต� า แหน่ ง ประมุ ข แห่ ง ศาสนาคริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก โดยพระองค์ เ ป็ น พระสันตปาปาองค์แรกในรอบ 600 ปี ที่มีพระประสงค์สละ ต�าแหน่งนี้ เนื่องจากพระองค์ ไม่ทรงสามารถปฏิบัติภารกิจ ได้อย่างเต็มที่ ที่มา : www.guardian.co.uk
รัสเซียเป็นประเทศที่มีทองค�าไว้ในครอบครอง มากที่สุดในโลก ปัจจุบันมีทองค�าสะสมมากถึง 570.1 เมตริกตัน ซึ่งเพียงพอที่จะน�ามาสร้าง อนุสาวรียเ์ ทพีเสรีภาพมากถึง 3 แห่ง ที่มา : www.bloomberg.com
7.09%
800,000,000
%
32.2
คุ ณ คาดหวั ง อะไรจากการเลื อ กตั้ ง ผู้ว่าฯ กทม. ในครั้งนี้ %
31.8
%
31.6
837 กิโลกรัม คือน�้าหนัก ข อ ง ข ้ า ว ผั ด ที่ ไ ด ้ รั บ การบันทึกว่าเป็นข้าวผัด ขนาดใหญ่ ที่ สุ ด ในโลก ผู ้ ส ร้ า งสถิ ติ คื อ ชุ ม ชน ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในย่าน ไชนาทาวน์ของกรุงซันโฮเซ ประเทศคอสตาริกา โดย ข้ า วผั ด มหึ ม านี้ ต ้ อ งใช้ แรงงานของพ่ อ ครั ว ถึ ง 52 คน เมื่อปรุงเสร็จแล้ว สามารถเลี้ ย งคนได้ ม าก ถึง 7,000 คน ที่มา : www.business-standard.com
30,000
“อยากให้กรุงเทพฯ พัฒนาขึ้นในทุกๆ ด้าน ทีส่ า� คัญคือน�า้ ไม่ทว่ มอีก” กัณฑ์อเนก ศรีจันทร์ 27 ปี, พนักงานบริษทั “อยากให้ มี ก ารพั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต การเดินทาง และความปลอดภัยของคนกรุงเทพฯ ให้มากขึ้น” พิสิษฐ์ นันทิราภากรณ์ 36 ปี, ธุรกิจส่วนตัว “ไม่ อ ยากคาดหวั ง เพราะกลัวจะผิดหวัง แต่ อยากให้ผู้ว่าฯ คนใหม่ ท�างานเพื่อคนกรุงเทพฯ ได้อย่างเต็มที่” นุกูล เจริญอภิวันท์ 31 ปี, Senior Creative Group Head “คาดหวังว่าจะช่วย แก้ปัญหารถติดให้ได้” ปินดา ปุโรทกานนท์ 23 ปี, พนักงานบริษทั
จากสถิติในปี 2012 พบว่าประเทศอังกฤษน�าเข้าเนื้อม้า มากถึง 30,000 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าสูงถึง 54,000 ปอนด์ หรือราว 2.54 ล้านบาท ที่มา : www.guardian.co.uk
“คงไม่คาดหวังผูว้ า่ ฯ แต่คาดหวังว่าชาว กทม. จะไม่ ซื้ อ สิ ท ธิ์ ข ายเสี ย ง และเลือ กคนที่สามารถ ท�างานให้กบั เราจริงๆ” อริสา สุขสถาพร 21 ปี, นักศึกษา
800 ล้ า นคน คื อ จ� า นวนผู ้ เ ข้ า ชมคลิ ป วิ ดี โ อต่ า งๆ บนเว็ บ ไซต์ youtube.com ในแต่ละเดือน ซึ่งจ�านวนดังกล่าวมากกว่าประชากร ในทวีปยุโรปเสียอีก โดยในปัจจุบันมีผู้อัพโหลดคลิปวิดีโอขึ้นบน ยูทูบเฉลี่ยนาทีละ 72 ชั่วโมง ที่มา : www.youtube.com/t/press_timeline
“ไม่ได้คาดหวังอะไร แค่อยากให้ท�างานที่ยัง ค้ า งคาอยู ่ ข องผู ้ ว ่ า ฯ คนก่อนหน้าให้เสร็จก็พอ” กวิตา นาคทับที 26 ปี, ธุรกิจส่วนตัว
8
ระหว่างการไปเยือนรัฐจอร์เจียเพือ่ แถลงนโยบายการบริหารงานของรัฐบาล ประธานาธิบดี บารัก โอบามา ได้แวะพบปะนักเรียน ในชั้นเตรียมอนุบาลที่ College Heights ในเมือง Decatur ทั้งนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลมีความพยายามที่จะผลักดันให้มี การจัดการการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น - Reuters / Jason Reed
LIFESTYLE
ชายหนุ่มสุดโรแมนติกผู้นี้มีชื่อว่า Deidre Sechi อายุ 18 ปี ชาวเมื อ ง โอเวอร์แลนด์พาร์ก รัฐแคนซัส สหรัฐอเมริกา โดยหลังจาก Riley Nicolay แฟนสาวของเขาได้ รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว่ า เป็ น มะเร็ ง หลั ง พบก้ อ นเนื้ อ ในท้ อ ง ขนาดเท่าลูกเบสบอล และต้องเข้ารับ การรักษาด้วยวิธีเคมีบ�าบัด ซึ่งจะท�าให้ ผมของเธอร่วงจนต้องโกนผมหมดทั้ง ศี ร ษะ และเขาก็ ใ ห้ ก� า ลั ง ใจแฟนสาว ด้วยการร่วมโกนหัวเป็นเพื่อน “แฟน ของผมจะต้องโกนผมทั้งหัว ส่วนตัวผม เองก็ ไ ม่ ไ ด้ ส นใจทรงผมของตั ว เอง สั ก เท่ า ไหร่ ผมจึ ง ตั ด สิ น ใจโกนผม เป็นเพื่อนเธอ” Deidre กล่าว
เทศกาลคาร์นิวัลในนครรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล กลายเป็นงานประจ�าปีที่โด่งดังและดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลก ให้ไปชมความตระการตาของขบวนคาราวานสารพัดรูปแบบบนท้องถนน ซึง่ ปีนกี้ ม็ ขี บวนแห่ทสี่ วยงาม น่าทึง่ สมกับการรอคอย งานที่หนึ่งปีมีครั้งอีกเช่นเคย - Reuters / Ricardo Moraes
HUMAN RIGHTS
PEOPLE
รวมตัวจัดงานระดับประเทศครัง้ แรกในรอบ 9 ปี
ซื่อสัตย์!
ช่างเสริมสวยหญิงอิรัก ชายไร้บ้าน การจัดงานครั้งประวัติศาสตร์นี้มีชื่อว่า Make-up, Hairdressing and Fashion Show จัดขึ้นที่โรงแรม Sadeer ย่าน Andalus Square ของกรุงแบกแดด เป็นงานมหกรรม โชว์การแต่งหน้า ท�าผม และเดินแฟชั่นโชว์ครั้งใหญ่ใน ประเทศอิรกั โดยผูจ้ ดั งานเผยว่านีเ่ ป็นงานใหญ่สา� หรับผูห้ ญิง ครั้งแรกนับตั้งแต่เกิดเหตุสู้รบกับกองทัพสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 ทางด้าน Nadya Hamza Fuad หนึง่ ในผูร้ ว่ มจัดงาน กล่าวว่า “สิ่งที่ส�าคัญที่สุดเกี่ยวกับมหกรรมครั้งนี้ คือการสะท้อนความมีชีวิตชีวาของผู้หญิงชาวอิรักที่โลกไม่เคยได้เห็น” ทางด้าน Ali Bulbul หนึ่งในผู้มาร่วมโชว์ แต่งหน้ากล่าวว่า “เราหวังว่าการเคลื่อนไหวครั้งนี้จะด�าเนินต่อไป เพื่อให้คนอิรักได้รับการยอมรับอีกครั้ง”
TRAVEL
โครเอเชียเจ๋ง เปิดพิพิธภัณฑ์คนอกหัก
เป็นอีกหนึ่งงานที่สร้างสีสันให้กับวันวาเลนไทน์ที่ผ่านมา เมื่อ Boulder Museum of Contemporary Art ของประเทศ โครเอเชีย ได้จัดแสดงนิทรรศการ ‘Museum of Broken Relationships’ ภายในงานผูเ้ ข้าชมจะได้พบกับสิง่ ของและเรือ่ งราว เกี่ยวกับความรักที่ไม่สมหวังมากมาย อาทิ ของบริจาคจาก คนที่ผิดหวังในความรัก ของที่ระลึกที่คู่รักซึ่งร้างลาจากกัน ไม่อยากเก็บไว้ เป็นต้น ทางด้าน Olinka Vistica และ Drazen Grubisic สองศิลปินเจ้าของไอเดียในการจัดนิทรรศการครัง้ นีก้ ล่าวว่า งานนีเ้ กิดขึน้ เพราะทัง้ สองได้แยกทางกัน เมือ่ ปี ค.ศ. 2006 แต่กอ็ ยากท�าบางสิง่ ทีส่ ร้างสรรค์รว่ มกัน จึงตัดสินใจรวบรวมสิง่ ของทีต่ กค้างจากความสัมพันธ์ มาจัดนิทรรศการ พร้อมเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมด้วย และเมื่อรวบรวมสิ่งของได้มากพอ นิทรรศการนี้ จึงเกิดขึ้น ทั้งนี้ นิทรรศการดังกล่าวจะเปิดให้เข้าชมได้จนถึงวันที่ 26 พฤษภาคมนี้
SOCIETY
รอคืนแหวนเพชรให้เจ้าของ บิลลี เรย์ แฮร์ริส ชายเร่ร่อนผิวสีในละแวก รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา ได้เก็บแหวนเพชรของ ซาราห์ ดาร์ลงิ หญิงสาวใจบุญทีเ่ ผลอท�าแหวนหมัน้ ของตัวเองหล่นไปในกระป๋องรับเศษเงินขณะที่ เธอก�าลังบริจาคเงินให้ชายคนนี้ ซึ่งเธอก็ได้ย้อน กลับมาหาเขาในวันรุ่งขึ้น เพราะเธอคิดว่าแหวน วงนั้นคงร่วงลงไปจากกระเป๋าสตางค์ในตอนนั้น พอดี และเมื่อไปถึงบิลลีก็ยื่นแหวนคืนให้กับเธอ โดยให้เหตุผลว่า “ปู่ของผมเคยสอนไว้ว่าเราต้อง มีความซื่อสัตย์ ผมจึงตั้งใจที่จะคืนแหวนวงนี้ ให้กับเจ้าของ” ซึง่ การกระท�าของบิลลีนนั้ ก็สร้าง ความประทั บ ใจให้ กั บ ซาราห์ เ ป็ น อย่ า งมาก เธอจึ ง มอบเงิ น ที่ มี ติ ด ตั ว ทั้ ง หมดให้ กั บ เขาไป เพือ่ เป็นสินน�า้ ใจตอบแทนความดีงามของชายผูน้ ี้
โบลิเวียยินดีคืนรถยนต์ที่ถูกปล้นมาจากชิลี
เจ้าหน้าทีท่ างการทูตของประเทศโบลิเวียประกาศว่าจะท�าการส่งมอบรถยนต์จา� นวน 1,500 คันทีถ่ กู ขโมยมา คืนให้แก่ประเทศชิลี เพือ่ เป็นการสร้างสัมพันธ์อนั ดีระหว่างสองประเทศขึน้ มาใหม่ โดยก่อนหน้านีโ้ บลิเวียและชิลไี ม่มกี ารติดต่อกันทางการทูตมานานกว่า 30 ปี โดยประเด็นหลักทีข่ ดั แย้งกันมานานคือเรือ่ งของพลังงาน ซึง่ ทางโบลิเวียเองได้ระงับการส่งออกก๊าซธรรมชาติให้กบั ประเทศชิลี และในทุกปีจะมีรถยนต์ทถี่ กู ขโมยมาจากประเทศชิลเี ป็นจ�านวนกว่า 100 คัน ส่งเข้ามาขายในตลาดมืดของประเทศโบลิเวีย โดยส่วนใหญ่ รถยนต์เหล่านีจ้ ะถูกน�าไปใช้แลกเปลีย่ นแทนเงินตราในการซือ้ ขายยาเสพติด ซึง่ การกระชับสัมพันธ์ทางการทูตในครัง้ นีแ้ สดงให้เห็นว่า ทัง้ สองประเทศก�าลังจะร่วมมือกันต่อต้านการก่อเหตุอาชญากรรมข้ามพรมแดนทีเ่ ป็นปัญหาเรือ้ รังมานาน
ตัวตลกยืนปะปนกับเจ้าหน้าที่ประจ�าเรือนจ�าระหว่างชมการแข่งขันชกมวยภายในส�าหรับนักโทษในเรือนจ�าเมืองซิวดัดฮัวเรซ ประเทศเม็กซิโก การแข่งขันชกมวยรายการนีม้ ชี อื่ ว่า the Golden Gloves Tournament ซึง่ จัดขึน้ เพือ่ เป็นการอ�าลาและเตรียมพร้อม ให้กับนักโทษที่พ้นโทษแล้วส�าหรับการใช้ชีวิตในโลกภายนอกเรือนจ�าต่อไป - Reuters / Jose Luis Gonzalez
โฉมหน้าเจ้าบานาน่า โจ สุนัขพันธุ์อาฟเฟนพินเชอร์ เจ้าของต�าแหน่งชนะเลิศในการประกวดสุนัขประจ�าปีรายการใหญ่ Westminster Kennel Club Dog Show ครัง้ ที่ 137 ซึง่ จัดขึน้ ทีเ่ มดิสนั สแควร์ การ์เดน ในนครนิวยอร์ก - Reuters / Shannon Stapleton
SPORT
นักกอล์ฟหญิงใจเด็ด ใช้หมุดลูกกอล์ฟรีดพิษแมงมุมแม่หม้ายดำา
ระหว่างการแข่งขันกอล์ฟแอลพีจีเอทัวร์ รายการออสเตรเลียน โอเพน ในเมือง Yarralumla ประเทศออสเตรเลีย ดาเนียลา โฮล์มควิสต์ นักกอล์ฟหญิงชาวสวีเดน ก็ถูกแมงมุมแม่หม้ายด�ากัดเข้าที่ข้อเท้า ระหว่างที่กา� ลังแข่งขันอยู่ที่หลุม 4 ในสนาม รอยัล แคนเบอร์รา กอล์ฟ คลับ แต่เธอก็ยงั มีสติและรีบหยิบเอาหมุดส�าหรับใช้ตงั้ ลูกกอล์ฟมาเจาะทีบ่ าดแผลพร้อมกับรีดพิษออก ด้วยตัวเอง หลังจากได้รบั การรักษาโดยทีมแพทย์เธอก็ลงสนามแข่งขันต่อ แม้วา่ สุดท้ายจะจบเกมด้วยสกอร์ 74 ท�าให้ไม่สามารถ เข้ารอบต่อไปได้ แต่ความใจสู้ของเธอก็ชนะใจคนทั้งสนามไปแล้ว
คนดังเปลี่ยนโลก
เมื่อบรรดาคนดัง ระดับโลกลุกขึน้ มาท�า อะไรสั ก อย่ า ง ย่ อ ม สร้ า งความเปลี่ ย นแปลงให้กับโลกใบนี้ ได้เสมอ โดยเฉพาะในเรือ่ งดีๆ ทีก่ ลายเป็นแรงบันดาลใจ ให้หลายคนยึดถือเป็นแบบอย่าง • เริ่มด้วยนักแสดงหนุ่มหล่อเจ้าของรางวัลออสการ์ อย่าง แมตต์ เดมอน ที่เป็นผู้ร่วมก่อตั้งองค์กรการกุศล อย่าง water.org เพือ่ ช่วยให้คนทัว่ โลกได้เข้าถึงน�า้ สะอาด และมีห้องน�้าที่สะอาดใช้ ซึ่งล่าสุดเขาได้ประกาศในงาน แถลงข่าวการจัดกิจกรรม World Toilet Day ประจ�าปี 2013 ว่า เขาจะไม่เข้าห้องน�้าอีกเลย จนกว่าคนทั่วโลกจะมี น�้าสะอาดและห้องน�้าสะอาดใช้ แม้จะเป็นค�าพูดที่เต็ม ไปด้วยอารมณ์ขัน แต่หนุ่มแมตต์ก็เผยว่า เขาต้องการ ให้คนทั่วไปได้ตระหนักถึงปัญหา โดยดึงดูดความสนใจ ผ่านเรื่องขบขันนั่นเอง
CULTURE
ศิลปินมะกันจัดงานศพ
ให้หญิงทีน่ า่ เกลียดทีส่ ดุ ในโลกย้อ้ นหลัง 150 ปี ศิลปินผู้นี้มีชื่อว่า ลอรา แอนเดอร์สัน บาร์บาต้า เป็น ชาวเมืองนิวยอร์ก เธอได้ใช้ ความพยายามมาตลอด 10 ปี เพื่อการรื้อฟื้นชีวประวัติของ จูเลีย พาสตรานา ผู้หญิงที่ ได้ชื่อว่ามีหน้าตาน่าเกลียดที่สุดในโลก ทั้งนี้ จูเลีย เกิดเมื่อปี 1834 ที่ประเทศเม็กซิโก คนมักเรียกเธอ ว่า ‘Bear woman’ เนื่องจากเธอมีขนตามร่างกาย จ�านวนมาก ซึ่งศิลปินสาวอธิบายว่าจูเลียดูเหมือน ลู ก ผสมระหว่ า งมนุ ษ ย์ แ ละลิ ง อุ รั ง อุ ตั ง และได้ เสียชีวติ โดยไม่มกี ารจัดงานศพในปี 1860 เนือ่ งจาก โรคร้ายที่ไม่สามารถระบุได้ และท้ายที่สุดลอรา ก็สามารถเรียกร้องให้มีการจัดงานศพส�าเร็จตาม พิธีศ าสนาคริสต์นิก ายโรมัน คาทอลิก ทางด้ า น มาริโอ โลเปซ ผู้ว่าการรัฐซีนาโลอา บ้านเกิดของ จูเลีย กล่าวว่า “ถือเป็นงานศพที่สมเกียรติ และ ตอบแทนกับความทุกข์ทเี่ ธอได้พบเจอมาตลอดชีวติ ”
• ส่วนนักร้องสาวสุดเปรีย้ วอย่าง เลดี้ กาก้า ก็ทา� ในสิง่ ที่ น่าประทับใจเช่นกัน เพราะหลังจากทีเ่ พิง่ ประกาศยกเลิก คอนเสิรต์ 4 รอบ เพือ่ เตรียมตัวผ่าตัดสะโพก เธอก็ไม่วาย ที่จะท�าให้แฟนเพลงตัวน้อยอย่าง เคย์ลีห์ เกอร์บินสกี้ วัย 5 ขวบ ได้ยมิ้ ร่า เพราะเธอแวะไปเยีย่ มหนูนอ้ ยทีป่ ว่ ย เป็นโรคหัวใจถึงที่บ้าน เนื่องจากหนูน้อยคนนี้มีบัตร คอนเสิร์ตของเธอ แต่สุดท้ายก็ไม่มีโอกาสได้ดูเพราะถูก ยกเลิกไปก่อน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรักที่เธอมี ต่อแฟนเพลงได้เป็นอย่างดี • ปิดท้ายที่ สก็อตต์ นีสัน อดีตผู้บริหารระดับสูงของ ค่ายหนังยักษ์ใหญ่แห่งฮอลลีวดู อย่าง 20th Century Fox International ที่ตัดสินใจเดินหันหลังให้เงินเดือน 6 หลัก ขายทรัพย์สินที่มีทั้งหมด แล้วย้ายไปอยู่ประเทศกัมพูชา เพื่อจะได้คอยท�างานช่วยเหลือเด็กๆ ผู้ยากไร้ที่นั่น ซึ่ง เขาเผยว่ามันเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงชีวิตครั้งใหญ่ และมีผลกระทบมากมายต่อชีวติ เขา แม้จะคิดถึงฮอลลีวดู อยู่บ้าง แต่ตอนนี้เขาก�าลังมีความสุขอยู่จริงๆ
“ ผู ้ นำ า จ ะ ต ้ อ ง ไม่ คิ ด ถึ ง ตั ว เองว่ า ทำ า ไปแล้ ว ได้ อ ะไร เพื่ออะไร แต่ต้องคิด และทำาในสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ เ พื่ อ อ ง ค ์ ก ร ใ น อนาคต” บุญชัย โชควัฒนา ประธานกรรมการบริหาร บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ากัด (มหาชน) หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ 15 กุมภาพันธ์ 2556
GREEN PLEASE บริษทั ผลิตกระดาษในอินโดนีเซียยุตกิ ารตัดป่าไม้ในประเทศ บริษัท Asia Pulp & Paper หรือ APP ผู้ผลิตกระดาษยักษ์ใหญ่อันดับ 3 ของโลกในประเทศอินโดนีเซีย ออกมา ประกาศยุตกิ ารใช้ไม้จากป่าไม้ในประเทศ เพือ่ การผลิตกระดาษแล้ว โดยก่อนหน้านี้ ทางบริษทั วางแผนไว้วา่ จะหยุดการน�าไม้ จากป่าไม้มาใช้ในปี ค.ศ. 2015 แต่ เนื่องจากทนกระแสเรียกร้องจากกลุ่ม พิทักษ์สิ่งแวดล้อมและเหล่าผู้ถือหุ้น ในองค์กรไม่ไหว จึงตัดสินใจเดินหน้าแผนการนี้ทันที โดยต่อไปทางบริษัทจะใช้ไม้จากป่าที่ปลูกขึ้นเอง เท่านั้น และหวังว่าการหยุดตัดไม้ในป่าส�าคัญของประเทศจะช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและช่วยอนุรักษ์ สัตว์ป่าหายากต่างๆ ของประเทศอินโดนีเซียอย่างลิงอุรังอุตังหรือเสือสุมาตราไว้ด้วย
Did You Know?
1 มีนาคม 2481 - เกษตรสมบูรณ์ ได้รับ การยกสถานะเป็นอ�าเภอหนึ่งของจังหวัด ชั ย ภู มิ ใ นวั น นี้ โดยมี ขุ น นิ ก รนั น ทกิ จ เป็นนายอ�าเภอคนแรก 2 มีนาคม 2489 - โฮจิมินห์ นักปฏิวัติ ชาวเวียดนาม ด�ารงต�าแหน่งประธานาธิบดี แห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม หรือเวียดนามเหนือในวันนี้ 3 มีนาคม 2544 - เครือ่ งบินโบอิง้ 737 ของ การบิ น ไทย เที่ ย วบิ น กรุ ง เทพ-เชี ย งใหม่ เกิ ด ระเบิ ด บนลานจอด ก่ อ นหน้ า ที่ พันต�ารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้ น จะขึ้ น เครื่ อ งบิ น ล� า นี้ ไ ม่ น าน ต่อมาพันต�ารวจโททักษิณแถลงว่าเป็นการวางระเบิดลอบสังหารโดยกลุม่ ผูเ้ สียประโยชน์ จากนโยบายปราบปรามยาเสพติด 4 มีนาคม 2543 - มีการเลือกตั้งสมาชิก วุฒิสภา (ส.ว.) เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ซึง่ ถือเป็นการเลือกตัง้ ครัง้ แรกตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 5 มีนาคม 2535 - มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เอกชน สั ง กั ด ส� า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ยกระดั บ จากวิ ท ยาลั ย เอเชียอาคเนย์ ในปี พ.ศ. 2516 มาเป็น ‘มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์’ ในวันนี้ 6 มี น าคม 2540 - เอกชั ย นพจิ น ดา หรือ ‘ย. โย่ง’ อดีตผู้ประกาศข่าวกีฬาทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เสียชีวิต ด้วยอาการหัวใจวายขณะน�าส่งโรงพยาบาล หลังเล่นเทนนิสกับเพื่อนร่วมงานที่สนามเทนนิ ส ภายในที่ ท� า การสถานี โ ทรทั ศ น์ สี กองทัพบกช่อง 7 7 มีนาคม 2465 - วันเกิด มอชตาร์ ลูบิส นั ก เขี ย นนวนิ ย าย นั ก หนั ง สื อ พิ ม พ์ บรรณาธิ ก าร และนั ก เรี ย กร้ อ งเสรี ภ าพ คนส� า คั ญ ของอิ น โดนี เ ซี ย ผู ้ เ คยได้ รั บ รางวัลแมกไซไซ เมื่อปี ค.ศ. 1958 สาขา วารสารศาสตร์ วรรณกรรม และศิ ล ปะ การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์
ผลส�ารวจเผยกิจกรรมในออฟฟิศที่ผลาญเวลาท�างานมากที่สุด
เว็บไซต์ OfffiificeTime.net ได้ท�าการส�ารวจคนท�างานในบริษัทเอกชนทั่วโลกจ�านวน 600 คน พบว่ากลุ่มตัวอย่าง 33% เปิดเผยว่ากิจกรรมในออฟฟิศทีผ่ ลาญเวลาท�างานของพวกเขามากทีส่ ดุ คือการเช็กและส่งอีเมล รองลงมาคือการเล่นอินเทอร์เน็ต การดูโทรทัศน์ การผัดวันประกันพรุ่ง และการประชุม โดยกิจกรรมที่เผาผลาญเวลาท� างานเหล่านี้ส่วนใหญ่จะใช้เวลา ประมาณ 1-2 ชั่วโมงต่อวัน เลยทีเดียว
10
เรื่อง : กองบรรณาธิการ วั น อาทิ ต ย์ ที่ 3 มี น าคม ที่ จ ะถึ ง นี้ แ ล้ ว ที่ ค นกรุ ง เทพฯ ต้องตัดสินใจเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อมาท�า หน้ า ที่ บ ริ ห ารราชการเมื อ งหลวงและท� า ให้ ค นกรุ ง เทพฯ มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างที่ ได้หาเสียงกันตลอดช่วงที่ผ่านมา ถ้าเปรียบเป็นหญิงสาวทีก่ า� ลังดูใจคนทีจ่ ะเลือกมาเป็นคูต่ นุ าหงัน ช่วงเวลาก่อนจะกากบาทในคูหาวันเลือกตัง้ ก็ยงั เป็นช่วงทีผ่ เู้ ป็น ฝ่ายเลือกยังคงสามารถเล่นตัวไปได้เรื่อยๆ อยู่ แต่จะท�าอย่างไร ถึงจะหาหลักประกันได้วา่ หลังจากทีเ่ ราเลือกเขามาเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ของเราแล้ว เราจะต้องไม่ชอกช�า้ น�า้ ตาตกใน ซึง่ สุดท้าย ก็หนี ไม่พ้นการศึกษาหาข้อมูลเพื่อท�าความรู้จักกับผู้สมัคร แต่ละคนในทุกด้านเท่าที่จะมากได้ ถึงการเลือกตั้งกับการเลือกคู่จะแลดูคล้ายกัน แต่ความแตกต่างทีส่ า� คัญของสองสิง่ นีอ้ ยูต่ รงทีก่ ารเลือกคูเ่ ป็นเรือ่ งของ คนแค่สองคน อย่างดีก็คงมีครอบครัวและเพื่อนฝูงเฮโลเข้ามา เกี่ยวข้องบ้างตามประสา คนที่เลือกคู่ผิดก็คงต้องช�้าเองเจ็บเอง แต่การเลือกตัง้ ท้องถิน่ ครัง้ ส�าคัญอย่างการเลือกตัง้ ผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร เป็นเรื่องที่พวกเราชาวกรุงเทพฯ ทั้งหมด ต้องรับผิดชอบร่วมกัน ซึ่งหมายความอีกทีว่า คนกรุงเทพฯ ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งประมาณ 4 ล้านคนในวันอาทิตย์ท ี่ 3 มีนาคมทีจ่ ะถึงนี ้ จะต้องเลือกผูว้ า่ ฯ เพือ่ ประชากรทัง้ 10 ล้านคน ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ซึ่งแน่นอนว่า แต่ละคนย่อมมีความต้องการที่แตกต่างหลากหลาย ผู้ที่ได้รับเลือกมารับต�าแหน่งนี้ จะมีวธิ กี ารอย่างไรทีจ่ ะรับฟังเสียงเรียกร้องจากคนทัง้ 10 ล้านคน นี ้ เป็นเรื่องที่ท้าทายไม่น้อย และเพราะเราเชื่อว่า กลไกส�าคัญของการบริหารเมืองคือ การรับฟังเสียงของประชาชน และน�าเสียงเหล่านัน้ มาแปรเปลีย่ น ให้กลายเป็นความจริง เราจึงขออาสารวบรวมเสียงทีห่ ลากหลาย มาไว้ในหน้ากระดาษเดียวกัน แม้จะเป็นเพียงเสียงส่วนหนึ่งของ คนกรุงเทพฯ ที่รักและอยากให้กรุงเทพฯ เป็นไปในสิ่งที่พวกเขา อยากเห็ น แต่ พ วกเขาก็ ล ้ ว นเป็ น บุ ค คลที่ ส ่ ง ผ่ า นความคิ ด สู่สาธารณะอย่างสม�่าเสมอ นี่คือเวลาที่เราจะพิจารณาดูว่า ความคิดของบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพเหล่านี้เป็นอย่างไร บ้าง เหมือนหรือต่างจากคุณอย่างไร และวันนี้พวกเขามีความในใจอะไรถึงกรุงเทพฯ ทีส่ า� คัญ... จะดีหรือไม่อย่างไร ถ้ากรุงเทพฯ สามารถเป็นไปได้อย่างที่เสียงเหล่านี้เรียกร้องไว้จริงๆ เราอยากให้คุณหยุดคิด ทบทวน ฟังทั้งเสียงของคนอื่น และเสียงในใจของตัวเองก่อนจะตัดสินใจ อนาคตของคุณและ ของคนกรุงเทพฯ ในอีก 4 ปี ข้างหน้า อยู่ในมือของผู้มีสิทธิ์ เลือกตั้งทุกท่านแล้ว
12
จิรัฏฐ์ พรพนิตพันธุ์
บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร Looker ระยะเวลาที่ ใ ช ้ ชี วิ ต อยู ่ ใ น กรุงเทพฯ : 26 ปี เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ ก รุ ง เ ท พ ฯ : เราชอบกรุงเทพฯ ในเรือ่ งของโอกาส เรารูส้ กึ ว่ากรุงเทพฯ เป็นเมืองทีม่ โี อกาสในการสนับสนุน สิ่งที่คนอยากท�าค่อนข้างเยอะ เราชอบความหลากหลายของเมืองนี้ มันอาจจะวุ่นวายส�าหรับคนอื่น แต่เรารูส้ กึ ว่าเมืองนีด้ ี เพราะมีทางให้คนได้เลือกเยอะ เหตุผลเดียวทีเ่ ราไม่ชอบกรุงเทพฯ คือความไม่ปลอดภัย ต่อชีวิตของผู้อยู่อาศัย เรื่องอย่างอื่นเรารับได้ แต่ ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและความรู้สึกเป็นสิ่งที่เรา อยากให้ปรับปรุง คือนอกจากร่างกายแล้ว คนเรา ควรมี ค วามปลอดภั ย ในเรื่ อ งของความรู ้ สึ ก ด้ ว ย สถานที่ไหนที่อยู่แล้วไม่สบายใจ ไม่สบายตัว คนเรา ก็ไม่ควรอาศัยอยู่ ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : จริงๆ แล้วปั ญหาของกรุงเทพฯ มีไม่กี่อย่าง เช่น เรือ่ งระเบียบของการใช้รถใช้ถนน ซึง่ ก็มาจากคนทีอ่ าศัย อยู่ เราอยากให้กรุงเทพฯ มีการพัฒนาทั้งบ้านเมือง และคนไปพร้อมๆ กัน ถ้าอยากให้บ้านเมืองเจริญ ก็จา� เป็นต้องพัฒนาใจคนให้เจริญด้วย เพราะในขณะนี้ คนกรุงเทพฯ มีความแตกต่างกันมากเกินไป เราควรจะ หาวิธที ที่ า� ให้คนทีเ่ ข้ามาอยูใ่ นกรุงเทพฯ เข้าใจกฎเกณฑ์ ของกรุงเทพฯ ซึง่ ต้องไม่เป็นกฎเกณฑ์ในลักษณะบังคับ แต่เป็นกฎเกณฑ์ที่คนรู้สึกยินดีที่จะท�า เหมือนเวลา เราไปสิงคโปร์ เราก็รสู้ กึ ยินดีทจี่ ะเข้าคิวซือ้ ของ ผมจึง คิดว่ากรุงเทพฯ ก็น่าจะมีอะไรแบบนั้นบ้าง ที่ท�าให้ คนนอกเข้ามาแล้วรู้สึกว่าต้องท�าตาม และรู้สึกภูมิใจ ทีไ่ ด้มาเปลีย่ นแปลงตัวเองให้เป็นเหมือนคนกรุงเทพฯ
He Said “ผมเชื่อว่า วันนี้เราต้องเอา ความทุกข์ของ พี่น้องประชาชน เป็นตัวตั้ง”
FROM THE CANDIDATES
ก่อนทีก่ ารเลือกตัง้ จะมาถึงในวันอาทิตย์ท ี่ 3 มีนาคมนี ้ เราได้รวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับผู้สมัครที่เราคิดว่าน่าจับตามองมาฝากกัน โดยเฉพาะนโยบายที่เราสรุป มาให้ทกุ คนได้ลองอ่านเปรียบเทียบ รวมทัง้ แหล่งข้อมูลส�าหรับเข้าไปอ่านเพิม่ เติมอีกด้วย ดังนั้น ยังมีเวลาอีกนิด ขอชวนทุกคนมาท�าความรู้จักกับว่าที่ผู้ว่าฯ ในดวงใจของ แต่ละคนกันดีกว่า
พลต�ำรวจเอก พงศพัศ พงษ์เจริญ พรรคเพื่อไทย พลต�ารวจเอก พงศพัศ พงษ์เจริญ จบการศึ ก ษาจากโรงเรี ย นนายร้ อ ยต�ารวจ และปริญญาโทและเอกทีป่ ระเทศ สหรัฐอเมริกาทางด้านอาชญาวิทยา เป็ น นายต� า รวจที่ เ ป็ น ที่ จ ดจ� า ของ ประชาชนจากการท� า หน้ า ที่ โ ฆษก ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ล่าสุดด�ารง ต�าแหน่งรองผูบ้ ญ ั ชาการต�ารวจแห่งชาติ และเลขาธิการคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ก่อนมาลงสมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยชูยุทธศาสตร์ “ท�างาน ร่วมกับรัฐบาลอย่างไร้รอยต่อ”
www.pongsapatbkk.com
• แก้ปัญหาอาชญากรรม อัคคีภัย เฝ้ า ระวั ง ความปลอดภั ย ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวัง เชื่อมโยงระบบ CCTV ของทุก หน่วยงาน ให้ความส�าคัญกับแผน ซ้อมอัคคีภยั ติดตัง้ กล้อง CCTV เพิม่ และประสานกับการไฟฟ้านครหลวง ติดตั้งไฟส่องสว่างให้ทั่วถึง • ซือ้ สินค้าราคาถูก ลดหนีน้ อกระบบ ใช้กองทุนชุมชนเมืองลดรายจ่าย สร้ า งรายได้ โดยส่ ง เสริ ม ให้ ค น กรุงเทพฯ สามารถเข้าถึงแหล่งทุน ทีเ่ ป็นธรรม ให้ความคุม้ ครองพ่อค้าแม่ ค ้ า ที่ ท� า มาหากิ น โดยสุ จ ริ ต ส่งเสริมการสร้างตลาด • ขจัดยาเสพติดให้หมดไปจากชุมชน คืนลูกหลานให้พอ่ แม่ โดยสนับสนุน การขยายโครงการ ‘ชุมชนอุ่นใจ ได้ ลู ก หลานกลั บ คื น ’ ปรั บ ปรุ ง สภาพแวดล้อมในชุมชนเสี่ยงให้มี ลานกีฬา หรือลานกิจกรรม • วางโครงข่ายจราจรและระบบขนส่งมวลชนใหม่ คืนเวลาให้ภาคธุรกิจ คืนความสุขให้ครอบครัว โดยจัดตั้ง ศูนย์ควบคุมระบบไฟสัญญาณจราจร ประสานกับ ขสมก. จัดระบบการเดินรถใหม่ ประสานกับกระทรวงคมนาคมเพือ่ สร้างสะพานข้ามแม่นา�้ เจ้าพระยาเพิ่มมากขึ้น เพิ่มการขุด อุโมงค์และสร้างสะพานข้ามแยก • บริหารจัดการน�า้ ไม่ท่วม ไม่เอ่อ ไม่ขงั ท่อไม่ตนั อีกต่อไป โดยร่วมกับ รั ฐ บาลในการบริ ห ารจั ด การน�้ า ปรับปรุงท่อระบายน�า้ ขุดลอกคูคลอง ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพน�้ า ในคู ค ลอง ตั้งศูนย์เฝ้าระวังน�้าในระดับพื้นที่ สร้ า งเขื่ อ นริ ม ตลิ่ ง ป้ อ งกั น พื้ น ที่ ลุ่มต�า่ ไม่ให้นา�้ ทะเลหนุน • ขยะหน้ า บ้ า นเก็ บ ทั้ ง วั น กทม. สะอาดสดใสไร้ ม ลพิ ษ โดยเพิ่ ม พนักงานและรถเก็บขยะ ปรับปรุง ระบบการแยกขยะ เพิ่มเตาเผาขยะ ไร้มลพิษ • ทางเลียบริมเจ้าพระยา ให้คน กทม. ขีจ่ กั รยาน เดิน วิง่ เพือ่ พักผ่อน หย่อนใจ • จัดทางเท้าใหม่ สวนสาธารณะ ใหม่ สายไฟฟ้าลงดิน สร้าง Green City โดยจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย และสิ่งกีดขวาง ปรับปรุงทางเท้าให้ เรียบเสมอกัน ประสานกับการไฟฟ้านครหลวงและกระทรวง ICT เพื่อน�า สายไฟและสายสัญญาณโทรคมนาคม ลงดิ น เพิ่ ม พื้ น ที่ ส วนสาธารณะ โดยเช่าพื้นที่จากกรมธนารักษ์ และ พัฒนาพื้นที่ใต้ทางด่วนให้เป็นพื้นที่ สีเขียว
นโยบายของผู้สมัครผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่ถูกใจ หรือนโยบายที่อยากเสนอ : ผมคิดว่าผู้ว่าฯ กทม. ไม่ได้มปี ญ ั หาทีน่ โยบายดีหรือไม่ดี แต่ปญ ั หาอยูท่ ที่ า� ได้ หรือไม่ได้ ขอแค่นโยบายพื้นฐาน ไม่ต้องฉลาดมาก ก็ได้ แต่ท�าให้ได้ก็พอ เช่น แก้ปัญหารถติด แก้ปัญหา คอร์รปั ชัน แค่นที้ า� ให้ได้กอ่ น แต่ทผี่ า่ นมาเขาท�าไม่ได้ ดังนัน้ ปัญหาอยูท่ กี่ ารกระท�าไม่ใช่นโยบาย ผมคิดว่า นโยบายไหนเสนอมาผมก็ชอบแทบทุกข้อ แต่ท�าได้ จริงหรือเปล่า ส่วนการพิจารณาเลือกตั้งผู้ว่าฯ ผมจะ ดูว่าคนไหนสามารถท�าได้ คนไหนท�าไม่ได้ มากกว่า การดูที่นโยบาย
อาจารย์ อรยา สูตะบุตร
สมาชิกชมรมหรี่เสียงกรุงเทพฯ อดีตอาจารย์ ประจ�าภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ ระยะเวลาที่ ใ ช ้ ชี วิ ต อ ยู ่ ใ น ก รุ ง เ ท พ ฯ : ตลอดชีวิต เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ ก รุ ง เ ท พ ฯ : เราชอบกรุงเทพฯ ที่กรุงเทพฯ เป็นบ้านของเรา ครอบครัวและเพื่อนฝูง ของเราอยู่ที่นี่ เวลาจะติดต่อท�างานก็ไม่ยากเพราะ คนรูจ้ กั ของเราอยูส่ ว่ นใหญ่กอ็ ยูก่ รุงเทพฯ อีกเรือ่ งทีร่ สู้ กึ ชอบกรุงเทพฯ ก็คงเป็นด้านศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพฯ เป็นเมืองทีเ่ ป็นเหมือนศูนย์รวมของศิลปวัฒนธรรมไทย ด้วยความที่เราได้ร่วมงานกับกลุ่มคนที่ท� าผังเมือง ค่อนข้างเยอะ ก็รู้สึกว่ากรุงเทพฯ เป็นเมืองที่เติบโต แบบไม่มีแผน จึงเป็นที่มาของความยุ่งยาก วุ่นวาย อย่างที่เป็นอยู่ ซ�้าร้ายก็คือข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับ การท� า ให้ เ มื อ งมี ฟ ั ง ก์ ชั น ที่ ดี ก ลั บ ไม่ ค ่ อ ยได้ น�า ไป บังคับใช้ จึงท�าให้เกิดปัญหาสังคมในด้านต่างๆ อย่างในปัจจุบัน ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : ความจริงแล้วไม่ใช่ว่ากรุงเทพฯ ไม่มีอะไรดีขึ้นเลย อย่างเรื่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เราก็เห็นว่า กทม. พยายามเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวจาก 3 ตารางเมตรกว่าต่อคน เป็นล่าสุดอยู่ที่ 4 ตารางเมตรกว่าต่อคน แต่เราก็ อยากเห็นว่ากรุงเทพฯ มีพื้นที่สีเขียวมากขึ้นกว่านี้ เพราะเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านเขาก็มีพื้นที่ สีเขียวมากกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน และในฐานะ ที่เป็นสมาชิกชมรมหรี่เสียงกรุงเทพฯ เราก็อยากเห็น กรุงเทพฯ ทีม่ คี วามเงียบสงบมากขึน้ และในส่วนของ คนกรุงเทพฯ เอง เราก็อยากให้เขาได้เรียนรู้เกี่ยวกับ อันตรายของการใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางเสียงดังว่าจะมี ผลกระทบตามมาอย่างไร นโยบายของผู้สมัครผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่ถูกใจ หรือนโยบายที่อยากเสนอ : นโยบายที่เราอยาก ให้เป็นจริงคือการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และถ้าเป็นไปได้ ก็ ค วรจะเน้ น พื้ น ที่ ใ นเมื อ งมากกว่ า พื้ น ที่ ร อบนอก เพราะพืน้ ทีน่ อกเมืองในปัจจุบนั นีก้ พ็ อมีสวนสาธารณะ อยู่บ้าง ในขณะที่ในเมืองมีน้อย ซึ่งเราเชื่อว่าความจริงแล้วพืน้ ทีว่ า่ งในเมืองยังมี แต่ผวู้ า่ ฯ อาจต้องเสาะหา และเจรจาเพื่อน�าไปสู่การท�าเป็นพื้นที่สีเขียวให้ได้ นอกจากนี้ เราอยากให้กรุงเทพฯ มีการปรับผังเมือง ให้ดีกว่านี้ เพราะถ้าเรามีผังเมืองที่ดี มีกฎระเบียบ ที่บงั คับใช้ได้จริง ชีวติ ของคนกรุงเทพฯ ก็จะดีขนึ้ เช่น ถ้ามีการจัดโซนที่อยู่อาศัย พื้นที่นั้นก็ควรมีกฎหมาย ควบคุมเสียงเข้ามาเกี่ยวข้อง เป็นต้น ซึ่งแน่นอนว่า มันไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ถ้าผู้ว่าฯ เปลี่ยนวิธีการคิดใหม่ ว่ า ต่ อ ไปนี้ เ ราจะต้ อ งมี ก ารจั ด การเมื อ งอย่ า งเป็ น ระบบโดยใช้ผังเมืองและกฎหมาย ในขณะเดียวกัน
13
ก็ เ ห็ น คุ ณ ค่ า และพลั ง แห่ ง ความร่ ว มมื อ ของกลุ ่ ม ประชาชนที่คอยเคลื่อนไหวในเรื่องต่างๆ น่าจะเป็น วิธีการท�างานที่ท�าให้เมืองน่าอยู่ขึ้นได้
ดอกเตอร์ วิทย์ สิทธิเวคิน
คอลัมนิสต์ ผู้ด�าเนินรายการ ข่าว 5 หน้า 1 ทางสถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ก องทั พ บก ช่ อ ง 5 ผูอ้ า� นวยการฝ่ายการตลาด บริษทั ดีซ ี คอนซัลแทนส์ แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง คอมมูนิเคชั่นส์ จ�ากัด ระยะเวลาที่ ใ ช ้ ชี วิ ต อ ยู ่ ใ น ก รุ ง เ ท พ ฯ : ตลอดชีวิต เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ ก รุ ง เ ท พ ฯ : กรุ ง เทพฯ เป็ น เมืองที่มีเสน่ห์ มีองค์ประกอบทุกอย่างลงตัว มีความทันสมัย และมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไว้ได้อย่างดี มีโครงสร้างพืน้ ฐานทีถ่ อื ว่าดีมาก ถ้าเทียบกับเมืองใหญ่ อื่นๆ คนกรุงเทพฯ ก็ถือว่าน่ารักมากๆ และจากการใช้ชีวิตของผม ผมถือว่ากรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงที่มี เสน่ห์มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แต่ผมคิดว่าระบบขนส่งมวลชนของกรุงเทพฯ ยังไม่ดี ถามว่ารถติดไหม ก็ตอ้ งตอบว่ารถติด แต่ถา้ เทียบกับมหานครอืน่ นีถ่ อื ว่า ไม่ติดมาก เช่น ถ้าเทียบกับลอนดอนหรือมิวนิกที่ผม เคยอยู่ กรุงเทพฯ ถือว่าไม่แย่ และถ้าเทียบกับญี่ปุ่น กรุงเทพฯ ถือว่าดีมากแล้ว แต่เรายังสามารถท�าได้ดี ยิ่งขึ้นกว่านี้และยังไม่ได้ท�า ได้แก่ขนส่งระบบราง ที่ควรจะมีเครือข่ายกว้างกว่านี้ แต่ยังไม่มีการท�าให้ เกิดขึ้น
He Said
“ผมขอรับใช้ พี่น้องประชาชน ไม่ขอรับใช้ นักการเมือง เด็ดขาดครับ”
พลต�ำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียำเวส ผู้สมัครอิสระ
พลต�ารวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส จบการศึกษาระดับมัธยมต้น จากโรงเรียนทวีธาภิเศก จากนั้นจึงได้ ศึกษาต่อทีโ่ รงเรียนเตรียมทหาร (รุน่ ที่ 8) และโรงเรียนนายร้อยต�ารวจ (รุ่นที่ 24) เคยรั บ ราชการต�า รวจที่ อ�า เภอนาแก จังหวัดนครพนม ช่วงปี พ.ศ. 2515-2524 และได้ต่อสู้ปราบปรามผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์ จนบ้านเมืองมีความสงบ เรียบร้อย และได้รับการยกย่องว่าเป็น ‘วีรบุรษุ นาแก’ ตลอดเวลาทีร่ บั ราชการ พลต�ารวจเอกเสรีพศิ ทุ ธ์ได้ดา� รงต�าแหน่ง ระดับสูงมาแล้วมากมาย อาทิ ผูบ้ งั คับการกองปราบปราม ผูบ้ ญ ั ชาการต�ารวจสอบสวนกลาง จเรต� า รวจแห่ ง ชาติ และผู้บัญชาการต�ารวจแห่งชาติ
www. sereepisuth .com
• ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาศู น ย์ ส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวติ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสให้ มี ม าตรฐาน และมีคุณภาพ • เพิ่ม ขีด ความสามารถของ โรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์ ให้ทันสมัย พัฒนาโรงพยาบาล และศูนย์บริการสาธารณสุขให้มี มาตรฐานเท่ า เที ย มกั น กั บ โรงพยาบาลเอกชน ท� า โครงการ แพทย์-พยาบาลประจ�าบ้าน • สร้างที่อยู่อาศัยให้ผู้มีรายได้ น้อย จัดตั้งโรงทานทุกวัด • พัฒ นาอาชีพ สร้ า งรายได้ ให้คนกรุงเทพฯ • สร้ า งและปรับ ปรุง โรงเรีย น ในกรุงเทพฯ ให้เป็นโรงเรียนแห่ง ความสุข ปรับ ปรุง และพัฒ นา สถานศึ ก ษาให้ มี ม าตรฐานใน ระดับสูง สร้างหลักสูตรการเรียน แบบ 2 ภาษา • ผลิตบุคลากรทางการศึกษาทีด่ ี มีคุณ ภาพในการสอน จัด ให้ มี การปรับปรุงหลักสูตรการสอน ให้ทันสมัย • ฟรีค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่าย อืน่ ๆ ทางการศึกษา ตามนโยบาย การศึกษาของรัฐ • สร้างกรุงเทพฯ ให้เป็นมหานคร สีเขียว ปลอดมลพิษ ลดภาวะ โลกร้อน • สร้างระบบบ�าบัดและระบาย น�้า เสีย บัง คับ ใช้ ก ฎหมายโดย เคร่งครัดต่อผู้กระท�าผิด • เปลีย่ นขยะให้เป็นเงิน แปลงขยะ ให้เป็นพลังงาน • ขจัด น�้าเน่ า ในคู ค ลองต่ า งๆ ของกรุงเทพฯ • จัดระเบียบการค้าบนทางเท้า และจั ด การกั บ ผู ้ บุ ก รุ ก คู ค ลอง ย้ายสายไฟฟ้าลงใต้ดิน • ด� า เนิ น ทุ ก มาตรการเพื่ อ ลด ปัญหาการจราจร อ�านวยความสะดวกแก่ประชาชนในการเดินทาง ด้วยรถเมล์ปรับอากาศฟรี • สร้ า งวิ นั ย จราจรและออก ข้ อ บัญ ญัติก รุง เทพฯ ที่จ�า เป็ น เพื่อควบคุมและจ�า กัดปริม าณ รถยนต์ • ประสานกับรัฐบาลเพื่อสร้าง รถไฟลอยฟ้าและรถไฟใต้ดิน
ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : หลายคนคุยเรื่องของการคมนาคมที่อยากให้ผู้ว่าฯ แก้ไข แต่ในความเป็นจริงอ�านาจของผูว้ า่ ฯ ทีเ่ กีย่ วกับ ขนส่งสาธารณะนั้นมีแค่รถไฟฟ้า BTS เท่านั้น ส่วน ที่เหลือไม่ใช่อา� นาจท้องถิ่น เพราะฉะนั้น การจะบอก ให้ผู้ว่าฯ แก้รถติดมันเป็นไปได้ยาก และต้องท�าโดย รัฐบาล ซึ่งที่ผ่านมาสิ่งที่ควรจะเป็นคือ ไม่ว่าผู้ว่าฯ และรัฐบาลอยู่ขั้วไหนก็ควรประสานงานกันให้ได้ แต่ มันไม่เคยเกิดขึ้น ดังนั้น สิ่งที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงคือ ไม่วา่ ใครจะเป็นผูว้ า่ ฯ กทม. ควรมีการท�างาน ร่วมกันได้โดยไม่มกี ารแบ่งขัว้ อีกเรือ่ งคือเราอยากเห็น การบูรณะภูมิทัศน์บางแห่งให้สวยงามยิ่งขึ้นและท�า โดยทัว่ ถึง ไม่ใช่ทา� แค่สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเท่านัน้ กรุงเทพฯ จะได้สวยทุกๆ จุด นโยบายของผู้สมัครผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่ถูกใจ หรือนโยบายที่อยากเสนอ : เท่าที่เห็น ผมคิดว่า การหาเสียงส่วนใหญ่มีเนื้อหาของนโยบายน้อยมาก หลายนโยบายฟังแล้วใครๆ ก็รู้ว่าท�าไม่ได้ เช่น ท�า ช่องจราจรให้กับจักรยาน เราทุกคนก็เห็นอยู่ว่าถนน ก็มีเท่านั้น คุณต้องบอกให้ชัดว่าจะท�าอย่างไร หรือ บอกว่าคืนพื้นที่สีเขียวให้คนเมือง ก็ต้องบอกเลยว่า จะท�าตรงไหน เพราะในการหาเสียงทุกวันนีข้ องผูส้ มัครฯ ส่วนใหญ่มักจะเป็นการบอกว่า ‘คุณสามารถเข้าถึง ผมได้’ แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้วเราก็จะเห็นว่าคนทีไ่ ด้เป็นผูว้ า่ ฯ แล้วไม่เคยท�าแบบนั้นอีก ส�าหรับนโยบายที่อยากให้ เป็นจริงคือเรื่องขนส่งสาธารณะ เราอยากเห็นการผลักดันอย่างจริงจังว่าจะท�าอย่างไรให้รัฐบาลจัดการ เรื่องนี้ได้เร็วขึ้น เราอยากเห็นผู้ว่าฯ ที่ลุกขึ้นมาเจรจา เพื่อคนกรุงเทพฯ อย่างแท้จริง ส่วนเรื่องพื้นที่สีเขียว ก็เหมือนกัน จังหวัดอืน่ เขารณรงค์ปลูกป่ากันทัว่ ประเทศ แต่กรุงเทพฯ ก็ไม่เห็นมี คือผมคิดว่าหลายอย่างที่ ผู้สมัครฯ ประกาศออกมา เราทุกคนต่างอยากให้ เกิดขึน้ เพียงแต่เราไม่เห็นว่าผูส้ มัครฯ แต่ละคนจะท�า ด้วยวิธีอะไร
อรรถ บุนนาค
นั ก เขี ย น เจ้ า ของหนั ง สื อ คิ ด เล่ น เห็ น ต่ า ง (เขียนร่วมกับ ค�า ผกา), Mannerism สมบัติผู้ดี 24 สาแหรก, ผู้ชายตัวร้าย... ใครๆ ก็หลงรัก, ญี่ปุ่นได้อีก ฯลฯ ระยะเวลา ที่ ใ ช ้ ชี วิ ต ใ น กรุงเทพฯ : 40 ปี เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ กรุงเทพ : ที่ชอบ ก็ คื อ ก รุ ง เ ท พ ฯ เ ป ็ น เ มื อ ง พ หุ วัฒนธรรม มีความหลากหลาย มีชีวิต แต่ที่ไม่ชอบ ก็คือผู้อาศัยที่ชอบคิดว่ากรุงเทพฯ คือประเทศไทย และชอบคิดว่ากรุงเทพฯ เหนือกว่าจังหวัดอื่น ๆ ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : เป็นเมืองทีม่ คี วามปลอดภัยในทุกแห่ง รักษาความเป็น พหุวัฒนธรรมที่หลากหลาย ใส่ใจประชาชนทุกกลุ่ม ท� า ให้ ทุ ก คนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น สะอาด และมี ระเบียบ นโยบายของผู้สมัครผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่ถูกใจ หรือนโยบายทีอ่ ยากน�าเสนอ : ผมสนใจ คุณ สุหฤท สยามวาลา แนวคิ ด ของเขาอาจจะดู เ หมื อ นฝั น หรือเป็นเด็กแนว แต่เห็นความมีชีวิตและความตั้งใจ ในการเปลี่ยนกรุงเทพฯ อย่างน้อยที่สุดน่าจะเปลี่ยน ทัศนคติในการท�างานของคนในหน่วยงานของกรุงเทพมหานครได้ ส่วนนโยบายทีอ่ ยากเห็นอาจจะเป็นนโยบาย ง่ายๆ แต่ทา� ได้จริงตามสัญญา และเป็นสิง่ ทีค่ นกรุงเทพฯ ต้องการจริงๆ อาทิเช่น ห้องน�า้ สาธารณะที่สะอาด ซึ่งเป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับคนกรุงเทพฯ มาก หรือระบบ รถโรงเรียนที่บริหารด้วยกรุงเทพมหานคร
14
พลอย มัลลิกะมาส
นักเขียนสารคดีทอ่ งเทีย่ ว เจ้าของผลงานรวมเล่ม เช่น 100 วัน 1,000 ก้าว, โตเกียวมิยาเงะ, เบอร์ลิน เมืองของหมีที่มีอยู่จริง ฯลฯ ระยะเวลาที่ ใ ช ้ ชี วิ ต อ ยู ่ ใ น ก รุ ง เ ท พ ฯ : ตั้ง แต่ ... ลืม ตาดู โลก เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ ก รุ ง เ ท พ ฯ : คงเปรียบได้กับประโยคที่ได้ยินกันอยู่เสมอว่า ‘There is no place like home’ เพราะกรุงเทพฯ คือบ้านเกิดเมืองนอนที่เราเกิด อาศัย ใช้ชีวิตแต่อ้อนแต่ออกมา กั บ เมื อ งเมื อ งนี้ และอี ก ส่ ว นหนึ่ ง อาจเป็ น เพราะ ด้วยหน้าที่การงานที่ท�าให้เรามีโอกาสได้เดินทางไป สัมผัสกับหลากหลายมหานครใหญ่ๆ ในโลก ท�าให้ เข้าใจค�าพูดที่เคยได้ยินมาจากเพื่อนชาวต่างชาติว่า กรุงเทพฯ เป็นเมืองทีม่ เี สน่หแ์ ละน่าสนใจทีส่ ดุ ไม่เคย รู้สึกว่าไม่ชอบหรือเกลียดกรุงเทพฯ เพราะยอมรับ และเข้ า ใจในสิ่ ง ที่ ก รุ ง เทพฯ เป็ น จะมี ก็ แ ค่ เ พี ย ง ความรู ้ สึ ก เบื่ อ หน่ า ยการจราจรที่ แ สนน่ า กลั ว ใน เมืองหลวงแห่งนี้ แต่ก็ยังโชคดีว่า ด้วยงานที่เราท�า สามารถจัดสรรเวลาในการเดินทางออกจากบ้านได้ ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : ระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะในกรุงเทพฯ ที่ช่วย อ�านวยความสะดวกและเอื้อประโยชน์ต่อการใช้ชีวิต แบบ ‘เร็วจี๋’ ให้กับคนกรุงเทพฯ มากขึ้น เช่นเดียวกับ ที่เห็นในมหานครต่างๆ ของโลก ที่รถยนต์ส่วนตัว ไม่ใ ช่ป ัจ จัย ที่ 5 ในชีวิต ปอดสาธารณะหรือพื้น ที่ สีเขียวให้คนเมืองมีโอกาสได้หยุดพัก อยูก่ บั ลมหายใจ ของตัวเองได้มากยิ่งขึ้น และที่อยากเห็นที่สุดก็คือ อยากเห็น ‘คนดี มากประสบประการณ์ มีความรู้ ความสามารถ’ ที่เหมาะสมจะได้เป็น ‘ผู้ถูกเลือกที่ดี’ (ไม่ใช่คนทีเ่ ลวน้อยทีส่ ดุ ) กล้าทีจ่ ะก้าวเข้ามารับบทบาท เป็น ‘พ่อเมือง’ ในบ้านเกิดเมืองนี้ นโยบายของผู้สมัครผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่ถูกใจ หรือนโยบายที่อยากเสนอ : ไม่ชอบนโยบายใด ของใครเป็นพิเศษ เพราะพูดน่ะง่าย แต่กลัวท�าไม่ได้ จริง (ยิ้ม)
“ผมไม่อยาก สร้างภาพ ผมอยากเป็น ของจริงครับ”
ตุล ไวฑูรเกียรติ
No. หม่อมรำชวงศ์ สุขุมพันธุ์ บริพัตร พรรคประชาธิปัตย์ หม่อมราชวงศ์ สุขมุ พันธุ์ บริพัตร จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี (เกียรตินยิ มอันดับ 2) และระดั บ ปริ ญ ญาโทสาขา วิ ช าปรั ช ญาการเมื อ งและ เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย ออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ นอกจากนี้ยังจบปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขา วิ ช าความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ประเทศ เคยท�างานเป็นอาจารย์ ป ร ะ จ� า ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร ์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ก่ อ นจะมาลงสมั ค ร ส.ส. ในนามพรรคประชาธิ ป ั ต ย์ เคยด�ารงส�าคัญทางการเมือง ต่างๆ เช่น รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงการต่ า งประเทศ และผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร
www. sukhumbhand .com
ศิลปิน นักร้อง นักแต่งเพลง วงอพาร์ตเมนต์คณ ุ ป้า • มหานครแห่งความปลอดภัย เช่น ติดตั้งกล้อง CCTV ทุกถนน ทุกซอย เพิ่มอีก 20,000 ตัว และติดตั้งไฟ ส่องสว่างในพืน้ ทีเ่ สีย่ งอีก 20,000 ดวง ขยายเครือข่ายกล้อง CCTV 50,000 ตัว โดยเชื่ อ มโยงกั บ เครื อ ข่ า ยเอกชน 200,000 ตั ว ติ ด ตั้ ง ไฟส่ อ งสว่ า ง พลังงานแสงอาทิตย์ น�าร่อง 10 เส้นทาง ริมคลอง จัดตั้งศูนย์บริหารจัดการ ภัยพิบัติเร่งด่วน สร้างอุโมงค์ยักษ์ ระบายน�้าเพิ่ม • มหานครแห่งความสุข เน้นเรื่อง เดินทางสะดวก / การจราจรคล่องตัว เช่น เพิ่มเส้นทางรถไฟฟ้า 5 เส้นทาง เชือ่ มต่อระบบขนส่งมวลชนทุกประเภท เพิม่ 30 เส้นทางจักรยาน เพิม่ จักรยาน ให้เช่า 10,000 คัน เพิ่มจุดจอดและ จร และเรื่องสุขภาพ เช่น ใครไม่ป่วย ทั้งปี รับฟรี 1,000 บาท แถมตรวจ สุขภาพฟรี • มหานครสี เ ขี ย ว เช่ น เพิ่ ม พื้ น ที่ สีเขียวอีก 5,000 ไร่ พร้อม 10 สวนสาธารณะใหญ่ เพิม่ ระบบจัดการขยะ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ตัง้ แต่จดั เก็บ ขนถ่ า ย จนถึ ง เปลี่ ย นขยะให้ เ ป็ น พลังงานไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีทนั สมัย และสะอาด สร้างโรงงานบ�าบัดน�า้ เสีย เพิ่ม 5 แห่ง สร้างห้องน�า้ สาธารณะ สะอาด ครอบคลุมจุดเชื่อมต่อการเดินทางและพื้นที่ท่องเที่ยว • มหานครแห่งการเรียนรู้ เช่น นโยบาย เรียนฟรี 2.0 / นักเรียนโรงเรียน กทม. ‘อิ่มท้อง สมองดี มีวินัย โตไปไม่โกง’ นักเรียนโรงเรียน กทม. ภาษาอังกฤษ แข็งแรง พร้อมรับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน กวดวิชาให้นักเรียน ม.3 และ ม.6 ครบทุ ก โรงเรี ย น โดย สถาบันกวดวิชาชื่อดัง ฟรีรถรับ-ส่ง นักเรียนโรงเรียน กทม. ในพืน้ ทีเ่ ดินทาง ไม่สะดวก ฟรี Hi-Speed Wi-Fi 4 Mbps 5,000 จุด เน้นที่โรงเรียน ห้องสมุด สวนสาธารณะ และสถานทีอ่ นื่ ๆ ของ กทม. • มหานครแห่งโอกาสของทุกคน เช่น ให้ภาคประชาชนร่วมเสนอความคิดเห็นและตรวจสอบการบริหารงานของ กทม. ผ่านระบบ i-Bangkok ส่งเสริม ความสามารถและความสนใจของ คนรุ่นใหม่ โดยสร้างโรงเรียนดนตรี และโรงเรียนกีฬา เปิดโอกาสให้คน ทุ ก กลุ ่ ม พั ฒ นาทั ก ษะฝี มื อ แรงงาน ฝึกอาชีพ เรียนคอมพิวเตอร์ ภาษา อังกฤษ จีน และมลายูฟรี • มหานครแห่งอาเซียน เช่น เปิด โอกาสและส่งเสริมอาชีพในการผลิต และจ�าหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์ ฮาลาล จัดตั้งสภามหานครอาเซียน ส่งเสริมความร่วมมือและแลกเปลีย่ น ความรู้ระหว่าง กทม. และองค์กรใน อาเซียน จัดตั้งศูนย์ส่งเสริม SMEs อาเซีย น และจัดท�า BMA SMEs ASEAN Data Bank
ระยะเวลาที่ ใช้ ชี วิ ต อยู ่ ใ น กรุงเทพฯ : 28 ปี เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ ก รุ ง เ ท พ ฯ : ผมชอบความมัว่ ๆ ข อ ง ก รุ ง เ ท พ ฯ ผมคิดว่าที่นี่เป็นเมืองที่มีทุกอย่างตั้งแต่สิ่งที่หรูหรา ไปจนถึงสิ่งที่สกปรกโสมม เมืองนี้มีให้เราตั้งแต่วัด ไปจนถึงอาบอบนวด ซึง่ ความขัดแย้งนีเ้ ป็นสิง่ ทีด่ มี าก ผมรู ้ สึ ก ว่ า เราสามารถท� า ทุ ก อย่ า งได้ ใ นกรุ ง เทพฯ ตัง้ แต่เดินไปกินเหล้าแล้วไปซือ้ ของในตลาดเพือ่ ใส่บาตร แล้วก็ไปหาความบันเทิงต่อ ทุกอย่างเป็นไปได้หมด แต่สงิ่ ทีไ่ ม่ชอบก็คอื ผมไม่ชอบความเจริญทีม่ ากเกินไป ผมกลัวกรุงเทพฯ จะเป็นเหมือนประเทศสิงคโปร์ มัน จะกลายเป็นเมืองที่มีแต่สิ่งปลูกสร้าง ซึ่งมันไม่ได้เกิด ขึ้นมาเอง แต่เป็นสิ่งที่คนสร้างขึ้นมา ดูผิวเผินอาจจะ เห็นว่าเหมือนจะสวยงามแต่มันไม่จริง แล้วก็จะมีแต่ ห้างสรรพสินค้าผุดขึ้นเต็มไปหมด ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : ผมอยากให้กรุงเทพฯ กลับไปเป็นเหมือนตอนเกิด น�า้ ท่วมใหญ่เมือ่ ปลายปี พ.ศ. 2554 แต่มนั ยาก เพราะ กระแสประชาคมอาเซียนท�าให้มกี ลุม่ นายทุนมากมาย เล็งมาทีก่ รุงเทพฯ ซึง่ เขาจะท�ากรุงเทพฯ ให้เป็นศูนย์กลาง การท่องเทีย่ ว การค้า สุขภาพ ซึง่ มันจะท�าให้ประชากร เข้ามาอยู่กันมากขึ้น และเราก็จะใช้ชีวิตเหมือนกัน ไปหมด เหมือ นเป็ น หุ่ น ยนต์ กิน อะไรคล้ า ยๆ กัน ท�าอะไรเหมือนๆ กัน กลายเป็นมนุษย์ทคี่ ดิ อะไรไม่ออก ก็เ ดิน ห้ า ง และตอนนี้ไ ลฟ์ ส ไตล์ ของคนกรุง เทพฯ ก็ใกล้จะเป็นอย่างนั้นแล้ว มันเป็นความจริงของโลก ทุนนิยม เหตุผลที่ผมอยากให้กรุงเทพฯ กลับไปอยู่ใน ช่วงน�า้ ท่วมก็เพราะเวลาผ่านมาจากตอนนัน้ แค่ปเี ดียว ผมเห็นการเข้ามาของกลุ่มนายทุนทั้งหลายที่มองว่า กรุงเทพฯ เป็นเนื้อชิ้นโตที่เข้ามารุมทึ้ง แต่ช่วงน�้าท่วม ในตอนนัน้ เราจะเห็นว่าทุกคนจะหยุดท�าอะไรทุกอย่าง มันมีความว่าง แต่พอหันมาดูตอนนี้เราจะพบว่ามี คอนโดมิเนียมสร้างใหม่เกิดขึ้นมามากมาย ซึ่งเท่าที่ ผมสังเกตเวลาโลกเราผ่านวิกฤตอะไรสักอย่าง มันจะมี ความบูมทางเศรษฐกิจตามมา ซึ่งตอนนี้กรุงเทพฯ โตเร็วมากจนน่ากลัวครับ นโยบายการของผู ้ ส มั ค รผู ้ ว ่ า ฯ กรุ ง เทพฯ ที่ ถู ก ใจหรื อ นโยบายที่ อ ยากเสนอ : ผมชอบ นโยบายของ ‘พี่โต้’ - สุหฤท สยามวาลา เพราะผม รู้จักกับพี่เขามานาน รู้ว่าเขาเป็นคนมองโลกในแง่ดี และเป็นคนที่เข้าใจคนรุ่นใหม่ พี่เขาจึงมองเรื่องง่ายๆ ใกล้ตวั ก่อน เช่น เรือ่ งทางเท้า ซึง่ เป็นเรือ่ งทีไ่ ม่ไกลตัว พวกเราเลย และอยากให้มีทางเดินเท้าที่ปลอดภัย เดิน ได้ จ ริง ซึ่ง ถ้ า คุณลองไปเดิน จากสวนจตุจักร จนถึงเมเจอร์ฯ รัชโยธิน คุณจะพบว่ามีทางเท้าที่เดิน ไม่ได้หลายจุด สุขาสาธารณะที่ใช้ไม่ได้ แค่ปิดประตู ยังปิดไม่ได้เลย ซึ่งควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน
15
พิธา ลิ้มเจริญรัตน์
นั ก ธุ ร กิ จ, กรรมการ บริษัท ซีอีโอ อกริฟู้ด จ�ากัด, เจ้าของหนังสือ ‘ไม่สนว่าเก่งมาจากไหน’ ที่ เ ล่ า เรื่ อ งราวระหว่ า งศึ ก ษาต่ อ ปริ ญ ญาโท สาขาการเมืองการปกครอง ที่มหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด และสาขาบริหารธุรกิจที่ MIT
ระยะเวลาที่ อยูใ่ นกรุงเทพฯ : 22 ปี เ ห ตุ ผ ล ที่ ชอบและไม่ชอบ ก รุ ง เ ท พ ฯ : ผ ม เ ชื่ อ ว ่ า กรุงเทพฯ ‘สบาย’ แต่ไม่ ‘สะดวก’ เมือ่ เทียบกับเมืองอืน่ ๆ ทีผ่ มเคยใช้ชวี ติ อยูใ่ นต่างประเทศ เมืองอืน่ เขา ‘สะดวก’ แต่ไม่ ‘สบาย’ กรุงเทพฯ อยูส่ บายเพราะของถูก อาหารถูก การเดินทาง ถูก ในขณะที่จุดศูนย์กลางของกรุงเทพฯ พัฒนามาก เท่ากับมหานครอืน่ ๆ ทัว่ ไป แต่ผมเชือ่ ว่าคนส่วนใหญ่ ในกรุงเทพฯ ยัง อยู่ อย่ างไม่สะดวก ระบบขนส่ง ระบบการเดินทาง การพัฒนายังกระจุก ไม่กระจาย การเดินทาง การใช้ชีวิต ยังคงต้องพึ่งรถยนต์ส่วนตัว ไม่ใช่ว่าเห็นแก่ตัว แต่ถึงอยากจะเปลี่ยนมาใช้ระบบ ขนส่งเหมือนมหานครเมืองอืน่ ก็ยงั ท�าไม่ได้ เพราะระบบ พืน้ ฐานยังเชือ่ มโยงไม่ครบ ความสะดวกในการใช้ชวี ติ คนเมือง การบริหารเวลาให้สามารถตื่น ท�างาน นอน ยังท�าได้ไม่สะดวกเท่าเมืองใหญ่เมืองอื่นๆ อันที่จริง ความ ‘สบาย’ ที่ผมคิดว่าเป็นข้อดีของคนกรุงเทพฯ จริงๆ แล้วเกรงว่าจะพูดไม่ได้ส�าหรับคนกรุงเทพฯ ทุกคนทีเ่ ป็นส่วนใหญ่ ความไม่เท่าเทียมในสังคมเมือง อย่างกรุงเทพฯ อาจมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ข้อดีก็คือ สามารถให้คนชัน้ สูง ชัน้ กลาง สามารถใช้ชวี ติ ได้อย่าง ‘สบาย’ และช่วยสร้างเสน่ห์จากคอนทราสต์ที่เกิดขึ้น ข้อเสียก็คือคนชั้นล่างซึ่งอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ จะทั้ง ไม่ ‘สบาย’ และไม่ ‘สะดวก’ สังเกตได้ว่ากรุงเทพฯ ขึน้ อันดับ 1 ในการท่องเทีย่ วของโลก แต่ไม่เคยติดอันดับ เมืองน่าอยูข่ องโลกเท่าใดนัก คนทีม่ าท่องเทีย่ วกับคนที่ มาอยู่จริงมันมีปัจจัยในการสังคายนากันเยอะ ซึ่งนั่น ก็คอื ข้อดีและข้อเสียของกรุงเทพฯ ในมุมสะท้อนกลับ ความเปลีย่ นแปลงของกรุงเทพฯ ทีอ่ ยากเห็น : แน่นอน ถ้ามองกรุงเทพฯ แบบนอกเข้าในก็คงจะ ไม่พ้นสิ่งต่างๆ ที่เมืองทั่วไปต้องแก้ ความปลอดภัย สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน การศึกษา โอกาสในการท�ามาหากิน แต่ถา้ มองกรุงเทพฯ แบบในออกนอก ผมอยาก
“เราหมดหวังไม่ได้ เราควรลุกขึ้นมาสู้ แล้วการเปลี่ยนแปลง จะเกิดครับ”
No. สุหฤท สยามวาลา ผู้สมัครอิสระ
สุ ห ฤท สย ามวาลา จบการศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมจาก โรงเรี ย นอั ส สั ม ชั ญ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี จ ากคณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และปริญญาโท สาขาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เขาเป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักจัดรายการวิทยุ และผูบ้ ริหาร บริษัท ดีเอชเอ สยามวาลา จ�ากัด ธุรกิจขายเครื่องเขียน ของครอบครัวทีม่ อี ายุยาวนาน กว่า 100 ปี
www.suharit .com
• ขอคื น ทางเท้ า ให้ ค นกรุ ง เทพฯ มีหลุมบ่อต้องซ่อมแซม ป้ายเกะกะ ขวางทางเดินต้องจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอยต้ อ งบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย จุดผ่อนผันขายได้ แต่ต้องมีทางให้ คนเดิน 1 เมตร นอกจุดผ่อนผัน ห้ามขายเด็ดขาด • ยกระดับจักรยานให้เป็นทางเลือก ใหม่ของคนกรุงเทพฯ พัฒนาเส้นทาง ที่เหมาะสมส�าหรับปั่นจักรยานอย่าง ปลอดภัย เพิ่มที่จอดตามจุดเชื่อมต่อ ไปยังบริการขนส่งมวลชน ห้างสรรพสินค้า และสถานที่ทา� งาน เพิ่มการรับรู้สิทธิจักรยาน • ประกาศเครือข่ายการจราจรและ การเดินทางสาธารณะ • แก้ไขปัญหาจราจรด้วยงบประมาณ 0 บาท เริ่มที่ตัวคุณเอง ร่วมกันส่ง ข้อมูลให้ กทม. ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อร่วมแก้ปัญหากับต�ารวจ • ป้ายโฆษณาสีเขียว สนับสนุนให้ เอกชนเปลีย่ นการโฆษณาจากป้ายแข็ง ให้เป็นสวนสีเขียว • ขยะแลกสวนสาธารณะ ขยะเกือบ หมืน่ ตันต่อวัน ช่วยกันเปลีย่ นเป็นเงิน แล้วน�าไปสร้างสวนสาธารณะ • ท่องเท่าที่จา� เป็น ดูแลครูด้วยหัวใจ ไม่เน้นข้อสอบ สร้างโรงเรียนทางเลือก ในสังกัด กทม. • ยกระดับหน่วยกู้ภัย พัฒนาระบบ รายงานเหตุฉกุ เฉิน สนับสนุนอุปกรณ์ และเครื่องมือ เพิ่มทีมหน่วยกู้ภัยทาง มอเตอร์ไซค์ เฮลิคอปเตอร์ และเรือ • Bangkok App เพิ่มแอพพลิเคชัน ที่จะท�าให้ชีวิตในกรุงเทพฯ ของคุณ ง่าย ขึ้ น ที่ ส� า คั ญ คื อ จะต้องมี แอพพลิเคชันประเมินผลการท�างาน ของผูว้ า่ ฯ กทม. เพือ่ ไม่ให้สงิ่ ทีส่ ญ ั ญา ไว้หายไปหลังเลือกตั้ง • City of Angels เมืองที่ผู้หญิงมี ความสุข • Bangkok Creative City สร้างสมดุล ชีวิตให้คนกรุงเทพฯ • Boutique Bangkok 50 เขต 50 เสน่ห์
เห็นกรุงเทพฯ กระจายอ�านาจ กระจายความเจริญ ออกไปให้กรุงเทพฯ รอบนอก (Greater Bangkok) ทีห่ มายถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล เพราะเมืองในอุดมคติ ของผมคือเมืองขนาดกลางที่ประชากรไม่หนาแน่น เกินไป พูดง่ายๆ คือเอาประชากรหารด้วยตารางกิโลเมตร ของเมือง (3,634.38 คนต่อ 1 ตารางกิโลเมตร, ข้อมูล ปี พ.ศ. 2553) ยิ่งตัวเลขยิ่งมาก อาชญากรรมยิ่งมาก อัตรารถติดยิ่งมาก เพราะฉะนั้น การพัฒนาจึงท�าได้ ยาก รวมถึงสวนสาธารณะและพื้นที่ส่วนกลางที่เพิ่ม ได้ยาก เพราะที่ดินมีน้อยเมื่อเทียบกับความต้องการ แล้วผมไม่คิดว่าเราจะสามารถโทษคนที่ย้ายเข้ามา ในกรุงเทพฯ ได้ เพราะรัฐไม่มสี าธารณูปโภคทีจ่ ะท�าให้ โอกาสของเอกชนและประชาชนขยายเมืองออกได้ พวกเขาจึงจ�าเป็นต้องมาอยู่ในกรุงเทพฯ กันหมด ถ้าไม่เชื่อลองเปรียบเทียบดังนี้ ข้อแรกคือ ความต่าง ระหว่างนิวยอร์กกับชิคาโก ซานฟรานซิสโก หรือโตเกียว กับโอซาก้า ฮอกไกโด หรือบาร์เซโลนากับมาดริด แล้วเทียบกับขนาดความต่างของความเจริญไม่ว่าจะ ในแง่ใดก็ตามของกรุงเทพฯ กับเชียงใหม่ ขอนแก่น หรือจังหวัดอื่นๆ ดู จะเห็นว่าทุกอย่างกระจุกอยู่ใน กรุงเทพฯ มากกว่าตัวอย่างเบือ้ งต้นทีผ่ า่ นมา ข้อสองคือ ถ้าคุณท�างานอยูส่ ลี ม แต่บา้ นอยูไ่ กลกว่า 100 กิโลเมตร คุณจะมาท�างานอย่างไร และต้องเดินทางนานเท่าไหร่? แทบจะเป็นไปไม่ได้เลยใช่ไหมครับ หรืออาจจะเป็น ไปได้แต่คงเหนื่อยมาก แต่ประเทศอื่นๆ เมืองอื่นๆ มี รถไฟเชือ่ มโยง ท�าให้สะดวกในการเดินทางมาท�างาน จึงเป็นไปได้ทเี่ ขาจะใช้ชวี ติ ครึง่ เมือง ครึง่ นอกเมืองได้ ความแออัดน้อยลงได้ และปัญหาอาชญากรรมน้อยลง ได้ ส่วนในแง่ของงบประมาณ ผมอยากเห็นกรุงเทพฯ เป็นเมืองทีช่ ว่ ยตัวเองได้ และไม่ตอ้ งรบกวนงบประมาณ แผ่นดินมากเกินไป เพือ่ ทีจ่ ะได้นา� ไปพัฒนาและกระจาย อ�านาจให้กบั ส่วนอืน่ ของประเทศต่อ ถ้าบริหารอย่างมี ประสิทธิภาพ มีการแข่งขัน รายได้ของเมืองไม่วา่ จะเป็น ค่าปรับ ภาษีท้องถิ่น ก็จะเกิดขึ้นอย่างยุติธรรมได้ เป็นกฎในการอยู่ร่วมกันได้ และยุติปัญหาภาระงบประมาณของประเทศได้ โดยสรุป สถิติบอกว่า คนกรุงเทพฯ จริงๆ มีสิทธิ์เลือกตั้ง 4 ล้านคน ทั้งที่ จริงๆ มีคนอาศัยอยู่ 10 ล้านคน ก็คงจะบอกได้วา่ ผูว้ า่ ฯ กรุงเทพฯ คุมเมืองกรุงเทพฯ จริง แต่คมุ ‘คนกรุงเทพฯ’ จริงๆ แค่ 40% เท่านัน้ ทีเ่ หลืออีก 60% ไม่มสี ทิ ธิเ์ ลือก ท่าน แต่ทา่ นก็เป็นพ่อบ้านทีต่ อ้ งค�านึงถึงพวกเขาเช่นกัน นโยบายของผู้สมัครผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่ถูกใจ หรือนโยบายที่อยากน�าเสนอ : ผู้สมัครเบอร์ 9 เคยพูดถึงสิ่งที่ผมคิด แต่ท่านคิดว่าเป็นการคิดนอก กรอบ ทั้งๆ ที่ผมคิดว่าผู้ว่าฯ กทม. มีความจ�าเป็น ต้องประสานงานกับผูว้ า่ ฯ ปริมณฑลทัง้ หมด เพือ่ ทีจ่ ะ เชื่อมและลดความแออัดของ กทม. ลง นอกจากนี้ การเชื่อมความเจริญ เชื่อมถนนหนทางเข้าด้วยกัน ก็จะช่วยให้งานของผู้ว่าฯ เบาลงเยอะ ไม่ว่าจะเป็น เรื่องอาชญากรรม การจราจรติดขัด หรือความไม่เพียงพอของสาธารณูปโภค ไฟส่องสว่าง กล้องวงจรปิด ปริมาณขยะ ฯลฯ ถ้าท�าได้จะเป็นการแก้ ปัญหาของ กทม. อย่างยัง่ ยืน ผูส้ มัครเบอร์ 16 ผมสนใจ ข้อเสนอมหานครสีเขียว การเพิ่มระบบจัดการขยะ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อน�ามาปั่นเป็นพลังงาน ไฟฟ้า (ขยะแลกไฟฟ้า) เพิ่มพื้นที่สีเขียว 5,000 ไร่ และเชื่อมระบบขนส่งทางเรือ ถ้าท�าได้จริงก็จะท�าให้ ความเป็น ‘เมืองเวนิสตะวันออก’ กลับมาอีกครั้ง ส่วนผูส้ มัครเบอร์ 17 ผมสนใจนโยบาย ‘เมืองทีผ่ หู้ ญิง มีความสุข’ กับ ‘50 เขต 50 เสน่ห์’ คล้ายๆ กับ นโยบายของผูว้ า่ ฯ กรุงโซลเคยใช้หาเสียงว่า ถ้าขนาด แม่บา้ นยังมีความสุข ก็ตอ้ งแปลว่าปลอดภัย สะดวกสบาย ส่วน 50 เขต 50 เสน่ห์ ก็คงจะดี แต่คิดว่า ถ้าจัดกลุ่มให้น้อยกว่านี้ก็จะบริหารได้ง่ายและชัดเจน กว่ามาก แต่ถึงอย่างไรก็ตาม นโยบายก็เป็นเรื่องของ นโยบาย การลงคะแนนจริงคงต้องดูว่าใครมีภาวะ ความเป็ น ผู ้ น� า ที่ จ ะท� า ให้ ก ารเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ เกิดขึ้นได้จริงครับ
16
GADGET SIGMA : PC 9 Heart Rate Monitor
COSMETIC
“นาฬิกาที่วัดอัตราการเต้นของหัวใจ เป็นอุปกรณ์ที่ดีที่คนไทยมักมองข้ามไป ซึ่งผมแนะน�าว่าควรใช้เพราะมันจะ ท�าให้รู้ว่าอะไรคือจุดแข็งหรือจุดอ่อนของร่างกายเรา เช่น ปกติหัวใจเราเต้นเท่าไหร่ และเต้นสูงสุดได้เท่าไหร่ ซึ่งข้อมูล พวกนี้เราเองก็ไม่เคยรู้มาก่อน เวลาที่ออกก�าลังกาย ร่างกายของเราเผาผลาญแคลอรีไปแล้วเท่าไหร่เราก็ไม่เคยรู้ แต่พอใช้นาฬิกาวัดหัวใจแล้วผมถึงได้รู้ว่าจุดแข็งของผมคือ เมื่อหัวใจเต้นเร็วก็จะใช้เวลาสั้นมากในการกลับมาเต้นใน จังหวะเดิม ถ้าคุณตั้งใจที่จะออกก�าลังกายอย่างจริงจัง ก็ควรหามาใส่ไว้ ช่วงแรกอาจจะรู้สึกร�าคาญเพราะนอกจาก ตัวนาฬิกาแล้ว เราต้องคาดตัวรับ-ส่งสัญญาณไว้ทหี่ น้าอกด้วย แต่สา� หรับนาฬิกาทีท่ า� ให้คณ ุ รูจ้ กั ตัวเองนีม้ รี าคาไม่แพง เมื่อเทียบสิ่งที่ท�าให้เราสนุกกับการออกก�าลังกาย” รายละเอียดเพิ่มเติม www.sigmasport.com เลือกให้โดย : ดอกเตอร์ วิทย์ สิทธิเวคิน คอลัมนิสต์ และพิธีกรรายการ ข่าว 5 หน้า 1
MOVIE
MUSIC Destiny’s Child : Love Songs
หลังจากปล่อยให้ Beyonce สมาชิกคนส�าคัญของวงโด่งดังแบบฉายเดี่ยวมาหลายปี คราวนี้ 3 สาว ก็กลับมารวมตัวกันอีกครั้งจนได้ ซึ่งถือเป็นการรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในรอบ 8 ปี ของพวกเธอ แม้จะ ไม่ใช่อัลบั้มใหม่ที่มีเพลงหวือหวาอย่างเช่นอัลบั้มก่อนๆ แต่เชื่อว่าน่าจะช่วยให้แฟนๆ ของ Destiny’s Child หายคิดถึงพวกเธอได้บ้าง เพราะอัลบั้มนี้ได้รวบรวมบทเพลงซึ้งๆ แนวรักๆ ที่เรารู้จักกันเป็นอย่างดี มาให้ฟังกันแบบเต็มอิ่ม ทั้ง Brown Eyes, Emotions หรือ Say My Name และอีกหลายต่อหลายเพลง ที่บันทึกเสียงไว้ในช่วงปี 1997-2004 ยกเว้นเพลงใหม่สุดพิเศษที่มาพร้อมกับอัลบั้มนี้คือ Nuclear เพลงจังหวะเบาๆ ที่มีความหมายเก๋ๆ วางจ�าหน่ายแล้ววันนี้ ทั้งในรูปแบบ CD และดาวน์โหลดได้ใน iTunes Store
Safe Haven
“หลายๆ คนอาจจะคิดว่า ผู ้ ช ายมั ก ไม่ ค ่ อ ยมี อ ารมณ์ โรแมนติ ก กั น สั ก เท่ า ไหร่ แต่ ผ มยื น ยั น เลยว่ า ไม่ จ ริ ง ผู้ชายเองก็อยากมอบความอ่อนโยนให้กบั คนทีเ่ ขารักบ้าง เพี ย งแต่ แ สดงออกไม่ เ ป็ น ถ้าคุณก็เป็นหนึ่งคนที่ไม่กล้า แสดงความโรแมนติ ก กั บ คนรัก ผมแนะน�าวิธงี า่ ยๆ ว่า ให้พาแฟนของคุณมาดูหนัง เรื่องนี้ เพราะหนังจะสื่อถึง เรื่องราวของผู้ชายที่ท�าร้าย ผู ้ ห ญิ ง จนท�าให้เธอต้องหนี ไปจากเขา และชายหนุ ่ ม อีกคนที่พยายามจะเยียวยา บาดแผลของเธอด้วยความรักความอ่อนโยน ซึ่ง Safe Haven เองก็ ก� า ลั ง จะบอก ในสิ่ ง ที่ ผ มเชื่ อ มาตลอดว่ า ถึง แม้ ค วามรัก จะเป็ น สิ่ ง ที่ สั ม ผั ส ไม่ ไ ด้ ไม่มีกลิ่น มอง ไม่เห็น แต่รับรู้ได้จากความรู้สึกทั้งหมด ดังนั้น เมื่อเรา รั ก ใครสั ก คน เราก็ จ ะรู ้ สึ ก อ ย ่ า ง นั้ น จ ริ ง ๆ แ ล ะ จ ะ พยายามท� า ทุ ก อย่ า งเพื่ อ คนที่เรารักครับ” เ ลื อ ก ใ ห ้ โ ด ย : ‘เจมส์’ - กิจเกษม แมคแฟดเดน พิ ธีก รและ นักร้องแห่งวง B.O.Y
MAGAZINE
Esquire Thailand
ส�าหรับคนที่ก�าลังหมดไฟทั้งในชีวิตการท�างานและชีวิตส่วนตัว เราขอแนะน�าให้หา เอสไควร์ ฉบับนี้มาอ่านเป็นการด่วน เพราะฉบับนีเ้ ขาว่าด้วยเรือ่ งของ The Meaning of Life หรือข้อคิดทีไ่ ด้จากการใช้ชวี ติ ของบรรดาคนทีไ่ ด้ชอื่ ว่าเป็น ‘ผูใ้ หญ่ทนี่ า่ นับถือ’ หลายต่อหลายคน เริ่มจากคนบนหน้าปกอย่าง ฌอน เพนน์ ที่ขึ้นชื่อในความเป็นคนใจสู้ ทั้งการฝ่าฟันปัญหาชีวิตที่หนักหน่วง รวมไปถึงต่อสู้เพื่อช่วยชาวเฮติเมื่อตอนเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังมีข้อคิดคมๆ จาก ร็อด สจ๊วต นักร้อง วัย 67 ปี อาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ นักแสดง และอดีตผู้ว่าการรัฐวัย 65 ปี รวมไปถึงนักคิดชาวไทยอีกหลายต่อหลายคน ทัง้ จิตกร บุษบา นักเขียนและพิธกี ร, วันชัย ตันติวทิ ยาพิทกั ษ์ รองผูอ้ า� นวยการสถานีโทรทัศน์ไทยพีบเี อส, หม่อมหลวง ปนัดดา ดิศกุล รองปลัดกระทรวงมหาดไทย, โดม สุขวงศ์ ผู้อ�านวยการหอภาพยนตร์แห่งชาติ, ดอกเตอร์ อัมมาร สยามวาลา นักเศรษฐศาสตร์, พนเทพ สุวรรณะบุณย์ นักดนตรี และนักแต่งเพลง ที่คมคิดของพวกเขาสามารถเติมเต็มแรงบันดาลใจและไฟฝันให้คุณได้ไม่ยาก
SHOP Swatch Flagship Store @ Siam Center
Laneige LOVE RECIPE Dual Pot
ลาเนจ แบรนด์ เ ครื่ อ งส�าอางสุดน่ารักจากประเทศ เกาหลี ขอชวนทุ ก คนมา แต่ ง แต้ ม สี สั น บนใบหน้ า ใน สไตล์กุ๊กกิ๊ก กับคอลเล็กชัน ใหม่ล่าสุด ‘LOVE RECIPE’ ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ดี แ ค่ สี สั น สุ ด หวาน โทนพาสเทล แต่แพ็กเกจจิ้ง ของเขาก็ น ่ า รั ก แบบห้ า มใจ ไม่อยู่ ด้วยแรงบันดาลใจจาก ค�าว่า ‘love’ ที่น�ามาใช้เป็น ซิกเนเจอร์ของคอลเล็กชันนี้ ซึง่ เราสะดุดตากับ Love Recipe Dual Pot (ราคา 800 บาท) ตลั บ คู ่ สี ลิ ป สติ ก เนื้ อ กลอส และครีมพาวเดอร์สีหวานใส ส�าหรับมิกซ์แอนด์แมตช์สีสัน ได้ ทั้ ง ริ ม ฝี ป าก เปลื อ กตา และพวงแก้ม มี 4 คูส่ ใี ห้เลือก ด้ ว ยกั น นอกจากนี้ ยั ง มี อายไลเนอร์ ผ สมชิ ม เมอร์ เ นื้ อ เ นี ย น ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ มาสคาราส�าหรับเพิ่มความหนาให้ แ พขนตาของคุ ณ เพื่อรับกับลุคสาวสวยหวาน ‘LOVE RECIPE’ 2013 SpringSummer Collection มีจ�าหน่ายที่เคาน์เตอร์ลาเนจ 8 แห่ง ได้แก่ สยามพารากอน เดอะมอลล์บางกะปิ ง า ม ว ง ศ ์ ว า น เ ซ็ น ท รั ล ลาดพร้าว บางนา เชียงใหม่ โรบินสันพระราม 9 และเซ็น
สวอตช์ นาฬิกาแฟชั่นจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ที่เราต่างคุ้นเคยกันดี ได้เปิดตัวแฟล็กชิปสโตร์ครั้งแรก ในประเทศไทย บนพื้นที่กว่า 50 ตารางเมตร ณ บริเวณชั้น G สยามเซ็นเตอร์ โดยเน้นคอนเซ็ปต์สีชมพูขาวเพื่อให้ เข้ากับเทศกาลแห่งความรัก ซึ่งทางแบรนด์ได้ถือโอกาสน�าเสนอนาฬิกาคอลเล็กชันรุ่นพิเศษ ‘สวอตช์ วาเลนไทน์ 2013’ กับคอนเซ็ปต์ ‘True Love has Nothing to Hide’ โดยตัวเรือนได้รับการดีไซน์ออกมาเป็นหน้าปัดกลมสีชมพู สามารถมองเห็นกลไกของเครื่อง ตัดกับสายซิลิโคนสีขาว พร้อมกลิ่นวานิลลาหอมอ่อนๆ หรือนาฬิกาสวอตช์รุ่นอื่นๆ ที่คุณโปรดปรานก็มีให้เลือกกันอย่างจุใจที่แฟล็กชิปสโตร์แห่งใหม่นี้
17
COFFEE SHOP
Coffee Gallery Cafe @ Siam Center
ขอเชิญคุณมาอัพเดตความอร่อยภายใต้บรรยากาศแสนสบายของสยามเซ็นเตอร์โฉมใหม่กับ Coffee Gallery Cafeé ร้านกาแฟที่โปร่งโล่งสบาย พร้อมเมนูเด็ดอย่าง Absolute Siam ซึ่งมีให้ได้ชิมกันที่นี่เพียงที่เดียว ส�าหรับคอกาแฟ เราขอแนะน�า Double Chocolate Espresso Frappe เอสเพรสโซ ผสมช็อกโกแลตปั่นราดด้วยวิปครีมหนานุ่มที่ให้ความเข้มข้นของรสชาติกาแฟแท้ๆ ส่วนใครที่กา� ลังมองหาอาหารที่หนักขึ้น ต้องลองชิมสปาเกตตี บาร์บีคิวซี่โครงหมู ที่ปรุงรสชาติได้อย่างจัดจ้าน และกระดูกหมูอ่อนที่เคี้ยวได้กรุบๆ ทั้งชิ้น หรือจะอิ่มอร่อยไปกับข้าวไข่ห่อหมูทอดซอสมะเขือเทศ ซึ่งจุดเด่นของจานนี้อยู่ที่ความเข้มข้นของน�้าซอสที่เข้ากันได้ดีกับข้าวห่อไข่กับหมูทอดได้อย่างกลมกล่อม ส่วนใครที่ชอบทานขนมหวานก็ต้องลอง พุดดิ้งอินทผาลัมกับไอศกรีมราดคาราเมลหอมๆ ซึ่งมีที่นี่ทีเดียวเท่านั้น รายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0-2658-1547-50
CLOTHES
Greyhound Original Collection Spring/Summer 2013 ‘DISARTER’
อีกครั้งกับแบรนด์เก๋สัญชาติไทย ที่เข็นเสื้อผ้าคอลเล็กชันล่าสุดที่ใช้ชื่อว่า ‘DISARTER’ ที่มาจากค�าว่า Disaster + Art ซึ่งได้ไอเดียมาจากค�าท�านายเรื่องวันสิ้นโลกเมื่อปี 2012 โดยถ่ายทอดซากปรักหักพังผสมผสาน เข้ากับงานศิลปะ ที่กลายมาเป็นเสื้อผ้าที่แฝงไปด้วยสัญญะของโลกหลังมหาอุบัติภัย แบ่งเป็น Natural Error ที่สื่อถึงความเสื่อมสลายของธรรมชาติ เช่น ธารลาวาที่คุคลั่ง และ Digital Error หรือโลกที่เทคโนโลยีหมด ความหมาย สือ่ ผ่านภาพพิกเซลทีไ่ ม่ชดั เจน ภาพหน้าจอคอมพิวเตอร์ทชี่ า� รุด พบกับ Greyhound Original Collection Spring/Summer 2013 ได้ที่สยามพารากอน, เอ็มโพเรียม, อิเซตัน, สยามเซ็นเตอร์ และเซ็นทรัลลาดพร้าว
GIVE ร่วมสนับสนุนการท�างานของมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
หากคุณเป็นคนหนึง่ ทีเ่ ห็นถึงความไม่ชอบมาพากลหรือความไม่เป็นธรรมทีแ่ อบแฝงอยูใ่ นกลไกตลาด ต่างๆ เราขอเชิญชวนให้คุณมาร่วมเป็นพลังตรวจสอบ และแสดงจุดยืนของผู้บริโภคที่เข้มแข็ง ด้วยการสนับสนุนการท�างานของมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ที่ท�างานแข็งขันเพื่อเป็นกระบอกเสียงให้กับ ผูบ้ ริโภคทุกคน ไม่วา่ จะเป็นการเผยแพร่ขอ้ มูลทีผ่ บู้ ริโภคควรรู้ การเรียกร้องกฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค เป็นต้น ปัจจุบันมูลนิธิฯ รับการสนับสนุนผ่านการบริจาคทั้งบุคคลทั่วไปและผู้ที่มาขอความช่วยเหลือ จากมูลนิธิ รวมไปถึงการจ�าหน่ายวารสาร ฉลาดซื้อ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ของ มูลนิธิฯ www.consumerthai.org
ACCESSORY
Mango Mojito : Italian Touch Collection
คอลเล็กชันรองเท้าสุดหรูใหม่ ล่าสุดจาก Mango Mojito ที่พิถีพิถัน ในทุกรายละเอียดเพื่อให้ได้มาซึ่ง รองเท้ า หนั ง ส� า หรั บ ใส่ อ อกงาน ส�าหรับสุภาพบุรุษมาดเนี้ยบ โดย เริ่มด้วยการสั่งหนังคุณภาพเยี่ยม ที่ส่งตรงมาจากอิตาลี พร้อมการตกแต่ ง ด้ ว ยเทคนิ ค Handmade Finishing หรือการตกแต่งหนังด้วยมือ ซึ่งใช้เวลานานกว่าการตกแต่งหนัง โดยทั่วไป แต่ก็ได้ผลลัพธ์ที่คุ้มค่า สมการรอคอย เพราะเต็มไปด้วย ความสง่ า งามและคลาสสิ ก ตาม แบบฉบับของสุภาพบุรุษอิตาเลียน แท้ๆ โดยคอลเล็กชันนีม้ ใี ห้เลือก 3 สี ทัง้ Bruno, Grigio และ Tan โดยทุกคู่ ถูกน�าเสนอด้วยรูปทรงแสนคลาสสิก ที่ ชื่ อ ว่ า Captoe Oxford พบกั บ คอลเล็กชันใหม่นี้ได้ที่ร้าน Mango Mojito สยามสแควร์ ซอย 2
18
SHOPPING!
เดรสสั้นทรงทิวลิปสีน�้าเงิน ซ้อนกระโปรงด้านในด้วยผ้าซาตินสีชมพูอ่อน จาก Siamsquare.co.th เสื้อตัวสั้นแขนสามส่วน และกระโปรงผ้าชีฟองสีเขียวนีออน จาก Siamsquare.co.th
กระเป๋าคลัตช์สดี า� ประดับหางจิง้ จอก จาก Play Too by Playhound เดรสสั้นผ้าลูกไม้ ซ้อนด้านในด้วยชุดสีเขียวมะนาว จาก Siamsquare.co.th
กระเป๋าคลัตช์สีด�าประดับหางจิ้งจอก จาก Play Too by Playhound
กระเป๋าคลัตช์สีครีมประดับหางจิ้งจอก จาก Play Too by Playhound
เดรสสั้นสีฟ้าอ่อน จาก Siamsquare.co.th
ผู้ชายที่ว่าแข็งแกร่งก็สามารถเกิดอาการใจเต้นตูมตามและออกท่าทีประหม่า เอาง่ายๆ เมือ่ เห็นหญิงสาวในชุดเดรสทีเ่ รียบหรู หรือสวมใส่ชดุ กระโปรงทีแ่ สนสดใส ดังนัน้ เมือ่ รูแ้ ล้วว่าเสน่หข์ องคุณมีมากล้นขนาดไหน ก็จงเอามันออกมาใช้ให้คมุ้ ค่า เพราะเวลาที่หนุ่มๆ ออกอาการเขินอายเนี่ย ช่างน่ารักน่าเอ็นดูเสียเหลือเกิน
WHERE Rockport ที่ชั้น 3 เซ็นทรัลเวิลด์ Siamsquare.co.th ที่ช็อปสยามสแควร์ ซอย 11 Play Too by Playhound ที่ชั้น 1 สยามพารากอน M.A.C ที่เคาน์เตอร์แมค ในห้างสรรพสินค้าชั้นน�า L’Oreal Paris ที่เคาน์เตอร์ลอรีอัล ปารีส ในห้างสรรพสินค้าชั้นน�า
อายแชโดว์โทนสีเขียว และชิมเมอร์สีทอง จาก L’Oreal Paris
กระเป๋าคลัตช์สีครีมประดับหางจิ้งจอก จาก Play Too by Playhound
ลิปสติกสีเบจประกายมุกสีทอง จาก M.A.C
รองเท้าหุ้มส้นสูง 4 นิ้ว รุ่น Janae จาก Rockport
อายแชโดว์โทนคละสี จาก L’Oreal Paris ลิปสติกสีชมพูอมแดงอิฐ จาก M.A.C รองเท้าหนังก�ามะหยี่ Presia Tied Mary Jane จาก Rockport
ลิปสติกสีชมพู จาก M.A.C
รองเท้าหนังปั๊มลายงู รุ่น Presia Tied Mary Jane จาก Rockport
CALENDAR
21
FRI
MON
TUE
WED
THU
Pimplern
iN-PUBLiC
Back to School Party with SUM 41
Thai Cartoons and Abstract Illustration
นิทรรศการภาพพิมพ์ ‘พิมพ์เพลิน’ โดยนิสิต ชั้ น ปี ที่ 3 สาขาวิ ช า ศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศกึ ษา ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศิ ล ปิ น ต้ อ งการสื่ อ ใ ห ้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม สนุกสนานในงานศิลปะ เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า ชมงาน ได้ รู ้ สึ ก เช่ น เดี ย วกั น วันนีถ้ งึ 12 มีนาคม 2556 ณ ห ้ อ ง นิ ท ร ร ศ ก า ร ชั้ น 2 หอศิ ล ป์ จ ามจุ รี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3709
นิทรรศการภาพถ่าย ชี วิ ต บนท้ อ งถนน ‘iNPUBLiC’ โดยกลุม่ ช่างภาพ ห ล า ก ห ล า ย เ ชื้ อ ช า ติ รวบรวมภาพถ่ายต่างทีม่ า ตั้งแต่ลอนดอน อินเดีย ไปจนถึ ง พอร์ ต แลนด์ รัฐโอเรกอน แต่ทุกภาพ ล้วนสื่อถึงความสง่างาม และความอบอุน่ ทีแ่ ฝงเร้น อยูใ่ นความ ‘ธรรมดา’ ของ ชีวิต วันนี้ถึง 24 มีนาคม 2556 ณ โถงทางเข้า TCDC ชั้ น 6 ดิ เอ็ ม โพเรี ย ม โทร. 0-2664-8448 ต่อ 213, 214 (เว้นวันจันทร์)
มาสนุกไปกับ ‘Back to School Party with SUM 41’ ปาร์ตที้ จี่ ะท�าให้ ทุกคนได้นกึ ย้อนรอยไปถึง สมัย วัย เรีย น พร้อ มกับ ดนตรี สุ ด มั น โดยศิ ล ปิ น ระดับโลกอย่าง SUM 41 และศิลปินไทยอีกมากมาย อาทิ Brandnew Sunset, The Yers ฯลฯ วันนี ้ เวลา 18.00 น. ณ เซ็นเตอร์พอยต์ สตูดโิ อ ซอยลาซาล จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ต เมเจอร์
นิ ท รรศการศิ ล ปะ ร่วมสมัยและการ์ตูนไทย โดย ราช เลอสรวง และ สมบูรณ์ หอมเทียนทอง พบกับผลงานของนักเขียนการ์ตนู รุน่ ใหญ่ทถี่ กู เชือ้ เชิญ กลั บ มาวาดในยุทธจักร การ์ตนู อีกครัง้ ทัง้ ภาพเขียน สีนา�้ มัน วาดเส้น ประติมากรรม และการจัดวาง วันนี้ ถึง 12 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 9 หอศิลปวัฒนธรรม แห่ ง กรุ ง เทพมหานคร โทร. 0-2214-6630-8 (เว้นวันจันทร์)
Glass Rabbit
เชิ ญ ชมภาพยนตร์ แอนิ เ มชั น ญี่ ปุ ่ น เรื่ อ ง ‘กระต่ายแก้ว’ เรื่องราว เล่ า ถึ ง ชี วิ ต ที่ โ หดร้ า ย และความตาย เมื่อคราว ที่ โ ตเกี ย วถู ก โจมตี ท าง อากาศระหว่างสงครามโลก ครัง้ ที ่ 2 โดยหวังให้คนรุน่ ใหม่ ร� า ลึ ก ถึ ง ผลกระทบ ของสงครามและใฝ่ ห า สันติภาพ ชมฟรี วันนี ้ เวลา 18.30 น. ณ ห้องสัมมนา เจแปนฟาวน์เดชัน โทร. 0-2260-8560-4
2 3 SAT
SUN
Fat Live Smallroom
It was my Desire to have my very own space
17 คอนเสิร์ตใหญ่ ในงานเดียว กับอภิมหาอลังการคอนเสิร์ตซูเปอร์ บิ๊ก ‘Fat Live Smallroom’ รวมทุ ก ศิ ล ปิ น จากค่ า ย Smallroom อาทิ Tattoo Colour, The Richman Toy, Superbaker, Greasy Cafe ฯลฯ โปรดักชันเข้ม เต็ม โชว์ ยาวกว่า 5 ชั่วโมง วันนี้ ประตูเปิด 17.00 น. ณ ธันเดอร์โดม เมืองทองธ านี จ� า หน่ า ยบั ต รที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์
นิ ท รรศการศิ ล ปะ ‘เพราะฉันต้องการ ที่ว่าง ของฉัน’ รวบรวมผลงาน กว่า 40 ชิน้ ของ จ่าง แซ่ตงั้ ทั้ ง ผ ล ง า น จิ ต ร ก ร ร ม ทิ ว ทั ศ น์ สี น�้ า ผลงาน วาดเส้นรูปเหมือนบุคคล ผลงานวรรณกรรมบทกวี และผลงานบทกวีรปู ธรรม วันนี้ถึง 31 มีนาคม 2556 ณ หอศิลป์ศภุ โชค ดิ อาร์ต เซ็นเตอร์ สุขมุ วิท ซอย 33 โทร. 0-2662-0299 (เว้น วันจันทร์)
22
THIS PLACE IS MINE เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
ทุกวันนีเ้ มือ่ หันมองไปรอบด้าน สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราพบ คือความทันสมัยทีเ่ กิดขึน้ มากมาย จนท�าให้หลายคน คิดว่าการหาความสงบให้ตวั เองนัน้ เริม่ ยากขึน้ ทุกวัน แต่ทจี่ ริงแล้วความสงบนัน้ ยังคงแอบซ่อนอยูใ่ นเมือง ที่วุ่นวายแห่งนี ้ และก�าลังรอให้คุณตามหาให้พบ เหมือนกับที ่ ‘ดีเจกฤษณ์’ - กฤษณ์พงศ์ สุธาศิลพรมแพร นักจัดรายการวิทยุแห่งคลื่น 95.5 Virgin Hitz และนักบ�าบัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหาร จิตใต้สา� นึก ได้คน้ พบความรูส้ กึ ทีว่ า่ นีจ้ ากบ้านหลังใหม่ ของเขาเอง “หลังจากทีใ่ ช้ชวี ติ อยู่ในคอนโดมีเนียมมานาน ผมเองก็อยากสัมผัสกับธรรมชาติบ้าง โดยเฉพาะ การปลูกต้นไม้ ซึ่งเราไม่สามารถท�าได้อย่างเต็มที่ ตอนอาศัยอยูท่ คี่ อนโดฯ ผมจึงเริม่ มองหาบ้านสักหลัง จนในทีส่ ดุ ก็มาเจอบ้านหลังนี ้ ซึง่ ผมประทับใจตรงที่ ความเป็นธรรมชาติยงั คงมีอยูท่ วั่ บริเวณ อย่างตอน กลางคืนมองไปทางสระน�้าหน้าบ้านเรายังได้เห็น หิง่ ห้อยส่องแสงวับๆ อยู ่ ทัง้ ๆ ทีเ่ รายังอยูใ่ นเส้นของ ถนนสุขุมวิทอยู่เลยครับ” สัมผัสแรกที่เราก้าวเข้ามาในบ้านหลังนี้ก็คือ บรรยากาศอันแสนเย็นสบายจากสายลมที่พัดผ่าน มาทางสวนหน้าบ้าน และการจัดเตรียมพื้นที่ต่างๆ ภายในบ้านอย่างกลมกลืน โดยเจ้าของบ้านบอก เหตุผลในการออกแบบตามสไตล์ตัวเองไว้ว่า... “เดิ ม ที บ ้ า นหลั ง นี้ มี อ ายุ ม ากกว่ า สิ บ ปี แ ล้ ว ผมไม่อยากทุบทิ้ง เพราะตัวบ้านเดิมๆ ก็ดูสวยงาม อยู่แล้ว ผมจึงใช้การตกแต่งสไตล์ลอฟต์เข้ามา ผสมผสาน และโจทย์หลักของเราก็คือ ต้องการ ความเป็นธรรมชาติให้มากที่สุด ดังนั้น ผมจึงเลือก ที่จะเอาผนังบ้านออกแล้วติดประตูแบบบานเฟี้ยม มาใช้แทน เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกมากขึ้น และเนือ่ งจากเราอยูบ่ า้ นคนเดียว ผมก็เลยท�าห้องนอน ให้กว้างขึน้ เพือ่ ทีเ่ ราจะอยูบ่ า้ นหลังนีไ้ ด้อย่างไม่รสู้ กึ อึดอัด แถมยังได้ความโปร่งโล่งสบายด้วยครับ” แต่ ก ารจะเลื อ กบ้ า นสั ก หลั ง ให้ ถู ก ใจคนอยู ่ อาศัยทีส่ ดุ นัน้ การเชือ่ ความรูส้ กึ ของตัวเองควรเป็น ปัจจัยแรก “เวลาที่คุณไปในสถานที่บางแห่ง คุณอาจจะ
รู้สึกว่าเราอยากจะอยู่ตรงนี้นานๆ การเลือกบ้านก็ เหมือนกัน สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือความรู้สึกแรกที่ได้ เข้ามา เหมือนกับบ้านหลังนี ้ ครัง้ แรกทีผ่ มเดินเข้ามา ผมสัมผัสได้ทนั ทีถงึ ความเย็นและความสงบ ซึง่ ผม ตอบกับตัวเองได้ตั้งแต่ตอนนั้นเลยว่า บ้านหลังนี้ แหละคือสถานที่ที่เหมาะส�าหรับเรา”
หลักในการท�างานของคุณ - ท�างานให้เต็มที ่ แล้วปล่อยวางกับผลลัพธ์ หนังสือที่เพิ่งอ่านจบ - เติมธรรมในช่องว่าง เขียนโดย พิทยากร ลีลาภัทร์ สัตว์เลี้ยง (ขาจร) - สัตว์ตา่ งๆ ทีเ่ ข้ามาอาศัย อยู่บริเวณสวนหน้าบ้าน คนที่ อ ยากชวนมาเที่ ย วบ้ า นหลั ง นี้ สักครั้ง - พี่โก้ มิสเตอร์แซ็กซ์แมน ซีรีส์ที่ดูประจ�า - Grey’s Anatomy เพลงที่ฟังเมื่อไหร่ก็อารมณ์ดี - Theoretical Love ของ Yannick Bovy
24
HEALTH HEALTH TIPS
Q : การได้รับควันบนท้องถนนมีผล ท�าให้ทารกที่คลอดออกมามีน�้าหนัก น้อยลงจริงหรือไม่ A : จริง เนื่องจากมีการศึกษาในประเทศ
อังกฤษระบุวา่ จากการศึกษาทารกจ�านวน 3 ล้านคน ใน 9 ประเทศ พบว่าหญิงตัง้ ครรภ์ ทีอ่ าศัยอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งรับควันพิษอยูเ่ สมอ โดยเฉพาะควันพิษจากท้องถนน มักจะคลอด ลูกออกมามีนา�้ หนักน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และแม้วา่ นีจ่ ะเป็นผลกระทบเล็กๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระดับบุคคล แต่กเ็ ป็นเรือ่ งทีค่ นทัว่ ไปต้อง ให้ความส�าคัญเพือ่ ทีจ่ ะสะท้อนปัญหามลพิษ ทางอากาศ ทัง้ นี้ ทารกทีม่ นี า�้ หนักน้อยเกินไป มักจะมีความเสีย่ งทีจ่ ะเสียชีวติ และเป็นโรค มากกว่าทารกที่มีน�้าหนักปกติ ทางด้าน ศาสตราจารย์ เควิน แม็กคอนเวย์ นักสถิตจิ าก Open University กล่าวว่า “ถ้าเมืองนิวคาสเซิล สามารถลดระดับมลพิษในอากาศได้ครึง่ หนึง่ จะมีผลท�าให้เด็กทีเ่ กิดมามีนา�้ หนักต�า่ กว่าเกณฑ์ มาตรฐานลดจ�านวนลงได้ราว 3,500 คนต่อปี”
WHAT STRESS EFFECTS TO YOUR HEALTH มีการวิจัยพบว่า ปัจจุบันโรคซึมเศร้าได้ขยับขึ้นเป็นโรคที่มีผู้ป่วยมากเป็น อันดับ 2 ของโลก รองจากโรคหัวใจ ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขเผยว่า คนไทยเป็นโรคทางจิตแล้วกว่า 3 ล้านราย ปัญหาเรื่องความเครียดและโรค ซึมเศร้าจึงไม่ใช่เรื่องที่มองข้ามได้อีกต่อไป และนี่คือความจริงที่คุณควรทราบว่า ความเครียดส่งผลร้ายต่อร่างกายอย่างไร
• ความเครียดท�าให้สมองหดตัว มีงานวิจยั ตีพมิ พ์ลงในวารสาร Biological Psychiatry ระบุว่า ความเครียดโดยเฉพาะที่เกิดจาก การหย่าร้างหรือตกงาน มีผลท�าให้สมองหดตัวได้จากการลดลง ของเนื้อสมองส่วนสีเทา ซึ่งเป็นส่วนที่มีผลต่อระบบการท�างาน ของร่างกายและอารมณ์ โดยนักวิจัยกล่าวว่า สิ่งที่น่ากังวลคือ หากเนือ้ สมองส่วนนีม้ กี ารเปลีย่ นแปลงไป ถือเป็นสัญญาณเตือน บ่งบอกว่าบุคคลนัน้ อาจมีปญ ั หาทางจิตในอนาคตได้ • ความเครียดท�าให้เด็กแก่เกินวัย มีผลการศึกษาตีพมิ พ์ลงใน วารสาร Molecular Psychiatry อธิบายว่า เด็กที่ถูกข่มขู่ ต่อว่า หรือได้รบั ความรุนแรง ส่งผลให้เซลล์ในร่างกายเจริญเติบโตผิดปกติ หรือท�าให้เซลล์บางส่วนตายลงได้ สังเกตได้จากการศึกษาเด็ก 5-10 ขวบ จ�านวน 236 คน ที่อาศัยอยู่ในอังกฤษและเวลส์ พบว่า เด็กทีอ่ ยูใ่ นเหตุการณ์ทมี่ ผี ใู้ หญ่ใช้ความรุนแรงหรือเด็กทีต่ กเป็นเหยือ่ ความรุนแรงโดยตรง มักจะเป็นคนที่ดูแก่เกินวัย ซึ่งเมื่อตรวจดูใน ระดับ DNA แล้วพบว่า DNA ของเด็กเหล่านีม้ อี ายุมากกว่าอายุจริง ของเด็ก • ความเครียดเพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง มีข้อมูลการวิจัย จากวารสาร Behavioral Medicine ระบุว่า ผู้ที่มีความเครียดและ ความกังวลในการใช้ชีวิตประจ�าวัน คือบุคคลที่มีโอกาสเป็นโรค เรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคกระดูกเสื่อม โรคเบาหวาน มากขึ้นได้ ในอีก 10 ปีตอ่ มา เมือ่ เทียบกับบุคคลทีม่ ชี วี ติ ทีผ่ อ่ นคลายมากกว่า • ความเครียดท�าให้อาการหวัดแย่ลงกว่าเดิม มีการวิจยั พบว่า ความเครียดมีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และท�าให้ อาการหวัดเลวร้ายลงกว่าเดิม เนื่องจากเมื่อมีอาการเครียด ร่างกายจะผลิตสารคอร์ตซิ อลออกมา ซึง่ ท�าให้กระบวนการต่อต้าน การอักเสบมีประสิทธิภาพลดลง ส่งผลให้อาการป่วยหายยากขึ้น ได้
ที่มา : www.huffiffiingtonpost.com
ที่มา : www.bbc.co.uk
90%
มีการศึกษาพบว่า วอลนัตเป็นแหล่งของโอเมก้า-3 ที่สามารถกระตุ้นการสร้างสารเคมีในสมองชื่อ เซโรโทนิน ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอาการซึมเศร้าได้ นอกจากนี้ ยังช่วยเสริมสร้างระบบการท�างานของสมอง ป้องกันการอักเสบของหลอดเลือด และป้องกันลิม่ เลือดจับกันเป็นก้อนได้อกี ด้วย ทัง้ นี้ วอลนัต 1 ถ้วย มีโอเมก้า-3 มากถึง 90% ของปริมาณที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน
HEALTH NEWS นักวิจัยอังกฤษเผย ทานมังสวิรัติลดความเสี่ยงโรคหัวใจ 32% จากการศึกษาประชาชนในอังกฤษและสกอตแลนด์จ�านวน 44,500 คน พบว่าผู้ที่ทาน อาหารมังสวิรัติมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตจากโรคหัวใจน้อยกว่าคนที่ไม่ทานมังสวิรัติประมาณ 32% ทั้งนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อเรื่องดังกล่าวคือระดับคอเลสเตอรอล ความดันโลหิต และน�า้ หนักตัว ทางด้าน ดอกเตอร์ ฟรานเชสกา โครว์ นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยออซฟอร์ด กล่าวว่า “สิง่ ส�าคัญทีพ่ บจากงานวิจยั คือวิธกี ารเลือกทานอาหารมีสว่ นส�าคัญต่อสุขภาพของหัวใจ เราไม่ได้ โน้มน้าวให้ทกุ คนต้องหันมาทานผักแบบผูท้ ที่ านมังสวิรตั ิ เพราะมันก็ทา� ยากพอสมควร แต่ถา้ ท�าได้ ผลวิจยั ของเราระบุวา่ ผูท้ ที่ านมังสวิรตั มิ รี ะดับคอเลสเตอรอลทีไ่ ม่ดตี อ่ ร่างกายน้อยกว่าคนทีท่ านเนือ้ จึงมีผลท�าให้คนกลุ่มนี้มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจน้อยลง” ในขณะเดียวกัน เทรซี พาร์กเกอร์ นักวิจยั จาก British Heart Foundation ได้ให้คา� แนะน�าว่า “ถ้าคุณก�าลังคิดจะเปลีย่ นมาทานอาหาร แบบมังสวิรัติ คุณต้องแน่ใจว่าคุณมีการวางแผนในการรับประทานอาหารไว้อย่างดี เพราะคุณ จ�าเป็นต้องทานผักผลไม้บางชนิดเพิ่มขึ้นเพื่อทดแทนวิตามินหรือเกลือแร่ต่างๆ ที่มีในเนื้อสัตว์” ที่มา : www.bbc.co.uk
HEART
25
HEART TIPS
4 WAYS TO BUILD YOUR SELFCONFIDENCE เรามักได้ยนิ ค�าโฆษณาบนหน้าจอโทรทัศน์อยูบ่ อ่ ยๆ ว่า ‘คนไทยถ้าตัง้ ใจ ท�าอะไร ก็ ไม่แพ้ชาติใดในโลก’ ซึ่งเราเห็นด้วยทุกประการกับความคิด ดังกล่าว แต่สิ่งหนึ่งที่ท�าให้ความสามารถของคนไทยอีกไม่น้อยยังซ่อนอยู่ และไม่ถูกประกาศออกไปสู่สาธารณชนก็คือเราขาดความกล้า เราจึงขอ น�าเสนอวิธีการสร้างความกล้า แนะน�าโดยเว็บไซต์ ivillage.com มาให้ คุณลองท�าดูต่อไปนี้
• ท�าอะไรเสี่ยงๆ ดูบ้าง อย่างที่มีค�ากล่าวว่า ‘High Risk, High Return’ หรือยิ่งเสี่ยงมากก็ยิ่งได้ผลตอบแทนมาก ซึ่งหลักการนี้ ไม่ได้จา� กัดอยูเ่ พียงเรือ่ งการลงทุนทางการเงินเท่านัน้ แต่ความรูส้ กึ ก็เช่นเดียวกัน ลองท้าทายตัวเองในการท�าสิ่งที่ไม่เคยท�าดูบ้าง บางทีคุณอาจพบคุณค่าและความหมายของชีวิตในมุมที่ไม่เคย สัมผัสมาก่อน • คิดว่าเรือ่ งแย่ๆ ไม่ได้เกิดกับคุณเพียงคนเดียว ดังนัน้ อย่าผิดหวัง หรื อ เสี ย ใจกั บ เรื่ อ งที่ ผ ่ า นเข้ า มาในชี วิ ต ง่ า ยเกิ น ไปจนสู ญ เสี ย ความมั่นใจในตัวเอง เพราะไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไร เราเชื่อว่าคุณ ไม่ใช่คนแรกที่เคยเจอกับสถานการณ์แบบนี้แน่นอน และเมื่อไหร่ ที่ คุ ณ ท� า ความเข้ า ใจกั บ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น และแก้ ไ ขสถานการณ์ ใ ห้ คลี่คลายลงได้แล้ว ก็อย่าลืมเรียกความมั่นใจให้กับตัวเองอีกครั้ง • สวมใส่เสื้อผ้าตัวเก่ง สังเกตไหมว่าเมื่อไหร่ที่ตัวเองใส่เสื้อผ้า ชุดโปรด กราฟความมั่นใจในตัวเองจะทะยานสูงขึ้นโดยอัตโนมัติ ดังนั้น ถ้าจะต้องไปร่วมงานส�าคัญที่ต้องใช้ความกล้าเป็นทุน การมิกซ์แอนด์แมตช์เสื้อผ้าตัวโปรดอาจเป็นวิธีที่ดีกว่าออกไปซื้อ เสื้อผ้าชุดใหม่ เพราะนอกจากจะเปลืองเงินแล้ว บางทีชุดใหม่ อาจสร้างความประหม่าและไม่เป็นตัวของตัวเองจนคุณเผลอท�า อะไรเปิ่นๆ ออกมาก็ได้ • คิ ด ถึ ง เรื่ อ งที่ คุ ณ ท� า ได้ ดี อ ยู ่ เ สมอ นั ก เขี ย นจากเว็ บ ไซต์ ivillage.com กล่าวว่า ‘Everyone is good at something.’ หรือเรา ทุกคนล้วนเก่งในเรื่องบางเรื่อง แต่ปัญหาอยู่ที่ว่าเราค้นหามันเจอ หรือไม่ และถ้าคุณคือผูโ้ ชคดีทรี่ วู้ า่ ตัวเองท�าได้ดใี นเรือ่ งใด ก็ขอให้ ระลึกถึงมันอยู่เสมอ และลงมือท�าสิ่งนั้นอย่างกล้าหาญและมั่นใจ ที่มา : www.ivillage.com
THE CORAL REEF SUPPORTER
สิ่งที่เราอยากชวนคุณมาลองท�าเพื่อ ความสุ ขของตั วเองและของโลกในวั น นี้ คือการร่วมอุปการะสิ่งหนึ่งที่แปลกที่สุด เท่าที่เคยได้ยินมาก็คือ ปะการังใต้ทะเล โครงการสุดเจ๋งนีเ้ กิดขึน้ จากไอเดียของกลุม่ New Heaven Reef Conservation Program (NHRCP) น�าโดย 3 หนุ่มจาก 3 ทวีป ก็คือ Devrim Zahir ชาวไซปรัส ศิรชัย อรุณรักษ์ตชิ ยั คนไทยผู้รักสิ่งแวดล้อม และ Chad Scott นัก ศึก ษาสิ่ง แวดล้ อมจากอเมริก า โดย พวกเขาได้เปิดให้ผสู้ นใจมาร่วมกันอุปการะ ปะการังเป็นรายปี ผ่านการบริจาคเงินทาง www.taejai.com เพือ่ ร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของ การอนุรักษ์ทะเลไทยได้ ซึ่งขั้นตอนที่กลุ่ม NHRCP ท�าก็คือกู้กิ่งปะการังที่เสียหายมา อนุบาล จากนัน้ ก็สร้างบ้านอนุบาลปะการัง ใต้ทะเลเพื่อปกป้องปะการังระหว่างการรักษา สุดท้ายคือวิจยั และดูแลเพือ่ เก็บข้อมูล การเติบโตของปะการังในทะเลไทยต่อไป ซึ่งถ้าใครสนใจอยากลงมือรักษาปะการัง ด้วยตัวเอง ก็สามารถท�าได้เช่นกัน ดูขอ้ มูล เพิ่มเติมได้ที่ www.taejai.com หรือ www. newheavendiveschool.com
“ความถูกใจและความถูกต้อง บางครั้งก็ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน ถ้าไม่มีสติ ความถูกใจมักมาเป็นใหญ่ แต่ถ้ามีสติ ชีวิตก็เป็นไปในทางที่ถูกต้องมากขึ้น” พระไพศาล วิสาโล
ข่าวใหญ่ที่สุดส�าหรับคริสตศาสนิกชนทั่วโลกในขณะนี้คงหนีไม่พ้นการสละต�าแหน่งของ สมเด็จพระสันตปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ด้วยเหตุผลด้านปัญหา พระวรกาย ท�าให้พระองค์ ไม่ทรงสามารถปฏิบัติพระกรณียกิจได้ครบถ้วนสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลาเกือบ 8 ปี ที่พระองค์ด�ารงต�าแหน่ง คนจ�านวนมากก็ยังไม่รู้จักตัวตน ของพระองค์มากนัก เราจึงขอรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับพระสันตปาปาองค์นี้ให้คุณอ่านดังต่อไปนี้ Name : Pope Benedict XVI Nationality : German Born : 16 April 1927 Age : 85
“One who has hope lives differently.” <<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<
ที่มา : ww.biography.com, www.catholic.or.th
• สมเด็จพระสันตปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 มีพระนามเดิมว่า โจเซฟ รัตซิงเงอร์ ในวัยเด็ก พระองค์ต้องเติบโตขึ้นท่ามกลางสงครามและ ต้องเข้าร่วมเป็นสมาชิกของหน่วยยุวชนฮิตเลอร์ โดยพระองค์ถกู เกณฑ์ เข้าไปเป็นพลปืนต่อสู้อากาศยาน ต่อมาในปี 1944 ก็ทรงถูกเกณฑ์ เข้าเป็นทหารอีกครัง้ เพือ่ ประจ�าชายแดนทีต่ ดิ ต่อกับฮังการี ในเดือน เมษายนปีตอ่ มาพระองค์ได้หนีออกจากกองทัพเพือ่ กลับไปยังบ้านเกิด แต่กลับถูกจับระหว่างทางในฐานะเชลย เพราะทหารฝ่ายพันธมิตร คิดว่าพระองค์เป็นทหาร และได้รบั การปล่อยตัวในอีกสองเดือนถัดมา ซึง่ พระองค์ตอ้ งเดินเท้าเป็นระยะทาง 120 กิโลเมตร เพือ่ กลับหมูบ่ า้ น แต่โชคดีที่ระหว่างทางก็ได้พบกับรถส่งนมที่พาพระองค์ไปส่งที่ เมืองเธราน์ชไตน์ ซึ่งไม่ไกลจากบ้านของพระองค์มากนัก • หลังจากกลับบ้านไม่นาน พระองค์ก็ทรงเข้าศึกษาในโรงเรียน สอนศาสนาทีเ่ มืองไฟรซิงก์ และเดินทางไปศึกษาต่อทีม่ หาวิทยาลัย ลุดวิก-แม็กซิมิเลียนในเมืองมิวนิก จนกระทั่งได้รับการบวชเป็น พระสงฆ์หรือบาทหลวงในปี 1951 งานหลักของพระองค์หลังจาก ได้เป็นบาทหลวงคืออาจารย์สอนวิชาเทววิทยาในมหาวิทยาลัยต่างๆ ของเยอรมนี ในขณะเดียวกันพระองค์ยังได้ทรงร่วมก่อตั้งวารสาร
ทางศาสนาชือ่ Communio ซึง่ ปัจจุบนั เป็นวารสารคาทอลิกทีส่ า� คัญ ที่สุด และตีพิมพ์เผยแพร่ถึง 17 ภาษา • ต้นปี 1977 พระองค์ได้รับการบวชเป็นเป็นอาร์ชบิช็อปแห่งมิวนิก และในกลางปีเดียวกันทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นพระคาร์ดินัลโดย สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นปอลที่ 2 และต่อมาก็ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นสมณมนตรีของสมณะกระทรวงว่าด้วยข้อความเชื่อ และยัง เป็นประธานและคณะกรรมการเกีย่ วกับงานทางคริสตศาสนาทีส่ า� คัญ อีกมากมาย • หลังการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นปอลที่ 2 พระองค์กไ็ ด้รบั เลือกเป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 265 ขณะอายุ 78 ปี ถือเป็นพระสันตะปาปาทีม่ อี ายุมากทีส่ ดุ ทีเ่ คยได้รบั เลือก และล่าสุด หลังจากท�างานเพื่อคริสตศาสนิกชนทั่วโลกมาร่วม 8 ปี พระองค์ ก็ได้ออกมาประกาศสละต�าแหน่ง เนื่องจากมีพระชนมายุมากขึ้น จึงไม่ทรงสามารถปฏิบัติพระกรณียกิจได้อย่างเต็มที่ ทั้งนี้ พระองค์ นับเป็นพระสันตะปาปาองค์แรกในรอบ 600 ปี ที่ประกาศลาออก จากต�าแหน่ง นับจากสมเด็จพระสันตปาปาเกรกอรีที่ 12 ในปี 1415
ALL ABOUT BIZ
26
BIZ IDEA
BIZ LIFE
LEARNING TO GIVE พรรณสิรี คุณากรไพบูลย์ศิริ
ผูจ้ ดั การมูลนิธริ ามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์กรการกุศลทีม่ ภี ารกิจในการช่วยพัฒนาสังคมไทย ให้ประชาชนทุกคนมีสขุ ภาพดี และพัฒนาการแพทย์ไทยให้มคี ณ ุ ภาพ ดีขึ้น โดยท�างานมาอย่างยาวนานกว่า 40 ปี
• การท�างานในองค์กรการกุศลไม่ค่อยต่างจากการท�างานในองค์กรเอกชน มากนัก เพราะถึงแม้จะไม่ได้แข่งขันกับใคร แต่ก็มีเป้าหมายและตัวชี้วัด เช่นเดียวกัน ซึ่งส่วนที่ต่างคงเป็นความรู้สึกของคนท� างานที่แม้จะเหนื่อย เหมื อ นกั น แต่ มั น เป็ น ความเหนื่ อ ยที่ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ ชี วิ ต คนอื่ น ได้ ซึ่งเป็นงานที่น่าภูมิใจมาก • เวลาที่ต้องท�าในสิ่งที่ไม่เคยท�ามาก่อน อย่างแรกคือต้องพยายามเปิดใจ เรียนรู้ จากนั้นจึงใช้ความหมั่นเพียรในการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ซึ่งที่สุดแล้ว สิง่ เหล่านีก้ จ็ ะติดตัวเราไปตลอด เป็นอีกหนึง่ ทักษะทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในการท�างาน • ความกดดั น ในการท� า งานเป็ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ คนท� า งานทุ ก คนอยู ่ แ ล้ ว ไม่ว่าจะท�างานที่ไหนก็ตาม เพราะเวลาท�าอะไรเราก็คงอยากจะท�าให้ดีที่สุด แต่เราไม่เคยมองในแง่ลบ แต่กลับมองว่ามันเป็นตัวกระตุ้นที่ท�าให้เราอยาก พัฒนาตัวเองให้มากขึ้นไปอีก • การจะสร้างความโปร่งใสนั้น นอกจากจะต้องมีกระบวนการตรวจสอบ ที่รัดกุมแล้ว ยังจะต้องเกิดจากการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมให้คน เป็นคนดี และรู้ว่าเงินบริจาคที่ได้มานั้นไม่ใช่ของเรา แต่เป็นของโรงพยาบาล ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องท�าควบคู่กันไป โดยทัศนคติที่ดีเหล่านี้จะช่วยให้เกิดความโปร่งใสได้เป็นอย่างดี • สิ่งที่เราพยายามจะบอกกับทีมงานอยู่เสมอคือ เหตุผลที่เรารับคุณเข้ามา ท�างานเพราะว่าคุณเป็นคนดี ไม่ได้รับเข้ามาเพราะความเก่ง ซึ่งเราคิดว่า ความดีเป็นคุณสมบัตขิ อ้ ส�าคัญทีป่ ลูกฝังกันไม่ได้ แต่ความเก่งสามารถปลูกฝัง ได้ตลอดเวลา • วิธกี ารดูแลทีมงานในแบบของเราคือ ต้องให้ความส�าคัญกับทุกคนเท่าเทียม กันหมด ไม่เคยคิดว่าคนที่ท�างานด้านกลยุทธ์หรือมีต�าแหน่งระดับสูงจะมี ความส�าคัญกว่าคนทีท่ า� งานด้านอืน่ ๆ เพราะเราเชือ่ ว่าความส�าเร็จขององค์กร ต้องเกิดจากพนักงานทุกคนที่ทา� งานร่วมกันเป็นทีม • นอกจากจะต้องดูแลทีมงานทุกคนด้วยความเท่าเทียมแล้ว อีกส่วนทีส่ า� คัญคือ ต้องพยายามท�าให้ทกุ คนได้เติบโตในสายงานของเขาเอง มีทกั ษะทีเ่ พิม่ มากขึน้ หรือแม้กระทั่งชีวิตส่วนตัวของเขาก็ต้องดีขึ้นตามไปด้วย อะไรที่เราสามารถ ส่งเสริมหรือสนับสนุนเขาได้ เราก็ต้องท�าให้เต็มที่ • คุณสมบัติของทีมที่ดีคือ ทุกคนควรจะมีจิตใจที่ดี รู้จักการให้กับคนอื่น
ขณะเดียวกันก็ต้องเป็นผู้รับที่ดีด้วย อีกอย่างคือต้องมีความเข้าใจ ทั้งเข้าใจ ธรรมชาติของตัวเอง เข้าใจธรรมชาติของทีม เข้าใจงาน และสุดท้าย ต้องทุม่ เท ให้กับงานอย่างเต็มที่ • ความคิดสร้างสรรค์เป็นเรื่องส� าคัญในการท�างาน เพราะมูลนิธินี้อยู่มา อย่างยาวนาน ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มเป้าหมายของเราคือผู้สูงอายุที่นิยมท�าบุญ แต่เราก็พยายามที่จะขยายไปยังกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนรุ่นใหม่ เพราะฉะนั้น จึ ง เป็ น ความท้ า ทายว่ า จะผสมผสานความเก่ า และความใหม่ อ ย่ า งไรให้ ออกมาพอดี เป็นตัวตนของเรา สะท้อนคุณค่าและวัฒนธรรมที่ดี แต่ก็ยังต้อง เปิดกว้างกับคนทุกกลุ่มด้วย • ความสุขในการท�างานนี้คือ การรู้สึกว่าตัวเองได้สร้างความเปลี่ยนแปลง ให้กบั สังคมนี้ แม้จะไม่ใช่ความเปลีย่ นแปลงทีม่ ากมายเหมือนกับบุคคลส�าคัญ ต่างๆ แค่เราสามารถใช้ทกั ษะและความสามารถทีม่ อี ยูเ่ พือ่ ส่งมอบชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ให้กับผู้อื่นได้ เท่านี้ก็ถือว่ายิ่งใหญ่มากแล้ว • หลักการท�างานที่เรายึดถือมาโดยตลอดคือ พยายามท�าทุกอย่างให้ดีที่สุด ในทุกวันที่ท�างานต้องท�าให้เสร็จสิ้นและสมบูรณ์แบบในวันนั้น อย่าผัดวันประกันพรุ่ง ท�าให้ดีที่สุดวันนี้เลย จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจในวันข้างหน้า ว่าเราน่าจะท�าได้ดีกว่านี้ • สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการท�างานนี้คือ ทักษะการสื่อสารเป็นเรื่องที่ส�าคัญมาก เพราะงานที่ท�าอยู่ต้องติดต่อสื่อสารกับบุคคลหลายฝ่ายมากๆ ทั้งคนในวัง หน่วยงานราชการ คณะแพทย์ กระทรวงต่างๆ รวมไปถึงผู้บริจาคที่เป็น บุคคลทั่วไป เพราะฉะนั้น เราจึงได้เรียนรู้ทักษะการสื่อสารค่อนข้างเยอะ • ทักษะการสื่อสารที่ดีในความคิดของเราคือ อย่างแรกต้องรู้ว่าผู้ฟังคือใคร เพื่อที่จะได้พูดในแบบที่เขาเข้าใจได้ง่าย อย่างที่สองคือเรามีเวลาเท่าไหร่ และที่ส�าคัญที่สุดคือต้องมีจุดประสงค์ในการพูดที่ชัดเจน ควรเริ่มต้นจาก ความต้องการของเราก่อน มากกว่าจะไปเริ่มต้นจากสิ่งที่เราอยากจะพูด เท่านั้น • เมือ่ เราท�าผิดพลาดทุกครัง้ อย่างแรกทีจ่ ะท�าคือเปิดใจยอมรับว่าตัวเองท�าผิด ส� า หรั บ ที ม งานก็ เ ช่ น กั น ถ้ า ใครท�า อะไรผิ ด ก็ อ ยากจะให้ เ ขาได้ ค�า นึ ง ถึ ง ข้อผิดพลาดของเขา เพื่อที่จะได้น�าไปปรับปรุงวิธีการท�างานในโอกาสต่อไป
Downsize Fitness
ส�าหรับคนที่มีน�้าหนักเกินกว่ามาตรฐาน การเข้าฟิตเนสอาจหมายถึงเรือ่ งคอขาดบาดตาย ที่พวกเขาอยากท�าเป็นล�าดับสุดท้ายในชีวิต เพราะนอกจากจะต้องใช้ความอดทนอย่างหนัก ในการออกก�าลังกายแล้ว บางครั้งอาจต้อง เผชิ ญ กั บ สายตาแปลกๆ จากคนรอบข้ า ง รวมถึงต้องเผชิญกับความน้อยเนื้อต�่าใจใน รูปร่างของตัวเองจนอาจท�าให้หมดก�าลังใจ ในการออกก�าลังกายไปเลยก็ได้ ด้วยความเข้ า อกเข้ า ใจคนน�้ า หนั ก เยอะเป็ น อย่ า งดี Downsize Fitness ศูนย์ออกก�าลังกายที่มี สาขาในเมืองชิคาโก และดัลลัส จึงคิดค้น ฟิตเนสรูปแบบใหม่ที่ใส่ความเป็นมิตรให้กับ คนเจ้าเนื้อ ด้วยการเปิดรับเฉพาะสมาชิกที่มี น�้าหนักเกินกว่ามาตรฐานเท่านั้น เพื่อสร้าง เป็ น ชุ ม ชนคนเจ้ า เนื้ อ ที่ รั ก สุ ข ภาพขึ้ น มา โดยเฉพาะ พร้อมกับสิ่งอ�านวยความสะดวก และเครื่ อ งออกก� า ลั ง กายที่ คั ด สรรมาแบบ เฉพาะกลุ่ม เรียกว่านอกจากจะท�าให้การออกก� า ลั ง กายมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น แล้ ว ยังสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อสภาพจิตใจของ สมาชิกอีกด้วย เท่านัน้ ยังไม่พอ ฟิตเนสแห่งนี้ ยั ง เสนอบริ ก ารเทรนเนอร์ ส ่ ว นตั ว ให้ กั บ สมาชิกทุกคน ซึง่ จะคอยท�าหน้าทีใ่ ห้คา� ปรึกษา พร้อมให้ก�าลังใจกับสมาชิกอย่างใกล้ชิดใน ทุกๆ ครั้งที่มาใช้บริการ รวมถึงการออกแบบ ตารางการออกก�าลังกาย โปรแกรมอาหาร ที่ เ หมาะสมในแต่ ล ะมื้ อ เพื่ อ ผลลั พ ธ์ ที่ ดี ขึ้ น อีกด้วย ถือเป็นบริการเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่ น่าจับตามองเป็นอย่างยิ่ง ใครสนใจไอเดียนี้ ลองแวะไปที่ www.downsizeffiitness.com
BIZ QUOTE BIZ BOOK
No Bullshit Social Media ผู้เขียน : เจสัน ฟอลส์ และ อีริก เด็คเกอร์ส ผู้แปล : นิพัทธ์ ไพบูลย์พรพงศ์ ส�านักพิมพ์ : ทรูไลฟ์ ราคา : 295 บาท
โซเชียลมีเดียถือเป็นความท้าทายใหม่ลา่ สุดทีค่ นท�า ธุรกิจในยุคนี้ต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะมัน กลายเป็นส่วนหนึง่ ในวิถชี วี ติ ของคนยุคใหม่อย่างกลมกลืน ไปเสียแล้ว ขณะทีห่ ลายองค์กรสามารถใช้โซเชียลมีเดีย ได้อย่างชาญฉลาด แต่อกี หลายๆ องค์กรก็ยงั หาทิศทาง ในการใช้โซเชียลมีเดียให้เกิดประโยชน์ไม่เจอ ที่หนัก ไปกว่านัน้ คือบางองค์กรใช้วธิ ลี องผิดลองถูก และผลลัพธ์ ส่วนใหญ่อาจเป็นผิดมากกว่าถูกด้วยซ�า้ ซึง่ หนังสือเล่มนี้ จะช่วยเผยหนทางในการใช้โซเชียลมีเดียแบบพอเหมาะพอดี ไม่เพ้อฝัน ไม่ตามกระแส และเห็นผลได้ทั น ตา ด้วยกลยุทธ์ทไี่ ม่เหมือนใคร โดยกูรตู วั จริงด้านการตลาด โซเชียลมีเดียอย่าง เจสัน ฟอลส์ และ อีริก เด็คเกอร์ส ที่ผสมผสานความจริงใจไม่เสแสร้ง เข้ากับความรู้ด้าน
เทคนิคที่พวกเขามีอยู่ได้อย่างกลมกลืน แถมยังอิงกับ ประสบการณ์ที่พวกเขาได้พบเจอมาโดยตลอด ซึ่งช่วย เพิ่ ม ความน่ า อ่ า นให้ กั บ หนั ง สื อ เล่ ม นี้ ม ากขึ้ น ไปอี ก โดยหนังสือเล่มนี้ประกอบไปด้วย 3 ตอน ที่สุดแสนจะ เข้มข้น ตอนแรกคือ โซเชียลมีเดียมีไว้ส�ำหรับพวกฮิปปี้ แต่ ก ำรตลำดบนโซเชี ย ลมี เ ดี ย มี ไ ว้ ส� ำ หรั บ นั ก ธุ ร กิ จ ตอนที่ 2 คือ โซเชียลมีเดียกับกำรตลำดท�ำงำนร่วมกัน อย่ำงไร? และตอนสุดท้ายคือ ลุกขึ้นมำ แล้วเริ่มลงมือ ท�ำเดี๋ยวนี้! ซึ่งภาษาสนุกๆ ที่แฝงอารมณ์ขันของผู้เขียน ทั้งคู่ อ าจท� าให้ คุณอ่ านแบบรวดเดียวจบโดยไม่รู ้ตัว ไม่ แ น่ คุ ณ อาจกลายเป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการตลาด โซเชียลมีเดียเมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้จบก็เป็นได้
“A GOOD ADVERTISEMENT IS ONE WHICH SELLS THE PRODUCT WITHOUT DRAWING ATTENTION TO ITSELF.” David Ogilvy, an Advertising Executive
27
‘ฟรอยด์’ ยกหนัง ‘พี่มำก... พระโขนง’ รวมสุดยอด สุดโหด สุดเหนื่อย สุดประทับใจ และยำกที่สุดในชีวิต!!
‘ฟรอยด์’ - ณัฏฐพงษ์ ชาติพงศ์ เปิดใจหนังคอเมดีโ้ รแมนติก ‘พีม่ าก... พระโขนง’ ของผูก้ า� กับ ‘โต้ง’ - บรรจง ปิสญ ั ธนะกูล จากค่ายจีทเี อช เป็นหนังทีเ่ หนือ่ ยทีส่ ดุ ยากทีส่ ดุ โหดทีส่ ดุ ประทับใจทีส่ ดุ รวมทีส่ ดุ ของทีส่ ดุ ไว้ในหนังเรื่องนี ้ โดยเผยว่า “ในความโหดมันมีความสนุก ตอนแรกที่พี่โต้งบอกว่าจะมีหนังให้ฟรอยด์เล่นนะ เราก็คิดว่า เออ เหมือนเปิดเทอมได้มาเจอเพื่อนๆ คงสนุกดี ที่ไหนได้เหนื่อยมากครับ พี่โต้งเป็นคนละเอียด ใส่ใจทุกเม็ด แต่ในความหนักของบท ทัง้ ลงน�า้ ลุยดิน เจอสัตว์หลากหลายประเภท กลับกลายเป็นงานทีเ่ ราแฮปปี ้ เพราะภาพออกมาสวยงามมาก โลเคชันสุดยอด เป็นหนังทีท่ า� ให้เราดูด ี ผมยกให้เป็นหนังทีส่ ดุ ของทีส่ ดุ ในชีวิตผมแล้วครับ” เข้าฉาย 28 มีนาคมนี้ ทุกโรงภาพยนตร์
‘ไทย-เจแปน อนิเมะ แอนด์ มิวสิก เฟสติวัล ครั้ ง ที่ 3’ คว้ ำ นั ก ร้ อ งต้ น ฉบั บ เพลง ‘โดรำเอมอน’ เยือนไทย เปิดฟรีคอนเสิร์ต กลำงกรุง!
มิสเตอร์โดนัท จิบิ โด 9 รสโดนใจ
มิสเตอร์โดนัท น�าความอร่อยแบบจิบิ จิบิ กลับมาให้ลมิ้ ลองกันอีกครัง้ ด้วยโดนัทในแบบ พอดีค�า กับ 9 รสชาติฮอตฮิตโดนใจ ให้ได้ อร่อยเพลินเกินไซซ์ กับโดนัทเนื้อแป้ง 3 ชนิด ชนิดละ 3 รสชาติ ได้แก่ เนือ้ แป้งพอน เดอ ริง - จิบิ พอน มอคค่าชังก์, จิบิ พอน ช็อกชังก์, จิบิ พอน ทูโทน / เนื้อแป้งเค้กช็อกโกแลต - จิบ ิ ช็อกเค้ก บานาน่า, จิบิ ช็อกเค้ก ไวต์ช็อก, จิบ ิ ช็อกเค้ก เรนโบว์ / เนือ้ แป้งซากุ ซากุ - จิบิ ซากุ พีนัท, จิบิ ซากุ สตรอเบอรี อัลมอนด์, จิบ ิ ซากุ ไวต์ช็อกโกแลต ในราคาเพียงชิ้นละ 8 บาท หรือเลือกอร่อยเป็นเซตราคาสุดคุ้ม สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ท ี่ www.facebook.com/ MisterDonutThailand
มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ผู้น�ำเครื่องปรับอำกำศเพื่อสิ่งแวดล้อม
มาซาโนริ อุเอะมุระ กรรมการผู้จัดการ บริษัท มิตซูบิช ิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา จ�ากัด พร้อม คณะผูบ้ ริหาร จัดงานแถลงข่าวผลประกอบการ ปี 2555 สามารถท�ายอดขายทะลุ 11,000 ล้านบาท พร้อมประกาศเป้าการขายปี 2556 ที ่ 12,000 ล้านบาท โดยปีนชี้ นู โยบายภายใต้แนวคิด ‘We Change, The World Changes’ ผู้นา� แห่งการเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการเปลี่ยนสารท�าความเย็น ใหม่ R410A ในเครื่องปรับอากาศที่ไม่ท�าลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน ECO Comfort ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์
ขอแนะน�ำ ‘รสนิยม’ รสชำติ ไทยร่วมสมัยที่คุณต้องติดใจ
หากคุณก�าลังมองหารสชาติแบบไทยๆ ในสไตล์ทรี่ ว่ มสมัย เราขอแนะน�าร้านก๋วยจับ๊ ไทย-ญวณ ร่วมสมัย ที่เสิร์ฟก๋วยจั๊บสูตรเด็ดทั้งแบบไทยน�า้ ข้น และน�้าใสแบบเวียดนาม พร้อมเมนูอาหารไทย จานเดียวทานง่ายๆ อย่างข้าวหมูแดง ขนมจีนแกงไก่ ข้าวซอยขลุกขลิก ข้าวน่องไก่ตุ๋นคาราเมล ข้าวพะแนงไก่ ฯลฯ ในราคาเบาๆ พร้อมบรรยากาศและการตกแต่งร้านสไตล์ยอ้ นยุคแบบมีรสนิยม พิสจู น์ความอร่อยได้แล้ววันนีท้ ี่ ดิ อะเวนิว รัชโยธิน, สยามพารากอน ชัน้ G, พาราไดซ์พาร์ก ชัน้ 3, ฟิฟตี้ฟิฟท์ ทองหล่อ ซอย 2, ออลซีซันเพลซ ชั้น 2 และสีลมคอมเพล็กซ์ ชั้น G
ประสบความส�าเร็จอย่างต่อเนือ่ งจนก้าวเข้าสูป่ ที ี่ 3 แล้ว ส�าหรับ ‘ไทย-เจแปน อนิเมะ แอนด์ มิวสิก เฟสติวลั ’ ทีม่ เี ป้าหมายในการน�าเงินรายได้ไปร่วมบริจาค ให้กับองค์กรหรือมูลนิธิช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสใน ประเทศไทย โดยปีนไี้ ด้รบั การสนับสนุนอย่างเต็มรูปแบบ จากบริษัท ไทยประกันชีวิต จ�ากัด (มหาชน) และ ด�า เนิน การจัด งานโดยบริษัท จี- ยู ครีเ อทีฟ จ�า กัด ไฮไลต์ในการจัดงานครั้งล่าสุดที่จะก�าลังจะเกิดขึ้นนี ้ ศิลปินญี่ปุ่นเจ้าของเสียงร้องต้นฉบับเพลงไตเติลของ แอนิเมชันในต�านานอย่างการ์ตูนเรื่อง ‘โดราเอมอน’ คือ คุมิโกะ โอสึกิ ได้ตอบรับอย่างเป็นทางการแล้ว ที่จะขึน้ ร้องเพลงบนเวทีนอกประเทศญีป่ นุ่ เป็นครัง้ แรก ของเธอที่เมืองไทย นอกจากนี้ยังมีเหล่าศิลปินเพลง อนิ เ มะขั้ น เทพที่ เ ตรี ย มลั ด ฟ้ า มาร่ ว มขบวนเพิ่ ม พู น ความสนุกกันในงานนี้ด้วย ได้แก่ มาซาอากิ เอนโดะ, ฮิโรชิ คิทาดานิ ร่วมด้วย คาซึมิ (Kazumi) ศิลปินสาว จากค่ายโซนีมิวสิก ก็จะมาร่วมสร้างสีสันกับเพลง การ์ตูนดังอีกมากมายเช่นกัน งานนี้ชมฟรีตลอดงาน 2 วันเต็ม เสาร์ที่ 30 และอาทิตย์ที่ 31 มีนาคมนี้
THE WORDS
29
“There is a saying in Tibetan, ‘Tragedy should be utilized as a source of strength.’ No matter what sort of difficulties, how painful experience is, if we lose our hope, that’s our real disaster.”
มีคาำ กล่าวในภาษาทิเบตทีบ่ อกว่า ความโศกเศร้าควรถูกแปรให้กลายเป็นแหล่งกำาเนิดความแข็งแกร่ง ไม่วา่ จะพบเจอความยากลำาบาก แบบไหน ไม่ว่าจะมีประสบการณ์ที่เจ็บปวดอย่างไร ต่อเมื่อเราสูญเสียความหวังไปแล้ว นั่นแหละจึงจะเป็นความพินาศที่แท้จริง -Dalai Lama
“Lies run sprints, but the truth runs marathons.” คำาโกหกจะวิ่งระยะสั้น แต่ความจริงจะวิ่งระยะไกล
-Michael Jackson
“Life is problems. Living is solving problems.” ชีวิตคือปัญหา และการใช้ชีวิตก็คือการแก้ปัญหา
-Raymond E. Feist
“We live in an age when unnecessary things are our only necessities.” เราต่างก็อยู่ในยุคที่บรรดาสิ่งที่ไม่มีความจำาเป็น กลายเป็นความจำาเป็นที่ชีวิตต้องมี -Oscar Wilde
“Our ability to adapt is amazing. Our ability to change isn’t quite as spectacular.” ความสามารถในการปรับตัวของคนเราเป็นเรื่องมหัศจรรย์ แต่ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงของเราไม่ ได้โดดเด่นเป็นพิเศษแต่อย่างใดเลย -Lisa Lutz
“If you want to make God laugh, tell him about your plans.” ถ้าคุณอยากทำาให้พระเจ้าหัวเราะละก็ ไปบอกพระองค์ถึงแผนการในชีวิตของคุณสิ -Woody Allen
“The most common form of despair is not being who you are.”
“Each time we don’t say what we wanna say, we’re dying.”
-Soren Kierkegaard
-Yoko Ono
ความสิน้ หวังในรูปแบบธรรมดาสามัญทีส่ ดุ ก็คือการไม่ได้เป็นอย่างที่คุณเป็น
ทุกๆ ครั้งที่เราไม่ได้พูดในสิ่งที่เรา อยากจะพูด เราก็กาำ ลังจะตายไปเรือ่ ยๆ
30
THE GUEST
THE WAY HOME
ความแตกต่างระหว่างวิธกี ารสอนของครูชาวต่างชาติกบั ครูไทยคือ... ในบ้านเรามักจะสอนเพือ่ เน้น ผลลัพธ์สุดท้าย เช่น วัดกันที่เกรดหรือวิทยานิพนธ์ แต่ในต่างประเทศเขาจะสอนโดยเน้นสิ่งที่เกิดขึ้น ระหว่างทางทีจ่ ะไปถึงจุดหมาย และสอนให้นกั เรียนได้สา� รวจความคิดของตัวเองแล้วลองท�างานชิน้ เล็กๆ ระหว่างทางก่อนทีจ่ ะท�างานชิน้ ใหญ่ชนิ้ สุดท้าย ซึง่ ก็ทา� ให้เราได้คน้ พบว่าการท�าวิจยั เพือ่ ท�าโปรเจ็กต์นนั้ ไม่จา� เป็นต้องท�าเป็นงานเอกสารหรือศึกษาแนวทางของคนอืน่ เสมอไป แต่สามารถท�าวิจยั ไปพร้อมกับ ลงมือท�าโปรเจ็กต์นั้นๆ ได้เลย เพราะถึงแม้การลงมือท�างานบางอย่างอาจไม่ใช่เรื่องที่เกี่ยวข้องกับ โปรเจ็กต์หลัก แต่เราก็จะค้นพบอะไรบางอย่างจากงานชิ้นเล็กๆ ระหว่างท�าอยู่เสมอ สิง่ ทีจ่ ดุ ประกายให้เราท�าหนังสารคดีบนั ทึกการเดินทางด้วยรถไฟจากอังกฤษกลับประเทศไทย คือ... เราได้อ่านหนังสือ ดาวหางเหนือทางรถไฟ ของ ‘พี่ก้อง’ - ทรงกลด บางยี่ขัน พออ่านจบแล้ว ก็รสู้ กึ ว่าอยากท�าแบบนี้ สอดคล้องกับตอนนัน้ เราอยูท่ อี่ งั กฤษพอดี เลยคิดว่าเรานัง่ รถไฟกลับกรุงเทพฯ กันไหม ซึง่ ตอนแรกก็คดิ ว่าจะไปเทีย่ วอย่างเดียว แต่ไหนๆ ก็ไปแล้ว เลยตกลงกันว่าถ้าอย่างนัน้ ก็ทา� เป็น โปรเจ็กต์จบด้วยเลยดีกว่า สิง่ ทีค่ าดไว้กอ่ นการเดินทางแตกต่างจากสิง่ ทีเ่ ราไปเจอมาก... คือเราคิดว่าหนังเรือ่ งนีจ้ ะเป็นเรือ่ งราว ของการเดินทางทีส่ มบุกสมบัน เพราะเราจะออกไปจาก safe zone ของตัวเอง เพือ่ ทีจ่ ะได้เติบโตหลังจาก จบทริปนีร้ าวกับเปลีย่ นเป็นคนใหม่ เรือ่ งนามธรรมมากมายถูกเขียนลงในรายงานของเรา ทุกอย่างฟังดู ยากมาก แต่เมื่อออกเดินทางจริงๆ เรากลับรู้สึกว่าการเติบโตของคนเราไม่สามารถบอกได้ชัดเจน เป็นขาวกับด�าขนาดนั้น เราไม่สามารถบอกได้เมื่อเท้าเหยียบถึงกรุงเทพฯ ว่าเราโตขึ้นแล้ว เพราะการโตขึน้ มันเป็นเรื่องที่ไม่ได้เกิดขึ้นทันทีทันใด แต่เราคิดว่ามันเกิดขึ้นหลังจากจบทริปไป 1-2 ปี เมื่อเกิด การตกตะกอนอะไรบางอย่างแล้วมองย้อนกลับไป จุดนี้แหละที่เรารู้สึกว่าเราโตขึ้นจริงๆ สิ่งที่คนดูจะได้เห็นในหนังเรื่องนี้คือ... การสะท้อนความสัมพันธ์ของเราสองคนที่เป็นพี่น้องฝาแฝด แบบชีวิตจริง ไม่ใช่การแสดงหรือแต่งขึ้น จะไม่มีเนื้อเรื่องแบบตอนแรกโกรธกัน จบลงที่รักกัน แต่หนัง ของเราจะโชว์โมเมนต์เล็กๆ ของเราสองคน อย่างเช่น วิธกี ารทีเ่ ราคุยกันมากกว่า เพราะด้วยความทีเ่ รา เป็นฝาแฝด ความสัมพันธ์จึงอยู่กึ่งกลางระหว่างเพื่อนกับพี่น้อง ซึ่งถึงเวลาที่เราถ่ายท�ากันจริงๆ สิ่งที่ เขียนอธิบายในรายงานไม่ได้มีผลกับเราเลย เราทิ้งมันไปแล้วปล่อยตัวเองให้เจอกับสิ่งต่างๆ ตรงหน้า ช่วงเวลาทีช่ อบทีส่ ดุ ในการเดินทางครัง้ นีค้ อื ... ตอนทีม่ าถึงลาว ทัง้ ๆ ทีค่ าดหวังมาตลอดว่าเส้นทาง สายไซบีเรียจะต้องสวยมาก แต่ด้วยความที่ระหว่างทางมีความกังวล มีคนล้วงกระเป๋า เราจึงไม่ ปล่อยวาง ท�าให้เราไม่มีความสุข แต่ส�าหรับลาว พอนั่งดูวิวระหว่างทางแล้วรู้สึกว่าสวยจังเลย ทั้งที่ เป็นประเทศทีใ่ กล้บา้ นของเรามาก ซึง่ มันก็อาจเป็นผลมาจากทีแ่ ห่งนีม้ นั ให้ความรูส้ กึ ทีใ่ กล้กบั ความคุน้ ชิน ของเรา เราเริ่มสื่อสารกันรู้เรื่อง มีบรรยากาศป่าดิบชื้นเหมือนเมืองไทย เราเลยรู้สึกผ่อนคลายและมี ความสุขมากขึ้น ช่วงเวลาที่แย่ที่สุดในการเดินทางครั้งนี้คือ... ตอนที่เราต้องนั่งอยู่ในรถไฟติดต่อกันเป็นเวลา 5 วัน เส้นทางจากมอสโก เมืองหลวงของรัสเซีย ไปยังอีร์คุตสค์ เมืองเล็กๆ ในไซบีเรีย ซึ่งบังเอิญเราได้ เพื่อนร่วมห้องไม่ดี จึงรู้สึกอึดอัดแต่ก็ไปไหนไม่ได้ 5 วันในนั้นเลยรู้สึกนานเหมือน 5 ปี (หัวเราะ) พอถึง วันสุดท้ายก็รู้สึกว่าไม่ไหวแล้ว อากาศอึดอัดมาก อยากจะหลุดไปจากตรงนั้นเสียที ร่างกายต้องการ อากาศและอาหารดีๆ แล้ว ค�าถามทีเ่ จอบ่อยหลังจากเดินทางมาถึงกรุงเทพฯ คือ... ‘สนุกไหม’ แต่มนั เป็นเรือ่ งทีเ่ ราตอบไม่ได้ เพราะตลอด 1 เดือนที่เดินทาง มันมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเยอะมาก บางวันก็มีทั้งเรื่องดีมากและแย่มาก อยู่รวมกัน จึงหาค่าเฉลี่ยของความรู้สึกไม่ได้ อย่างครึ่งแรกของการเดินทางช่วงลอนดอนถึงมองโกเลีย เรารู้สึกว่าเราหัวฟัดหัวเหวี่ยงกับทุกเรื่องที่พบเจอ เมื่อเกิดอะไรขึ้นอารมณ์ก็พุ่งพล่าน เช่น โมโหที่ถูก คนล้วงกระเป๋า แต่ความจริงเขาก็ไม่ได้อะไรไป หรือถูกแท็กซี่โกงก็โมโหและไปทวงเงินคืนมาจนได้ แต่เมื่อเทียบเป็นเงินไทยก็แค่ 11 บาท เท่านั้น พอถึงครึ่งทางหลังเราก็ปรับอารมณ์ได้ดีขึ้น หรืออาจ เป็นเพราะเราเหนื่อยที่จะคิดก็ได้ พอคิดแล้วไม่เป็นสุขจึงเหนื่อยที่จะคิด ถูกโกงนิดหน่อยก็ไม่เป็นไร ท�าให้เรารู้สึกเบาขึ้น การมองวิวข้างทางของลาวในช่วงท้ายของการเดินทางจึงสวยเป็นพิเศษ สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเดินทางครั้งนี้คือ... เรื่องราวในชีวิตมันเป็นวัฏจักร เดี๋ยวก็ทุกข์ เดี๋ยวก็สุข คือตอนทีเ่ ราไปเทีย่ ว เรามีการพล็อตกราฟความสุขในแต่ละวันว่าเราให้คะแนนความสุขตลอดวันทีผ่ า่ นมา เท่าไหร่ พอท�าแบบนี้ครบ 30 วัน ก็พบว่ากราฟของเราผันผวนมาก ขึ้นๆ ลงๆ ตลอดเวลา ท�าให้เราคิด ได้วา่ ความทุกข์กบั ความสุขอยูค่ กู่ นั เสมอ จากเดิมทีม่ กั คิดว่าความทุกข์กบั ความสุขเป็นสิง่ ทีอ่ ยูข่ วั้ ตรงข้าม กัน แต่เมื่อระยะเวลาถูกถ่างออก เรามองจากมุมที่กว้างขึ้น จึงบอกได้ว่าสองสิ่งนี้เป็นของคู่กัน ถ้าเรา ไม่ลา� บาก ไม่อดๆ อยากๆ มาตลอดทางก่อนทีจ่ ะมาถึงจีน ของกินเล็กๆ น้อยๆ ทีเ่ ราได้กนิ ตอนอยูท่ จี่ นี ก็คงไม่มคี ณ ุ ค่าหรือให้ความสุขกับเราได้ขนาดนี้ ความทุกข์จงึ เป็นสิง่ ทีเ่ สริมความสุข ในขณะทีค่ วามสุข ก็เสริมความทุกข์ด้วย คือบางครั้งเราอาจจะสุขส�าราญมานาน พอเจอทุกข์นิดเดียวจึงไปไฮไลต์กับ มันมาก จนบางครั้งก็เป็นทุกข์มากกว่ามูลค่าความเป็นจริงของมัน เราสองคนไม่สามารถเรียกตัวเองว่าเป็นผูก้ า� กับได้อย่างเต็มปาก... เพราะทีเ่ ราท�าหนังเรือ่ งนีข้ นึ้ มา ก็เพราะเราอยากเห็นสิ่งเหล่านี้ในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว เราจึงลงมือท�า คือเราคิดว่าถ้าใครอยาก ท�าหนังแล้วลงมือท�า คุณจะได้ทา� แต่ถา้ คุณคิดว่าอยากเป็นผูก้ า� กับเพือ่ จะได้ทา� หนังของตัวเองสักเรือ่ ง มันก็อาจไปถึงได้ยากกว่า ซึ่งความจริงแล้วเราคิดว่าเราควรท�าแบบนี้กับทุกอย่างในชีวิต คือถ้าอยาก ท�าอะไรก็ต้องพาตัวเองไปใกล้ชิดกับสิ่งนั้น
เรื่อง : อาทิตยา อาศิรวาท ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี
เรามักได้ยนิ บ่อยๆ ว่า ถ้าอยากให้ชวี ติ ไม่หยุดอยูก่ บั ทีก่ ็ให้กระตุน้ ตัวเองด้วยการตั้งค�าถามและหาค�าตอบ แต่การตอบค�าถามกับตัวเอง หลายครัง้ โดยไม่ได้ลงมือท�าอะไรเลย ก็คงมีคา่ ไม่มากเท่ากับการลงมือท�า ให้ความคิดที่ล่องลอยอยู่ในอากาศของเราเป็นจริงได้ เช่นเดียวกับ แวววรรณ และ วรรณแวว หงษ์วิวัฒน์ คู่พี่น้องฝาแฝดที่ไม่ปล่อยให้ ความตัง้ ใจเป็นเพียงความคิดที่ไม่มตี วั ตน ภาพยนตร์ขนาดยาวเรือ่ งแรก ในชีวิตของทั้งคู่จึงถูกบันทึกบนแผ่นฟิล์ม จากค�าถามเริ่มต้นง่ายๆ แต่ทา้ ทายสุดๆ ว่า ‘จะเป็นยังไงถ้าเราจะเดินทางกลับบ้านจากลอนดอน ถึงกรุงเทพฯ ด้วยรถไฟ ในระยะเวลา 1 เดือน’
THEIR WAYS
• ‘แวว’ - แวววรรณ และ ‘วรรณ’ - วรรณแวว หงษ์วิวัฒน์ เป็นพี่น้องฝาแฝดจากรั้วจามจุรี โดยวรรณแววจบการศึกษา จากคณะนิเทศศาสตร์ ส่วนแวววรรณเรียนจบจากคณะเศรษฐศาสตร์ หลังจากนั้นประมาณ 1 ปี ด้วยความสนใจที่จะ เรียนต่อด้านภาพยนตร์ ประกอบกับเริม่ เบือ่ หน่ายกับการท�างานทีไ่ ม่ใช่ตวั เอง ทัง้ คูจ่ งึ ตัดสินใจไปเรียนต่อด้านภาพยนตร์ ที่ University for the Creative Arts ระหว่างเรียนก็ได้ท�าภาพยนตร์สั้นออกมาหลายเรื่อง เช่น ‘คืนวันเสาร์’ ซึ่งได้รางวัล รองชนะเลิศสาขาช้างเผือก ในเทศกาลหนังสั้นครั้งที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2549 เป็นต้น • ล่าสุดทัง้ คูย่ งั ได้ทา� ภาพยนตร์เรือ่ งยาวเรือ่ งแรกในชีวติ ออกมา นัน่ คือ ‘Wish Us Luck ขอให้เราโชคดี’ ภาพยนตร์สารคดี ว่าด้วยการเดินทางกลับบ้านจากอังกฤษสู่กรุงเทพฯ ด้วยรถไฟตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็ม โดยหนังเรื่องนี้ยังเป็น ส่วนหนึง่ ของโปรเจ็กต์ภาพยนตร์สา� หรับการเรียนปริญญาโทปีสดุ ท้ายของเธอทัง้ สองอีกด้วย ติดตามภาพยนตร์ฝมี อื ของ สองสาวนักเดินทางได้ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคมนี้เป็นต้นไป ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ เท่านั้น