ISSUE 248 19 - 25 APRIL 2012
ISSUE 248, 19 - 25 APRIL 2013
Books and The Way We Read สัปดาห์หนังสือผ่านพ้นไปแล้ว ใครเป็นหนอนหนังสือก็คงอิ่มตาอิ่มใจกับการหยิบจับ ค้นคุ้ยหนังสือหนังหาที่แต่ละส�านักพิมพ์คัดสรรกันมาปล่อยของเต็มที่ มีเวลาได้หยิบจับ ลองอ่าน และสุดท้ายก็กอบโกยหนังสือที่อยากได้กันมาเป็นตั้งๆ เพื่อจะเอากลับมาตั้งต่อที่บ้านอีกหลายเดือนกว่าจะได้อ่าน ราวกับมันเป็นฤดูกาล แห่งการเปลีย่ นทีต่ งั้ หนังสืออย่างนัน้ แหละ แต่ถงึ พฤติกรรมการใช้ชวี ติ ของพวกเราจะวนเวียนน่าเพลียอยูแ่ บบนี้ แต่สดุ ท้ายเราก็ยงั มีความสุขทุกครัง้ ทีไ่ ด้อยูก่ บั สิง่ อันเป็น ทีร่ กั และมีคณ ุ ค่ายิง่ ใหญ่เกินบรรยายอย่างหนังสือ ยิง่ ส�าหรับผูเ้ ขียนแล้ว การทีเ่ ติบโตและมีหน้าทีก่ ารงานได้อย่างทุกวันนี้ คงต้องยกประโยชน์โดยตรงให้กบั หนังสือหนังหา ทุกเล่มที่เคยได้อ่าน เพราะถ้าชีวิตนี้ไม่ได้มีนิสัยรักการอ่าน คงเลือกทางเดินของชีวิตแตกต่างไปจากนี้มาก และนึกไม่ออกเหมือนกันว่าตอนนี้จะไปนั่งอยู่ที่ไหนในโลก โดยทั่วไป คนที่รักหนังสือจะมีนิสัยคล้ายๆ กันคือ เป็นคนมักน้อยและมักมากในเวลาเดียวกัน มักน้อยเพราะว่าแค่มีหนังสือดีๆ สักเล่ม เราก็นั่งอยู่ได้เป็นวัน และไม่ตอ้ งการความบันเทิงอะไรอีก ส่วนทีม่ กั มากคือ มันมักจะซือ้ มาทีละมากๆ และต้องการพืน้ ทีเ่ ก็บมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะหนังสือดีๆ รอให้ซอื้ อยูท่ กุ วัน ซือ้ เท่าไหร่กไ็ ม่หมด แม้เราจะไม่มเี วลาอยูใ่ นโลกนีน้ านพอทีจ่ ะอ่านหมดก็ตามเถอะ และเพราะเป็นคนทีร่ กั หนังสือมากแบบนีเ้ อง ต่อให้วนั ไหนไม่ได้อา่ นก็ยงั มีความสุขทีไ่ ด้เห็นหนังสือวางอยูเ่ ต็มชัน้ และได้หยิบเล่มนั้นเล่มนี้มาพลิกๆ ดู อ่านทีละนิดละหน่อยก็ยังดี ส�าหรับเรา หนังสือจึงเป็นเหมือนทุกอย่าง เหมือนครู เหมือนเพื่อน เหมือนที่ปรึกษา เหมือนที่พักใจ สารพัดจะเป็น และถ้าลองสังเกตดู จะพบว่าหนังสือนี่แหละมักจะถูกน�ามาเปรียบเทียบกับจิตใจคนอยู่บ่อยๆ เหตุผลหนึ่งอาจเป็นเพราะมันต้องอาศัยการ ‘อ่าน’ และ การ ‘ท�าความเข้าใจ’ คล้ายๆ กัน ดังนัน้ การเจอหนังสือแต่ละเล่มจึงเหมือนการได้เจอคนทีน่ สิ ยั แตกต่างกัน บางคนเหมือนหนังสือทีอ่ า่ นยาก อ่านเท่าไหร่ก็ไม่รู้ว่าต้องการ จะสื่อสารอะไร อ่านไปก็พักไป รู้สึกเหน็ดเหนื่อยกับการท�าความเข้าใจเหลือเกิน เมื่อเจอหนังสือประเภทนี้ หลายคนเลือกที่จะเลิกอ่านและไม่ยอมอ่านแนวนีอ้ กี เลย เรียกว่าสาปส่งเลยก็วา่ ได้ แต่บางคนเลือกทีจ่ ะพักการอ่านไว้ชวั่ คราว และยอมรับแต่โดยดี ว่าบางทีเราอาจจะยังไม่มปี ระสบการณ์มากพอทีจ่ ะเข้าใจ ไม่มเี วลามากพอทีจ่ ะรอ ท�าความเข้าใจ วันนีอ้ าจจ�าเป็นต้องเก็บขึน้ ชัน้ ไว้กอ่ น ถ้าวันหนึง่ ข้างหน้ายังสนใจอยู่ ก็อาจจะหยิบมาอ่านอีกครัง้ แต่ถา้ วันนัน้ หมดความสนใจหรือความคิดความอ่าน เปลี่ยนไปจากเดิมจนเกินจะนั่งอ่านหนังสือเล่มเดิมได้ ก็เป็นอันว่าคงต้องยกให้คนอื่นไป ถือซะว่าครั้งหนึ่งเราเคยเจอกัน เคยรู้จักและพยายามท�าความเข้าใจอย่าง สุดความสามารถแล้ว เมือ่ พยายามแล้วไม่มวี นั เข้าใจกันได้ การจากลาอาจเป็นหนทางทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ทีเ่ ราจะได้ตา่ งใช้เวลาทีเ่ หลือในชีวติ หาหนังสือที่น่าอ่านกว่านี้ต่อไป ในทางตรงกันข้าม คนบางคนก็เหมือนหนังสือทีย่ งิ่ อ่านก็ยงิ่ สนุก ยิง่ ค้นพบสิง่ ทีไ่ ม่เหมือนเดิมทุกครัง้ แม้จะอ่านซ�้ามากีส่ บิ ครัง้ แล้วก็ตาม หนังสือแบบนีจ้ ะเป็น หนังสือทีเ่ ราหวงและเลือกเก็บไว้อา่ นไปตลอดชีวติ แล้วมันก็เป็นบางเล่มอีกนัน่ แหละทีต่ อ่ ให้เคยหวงแหนมากแค่ไหน แต่วนั หนึง่ เราก็จะเติบโต และมีความคิดทีเ่ ปลีย่ นไป จนอาจจะไม่ต้องการอ่านหนังสือเล่มเดิมนั้นอีกแล้ว ถึงวันนั้นเราอาจจะต้องตัดใจให้คนอื่นที่อยากอ่านต่อไป แต่เราก็จะไม่เคยลืมว่าครั้งหนึ่งหนังสือเล่มนี้เคย เปลี่ยนแปลงตัวเราจากคนหนึ่งเป็นอีกคนหนึ่งได้อย่างที่ไม่เคยมีใครท�าได้ ต้องยอมรับว่าช่วงชีวิตหนึ่งของเราสั้นเกินไปที่จะอ่านหนังสือได้ครบทุกเล่ม เช่นเดียวกับที่เราไม่สามารถอ่านคนได้หมดทุกคน เพราะในโลกนี้มีหนังสือ มากมายหลายล้านเล่มที่เราคงไม่มีวันได้เจอ และไม่มีวันได้อ่าน ขณะเดียวกันก็ยังมีหนังสือดีๆ อีกมากมายหลายเล่มที่เรามีโอกาสได้เจอ ได้ครอบครอง แต่เรายัง ไม่มีเวลาอ่านได้จนจบ มีหนังสือมากมายที่ยิ่งอ่านก็ยิ่งไม่อยากให้จบ เพราะมีเสน่ห์ชวนให้ติดตามไปเรื่อยๆ รวมทั้งมีอีกหลายเล่มที่อ่านแล้วน่าเบื่อจนแทบจะเดา ตอนจบได้ และแม้นิสัยใจคอของคนจะมีหลายแง่มุมที่คล้ายกับหนังสืออย่างที่บอกไป แต่คนกับหนังสือจะไม่มีวันเหมือนกันเลยก็ตรงที่ถ้อยค�าในหนังสือจะคงอยู่ เช่นนัน้ และไม่มวี นั เปลีย่ นแปลง แต่ถอ้ ยค�าทีอ่ อกมาจากปากคนบางคนสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตลอดเวลา วันนีพ้ ดู แบบหนึง่ พรุง่ นีอ้ าจจะพูดอีกแบบหนึง่ พูดกับคนนี้ แบบหนึง่ แต่ไปพูดกับคนนั้นอีกแบบหนึ่ง และสามารถเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ไม่มีวันสิ้นสุด ยึดถืออะไรเป็นจริงเป็นจังกับสิ่งที่พูดไม่ได้เลย หนังสือที่คาดเดาตอนต่อไปไม่ได้แต่อย่างน้อยก็มีแก่นแท้ให้จับต้องได้ น่าสนใจกว่าคนที่คาดเดาไม่ได้เพราะไม่รู้ว่าอะไรคือตัวตนที่แท้จริงให้ควรจับต้อง อย่างแรกอ่านแล้วสนุก แต่อย่างหลังมันเหนื่อยเกินกว่าจะอ่าน
ปีที่ 5 ฉบับที่ 248 วันที่ 19 - 25 เมษายน 2556
วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter:@khaopan, www.facebook.com/adaybulletin
08 GOODNEWS
14
ติ ด ตามข่ า วสารดี ๆ รอบโลกประจ�าสัปดาห์ ได้ในห้องข่าวแห่งนี้
08
20
46 ห ลั ง จ า ก ที่ ติ ด ต า ม a d a y BULLETIN มาได้ สักพักใหญ่ๆ เป็นเวลา กว่า 3 ปี ผมก็มขี อ้ ติชมและอยากเสนอแนะ กั บ ท า ง นิ ต ย ส า ร นั่ น คื อ ในส่ ว นของ
14 INTERVIEW
มาส�ารวจความเจริญ เติ บ โตของบ้ า นเมื อ ง ไ ป กั บ มุ ม ม อ ง ข อ ง สมิตร โอบายะวาทย์ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
20 A MUST
สารพัดสิ่งที่เราคัดสรร มาฝากแบบ A Must พลาดแล้ ว จะหาว่ า ไม่เตือน
22 SHOPPING
ออกสตาร์ทด้วยสไตล์ ก่ อ นจะไปออกก�า ลั ง กายให้ ร ่ า งกายฟิ ต แอนด์เฟิร์มด้วยเสื้อผ้า เก๋ๆ ที่จะท�าให้คุณรู้สึก กระปรี้กระเปร่า
27 CALENDAR
ใคร ท� า อะไร ที่ ไ หน เช็กดูได้ สุดสัปดาห์นี้ จะได้ไม่พลาดเรื่องราว สนุกๆ
30 HOME MADE
เยี่ ย มบ้ า นที่ น� า มาซึ่ ง ความภาคภู มิ ใ จของ ‘ขนมจี น ’ - กุ ล มาศ ลิ ม ป วุ ฒิ ว ร า น น ท ์ ศิลปินสาวเสียงดีจาก ค่าย Kamikaze
32 36 44 46 HEALTH ALL ABOUT THE WORDS THE GUEST AND HEART BIZ ทุ ก ถ้ อ ยค� า มี ค วาม- ท�าความรู้จักกับ ไอรีล รวมสาระความรู ้ ที่ จ ะ ท� า ใ ห ้ คุ ณ แ ข็ ง แ ร ง ทั้งกายและใจ
30
ค ้ น พ บ เ ส ้ น ท า ง สู ่ ความส�าเร็จในแบบของ ชั ย ฤทธิ์ สิ ม ะโรจน์ กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ซั ส โก้ จ� า กั ด (มหาชน)
เนื้อหาภาพรวมของ a day BULLETIN ส�าหรับผม ถื อ ว่ า โอเคแล้ ว ที่ บ ทสั ม ภาษณ์ น� า คนที่ เ ข้ า กั บ กระแสหรือเรื่องฮิตๆ ในช่วงนั้นมาน�าเสนอ แต่สิ่งที่ อยากให้มีเพิ่ม เติมคือ ข่ า วแปลกๆ ข่ า วเกี่ย วกับ เทคโนโลยี และเนื้อหาเกี่ยวกับไลฟ์สไตล์อย่าง การกิน ดื่ม เที่ยว ที่อ ยากให้ มีม ากขึ้นกว่ าเดิม เพราะคิดว่าคนอ่านส่วนใหญ่ซึ่งเป็นคนวัยท�างาน น่าจะชอบ และผมเองก็ชอบด้วย ส่วนที่เรื่องที่ 2
หมายและคุณค่าเสมอ ค้นหาได้ในหน้านี้
ไตรสารศรี หญิงแกร่ง ผู ้ ห ายขาดจากมะเร็ ง เต้านม ผูก้ อ่ ตัง้ โครงการ ART.for.CANCER
คือขนาดของรูปเล่ม ผมอยากให้ a day BULLETIN มีขนาดเล็กลงกว่านี้หน่อย เพราะขนาดที่เป็นอยู่ ตอนนี้ผมคิดว่าใหญ่เกินไป -สุพล วิเศษพจนกิจ
ส่งความคิดเห็น ค�าติ-ชม หรือข้อเสนอแนะทีม่ ตี อ่ a day BULLETIN ได้ที่ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 3 ซอย เจริญมิตร ถนนสุขุมวิท 63 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 หรือทางอีเมล adaybulletin08@gmail.com กรุณาเขียนชื่อ-นามสกุลจริงและที่อยู่มากับจดหมาย เพื่อ ความสะดวกในการจัดส่งของรางวัลไปให้ และบรรณาธิการ ขออนุญาตตัดทอนจดหมายตามสมควร
พิเศษ! จดหมายที่ได้รับเลือกลงตีพิมพ์ในช่วงเดือนนี้ จะได้รบั หนังสือดีๆ จากส�านักพิมพ์ ส่งไปให้ถงึ บ้าน
ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอีย่ ม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา ซีเนียร์ไรเตอร์ เพ็ญนภา อุตตะมัง กองบรรณาธิการ เอกพล บรรลือ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ อาทิตยา อาศิรวาท บรรณาธิการภาพ นิติพัฒน์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม นราธิป บุญเรือง กิตติ ศรีวเิ ชียร พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ฝ่ายผลิต ศิริ ศิรจิ รรยากุล ทีป่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูอ้ า� นวยการกลุม่ โฆษณา อุบลวรรณ จรเจริญสุข ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา นิชาภา สารพันธ์ 08-1812-0606, ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 08-6378-6037 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 08-1859-8851, โสรดา มิใย 08-9969-6611 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-9662-7073, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 08-9170-6001, วิชยุตม์ โชติวาณี 08-0776-6868, รวงรัชต์ ด้านเทาลา 08-1412-9478 เลขานุการฝ่ายโฆษณา วรินทร ผาเวช นราทร แก้วเก่า ผู้จัดการ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 3 ซอยเจริญมิตร ถนนสุขุมวิท 63 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2203-1040 อีเมล adaybulletin08@gmail.com ติดต่อฝ่ายโฆษณา โทร. 0-2203-1040 ต่อ 801, 802, 803, 804, 805, 807 แฟกซ์ 0-2203-1040 ต่อ 811 เว็บไซต์ www.daypoets.com/adb ฝ่ายสมาชิก นริศรา เปยะกัง โทร. 0-2726-9996 ต่อ 11, 12, 49 นักศึกษาฝึกงาน อารียา ผุดผ่อง
06
THE DATABASE ที่มา : www.csmonitor.com
10 ประเทศที่ประชาชนยอมรับว่าการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน
96%
94%
91%
91%
91%
91%
89%
87%
87%
85%
เกาหลีใต้
เม็กซิโก
บราซิล
ไทย
ตุรกี
อเมริกากลาง
ชิลี
จีน
โปรตุเกส
ไนจีเรีย
THE POLL
ที่มา : กรุงเทพโพล
ความคิดเห็นต่อมาตรการเร่งด่วนที่เคยประกาศหาเสียงไว้ของผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ หม่อมราชวงศ์ สุขุมพันธุ์ บริพัตร ที่อยากให้ท�าด่วนที่สุดเป็นอันดับแรกหลังเข้ารับต�าแหน่ง อันดับ 1
การติดตั้งกล้อง CCTV และไฟส่องสว่างเพิ่ม
63.9%
อันดับ 2
โครงการจัดตั้ง อาสาสมัครชุมชน เพื่อเฝ้าระวังภัย และยาเสพติด
43.1%
อันดับ 3
การปรับลดค่าโดยสาร รถไฟฟ้า BTS และ BRT
41.6%
9.7 ล้านคน
พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ประเทศฝรั่งเศส คือพิพิธภัณฑ์ ที่ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาเยื อ นมากที่ สุ ด ในโลก โดยตลอดปีที่ผ่านมามีผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ มากถึง 9.7 ล้ า นคน มากกว่ า ปี ก ่ อ นหน้ า ถึง 1 ล้านคน ที่มา : www.bbc.co.uk
อันดับ 4
การเพิ่มบริการ เก็บขยะไม่ให้ค้าง ในชุมชน
41.0%
อันดับ 5
โครงการ ฟรีไฮสปีด ไว-ไฟ 4 Mbps 5,000 จุด
FREE WIFI 31.8%
เซี่ ย งไฮ้ เ ป็ น เมื อ งท่ า ที่ มี ก ารขนส่ ง ทางเรื อ หนาแน่ น ที่ สุ ด ในโลก โดยสถิตลิ า่ สุดในปี 2011 พบว่า มีตู้คอนเทนเนอร์ ถูกขนส่งผ่านท่าเรือแห่งนี้ มากถึง 31.74 ล้านตู้ ที่มา : www.worldshipping.org
5.8%
มีการส�ารวจพบว่า คนในโลก โซเชียลเน็ตเวิร์กจ�านวน 62% ของทั้งหมด ยอมรับว่าตนเอง รู ้ สึ ก กลั ว ว่ า จะพลาดอะไร บางอย่ า งไป หากละสายตา ออกจากอุ ป กรณ์ สื่ อ สาร ที่เชื่อมต่อกับโซเชียลเน็ตเวิร์ก โดย 38% ของผู ้ ใ ช้ โ ซเชี ย ล เน็ตเวิร์กที่มีอายุระหว่าง 1834 ปี ยังกล่าวว่าตนเองจะเปิด เช็ ก ความเคลื่ อ นไหวในหน้ า โพรไฟล์ของโซเชียลเน็ตเวิร์ก ทันทีที่ตื่นนอน ทีม่ า : www.theundercoverrecruiter.com
900,000 ล้านบาท
มี ก ารประเมิ น จากองค์ ก าร สหประชาชาติว่า ค่าใช้จ่าย เพื่ อ การท� า ให้ ค นทั้ ง โลก สามารถเข้าถึงน�้าสะอาดได้ อย่างทั่วถึงอยู่ที่ 30,000 ล้าน ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ หรื อ ราว 900,000 ล้านบาท ที่มา : www.rwu.org
มีการคาดการณ์ว่า ในปี 2015 ที่ก�าลังจะถึงนี้ มูลค่าทางการตลาดของ เบียร์ทั่วโลกจะพุ่งสูงขึ้นเป็น 523,579.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มสูงขึ้น จากปี 2010 จ�านวน 5.8% ที่มา : www.researchandmarkets.com
คุ ณ มี วิ ธี ป ระหยั ด พลั ง งานอย่ า งไร เพื่อการรับมือวิกฤตไฟฟ้าในปัจจุบัน “ถอดปลั๊กเครื่องใช้ ไ ฟฟ้ า ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ ไม่ใช้งาน ออกไปเดิน ห้าง จะได้ลดการใช้ไฟ ที่บ้านตัวเอง” วิชญ์วสิ ฐิ หิรญ ั วงษ์กลุ 25 ปี, นักร้อง “ปิดเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ทุกครั้งที่ไม่ได้ใช้ และ เปิดไฟเท่าที่จา� เป็น” พงศ์ภทั ร ณ หนองคาย 29 ปี, Sale Engineer “เปิ ด แอร์ เ ฉพาะ เวลา 4 ทุม่ ถึง 6 โมงเช้า หลั ง จากนั้ น ให้ เ ปิ ด พัดลมเพือ่ ประหยัดไฟ” วิกนั ดา ยงทิวเจริญสุข 23 ปี, ธุรกิจส่วนตัว “ก�าหนดเวลาเปิดปิ ด แอร์ และดู ที วี ใ ห้ น้อยลง” พัชรี รอดเสงี่ยม 25 ปี, พนักงานบริษัท “ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ เฉพาะเวลาจ� า เป็ น และลดการใช้ ง าน ที่ไม่เกิดประโยชน์ เช่น เล่นเฟซบุ๊ก” จิตรลดา พยุหพล 29 ปี, โปรแกรมเมอร์ “รวมตัวกันอย่างน้อย 10 คนต่อทีวี 1 เครื่อง ในการรับชมช่อ งและ รายการทีวีเดียวกัน” ปราปต์ จ�าปาเกตกุล 25 ปี, พนักงานบริษัท
8
ระหว่างการใช้เวลาพักผ่อนส่วนพระองค์ที่สโมสร Donald Dewar ในกรุงกลาสโกว์ สกอตแลนด์ เจ้าชายวิลเลียม และดัชเชส แห่งเคมบริดจ์ พระชายา ก็พักผ่อนอิริยาบถด้วยการเล่นปิงปองกันอย่างสนุกสนาน แม้ว่าพระชายาจะทรงพระครรภ์อยู่ แต่พระองค์ก็ทรงร่วมกิจกรรมอย่างกระฉับกระเฉงเช่นเคย - Reuters / David Cheskin / Pool
HUMAN RIGHTS
BUSINESS
‘ซามั ว แอร์ ’ ไอเดี ย เจ๋ ง เก็บค่าโดยสารตามน�้าหนักผู้โดยสาร
ผู้หญิงซาอุฯ
ได้รับสิทธิ์ปั่นจักรยาน ในที่สาธารณะเป็นครั้งแรก
การปั่นจักรยานดูเหมือนเป็นเรื่อง ธรรมดาส�าหรับคนส่วนใหญ่บนโลกนี้ แ ต ่ ส� า ห รั บ ผู ้ ห ญิ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ซาอุดีอาระเบีย พวกเธอไม่เคยได้รับ อนุญาตให้ปั่นจักรยานในที่สาธารณะ มาก่อน จนกระทั่งล่าสุดทางการของ ซาอุ ดี อ าระเบีย ได้ อ อกมาประกาศว่ า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ผู้หญิงสามารถ ปั ่ น จั ก รยาน รวมถึ ง ขี่ ม อเตอร์ ไ ซค์ ในทีส่ าธารณะได้ แต่มเี งือ่ นไขว่าจะต้อง สวมชุดแต่งกายตามหลักของศาสนา อิ ส ลามอย่ า งถู ก ต้ อ งและเต็ ม รู ป แบบ ทุกครั้ง ส�าหรับสาเหตุที่ในอดีตผู้หญิง ซาอุฯ ไม่เคยได้รับสิทธิ์ดังกล่าวเพราะ ถื อ ว่ า การปั ่ น จั ก รยานเป็ น กิ จ กรรม เพื่อความบันเทิง อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ปัจจุบันผู้หญิงจะได้รับสิทธิ์นี้แล้ว แต่ก็ มีข้อแนะน�าจากต�ารวจซาอุฯ ว่า ผู้หญิง ไม่ควรเดินทางไปยังที่ที่มีการรวมตัวกัน ของผู ้ ช าย เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งเหตุ รุ น แรง ที่อาจจะเกิดขึ้น
ที่สโมสรฝึกการบิน Beijing International United Flight Club ในกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เจ้าหน้าที่กา� ลังตรวจความเรียบร้อยของ เครื่องบินก่อนจะบินสาธิตให้สื่อมวลชนได้ดู สโมสรฝึกการบินแห่งนี้ได้ชื่อว่าเป็น airplane supermarket แห่งแรกของกรุงปักกิ่ง ซึ่งได้เปิดให้บริการไปเมื่อเร็วๆ นี้ ก่อนหน้านี้กลุ่มลูกค้าจ�ากัดแค่สมาชิกของสโมสร แต่ล่าสุดทางสโมสรต้องการเปิดกว้าง ให้ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสเข้าชมและซื้อเครื่องบินด้วย - Reuters / Jason Lee
‘ซามัวแอร์’ เป็นสายการบินเล็กๆ ของหมู่เกาะซามัว ซึ่งตั้งอยู่ใน มหาสมุทรแปซิฟิก ล่าสุดได้ออกมาประกาศนโยบาย ‘Pay-by-Weight’ ทีจ่ ะเรียกเก็บค่าโดยสารตามน�า้ หนักของผูโ้ ดยสารแต่ละคน ค�านวณโดย น�าน�า้ หนักตัวบวกกับน�า้ หนักสัมภาระของผูโ้ ดยสาร ทางด้าน คริส แลงตัน ผู้บริหารของสายการบิน กล่าวว่า “จ�านวนที่นั่งไม่ได้มีผลกับการบิน แต่น�้าหนักคือสิ่งที่มีผลต่อเครื่องบินอย่าง แท้จริง และนี่จะเป็นทางเลือกที่ยุติธรรมที่สุดในการท่องเที่ยว ท�าให้ครอบครัวใดที่มีลูกตัวเล็กๆ สามารถประหยัด ค่าโดยสารมากขึ้นกว่าเดิม และเราเชื่อว่านโยบายนี้จะมีส่วนท�าให้คนเกิดความตระหนักในเรื่องสุขภาพและ น�้าหนักตัวมากขึ้น” ทั้งนี้ ปัจจุบันซามัวติดอันดับ 1 ใน 10 ของชาติที่มีสัดส่วนคนอ้วนมากที่สุดในโลก
EDUCATION
ครูเมืองลุงแซมก่อตั้งสมาคมหมากรุก
เพือ่ เสริมพัฒนาการของเด็กๆ
โรงเรียนประถมคิลลิปในเมืองแฟลกสตาฟ รัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา เคยมีกฎห้ามเด็กนักเรียนเล่นเกมอย่างเด็ดขาด แต่ เทด โคมาดา ครูสอนดนตรี กลับมองเห็นว่าเกมบางอย่างก็ช่วยเสริมทักษะทาง คณิตศาสตร์และพัฒนาการด้านต่างๆ ให้กบั เด็กได้ เขาจึงก่อตัง้ สมาคม หมากรุกขึ้น ซึ่งเทดให้เหตุผลว่า หมากรุกสามารถสร้างความมั่นใจใน ตนเอง และเสริมทักษะการคิดและการแก้ปัญหาให้กับผู้เล่นได้ ทั้งนี้ เมื่อนักเรียนคนหนึ่งได้มีโอกาสในการเล่นหมากรุก เขาก็แสดงให้เห็น ถึงพัฒนาการทางคณิตศาสตร์ที่ดีขึ้นได้อย่างชัดเจน จากแรกเริ่ม ที่สมาคมนี้มีเด็กเข้ามาเป็นสมาชิกเพียงไม่กี่คน แต่ตอนนี้สมาคมหมากรุกมีสมาชิกราวๆ 100 คน แล้ว และเด็กๆ ทีเ่ ป็นสมาชิกทุกคนมีความตัง้ ใจฝึกซ้อมทุกวันเพือ่ เสริมทักษะของตนเอง และหวังว่าจะลงแข่งขันในเวทีตา่ งๆ เมือ่ มีโอกาส
ENTERTAINMENT โรงเรียนนอร์เวย์ ใจดี เลือ่ นสอบให้นกั เรียนไปดู คอนเสิรต์ จัสติน บีเบอร์
เป็ น ที่ ฮื อ ฮาไม่ น ้ อ ย เมื่ อ โรงเรี ย น 5 แห่ ง ทางภาคตะวั น ตกของนอร์ เ วย์ ประกาศเลื่อ นการสอบกลางภาคเพื่อ เปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก ๆ ได้ เ ดิ น ทางไปดู คอนเสิร์ตครั้งใหญ่ของ จัสติน บีเบอร์ นักร้องหนุ่มชื่อดังชาวแคนาดา ที่จัดขึ้น ในวันที่ 16 และ 17 เมษายน ณ กรุง ออสโล เมืองหลวงของนอร์เวย์ ซึ่งอยู่ ห่างจากเมือง Alesund ทีโ่ รงเรียน 5 แห่ง ดั ง กล่ า ว ตั้ ง อยู ่ ร าว 375 กิ โ ลเมตร ทางด้าน คริสติน ฮาสวอร์เชน รัฐมนตรี กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารของนอร์ เ วย์ กล่าวว่า “โรงเรียนในท้องถิ่นแต่ละแห่ง มีความรับผิดชอบในการจัดสอบให้กับ นักเรียนของตัวเอง และถ้าเขาคิดว่า มีเหตุผลทีส่ มควร จ ะ เ ลื่ อ น ส อ บ เขาก็ มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ ท� า เ ร า ทุ ก ค น ต่ า งเคยผ่ า นอายุ 14 มาก่อน และรู้ดี ว ่ า เ รื่ อ ง ที่ ตั ว เ อ ง สนใจมีผลแค่ไหน ต่อชีวิต”
SOCIETY สหประชาชาติชูสนธิสัญญาฉบับใหม่ว่าด้วยการควบคุมการค้าอาวุธสงคราม
หลังจากทีอ่ งค์การสหประชาชาติ (UN) ได้ผลักดันสนธิสญ ั ญาเกีย่ วกับการค้าอาวุธมานานกว่าสิบปี เพือ่ ควบคุมการซือ้ ขาย อาวุธสงคราม และลดความสูญเสียต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งสนธิสัญญาดังกล่าวได้รับการตอบรับและความร่วมมือจากองค์กร นิรโทษกรรมสากล Human Rights Watch และกลุ่มเคลื่อนไหวภาคประชาชนจากทั่วโลก โดยเนื้อหาของสนธิสัญญาฉบับนี้ จะเข้าไปควบคุมการซื้อขายอาวุธต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปืน ไปจนถึงเครื่องบิน เรือรบ และขีปนาวุธ เพื่อป้องกันไม่ให้ของพวกนี้ ตกไปอยู่ในมือของผู้ก่อการร้ายหรือแม้กระทั่งเยาวชนเองก็ตาม โดยในการประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งนี้มีประเทศที่เห็นชอบ ด้วยจ�านวน 154 ประเทศ ไม่เห็นชอบ 3 ประเทศ (อิหร่าน ซีเรีย และเกาหลีเหนือ) และงดออกเสียง 23 ประเทศ
ฤดูใบไม้ผลิ หรือช่วงดอกซากุระบานที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นช่วงเวลาที่นักท่องเที่ยวรอคอยมากที่สุดของปี เพราะมอง ไปทางไหนก็จะเห็นแต่ความสวยงามของดอกซากุระ ไม่เว้นแม้กระทัง่ ในบริเวณคูเมืองทีจ่ โิ ดริกะฟุจิ ซึง่ นักท่องเทีย่ วคูน่ เี้ ลือกทีจ่ ะ พายเรือเล่นท่ามกล่างกลีบซากุระเกลื่อนผิวน�้า - Reuters / Toru Hanai
SPORT
แกะด�าเหล่านีถ้ อื เป็นฝูงแกะด�าทีท่ างการฝรัง่ เศสเลือกมาทดลองเลีย้ งในพืน้ ทีส่ เี ขียวกว้างใหญ่กว่า 2 พันตารางเมตร ซึง่ การทดลองนี้ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ eco-grazing หรือโครงการเลีย้ งแกะแบบรักษาสิง่ แวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา โดยจุดประสงค์ของ โครงการนีค้ อื ต้องการให้แกะกินหญ้าอยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ฉพาะส่วนจนกระทัง่ ถึงฤดูใบไม้รว่ งโดยไม่จ�าเป็นต้องจ้างคนงานมาก�าจัดวัชพืช เรียกว่างานนี้ยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัวอย่างแท้จริง - Reuters / Charles Platia
‘ปาเกียว’ เตรียมหวนคืนสังเวียนอีกครั้ง
แมนนี ปาเกียว นักชกคนดังจากฟิลิปปินส์ ประกาศจะขึ้นชกรีแมตซ์กับ ฮวน มานูเอล มาร์เกซ นักชกชาวเม็กซิกัน คูป่ รับเก่าทีเ่ คยเอาชนะเขาได้ในศึกดวลก�าปัน้ เมือ่ เดือนธันวาคมปีทผี่ า่ นมา โดยปาเกียววางแผนจะขึน้ ชกในเดือนกันยายน ทีจ่ ะถึงนี้ หลังจากเสร็จสิน้ การลงสมัครรับเลือกตัง้ เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรของประเทศฟิลปิ ปินส์ในเดือนพฤษภาคม ส่วนสถานที่จัดการแข่งขันก�าลังพิจารณาอยู่ว่าจะเป็นที่ไหน ซึ่งตัวเลือกอันดับต้นๆ ที่ทีมงานให้ความสนใจอยู่ก็คือ ประเทศสิงคโปร์ ดูไบ และฮ่องกง
เรื่องน่ารู้ของพระสันตะปาปาองค์ล่าสุด
บุ ค ค ล ที่ ไ ด ้ รั บ การจั บ ตามองจาก คนทั่ ว โลกมากที่ สุ ด ในขณะนี้ คงจะหนี ไม่ พ ้ น สมเด็ จ พระสันตะปาปาฟรานซิส พ ร ะ สั น ต ะ ป า ป า พระองค์ ใ หม่ ที่ ท รงมี พระกรณียกิจทีโ่ ดดเด่น ใ น ข ณ ะ ที่ ยั ง มี อี ก หลายเรื่องราวน่าสนใจของพระองค์ที่เราอาจไม่เคยรู้ มาก่อน เช่นเดียวกับเรื่องราวเหล่านี้ • เมื่อปลายเดือนที่ผ่านมาเราอาจได้เห็นภาพข่าวที่ สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรานซิ ส ทรงประกอบพิ ธี ช�าระล้างเท้าให้แก่นักโทษเยาวชน 12 คน เนื่องในวัน พฤหัสบดีศกั ดิส์ ทิ ธิม์ าแล้ว แต่นอ้ ยคนจะรูว้ า่ ก่อนหน้านี้ ในปี 2001 ในขณะที่ทรงด�ารงต�าแหน่งเป็นพระคาดินัล
ANIMAL สุนัขฮีโร่ ช่วยหญิงตั้งครรภ์
และทารกน้อยไว้ ได้อย่างปลอดภัย เจ้าหลุยส์ สุนัข พันธุ์โกลเดน ดูเดิ้ล ที่ มี น�้ า หนั ก ถึ ง 75 ปอนด์ กระโดด ขึ้ น ไปบนเตี ย งของ จาแนล เจียนเนตตา หญิงสาวชาวนิวยอร์ก ที่ ก�าลั ง ตั้ ง ครรภ์ ได้ 26 สัปดาห์ และส่งเสียงเห่า เพราะเห็นว่าเธอ ก�าลังมีอาการชักอย่างรุนแรง เมื่อสามีเข้ามาพบ ก็รีบน�าตัวส่งโรงพยาบาล ซึ่งจากการตรวจ พบว่า ความดันของจาแนลขึน้ สูงมากจนเส้นเลือดในสมอง เกือบแตก และมีอ าการชัก เพราะครรภ์ เ ป็ น พิษ โชคดีที่คุณหมอท�าคลอดได้ทัน ท�าให้ทั้งคุณแม่ และเด็กน้อย ชาร์ลอต มารี ออกมาดูโลกอย่าง ปลอดภัยด้วยน�า้ หนักตัว 1 ปอนด์ 7 ออนซ์ แต่ตอ้ ง อยู่ในการดูแลของคุณหมออย่างใกล้ชิดไปก่อน
พระองค์เคยประกอบพิธีล้างเท้าและจุมพิตให้กับผู้ป่วย โรคเอดส์ 12 คน และเมื่อ 7 ปีที่แล้ว พระองค์ก็เคย ประกอบพิธีล้างเท้าและจุมพิตให้กับผู้เข้ารับการบ�าบัด อาการติดยาเสพติดมาแล้ว • แม้ จ ะได้ ชื่ อ ว่ า ทรงเป็ น ผู ้ น� า ทางจิ ต วิ ญ ญาณของ ชาวคริสต์ทั่วโลก แต่ก่อนหน้าที่จะใฝ่ทางธรรม พระองค์ ส� า เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโททางด้ า นเคมี จ าก มหาวิทยาลัยบัวโนสไอเรส และเคยเป็นครูสอนวิชา วรรณคดี และจิตวิทยา อีกด้วย • อี ก เรื่ อ งที่ ห ลายคนอาจไม่ รู ้ เ กี่ ย วกั บ พระองค์ คื อ หลังจากที่ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งพระสันตะปาปา องค์ที่ 266 แล้ว ในวันรุ่งขึ้นพระองค์ก็ไม่ลืมที่จะกลับไป จ่ายค่าที่พักในกรุงโรมที่พระองค์ประทับก่อนหน้าที่จะ ได้รับการเลือกให้เป็นพระสันตะปาปา ทั้งนี้ พระองค์ ทรงขับรถไปที่โรงแรมดังกล่าวด้วยพระองค์เอง และทรง ปฏิบัติกับพนักงานโรงแรมทุกคนอย่างเป็นกันเอง
“ความวุ ่ น วายของ สั ง คมทุ ก วั น นี้ เ ป็ น เรื่ อ ง ของความไม่เข้าใจตัวเอง ความโลภ กิ เ ลสของ ม นุ ษ ย ์ ที่ ไ ม ่ มี สิ้ น สุ ด น่าเห็นใจ เพราะพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทย เรานั้ น ล้ ม เหลวอย่ า ง สิ้นเชิง... สิ่งเหล่านี้ต้อง เปลี่ยนแปลง” วิกรม กรมดิษฐ์ ผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ASTVผู้จัดการออนไลน์ 4 เมษายน 2556
GREEN PLEASE วิศวกรเม็กซิโกผลิตเครื่องกรองน�้าทะเลเป็นน�้าจืดขนาดเล็กส�าหรับชุมชน ถึงแม้วา่ โลกเราจะเจริญก้าวหน้าไปขนาดไหนก็ตาม แต่ ป ระชากรโลกบางส่ ว นก็ ยั ง คงเผชิ ญ กั บ ปั ญ หา ขาดแคลนน�้าสะอาดส�าหรับบริโภคอยู่ รวมถึงประเทศ เม็กซิโกด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ Jorge Antonio Lechuga วิศวกรเคมีจากมหาวิทยาลัย Autonomous University of Yucatan จึงทุ่มเทการค้นคว้าถึง 6 ปี ในการคิดค้น เครื่องกรองน�้าทะเลให้กลายเป็นน�้าจืดที่มีราคาไม่แพง เพื่อให้คนในชุมชนสามารถซื้อหาไปใช้ได้ โดยหลักการ ของเครือ่ งกรองน�า้ นีจ้ ะใช้ระบบรีเวิรส์ ออสโมซิส ร่วมกับ การใช้แรงดันน�้าผ่านฟิลเตอร์กรองเพื่อแยกเกลือและน�้าออกจากกัน นอกจากนี้ยังใช้พลังงานน้อยกว่า เครื่องกรองน�า้ ทะลในระบบอุตสาหกรรมอีกด้วย ซึ่งจะช่วยให้ชาวบ้านและผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวในแถบทะเลแคริบเบียนไม่ต้องสูบน�า้ บาดาลขึ้นมาใช้อีกต่อไป
นักวิจัยเผย การกดไลค์ ในเฟซบุ๊ก บ่งบอกบุคลิกส่วนตัวได้
Did You Know?
19 เมษายน 2530 - วันเกิด มาเรีย ชาราโปวา นักเทนนิสมืออาชีพสาวชาวรัสเซีย และอดีตมือวางอันดับ 1 ของโลก ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 20 เมษายน 2405 - หลุยส์ ปาสเตอร์ และ คล็อด เบร์นาร์ ทดสอบการฆ่าเชื้อ วิธปี าสเตอร์เป็นครัง้ แรก หรือทีร่ จู้ กั ในนาม กระบวนการ ‘พาสเจอไรซ์’ 21 เมษายน 2554 - สมชาย สุนทรวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ในรัฐบาลชวน 2 อดีตรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาล ของ พันต�ารวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสระบุรี และเป็ น ผู ้ ร ่ ว มก่ อ ตั้ ง พรรคไทยรั ก ไทย เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน 22 เมษายน 2514 - วันก่อตั้งโรงเรียน สาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาการศึ ก ษา สั ง กั ด ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็น ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารฝึ ก หั ด ครู คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ตั้ ง อยู ่ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน 23 เมษายน 2533 - ประเทศนามิเบีย เ ข้ า เป็ น สมาชิ ก ล� า ดั บ ที่ 160 ของ สหประชาชาติ และสมาชิ ก ล�า ดั บ ที่ 50 ของเครือจักรภพ ตั้งอยู่ในทวีปแอฟริกา มีเมืองหลวงชื่อวินด์ฮุก 24 เมษายน 2551 - ไปรษณี ย ์ ไ ทย ให้ บ ริ ก ารโทรเลขเป็ น ครั้ ง สุ ด ท้ า ยของ ประเทศไทย โดยมีผลยกเลิกตั้งแต่เวลา 20.00 น. เป็นต้นไป 25 เมษายน 2552 - รถไฟฟ้าบีทีเอส ทดลองวิ่ ง จากฝั ่ ง พระนครข้ า มแม่ น�้ า เจ้ า พระยาไปยั ง สถานี ว งเวี ย นใหญ่ ฝั่งธนบุรี นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่รถไฟฟ้าวิ่งไปยังฝั่งธนบุรี
นักวิจยั จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เปิดเผยผลวิจยั ล่าสุดว่า แบบแผนการกดไลค์สา� หรับสิง่ ต่างๆ ในเฟซบุก๊ นัน้ สามารถบ่งบอกถึง ข้อมูลและนิสยั ส่วนตัวต่างๆ ของผูใ้ ช้งานได้อย่างค่อนข้างแม่นย�า โดยสามารถบ่งชีล้ กั ษณะทางชาติพนั ธุข์ องบุคคล เช่น เป็นคนผิวขาว ผิวสี หรือชาวเอเชีย ได้อย่างถูกต้องถึง 95% ระบุความโน้มเอียงทางเพศได้ 88% รวมถึงระบุความนิยมทางการเมืองได้ 85% ด้วย นอกจากนีย้ งั สามารถบ่งบอกถึงลักษณะส่วนตัวอืน่ ๆ เช่น ระดับสติปญ ั ญา ความมัน่ คงด้านอารมณ์ และอืน่ ๆ อีกมากมาย
14
สัมภาษณ์ : วสิตา กิจปรีชา, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ถ่ายภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร เห็นหน้าของแขกรับเชิญบนหน้าปกของเราฉบับนี ้ คุณอาจจะนึกไม่ออกว่าชายคนนีจ้ ะมาพูดคุยเรือ่ งอะไรให้เราได้ฟงั แต่ถา้ ได้ลองอ่านประวัตขิ องเขาในบรรทัดต่อไปนี ้ คุณอาจจะรูส้ กึ อยากคุยกับเขาด้วยตัวเองด้วยซ�า้ เพราะงานของเขา เกีย่ วพันกับชีวติ ความเป็นอยูข่ องคุณ (รวมทัง้ เรา) ตัง้ แต่ลมื ตาตืน่ จนกระทัง่ เข้านอน ตราบใดทีค่ ณ ุ ยังต้องใช้ชวี ติ อยูใ่ น บ้าน เดินทางไปท�างานในอาคารสูงใหญ่กลางเมือง และไปเดินเที่ยวเล่นหรือซื้อข้าวของเข้าบ้านจากห้างสรรพสินค้า ทุกสิ่งปลูกสร้างเหล่านี้เองที่ท�าให้อาชีพของเขาเกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเรา เพราะ สมิตร โอบายะวาทย์ คือ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ส�านักงานสถาปนิกกรุงเทพ จ�ากัด ผู้ผ่านประสบการณ์ท�างานในฐานะสถาปนิกทั้งในและ ต่างประเทศมานานกว่า 30 ปี นอกจากการท�างานในด้านวิชาชีพแล้ว เขายังพ่วงต�าแหน่งนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนปัจจุบัน ที่มีหน้าที่ขับเคลื่อนวงการวิชาชีพสถาปนิกไทยให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมีคุณภาพ และด้วยบทบาทนี้ของเขา เราจึงได้รับเชิญให้มาเยือน ASA Center ศูนย์จัดแสดงนิทรรศการทางด้านสถาปัตยกรรม ที่ตั้งอยู่บนชั้น 5 ในห้างสรรพสินค้าใหญ่ใจกลางกรุงเทพฯ อย่างสยามดิสคัฟเวอรี หากใครทีต่ ดิ ตามข่าวสารความเป็นไปของแวดวงต่างๆ ก็นา่ จะคุน้ เคยดีกบั กิจกรรมเด่นของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีจ่ ดั ต่อเนือ่ งมาตลอดทุกปี และปีนกี้ ก็ า� ลังจะมาถึงอีกครัง้ กับงาน ‘สถาปนิก’56’ ภายใต้แนวคิด ‘Borderless : แข่งขัน... แบ่งปัน’ ในวันนี้ นอกจากเราจะได้พบปะพุดคุยกับนายกสมาคมฯ แล้ว เรายังได้รับโอกาส จากสมาชิกท่านอืน่ ๆ ทีม่ าแลกเปลีย่ นมุมมองทีน่ า่ ฟังเกีย่ วกับแวดวงการออกแบบก่อสร้าง ซึง่ ปฏิเสธไม่ได้วา่ ความเห็น ของกลุม่ คนเหล่านีย้ อ่ มมีนยั ส�าคัญในฐานะของผูท้ มี่ บี ทบาทต่อการเติบโตทางด้านกายภาพของประเทศไทยเลยก็วา่ ได้ อดีตที่ผ่านมา และอนาคตที่ก�าลังจะผ่านไป ประเทศไทยของเรามีทิศทางการก่อร่างสร้างเมืองอย่างไร สถาปัตยกรรม ที่เราอยู่อาศัยใช้ชีวิตมีความผสมกลมกลืนอยู่ในวิถีชีวิตของเราอย่างไร ใครที่เคยตั้งค�าถามกับประเด็นเหล่านี ้ เราอยากเชิญชวนให้ลองพลิกหน้ากระดาษถัดไป เพื่อฟังค�าตอบจากปากของผู้ที่ใช้สมองและสองมือสร้างความฝัน จากแผ่นกระดาษเขียนแบบให้กลายเป็นอาคารบ้านเรือนที่ได้รับการออกแบบอย่างสวยงามทันสมัย นอกจากจะเพื่อ อยูอ่ าศัยแล้ว อาคารหรือตึกรามบ้านช่องทีเ่ รียงรายอยูส่ องข้างทางยังแสดงถึงเอกลักษณ์ที่ไม่มใี ครสามารถเลียนแบบ ได้ในแต่ละชุมชน แต่ละเมือง และเป็นสัญลักษณ์อันส�าคัญของเมืองใหญ่ทั่วโลกได้เป็นอย่างดี อดีต ปัจจุบัน อนาคต ย่อมน�ามาซึ่งการเปลี่ยนผ่าน เติบโต ผู้คนและชุมชนต่างๆ รอบๆ ตัวเราก็ล้วนแต่ ต้องเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน ไม่มีสิ่งใดภายใต้กฎธรรมชาติที่ ไม่เจอกับความเปลี่ยนแปลง เมื่อเราทุกคนต้องเติบใหญ่ เมื่อชุมชนบ้านเมืองต้องเติบโตขยับขยาย ค�าถามที่ต้องตอบก็คือ จะเติบโตอย่างมีคุณภาพอย่างไร นั่นคือสิ่งที่ส�าคัญ กว่าค�าถามว่า เราจะเติบโตไปได้อีกหรือไม่
สมิตร โอบายะวาทย์ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
อยากให้เล่าถึงทีม่ าของงานสถาปนิก’56 ทีก่ า� ลัง จะจัดขึ้น ส�าหรับงานสถาปนิกนะครับ ถ้าถามคนทัว่ ไป อย่างในกรุงเทพฯ ผมคิดว่าคนทัว่ ไปคงรูจ้ กั เพราะ ว่ามันจัดมานานแล้ว ครั้งนี้ก็เป็นครั้งที่ 27 คือ ปกติแล้วเวลาใครมีกลุม่ สังคมเขาก็อยากจะจัดงาน ใครเป็นสมาคมต้นไม้ก็จัดงานต้นไม้ ใครเป็น สมาคมเสริมสวยก็จัดงานเสริมสวย ใครเป็น สมาคมโรงแรมก็จดั งานโรงแรม พวกรุน่ พีส่ ถาปนิก ในอดีตเขาก็จัดงานสถาปนิกขึ้น เมื่อก่อนสมัย เด็กๆ ผมก็ไป ที่เขาจัดกันที่สยามสแควร์ ต่อมา ก็จดั ทีด่ สุ ติ ธานี เดีย๋ วนีก้ ม็ าอยูใ่ นอิมแพ็กฯ อาคาร ชาเลนเจอร์ แรกเริ่มเดิมทีแกนหลักของงานก็คือ การเผยแพร่ความรู้ เมือ่ มีการพูดคุยกัน ไปๆ มาๆ ก็มคี นอืน่ อยากรู้ เราก็พดู ให้เขาฟัง กิจกรรมพวกนี้ ก็เลยเกิดขึน้ ตามมา เช่น กิจกรรมหมอบ้าน ทีเ่ รา ให้ค�าปรึกษาในการสร้างบ้าน ดูแลบ้าน ใครว่าง ก็มานั่งให้คา� ปรึกษา เมื่อเวลาผ่านไปผมว่ามันก็ มีการปรับรูปแบบของงานไปโดยอัตโนมัติ โดย สเกลงานก็ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ที่มันใหญ่ได้ก็เพราะ มันเป็นเรือ่ งทีส่ งั คมสนใจ อย่างคนทัว่ ไปเขาก็สนใจ ในเรือ่ งของการสร้างทีพ่ กั อาศัย หรือเด็กๆ ทีอ่ ยาก เข้าเรียนคณะสถาปัตย์กม็ าดูได้ มันก็เลยเกิดพืน้ ที่ 2 ส่วน เนือ้ หาหลักของมันก็คอื ความรู้ ทีเ่ หลือก็จะ เป็นสินค้าและการบริการ งานมันก็เป็นแบบนี้ นี่ก็คือแกนหลักของงาน ในมุมของคนทีม่ างาน คิดว่าเขาน่าจะได้อะไรบ้าง ถ้าพูดแบบตรงไปตรงมา ผมเป็นสถาปนิก ผมคงคิดแทนไม่ได้วา่ คนอืน่ ๆ ทีม่ างานเขาได้อะไร แต่ถ ้า สังเกตจากคนรอบๆ ตัวผมที่ไม่ได้เป็น สถาปนิก อย่างเพื่อนๆ เขาก็มาคุยว่าจะมีงาน สถาปนิกแล้วนีน่ า เดีย๋ วไปเจอนะ อยากจะปรึกษา หรือบางคนเป็นข้าราชการ ต้องดูแลการก่อสร้าง อาคาร ต้องคุยกับผู้รับเหมา เขาก็ไม่มีข้อมูล เราก็แนะน�าให้ไปที่งาน ไปลองหาความรู้ใหม่ๆ เพราะฉะนัน้ ผมเชือ่ ว่ามันเป็นงานทีค่ นได้ความรู้ แน่นอน เรื่องของซื้อของขายนั้นเอาจริงๆ วัสดุ ก่อสร้างมันก็ซื้อไม่ได้เยอะนัก เพราะคงไม่มีใคร ซื้อกระเบื้องกลับบ้าน อาจจะมีเฟอร์นิเจอร์บ้าง นิดหน่อย แต่ก็ไม่เยอะครับ เอาเป็นว่าใจความ หลักของงานก็คือเนื้อหาของงานสถาปัตยกรรม ที่เราอยากให้คนทั่วไปได้รับรู้ ไม่ว่าคุณจะอยู่ คอนโดฯ หรืออยูบ่ า้ น คุณก็อาจจะเห็นแค่สงิ่ ทีอ่ ยู่ รอบๆ ตัว แต่เนือ้ หาของสถาปัตยกรรมมันมีเยอะ พอไปงานก็จะได้รู้ เช่น ระบบการวางท่อมันมี ตั้งหลายแบบ คุณอาจจะเข้าใจว่า อ๋อ ท�าไมท่อ บ้านเราถึงรั่ว ท�าไมพื้นบ้านถึงลื่น เพราะเลือก กระเบื้องผิดนี่เอง แล้วมีวิธีแก้อย่างไร นี่ก็เป็น เรื่องใกล้ตัว ปีหนึ่งเรามีคนมาร่วมงานประมาณ 3 แสน มีงาน 5-6 วัน เฉลี่ยวันละ 5-6 หมื่นคน ไม่นอ้ ยนะ เราก็พยายามรักษาสัดส่วนของเนือ้ หา เพื่อให้ทั้งความเพลิดเพลิน และให้ทั้งความรู้ นอกจากการจัดงานสถาปนิกทุกปีแล้ว ทางสมาคม มีการสื่อสารกับคนทั่วไปอย่างไรบ้าง เรามีการสือ่ สารผ่านหลายสือ่ นะครับ แต่เนือ้ หา เกี่ยวกับเรื่องของสถาปัตยกรรมบางทีมันก็เป็น เรือ่ งเฉพาะของวิชาชีพ เหมือนอย่างวิชาชีพอืน่ ๆ เช่น ทันตแพทย์ ทนายความ แต่ทุกอย่างมันก็ ไม่ได้ยากมากถึงขนาดว่าไม่สามารถสื่อสารกัน ได้ เรายินดีที่จะพูดคุยกับทุกคน ทั้งการท�าบ้าน ท�าตึก เราจึงต้องการการสื่อสารที่ดีกับสังคม
17
“โดยส่วนตัว ผมไม่ชอบเมือง ที่เหมือนๆ กัน ไปหมด อย่าง ของเรายังมีชุมชน เกาะรัตนโกสินทร์ ที่สวยงาม วันหยุด จากการท�างาน เราตื่นมา เรามีที่ไป เรามีทางเลือก เราไม่ต้องไปแค่ ศูนย์การค้า อย่างเดียว ผมคิดว่าเมืองที่ดี ก็คือเมืองที่มี ทางเลือก และเป็น เมืองทีม่ คี าแรกเตอร์ ของชุมชน”
แต่ที่ผ่านมาเราอาจจะถูกมองว่าเป็นคนรับใช้ Developer แล้วก็คนมีเงิน เนื่องจากว่าคนทั่วไป เมื่อ ซื้อ บ้ า นจัด สรรก็จ ะไม่ ท ราบว่ า ใครเป็ น คน ออกแบบบ้านให้ เพราะมันเป็นแมสโปรดักต์ ความส�าคัญของสถาปนิกในภาพรวมของสังคม จึ ง มี น ้ อ ย ระยะหลั ง ๆ พี่ ๆ น้ อ งๆ ในวงการ สถาปนิกเขาก็พยายามท�าให้วิชาชีพสถาปนิก มีความส�าคัญมากขึน้ และเนือ่ งจากผูค้ นเดีย๋ วนี้ มีชีวิตที่สมบูรณ์มากขึ้น คนที่มีความพร้อมก็เริ่ม ออกสู่สังคมมากขึ้น ไปท�างานอาสามากขึ้น เช่น เรื่องของ Universal Design (การออกแบบเพื่อคน ทั้งมวล เช่น คนพิการ คนสูงอายุ) นอกเหนือจาก ที่คนรุ่นผมไปท�าโบสถ์ ท�าวัด ท�าโรงเรียน อย่าง งานอนุรกั ษ์กเ็ ป็นเรือ่ งทีส่ า� คัญทีส่ ดุ เราต้องสือ่ สาร ต้องบอกกับชาวชุมชนว่าชุมชนของเขามีคุณค่า คุ ณ คิ ด ว่ า สถาปั ต ยกรรมสะท้ อ นวิ ถี ชี วิ ต คน อย่างไร สะท้อ นเอกลั ก ษณ์ ข องแต่ ล ะประเทศ แต่ละชุมชนอย่างไรบ้าง มันชัดเจนมากเลยนะครับ สถาปัตยกรรมกับ เมืองมันแยกกันไม่ได้เลย บ้านหลังหนึ่งแบบหนึ่ง อยูท่ ลี่ าดพร้าว พอเอามาไว้ทแี่ ถวแพร่งสรรพศาสตร์ มันก็ไม่ได้แล้ว อย่างสถาปัตยกรรมในสมัยก่อน แถวๆ วัง บู ร พามัน เป็ น เนื้อ เดีย วกับ เมือ งจริง ๆ หลังจากนั้นก็ขยายออกมาเป็นตึกแถว วันดีคืนดี ก็มีเซ็นทรัลวังบูรพา มีเมอรีคิงส์วังบูรพา สมัยนั้น มีตึกแค่นิดเดียวก็ตื่นเต้นกัน ต่อมาก็มีห้างไดมารู ห้างไนติงเกล อย่างสมัยผมเด็กๆ ก็ไปซือ้ ไม้แบดฯ อันแรกในชีวติ ทีไ่ นติงเกลโอลิมปิก สมัยนีก้ ย็ งั มีอยู่ หลังจากนั้นก็เกิดสยามเซ็นเตอร์ ขยายไปเป็น เซ็นทรัลลาดพร้าว มันก็ไปเกิดชุมชนใหม่แถว ลาดพร้าว เสนานิเวศน์ ชุมชนเมืองเริม่ เดินไม่ถงึ กัน แล้ว สมัยก่อนเดินถึงกันได้สบายๆ แถวแพร่งฯ เดินไปพระบรมมหาราชวัง ไปกินข้าวเยาวราช ขี่มอเตอร์ไซค์ ขี่จักรยานได้ แต่เดี๋ยวนี้เมืองมัน เปลี่ยน สถาปัตยกรรมก็เปลี่ยน คนเยอะ เมือง มันก็ใหญ่ ศูนย์การค้าก็ใหญ่ บ้านก็ใหญ่ เริ่มมี ตึกแถว ทาวน์เฮาส์ บ้านเดีย่ ว แล้วขนาดก็เริม่ ใหญ่ ขึ้น เป็นซีคอนสแควร์ เซ็นทรัลเวิลด์ พารากอน พอมาตอนนีเ้ ทรนด์กเ็ ปลีย่ นอีก คนไม่ชอบห้างใหญ่ๆ กันแล้ว ไม่ชอบคนเยอะ แออัด ก็กลายมาเป็น แบบเจ อเวนิ ว เควิ ล เลจ ดั ง นั้ น ถ้ า ถามว่ า สถาปัตยกรรมมีผลต่อชีวิตไหม มี เพราะมันแยก คนออกจากกันชัดเจน คนประเภทไหนชอบอาคาร ประเภทไหน มันชัดเจน งานประเภทนี้ให้บริการ กับใครก็เป็นสิ่งที่เห็นกันอยู่ อย่างเวลาเปลี่ยน คนก็เปลี่ยน ความนิยมในสถาปัตยกรรมประเภท ต่างๆ ก็เปลี่ยน แล้วสถาปัตยกรรมน�าสังคม กับสังคมน�าสถาปัตยกรรม อะไรมาก่อนกัน เช่น การเกิดชุมชนต้อง ก�าหนดทิศทางแผนผังก่อนไหม หรือแบบแผน ต่างๆ มันตามมาเอง มันเกิดพร้อมกันมากกว่า ซึ่งมันเป็นไปโดย อั ต โนมั ติ อย่ า ง Developer ก็ มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย โบราณ รัชกาลที่ 5 ท่านก็เป็น Developer ท่านให้ คนจีนไปอยูต่ รงนี้ คนอินเดียไปอยูต่ รงนี้ คนมอญ ไปอยูต่ รงนี้ แล้วเขาก็ไปสร้างสังคมชุมชนของเขา มันก็เกิดความเชือ่ มโยงในเชิงวัฒนธรรม ผมนึกถึง สมัยเด็กๆ ตอนที่มีเซ็นทรัลวงเวียนใหญ่ครั้งแรก บ้านเพื่อนผมอยู่ติดเซ็นทรัลวงเวียนใหญ่ มันเป็น เรื่องใหญ่มากนะ คนฝั่งธนฯ ก็ดีใจที่มีเซ็นทรัล วงเวียนใหญ่ เมื่อประมาณ 35-40 ปีที่แล้ว มัน หมายความว่า การเกิดขึน้ ของเซ็นทรัลก็เป็นเพราะ ชุมชนเขาต้องการ อีกประการหนึ่งคือเซ็นทรัล เขาก็ต้องการขยายกิจการ ถ้าเปรียบเทียบกับ เมื่อก่อนที่เมืองมันกระจุกตัว อย่างข้าวหน้าไก่มี ร้านเดียว ของสีฟ้าที่ราชวงศ์ เดี๋ยวนี้ก็กระจายไป ทั่วกรุงเทพฯ ดังนั้น ทุกอย่างมันก็เกิดไปพร้อมๆ กัน ทั้งความเจริญเติบโตของเมือง ความทันสมัย
ของคน มันก็มีวงจรของมัน ประเทศต่างๆ หรือชุมชนต่างๆ สถาปัตยกรรม ของเขาจะดูมีเอกลักษณ์ การออกแบบบ้านเรือน ก็ไปในทิศทางเดียวกัน ประเทศไทยเองมีทิศทาง ชัดเจนไหมว่าเราเป็นแบบไหน คือมีค�าพูดกันข�าๆ นะว่า ระเบียบวินัยที่ดี ที่สุดของไทยคือความไม่มีระเบียบวินัย ความมี ระเบียบของเราคือความไม่มีระเบียบ คนอื่นท�า อย่างหนึ่ง เราก็ทา� อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งผมก็ไม่เชื่อว่า มันจริงไปเสียหมด แต่ผมคิดว่าความเห็นร่วมกัน ในเชิงสาธารณะของเรามีน้อย เรามีความเป็น ปัจเจกสูง ยกตัวอย่าง มีคนสร้างบ้านหลังคา สีน�้าเงิน ในขณะที่บ้านอื่นเขาหลังคาสีน�้าตาล เราก็คิดว่าสีนา�้ เงินมันแรงมาก แต่ความรู้สึกของ เขาก็คือ นี่บ้านฉัน หลังคาของฉัน แต่เราคิดไกล ไปกว่ า นั้ น ว่ า สถาปั ต ยกรรมมั น มี ผ ลต่ อ สั ง คม เมื่อสร้างบ้านออกมาไม่ใช่ว่าคุณเห็นอยู่คนเดียว คนอืน่ เขาก็เห็น ถ้าคุณปิดรัว้ บ้านคุณไม่ให้ใครเห็น นัน่ ก็วา่ ไปอย่าง หรือถ้าคุณทิง้ ขยะในบ้าน แต่ขยะ มันเหม็นออกมานอกบ้าน คุณก็ต้องรับผิดชอบ ปัญหาคือความงามสาธารณะของเรามันน้อย ไม่รู้ผมคิดไปเองหรือเปล่า อย่างบางชุมชนเก่าๆ แถวถนนบ�ารุงเมือง มันก็มตี กึ แนวโคโลเนียลเก่าๆ แต่มีบ้านหลังหนึ่งเอากระเบื้องมาปะๆ เพราะว่า ไม่อยากเหมือนคนอื่น แต่ในขณะที่บ้านเมืองอื่น ความไม่เหมือนของเขามันก็สอดคล้องกัน เช่น ตาฮิติก็เน้นสีสันฉูดฉาด เป็นความตั้งใจโดยรวม ว่าเราอย่าเหมือนกันเลย หรือเกาะบูราโนที่เวนิซ บ้ า นหลั ง หนึ่ ง สี ฟ ้ า อี ก หลั ง ก็ เ ป็ น สี ส ้ ม สี ช มพู ไม่เหมือนกันเลย เขาก็ต้องตกลงกัน พอรวมกัน มันก็สวย แต่ของเรามันไม่เชิงอย่างนั้น ของเรา อย่างเช่น เป็นตึกแถวเหมือนๆ กัน แต่มีห้องหนึ่ง ทาสี ล ายสกอตขาวแดง ซึ่ ง ผมก็ ว ่ า มั น ไม่ ผิ ด แต่เราก็ต้องคิดถึงสาธารณะนิดหนึ่ง ยกตัวอย่าง บ้านจัดสรร คุณเข้าไปในหมูบ่ า้ นก็เหมือนกันหมด หน้าต่าง หลังคา ถามว่าแบบนี้ถูกหรือผิด มันก็ ตอบไม่ได้ คุณซื้อบ้านคุณก็อยากมีอะไรที่เป็น เอกลักษณ์ อย่างที่คุณชอบ แต่เพราะคุณซื้อ บ้านของหมู่บ้าน เขาไม่อนุญาตให้คุณท�า เพราะ ทางหมู่บ้านเขาเชือ่ ว่าคอมมูนติ มี้ นั มีความส�าคัญ มากกว่าส่วนบุคคล ภาพรวมของหมูบ่ า้ นก็คล้ายๆ กัน บ้านสีขาว ครีม หลังคาสีนา�้ ตาล เทา แต่บาง หมู่บ้านที่ราคาแพงขึ้นมาเขาก็ยอมให้ลูกบ้าน ปรับเปลี่ยนได้ตามใจ แต่ก็ไม่ให้น่าเกลียด ในสายตาของคุณ ระหว่างความเหมือน กับความแตกต่าง แบบไหนดีกว่ากัน ผมว่ามันก็แล้วแต่นะ บ้านเราก็มเี สน่หใ์ นแบบ ของเรา ความชอบของแต่ละคนมันก็ไม่เหมือนกัน เราคงไปตัดสินใครไม่ได้ หรือบางทีอะไรทีเ่ หมือนๆ กันไปหมดมันก็อาจจะน่าเบื่อก็ได้ อย่างบ้านเรา ก็มั่วๆ ไปมันก็ตื่นเต้น สนุกดี ถึงอย่างไรสุดท้าย แล้วเราก็เปลี่ยนไม่ได้หรอก เพราะมันเป็นนิสัย ของเรา คนไทยเองก็เพิ่งมาเข้าคิวไม่นานนี้เอง ก็ ต ้ อ งคิ ด ว่ า ท� า แค่ ไ หนถึ ง ไม่ ไ ปรบกวนคนอื่ น อย่างชุมชนเดี๋ยวนี้เขาก็ช่วยกันคิด มาถามความคิดเห็นกันก่อน อย่างเมืองไทยแดดแรงทาตึกสีขาว หมดก็สะท้อนแดด ปวดตา อย่างผมเองออกแบบ ตึกก็เริ่มมาใช้สีดา� สีเทา บ้าง ก็ได้รับผลตอบรับ ดี น ะครั บ แต่ ถ ามว่ า ท� า ลายบริ บ ทเมื อ งไหม ผมคิดว่าไม่ เมือ่ ก่อนมีตกึ ใบหยกทีท่ าสีหลายๆ สี บางคนก็ด่า หาว่ามันไม่สวย แต่คนที่ออกแบบ เขาตั้งใจให้มันมีสีสัน สุดท้ายเรื่องบางเรื่องมันก็ เป็นเรื่องของแต่ละบุคคลอยู่ดี อย่างผมเองก็ชอบ ในความหลากหลาย ผมแต่งตัวไปท�างาน หิ้ว กระเป๋าหนังบ้าง หิ้วย่ามบ้าง แต่งตัวสีสดๆ บ้าง มีคนชอบบอกว่าสถาปนิกต้องคุมโทน ขาวๆ เทาๆ ด�าๆ ซึ่งผมก็สังเกตว่าจริง แล้วท�าไมมันต้องเป็น แบบนัน้ เสมอไปด้วย โดยเฉพาะคนไทยเราเป็นชาติ
ทีช่ อบสีสนั เราไม่ใช่ชาติเรียบๆ ทึมๆ มีนอ้ งคนหนึง่ เขาบอกว่า บ้านเราไม่ใช่มจู สิ ไตล์ ซึง่ ผมเห็นด้วย เลย เมืองในฝันของคุณน่าจะเป็นแบบไหน เป็นเมืองทีม่ ที างเลือก เมืองทีไ่ ม่มคี วามเหมือน กัน เมืองที่เป็นพหุนิยม อย่างญี่ปุ่นเองผมว่าก็ ไม่คอ่ ยหลากหลายเท่าไหร่ อย่างโตเกียวก็มยี า่ นต่างๆ ซึง่ ผมว่ามันก็คล้ายๆ กันไปหมด อย่างบ้านเราก็เริม่ มีทางเลือกบ้าง ขีจ่ กั รยานก็ได้ ขับรถก็ได้ ผมอยาก ให้ ทุ ก คนมี ท างเลื อ กในการอยู ่ อ าศั ย มากขึ้ น จะรถคันแรก คันทีส่ องอะไรก็วา่ ไป แต่ถา้ รวยมาก ก็จ่ายภาษีแพง จะเอารถเข้าเขตเมืองก็ต้องจ่าย เงิน จะเข้าเขตชั้นในก็ต้องติดสติ๊กเกอร์อนุญาต ใครไม่ มีส ติ๊ก เกอร์ ก็โ ดนต�า รวจจับ เพราะเรา ไม่ต้องการให้รถเข้ามามาก ไม่อย่างนั้นจักรยาน เข้ามาก็เจอกับมลพิษ แถมอาจเกิดอุบัติเหตุอีก ตอนนีผ้ มไม่แน่ใจว่าเมืองเรามีทางเลือกมากแค่ไหน อย่างน้อยในกรุงเทพฯ ก็ยงั ดี เรามีตลาดนัดจตุจกั ร มีสวนสาธารณะ ซึง่ พืน้ ทีส่ เี ขียวก็ตอ้ งมีมากกว่านี้ โดยส่วนตัวผมไม่ชอบเมืองที่เหมือนๆ กันไปหมด อย่างของเรายังมีชมุ ชนเกาะรัตนโกสินทร์ทสี่ วยงาม วัน หยุด จากการท�า งาน เราตื่น มา เราก็มีที่ไ ป มีทางเลือก ไม่ต้องไปแค่ศูนย์การค้าอย่างเดียว ผมคิด ว่ า เมือ งที่ดีก็คือ เมือ งที่มีท างเลือ ก และ เป็นเมืองที่มีคาแร็กเตอร์ของชุมชน อย่างที่รังสิต ก็มีคลอง มีก๋วยเตี๋ยวเรือ ก็มีเอกลักษณ์กันไป ในแต่ ล ะชุม ชน แต่ ล ะย่ า น ผมเองก็พ ยายาม ท�าตัวเองให้ตื่นเต้นและมีทางเลือกอยู่ตลอดเวลา อย่ า งผมสามารถไปวิ่ ง ได้ ต ามสวนสาธารณะ ไปตีแบดฯ เตะบอล ไปตีกอล์ฟ ผมสามารถกิน อาหารข้างถนนได้ แต่ขอให้สะอาดหน่อย และ ทางร้านก็ต้องไม่ไปเบียดเบียนใครด้วย ผมจะ ไม่ อุ ด หนุ น ร้ า นค้ า ที่ เ บี ย ดบั ง พื้ น ที่ ข องคนอื่ น นี่เ ป็ น ความเชื่อ ส่ ว นตัว ของผม แต่ ถ ้ า มัน ยื่น ๆ มาหน่อยก็พอรับได้ แต่ถ้ามาเบียดกัน แย่งที่กัน เอาเปรียบกัน อย่างนี้ผมก็ไม่สนับสนุน ตอนนีม้ นั มีเทรนด์ใหม่ๆ อะไรบ้างทีเ่ กิดขึน้ ในแวดวง สถาปัตยกรรม เท่าทีผ่ มจับได้นะ มันก็มอี ยู่ 2 ส�านัก ส�านักหนึง่ จะเป็นแนวอนุรักษ์พลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส�าหรับผม คิดว่าแนวทางนี้สา� คัญ เพราะเดี๋ยวนี้ มันไม่ต้องไปถามแล้วว่าโลกเรามันแย่ลงจริงไหม แต่การออกแบบในแนวทางนี้ ภาพลักษณ์ที่เห็น ก็อาจจะไม่หวือหวาถูกใจวัยรุ่น ซึ่งมันก็จะมีอีก ส�า นัก หนึ่ง คือ การสร้ า งอาคารที่มีเ อกลัก ษณ์ มีความแปลกประหลาด ไม่เหมือนใคร ส่วนส�านัก อื่นๆ ก็ยังมีอยู่ เช่น เน้นทางด้านวัฒนธรรม งาน ต้องมีรากเหง้า ซึง่ สุดท้ายแล้วมนุษย์เราถ้ายังล�าบาก อยู่ วัฒนธรรมมันก็ไม่มาหรอก เช่น น�า้ จะท่วม แผ่นดินไหว มันก็ต้องเอาตัวรอดกันก่อน อย่าง สถาปนิกรุ่นใหม่ๆ ผมก็เห็นว่าเขาเก่งขึ้นนะครับ แต่กต็ อ้ งระวัง เพราะว่าเดีย๋ วนีเ้ ราได้อะไรมาง่ายๆ ทัง้ ข้อมูลต่างๆ ทีห่ าได้ในอินเทอร์เน็ต การก่อสร้าง ต่างๆ ก็ไปลอกของต่างชาติมา อย่างนี้ก็มี มันก็ เป็นดาบสองคม แต่ถงึ อย่างไรการออกแบบเดีย๋ วนี้ ก็ยงั ดีกว่าสมัยก่อนเยอะ คุณลองสังเกตสิ คอนโดฯ ตึก อาคาร ห้างสรรพสินค้า ก็ดูสวยงามทันสมัย ต่างจากสมัยก่อนตอนผมเด็กๆ ที่มันมีไม่กี่ตึก เท่านัน้ ที่ได้รับการออกแบบมาอย่างดี แถมเราชี้ ได้เลยว่าใครออกแบบ นิยามของสถาปนิกในความคิดของคุณคืออะไร ส�าหรับนิยามสถาปนิกในภาพของผม คือ สถาปนิกเป็นผูส้ ร้าง เป็น creator หลังจากนัน้ จะมี ใครมาต่อเติมอะไรอีกผมไม่ว่าอะไร ถ้าเราสร้าง ตึกแล้วมันกันฝนได้ไม่ดี เขาจะมาต่อเพิงเพิ่ม ผม ก็ยินดี แถมยังรู้สึกเสียใจด้วย เพราะมันอาจจะ เป็นความผิดพลาดของเราที่ออกแบบไว้ไม่ดี
18
A DREAM WITHOUT
BORDERS ผู้ช่วยศาสตราจารย์
รัชด ชมภูนิช
คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศ า ส ต ร ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ ป ร ะ ธ า น จั ด ง า น สถาปนิก’56 ‘Borderless : แข่งขัน... แบ่งปัน’ ควบคู่ กั บ ต� า แ ห น ่ ง ค ณ บ ดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ต ร ศาสตร์ ผนวกกับเป็นผู้อยู่ เบื้องหลังกิจกรรมมากมาย ของสมาคมสถาปนิกสยาม นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลงาน ทางด้านบทความวิชาการ รวมไปถึงงานด้านคอลัมนิสต์ ให้กับหนังสือที่เกี่ยวข้องกับ วงการสถาปั ต ยกรรม ต่างๆ ในประเทศไทย พร้อม กับการเป็นพิธีกรรายการ โทรทัศน์ด้านการออกแบบ ทาง Design Channel อีกด้วย
บทบาทของคุณในงานสถาปนิก’56 ‘Borderless : แข่งขัน... แบ่งปัน’ ครัง้ นีม้ อี ะไรบ้าง ส�าหรับผม ในส่วนของการเป็นประธานจัดงาน คนนอกอาจฟังดูแล้วยิ่งใหญ่ แต่ จริงๆ ผมคิดว่าต�าแหน่งนี้ไม่ได้ส�าคัญกว่าต�าแหน่งอื่นๆ เลย เพราะพวกเราเป็นองค์กร ทีท่ า� งานร่วมกันเป็นทีมมาตลอดอยูแ่ ล้ว และในส่วนของคณะกรรมการจัดงานครัง้ นีก้ จ็ ะมี อายุสั้นๆ ประมาณ 1 ปีเท่านั้น ดังนั้น งานของผมหลักๆ ก็คือการออกแบบและจัดท�า เนื้อหานิทรรศการและกิจกรรมให้กับทางสมาคมนั่นเอง และในฐานะประธานจัดงาน ผมจึงเป็นเหมือนตัวหลักในการประสานงานกับทุกฝ่าย ซึ่งน้องๆ ในทีมและเจ้าหน้าที่ สมาคมเขาก็จะรู้ว่าเวลาท�างานนั้นจะต้องท�าอะไรบ้าง หนึ่ง สอง สาม สี่ กันอยู่แล้ว ดังนั้น สิ่งที่ส�าคัญส�าหรับผมก็คือ เราต้องมีสารหรือเรื่องราวใหม่ๆ มาน�าเสนอให้กับ สาธารณชนหรือสังคมได้เรียนรู้ผ่านการจัดงานสถาปนิก’56 ของเรา และความยาก จะอยู่ตรงที่ถ้าเราจะเล่าเรื่องอะไรขึ้นมาสักเรื่อง เราจะมีวิธีการสื่อสารอย่างไรเพื่อให้ เนือ้ หาที่ออกมามันตรงใจเรา และเป็นประโยชน์ต่อทั้งสังคมสถาปนิกและสาธารณะ สิ่งที่คุณอยากสื่อสารกับคนที่มาร่วมงานนั้นครอบคลุมเรื่องอะไรบ้าง ต้องเริม่ ต้นจากธีมหรือแนวคิดหลักของงานทีช่ อื่ ว่า ‘Borderless : แข่งขัน... แบ่งปัน’ ซึง่ เป็นการระดมความคิดของผมกับน้องๆ ในทีมกรรมการจัดงานจนออกมาเป็นคอนเซ็ปต์นี้ เพราะในแต่ละปีเราก็มเี รือ่ งทีต่ อ้ งการจะเล่าแตกต่างกันออกไป อย่างในหลายๆ ปีทผี่ า่ นมา เราเคยมีธีมเรื่องของการประหยัดพลังงาน เรื่องความสมดุลในการออกแบบบ้านและ อาคาร หรือแม้กระทั่งเรื่องของน�า้ ท่วม ซึ่งปีที่แล้วเราเอามาเป็นประเด็นหลักของงาน กันเลย และปีนเี้ มือ่ เราพิจารณาเรือ่ งราวในสถานการณ์ปจั จุบนั ทัง้ ในสังคมสถาปนิกของ ไทย และของโลก ว่ามีเรื่องอะไรที่น่าสนใจบ้าง ซึ่งส�าหรับผม ผมก็มีไอเดียเรื่องของ อาเซียน แต่บางคนก็อยากพูดเรื่อง global เรื่องโลกไร้พรมแดน หรือบางคนก็อยากพูด เรือ่ งการแบ่งปัน จึงเกิดเป็นธีมขึน้ มาว่า ‘Borderless : แข่งขัน... แบ่งปัน’ ซึง่ ภายในงาน จะมีเรื่องราวหลักๆ อยู่ 3 เรื่อง คือ เรื่องของโลกที่ไร้พรมแดน หรือ Borderless ไม่ว่าจะ เป็นทางเทคโนโลยี หรือทางการติดต่อสื่อสารปฏิสัมพันธ์อะไรกันก็ตาม เรื่องที่สองคือ เรื่องของอาเซียน หรือ Asian Insight ซึ่งถึงแม้คา� ว่าอาเซียนจะหมายถึงประเทศต่างๆ ประมาณ 10 ประเทศเท่านั้น แต่มันก็มีผลที่เกี่ยวข้องกับเราในฐานะประเทศไทย และ ในฐานะของคนที่เป็นสถาปนิกด้วย เพราะวิชาชีพสถาปนิกถือเป็น 1 ใน 7 วิชาชีพ ที่ต้องมีเรื่องของการเปิดเสรีทางการค้า ทางธุรกิจการบริการ มีการเคลื่อนย้ายเงินทุน เคลือ่ นย้ายแรงงานโดยเสรี ซึง่ ผมมองว่านีค่ อื คียเ์ วิรด์ ส�าคัญในเรือ่ งของเศรษฐกิจทีส่ า� คัญ เพราะว่าเรื่องอาเซียนหรือเรื่อง global ทั้งหลายก็คือการแข่งขันกันทางการค้า เราเลย อยากบอกสังคมในประเด็นที่ 3 ว่า ถึงแม้ว่าเราจะมีการแข่งขันกันในรูปแบบไหน
ก็ตาม แต่เราก็ยังอยากให้สังคมไทยหรือสังคมสถาปนิกของไทยไม่ลืมการแข่งขัน ที่ควบคู่ไปกับการแบ่งปันนั่นเอง การแบ่งปันในแง่มุมนี้มันก็มองได้หลายมิติ ตั้งแต่ ในแง่ของการเรียนรู้ การแบ่งปันประสบการณ์ หรือแม้แต่เรือ่ งราวต่างๆ ทีถ่ กู น�าเสนอ ออกไปในรูปแบบของกิจกรรมและนิทรรศการต่างๆ ภายในงาน ซึ่งงานสถาปนิก’56 จะมีทั้งส่วนที่เป็นอีเวนต์ และในส่วนที่เป็นนิทรรศการด้วยครับ คนที่มาเข้าชมงานส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มคนประเภทไหน ถ้าถามถึงสัดส่วน ผมคงต้องบอกว่าคนที่เป็นสถาปนิกบ้านเรานั้นมีอยู่จ�านวน ไม่มาก เรามีสถาปนิกทีล่ งทะเบียนกับสภาสถาปนิกเพือ่ การปฏิบตั วิ ชิ าชีพอยูป่ ระมาณ 15,000-20,000 คนเท่านัน้ เอง แต่วา่ ตัวเลขของสถาปนิกทีเ่ ข้ามาเยีย่ มชมงานในแต่ละปี มีประมาณ 8,000-10,000 คน หมายความว่าพวกเขาอาจจะมากันมากกว่า 1 ครั้ง ก็ได้ ตัวเลขนี้จึงเป็นตัวเลขที่นับซ�้าได้ หมายความว่าสถาปนิกส่วนใหญ่ในบ้านเรา ที่มาชมงานน่าจะมาจากสถาปนิกที่อยู่ในกรุงเทพฯ เป็นส่วนใหญ่ แต่ก็จะมีบางส่วน ที่เดินทางมาจากภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย เพราะงานสถาปนิกถือได้ว่าเป็น กิจกรรมที่มีความส�าคัญกับคนในวงการวิชาชีพสถาปนิกของประเทศไทยก็ว่าได้ ส่วนตัวเลขผู้เข้าชมงานที่เหลืออีก 3-4 แสนคนนั้น จะเป็นคนที่อยู่ในแวดวงออกแบบ และก่อสร้าง รวมทั้งประชาชนทั่วไป ส�าหรับบุคคลทั่วไป พวกเขาให้ความสนใจกับงานนี้แค่ไหน เนือ่ งจากงานสถาปนิกของเราไม่ใช่งานออกร้านขายของ แต่เป็นงานทีข่ ายความรู้ มากกว่า ดังนัน้ คนทีเ่ ข้ามาก็จะเป็นคนทีต่ อ้ งการข้อมูลต่างๆ ในการเอาไปใช้ประกอบ การตัดสินใจมากกว่า เช่น มาเพือ่ จะปรึกษาเรือ่ งบ้านของตัวเอง อยากหาความรูใ้ หม่ๆ ในการสร้างบ้านหรืออาคาร อยากเข้ามาดูว่าตอนนี้มีนวัตกรรมด้านวัสดุอะไรใหม่ๆ บ้าง เราก็จะมีไฮไลต์ส�าคัญคือนิทรรศการของสมาคม ซึ่งมีพื้นที่มากกว่า 6,000 ตารางเมตร และผมคิดว่าตรงนี้ท�าให้งานสถาปนิกมีความแตกต่างจากงานแฟร์อื่นๆ เพราะผมเชื่อว่างานนี้จะมีเนื้อหาที่มีประโยชน์กับคนที่อยู่ในแวดวงสถาปนิก แวดวง การออกแบบ คนในวงการอสังหาริมทรัพย์ หรือแม้แต่ประชาชนทัว่ ไปทีม่ คี วามสนใจ ทีส่ ามารถเลือกเอาความรูไ้ ปใช้ได้ในทุกระดับหรือทุกมิตทิ เี่ ขาสนใจ ซึง่ เป็นจุดมุง่ หวัง และจุดคาดหวังของผมและกรรมการการจัดงานที่ตั้งใจไว้ คุณคิดว่าการออกแบบอาคารให้ออกมาได้อย่างใจต้องอาศัยปัจจัยอะไรบ้าง ผมคิดว่าประเด็นส�าคัญอยู่ที่ลูกค้า เพราะว่างานที่สถาปนิกท�าส่วนใหญ่จะอยู่ ในส่วนของภาคเอกชน ถ้าลูกค้าในบ้านเรายังมองผลตอบแทนการลงทุนหรือว่าก�าไรขาดทุนมากจนเกินไป ก็จะเป็นอุปสรรคในการพัฒนางานสถาปัตยกรรมเหมือนกัน เพราะเทียบดูกันจริงๆ แล้ว สัดส่วนของค่าบริการวิชาชีพกับค่าก่อสร้างมันน้อยมาก เราได้ค่าแบบน้อย แต่งานและความรับผิดชอบของสถาปนิกเยอะมาก บางคนก็คิด เพียงแค่ว่าจ่ายเงินให้เราโดยการนับจ�านวนหน้าแบบก่อสร้าง เขามองไม่เห็นสิ่งที่อยู่ ในสมองของคนออกแบบหรือขัน้ ตอนในการผลิตงานแต่ละชิน้ ซึง่ ในงานสถาปนิกในปีนี้ ผมก็พยายามจะน�าประเด็นเหล่านี้มาน�าเสนอให้สังคมสาธารณะได้เห็นศักยภาพ ของสถาปนิกไทย ได้เห็นศักยภาพของการสร้างสรรค์การออกแบบในบ้านเราว่ามี ความสามารถเท่าเทียมกับระดับต่างประเทศ ค�าพูดที่ว่าบ้านเรายังอยู่ในช่วงของ การพัฒนา ผมก็ได้ยนิ มาตัง้ แต่เด็กๆ ซึง่ ผมก็ยงั เห็นว่าประเทศไทยเป็นประเทศทีก่ า� ลัง พัฒนามาตลอด ก็เลยท�าให้คนคิดถึงเรื่องปากเรื่องท้องเป็นประเด็นส�าคัญ เราก็เลย ยังไม่ได้มองในประเด็นในการพัฒนาด้านอื่นๆ เช่น คุณภาพชีวิต หรือพัฒนาในสิ่ง สวยๆ งามๆ เมื่อพูดถึงอาชีพต่างๆ เราก็จะรู้จักหมอ รู้จักผู้รับเหมา หรือรู้จักพ่อค้า มากกว่ารู้จักสถาปนิกเสียอีก ซึ่งเป็นเรื่องจริงที่น่าเศร้ามากส�าหรับสถาปนิก งานสถาปัตยกรรมในปัจจุบันถูกออกแบบมาเพื่อรับใช้ประชาชนได้แค่ไหน หรือจริงๆ คนทั่วไปต่างหากที่ต้องใช้ชีวิตตามสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นมา เพราะคุณบอกว่า การออกแบบส่วนใหญ่ยังคงต้องค�านึงถึงความต้องการของผู้ว่าจ้างเป็นหลัก ถ้าพูดถึงงานทั่วไปในส่วนของ Private Sector สถาปนิกเองก็ท�างานเพื่อตอบรับ ในเรือ่ งของผูว้ า่ จ้าง หรืออะไรก็ตาม แต่สถาปนิกเองก็ไม่ได้เดินตามเงือ่ นไขอย่างเดียว ผมว่าจุดส�าคัญหรือประเด็นส�าคัญในการออกแบบคือการสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต และคุณภาพการอยู่อาศัยของคนในอาคารให้ดีขึ้น ผมว่าสถาปนิกทุกคนมีจิตส�านึก เป็นอย่างดี ทั้งการออกแบบตามลักษณะของภูมิอากาศ เรื่องความสวยงาม แล้วยัง มีอีกบทบาทหนึ่งก็คือ บทบาทของสถาปนิกที่ทา� งานร่วมกับชุมชน อาทิ คุณ ปฐมา หรุ่นรักวิทย์ แห่ง Case และกลุ่ม CAN (Community Act Network) ผมว่าตรงนี้มันเป็น ภาพที่เริ่มชัดเจนมากขึ้นในบ้านเรา มีสถาปนิกหลายกลุ่มหลายท่านเลยทีเดียวที่ใช้ องค์ความรู้ของตัวเองเข้าไปท�างานโดยที่ไม่ได้รับค่าตอบแทนจากคนที่เป็นเจ้าของ พื้นที่นั้นๆ เขาอาจจะมีทุนอะไรก็แล้วแต่ แต่ตรงนี้ก็ทา� ให้สังคมไทยเราได้เห็นชัดเจน มากขึน้ ด้วยซ�า้ ว่างานสถาปัตยกรรมสามารถแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวติ ของคนได้จริงๆ คุณคิดว่าจิตวิญญาณของสถาปนิกนั้นคืออะไร สถาปนิ ก ก็ คื อ คนประเภทหนึ่ ง ที่ ถู ก สอนให้ ใ ช้ จิ น ตนาการอย่ า งสร้ า งสรรค์ ใช้กระบวนการในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม สิง่ ทีผ่ มคิดและเชือ่ มาโดยตลอด คือ วิชาชีพของเราเป็นวิชาชีพที่มีไว้แก้ไขปัญหาเป็นหลัก ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับ หมู่บ้าน ระดับชุมชน ระดับเมือง จนถึงระดับประเทศก็ตาม เราสามารถแก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค�านึงถึงมิติของสังคมหรือปัญหาของสาธารณะ ผมว่าตรงนี้ เป็นสิง่ ทีส่ า� คัญ ถ้าท�าได้สงั คมไทยก็จะมองเห็นศักยภาพและความส�าคัญของวิชาชีพ เรามากขึ้น เราจึงจัดกิจกรรมพิเศษขึ้น โดยเชิญสถาปนิกและนักออกแบบ 13 คน มาท�าโปรเจ็กต์ร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาที่อยู่รอบๆ ตัว เช่น มาช่วยกันคิดว่าเสาไฟที่มี สายไฟรกรุงรังน่าจะแก้ปัญหาได้อย่างไร ป้ายโฆษณาล้นเมือง ทางเท้าเดินไม่ได้ ห้องน�า้ สาธารณะ สะพานลอยที่ไม่มีคนใช้แถมไม่สวยอีกต่างหาก เหล่านี้เราจะท�า ออกมาให้ดีได้ไหม ผมคิดว่ามันจะท�าให้วิชาชีพของเรามีความใกล้ชิดกับสังคมหรือ กับคนไทยมากขึ้น ซึ่งผมเรียกว่าโปรเจ็กต์ ‘อาษาเปลี่ยนแปลง’ หรือ ‘ASA Change’ ซึ่งอยากเรียนเชิญมาชมกันในงานครับ
อาจารย์ สุธิดา สัตยากร กรรมการจัดงานสถาปนิก’56
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรนาถ สินอุไรพันธ์ เลขานุการ และกรรมการจัดงานสถาปนิก’56
อาจารย์ น�้าทิพย์ ยามาลี กรรมการจัดงานสถาปนิก’56
อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ประชาสัมพันธ์ และกรรมการจัดงานสถาปนิก’56 คุณ สมิตร โอบายะวาทย์ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิเชฐ โสวิทยสกุล กรรมการจัดงานสถาปนิก’56
คุณ สุรัสดา นิปริยาย กรรมการจัดงานสถาปนิก’56 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา กรรมการจัดงานสถาปนิก’56
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชด ชมภูนิช ประธานจัดงานสถาปนิก’56 และคณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คุณ พิพัฒน์ รุจิราโสภณ รองประธานจัดงานสถาปนิก’56 Mr. Luke Yeung กรรมการจัดงานสถาปนิก’56
คุณ กฤษณะ ธนะธนิต รองประธานจัดงานสถาปนิก’56
คุณ สุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์ กรรมการจัดงานสถาปนิก’56 หม่อมหลวง อรอ�าไพ พนานุรัตน์ กรรมการจัดงานสถาปนิก’56
คุณ ชิสากานต์ โรจนสุนทร รองประธานจัดงานสถาปนิก’56
สถาปนิก’56
‘BORDERLESS : แข่งขัน... แบ่งปัน’ • จัดขึน้ ระหว่างวันอังคารที ่ 30 เมษายน - วันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม 2556 ณ อาคารชาเลนเจอร์ ศูนย์การแสดง สินค้าอิมแพ็ก เมืองทองธานี ภายใน งานพบกับ • นิทรรศการกว่า 20 รายการ เช่น ASEAN Insight, ASA ปันปัญญา, อาคารใจดี, เครือข่ายอนุรักษ์ ฯลฯ • กิจกรรมและบริการ เช่น หมอบ้าน อาสา ที่มีสถาปนิกมาตอบปัญหา เรื่ อ งการสร้ า งบ้ า นตลอดงาน, ASA Theatre ที่ฉายหนังสั้นและ สารคดี ที่ มี คุ ณ ค่ า ทางสถาปั ต ยกรรม, ASA Book Shop พื้นที่ จ�าหน่ายหนังสือเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ฯลฯ • ASA Seminar & Forum ได้แก่ การประชุมสัมมนาทางด้านวิชาการ การอนุรักษ์ และภาคประชาชน ติดตามรายละเอียดได้ท ี่ www.asa. or.th และ www.architectexpo. com
20
GADGET Olympus Stylus TG-2
ACCESSORY
บางครั้งความบอบบางของอุปกรณ์ไฮเทคอาจเป็นอุปสรรคที่น่าหงุดหงิดไม่น้อยส�าหรับขาลุยที่หลงใหล ได้ปลื้มกับการท�ากิจกรรมหนักๆ ตลอดเวลา โดยเฉพาะกล้องถ่ายรูป ซึ่งหน้าที่ที่ควรจะเป็นของมันคือการติดตามตัวเราไปทุกที่ ไม่ว่าจะอยู่ใต้น�้า บนภูเขา หรือสถานที่ที่มีอากาศหนาวเย็น ด้วยเหตุนี้เราจึงอยาก แนะน�าให้คุณรู้จักกับเจ้า Stylus TG-2 กล้องดิจิตอลคอมแพ็ครุ่นใหม่ล่าสุดจากซีรีส์ Tough ที่ขึ้นชื่อในเรื่อง ความอึดทนทาน ซึง่ คุณสมบัตทิ โี่ ดดเด่นของมันคือประสิทธิภาพในการกันน�า้ ลึกถึง 15 เมตร กันการตกกระแทก สูงสุดที่ 2.1 เมตร ความสามารถในการทนความเย็นได้มากถึง -10 C� และความสามารถในการกันการกดทับ สูงสุดถึง 100 kgf ดังนั้น ไม่ว่ากิจกรรมของคุณจะหนักหน่วงขนาดไหน เจ้ากล้องตัวนี้ก็สามารถแบกรับไหว แถมยังมีฟงั ก์ชนั ถ่ายรูปได้หลากหลายรูปแบบอย่างทีก่ ล้องดิจติ อลรุน่ ใหม่ๆ ควรจะมีอีกด้วย
MOVIE
MUSIC Amok : Atoms for Peace
“งานโปรเจ็กต์เดี่ยวล่าสุดของ Thom Yorke ซึ่งเพลงของเขาจะไม่เหมือนกับตอนที่ท�ากับวง Radiohead เลย โดยเพลงจะผสมไปด้วยความหลอนของซาวนด์ดนตรี แต่แฝงไปด้วยความเกรีย้ วกราด เสียงกีตาร์แตกๆ และการดีไซน์เสียงเครื่องดนตรีที่แปลกใหม่ ซึ่งภาพรวมเต็มไปด้วยความลึกลับ ที่น่าสนใจมาก และโปรเจ็กต์นี้เขายังท�าร่วมกับเพื่อนๆ นักดนตรีคนอื่น เช่น Flea มือเบสจาก Red Hot Chili Peppers หรือ Joey Waronker มือกลองของ Beck เป็นต้น ดังนั้น ใครที่เป็นแฟน Thom Yorke หรือ Radiohead ในยุคหลัง รับรองว่าต้องชอบอัลบั้มนี้อย่างแน่นอน” แทร็กแนะน�า Ingenue, Default, Judge, Jury and Executioner และ Before Your Very Eyes เลือกให้โดย : ‘เนม’ - ปราการ ไรวา นักร้องน�า วง Getsunova
Midnight’s Children
นานทีปีหนที่หนังอินเดีย จะหลุ ด รอดมาฉายในโรงภาพยนตร์บ้านเรา แถมหนัง อิ น เดี ย เรื่ อ งนี้ ยั ง ขึ้ น ชื่ อ เป็ น หนั ง น่ า ดู ป ระจ� า สั ป ดาห์ นี้ อีกด้วย เพราะเพียงแค่เห็นชื่อ ของผู้ก�ากับหญิงชาวอินเดีย อย่าง ดีปา เมห์ทา ที่เคยถูก เสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศ มาแล้ ว จากภาพยนตร์ เ รื่ อ ง Water แถมบทภาพยนตร์ยัง ถูกดัดแปลงมาจากวรรณกรรม ชั้นเยี่ยมที่ครองใจชาวอินเดีย ทั่ ว โลกโดยนั ก เขี ย นเจ้ า ของ รางวั ล บุ ๊ ก เกอร์ ไ พรซ์ อ ย่ า ง ซัลแมน รัชดี อีกต่างหาก โดย หนังจะเล่าเรื่องราวปาฏิหาริย์ ในช่วงเทีย่ งคืนแห่งการประกาศ เอกราชของประเทศอิ น เดี ย ซึ่งมีทารก 581 คน ถือก�าเนิด หนึ่งในนั้นคือ ซาลีม ไซนาย และศิ ว ะ ที่ โ ดนโชคชะตา เล่ น ตลก ท� า ให้ พ วกเขาถู ก สลับตัวกันตั้งแต่แรกเกิด จาก ลูกนักธุรกิจกลายเป็นเด็กใน สลัม มีเพียงความรักและหัวใจ ที่ เ ข้ ม แข็ ง เท่ า นั้ น ที่ จ ะท� า ให้ เขากลับคืนสูต่ วั ตนทีแ่ ท้จริงได้ น�าแสดงโดย ซัทยา บาบาร์, ซิดดราห์ ฯลฯ เข้าฉายแล้ว วั น นี้ ในโรงภาพยนตร์ เ ครื อ เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์
TRIP
Ride on Doi Suthep
“ส�าหรับใครที่ชอบการขี่จักรยาน และยังไม่เคยลองสัมผัสกับการขี่จักรยานทางไกล ผมแนะน�าว่าให้ลองไปทริปขี่จักรยาน ลงจากดอยสุเทพกัน โดยเริม่ จากน�าจักรยานใส่รถแล้วขับขึน้ ไปจนถึงยอดดอย จากนัน้ ก็คอ่ ยๆ ปัน่ จักรยานลงมา และระหว่างทาง เราจะเจอกับทางที่เรียกว่า Double Track ซึ่งเป็นทางส�าหรับรถโฟร์วีลไดรฟ์วิ่ง ซึ่งความสนุกจะอยู่ตรงนี้ แต่คนที่จะลองไป อาจจะต้องเป็นคนที่ขี่จักรยานค่อนข้างแข็งแล้ว ส่วนความพิเศษอีกอย่างก็คือ ระหว่างทางจะได้ชมกับบรรยากาศที่เต็มไปด้วย ดอกพญาเสือโคร่งหรือดอกซากุระเมืองไทย สวนลิ้นจี่ และวัดต่างๆ ซึ่งเส้นทางนี้เป็นก็เป็นเส้นทางที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ นิยมอยูแ่ ล้ว และเส้นทางนีก้ ไ็ ม่ได้ทา� ให้เราเหนือ่ ยมาก เพราะส่วนใหญ่จะเป็นทางลาดลง ถ้าชอบการขีจ่ กั รยานต้องลองเลยครับ” เลือกให้โดย : ‘จึ๋ง’ - ดนุพล ดวงแสง มือกลอง วงเคลิ้ม
BOOK ยูนิเวอร์เศร้า
Henry Skeleton by Marc by Marc Jacobs
เผยโฉมนาฬิกา คอลเล็กชันล่าสุดออกมา แล้วส�าหรับ Marc by Marc Jacobs ที่ ดี ไ ซเนอร์ ชื่ อ ดั ง ได้ รั ง สรรค์ ผ ลงานเรื อ น พิ เ ศษ Henry Skeleton Limited Edition ด้วยดีไซน์ ลายฉลุตัวอักษรโลโก้โปร่ง ที่สามารถมองทะลุอันเป็น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะรุ ่ น บน หน้าปัดทรงกลม มาพร้อม กับสายสเตนเลสสตีลสีด�า กิมมิกอยูท่ แี่ ถบสีนอ็ กเอาต์พิ้ ง ก์ ด ้ า นหลั ง ตั ว อั ก ษร โลโก้ที่สามารถหมุนไปมา ได้ เ วลาขยั บ ข้ อ มื อ และ เพิ่มความเก๋ด้วยเข็มวินาที สี เ ดี ย วกั น ท�า ให้ ตั ว เรื อ น โดดเด่ น ดู มี เ สน่ ห ์ ยิ่ ง ขึ้ น ราคา 19,500 บาท หาซื้อ ได้ที่ร้านไทม์ เดคโค และ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ชั้ น น� า ทั่ ว ไ ป ส อ บ ถ า ม โ ท ร . 0-2347-0177 หรื อ ดู ร ายล ะ เ อี ย ด ไ ด ้ ที่ w w w . timedeco.co.th และ www.facebook.com/ timedecowatch
หนังสือเล่มใหม่ล่าสุดของ ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ให้บริการบล็อก Exteen.com ที่ช่วงหลังๆ มีงานเขียนและงานวาด ภาพประกอบออกมาให้เราได้อ่านหลายเล่ม ทั้ง 100 ขั้นตอนสู่ความล้มเหลว, 100 ขั้นตอนสู่การเลิกรา, โตเกียวเที่ยวที่หนึ่ง หรือ Draw Something ซึ่ง ยูนิเวอร์เศร้า จะเล่าเรื่องราวการผจญภัยในความเวิ้งว้างของห้วงอวกาศของเด็กชายผู้หม่นหมอง ซึ่งเขาได้มีโอกาส ไปเยี่ยมเยือนดาวต่างๆ ที่เต็มไปด้วยคนเศร้าหลากหลายประเภท ก่อนจะพบว่าแท้จริงแล้วไม่ได้มีแค่ตัวเขาที่เศร้าคนเดียวในจักรวาล นอกจากจะได้เพลิดเพลินไปกับเนื้อเรื่องสนุกๆ แล้ว เรายังจะได้เห็นภาพประกอบลายเส้นน่ารักๆ ฝีมือของทีปกรไปตลอดทั้งเล่ม ที่ส�าคัญ คือ อ่านจบแล้วคุณจะอยู่กับความเศร้าอย่างเข้าใจ
21
PLACE
Print Bar
ท�างานอย่างหน้าด�าคร�่าเคร่งกันมาทั้งวัน ตกเย็นก็ต้องแวะมาแฮงก์เอาต์ผ่อนคลายกันสักหน่อย และถ้าคุณยังไม่รู้ว่าหลังเลิกงานวันนี้ จะไปสลายความเครียดกันที่ไหน เราขอแนะ Print Bar ร้านกินดื่มที่ตกแต่งด้วยสไตล์โมเดิร์นเก๋ไก๋ ส่วนเมนูออเดิร์ฟที่แนะน�าก็คือ Grilled Calamari ปลาหมึกคลุกเกล็ดขนมปังกรุบกรอบ Mini Rare Tuna Burgers เบอร์เกอร์ทูนาชิ้นพอดีค�า Warmed Haloumi Cheese ชีสย่างหนึบหนับที่รับรองว่าต้อง ขอเบิ้ล ส่วนเครื่องดื่มของร้านนี้ก็เจ๋งไม่แพ้ใคร เพราะเขาใช้สมุนไพรไทยมาเป็นส่วนผสมเพื่อเรียกความสดชื่นกลับคืนมา เช่น Print Ginger ‘Mush’ ซึ่งมีขิงที่ช่วยให้รู้สึกเผ็ดร้อนและกระชุ่มกระชวย Cucumber Gimlet ค็อกเทลที่ใช้แตงกวาสดในการเพิ่มรสชาติ (แต่ไม่เหม็นเขียว) และ Spiked Lemonade รวมความเป็นมะนาวที่สร้างความจี๊ดจ๊าดจนคุณตาสว่างทันที Print Bar ตั้งอยู่ที่สุขุมวิท ซอย 55 (หรือริมถนนทองหล่อ ซอย 7) สามารถพาก๊วนของคุณมาเฮฮาได้อย่างเต็มที่ เพราะเจ้าของร้านบอกกับเราว่า อยากให้มาสนุกกัน ไม่ใช่มานั่งหงิมๆ แบบนั้นเขาไม่ปลื้ม!
SWEET
COSMETIC Kyo Roll En
Kyo Roll En (เกียว โรล เอ็น) ร้ า นขนมหวานสไตล์ ญี่ ปุ ่ น ใหม่ล่าสุดในเครือของบริษัทคชา บราเธอร์ส มาพร้อมคอนเซ็ปต์ ‘ความหวานเหนือระดับ แบบฉบับ เกียวโต’ ทีใ่ ห้ภาพของร้านไอศกรีม ที่ ไ ด้ แ รงบั น ดาลใจมาจากบ้ า น ในประเทศญี่ ปุ ่ น ที่ พิ เ ศษกว่ า ก็คือภาชนะที่ใช้กันอยู่ในร้านนั้น ท�าจากไม้ไผ่ ซึ่งทางร้านยืนยัน ว่าเป็นแห่งแรกในเมืองไทย และ ที่ขาดไม่ได้คือ ‘Kyoto Garden’ หรือที่รู้จักกันในนาม Zen Garden สวนหิ น หน้ า วั ด หรื อ หน้ า บ้ า น ในเกียวโต ก็มีอยู่ในร้านเช่นกัน เรียกได้ว่ามาที่ร้านนี้ไม่ต้องไป ถึ ง ญี่ ปุ ่ น ก็ สั ม ผั ส ได้ ค รบเลย ร ้ า น ตั้ ง อ ยู ่ บ น ชั้ น M ข อ ง ศู น ย์ ก ารค้ า เกตเวย์ เอกมั ย ใกล้ๆ นี่เอง
GIVE Volunteer with Greenpeace
ทุกวันที่ 22 เมษายนของทุกปี คนรักธรรมชาติทั่วโลกต่างพากันจัดกิจกรรมเนื่องในวันคุ้มครองโลก (Earth Day) ส�าหรับปีนี้เราขอเชิญชวนคนที่อยากท�าอะไรเพื่อโลกให้มาลองสละเวลาอันมีค่าของคุณ สมัครเป็นอาสาสมัครขององค์กรทีท่ า� งานรณรงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อมระดับโลกอย่างกรีนพีซ โดยช่วงนีท้ างองค์กร ก�าลังเปิดรับอาสาสมัครจนถึงวันที่ 30 เมษายนนี้ เข้าไปลงทะเบียนได้ที่ http://bit.ly/10mBfwb สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่คุณพิมพ์ใจ โทร. 08-1734-4435 เมื่อผ่านขั้นตอนการสมัครแล้ว ทางองค์กรจะติดต่อกลับ เพือ่ นัดหมายส�าหรับการปฐมนิเทศในล�าดับต่อไป รายละเอียดเพิม่ เติมเข้าไปอ่านได้ที่ www.greenpeace.org/ seasia/th/getinvolved/volunteer/info/
Blush Studio Blush’Em
Maybelline New York แบรนด์ เ ครื่ อ งส� า อางชื่ อ ดั ง และเมกอั พ สปอนเซอร์ ห ลั ก อย่างเป็นทางการของ นิ ว ยอร์ ก แฟชั่ น วี ก ต้ อ นรั บ ซัมเมอร์นดี้ ว้ ยสไตล์การแต่งหน้า สี สั น สุ ด ชิ ค ที่ ส ่ ง ต ร ง จ า ก นิวยอร์กรันเวย์ เพื่อให้สาวๆ ทั่ ว ทั้ ง โลกสวยเป๊ ะ ราวกั บ ซูเปอร์โมเดลในแบบของตัวเอง ด้ ว ยบลั ช ออนเนื้ อ ฝุ ่ น กั บ เทคโนโลยีที่แสงสามารถผ่าน ได้ จึงให้ความสว่างถึง 2 เท่า ด้วยเม็ดสีที่เล็กขนาดไมครอน ท� า ให้ เ นื้ อ บลั ช ออนเนี ย น ละเอี ย ดไปกั บ ผิ ว ไม่ ห นา ดูเป็นธรรมชาติ และรูปหน้า ยังชัด มีมิติสะกดทุกสายตา กั บ บลั ช ออน 6 เฉดสี แ ฟชั่ น สุดชิค ใหม่ล่าสุดส่งตรงจาก นิวยอร์ก ราคาเพียง 229 บาท
22
SHOPPING!
เสื้อยืดสีเทาอ่อน จาก Superdry
เสื้อยืดสีฟ้า จาก Superdry
เสื้อยืดสีเทาเข้ม จาก Superdry
เสื้อยืดแขนสั้นสีเขียวเลมอน จาก XACT
นาฬิกา Baby-G จาก Casio หมวกแก๊ปสีแดงเข้ม จาก Pull&Bear นาฬิกา Baby-G จาก Casio
เสื้อกล้ามสีชมพู จาก XACT
กางเกงขาสั้นสีนำ้าเงินเฉดม่วง จาก Dockers
ตามธรรมเนียมของคนรักสุขภาพ หลังจากว่างเว้นการออกกำาลังกายมานาน เนือ่ งจากไปใช้ชวี ติ ในช่วงวันหยุดยาวอย่างเต็มที่ ตอนนีก้ ถ็ งึ เวลาทีห่ นุม่ สาวทัง้ หลาย ต้องหันกลับมาดูแลตัวเองกันแล้ว ยิ่งถ้าพบว่าก้อนเซลลูไลต์เริ่มโผล่หน้าออกมา ทักทายให้เห็น ก็ต้องรีบจัดการอย่างเร่งด่วน แต่ถ้าความขี้เกียจเข้ามาครอบงำา และบัน่ ทอนความอยากออกไปออกกำาลังกายแล้วละก็ ทางแก้งา่ ยๆ ก็คอื จัดชุดสำาหรับ ออกกำาลังกายให้ตัวเอง แล้วเริ่มต้นกันเลย!
กางเกงขาสั้น ลายสกอต จาก Dockers
WHERE กระเป๋ากีฬาผ้าร่ม จาก Pull&Bear
สินค้ามีจำาหน่ายตามห้างสรรพสินค้าทั่วไป เสื้อกล้ามสีดำาประดับหมุด รูปริมฝีปาก จาก XACT
กระเป๋าเก็บอุปกรณ์ จาก Pull&Bear
รองเท้าหนังสีดำา คาดลายสีชมพู จาก adidas NEO กางเกงขาสั้นสีนำ้าตาลอ่อน จาก Dockers
รองเท้าผ้าหนังกลับสีนำ้าเงินเข้ม จาก adidas NEO
รองเท้าหนังกลับสีแดง จาก adidas NEO
รองเท้าวิ่งผ้าโพลีเอสเตอร์ ผสมหนังสีเทา จาก adidas NEO
CALENDAR
27
FRI
MON
TUE
WED
THU
7th Master of Fine Arts Exhibition 2013
(NOT) An Englishman in Bangkok : Y-UK
Les Mains en L’air
Pharmacide Arts
นิ ท ร ร ศ ก า ร จิ ต ร ก ร ร ม แ ล ะ สื่ อ ผ ส ม ‘ศิ ล ปกรรมมหาบั ณ ฑิ ต ครัง้ ที ่ 7 ปี 2556’ รวบรวม ผลงานของนั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญาโท หลั ก สู ต ร ศิ ล ปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบัง วันนี้ ถึง 28 เมษายน 2556 ณ ห้องนิทรรศการชั้น 1 ห้อง 3-4 หอศิลป์จามจุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3709
นิ ท รรศการศิ ล ปะที่ รวบรวมผลงานของศิลปิน และนั ก ออกแบบคลื่ น ลูกใหม่ของไทยที่ได้ผ่าน ก า ร ศึ ก ษ า ด ้ า น ก า ร ออกแบบเครื่ อ งประดั บ จากทั้งสถาบันการศึกษา ในประเทศไทย และสหราชอาณาจักร โดยร้อยเรียง ความคิดความสนใจจาก ประสบการณ์ผ่านเครื่องประดับในมุมมองทีห่ ลากหลาย วันนีถ้ งึ 28 เมษายน 2556 ณ ATTA Gallery เจริญกรุง ซอย 36 โทร. 0-2238-6422
เชิ ญ ชมภาพยนตร์ ฝรั่งเศสเรื่อง ‘Les Mains en L’air’ เรื่องราวของ มีลานา เด็กน้อยเชื้อสาย เชเชน ที่ลี้ภัยมาอยู่ที่กรุง ปารีส กับเพื่อนๆ ผู้ลี้ภัย วันหนึง่ มีลานามีความเสีย่ ง ทีจ่ ะถูกส่งตัวกลับประเทศ พวกเด็กๆ จึงได้ร่วมกัน วางแผนช่วยเหลือเพื่อน ของตน ชมฟรี วันนี ้ เวลา 19.30 น. ณ สมาคมฝรัง่ เศส กรุงเทพ โทร. 0-2670-4231
นิ ท รรศการศิ ล ปะ ‘ผลิตภัณฑ์ปลอม’ โดย มุ ่ ง ให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ อันตรายของผลิตภัณฑ์ ปลอมผ่ า นทางผลงาน ศิลปะในรูปแบบของรูปภาพ ประติมากรรม วิดโี อ วันนี้ ถึง 26 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8 หอศิลปวัฒนธรรม แห่ ง กรุ ง เทพมหานคร โทร. 0-2214-6630 ต่อ 501 (เว้นวันจันทร์)
An Autumn Afternoon
เชิ ญ ชมภาพยนตร์ ญี่ปุ่นเรื่อง ‘An Autumn Afternoon’ เรื่องราวของ พ่ อ กั บ ลู ก สาวที่ ถึ ง วั ย ออกเรือน ใจหนึ่งก็อยาก ให้ลูกมีความสุขไปกับคู่ ของตน แต่ อี ก ใจหนึ่ ง ก็อยากเก็บลูกสาวไว้กับ ตัว ในทีส่ ดุ เขาก็ตอ้ งตัดใจ และนั่งลงดื่ม กับ เพื่อนๆ ตลอดเย็ น หนึ่ ง ในฤดู ใบไม้รว่ ง ชมฟรี วันนี ้ เวลา 18.30 น. ณ ห้องสัมมนา เจแปนฟาวน์เดชัน โทร. 0-2260-8560-4
20 21 SAT
SUN
Toe Live in Bangkok
Chiang Mai Revisited
พบกับการแสดงสด อย่างเต็มรูปแบบของวง ‘Toe’ วงดนตรีโพสต์ร็อก จากญีป่ นุ่ สนุกไปกับลีลา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง และความสวยงามทาง ดนตรี ใ นการแสดงสด วั น นี้ เวลา 20.30 น. ณ โรงภาพยนตร์สกาลา จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ต เมเจอร์
นิทรรศการ ‘เล่าเรือ่ ง เมืองใหม่’ ทีจ่ ะเปิดอีกหนึง่ โลกทั ศ น์ ข องเชี ย งใหม่ ในกรอบความคิดของเมือง ที่ถูกขับเคลื่อนจากพื้นที่ ภายใน โดยมีงานออกแบบ และการจั ด วางเป็ น สื่ อ ในการถ่ า ยทอด วั น นี้ ถึ ง 30 มิ ถุ น ายน 2556 ณ TCDC ศูนย์เชียงใหม่ โทร. 052-080-500 ต่อ 1 (เว้นวันจันทร์)
30
HOME THAT MAKES MY DAY เรื่อง : อาทิตยา อาศิรวาท ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
ว่ากันว่า อะไรก็ตามที่คนเราท�าส�าเร็จเป็นครั้ง แรก มักจะน�ามาซึง่ ความภูมใิ จในเรือ่ งราวเหล่านัน้ อยู่เสมอ จึงไม่แปลกที่หลายคนยังจดจ�าวันแรก ที่ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยหรือวันแรกที่เข้าท�างาน ได้ อ ยู ่ เ สมอ แต่ ส� า หรั บ ‘ขนมจี น ’ - กุ ล มาศ ลิม ปวุฒิวรานนท์ ศิล ปิน สาวเสียงดีจากค่า ย Kamikaze สิ่ ง ที่ ท� า ให้ เ ธอรู ้ สึ ก ภู มิ ใ จมากที่ สุ ด ในเวลานี้คือการมีบ้านหลังแรกเป็นของตัวเอง “ความจริงแล้วบ้านหลังนี้เป็นบ้านหลังที่สอง ของเรา คือบ้านหลังแรกเป็นบ้านทีเ่ ราซือ้ ให้คณ ุ แม่ ส่วนบ้านหลังนี้เป็นหลังที่สอง แต่เป็นบ้านหลังแรก ทีเ่ ป็นชือ่ ของเรา เราจึงภูมใิ จกับบ้านหลังนีเ้ ป็นพิเศษ แม้จะอยูม่ าได้แค่ 2-3 เดือน แต่กร็ สู้ กึ ผูกพัน เพราะ ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดจากน�้าพักน�้าแรงของเรา ไม่ว่า มองไปมุมไหนก็จะรู้สึกมีความสุขและชื่นใจเสมอ” เมื่อพูดคุยถึงเรื่องการออกแบบ กุลมาศเล่า ให้เราฟังว่า “ส่วนใหญ่การออกแบบในบ้านหลังนี้ จะเป็นฝีมอื ของคุณแม่คะ่ อย่างห้องทานข้าวคุณแม่ ก็เป็นคนออกไอเดียทั้งหมด เราจะเป็นคนช่วยดู ช่วยออกความคิดเห็นในตอนท้ายมากกว่าว่าโอเค ไหม โดยส่วนตัวแล้วจะชอบบ้านที่ให้บรรยากาศ ของความอบอุ่น อยู่แล้วรู้สึกสบาย เป็นกันเอง” เราทุกคนน่าจะเคยจินตนาการถึงบ้านในฝัน ของตัวเองว่าอยากให้เป็นอย่างไร เช่น ใครที่ชอบ การผจญภัยก็อาจจะอยากมีบ้านบนต้นไม้แบบ หนังเรื่องทาร์ซาน แต่ส�าหรับสาวรักสวยรักงาม อย่างกุลมาศแล้ว ห้องที่จะขาดไม่ได้ในบ้านแห่ง ความฝันของเธอคือห้องแต่งตัวแบบ Walk-in Closet “บ้ า นหลั ง นี้ เ ติ ม เต็ ม ความฝั น ของเรามากๆ เพราะตอนเด็กๆ เราจะคิดเสมอว่าอยากมีบ้านที่มี ห้องแต่งตัวแบบ Walk-in Closet และในที่สุดเราก็มี ห้องแต่งตัวแบบนัน้ จริงๆ ในบ้านหลังนี ้ ซึง่ นอกจาก เติมเต็มความฝันแล้ว มันยังตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ ของเราได้อย่างดี ด้วยความที่เราท�างานในวงการ บันเทิงเลยมีเสือ้ ผ้าค่อนข้างเยอะ การจัดเก็บเสือ้ ผ้า และเครือ่ งแต่งกายต่างๆ จึงเป็นเรือ่ งส�าคัญทีจ่ ะต้อง
ออกแบบให้หยิบใช้สะดวก” ท้ายที่สุด กุลมาศได้กล่าวกับเราถึงความสุขที่ อบอวลอยูใ่ นบ้านหลังนีว้ า่ “แม้บา้ นหลังนีจ้ ะไม่ใหญ่โต เหมือนบ้านหลังเก่า แต่เราชอบความรูส้ กึ เมือ่ ได้อาศัย อยู่ที่น ี่ เพราะทุกคนได้ใกล้ชิดกันมากขึ้น เราสัมผัส ได้ถงึ ความอบอุน่ ของครอบครัว ก้าวเข้ามาเมือ่ ไหร่ ก็รสู้ กึ หายเหนือ่ ย ประกอบกับบ้านหลังนีอ้ ยูไ่ ม่ไกล จากย่านทีเ่ ราต้องไปท�างานบ่อยๆ เหมือนบ้านหลังเก่า ท�าให้ลดระยะเวลาเดินทางกลับบ้าน ความสุขจึงอยู่ ใกล้ยิ่งขึ้นกว่าเดิม”
นักร้องที่สร้างพลังในการท�างานได้เสมอ - บียอนเซค่ะ เพลงที่ชอบที่สุดคือ ‘Halo’ เกมสุดฮิตประจ�าบ้าน - Central Dance 4 เป็นเกมเต้นส�าหรับเครื่อง Xbox ที่สนุกมาก งานบ้านที่ท�าได้ไม่เบื่อ - ชอบดูดฝุ่น เสียงมัน ดัง ดี เวลาเปิดเครื่อ ง มันจะดูดทุกสิ่งทุกอย่างเข้าไป รู้สึกเป็นงาน ที่เราท�าแล้วเห็นผลดี (หัวเราะ) กิจกรรมยามว่าง - ชอบท�างานประดิดประดอย สิ่งของท�ามือ อย่างถักไหมพรมหรือปักครอสติช
32
HEALTH
HEALTH TIPS
WHAT DREAMS CAN TELL YOU ABOUT YOUR HEALTH มีการศึกษาระบุว่า คนอายุ 10 ปีขึ้นไป มักจะนอนหลับฝันเฉลี่ยคืนละ 4-6 เรื่อง นอกจากคนไทยเราที่นิยมน�าเรื่องราวในความฝันไปตีความ เป็นตัวเลขเพื่อเสี่ยงโชคแล้ว รู้หรือไม่ว่า ความฝันของเราก็ยังสามารถ ส่งสัญญาณถึงสุขภาพของคนเราได้อีกด้วย และนี่คือ 3 สิ่ง ที่ความฝัน ก�าลังกระซิบบอกถึงสภาพร่างกายของคุณ
37
• คุณอาจจะเป็น ไข้ เนื่อ งจากมีการศึกษาพบว่า การไม่สบายหรือเป็นไข้เป็นตัวกระตุ้นให้คนเราฝันร้าย ได้ โดยมีข้อมูลจาก Mayo Clinic สหรัฐอเมริกา ระบุว่า ถ้าหากไม่มีสัญญาณบ่งบอกใดๆ จากร่างกายว่าก�าลัง จะไม่สบาย การทีค่ ณ ุ ฝันแปลกๆ ถือเป็นสัญญาณหนึง่ ที่บอกคนไข้ได้ว่าเขาอาจก�าลังป่วยในไม่ช้า • คุณอาจจะก�าลังตัง้ ครรภ์ มีการศึกษาพบว่า ผูห้ ญิง ที่รู้สึกว่า ตนเองฝันมากกว่า ปกติ ซึ่งโดยส่ว นใหญ่ จะเป็นฝันที่มีเรื่องราวเข้มข้น ตื่นเต้น แปลกประหลาด ไปจนกระทั่งฝันร้าย เป็นสิ่งที่บ่งบอกว่าคุณก�าลังจะ โชคดีหรือตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการศึกษาในประเทศ อิตาลีพบว่า ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์จะมีการฝันในระยะเวลา สั้นแต่ถี่กว่าคนทั่วไป ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นฝันร้าย • คุณอาจก�าลังเครียดมากเกินไป มีการศึกษาพบว่า เมื่อคนเรามีความกดดันหรือมีความเครียดสูง เมื่อถึง เวลาเข้านอน ความเครียดเหล่านั้นก็จะติดตามไปด้วย แม้ ย ามหั ว ถึ ง หมอน ส่ ง ผลให้ คุ ณ มั ก จะฝั น แนว แปลกประหลาด ผิดปกติเหนือธรรมชาติ หรือบางครั้ง ก็อาจจะฝันสิ่งที่เป็นนามธรรม ดังนั้น หากความฝัน ของคุณเป็นเรื่องประมาณนี้ ก็คงถึงเวลาแล้วที่คุณ จะต้องหาวิธีผ่อนคลายให้กับตัวเองบ้าง ที่มา : www.huffiffiingtonpost.com
Q : ดืม่ นมวันละ 2 แก้ว ก็เพียงพอแล้ว ส�ำหรับเด็กๆ จริงหรือไม่
A : จริง เนื่องจากมีการอธิบายเรื่องนี้ โดย ดอกเตอร์ โจนาธัน แมกไกวเออร์ แพทย์จากแคนาดา ระบุว่า การดื่มนม เพียงวันละ 2 แก้ว ก็เพียงพอแล้วส�าหรับ เด็กส่วนใหญ่ทตี่ อ้ งการเพิม่ วิตามินดีให้แก่ ร่างกาย เพราะในอดีตมีขอ้ ถกเถียงกันมาก ว่าเด็กๆ ควรดื่มนมอย่างน้อย 4 แก้ว เพื่อให้ได้วิตามินดีในปริมาณที่ร่างกาย ควรได้รับต่อวัน แต่นายแพทย์คนเดิม กล่าวว่า นมวัวสามารถเพิม่ วิตามินดีให้แก่ ร่างกายได้กจ็ ริง แต่กม็ สี ว่ นท�าให้ปริมาณ ธาตุเหล็กในร่างกายลดลงเล็กน้อย ซึ่ง ธาตุเหล็กนั้นมีส่วนส�าคัญต่อการพัฒนา สมองและป้องกันโลหิตจาง ดังนัน้ ปริมาณ ที่เหมาะสมที่สุดส�าหรับเด็กๆ คือดื่มนม เพียงวันละ 2 แก้ว เพราะเป็นปริมาณ ทีท่ า� ให้เด็กได้รบั วิตามินดีเพิม่ ขึน้ ในขณะ เดียวกันก็ยงั คงรักษาปริมาณธาตุเหล็กไว้ได้ ที่มา : www.healthnews.com
มีการศึกษาพบว่า กะหล�า่ ดอกเป็นผักชนิดหนึง่ ทีม่ โี อเมกา-3 สูงไม่แพ้ปลาทะเลหรือพืชตระกูลถัว่ ซึ่งมีประโยชน์ตอ่ ระบบการท�างานของหัวใจ โดยพบว่าการทานกะหล�า่ ดอก 1 ถ้วย ให้โอเมกา-3 มากถึง 37 มิลลิกรัม
HEALTH NEWS นักวิจัยแนะ เพิ่มโพแทสเซียม ลดเกลือ เลี่ยงเส้นเลือดในสมองตีบตันได้ มีการศึกษาตีพิมพ์ใน British Medical Journal ระบุว่า การบริโภคผักและผลไม้ที่มี โพแทสเซียมสูง เช่น กล้วย พีช แคนตาลูป มันฝรั่ง 2-3 ผลต่อวัน พร้อมกับลดการบริโภคเกลือ สามารถลดความเสี่ยงเป็นโรคเส้นเลือดในสมองตีบตันได้ ทางด้านองค์การอนามัยโลก (WHO) ยังแนะน�าอีกว่า ส�าหรับผู้ใหญ่ ควรจะรับโพแทสเซียมให้ได้อย่างน้อยวันละ 4 กรัม เนื่องจาก มีการวิจัยรับรองแล้วว่าการได้รับโพแทสเซียม 3-4 กรัมต่อวัน สามารถลดความดันในเส้นเลือด และลดความเสี่ยงเป็นโรคเส้นเลือดในสมองตีบตันได้ 24% ทางด้าน เกรแฮม แม็กเกรเกอร์ นักวิจัยจาก Queen Mary กล่าวว่า “ในสหราชอาณาจักร ประชาชนทานเกลือเฉลี่ยมากถึง 9.5 กรัมต่อวัน ซึ่งควรจะลดมาให้เหลือเพียง 5 กรัมต่อวันเท่านั้น โดยเกลือและโพแทสเซียม ท�างานในทางตรงกันข้ามกัน การปฏิบัติควบคู่กันระหว่างการเพิ่มโพแทสเซียมและการลดเกลือ ในอาหารจะเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการลดความเสี่ยงเป็นโรคเส้นเลือดในสมองตีบตัน” ที่มา : www.bbc.co.uk
34
HEART
HEART TIPS
4 WAYS TO SILENCE YOUR INNER CRITIC
เรามั ก จะได้ ยิ น ค� า แนะน� า เรื่องการนิ่งและครุ่นคิดอยู่กับ ตัวเอง และแน่นอนว่านั่นเป็น เรื่องดี อย่างไรก็ตาม การคิด มากไปหรือคิดกับทุกเรือ่ งทีผ่ า่ น เข้ามาในชีวิต ก็อาจเป็นการท�าร้ายจิตใจตัวเองได้เช่นกัน วั น นี้ เ ราจึ ง ขอแนะน� า เทคนิ ค ที่น่าสนใจที่จะช่วยให้เสียงดัง กึ ก ก้ อ งอยู ่ ใ นหั ว ใจของคุ ณ เบาลงบ้าง
• เก็บสิ่งที่ท�าให้คุณรู้สึกแย่ลงในกล่อง แล้ววางมันให้ไกลจาก สายตาของคุณ เช่น รูปภาพของคนที่ทา� ให้คุณช�า้ ใจ หนังสือพิมพ์ ที่ลงข่าวที่ทา� ให้คุณไม่สบายใจ เป็นต้น เพราะการปล่อยให้ตัวเอง ต้องเห็นสิง่ ทีท่ า� ให้ไม่สบายใจอยูซ่ า�้ ๆ จะท�าให้การลบความรูส้ กึ ไม่ดี เกีย่ วกับเรือ่ งนัน้ ท�าได้ยากขึน้ แน่นอนว่าการท�าแบบนีม้ นั อาจไม่ทา� ให้ คุณลืม แต่อย่างน้อยก็ทา� ให้คณ ุ ไม่ตอ้ งเห็นและคิดเรือ่ งนัน้ ตลอดเวลาได้ • โอบกอดความไม่สมบูรณ์แบบในตัวคุณไว้ ถามว่าท�าไมต้อง คิดเช่นนี้ เราก็คงต้องถามคุณต่อไปว่า ระหว่างเป็นคนสมบูรณ์แบบ ตลอดเวลา กับเป็นคนทีม่ ขี อ้ บกพร่องอยูบ่ า้ ง อย่างไหนจะท�าให้ชวี ติ รู้สึกกดดันน้อยกว่านั้น เราคิดว่าคนส่วนใหญ่น่าจะเลือกอย่างหลัง เพียงแต่ว่าคุณต้องรักษาสมดุลในเรื่องนี้ให้ดี และอย่าปล่อยให้ ตัวเองมีข้อบกพร่องมากเกินไป ในขณะเดียวกันสิ่งใดที่เป็นจุดเด่น ของคุณก็ต้องรักษาและพยายามพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นเสมอ • ถ้าเรือ่ งนีเ้ กิดขึน้ กับคนอืน่ คุณจะให้คา� แนะน�าอย่างไร การโทษ ตัวเองซ�้าๆ มีแ ต่ท�าให้ส ถานการณ์แ ย่ล ง และก�า ลังใจหดหาย เราขอให้ คุ ณ ลองพลิ ก มุ ม คิ ด ดู ว ่ า ถ้ า เรื่ อ งนี้ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ คุ ณ แต่เป็นคนใกล้ตวั คุณ คุณจะแนะน�าให้เขาท�าอย่างไร บางทีคา� แนะน�า ที่คุณเคยบอกกับคนอื่น อาจช่วยคุณในเวลานี้ก็ได้ • ยกโทรศัพท์โทร.หาคนที่คุณไว้ใจ ในกรณีที่คุณพยายาม ด้วยตัวเองแล้วแต่ไม่สา� เร็จ อาจถึงคราวทีจ่ ะต้องลองแชร์เรือ่ งทีค่ ณ ุ ไม่สบายใจให้คนอืน่ ฟังบ้าง ไม่วา่ จะเป็นพ่อแม่ พีน่ อ้ ง หรือเพือ่ นสนิท เพราะถ้าคุณรักเขา และเขาก็รกั คุณแล้ว เราคิดว่าคงไม่ตอ้ งเกรงใจ ที่จะระบายความทุกข์ให้ฟัง ในทางตรงข้าม คนที่รับฟังอาจจะดีใจ ด้วยซ�้าที่คุณนึกถึงเขาในยามมีปัญหา เพราะนั่นหมายความว่า คุณรูส้ กึ ว่าเขาส�าคัญพอทีจ่ ะพูดคุยในเรือ่ งส�าคัญในชีวติ ของคุณได้ ที่มา : www.huffiffiingtonpost.com
LISTEN TO YOUR HEART
หลายครัง้ เรามักบอกผูอ้ นื่ ว่าเรารับฟัง กัน แต่เคยสงสัยไหมว่าท�าไมผูค้ นในสังคม ถึงยังคงไม่เข้าใจความรู้สึกและความต้ อ งการของกั น และกั น อย่ า งแท้ จ ริ ง เป็นไปได้ไหมว่าที่ผ่านมาแล้วเราฟังแค่ เสี ย งที่ ผ ่ า นเข้ า หู ม า แต่ ไ ม่ ไ ด้ ย อมรั บ ให้เสียงเหล่านัน้ ดังเข้ามาในจิตใจของเรา ถ้าคุณเป็นคนหนึง่ ทีเ่ ห็นด้วยกับสิง่ เหล่านี้ เรามี กิ จ กรรมดี ๆ มาน� า เสนอ นั่ น คื อ กิ จ กรรม ‘ฟั ง ด้ ว ยหั ว ใจ’ จั ด ขึ้ น โดย เสมสิกขาลัย หน่วยงานการกุศลภายใต้ มู ล นิ ธิเ สฐี ย รโกเศศ-นาคะประที ป ภายในงานคุณจะได้เรียนรูห้ ลักการสันติวธิ ี เบื้องต้น ฝึกทบทวนการฟังที่ผ่านมาว่า ท�าให้เกิดอุปสรรคในการสื่อสารอย่างไร ฝึ ก ฝนทั ก ษะการรั บ ฟั ง ด้ ว ยใจตาม แนวทางการสื่อสารอย่างสันติ เป็นต้น ส� า หรั บ ผู ้ ส นใจ งานจะจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 28 เมษายน 2556 ณ เรือนร้อยฉน�า สวนเงินมีมา คลองสาน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่โทร. 0-2314-7385-6 หรือ www.semsikkha.org
“คนฉลาด ไม่ใช่แค่ ‘ฉลาดพูด’ เท่านั้น ต้องรู้จัก ‘นิ่งอย่างมีสติ’ ให้เป็นด้วย ต้องรู้ในสิ่งที่ไม่ควรพูด ให้มากยิ่งกว่าสิ่งที่ควรพูด” พุทธทำส อินทปัญโญ
ถ้าใครติดตามการจัดอันดับของนิตยสาร ฟอร์บส์ เป็นประจ�า จะรูว้ า่ มีลสิ ต์หนึง่ ที่ ฟอร์บส์ จัดขึน้ ทุกปีคอื อันดับมหาเศรษฐีทอี่ ายุนอ้ ยทีส่ ดุ โลก ซึง่ ในปีนมี้ ชี อื่ ของ นิโคลัส วูดแมน ซีอีโอของ GoPro บริษัทผลิตกล้องแห่งยุคโซเชียลเน็ตเวิร์กอยู่ในลิสต์นี้ด้วย ส�าหรับใครที่ยังไม่รู้จักผู้ชายคนนี้ ขอเชิญลดระดับสายตาอ่านบรรทัดต่อไปได้เลย
Name : Nicholas Woodman Nationality : American Age : 37
“Things happen when you are pursuing your passion.” <<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<
ที่มา : www.forbes.com, http://warmsouthernbreeze.wordpress.com, http://en.wikipedia.org/wiki/Nick_Woodman
• นิโคลัส หรือ นิก วูดแมน เป็นชายหนุ่มที่หลงใหลการเล่นกีฬา เอ็กซ์ตรีม ทั้งสกี เซิร์ฟ หรือปีนเขา มาตั้งแต่ยังเป็นวัยรุ่น โดยสิ่งที่ ขาดไม่ได้ในทุกครัง้ ทีเ่ ขาออกไปเล่นกีฬาคือกล้องถ่ายภาพ จนกระทัง่ ปี ค.ศ. 2002 เขาและจิลล์ แฟนสาว ได้ออกเดินทางเพื่อท่องเที่ยว และเล่นเซิร์ฟหรือกระดานโต้คลื่นในแถบประเทศอินโดนีเซียและ ออสเตรเลียเป็นเวลา 5 เดือน และพบว่ากล้องดิจติ อลทีเ่ ขาพกมานัน้ ไม่เอาไหนเสียเลย เพราะแม้จะกันน�า้ ได้ แต่ก็ไม่สามารถติดกับตัว หรือติดกับกระดานโต้คลืน่ ของเขาได้ ท่าโพสและเกลียวคลืน่ อันสวยงาม จึงไม่ถูกบันทึกไว้ดูในวันที่กลับอเมริกา • ด้วยปัญหาที่เขาประสบ จึงเกิดเป็นไอเดียทางธุรกิจ หลังจากนิก กลับจากการเดินทางครั้งนั้นก็คิดว่าตนเองจะผลิตกล้องชนิดใหม่ ที่สามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวขณะเล่นกีฬาได้โดยเฉพาะ วิธีการ หาทุนของเขาคือ ขับรถไปที่ชายหาดในแคลิฟอร์เนียกับแฟนสาว เพือ่ ขายเข็มขัดท�าจากเปลือกหอยทีเ่ ขากว้านซือ้ มาจากตลาดบนเกาะ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ราคาเส้นละ 1.90 ดอลลาร์สหรัฐฯ จ�านวน 600 เส้น โดยเขาสามารถท�าราคาได้สูงถึงเส้นละ 60 ดอลลาร์ฯ เมือ่ ได้เงินมาจ�านวนหนึง่ เขาก็ได้ยมื แม่ของตัวเองอีก 35,000 ดอลลาร์ฯ เพือ่ ตัง้ บริษทั GoPro ผลิตและพัฒนากล้องต้นแบบจากแนวคิดของเขา • จนในที่สุดนิกก็ท�าเสร็จ ในปี ค.ศ. 2004 กล้องรุ่นแรกของเขา
ได้ถกู ปล่อยออกมา เป็นกล้องถ่ายภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวระบบ ดิจติ อลทีเ่ ลียนแบบการท�างานของกล้องถ่ายหนังแบบฟิลม์ 35 มม. มีเลนมุมกว้างถึง 170 องศา คมชัดระดับ High Defiffiinition และหาก ผูใ้ ช้งานเชือ่ มต่อกล้อง 2 ตัวเข้าด้วยกัน ก็สามารถสร้างภาพแบบ 3 มิติ ได้อกี ด้วย และจากอุปสรรคในการถ่ายภาพกีฬาในอดีต ท�าให้เขาพัฒนา อุปกรณ์เสริมขึน้ มา ได้แก่ ขาตัง้ กล้องทีต่ ดิ กับตัวผูใ้ ช้ หมวกกันน็อก กระดานโต้คลืน่ และอุปกรณ์ทที่ า� ให้ผใู้ ช้คาบกล้องขณะถ่ายภาพได้ • ทันทีที่กล้องของเขาถูกโปรโมตออกไป ก็ได้รับกระแสนิยมจาก หมูผ่ เู้ ล่นกีฬาอย่างล้นหลาม สอดคล้องกับความเฟือ่ งฟูของยุคแห่ง โซเชียลเน็ตเวิรก์ ทีค่ นมักจะชอบโพสต์คลิปหรือภาพเจ๋งๆ ของตัวเอง ท�าให้ยอดขายกล้องของเขาจนถึงปี ค.ศ. 2012 อยู่ที่ 2.3 ล้านตัว คิดเป็นเงิน 521 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือราว 15,630 ล้านบาท และมีการรายงานว่า มีคลิปในเว็บไซต์ยทู บู ทีถ่ า่ ยจากกล้องของเขา ถูกอัพโหลดขึ้นใหม่ในทุกๆ 1 นาที • จากรายได้มหาศาลนีเ้ อง ท�าให้นกิ ถูกจัดอันดับเป็นหนึง่ ในมหาเศรษฐี ทีอ่ ายุนอ้ ยกว่า 40 ปี ทีร่ า�่ รวยทีส่ ดุ ในโลก โดยมีรายได้สทุ ธิในปัจจุบนั อยู่ที่ 1,300 ล้านดอลลาร์ฯ หรือราว 39,000 ล้านบาท ส�าหรับใคร ที่อยากรู้ว่าภาพจากกล้องของเขาจะเจ๋งแค่ไหน สามารถชมได้ที่ www.gopro.com
ALL ABOUT BIZ
36
BIZ IDEA
BIZ LIFE
THE VALUE OF HONESTY ชัยฤทธิ์ สิมะโรจน์
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซัสโก้ จ�ากัด (มหาชน) ทายาทรุ่น ที่ 2 ของตระกูล ทีเ่ ข้ามาช่วยพลิกวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2545 ซึง่ ตอนนัน้ บริษัทมีหนี้สินมากถึง 1,200 ล้านบาท ให้กลับมาฟื้นตัวได้อีกครั้ง พร้อมสร้างผลก�าไรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดได้น�าซัสโก้เข้าถือหุ้น กิจการปิโตรนาสในประเทศไทย ท�าให้บริษทั มีเครือข่ายสถานีบริการน�้ามันเพิ่มขึ้น • ก่อนที่บริษัทจะเจอพิษเศรษฐกิจ ผมก็สงสัยมาตลอดว่าท�าไมบริษัทเราถึง ไม่ค่อยมีผลก�าไรเลย ทั้งๆ ที่เราก็มีความพร้อมในทุกด้าน พอได้เข้ามาดูแล อย่ า งเต็ ม ตั ว ผมก็ เ ริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการพู ด คุ ย กั บ เจ้ า หนี้ ต ่ า งชาติ เ พื่ อ ท�า การประนอมหนี้ พร้อมกับปรับโครงสร้างภายในองค์กรด้วยการลดค่าใช้จ่าย ฟุ่มเฟือยต่างๆ ให้เหมาะสม โดยพักเรื่องของการขยายธุรกิจเอาไว้ก่อน • ความผิดพลาดที่ผมเรียนรู้มาคือ ในตอนนั้นเรายังเป็นบริษัทเล็กๆ แต่กลับ ใช้วิธีการบริหารงานแบบองค์กรใหญ่ เช่น จัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ มาเกินก�าลัง ทีพ่ นักงานจะดูแลไหว หรือกักตุนวัตถุดบิ ไว้จา� นวนมาก เพราะเห็นว่าถ้าซือ้ เยอะ จะได้ราคาที่ถูกลง แต่ลืมดูไปว่าศักยภาพของเราในตอนนั้นยังไม่สามารถ จัดการกับงานสเกลใหญ่ได้ดีพอ • เคยมีคนแนะน�าผมว่าไม่ต้องไปสนใจเจ้าหนี้ที่อยู่ต่างประเทศ เราไม่ต้องไป ชดใช้เงินให้เขาก็ได้ แต่ผมเลือกการเจรจาต่อรองเพราะไม่ต้องการหนีใคร สุดท้ายเขาก็ลดหนี้ให้กับเราเป็นจ�านวนมาก ท�าให้บริษัทสามารถเดินหน้า ต่อไปได้ • จากเดิม เวลาขนถ่ า ยสิน ค้ า ข้ า มจั ง หวั ด มั ก จะมี สิ น ค้ า บางส่ ว นตกหล่ น หายไป เวลาตรวจสอบก็ไม่สามารถหาสาเหตุได้ ผมจึงเข้ามาจัดระบบใหม่ ให้ผู้จัดการแต่ละสาขามีส่วนรับผิดชอบถ้าสินค้าสูญหายมากกว่าที่ขีดเส้นไว้ เมื่อผู้จัดการสาขาเข้ามามีส่วนในการรับผิดชอบ ทุกอย่างก็เริ่มดีขึ้น เพราะ ก่อนหน้านั้นเราเองก็ไม่มีกฎชัดเจนว่าถ้าสินค้าสูญหายแล้วจะต้องท�าอย่างไร • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์กรช่วงแรกก็มีคนที่ไม่เข้าใจและต่อต้าน อยู่บ้าง แต่ถ้าเราจัดระบบที่สมดุลให้กับบริษัทและพนักงานได้แล้ว พอผ่าน ไปสักพัก ทีมงานก็จะเข้าใจและยอมรับได้ เพราะสิ่งที่ท�าลงไปไม่ใช่เพื่อใคร คนใดคนหนึ่ง เมื่อบริษัทมีผลก�าไร ค่าตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ ของ พนักงานก็ดีขึ้นตามล�าดับ • ตอนที่อยู่ในช่วงของการฟื้นฟูบริษัท ผมจะบอกทีมงานเสมอว่า ตอนนี้ เราจะแพ้ไม่ได้อีกแล้ว ดังนั้น สิ่งไหนที่จา� เป็นต้องตัดก็ต้องตัด ความเข้มงวด ในการท�างานต้องมากขึ้น เพราะต้นทุนของวัตถุดิบคือสิ่งที่เราควบคุมได้ แต่ย อดขายเป็น สิ่ง ที่อ ยู่เ หนือ การคาดการณ์ ถ้ าผู้ บ ริ โภคไม่ สนใจสิ นค้า ของเรา การด�าเนินธุรกิจก็จบ • ผมเคยคิดว่าถ้าขายของดีไม่ต้องท�าการโฆษณาก็ได้ เดี๋ยวผู้บริโภคก็น�าไป
บอกต่อกันเอง ซึ่งเป็นความคิดที่ผิด การท�าการตลาดก็คือการสร้างแบรนด์ อย่างหนึ่ง เพียงแต่ต้องท�าไปตามความเหมาะสมกับก�าลังของตัวเอง • ถึงแม้จะทุ่มทุนในการโฆษณาสินค้าแค่ไหน แต่ถ้าคุณไม่ปรับปรุงบริการ ของคุณให้ดีขึ้นควบคู่ไปด้วย ถ้าภาพออกไปดีแต่คนมาใช้บริการไม่ได้รับ การดูแลที่ดี เขาก็มากันแค่ครั้งเดียว • การเข้าไปร่วมทุนกับอีกบริษัทหนึ่ง ปัญหาที่ต้องพบก็คือความไม่เข้ากัน ของระบบการท�างาน และความคิดที่แตกต่างกัน สุดท้ายผมจึงต้องอาศัย ความเด็ดขาดในการพูดคุยกันว่า ผมมีนโยบายหรือแนวทางดังนี้ คุณเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย ถ้าไม่เห็นด้วยจะท�าอย่างไร หรือถ้าการปรับเปลี่ยนครั้งนี้ ส่ ง ผลกระทบกั บ ตั ว คุ ณ มากเกิ น ไป บางที ก็ ต ้ อ งเลื อ กว่ า จะไปต่ อ กั บ เรา หรือเปล่า ถ้าไม่อยู่ต่อก็ขอให้ท�างานที่เหลืออย่างเต็มที่จนวันสุดท้ายแล้วกัน • ส�าหรับคนท�างาน การเดินทางก็เป็นปัญหาที่ส�าคัญเหมือนกัน ผมจะคุยกับ คนที่ บ ้ า นอยู ่ ไ กลว่ า ไหวหรื อ เปล่ า ถ้ า ต้ อ งมาเสี ย พลั ง ไปกั บ การเดิ น ทาง ในแต่ล ะวัน ถึงแม้ว่าคนคนนั้นจะมีคุณสมบัติเพียบพร้อมในการท� างาน แค่ไหนก็ตาม แต่ถ้าถูกบั่นทอนพลังกายทุกวันจากสภาพการจราจร ผมเอง ก็อยากให้เขามองทางเลือกอื่นที่ดีกว่า • คุณภาพของสินค้าคือสิ่งที่ส� าคัญที่สุด เพราะถ้าเราเกิดละเลยท� าให้มี สิง่ แปลกปลอมปะปนเข้ามาในสินค้าระหว่างการขนย้าย เมือ่ ผูบ้ ริโภคน�าไปใช้ แล้วเกิดความเสียหายต่อตัวเขา เราก็จะถูกมองได้ว่าขายของไม่ดีให้แก่ ประชาชน • การท�าธุรกิจก็ต้องรู้จักใช้หลักความพอเพียงด้วย รู้จักการจัดการเรื่อง รายรับ-รายจ่าย อย่าเพิ่งไปท�าสิ่งที่ไม่ช�านาญในขณะที่ยังเดินได้ไม่แข็งแรง รอให้ธุรกิจของคุณมั่นคงเสียก่อน ถึงตอนนั้นอยากจะลองแตกกิ่งก้านสาขา ไปท�าธุรกิจด้านอื่นก็ท�าได้ตามสบาย • การท�าธุรกิจต้องมีความซื่อสัตย์น�ามาก่อน ความซื่อสัตย์นี้ต้องครอบคลุม ทั้งหมดทั้งตัวเอง ทีมงาน ไปจนถึงลูกค้า และมีความรับผิดชอบทั้งต่อหน้าที่ การงาน รับผิดชอบต่อพนักงาน และมีความรอบรู้ในเรื่องของการท�าธุรกิจ เพราะถ้าคุณมีแค่ความซื่อสัตย์กับความรับผิดชอบ แต่ไม่มีความรู้ของกลไก ตลาด ธุรกิจก็เติบโตไม่ได้อยู่ดี
ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ หรือที่เรารู้จัก กั น ดี ใ นนามของบิ ล บอร์ ด คื อ สื่ อ โฆษณา ที่ทรงพลังในแง่ของการสร้างความจดจ�าใน แบรนด์สินค้าให้ผู้คนที่ผ่านไปผ่านมาได้เป็น อย่างดี แต่ลา่ สุดนอกจากจะสร้างความจดจ�า แล้ ว บริ ษั ท ผลิ ต กระดาษยั ก ษ์ ใ หญ่ แ ห่ ง ประเทศเม็กซิโกยังสามารถดึงการมีส่วนร่วม ของลูกค้าผ่านบิลบอร์ดขนาดใหญ่ใจกลางเมือง ได้อีกด้วย โดยการออกแบบบิลบอร์ดที่ว่านี้ จะมีห้องเล็กๆ อยู่ด้านหลัง เพื่อให้ศิลปิน นักวาดใช้เป็นที่อยู่อาศัยแบบชั่วคราวขณะที่ ก�าลังสรรค์สร้างผลงานชิ้นใหม่ได้ ซึ่งในห้อง ดังกล่าวจะประกอบไปด้วยห้องครัว ห้องน�้า เตี ย งนอน รวมถึ ง โต๊ ะ ท� า งานเล็ ก ๆ ที่ ใ ช้ ส�าหรับคิดงาน และทุกๆ วันศิลปินที่อยู่อาศัย ในห้องนัน้ ก็จะออกมาวาดลวดลายบนบิลบอร์ด ให้ผู้คนที่ผ่านไปผ่านมาได้เห็นกันแบบสดๆ ที่ ส� า คั ญ คื อ ลวดลายแต่ ล ะแบบที่ ศิ ล ปิ น บรรจงวาดลงไปล้วนมาจากความคิดเห็นของ ผู้คนในเมืองที่ช่วยกันส่งไอเดียของพวกเขา ให้กับศิลปินผ่านทางทวิตเตอร์ ถือเป็นการสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมกันระหว่างแบรนด์ สินค้า ศิลปิน และผูค้ นบนท้องถนน จนในทีส่ ดุ ก็ออกมาเป็นผลงานศิลปะขนาดใหญ่ทที่ กุ คน ภูมิใจ กลายเป็นทอล์กออฟเดอะทาวน์ได้ ในระยะเวลายาวนานเป็ น เดื อ นๆ ถื อ เป็ น ไอเดีย สดใหม่ ที่ใช้ เงินไม่ ม าก แต่ สามารถ สร้างความจดจ�าได้เป็นอย่างดี เพียงแค่ตอ่ ยอด จากสิ่ ง เดิ ม ๆ ที่ มี อ ยู ่ โดยเพิ่ ม ความคิ ด สร้างสรรค์ลงไป ใครสนใจไอเดียนี้ ลองแวะ ไปที่ www.scribebillboard.com
BIZ QUOTE
BIZ BOOK AEC หรือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือสิ่งที่ ก�าลังเข้ามาสร้างความเปลีย่ นแปลงให้กบั คนท�าธุรกิจ ที ล ะน้ อ ย และจะทวี ค วามส� า คั ญ มากขึ้ น ในอี ก ไม่เกิน 2 ปีข้างหน้า ขณะที่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ยังมีอยู่อย่างจ� ากัด หนั ง สื อ เล่ ม นี้ น ่ า จะช่ ว ยเปิ ด โลกแห่ ง เศรษฐกิ จ การค้า และการลงทุนในกลุ่มประเทศอาเซียนได้ คิดอย่างอาเซียน : Think ASEAN เป็นอย่างดี ผ่านมุมมองของปรมาจารย์ดา้ นการตลาด ผู้เขียน : Philip Kotler, Hermawan Kartajaya, อันดับ 1 ของโลกอย่าง ฟิลิป คอตเลอร์ และทีมงาน มืออาชีพ ซึ่งจะมาชี้ให้เห็นถึงโอกาสของผู้ประกอบHooi Den Huan ผู้แปล : ดร. ผุสดี พลสารัมย์, ดร. ภาณุชาติ การในการขยายตลาดไปยังกลุ่มประเทศอาเซียน นอกจากนี้ยังจะช่วยสะท้อนมุมมองที่หลากหลาย บุณยเกียรติ เกี่ยวกับ AEC ทั้งเรื่องเทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม ส�านักพิมพ์ : แมคกรอ-ฮิล รวมทั้งความแตกต่างและอัตลักษณ์ของประชากร ราคา : 175 บาท
Scribe Billboard
กว่า 600 ล้านคน ใน 10 ประเทศอาเซียน ซึ่งถือเป็น ความท้ า ทายครั้ ง ใหญ่ ข องนั ก การตลาดทั่ ว โลก ที่ ส� า คั ญ หนั ง สื อ เล่ ม นี้ ยั ง ได้ ห ยิ บ ยกกรณี ศึ ก ษา ของบริ ษั ท ต่ า งๆ ที่ ป ระสบความส� า เร็ จ อย่ า งสู ง ในการท� า ธุ ร กิ จ กั บ ตลาดอาเซี ย นอย่ า งครบถ้ ว น ทุกสาขา ตั้งแต่ธุรกิจขนาดเล็กอย่างร้านอบขนมปัง ร้านกาแฟ ไปจนถึงธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น ธุรกิจ ประกอบรถยนต์ หรือธุรกิจสายการบิน โดยปูพนื้ ฐาน ตั้งแต่ความเป็นมาของธุรกิจแต่ละแห่ง ไปจนถึง ลักษณะของการประกอบการ และเคล็ดลับสู่ความส�าเร็จของพวกเขา เพื่อให้นักธุรกิจที่สนใจจะลงทุน ในตลาดนี้ได้ติดตามกลยุทธ์ และเรียนรู้บทเรียน ส�าคัญซึ่งจะน�าไปสู่ความส�าเร็จในที่สุด
“IF YOU DON’T SELL, IT’S NOT THE PRODUCT THAT’S WRONG, IT’S YOU.” Estee Lauder Co-founder of Estee Lauder Companies
38
‘6.2.13’ กระแสตอบรับดีเยี่ยม ทุบสถิติขายบัตรคอนเสิร์ตหมดเร็วที่สุดแห่งปี!
แถลงข่าวฉลองความส�าเร็จกันไปเรียบร้อยแล้ว ส�าหรับคอนเสิร์ตแห่งประวัติศาสตร์ ‘6.2.13’ ของ 6 ศิลปิน - เจ เจตริน, คริสตินา อากีลาร์, ทาทา ยัง, มอส ปฏิภาณ, นัท มีเรีย และยูเอชที ด้วยการทุบสถิติ ของการขายบัตรคอนเสิรต์ หมดทุกทีน่ งั่ ในระยะเวลาทีเ่ ร็วมาก คือ 4 รอบแรก ขายหมดภายในชัว่ โมงครึง่ และเปิดขายรอบที ่ 5 อีก 5,000 ทีน่ งั่ หมดภายในไม่ถงึ ครึง่ ชัว่ โมง งานนี ้ ‘พีฉ่ อด’ - สายทิพย์ มนตรีกลุ ณ อยุธยา บอสใหญ่เอ-ไทม์ โชว์บิส ผู้ผลิตคอนเสิร์ตในเครือ เอ-ไทม์ มีเดีย เป็นปลื้ม สั่งจัดงานแถลงข่าวเพื่อขอบคุณแฟนๆ พร้อมจัดมินิโชว์จากเหล่าศิลปินเรียกน�้าย่อยเบาๆ ที่ลานแฟชั่นฮอลล์ ชั้น 1 สยามพารากอน ก่อนไปมันกันให้เต็มที่ในวันจริง วันที่ 3-5 พฤษภาคม 2556 ณ รอยัลพารากอนฮอลล์ สยามพารากอน
‘ยูแชนแนล’ สานต่อโปรเจ็กต์ ‘ททท.’ จัดทริปนานาชาติพาชมตลาดน�้าที่สมุทรสงคราม
‘เมจิกฟาร์ม’ จัดกิจกรรมดับร้อนแก้กระหาย คลายง่วง ช่วงสงกรานต์ บริษัท ศรีนานาพร มาร์เก็ตติ้ง จ�ากัด ผู้ผลิตและ จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์เมจิกฟาร์ม จัดกิจกรรมพิเศษดับร้อน แก้กระหาย และแก้ง่วง เอาใจผู้ใช้รถใช้ถนนให้ขับขี่ อย่างปลอดภัยในช่วงวันหยุดยาวสงกรานต์ที่ผ่านมา โดยแจกฟรี ผลิตภัณฑ์เมจิกฟาร์มโอเลี้ยงผสมเฉาก๊วย เครื่องดื่มเย็นๆ ชื่นใจกินแล้วไม่ง่วง โดยมีพรีเซ็นเตอร์ ศิ ล ปิ น ตลกชั้ น น� า ของเมื อ งไทย ‘แอนนา ชวนชื่ น ’ ร่วมสนุกกับกิจกรรมในครัง้ นี ้ ด้วยการเป็นผูแ้ จกผลิตภัณฑ์ ให้กบั ลูกค้าทีแ่ วะมาพักรถ ณ ศูนย์บริการ อ�าเภอวังน้อย กม. 73 เมื่อวันที่ 11 เมษายนที่ผ่านมา
หลังจากประสบความส�าเร็จกับทริปนานาชาติสุดมันที่จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีหนุ่มหล่อ ‘ไทม์’ - จิรศักดิ์ บุญมี พิธีกรประจ�ารายการ GoGo Guide ทางช่อง You Channel รับหน้าทีเ่ ป็นไกด์พาไปสัมผัสวิถชี วี ติ ของคนไทย เรียกว่าจัดเต็มตลอดทัง้ ทริปจริงๆ ตัง้ แต่โปรแกรมแรกทีอ่ ทุ ยาน ร.2 ต่อด้วยตลาดน�้าด�าเนินสะดวก ซึ่งหนุ่มไทม์ได้พาไปทั้งล่องเรือชมวิว เรียนรู้วิธีการท�าน�้าตาลสดและน�้าตาลปึกแบบโบราณ แถมยังพาไปเปลี่ยน บรรยากาศชมความตื่นเต้นของพ่อค้า-แม่ค้าที่ ‘ตลาดร่มหุบ’ กับความสามารถพิเศษในการกางและเก็บแผงสินค้าที่วางบนพื้นรางรถไฟในชั่วพริบตา และไม่พลาดทีจ่ ะปิดท้ายความประทับใจของทริปด้วยการพาไปเทีย่ วตลาดน�า้ ยามเย็นอัมพวา อีกหนึง่ มนต์เสน่หข์ องตลาดน�า้ ในเมืองไทย เรียกว่าประทับใจ กันตั้งแต่ต้นจนจบเลยทีเดียว ส�าหรับครั้งหน้าจะพาไปประทับใจกับความเป็นไทยที่ไหน ติดตามที่ช่อง You Channel โทรทัศน์ของคนรักดนตรีอันดับ 1 ของเมืองไทย สามารถรับชมผ่านจานดาวเทียม PSI, กล่อง Sun Box ช่อง 10 และเคเบิลทีวีทั่วประเทศ
มอบรางวัลสุดพิเศษให้ผู้โชคดีในแคมเปญ ‘2013 LOL Lucky Out Loud’
ณัฐศมน วงศ์กิตติพัฒน์ ผู้จัดการใหญ่การตลาด บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ากัด และ อภิชัย ธรรมศิรารักษ์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ทีซี ซูบารุ (ประเทศไทย) จ�ากัด ร่วมมอบรางวัล รถยนต์ Subaru รุ่น XV 2.0i Premium รางวัลละ 1,350,000 บาท จ�านวน 2 รางวัล รวมมูลค่า 2,700,000 บาท และโทรศัพท์ BlackBerry Bold 9790 รางวัลละ 12,990 บาท จ�านวน 200 รางวัล รวมมูลค่า 2,598,000 บาท ให้ผู้โชคดีจากแคมเปญ ‘2013 LOL Lucky Out Loud’ โดยมี วัชนี ศิรประภา, กฤษณยศ บูรณะสัมฤทธิ ร่วมงานที่ Living Gallery 1 ชั้น 3 สยามพารากอน
40
จอห์นนี่ วอล์กเกอร์ จับมือผู้ก�ากับภาพยนตร์ระดับโลก เปิดตัวแคมเปญ ‘Will You Keep Walking?’ ส่งต่อแรงบันดาลใจให้คนไทยทั่วประเทศ ด้วยเรื่องราวแห่งต�านานของ ‘เต๋อ เรวัต’
บริษัท ดิอาจิโอ โมเอ็ท เฮนเนสซี ่ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้นา� เข้าจอห์นนี ่ วอล์กเกอร์ สานต่อปรัชญา Keep Walking ด้วยการเปิดตัวแคมเปญระดับโลก ‘Will You Keep Walking?’ จับมือผู้ก�ากับภาพยนตร์ระดับโลก ‘โจเซฟ คาห์น’ หยิบเรือ่ งราวของผูพ้ ลิกต�านานวงการดนตรีในประเทศไทย ‘เต๋อ’ - เรวัต พุทธินนั ทน์ มาร่วมส่งต่อแรงบันดาลใจให้กบั คนไทยทัว่ ประเทศ พร้อมทัง้ กระตุน้ ให้ทกุ คนกล้าท�าตามความฝันและก้าวสูค่ วามส�าเร็จ ในท้ายที่สุด นอกจากเรื่องราวแห่งแรงบันดาลใจ และการเลือกผู้กา� กับภาพยนตร์อย่าง ‘โจเซฟ คาห์น’ มาเป็นผู้กา� กับภาพยนตร์เรื่องนี้แล้ว จอห์นนี ่ วอล์กเกอร์ ยังเลือกบริษัทด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกระดับโลกอย่าง ‘The Mill London’ ซึ่งเป็นบริษัทผลิตงานด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกและวิชวลเอฟเฟ็กต์ระดับโลกที่เคยได้รับรางวัลส�าคัญในสายงานนี้มาแล้วมากมาย มาเป็นผู้จ�าลองตัว เต๋อ เรวัต ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เพื่อให้ภาพยนตร์ เกิดความสมจริง และสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ชมได้อย่างไม่รู้จบ ติดตามชมภาพยนตร์ชุด ‘Will You Keep Walking?’ พร้อมทั้งติดตามย่างก้าวของเราได้ท ี่ www.facebook.com/JohnnieWalkerTH
Nail Villa ยกระดับความงามแบบครบวงจร ด้วย ‘Nail Villa and Spa Cottage’
มิกซ์แอนด์แมตช์สนุกสนานไปกับ ‘Cove - Emily Everyday Closet by Big C’
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ห้างค้าปลีกชั้นน�า จัดแฟชั่นโชว์เขย่าวงการแฟชั่นไทย กับงาน ‘Cove - Emily Everyday Closet by Big C’ เปิดตัวไพรเวตแบรนด์ โฉมใหม่ เอาใจนักแต่งตัวและขาโพสต์โซเชียลมีเดียให้มกิ ซ์แอนด์แมตช์เสือ้ ผ้าได้ไม่ซา�้ กันทุกวัน ภายใต้ยหี่ อ้ Cove และ Emily ตามคอนเซ็ปต์ ‘Fun Affordable Street Fashion มิกซ์สนุก ราคาสบาย ใส่ได้ทุกวัน’ งานนี้ได้พระเอกหนุ่มหล่อสุดร้อนแรง เคน ภูภูมิ ควงคู่นางเอกสาวสวยสุดน่ารัก คิม คิมเบอร์ลี มาร่วม เลือกสรรคอลเล็กชันมิกซ์แอนด์แมตช์ 7 วัน 7 ชุด ไม่ซ�้า มาเป็นไฮไลต์ในงานแฟชั่นโชว์ พร้อมเปิดตัวเทคโนโลยีลองชุดสุดล�้า ‘ห้องลองเสมือนจริง (Kinect Virtual Fitting)’ ให้เหล่าแฟชั่นนิสต้า คนรักการแต่งตัว และสื่อมวลชน ได้ลองชุดแบบเสมือนจริงบนหน้าจอทีวีขนาดยักษ์โดยไม่ต้องใส่หรือถอดเสื้อผ้า เป็นตัวคุณแบบไม่ซ�้าแบบใคร มิกซ์แอนด์แมตช์ได้ดั่งใจ คุ้มค่าสไตล์บิ๊กซี กับ Cove - Emily by Big C ได้แล้ววันนี้ที่บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ทุกสาขา ทั่วประเทศ
มูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดี จัดแถลงข่าวโครงการพัฒนาอาคารและจัดหา เครื่องมือแพทย์เพื่อผู้ป่วยยากไร้
ศ. นพ. วินิต พัวประดิษฐ์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และประธาน กรรมการบริหารมูลนิธริ ามาธิบดีฯ พร้อมด้วย รศ. นพ. ธันย์ สุภทั รพันธ์, พรรณสิร ี คุณากรไพบูลย์ศริ ,ิ วลีรัตน์ สิงคิวิบูลย์, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, ชนิตา ปรีชาวิทยากุล, เชียร์ ฑิฆัมพร และ คุณ ย่ า สิริน ภา รักษาบุญ พร้อ มหลานแฝดสาว ร่วมงานแถลงข่าวโครงการพัฒนาอาคาร และจัดหาเครือ่ งมือแพทย์เพือ่ ผูป้ ว่ ยยากไร้ และร่วมถ่ายทอดประสบการณ์ตรงในหัวข้อ ‘ชีวติ ใหม่... ให้ได้ไม่สิ้นสุด’ ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อเร็วๆ นี้
Nail Villa เปิดบริการมาตั้งแต่ปลายเดือนเมษายน 2554 เพื่อให้บริการด้านเล็บมือ-เท้าอย่างครบวงจร โดยเน้นคอนเซ็ปต์ ‘For Your Healthy and Shiny Nails’ และเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ต้องการ ให้เป็น One-Stop Beauty Salon ร้าน Nail Villa จึงได้เพิม่ บริการแว็กซ์ขนด้วย และเช่นเดียวกับบริการด้านเล็บ ที่เน้นเลือกแต่ผลิตภัณฑ์นา� เข้าที่ดีและปลอดภัยที่สุด อย่าง Depileve และล่าสุด Nail Villa ได้ก้าวไปอีกขั้น โดยย้ายสถานทีต่ งั้ ร้านเพือ่ ขนาดทีใ่ หญ่ขนึ้ และเปลีย่ น ชื่อเป็น Nail Villa and Spa Cottage ให้บริการเพิ่มเติม ด้าน Body and Facial Treatment ทีไ่ ด้ผลิตภัณฑ์ระดับโลก อย่าง Dermalogica ให้การสนับสนุน โดยเพิ่มบริการ นวดหน้ า และตั ว นวดอโรมา การสครั บ -พอกผิ ว การอบตัวด้วยผ้าห่มอินฟราเรด รวมไปถึงการใช้อปุ กรณ์ น�าเข้าที่ทันสมัยเพื่อการกระชับใบหน้าและสัดส่วน ร้าน Nail Villa and Spa Cottage พร้อมบริการลูกค้า ทุกท่ า นตั้ง แต่ เวลา 11.00-21.00 น. ทุกวันอัง คารอาทิตย์ ที่ 369/1 ซอยจ�าเนียร-เสริม แขวงวังทองหลาง โทร. 0-2957-5511 และ 08-7327-1305 หรื อ www.facebook.com/NailvillaandSpacottage
44
THE WORDS
“When we were children, we used to think that when we were grown-up we would no longer be vulnerable. But to grow up is to accept vulnerability... To be alive is to be vulnerable.” ตอนที่เราเป็นเด็ก เรามักจะคิดว่าเมื่อโตขึ้น เราจะไม่เป็นคนเปราะบางอีกต่อไป แต่การเติบโตนั้น คือการยอมรับความเปราะบางให้ ได้ เพราะการมีชีวิตอยู่คือการอยู่อย่างเปราะบาง -Madeleine L’Engle
“You can’t expect to hit the jackpot if you don’t put a few nickels in the machine.” คุณไม่สามารถหวังให้แจ๊กพ็อตแตกได้ ถ้าหากไม่แม้แต่จะหยอดเหรียญ ลงไปในตู้เกม
-Flip Wilson
“The more you can dream, the more you can do.” ยิ่งคุณฝันได้มากขึ้นเท่าไหร่ ก็หมายความว่าคุณสามารถ ทำาได้มากขึ้นเท่านั้น
-Michael Korda
“The key to success is to keep growing in all areas of life -mental, emotional, spiritual, as well as physical.” กุญแจสู่ความสำาเร็จคือการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในทุกด้านของชีวิต ทั้งด้านจิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ แม้กระทั่งด้านร่างกาย -Julius Erving
“We have not passed that subtle line between childhood and adulthood until... we have stopped saying ‘It got lost.’ and say ‘I lost it.’ ” เราไม่อาจจะผ่านเส้นกั้นบางๆ ระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ่ ไปได้ จนกว่าเราจะหยุดพูดว่า “ของหายไปแล้ว” แล้วพูดว่า “ฉันได้สูญเสียสิ่งนั้นไปแล้ว” -Sidney J. Harris
“A true friend sees past your excuses to the real reason it’s not your fault.”
เพื่อนแท้คือคนที่มองผ่านคำาแก้ตัวของคุณไปสู่ เหตุผลทีแ่ ท้จริง แล้วรู้ได้วา่ มันไม่ใช่ความผิดของคุณ -Robert Brault
“Hope is the last thing a person does before they are defeated.” ความหวังคือสิ่งสุดท้ายที่คน จะทำาได้ก่อนที่จะถูกทำาให้พ่ายแพ้ -Henry Rollins
“Hope is the only bee that makes honey without flowers.” ความหวังคือผึง้ เพียงชนิดเดียว ทีผ่ ลิตนำา้ ผึง้ ได้โดยปราศจากดอกไม้
-Robert G. Ingersoll
46
THE GUEST
THE ART OF SURVIV -ING เรื่อง : เอกพล บรรลือ, เพ็ญนภา อุตตะมัง ภาพ : กฤษฎา ชุมสวัสดิ์
ส�ำหรับคนทั่วไปในวัย 28 ปี หลำยคนก�ำลังสนุกสนำนกับ กำรศึกษำต่อ บำงคนมุ่งมั่นในกำรสร้ำงฐำนะและควำมก้ำวหน้ำ ในหน้ำที่กำรงำน บำงคนก�ำลังสร้ำงครอบครัวอันอบอุ่น แต่ส�ำหรับ หญิงสำวชื่อ ไอรีล ไตรสารศรี แล้ว กลับพบว่ำตัวเธอเองก�ำลังเป็น โรคมะเร็งเต้ำนม โรคร้ำยที่ไม่เคยคิดมำก่อนเลยว่ำจะเกิดขึ้นจริง ในชีวิต ถึงแม้ตอนนี้เธอจะหำยขำดจำกโรคมะเร็งเต้ำนมแล้วก็ตำม แต่เธอก็ยังไม่ลืมควำมรู้สึกในช่วงที่ก�ำลังต่อสู้กับโรคร้ำยนั้น ก่อนจะก่อตั้งโครงกำร ART.for.CANCER เพื่อส่งมอบควำมปรำรถนำดีให้กับผู้ป่วยมะเร็งผู้ยำกไร้คนอื่นๆ ต่อไป
จุดเริ่มต้นที่รู้ว่าตัวเองก�าลังเป็นโรคร้ายคือ... เมื่อ 2 ปีก่อน เราคล�าเจอก้อนเนื้อที่หน้าอก แล้วเป็นช่วงที่กลับมาเมืองไทยพอดี ก็ไปพบคุณหมอ ซึ่งคุณหมอท่านแรกวินิจฉัยมาว่าเป็น ก้อนเนือ้ ธรรมดา แต่ไปพบคุณหมออีกท่านก็ตรวจละเอียดและได้รบั ค�าตอบว่าเป็นโรคมะเร็งเต้านม ทีล่ ามไปทีต่ อ่ มน�า้ เหลืองแล้ว ซึง่ อยูใ่ นระยะแพร่กระจาย ต้องใช้เวลารักษาอย่างต่อเนือ่ งไม่นอ้ ย กว่า 6-8 เดือน ขั้นตอนการรักษาก็คือ... ต้องผ่าเอาต่อมน�้าเหลืองออกก่อน แล้วค่อยท�าการผ่าตัดรักษา แบบสงวนเต้านม ซึ่งคุณหมอมองว่าสามารถใช้วิธีนี้ในการรักษาได้ หลังจากที่ผ่าตัด เราก็ต้อง รักษาทัง้ เคมีบา� บัด ฉายแสง และต้องกินยาไปอีก 5 ปี ตอนแรกเราก็กงั วลว่าจะต้องตัดหน้าอก ออกเลยหรือเปล่า ซึ่งการผ่าตัดแบบนี้ก็ต้องคว้านลึกแบบเนื้อตรงนั้นหายไปเลย ก็กังวลอยู่ เหมือนกัน แต่โชคดีได้คุณหมอสามารถท�าการรักษาแบบสงวนเต้านมได้ เราก็โล่งใจมากขึ้น สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูต้ ลอดเวลา 2 ปีทที่ า� การรักษาคือ... ได้เรียนรูเ้ รือ่ งของสัจธรรมชีวติ ด้วยความที่ เราอายุยังน้อย เราไม่คิดมาก่อนว่าเราจะป่วยใกล้ตาย ยังไม่ทันแก่เลย ก็ได้สัมผัสความรู้สึกนี้ แล้ว ท�าให้ยอมรับความจริงกับปัญหาทุกอย่างทีเ่ ข้ามา ถึงจะเป็นปัญหาเล็กน้อยก็ตาม ทีส่ า� คัญ คือมันท�าให้เรามีความสุขกับเรื่องเล็กๆ น้อยๆ มากขึ้น ปล่อยวางและเข้าใจโลกง่ายขึ้น ถึงเราป่วยก็จริงแต่ไม่เห็นต้องท�าตัวป่วยไปด้วยเลย เหตุผลที่ตัดสินใจท�าคลิปสอนพันผ้าโพกหัวคือ... เรามองว่าตอนที่ผมตัวเองร่วง ถ้าจะให้ ซือ้ วิกมาใส่ ก็นกึ ไม่ออกว่าจะซือ้ ทรงไหนมาใส่ คิดไปคิดมามันดูตลกและแปลกๆ ก็เลยตัดสินใจ โพกหัวดีกว่า การโพกหัวก็เลยเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เสริมความมั่นใจได้ พอเราโพกหัวแล้วอาจจะ ดูดี ก็มีหลายคนมาถาม จนวันหนึ่งมีน้องผู้หญิงคนหนึ่งส่งข้อความมาบอกว่าเขาเห็นชีวิตเรา แล้วมีก�าลังใจที่จะมีชีวิตอยู่ และตอนท้ายให้เราสอนวิธีโพกหัวให้หน่อย หลังจากนั้นเราก็ ตัดสินใจท�าคลิปเลย ซึ่งเรามองว่าเป็นประโยชน์กับคนอื่นด้วย โครงการ ‘อาร์ตฟอร์แคนเซอร์’ (ART.for.CANCER) ได้ก�าเนิดขึ้นตอน... ช่วงท้ายๆ ของการท�าเคมีบ�าบัด เราเริ่มมีแรงจะท�าอะไรส่วนตัวเพื่อจะช่วยคนที่เป็นโรคเดียวกับเรา แต่เขาไม่มีเงินรักษา เพราะเราสัมผัสได้ว่าโรคนี้มันร้ายแรงมาก ต้องรักษาอย่างเร่งด่วน บางคนพอรู้ว่าเป็นมะเร็งก็แย่แล้ว ยิ่งไม่มีเงินก็ยิ่งเหมือนเดินมาพบทางตัน เราก็เลยอยากใช้ สิ่งที่เราถนัดอยู่แล้วมาช่วยเหลือคนอื่น แล้วพอมองไปรอบตัว ก็เห็นเพื่อนๆ ที่เรียนศิลปะ มาด้วยกัน ทั้งงานเราเองด้วย ก็รวบรวมงานศิลปะของพวกเขามาถ่ายรูปและลงในแฟนเพจ เพื่อขายและรวบรวมเงินมาบริจาคให้กับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ยากไร้ แรกๆ เสียงตอบรับมันเงียบ มาก เราก็ไม่ได้คิดว่าเราจะได้เงินมากมาย แค่ได้ทา� อะไรเพื่อคนอื่นก็พอ ผลการตอบรับของโครงการที่เริ่มมีมากขึ้นคือ... ตอนที่เรื่องของเราไปโดนใจกลุ่มคน ที่มีคนในครอบครัวหรือคนที่รักเป็นโรคนี้ หลังจากนั้นก็ได้ลงหนังสือ ได้ออกทีวี ก็มีคนรู้จัก มากขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีคนให้ความสนใจและสนับสนุนเรา ผลงานศิลปะขายได้ราวๆ ร้อยกว่าชิ้น เราอยากใช้ศิลปะเป็นน�้าใจตอบแทนศิลปิน ก็รู้สึกดีว่างานตัวเองมีประโยชน์ และคนที่ซื้อก็ได้ท�าบุญด้วย และหลังๆ มีโอกาสท�าเสื้อยืดการกุศล ก็มีคนสนใจมากขึ้น มีคนสนับสนุนให้ราคาต้นทุนต�า่ ท�าให้มีเงินบริจาคจ�านวนเยอะขึ้น อยู่ที่ราวๆ ล้านกว่าบาท ความภูมิใจที่ได้ท�างานนี้คือ... ภูมิใจว่าสิ่งที่เราคิดและลงมือท�านั้นมีคนเห็นและสนับสนุน ถึงแม้จะไม่ได้เงินเยอะขนาดนี้ เราก็รู้สึกดีที่ได้ทา� อะไรเพื่อคนอื่น อย่างตอนก่อนที่จะรู้ว่าเป็น มะเร็ง เราชอบการบริจาคเลือดมาก รูส้ กึ ว่ามันเป็นการบริจาคทีเ่ ราท�าให้คนอืน่ ๆ ได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ ง ใช้เงินอะไรเลย แต่พอรู้ว่าต่อไปจะบริจาคเลือดไม่ได้อีกแล้ว ก็เสียใจมาก จนกระทั่งมาท�า โครงการนี้ ซึ่งเรามองว่ามันน่าจะทดแทนกันได้บ้าง หลายคนถามว่าโครงการนี้จะสิ้นสุดลงตรงไหน บอกได้เลยว่า... ไม่มีวันสิ้นสุด เพราะ เราจะท�าเท่าที่ทา� ได้ ได้มากได้น้อยก็ถือว่าเราได้ทา� เพราะมันไม่มีเหตุผลในการหยุดช่วยเหลือ คนอืน่ เราเข้าใจว่าต่อไปผลตอบรับอาจจะไม่ดเี ท่าปีแรกๆ แต่กอ็ ยากช่วยไม่วา่ รูปแบบไหนก็ตาม เพื่อคนป่วยมะเร็งยากไร้ที่ต้องการความช่วยเหลืออีกมากมาย รวมทั้งการไปพูดให้ก�าลังใจ กับคนป่วยด้วย การหยิบยื่นก�าลังใจให้กันเป็นสิ่งที่ท�ากันง่ายมาก เพราะ... คนที่ป่วยอยู่ ไม่ว่าใครจะ หยิบยื่นสิ่งดีๆ หรือความช่วยเหลือให้ เขาก็ยินดีจะรับอยู่แล้ว เราก็ไม่รู้หรอกว่าเราท�าโครงการ แบบนี้แล้วใครจะได้เงินไปรักษา เรามองว่ามันเป็นการให้ที่ไม่ได้หวังผลตอบแทนเลย บางที คนที่ไม่รู้จักกันเขายังมาช่วยเหลือเราเต็มที่ เราปลื้มใจกับความรู้สึกตรงนี้
HER WAY • โครงการ ART.for.CANCER เป็นโครงการทีร่ บั บริจาคงานศิลปะจากศิลปินหลากหลายวงการ ก่อนจะน�ามา ประกาศขายผ่านเฟซบุ๊ก เพื่อรวบรวมเงินไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็งยากไร้ โดยบริจาคผ่าน ศิริราชมูลนิธิ, มูลนิธิรามาธิบดี และมูลนิธิสถาบันมะเร็งแห่งชาติ • นอกจากจะก่อตั้งโครงการ ART.for.CANCER เพื่อหาเงินช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็งผู้ยากไร้แล้ว ไอรีลยังเคย ท�าวิดโี อคลิปสอนโพกหัวแบบสวยๆ ลงในยูทบู เพือ่ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูป้ ว่ ยหญิงทีก่ า� ลังอยูใ่ นระหว่าง การรักษาด้วยเคมีบา� บัดด้วย แวะชมวิดีโอคลิปนี้ได้ที่ http://youtu.be/oKDWOQXK5x4 • ปัจจุบันไอรีลก�าลังศึกษาในระดับปริญญาโท ด้าน Design Management ที่มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ในเมืองนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ • ติดตามความเคลื่อนไหวของโครงการ ART.for.CANCER พร้อมร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการส่งมอบความปรารถนาดีให้กับผู้ป่วยมะเร็งผู้ยากไร้ได้ที่ www.facebook.com/ART.for.CANCERbycomeonireal