ISSUE 303 12 - 18 MAY 2014
THE NEXT BIG THINK
ISSUE 303, 12 - 18 MAY 2014
No shortcut, I’m sure ขับรถมาก็นาน เท่าทีจ่ า� ได้มเี หตุทตี่ ้องปวดหัวเกีย่ วกับรถยนต์นบั ครัง้ ได้ และแต่ละครัง้ ก็ว่นุ วายมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป แต่ยงิ่ ใช้รถนานวันเข้า ปัญหา ที่มารุมเร้าก็เรียกร้องทักษะที่ซับซ้อนมากขึ้นจากเรา จากที่ขับอย่างเดียวก็ต้องเริ่มเรียนรู้ว่าถ้าจ�าเป็นต้องแก้ปัญหาเบื้องต้นจะต้องท�าอะไรบ้าง และถ้าท�าอะไรกับรถ ไม่เป็นเลย อย่างน้อยเราก็ตอ้ งท�าอะไรกับตัวเองได้บา้ ง พูดง่ายๆ ว่าจัดการกับปัจจัยภายนอกไม่ได้ ก็ตอ้ งจัดการกับปัจจัยภายในให้ได้กอ่ น เพราะปัจจัยภายในของเรา ก็สามารถก�าหนดปัจจัยภายนอกได้เช่นเดียวกัน เรื่องนี้ท�าให้ผู้เขียนฉุกคิดขึ้นมาได้ก็ตอนที่รถเสียรอบนี้นี่เอง เรื่องมีอยู่ว่าวันนั้นเป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ผู้เขียนก็จัดการวางแผนไว้เรียบร้อยแล้วว่าต้องท�าธุระ อะไรบ้าง แต่แล้วเมือ่ ขับรถออกจากบ้านมาได้ไม่กกี่ โิ ล ตอนจอดติดไฟแดงกลางสีแ่ ยก เรือ่ งก็มาเกิดขึน้ จนได้ นัน่ คือรถมาเสียตอนก�าลังไฟเขียว แถมยังมาเสียเป็นคันแรก ของแยกไฟแดงนั้น งามหน้ามากที่สุดตั้งแต่เคยขับรถมาก็ว่าได้ อาการของรถที่เสียคือเข้าเกียร์ไม่ได้ ระบบเกียร์เสีย และรถประท้วงด้วยการจอดนิ่งสนิท เกียร์หยุดอยู่ ที่ตัว P อย่างเดียว นั่นเท่ากับว่ารถเคลื่อนไปไหนไม่ได้ทั้งนั้น แม้กระทั่งการเข็นหลบไปจอดเพื่อไม่ให้ขวางทางคนอื่น ด้วยความที่เป็นคันแรกของแยกไฟแดง ท�าให้รถ ที่จอดต่อแถวเป็นพรวนไม่สามารถไปได้เพราะมีแค่สองเลน คือเลี้ยวซ้ายผ่านตลอด กับขวา คนที่มาซ้ายไม่ว่ากัน เพราะผ่านได้ฉลุย คนที่แย่คือคนที่รอเลี้ยวขวา ซึ่งต้องเบนหน้ารถออกไปก่อนเพื่อหลบรถผู้เขียนที่ขวางอยู่ แต่ก็ต้องไปเบียดเลนซ้ายที่เขาก�าลังขับตรงมา คิดสภาพดูแล้วกันว่าทุลักทุเลขนาดไหน สิ่งแรกที่ผู้เขียนท�าตอนนั้นคือ จัดการกับปัญหาเฉพาะหน้าไปก่อน ด้วยการโทร.แจ้งศูนย์บริการลูกค้าให้จัดการส่งรถมายกให้ก่อน เมื่อแจ้งแล้วก็ต้องรอคอย เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีเ่ ดินทางมา ซึง่ กะเวลาไม่ได้มากนัก เพราะทุกอย่างขึน้ อยู่กบั สภาพการจราจร นอกจากนัน้ ยังต้องคอยบอกเส้นทางให้แน่นอนเพือ่ อ�านวยความสะดวก ให้กบั เจ้าหน้าที่ ไหนจะต้องคอยคุยกับต�ารวจจราจรทีแ่ วะเวียนมาถามว่ารถมีปญ ั หาอะไร แจ้งใครไปหรือยัง ถอยหลบได้ไหม สักพักต�ารวจก็คงเครียดเพราะรถติดยาวมาก เมื่อท�าอะไรไม่ได้จริงๆ คุณต�ารวจจึงท�าได้เพียงแค่เอากรวยจราจรมาตั้งเพื่อเบี่ยงรถออก ซึ่งก็พอช่วยให้รถที่ตามมาตัดสินใจเบี่ยงออกเร็วขึ้น แต่รถก็ยังติดยาวอยู่ดี อันตัวข้าพเจ้านั้นไม่ต้องพูดถึง ถามว่าเครียดไหม เครียดมาก แต่เมื่อจัดการโทร.บอกทางศูนย์ฯ ไปแล้ว สิ่งที่ต้องท�าต่อไปก็คือรอคอย แต่การรอคอยนั้น ไม่สามารถคอยแบบคอยเล่นเย็นๆ ใจได้ เพราะต้องผจญกับเสียงแตรรถที่บีบกันลั่นโลก คล้ายกับด่าอะไรสักอย่าง แต่เมื่อผ่านการฟังเสียงแตรรถสนั่นหูไปสักพัก ผูเ้ ขียนก็ไม่ทราบจะท�าอะไรได้นอกจากรอ จะบีบแตรหนักกว่านีก้ ท็ า� อะไรไม่ได้แน่ๆ แม้พตี่ า� รวจจะเดินมาถามแล้วถามอีกว่ามีปมุ่ อะไรกดไหม รถจะได้เคลือ่ น เอ่อ อันนีค้ อ่ นข้าง ไม่เข้าใจว่าพีจ่ ะเอาปุม่ อะไร ถ้ากดได้ คงกดไปแล้ว แต่ปญ ั หารถเข้าเกียร์ไม่ได้ไม่นา่ จะถูกออกแบบให้แก้ไขได้ดว้ ยปุม่ เดียวแน่ๆ แต่ทหี่ นักกว่านัน้ คือ มีตา� รวจมาสองคน ก็ถามเหมือนกันทั้งสองคนว่ามีปุ่มอะไรไหม ผู้เขียนไม่ทราบจะเสาะหาปุ่มมหัศจรรย์ที่ว่านั้นได้ จึงได้ตอบไปอย่างสุภาพว่า “ไม่มีหรอกค่ะพี่ ถ้ามีคงกดไปแล้ว” ระหว่างรอให้รถมายก ประสบการณ์อันน่าตื่นเต้นนี้ก็ท�าให้ผู้เขียนคิดอะไรได้เยอะมาก เครียดก็เครียด ข�าก็ขา� ว่าเวลาที่รถคันหน้าเสีย จอดนิ่งสนิท และเรา ไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับเขากันแน่ แม้เขาจะเปิดไฟฉุกเฉินเพื่อบอกว่าต้องจอดนานแล้วก็ตาม สิ่งที่ทุกคนมักจะท�าก็คือบีบแตรยาว บีบท�าไมก็ไม่เข้าใจ คล้ายกับว่าแตร เป็นเหมือนอิโมติคอนของรถทุกคัน เพื่อแสดงอารมณ์ว่า โอ๊ย มารถเสียอะไรตอนนี้ เครียด เสียเวลา ฯลฯ แล้วทุกคนก็พร้อมใจกันบีบแตรกันเข้าไป ทั้งที่มันช่วยอะไร ไม่ได้เลย แต่เอาเถอะ เมื่อรอรถอยู่พักหนึ่งรถยกก็มา พร้อมกับยกเอาความหนักใจทั้งปวงไปด้วย ราวกับยกภูเขาออกจากอก (หรือนี่แหละคือที่มาของค�าว่ารถยก?) มีคนมาช่วยจัดการปัญหาให้ว่องไว แถมพี่มอเตอร์ไซค์รับจ้างแถวนั้นก็มาช่วยโบก ช่วยบอกรถคันอื่นๆ ให้ช่วยขยับ ทั้งที่หน้าที่ก็ไม่ใช่ สุดท้ายทุกอย่างก็ลุล่วง เอารถ ออกไปจากสี่แยกได้ จัดการปัญหาได้ตามล�าดับ แม้จะรอนานเกือบชั่วโมงก็ตาม แต่ก็เป็นหนึ่งชั่วโมงที่ต้องพยายามอย่างยิ่งที่จะไม่สติแตก ผู้เขียนได้ผ่านแยกนั้นอีก ในวันรุ่งขึ้น แต่ก็ยังหวาดเสียวไม่หายที่มาท�ารถติดยาวที่นี่ ไม่มีใครอยู่ว่างๆ แล้วอยากออกมาท�ารถเสียแน่ๆ แต่เมื่อรถเสียแล้วก็ใช่ว่าคนทุกคนจะแก้ปัญหาตรงหน้าได้ มันไม่มีปุ่มลัดอะไรที่จะจัดการปัญหาให้หายวับ ไปได้ ทุกปัญหามีขั้นตอนของมัน และช่วยไม่ได้หากเราต้องเจอความยุ่งยากระหว่างขั้นตอนบ้าง เพราะถ้าเรียบง่ายไหลลื่นไปซะหมด มันคงไม่เรียกว่าปัญหา เอาแค่ เมือ่ มีปญ ั หาแล้วเราสามารถจัดการไปได้เปลาะหนึง่ แล้ว เปลาะอืน่ ๆ ก็จะลุลว่ งตามมาเอง แต่ทอ่ งไว้เลยว่า มันไม่มหี รอกไอ้ปมุ่ มหัศจรรย์ทแี่ ก้ปญ ั หาได้หมดน่ะ ผูเ้ ขียนยืนยัน
ปีที่ 6 ฉบับที่ 303 วันที่ 12 - 18 พฤษพาคม 2557
วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan, www.facebook.com/adaybulletin
12 26
06
06 GOODNEWS
12 INTERVIEW
22 A MUST
24 SHOPPING
28 HEALTH AND HEART
30 ALL ABOUT BIZ
31 THE WORDS
34 THE GUEST
ติ ด ต า ม ข ่ า ว ส า ร ดี ๆ รอบโลกประจ�าสัปดาห์ ได้ในห้องข่าวแห่งนี้
รวมสาระความรู ้ ที่ จ ะ ท�าให้คุณแข็งแรงทั้งกาย และใจ
34
22 ใครว่าของฟรีและ ดีไม่มใี นโลก เราว่าไม่จริง เพราะถ้าเห็น a day BULLETIN ที่ไหน เรา จะต้องรีบคว้ามาทันที จุ ด เด่ น ของนิ ต ยสาร a day BULLETIN คือ ถึงบางครัง้ คนทีม่ าขึน้ ปก
หรือสัมภาษณ์คอลัมน์ต่างๆ ภายในเล่มจะเป็น คนเดียวกับนิตยสารฉบับอื่น แต่มุมมองและมิติที่ a day BULLETIN ถามและถ่ายทอดออกมาจะน่าสนใจ กว่าเสมอ ซึ่งนอกจากจะเป็นการเพิ่มความรู้ให้กับ ตัวเองแล้ว เรายังเอาความรู้นี้ไปใช้สอนนักศึกษา ได้ด้วย ทั้งในเรื่องมุมมอง ความคิด การเขียน รวมถึงการออกแบบอาร์ตเวิร์กภายในเล่ม นับเป็น ของฟรีที่คุ้มค่ามาก เสียดายแค่ว่ามีแจกเฉพาะ
พั ก หน้ า จอมาเจาะลึ ก เบื้องหลังธุรกิจทีวีในมือ คนรุ ่ น ใหม่ อ ย่ า ง วั ช ร และ จิ ต สุ ภ า วั ช รพล สองพี่น้องผู้บริหารแห่ง ไทยรัฐทีวี
ตามให้ทันโลกการตลาด ไปกับ วรวิสทุ ธิ์ ภิญโญยาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด แ ล ะ ธุ ร กิ จ ดิ จิ ต อ ล ที่ หลายคนคุ ้ น เคยกั น ดี ในโลกทวิตเตอร์
สารพั ด สิ่ ง ที่ เ ราคั ด สรร มาฝากแบบ A Must พลาดแล้วจะหาว่า ไม่เตือน
ทุกถ้อยค�ามีความหมาย และคุณค่าเสมอ ค้นหาได้ ในหน้านี้
ในเมือง ต้องอาศัยช่วงทีเ่ ข้ากรุงเทพฯ เท่านัน้ ถึงจะ มีโอกาสได้หยิบกลับมา ไม่อย่างนัน้ ก็ตอ้ งอาศัยอ่าน จากแอพพลิเคชัน a day BULLETIN จะรออ่านฉบับต่อไปนะคะ - ธนภร เจริญธัญสกุล
โลกเทคโนโลยีก้าวหน้า ขึ้ น ทุ ก วั น ลองหาของ สักชิ้นที่ ช ่ ว ยให้ ชี วิ ต คุ ณ ง่ายขึ้น แถมยังสนุกและ มีสีสันเพิ่มหลายเท่าตัว
26 THE SPACE
สั ง สรรค์ กั บ กลุ ่ ม เพื่ อ น ด้วยบรรยากาศแคมปิ้ง สไตล์ อ เมริ กั น กั บ ร้ า น S’mores Hunting Lodge ที่ ม า จ า ก ไ อ เ ดี ย ข อ ง สาวเก่ง นันท์นชิ า ถมยา
ร่วมหาจุดลงตัวของชีวิต คนท�างานผ่านมุมมองของ วิสตู ร แสงอรุณเลิศ เจ้าของ หนั ง สื อ ติ ด อั น ดั บ ขายดี ‘งานไม่ประจ�า ท�าเงินกว่า’
ส่ ง ความคิด เห็น ค�าติ-ชม หรือ ข้ อ เสนอแนะที่มีต ่ อ a day BULLETIN ได้ที่ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วจิ ยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 หรือทางอีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com กรุณาเขียนชื่อ-นามสกุลจริงและที่อยู่มากับจดหมาย เพือ่ ความสะดวกในการจัดส่งของรางวัลไปให้ และบรรณาธิการ ขออนุญาตตัดทอนจดหมายตามสมควร
พิเศษ! จดหมายที่ได้รับเลือกลงตีพิมพ์ในช่วงเดือนนี้ จะได้รบั หนังสือดีๆ จากส�านักพิมพ์ ส่งไปให้ถงึ บ้าน
ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอีย่ ม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ ประพัฒน์ สกุณา กองบรรณาธิการ เอกพล บรรลือ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ อาทิตยา อาศิรวาท ฉัตรรวี เสนธนิสศักดิ์ ไอรดา รืน่ ภิรมย์ใจ บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกติ ติบตุ ร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยีด่ วง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม กิตติ ศรีวิเชียร เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน สราญรัตน์ ไว้เกียรติ ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง ทศพล บุญคง ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผูอ้ า� นวยการกลุม่ โฆษณา อุบลวรรณ จรเจริญสุข ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 08-6378-6037, วราพร สิทธิพรมงคล 08-9169-9509 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 08-1859-8851, พงศ์ธดิ า อังศุวฒ ั นากุล 08-9170-6001, อังศุนิตยุ์ จรุงชัยฤทธิกุล 08-1303-5242 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-9662-7073, รวงรัชต์ ด้านเทาลา 08-1412-9478, ธัญชนก คงเทพ 08-4025-1015, อัมพิกา มณีวัฒน์ 08-5164-4896, วิชยุตม์ โชติวาณี 08-0776-6868 ผู้จัดการ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 ติดต่อกองบรรณาธิการ อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก นริศรา เปยะกัง โทร. 0-2726-9996 ต่อ 11, 12, 49 นักศึกษาฝึกงาน ภูวดี พฤษศิริสมบัติ พิมพลอย วิวัฒนาไพบูลย์ลาภ
04
THE DATABASE ที่มา : www.bloomberg.com/rank
10 อันดับประเทศผู้น�าด้านนวัตกรรมของโลก ประจ�าปี 2014
เกาหลีใต้
สวีเดน
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น
คุณมีข้อเสนอแนะอย่างไรกับการรับมือ เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นได้ ในอนาคต
เยอรมนี
เดนมาร์ก
THE POLL
สิงคโปร์
ที่มา : สวนดุสิตโพล
สิ่งที่ประชาชนเป็นห่วงต่อบ้านเมืองไทย ณ วันนี้ อันดับ 1
ความขัดแย้ง แตกแยก แบ่งฝักแบ่งฝ่าย ทางการเมือง การทุจริตคอร์รปั ชัน
37.52%
อันดับ 2
บ้านเมืองไม่พฒ ั นา เศรษฐกิจย่�าแย่ ค่าครองชีพสูง
35.01%
อันดับ 3
สภาพสังคม ที่เสื่อมโทรม ยาเสพติด แพร่ระบาด
14.18%
อันดับ 4
การศึกษา ไม่พัฒนา ไม่ได้มาตรฐาน
7.90%
อันดับ 5
สภาพแวดล้อม อากาศแปรปรวน ภัยแล้ง
5.39%
สวิตเซอร์แลนด์
ฟินแลนด์
ไต้หวัน
164 เซนติ เ มตร คื อ ความสูงเฉลีย่ ของผูช้ าย ใ น ภู มิ ภ า ค อ า เ ซี ย น ในขณะที่ความสูงเฉลี่ย ของผู้หญิงอาเซียนอยู่ที่ 153 เซนติเมตร ซึง่ ถือว่า น้อยกว่าสถิตขิ องคนไทย ที่ ร ะบุ ว ่ า ชายไทยมี ความสู ง เฉลี่ ย 170 เซนติเมตร ส่วนผู้หญิง 159 เซนติเมตร ที่มา : www.facebook.com/ASEANDNA
บรูไนคือประเทศที่มีอัตรา ค ่ า จ ้ า ง ขั้ น ต�่ า สู ง ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น อยู ่ ที่ 55,000 บาทต่ อ เดื อ น รองลงมา ได้ แ ก่ ประเทศ สิงคโปร์ และมาเลเซีย อยู่ที่ 25,600 บาท และ 9,000 บาท ตามล�าดับ ที่มา : www.prachachat.net
จากผลส�ารวจ Global Firepower 2014 ในการประเมินศักยภาพและแสนยานุภาพทางทหาร 106 ประเทศทั่วโลก กองทัพไทยถูกจัดให้มี แสนยานุภาพทางการทหารเข้มแข็งเป็นล�าดับ 24 ของโลก ที่มา : www.manager.co.th
5,209,422 มีสถิตพิ บว่า ในไตรมาสแรกของปี 2557 ประเทศไทยน�าเข้า โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละแทบเล็ตจากต่างประเทศจ�านวนมาก ถึง 5,209,422 เครื่อง ที่มา : www.bangkokbiznews.com
มีการส�ารวจพบว่า ยาแผนไทยหรือสมุนไพรที่คนไทยรู้จักมากที่สุด ได้แก่ ‘ยาหม่องสมุนไพร’ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60.4 ในขณะที่สมุนไพรที่คนไทย รู้จักน้อยที่สุด ได้แก่ ‘ยาจันทน์ลีลา’ โดยมีคนที่รู้จักเพียงร้อยละ 0.1 ทีม่ า : http://service.nso.go.th
“ให้ ค วามรู ้ ใ นการรับมือเหตุการณ์แผ่นดินไหว และจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือ ผู้ได้รับความเดือดร้อน” ภาวิณี อภิวฒ ั น์ชาติ 26 ปี, พนักงานบริษัท “ลองศึกษาจากประเทศ ทีเ่ คยเจอมาก่อนเรา และ เรียนรู้วิธีการรับมือทั้งใน ภาพรวมและตัวบุคคล” ปิยฤทธิ์ ปัญจธรรมวิทย์ 25 ปี, รับจ้างอิสระ “ศึกษาวิธกี ารเอาตัวรอดเมือ่ เกิดเหตุไม่คาดฝัน เตรี ย มอุ ป กรณ์ ใ นยาม ฉุกเฉิน เช่น กล่องปฐมพยาบาลให้พร้อม” ภัทร์ศิริ กิตตุสุวรรณ 21 ปี, นักศึกษา “ตั้ ง สติ ศึ ก ษาหา วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ ตั ว ใ ห ้ ปลอดภัยที่สุด” อชิรญาพร จันภิรมย์ 23 ปี, พยาบาลวิชาชีพ “ศึกษาและแบ่งปัน ความรู ้ กั บ คนอื่ น เรื่ อ ง การป้ อ งกั น ตนเองและ ครอบครัวเบื้องต้น” ปัญชิกา อัศวศิริศิลป์ 21 ปี, นักศึกษา “แต่ ล ะบริ ษั ท หรื อ แต่ ล ะหน่ ว ยงานควรมี การซ้อมรับมือแผ่นดินไหว ประจ�าปี” อนาวิล เจียมประเสริฐ 23 ปี, นักศึกษา
6
นีค่ อื การแสดงของเทพเจ้าแห่งสายฟ้าทีจ่ ดั ขึน้ ใน ‘Visualia Festival’ ประจ�าปี 2014 ณ เมืองพูลา ประเทศโครเอเชีย โดยเทศกาลนี้ จัดขึน้ เพือ่ น�าเสนอผลงานศิลปะทีเ่ กิดจากเทคโนโลยีแสงสีเสียง เพือ่ ให้ประชาชนทัว่ ไปได้เข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ มากขึน้ ไม่วา่ จะเป็น นิทรรศการเรือ่ งแสง การฉายวิดโี อ 3 มิตบิ นก�าแพงเมืองเก่า การแสดง และการจัดวางโดยใช้แสง - Reuters / Antonio Bronic
ANIMAL สุนขั โกลเดนฯ แสนรู้
จะร่วมพิธจี บการศึกษา
กัผูพ้ บกิ เจ้ า นาย ารทางสมอง ส�าหรับพิธีจบการศึกษาปีนี้ของ โรงเรียนมั ธ ยมปลายแห่ ง หนึ่ ง ในรั ฐ มิ ชิ แ กน ไม่ใช่เฉพาะนักเรียนทีเ่ รียนจบ จะได้ ขึ้ น เวที รั บ ใบประกาศนี ย บั ต ร แต่วอลตัน สุนขั พันธุโ์ กลเดนรีทรีฟเวอร์ ก็จะได้เข้าร่วมพิธจี บการศึกษานีเ้ ช่นกัน เนือ่ งจากวอลตันเป็นสุนขั ทีถ่ กู ฝึกให้เป็น ผู้ช่วยของคนที่ไม่สามารถช่วยเหลือ ตัวเองได้อย่างครบถ้วน โดยเจ้าวอลตัน เป็นผู้ช่วยอยู่เคียงข้างนางสาวเดซีผู้มี ความพิการทางสมองตลอด 4 ปีใน โรงเรียน พร้อมช่วยเหลือเธอทุกครัง้ ทีเ่ ธอ ต้องการ ดังนัน้ ทางครอบครัวของเดซี รวมถึงทางโรงเรียนทีเ่ ห็นความสัมพันธ์ ของทั้งคู่มาตลอด 4 ปี จึงยินดีจะให้ วอลตันได้สวมชุดเสื้อคลุมและหมวก บัณฑิตและเดินเคียงข้างเดซีเพือ่ เข้าร่วม พิธกี ารที่ก�าลังจะเกิดขึ้นเร็วๆ นี้
หากมองเผินๆ ไคลีย์ วิกเกอร์ คงเหมือนเด็กทีไ่ ด้ของเล่นชิน้ ใหม่ แต่สงิ่ ทีเ่ ธอใส่อยูก่ ค็ อื มือเทียมใหม่ลา่ สุดทีท่ างโรงเรียนมัธยมบอยแลน คาทอลิก ในเมืองร็อกฟอร์ด รัฐอิลลินอยส์ ท�าขึ้นจากโครงงานในชั้นเรียน โดยใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ และคู่มือในอินเทอร์เน็ต เพื่อมอบให้ไคลีย์ผู้ไม่มีนิ้วมือข้างซ้ายตั้งแต่ก�าเนิด - Reuters / Jim Young
SOCIETY
PEOPLE
ทั่วโลกร่วมดัน #BringBackOurGirl ช่วยเด็กสาวไนจีเรีย
หนุม่ วัยรุน่ อัพเดตชีวติ
ในเหตุการณ์น่าเศร้าใจ บางครั้งก็ท�าให้เรา ได้เห็นพลังน�้าใจอันยิ่งใหญ่ที่มนุษย์มีต่อกันได้ เป็นอย่างมาก สืบเนื่องจากที่นักเรียนหญิงชาว ไนจีเรียกว่า 234 คน ถูกกลุม่ ผูก้ อ่ การร้ายลักพาตัว ไปตัง้ แต่ชว่ งกลางเดือนเมษายนทีผ่ า่ นมา และรัฐบาล ยังไม่สามารถช่วยเหลือเด็กทั้งหมดออกมาได้ ท�าให้ผู้คนทั่วโลก โดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิงและ ชาวแอฟริกนั ต่างพากันออกมาแสดงพลังเรียกร้อง ให้รฐั บาลไนจีเรียช่วยเหลือเด็กสาวทัง้ หมดออกมา ให้เร็วทีส่ ดุ เริม่ จากการเดินขบวนตามถนนหนทางในหลายๆ ประเทศ ทัง้ ในทวีปแอฟริกา อเมริกา และยุโรป พร้อมค�าขวัญมากมายเกี่ยวกับสิทธิเด็กและสตรี นอกจากนี้ยังมีการใช้แฮชแท็ก #BringBackOurGirl ทางทวิตเตอร์ เป็นสื่อกลางเพื่อชักชวนให้ผู้คนลุกขึ้นมาเรียกร้องให้ผู้น�าไนจีเรียเร่งด�าเนินการช่วยเหลือ ด้วยหวังว่าจะสามารถน�าตัวเด็กสาวทั้งหมดกลับมาอย่างปลอดภัยได้ในไม่ช้า
INNOVATION อิสราเอลประดิษฐ์แบตเตอรี่แบบใหม่ ชาร์จเต็มได้โดยใช้เวลาเพียง 30 วินาที !
ที่เป็นโรคมะเร็ง ผ่านอินสตาแกรม
ไมเคิล ทาทาโลวิช วัยรุ่นมัธยมปลายจากเมือง แฮนเดอร์สนั รัฐเนวาดา สหรัฐอเมริกา ก็เป็นเหมือน วัยรุ่นทั่วไปที่ใช้อินสตาแกรม @mtat95 เป็นไดอารี ส่วนตัวส�าหรับโพสต์ภาพชีวติ ประจ�าวัน แต่หลังจาก ทีเ่ ขารูว้ า่ ตัวเองเป็นมะเร็งกระดูกบริเวณกระดูกต้นขา เขาจึงเริ่มโพสต์ภาพการต่อสู้กับโรคมะเร็งในชีวิต ประจ�าวัน การเข้ารับการผ่าตัด และการท�าเคมีบา� บัด อีกทัง้ ยังอธิบายความรูท้ เี่ ขาได้เกีย่ วกับโรคร้ายนีด้ ว้ ย เขามั ก จะเขี ย นบรรยายใต้ ภ าพด้ ว ยอารมณ์ ขั น และให้ก�าลังใจเสมอ ซึ่งสิ่งที่ไมเคิลท�ากลายเป็น แรงบันดาลใจกับคนทัว่ ไปและคนทีเ่ ผชิญกับโรคร้าย อยู่ โดยขณะนี้ไมเคิลได้ออกจากโรงพยาบาลแล้ว และก�าลังจะเข้าศึกษาต่อทีม่ หาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน ในฤดูใบไม้ร่วงที่จะถึงนี้ด้วย
ปัญหาส่วนใหญ่ของคนใช้สมาร์ตโฟนคือ แบตเตอรี่มักจะ หมดไว และใช้เวลานานกว่าจะชาร์จจนเต็ม ซึ่งไม่สะดวกนัก เวลาใช้งานอยูน่ อกสถานที่ ดอกเตอร์ โดรอน มายเออร์สดอร์ฟ ผู้ร่วมก่อตั้ง StoreDot บริษัทสัญชาติอิสราเอล จึงพัฒนา แบตเตอรีโ่ ทรศัพท์ตวั ต้นแบบทีส่ ามารถชาร์จไฟให้เต็มภายในเวลาเพียง 30 วินาที โดยใช้เทคโนโลยี Nanodot ซึ่งประกอบไปด้วยสารอินทรีย์ชีวภาพ ท�าให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไวขึ้น ซึ่งแบตเตอรี่ต้นแบบนี้สามารถ ชาร์จไฟได้ใน 30 วินาทีจริง แต่ยังมีน�้าหนักมาก และสามารถเก็บพลังงานได้เพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น แต่ดอกเตอร์โดรอนเชื่อว่าจะสามารถพัฒนาต่อไปให้ดีขึ้น และสามารถน�าไปใช้กับอุปกรณ์อื่นๆ อย่างเช่น แบตเตอรี่ของรถยนต์ได้
ENTERTAINMENT
เจย์-ซี - บียอนเซ เตรียมทัวร์คอนเสิร์ต แบ่งรายได้ช่วยการกุศล
นับว่าเป็นคู่รักระดับโลกที่ทา� งานหนักกันทั้งคู่ ส�าหรับแร็พเปอร์หนุ่ม เจย์-ซี และดีวาตัวแม่อย่าง บียอนเซ โนวส์ ที่ไม่ว่าจะปรากฏตัวคู่กัน บนเวทีครั้งไหนๆ ก็สร้างความปลาบปลื้มให้แฟนเพลงได้ทุกครั้ง ซึ่งแม้ว่าทั้งคู่จะมีตารางงานที่แน่นสักแค่ไหน แต่ล่าสุดทั้งคู่ก็ได้ประกาศว่าจะ จัดคอนเสิร์ตร่วมกันในชื่อ ‘On the Run’ ที่มีใบปิดเป็นภาพคู่ของทั้งสองสวมหน้ากากสกี ที่จะจัดแสดงใน 16 เมืองใหญ่ทางแถบอเมริกาเหนือ เริ่มแสดงในเดือนมิถุนายนนี้ โดยจะหักรายได้ 1 ดอลลาร์ฯ จากตั๋วทุกใบ มอบให้กับมูลนิธิ Shawn Carter ของเจย์-ซีเอง เพื่อน�าไปช่วยเหลือ เด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาในระดับวิทยาลัยด้วย ซึ่งนอกจากการแบ่งรายได้นี้แล้ว คอนเสิร์ตนี้ยังจะเป็นการแสดงถึงพลังของแคมเปญ BeyGOOD ที่เป็นการท�างานเพื่อการแบ่งปันและเผื่อแผ่ความเมตตาให้กับผู้อื่นด้วย
ภาพภูมทิ ศั น์แปลกตานีถ้ กู ส่งมาไกลมาก เพราะนีค่ อื Nili Patera หนึง่ ในเนินทรายบนดาวอังคารทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างสม�่าเสมอ ถ่ายรูปโดย Mars Reconnaissance Orbiter กระสวยอวกาศของนาซาทีถ่ กู ส่งไปเก็บข้อมูลเกีย่ วกับดาวอังคาร ซึง่ การสังเกตความเปลีย่ นแปลงของเนินทรายก็เป็นหนึง่ ในช่องทางทีท่ า� ให้นาซาสามารถคาดคะเนเกีย่ วกับทิศทางลมบนดาวอังคารได้ - Reuters / NASA
ทัง้ นักท่องเทีย่ วและประชาชนชาวฮ่องกง ณ เกาะเฉิง่ เจ้า ต่างก็สะดุดตากับสุนขั และเจ้าของคูน่ ที้ เี่ คียงคูซ่ อ้ นท้ายจักรยานกันมา อย่างคล่องแคล่วในช่วงเทศกาลซาลาเปาที่ผ่านมา ซึ่งเป็นเทศกาลที่จัดขึ้นทุกปีเพื่อปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายให้กับคนในเกาะ - Reuters / Bobby Yip
SPORT โฮล์มส์พลิกโผ! คว้าแชมป์เวลส์ฟราโกฯ
เจ.บี. โฮล์มส์ นักกอล์ฟชาวอเมริกัน พลิกล็อกเอาชนะคู่แข่งคนอื่นๆ ได้ในการแข่งขันกอล์ฟรายการเวลส์ ฟาร์โก แชมเปี้ยนชิป ที่สนามเควลฮอลโลว์ คลับ ในรัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ชิงเงินรางวัลรวม 6.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 220 ล้านบาท) โดยท�าสกอร์ทงั้ หมดได้ 14 อันเดอร์พาร์ 274 เอาชนะ จิม ฟิวริก เพือ่ นร่วมชาติไปเพียง 1 สโตรก และชัยชนะครั้งนี้ก็มีความหมายต่อโฮล์มส์มาก เพราะเป็นการกลับมาคืนฟอร์มอันยิ่งใหญ่หลังเข้ารับการผ่าตัดสมอง เมื่อ 3 ปีก่อน
วันที่ 4 พฤษภาคมจงสถิตอยู่กับท่าน
แม้จะไม่ใช่วนั ส�าคัญ อย่างเป็นทางการ แต่แฟนๆ ภาพยนตร์ ‘สตาร์วอร์ส’ ต ่ า ง รู ้ กั น ดี ว ่ า วั น ที่ 4 พฤษภาคมของทุ ก ปี คือวันทีจ่ ะมาร่วมเฉลิมฉลองความคลัง่ ไคล้ทพี่ วกเขามีตอ่ ภาพยนตร์เรือ่ งนีร้ ว่ มกัน ซึง่ ปีนกี้ ไ็ ม่ใช่ขอ้ ยกเว้น • สตาร์วอร์ส เดย์ หรือ May the 4th มีที่มาจากค�าว่า ‘May the force be with you.’ ที่เหล่าเจไดในเรื่องมักจะ พูดกันบ่อยๆ ซึง่ ปีนลี้ คู สั ฟิลม์ และดิสนีย์ ร่วมเฉลิมฉลอง ก่อนใครในโลก ด้วยการประกาศรายชื่อนักแสดงหลัก ของ Star Wars : Episode VII ภาคต่อของ Star Wars ตอนใหม่ล่าสุดที่ก�าลังจะเข้าฉายช่วงปลายปี 2015 ก�ากับโดย เจ.เจ. เอบรามส์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักแสดง ที่หลายคนไม่คุ้นหน้า เช่น จอห์น โบเยกา, เดซี ริดลีย์ รวมทั้ง ออสการ์ ไอแซ็ก ซึ่งภาคนี้จะเล่าถึงเรื่องราว ที่เกิดขึ้นใน 30 ปีต่อมาหลังจาก The Return of the Jedi
HERO
ต�ารวจมะกัน
ช่วยคืนชีวิตเด็ก 4 ขวบจากการจมน�้า ห ลั ง จ า ก ที่ ซารา วิลลาเซนอร์ ทิ้งลูกน้อย นีนา และริกกี้ ให้เล่นน�า้ ต า ม ล� า พั ง ใ น สระว่ายน�้าเพื่อเข้าห้องน�้า เธอก็ได้ยินเสียงริกกี้ ลูกชาย ตะโกนร้องให้ชว่ ยน้องสาววัย 4 ขวบทีจ่ มน�า้ อยู่ แม้ว่าพ่อของซาราจะรีบวิ่งลงไปช่วยหลานแล้ว แต่กไ็ ม่ทนั นีนาหยุดหายใจ ตัวซีด และเริม่ มีฟองน�า้ ลาย ไหลออกจากปาก ซารารีบโทรศัพท์ขอความช่วยเหลือ จากต�ารวจ และเจ้าหน้าที่ แมตต์ โอลิน ก็เป็นคนแรก ทีม่ าถึง เขาเข้าไปช่วยชีวติ เด็กน้อยด้วยการปัม๊ หัวใจ นานกว่า 1 นาที ในที่สุดหนูน้อยนีนาก็กลับมา หายใจอีกครั้ง โดยซาราเปิดเผยในภายหลังว่า เธอรู ้ สึ ก ว่ า พระเจ้ า มี จ ริ ง และเจ้ า หน้ า ที่ โ อลิ น ก็เปรียบเหมือนกับเทวดาที่เข้ามาช่วยชีวิตลูกสาว ของเธอไว้ได้
• ส่วนกิจกรรมไฮไลต์ของเหล่าแฟนคลับสตาร์วอร์สปีนี้ คงหนีไม่พน้ การรวมตัวกันของแฟนๆ นับพันคนทีด่ า้ นหน้า โคลอสเซียมในกรุงโรม ประเทศอิตาลี โดยมีการแต่งกาย คอสเพลย์เลียนแบบตัวละครยอดฮิตอย่าง ดาร์ธ เวเดอร์, เจ้าหญิงเลอา, ชิวเบกกา, ปรมาจารย์โยดา แถมยังมี ยานรบจ�าลองมาช่วยเพิ่มสีสันด้วย • ส�าหรับประเทศตูนิเซียก็ใช้โอกาสนี้ในการส่งเสริม การท่ อ งเที่ ย ว โดยดั ด แปลงทะเลทราย Ong Jmel ทางตอนใต้ของประเทศให้กลายเป็นดาวเคราะห์ทาทูอนี สถานที่เติบโตของ อนาคิน สกายวอล์กเกอร์ โดยมี นักท่องเที่ยวแห่มาชมเป็นจ�านวนมาก • ปิดท้ายด้วยวิดโี อคลิปอวยพรเหล่าแฟนๆ สตาร์วอร์ส จากองค์การนาซา ทีส่ ง่ ตรงมาจากสถานีอวกาศนานาชาติ ซึ่งสัญญาณขาดๆ หายๆ ก่อนจะได้รับความช่วยเหลือ จาก R2D2 ตัวละครหุ่นยนต์ขวัญใจแฟนๆ จนในที่สุด สัญญาณก็กลับมาชัดเช่นเดิม ชมคลิปนี้ได้ที่ http:// youtu.be/l5y2F_97FOk
“ที่ได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ คือประเทศชาติบา้ นเมือง ได้ทงั้ ปฏิรปู การเลือกตัง้ ไม่มนี องเลือด รัฐประหาร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ดิ น ห น ้ า แผนนี้รวบรวมจุดร่วม มาประกอบกั น เป็ น ข ้ อ เ ส น อ เ ดิ น ห น ้ า ประเทศไทย” อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ 3 พฤษภาคม 2557
GREEN PLEASE ฮ่องกง เปลี่ ย นเศษอาหารให้ ก ลายเป็ น อาหารปลา
แจ็ก เชง ชาวฮ่องกง ผูก้ อ่ ตัง้ Aubree บริษทั ธุรกิจเพือ่ สังคม ได้ออกแบบระบบรีไซเคิลเศษอาหารที่เหลือทิ้งให้กลายเป็น อาหารปลาโปรตีนสูง โดยจากสถิตขิ องกรมคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมฮ่องกง รายงานว่า ในปี พ.ศ. 2554 เขตการปกครองพิเศษฮ่องกงมีขยะมูลฝอย มากกว่า 4,912 ล้านตัน และใช้วธิ กี ารก�าจัดด้วยการฝังกลบ ซึง่ หาก ปล่อยไว้เช่นนี้ พื้นที่สา� หรับการฝังขยะบนเกาะฮ่องกงก็จะหมด ลงไป เขาจึงคิดค้น ‘Eco Cube’ อุปกรณ์รไี ซเคิลอาหารซึง่ เลียนแบบ วิธกี ารรีไซเคิลตามธรรมชาติ โดยภายในกล่อง Eco Cube จะเลีย้ งแมลงวันลายจ�านวนหนึง่ เอาไว้ ซึง่ ตัวอ่อน ของแมลงวันลายจะกินเศษอาหารทีใ่ ส่เข้าไปในกล่อง เมือ่ ตัวอ่อนเติบโตขึน้ ก็จะถูกน�าไปเป็นอาหารปลา ที่มีโปรตีนสูงมาก อีกส่วนจะถูกน�าไปเลี้ยงเพื่อเป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์แมลงวันในการรีไซเคิลครั้งต่อๆ ไป ขณะนี้ Eco Cube ก�าลังอยูใ่ นระหว่างการพัฒนาให้ดยี งิ่ ขึน้ ด้วยความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยจีนแห่งฮ่องกง
Did You Know?
12 พฤษภาคม 2363 - วันเกิด ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ชาวอังกฤษผูบ้ กุ เบิกด้านการพยาบาล สมัยใหม่ ซึ่งเธอเริ่มอาชีพพยาบาลในช่วง สงครามไครเมี ย โดยรวมตั ว กั บ เพื่ อ น พยาบาลอาสาตั้ ง โรงพยาบาลชั่ ว คราว ในสนามรบ 13 พฤษภาคม 2524 - สมเด็จพระสันตปาปา จอห์น ปอล ที่ 2 ซึง่ เป็นประมุขพระศาสนจักร คาทอลิก ถูกลอบสังหารโดยมือปืนชาวมุสลิม เชื้อ สายตุร กี ที่บ ริเ วณจัตุรัส เซนต์ ป ี เ ตอร์ ท่ามกลางศาสนิกชนกว่า 20,000 คน ซึง่ พระองค์ ถูกน�าส่งโรงพยาบาลและรักษาพระชนม์ชพี ไว้ได้ 14 พฤษภาคม 2516 - นาซาส่งสถานีอวกาศ สกายแล็บขึ้นสู่อวกาศส�าเร็จ โดยสกายแล็บ เป็นสถานีอวกาศขนาดใหญ่แห่งแรกของ สหรัฐอเมริกา โดยมีหน้าทีห่ ลักๆ เพือ่ ทดลอง การใช้ชีวิตท่ามกลางสภาพไร้แรงดึงดูดและ ศึกษาด้านอวกาศและดาราศาสตร์ 15 พฤษภาคม 2394 - พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์จกั รีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ ทรงมีความช�านาญเรื่องวิทยาศาสตร์และ ดาราศาตร์ จนได้รับการขนานพระนามว่า ‘พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย’ ด้วย 16 พฤษภาคม 2472 - มีการมอบรางวัล ออสการ์ หรืออะคาเดมี อวอร์ดส์ เป็นครัง้ แรก โดยสถาบันศิลปะและศาสตร์แห่งภาพยนตร์ ที่โรงแรมฮอลลีวูด รูสเวลต์ สหรัฐอเมริกา 17 พฤษภาคม 2477 - โรงเรียนนาฏศิลป์ เปิดสอนเป็นวันแรก โดยพลตรีหลวงวิจิตรวาทการ อธิ บ ดี ค นแรกของกรมศิ ล ปากร เป็นผู้ก่อตั้ง โรงเรียนมีการจัดการศึกษาเป็น 3 ระดับ สูงสุดคือเทียบเท่าอนุปริญญา 18 พฤษภาคม 2523 - ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ ที่รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เกิดระเบิดอย่าง รุนแรง ซึง่ เป็นเหตุการณ์ภยั พิบตั ทิ างภูเขาไฟ ที่ท�าให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุด และก่อให้เกิด ความเสี ย หายทางเศรษฐกิ จ มากที่ สุ ด ใน ประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา
ผลส�ารวจเผย ‘แอปเปิ้ล’ เป็นผลผลิตทางการเกษตรที่มียาฆ่าแมลงมากที่สุด
Environmental Working Group หรือ EWG องค์กรไม่แสวงหาผลก�าไรในสหรัฐอเมริกา เปิดเผยรายชื่อผักและผลไม้ที่มี ยาฆ่าแมลงตกค้างอยู่มากที่สุดจากผักและผลไม้ทั้งหมด 48 ชนิด พบว่า แอปเปิ้ลเป็นผลไม้ที่มียาฆ่าแมลงตกค้างอยู่มากที่สุด ถึง 99% ของตัวอย่างที่ท�าการสุ่มตรวจ รองลงมาคือ สตรอเบอรี ที่พบสารเคมีมากที่สุดถึง 13 ชนิด นอกจากนี้ยังมีทั้งองุ่น ต้นขึ้นฉ่ายฝรั่ง ลูกพีช ผักโขม พริกหยวก ติดตามผลส�ารวจทั้งหมดได้ที่ www.ewg.org
12
สัมภาษณ์ : วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม, วสิตา กิจปรีชา ถ่ายภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี จากทีค่ นไทยได้ดโู ทรทัศน์แบบเดิมๆ กันแค่ 6 ช่อง ไม่นบั รวมช่องดาวเทียมหรือเคเบิลต่างๆ ทีเ่ ป็นเหมือน ช่องทางแก้เบือ่ ทีต่ อ้ งจ่ายเงินเพือ่ ให้ได้ดู การก้าวเข้าสูย่ คุ ของดิจติ อลทีวที ตี่ อนนีม้ ชี อ่ งออกอากาศแล้วกว่า 20 ช่อง หลังจากทีค่ นดูอย่างเรารอคอยกันมานาน คงเป็นจุดเปลีย่ นทีส่ า� คัญมากในประวัตศิ าสตร์วงการ โทรทัศน์ ไทย ไม่วา่ จะในมุมของผูผ้ ลิตทีต่ อ้ งคิดให้มากขึน้ เพราะคูแ่ ข่งในสนามเพิม่ ขึน้ ไม่นบั ว่าจะต้องปรับตัว ให้ทนั กับโลกสมัยใหม่ทกี่ ลุม่ ผูช้ มต่างก็มที างเลือกในการรับชมสือ่ ต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ต การอยูร่ อดของสือ่ ในยุคนี้จึงไม่ง่ายเลย เหมือนอย่างที่เราเห็นแล้วในโลกตะวันตก ที่สื่อสิ่งพิมพ์เก่าแก่ต่างพากันปิดตัวลง พร้อมกับสื่อออนไลน์ที่เกิดใหม่ ใครที่ปรับตัวไม่ทันก็ต้องพ่ายแพ้ไป นี่คือความจริงของโลกธุรกิจที่เวลา จะเป็นตัวบอกว่าใครคือตัวจริง แต่จะนานแค่ไหนนัน้ คงไม่มใี ครตอบได้ เปรียบเสมือนฟุตบอลก็คงเหมือน เริ่มเปิดฤดูกาล และเกมนี้ก็ยาวนานนับสิบๆ ปี คงขึ้นอยู่กับคนดูทั้งประเทศแล้วว่าจะเทใจให้ใคร เมื่อการแข่งขันสูงขนาดนี้ สื่อต่างๆ ต้องมีการปรับตัว ค�าถามอยู่ที่ว่าทุกคนพร้อมที่จะคิดใหญ่ไหม จะคิดแล้วเหนือ่ ยกับเรือ่ งเล็กๆ หรือจะยอมลงทุนเหนือ่ ยกับเรือ่ งใหญ่ๆ? ถ้าให้ตอบแบบเร็วๆ ทุกคนก็นา่ จะ อยากคิดใหญ่ ท�าใหญ่ เสียมากกว่า เพราะผลตอบแทนที่ ได้รับจากการลงมือลงแรงก็น่าจะคุ้มค่า เหมือนที่ต�าราทางธุรกิจหลายๆ เล่มต่างก็แนะน�า แต่เอาเข้าจริงค�าว่างานใหญ่ก็คงไม่ได้มาเดี่ยวๆ แต่มาเป็นแพ็กเกจ ไม่ว่าจะเป็นงานยาก งานยุ่ง งานเสี่ยง งานที่ไม่คาดคิด ซึ่ง วัชร และ จิตสุภา วัชรพล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายงานกลยุทธ์และการตลาด บริษทั ทริปเปิล วี บรอดคาสต์ จ�ากัด ก็เต็มใจทีจ่ ะกระโจนเข้าใส่เงือ่ นไขทีว่ า่ มาทัง้ หมด กับการทุม่ ทุนครัง้ ส�าคัญของสือ่ สิง่ พิมพ์ยกั ษ์ใหญ่ อย่างหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ ทีข่ ยายธุรกิจมาลงสนามสือ่ โทรทัศน์ ซึง่ หลายคนก็คงจะได้ขา่ วคราวหรือได้รบั ชม กันไปบ้างแล้ว กับช่อง ‘ไทยรัฐทีว’ี ทีม่ มี ลู ค่าการประมูลใบอนุญาตถึง 3,360 ล้านบาท ยังไม่รวมค่าใช้จา่ ย ต้นทุนการผลิตต่างๆ ทั้งอาคารสถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ทางเทคนิค ที่ต่างก็รับรู้กันว่าสื่อทีวีนั้นต้อง อาศัยเทคโนโลยีและการลงทุนทีส่ งู กว่าสือ่ อืน่ ๆ มาก เดิมพันครัง้ นีจ้ งึ สูงลิบ เพราะรีโมตในมือของผูช้ มคงกด ช่องที่ถูกใจอยู่เพียงไม่กี่ช่อง และนั่นก็คือโจทย์ส�าคัญของทั้งคู่ที่จะน�าพาไทยรัฐทีวีไปนั่งอยู่ในหัวใจคนดู เหมือนที่หนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ สามารถท�าได้ แต่จะส�าเร็จอย่างสวยงามแค่ไหน คงต้องดูกันอีกยาวไกล เพราะบทสัมภาษณ์นี้เพิ่งส่งถึงมือคุณในวันที่ 19 หลังการเปิดตัวอย่างเป็นทางการของช่องไทยรัฐทีวี ในขณะที่อายุของใบอนุญาตการออกอากาศอยู่ที่ 15 ปี ลองกดไปที่ช่อง 32 HD แล้วคุณจะได้รู้จักกับสื่อ อย่างไทยรัฐในรูปแบบใหม่ ที่ทั้งผู้บริหารและทีมงานรอคุณมาพิสูจน์ฝีมืออยู่บนหน้าจอตลอด 24 ชั่วโมง
สไตลิสต์ : HOTCAKE
14
ตอนนี้ 24 ชั่วโมงของคุณ เป็นอย่างไรบ้าง วัชร : ถ้าสั้นๆ ง่ายๆ เลยนะครับ กลายเป็น คนติดทีวขี นึ้ มาทันที ต้องดูตลอด เวลาอยูข่ า้ งนอก ทานข้าว ก็เอาไอแพดไปเปิด ซึ่งแต่ก่อนไม่เป็น ยังไม่ชินกับชีวิตแบบนี้เท่าไหร่ครับ แสดงว่าก่อนหน้าที่จะมาท�างานนี้เต็มตัว เป็นคน ที่ไม่ได้ชอบทีวี? วัชร : ก็ดไู ด้ครับ แต่กไ็ ม่ได้ตดิ คือพอมาท�างานนี้ เราก็ดูช่องเราแหละ แล้วก็เปิดไปดูช่องอื่นด้วยว่า เขาเป็นยังไง แต่ก่อนเราอาจจะดูพวกเว็บไซต์ มากกว่า เพราะเราท�าเว็บไซต์ไทยรัฐออนไลน์กอ่ น เราก็ต้องดูเว็บ แต่พอตอนนี้มีทีวีแล้วก็ต้องดูทีวี เพิ่มขึ้นด้วย คุณจะแข่งขันในธุรกิจทีวีดิจิตอลนี้อย่างไร วัชร : เรามองภาพรวมทั้งหมด คือเราจะมี connected TV ก็คือการเบลนด์ให้ทีวีอยู่ในระบบ ออนไลน์ดว้ ย สามารถชมออนไลน์ ชมย้อนหลังได้ แล้วเราก็เปิด microsite ของแต่ละช่องทีวีขึ้นมา อยู่แล้ว แล้วเรามองว่ามัน synergy กันได้หมด แล้วการปรับตัวในแง่ของการตลาด คิดว่าเป็น การแข่งขันกันดุเดือดเลือดพล่านไหมในธุรกิจนี้ จิตสุภา : มากค่ะ จริงๆ มันไม่ได้แข่งกันแค่ ในแง่ของการตลาดอย่างดุเดือด มันแข่งกันดุเดือด ตั้งแต่ตัวคอนเทนต์แล้ว ทั้งเนื้อหารายการต่างๆ ไม่ว่าจะข่าวหรือบันเทิง แข่งทุกกระเบียดค่ะ วัชร : แข่งทุกรูปแบบ นอกจากคอนเทนต์แล้ว ทรัพยากรบุคคลก็แข่ง ก็แย่งตัวกัน ดึงกันให้วุ่น
ไปหมด อัตราค่าจ้างก็พุ่ง แล้วการแข่งขันทีบ่ อกว่าดุเดือดทัง้ หมดนี้ คิดว่า เข้ามาในจุดทีไ่ ด้เปรียบแค่ไหน หรือว่าสูไ้ ด้ตรงไหน วั ช ร : ความจริ ง เราก็ มี จุ ด แข็ ง ของเรา โดยพยายามทีจ่ ะดึงดีเอ็นเอจากฉบับหนังสือพิมพ์ ออกมา ก็มีการท�ารีเสิร์ช ท�าแบรนดิ้ง ค้นหาว่า แก่นของแบรนด์ไทยรัฐคืออะไร แล้วเราก็พยายาม ใช้ จุ ด แข็ ง ที่ เ รามี จ ากหนั ง สื อ พิ ม พ์ ไทยรั ฐ จากประสบการณ์ที่อยู่มา 60 กว่าปีของการท�า หนังสือพิมพ์ ของการท�าสื่อ เข้ามาช่วยเสริม เป็นแนวทาง และประยุกต์ใช้กับทีวี แล้วดีเอ็นเอของไทยรัฐคืออะไร จิตสุภา : ดีเอ็นเอของไทยรัฐคือ เราอยู่ใน ธุรกิจคอนเทนต์มานาน ไม่วา่ จะหนังสือพิมพ์หรือ ออนไลน์ เพราะฉะนั้น ลักษณะคอนเทนต์หรือ ดีเอ็นเอสไตล์ไทยรัฐคือ ความเข้าใจง่าย และ ความแซบถึงใจคนอ่านทั่วประเทศ วั ช ร : ดี เ อ็ น เอของไทยรั ฐ คื อ การอธิ บ าย เรื่ อ งยากให้ เ ข้ า ใจง่ า ย การมองประเด็ น ข่ า ว การเลือกประเด็นข่าวที่คนสนใจ หรือมี impact กับคนในสังคมไทย นัน่ คือดีเอ็นเอของไทยรัฐ แล้วพอมาท�าไทยรัฐทีวลี ะ่ วั ช ร : เราก็ต ้ อ งพยายามดึง จุด นี้ม า ส่ ว น รูปแบบการน�าเสนอก็แตกต่างออกไป ความจริง เราพยายามรักษาจุดแข็งนี้ไว้หมด แต่รูปแบบ การน� า เสนอในแต่ ล ะช่ อ งทางก็ มี เ อกลั ก ษณ์ และวิธีการที่ไม่เหมือนกัน
จิตสุภา : หลักๆ แล้วดีเอ็นเอของไทยรัฐคือ ประเด็นอะไรก็ตามทีเ่ ป็น human interest กระทบ กับคนหมูม่ ากในสังคมไทย แล้วก็ความเข้าใจง่าย เสพง่าย ไม่ตอ้ งมีพนื้ ฐานความรูม้ ากก็ได้ แต่อา่ น แล้วรู้เรื่อง วัชร : สมมติถ้าเป็นข่าวเศรษฐกิจ เราจะ ไม่ใช้ศพั ท์เทคนิคทางการเงิน หรือรายงานข่าวหุน้ แบบละเอียดยิบ คือเราไม่ใช่หนังสือพิมพ์เฉพาะทาง ที่เน้นด้านเศรษฐกิจที่มีตัวเลขหรือศัพท์เทคนิค ทางเศรษฐกิจเยอะ คือเราท�าเนือ้ หาให้เข้าใจง่าย เข้าถึงได้ทุกระดับชั้น กลุ่มคนที่อ่าน ไทยรัฐ อยู่แล้ว แน่นอนว่าเขาคง ติดตามไทยรัฐทีวี แต่สา� หรับกลุม่ เป้าหมายใหม่ๆ จะดึ ง เขาเข้ า มาอย่ า งไร เพราะกลุ ่ ม นี้ เ ข้ า มา ในช่วงทีก่ ารแข่งขันเยอะมาก ตัวเลือกช่องก็มเี ยอะ ท�าอย่างไรเขาถึงจะดูไทยรัฐทีวี จิตสุภา : จริงๆ แล้วก็ขนึ้ อยูก่ บั วิธกี ารน�าเสนอ ด้วยค่ะ พอเนือ้ หาทีม่ ถี กู แปลงมาเป็นภาพเคลือ่ นไหว ในทีวี ปั จ จัย ที่ส�า คัญ 2 อย่ า ง คือ ตัว เนื้อ หา กับวิธีการน�าเสนอ เพราะจริงๆ แล้วรายการทีวี ในบ้านเราจะเป็นรายการอาหาร ท่องเทีย่ ว สุขภาพ ความงาม เกมโชว์ ตลก แต่ขนึ้ อยู่กบั ว่าเราจะบิด มันนิดหนึง่ แล้วมีวธิ กี ารน�าเสนออย่างไรให้ดนู า่ สนใจ มากขึ้น หรือเป็นอีกมุมหนึ่ง เพราะฉะนั้น ตอนนี้ ตัวคอนเทนต์เราได้แล้ว คือมันเป็นแก่นที่มาจาก แบรนด์เดิมอยู่แล้ว ทีนี้ก็อยู่ในช่วงที่เราก� าลัง ทดลองค้นหาการน�าเสนอแบบใหม่ๆ เพื่อที่จะ ดึงดูดคนกลุ่มใหม่ๆ ที่ไม่ได้เป็นแฟนคลับ ไทยรัฐ ซึ่งจริงๆ แล้วจากที่เปิดช่องมา 1 อาทิตย์ ก็ได้รับ ผลตอบรับในทางบวกค่อนข้างเยอะกับทั้งสอง อย่าง ทั้งวิธีการน�าเสนอ แล้วก็ที่ตัวประเด็น และเนื้อหา แล้วอย่างช่วงทีค่ ดั คอนเทนต์ ช่วยเล่าให้ฟงั หน่อย ได้ไหมว่าใช้เกณฑ์อะไรหรือยุ่งยากขนาดไหน แล้วมาตรฐานของคุณทั้งสองคนเป็นอย่างไร จิตสุภา : คัดยาก เพราะว่าเราเองก็ใหม่ ทั้งหมด แล้วเราก็ต้องการจะน�าเสนอความใหม่ หรืออะไรทีม่ นั ไม่เหมือนกับทีช่ อ่ งอืน่ ทีน่ า� เสนออยู่ เพราะฉะนั้น แค่จะท�าให้มันเท่ากับมาตรฐานที่มี ในตลาดก็ยากพออยู่แล้ว แต่นี่เรายังพยายาม ผลักดันตัวเองให้สูงขึ้น ท้าทายตัวเองมากขึ้นอีก ด้วยการพยายามข้ามไปอีกขั้นหนึ่ง ไปอีกสเตป หนึ่ง เพราะฉะนั้น ขั้นตอนการท�างานยากมาก ไม่ใช่แค่ว่าโปรดักชันเฮาส์เอา proposal มาเสนอ แล้วจบ แต่มันคือการเอา proposal มาเสนอ แล้วนั่งคุยกันระหว่างทีม content development ของเรากับโปรดักชันเฮาส์ พยายาม brainstorm และ top-up กันไปกันมาว่าท�ายังไงให้มนั แตกต่าง แปลกใหม่ มีจดุ เด่นในตัวของมันเอง แล้วก็พฒ ั นา ร่วมกันมาเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ออกมาเป็นเดโม เป็นเทปแรก แล้วพวกคุณทัง้ สองคนมีมาตรฐานในการสกรีน งานอย่างไร วัชร : ตอนหลังๆ ผมจะให้น้องสาวคนเล็ก (ธนวลัย วัชรพล) ลุยเลย ตอนแรกเข้าด้วยกันหมด แล้วมันกลายเป็นว่า 3 คนเข้าไปด้วยกันมันไม่ได้ ท�าอย่างอื่นไง ต้องแบ่งๆ กันแล้ว จิตสุภา : คือน้องสาวคนเล็กเขาจะดูรายการ อย่ า งเดี ย วโดยเฉพาะ ตอนแรกก็ ดู กั น หมด แต่ตอนหลังมันไม่ไหว อย่างน้อยก็ให้น้องสาว สกรีนขัน้ แรกก่อน เราก็ถอยออกมา แต่วา่ ฝ่ายรายการ ก็ยงั อยูใ่ นความรับผิดชอบของเรา อยู่ under direct supervision ก็ดูรายการ ดูมาร์เก็ตติ้ง ดูงานขาย ดูพีอาร์ ดูพัฒนาธุรกิจ แต่เท่าทีด่ จู ากรายการทีน่ า� มาเปิดตัวก็ดแู ตกต่าง จากช่องอืน่ ๆ ในแง่ของไอเดียหรือว่าวิธนี า� เสนอ พอสมควร ช่วยยกตัวอย่างรายการทีเ่ ป็นทีภ่ มู ใิ จ ของไทยรัฐทีวีหน่อย จิ ต สุ ภ า : จริง ๆ ถ้ า จะเหมาะกับ คนอ่ า น
a day BULLETIN นะ ต้องเป็นรายการ ‘ต้องรอด’ กับ อีก รายการชื่อ ‘Blind Taste’ คือ รายการ ต้ อ งรอด แก่ น หลั ก ของมั น คื อ สารคดี เ ชิ ง ข่ า ว เป็นการน�าเสนอคอนเทนต์ทเี่ จาะลึกและรอบด้าน แล้วเรามีคลังคอนเทนต์อยู่มหาศาล เราต้องการ จะต่ อ ยอดใช้ ป ระโยชน์ จ ากคอนเทนต์ ที่ เ รามี จริงๆ จุดเริ่มต้นมันอยู่แค่นี้เลย แล้วทีมก็เอามา เสนอว่า นอกจากจะแค่ investigate ว่าเกิดอะไร ขึ้นกับสถานการณ์นั้นๆ ก็เสริมเข้าไปหน่อยว่า ถ้าคุณตกอยู่ในสถานการณ์แบบนั้นแล้วอยาก จะมีชีวิตรอด คุณจะต้องท�าตัวหรือปฏิบัติตัว อย่างไร วัชร : เหมือนจากคอนเทนต์ที่มีอยู่เดิม เราก็ เพิ่ม value เข้าไป เพิ่มอีกแง่มุมเข้าไป ไม่ใช่แค่ เอาเรื่องสึนามิมาเล่าเฉยๆ แต่พอเราเอาสึนามิ มาเล่าแล้ว เราก็บอกว่าถ้าครั้งหน้ามีสึนามิอีก แล้วคุณตกอยู่ในเหตุการณ์อย่างนั้น คุณควร ปฏิบัติตัวยังไง มันไม่ใช่บอกแค่ต้องมีสติ แต่มัน ต้องมีขั้นตอนด้วย จิตสุภา : คือรายการเราจะเอา fact มาเล่า แล้วย่อยให้มันน่าสนใจและเข้าใจง่ายๆ แล้ว mood รายการ ต้องรอด มันไม่น่าเบื่อ ทีมตัดต่อ ตัดออกมาได้เหมือนเทรเลอร์หนังเลยค่ะ ตื่นเต้น มาก น่ า ติด ตาม แล้ ว รายการนี้ทีม in house ของเราผลิตเองด้วย ส่วนอีกรายการหนึง่ ชือ่ รายการ Blind Taste คือจริงๆ แก่นของมันคือรายการ พาชิมอาหาร แต่ว่าที่ผ่านมารายการอาหาร ทั่วไปจะชอบไปร้านอาหารที่หน้าตาอาหารดูดี บรรยากาศดี อร่อยรึเปล่าไม่รู้ เพราะถ้ า ไปถ่ า ย ร้านเขาก็ตอ้ งบอกว่าอร่อย ทีนเี้ ราก็เลยบิดนิดหนึง่ ว่าท�าไมเราไม่กลับมามองที่รสชาติอาหารจริงๆ เราก็เลยให้คนตาบอดพาชิม แล้วก็พาคนตาดี ปิ ด ตาไปชิ ม ด้ ว ย คื อ คนตาดี จ ะได้ ตั ด เซนส์ ทางการมองเห็นออกไป แล้วกลับไปสนใจที่แก่น ของอาหารซึ่งก็คือรสชาติ คือเราพยายามพลิก ไอเดียโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ แล้วสิ่งที่เรา ได้รับเป็นผลพลอยได้จากรายการนี้ก็คือระหว่าง ทีค่ นตาบอดพาคนตาดีทปี่ ดิ ตาเดินไปร้านอาหาร มั น ก็ มี บ างประโยคที่ ค นตาบอดพู ด แล้ ว มั น กลายเป็นเหมือนสอนคนดู ได้สจั ธรรมชีวติ ไปเลย โดยปริยาย โดยทีเ่ ราไม่ได้คดิ ว่ารายการพาไปชิม อาหารจะสามารถให้แง่มุมดีๆ กับคนดูได้ ก่อนที่คุณจะเข้ามาท�างานที่ไทยรัฐ มีการพูดคุย จากผู้ใหญ่อย่างไรบ้างในการมอบหมายงาน วั ช ร : จริง ๆ แล้ ว โปรเจ็ก ต์ ทีวีเ ราเป็ น คน น� า เสนอผู ้ ใ หญ่ เราเป็ น คนเดิน ไปบอกคุณ แม่ (ยิ่งลักษณ์ วัชรพล) ว่าต้องท�า ก่อนหน้านั้นเราก็ ท�าออนไลน์ พวกเว็บไซต์ แอพพลิเคชัน คืองาน ของเราก่อนหน้านั้นคือออนไลน์ ซึ่งทางผู้ใหญ่ มอบหมายมาให้ปรับปรุงด้านออนไลน์ เว็บไซต์ เราก็ท�าไปเรื่อยๆ คือตอนแรกตั้งใจจะซื้อกล้อง แค่สองตัวเพื่อจะเติมเต็มคอนเทนต์ของออนไลน์ เพราะว่าเทรนด์ของมัลติมีเดียมันมามากกว่า การที่อ่านข่าวแล้วเป็นภาพนิ่ง เราก็อยากจะมี คลิปข่าว วิดีโอคลิปประกอบข่าวแค่นั้นแหละ จิตสุภา : ใช่ แล้วไปๆ มาๆ มันก็เลยเอ๊ะ... หรือจะเป็นเคเบิลทีวีดี แล้วต่อมาก็มีข่าวเรื่อง การประมูลทีวีดิจิตอล ก็เลยไปให้สุดเลย ทีนคี้ ณ ุ วัชรก็ดเู หมือนเข้ามาเป็นทีร่ จู้ กั ฮือฮาในช่วง ที่ประมูลพรีเมียร์ลีกของช่อง CTH วัชร : ความจริงคนชอบสับสน คือการประมูล ของ CTH เราไม่ได้ท�าในนามไทยรัฐ แต่ไปในนาม ส่วนตัวของคุณแม่ ไม่ใช่วา่ บริษทั วัชรพลคือบริษทั ที่เป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ มาลงทุนกับ CTH ไม่ใช่นะ แต่บงั เอิญว่าหน้าตาผมเป็นเหมือน สัญลักษณ์ของไทยรัฐ ไปอยู่ตรงไหนคนก็จะคิด ว่าไปในนามของไทยรัฐ ซึ่งจริงๆ ไทยรัฐกับ CTH บริหารแยกกันอย่างสิ้นเชิง มาโฟกัสที่ไทยรัฐทีวีบ้าง ถอดความส�าเร็จจาก
15
ตั ว ของ ไทยรั ฐ ที่ เ ป็ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ มาเป็ น แนวทางในการบริหารไทยรัฐทีวีอย่างไร วัชร : ผมว่าง่ายๆ เลยนะ สิ่งที่หนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ ท�าได้คือจับใจคนอ่าน เข้าถึงคนอ่าน วิธีน�าเสนอเขาถูกทาง เพราะฉะนั้น สิ่งที่ทาง ไทยรัฐ ทีวีพ ยายามจะท�า ก็คือ ต้ อ งจับ ใจคนดู ให้ได้ ซึ่งก็ต้องมาหาว่าจะท�ายังไงให้ถูกใจคนดู ก็คือให้มันถูกช่องถูกทางถูกที่ของมัน มีวิธีเดาใจไหม วัชร : ก็ต้องใช้ผลวิจัยนั่นแหละครับ เรา ยอมรับว่าเราไม่มีประสบการณ์ทางด้านนี้ ก็ต้อง พยายามเรียนรู้ไป เราก็ต้องพยายามยืดหยุ่น พร้อมที่จะปรับเปลี่ยน แต่เราก็ต้องมีจุดยืนใน ระดับหนึ่ง ถ้ามองว่าประสบการณ์น้อยในเรื่องของทีวีเป็น จุดอ่อนของไทยรัฐทีวี แล้วอะไรที่เป็นจุดแข็ง จิตสุภา : จริงๆ ทรัพยากรบุคคลของเราถือเป็น จุดแข็งนะ ทรัพยากรบุคคลนี่หมายถึงทุกคนที่อยู่ ในไทยรัฐ ไม่ว่าจะเป็นทีมหนังสือพิมพ์ หรือทีม ออนไลน์ แต่ว่าโร้ดแม็พของเราคือความต้องการ ทีจ่ ะรวมทุกสือ่ ทีเ่ รามี เพราะฉะนัน้ ทรัพยากรบุคคล ก็เป็นจุดแข็งของเรา ไม่วา่ จะเป็นบุคลากรทางด้าน ข่ า วที่เ รามี อ ยู ่ ทั่ ว ประเทศ หรื อ ว่ า คอนเน็ ก ชั น ในการเข้าถึงแหล่งข่าวที่เรามีก็ถือเป็นจุดแข็ง คลั ง คอนเทนต์ ที่ เ รามี ทั้ ง หมดก็ ถื อ เป็ น จุ ด แข็ ง แล้ ว ก็ ก ารที่ เ รามี ห ลายสื่ อ อยู ่ ใ นพอร์ ต โฟลิ โ อ ของเราก็ถือเป็นจุดแข็ง วัชร : คือสื่อแต่ละสื่อที่เรามีถือว่าค่อนข้าง แข็งแรง ยอดพิมพ์เรามากที่สุด ล้านฉบับต่อวัน ออนไลน์ เ ราก็ไ ม่ ขี้เ หร่ มีเ พจวิว 2 ล้ า นต่ อ วัน ในสื่ อ อย่ า งอิ น สตาแกรมเราก็ มี ค นตามเยอะ เราก็พยายามท�าทุกอย่างทั้งออนไลน์ ทั้งโซเชียล มีเดีย เราก็ลุยหมด แล้วก็พยายามจะหาช่องทาง ว่ามันควรจะท�าแบบไหนในแต่ละช่องทาง พูดถึงจุดแข็งในแง่ของธุรกิจไปแล้ว แล้วจุดแข็ง ของคุณทั้งคู่ล่ะ คิดว่ามีอะไรบ้าง วัชร : คิดว่าไม่ใช่แค่เราทั้งคู่ แต่เป็นทุกคน ที่มาช่วยเสริมซึ่งกันและกันได้ คือเหมือนเรามี อย่างหนึ่ง เขาขาดตรงไหนมันก็มาเติมเต็มกันได้ อย่ า งเราสองคนไม่ มี เดี๋ ย วคนอื่ น ก็ ม าเติ ม ได้ แล้วยิ่งพอเป็นพี่น้องกันด้วย มันก็มีความเชื่อใจ จิตสุภา : จุดแข็งของเรา หรือว่าเจเนอเรชัน ประมาณนี้คือ ชอบความท้าทาย แล้วก็เปิดกว้าง ในการรับฟังทางความคิดของทุกๆ คน เหมือนเรา ไม่ได้มอี โี ก้มากนัก แล้วเรารับฟังทีม รับฟังลูกน้อง รับฟังความคิดเห็นของคนข้างนอก แล้วเอามา ปรับใช้เป็นจุดแข็ง รับฟังแต่พอถึงวันที่ต้องฟันธง จิตสุภา : ก็ต้องฟัน แล้วฟันมากี่รอบแล้วคะ จิตสุภา : ทุกวันค่ะ ตั้งแต่เรื่องจิ๊บๆ ไปจนถึง เรื่องใหญ่ๆ วั ช ร : คื อ พอมาท� า ระดั บ ผู ้ บ ริ ห ารแล้ ว สิ่งส�าคัญที่สุดคือ decision making ซึ่งต้องเจอ ทุกวัน ตัง้ แต่เรือ่ งไม่เป็นเรือ่ งอย่างเด็กทะเลาะกัน จิตสุภา : เอาง่ายๆ เรื่องจะให้ทีมงานนั่งโต๊ะ ท�างานตรงไหนนี่ก็ต้องตัดสินใจแล้วนะ วัชร : ใช่ เพราะบางทีก็ต้องคิดถึง workflffllow ด้วยว่าแผนกนี้ต้องติดต่อกับแผนกนี้ จิ ต สุ ภ า : ซื้ อ ที วี เ พิ่ ม กี่ เ ครื่ อ งตรงนี้ ก็ ต ้ อ ง ตัดสินใจ วัชร : จะซือ้ รุน่ ไหน กล่องอะไร ก็ตอ้ งตัดสินใจ เหมือนกัน แล้วเรื่องใหญ่สุดที่ตัดสินใจมามีอะไรบ้าง วัชร : ก็ต้องเรื่องประมูล จะลงทุนเท่าไหร่ ลงระบบอะไร เพราะตอนแรกผมซื้อใบประมูลทั้ง 3 ประเภท ข่าว, SD Variety, HD Variety แต่ถ้า ประมูล HD ก็ต้องทิ้งข่าว มันจะมีกฎของ กสทช. อยู่ แต่ตอนนั้นเราก็ซื้อไว้หมดทั้ง 3 อันเพราะว่า เรายังไม่รู้ว่าจะเลือกอันไหนดี
แล้วใครเป็นคนฟันธงตัวเลข วัชร : คุณมารดา (หัวเราะ) จิตสุภา : พวกเราไม่มีอ�านาจขนาดนั้น วัชร : แต่พวกเราก็ตอ้ งท�าการศึกษาทางการเงิน กับฝ่ายการเงินของเราด้วย คนอื่นอาจจะมองว่าพวกคุณมีภาพลักษณ์เป็น เด็กรุน่ ใหม่ ยังเด็ก ทัง้ สองคนคิดว่ามีอะไรทีค่ นอืน่ เขาไม่รู้ไหมว่าคุณท�าได้ จิตสุภา : ก็ไม่รู้นะ คือทุกอย่างที่อยู่บน หน้าจอวันนีก้ เ็ กิดจากการตัดสินใจของเราสองคน เกิดจากเด็กสองคนนี่แหละ มีความรู้สึกกลัวบ้างไหม มาจับงานใหญ่ๆ จิตสุภา : ก่อนเปิดตัวนี่แบบ... โอ๊ย! วัชร : คือก่อนช่องขึ้นเดือนสุดท้าย พอยิ่ง งวดๆๆ มาจนสัปดาห์สุดท้ายคือสติแตกทุกคน ยังไงก็ต้องให้ออนแอร์ให้ได้ ท�าทุกอย่าง อาจจะ ต้องแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าก่อน ยังไม่ตอ้ งอะไรมาก เอาให้มันรอดก่อน แต่ไม่ได้หมายความว่า พอออนแอร์แล้วมันจะต้อง เปอร์เฟ็กต์ วัชร : ใช่ จริงๆ ตอนแรกเราก็คาดหวังเยอะ แต่ พ อถึ ง ตอนนี้ ผ มว่ า มั น เป็ น ความเครี ย ด ความกังวล ของทุกๆ ฝ่าย ทุกๆ ส่วนเลย แบบ เฮ้ย... ฝ่ายโน้นจะท�างานเสร็จตามที่ตกลงกันไว้ รึ เ ปล่ า แต่ พ อสุ ด ท้ า ยเขาก็ ท� า กั น ได้ นั่ น คื อ ความโล่งอกในระดับหนึ่ง แต่มันก็เป็นเพียงแค่ จุดเริ่มต้น หลังจากนี้มันก็มีอีกเยอะ ถ้ า ณ วั น ที่ อ อนแอร์ มั น ยั ง ไม่ เ ปอร์ เ ฟ็ ก ต์ มองภาพไว้ไหมว่าที่ดีมันควรจะเป็นอย่างไร จิตสุภา : จริงๆ ตอนนี้มันก็ยังไม่ถึงกับที่เรา คิด ไว้ เรารู ้ ว ่ า มัน ไปได้ อีก ยัง ท�า ได้ ดีก ว่ า นี้อีก ทั้งรายการ ทั้งข่าว ต่างๆ นานา แล้วคุณผลักดันทีมงานอย่างไร ถ้าคุณคิดว่ามัน จะมีช่องให้ไปได้มากกว่านี้ วัชร : วันก่อนผมก็คยุ กับหัวหน้าของแต่ละฝ่าย นะว่า พี่ๆ รู้ใช่ไหมว่าจริงๆ แล้วเราไปได้สุด มากกว่านี้ ซึง่ ทุกคนก็รวู้ า่ มันไปได้สดุ กว่านี้ มันยัง มีอีก เขาก็รู้ว่าตรงนี้เขายังบกพร่อง เขายังท�าได้ดี กว่านี้อีก อย่างส่วนทีค่ นอืน่ เขาไม่รใู้ นแง่มมุ ชีวติ ของคุณที่ ไม่ใช่ธุรกิจ จริงๆ แล้วคุณสองคนสนใจอะไรบ้าง วัชร : ผมก็มงี านสะสมของผมบ้าง แล้วก็ชอบ ดนตรี ถ้าเล่นกีฬาก็มีบ้าง ศิลปะก็ชอบ จิตสุภา : ชอบร้องเพลง ชอบเที่ยว อยาก ไปเที่ยวค่ะ (ยิ้ม) ความสนใจพวกนี้มันมีส่วนช่วยในการท�างาน ด้วยไหม อย่างคุณจิตสุภาที่ชอบร้องเพลง จิ ต สุ ภ า : มั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ช ่ ว ยในงานโดยตรง แต่มันท�าให้เวลาหยุดจากท�างานแล้วเรารีแล็กซ์ และรีเฟรชตัวเองขึน้ มา และท�าให้เรามีแรงในการท�างานต่อจริงๆ วัชร : ผมว่ามันช่วยนะ อย่างเราสองคน ชอบดนตรีทั้งคู่ เพลงประกอบสถานีเราก็คุยกับ คนที่เขาท�าให้ด้วยตัวเอง จิตสุภา : อย่างเรา on stage มาเยอะ พูดต่อหน้า คนเยอะๆ ได้ไม่มปี ญ ั หา หรือว่าสามารถคอมเมนต์ ได้ในเรื่องลีลาของผู้ประกาศ ในเรื่องของเสียง การใช้ลมจากท้องของผูป้ ระกาศ มันอาจจะช่วยได้ ในระดับหนึ่ง แล้วแบกรับความคาดหวังอย่างไรบ้างในฐานะ ของทายาทธุรกิจ จิตสุภา : แบกได้นะ แต่แบกแล้วต้องมีสติ แล้วแบกแบบไม่ใช่เอามากดดันตัวเองในเชิงลบ คือแบกเพือ่ ให้รวู้ า่ ฉันมีภาระหน้าทีท่ ตี่ อ้ งรับผิดชอบ และน�าพาองค์กรไปให้ได้ แต่ว่าไม่พยายามแบก แล้วเอามากดดันให้ตวั เองเครียดจนเกินไป ซึง่ มัน ก็เป็น motivation ที่ดีในการท�างานนะ จริงๆ แล้ว การทีม่ คี วามคาดหวังมาอยูก่ บั เรา มันยิง่ ท�าให้เรา ยิ่งต้องพิสูจน์ตัวเองว่าฉันท�าได้ วัชร : ก็คล้ายๆ กันนะครับ แต่วา่ บางทีถา้ มัน
เยอะเกินไปก็ต้องตั้งสติก่อน เพราะว่าถ้าเราโดน มันดูดเข้าไป ก็จะยิ่งแย่ไปกันใหญ่ วิธีตั้งสติท�าอย่างไรคะ วัชร : นึกถึงคุณตา (ก�าพล วัชรพล) แล้วก็ คิดว่าต้องสู้เพื่อคุณตา ท�าให้ได้แบบที่คุณตา ตั้งใจไว้ อย่ า งคุ ณ ตาที่ คุ ณ นึ ก ถึ ง ท่ า นมี จุ ด เด่ น อะไร ที่ท�าให้นึกถึง จิตสุภา : ส่วนตัวเรานึกถึงความอดทนแล้ว ก็ความมานะบากบั่นของเขา เขาเริ่มจากศูนย์ แบบติดดิน และที่มีวันนี้ได้ก็เป็นเพราะเขา จริงๆ เจเนอเรชันของคุณอาจจะไม่ต้องฝ่าฟัน ขนาดนั้น คือมันเป็นรุ่นที่เรียกว่าเป็นรุ่นที่ต้อง รักษาสิ่งที่มีอยู่ ใช่ไหม วัชร-จิตสุภา : ไม่ใช่นะ ไม่ใช่อย่างไร วัชร : คือรุ่นหนึ่งสร้าง รุ่นสองรักษา รุ่นสาม ก็ต้องสร้างต่อ จิตสุภา : รุ่นสองรักษาแล้ว รุ่นสามก็ต้อง top-up ด้วย แล้วคุณสมบัติของรุ่นที่จะต้อง top-up ควรจะ เป็นอย่างไร วัชร : ต้องกล้า กล้าที่จะท�าสิ่งใหม่ๆ แล้ว ต้องคิดว่าสิง่ ทีร่ นุ่ หนึง่ รุน่ สอง เขาสร้างมาจะช่วย ให้เรา add value ขึ้นมาได้ยังไง จะเป็นฐานให้เรา ได้ยงั ไงในการเติบโตต่อไป แต่จริงๆ ผมว่าแนวคิดนี้ คงใช้ไม่ได้กบั ทุกธุรกิจ มันแล้วแต่ประเภทของธุรกิจ
“สิ่งที่หนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ ท�ำได้คือจับใจ คนอ่ำน เข้ำถึงคนอ่ำน วิธีน�ำเสนอเขำ ถูกทำง เพรำะฉะนั้น สิ่งที่ทำงไทยรัฐทีวี พยำยำมจะท�ำก็คือ ต้องจับใจคนดูให้ ได้ ซึ่งก็ต้องมำหำว่ำจะ ท�ำยังไงให้ถูกใจคนดู ก็คือให้มันถูกช่อง ถูกทำงถูกที่ของมัน”
17
“จริงๆ ที่ผ่ำนมำเรำไม่ได้ออกสื่ออะไรเลย เพรำะไม่ได้คิดว่ำเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ต้องท�ำ เพรำะเชื่อว่ำสักวันหนึ่งคนจะต้องรู้เองว่ำเรำเป็นคนยังไง จำกผลงำนที่ออกไป ไม่ต้องไปป่ำวประกำศบอกคนอื่นว่ำฉันท�ำอย่ำงนี้ ฉันเหนื่อยนะ” และ cycle ของธุรกิจ อย่างธุรกิจอื่นๆ รุ่นสาม เขาอาจจะเป็นรุ่นที่ต้องคอยรักษาก็ได้ แล้วอะไรที่ท�าให้คุณกล้าที่จะท�าในสิ่งที่รุ่นก่อนๆ ไม่เคยท�า หรือท�าในสิ่งที่รุ่นใหม่ๆ ไม่เคยเห็น วัชร : ก็เพือ่ การอยูร่ อดของเรา ของครอบครัว ของอนาคต ขององค์กร ซึ่ ง คนมั ก จะมองว่ า เจเนอเรชั น ใหม่ ไ ม่ ค ่ อ ยมี ความมุ ่ ง มั่ น ในการที่ จ ะท� า อะไรนานๆ มี อ ะไร อยากจะบอกไหม จิ ต สุ ภ า : จริ ง ๆ มั น อาจจะอยู ่ ที่ ตั ว บุ ค คล ด้วยค่ะ แล้วก็วิธีการที่คนคนนั้นถูกเลี้ยงดูมา อย่างทีบ่ า้ นเราก็โดนปลูกฝัง คุณแม่กท็ า� งานหนัก ทุกวันนี้คุณยาย (คุณหญิงประณีตศิลป์ วัชรพล) ก็ยังมาท�างาน วั ช ร : มั น โดนปลู ก ฝั ง มาว่ า ต้ อ งมาท� า นะ ต้องดูแลนะ แล้วอย่างตอนเด็กๆ วิ่งเล่นอยู่ในไทยรัฐ ก็รู้ อยู ่ แ ล้ ว ว่ า ต้ อ งท� า หนั ง สื อ พิ ม พ์ แต่ อ ้ า ว... พอโตมาต้องมาท�าทีวี จิตสุภา : โอ๊ย... อันนี้ไม่มีใครคิดเลย วัชร : คือทีน่ เี่ ป็นบ้านหลังทีส่ อง ไม่ใช่ทที่ า� งาน แต่มันคือบ้าน จิตสุภา : มันจะต้องมาท�าอะไรสักอย่าง แน่นอนค่ะ ไม่วา่ จะส่วนไหนก็ตาม เพราะนีค่ อื บ้าน และทุกคนคือครอบครัว สิ่งที่สนุกในการท�าธุรกิจคืออะไร จิตสุภา : ตอนนีเ้ ราก็บอกได้วา่ สนุก เพราะว่า เราได้เรียนรูอ้ ะไรใหม่ๆ ทุกวัน แล้วก็ได้รจู้ กั ตัวเอง ดียิ่งขึ้นทุกวันด้วย เรื่องที่เพิ่งเรียนรู้ใหม่ล่าสุดแล้วรู้สึกว่ามันท�าให้ คุณรู้จักตัวเองมากขึ้นคือเรื่องอะไร จิตสุภา : รู้ว่าตัวเองดุ จริงๆ ก็รู้มานานแล้ว แหละ (หัวเราะ) รู้ว่าตัวเองใจร้อน แต่ก็เป็นคนที่ อยากช่วยคนอื่น แล้วก็รู้ว่าตัวเองเป็นคนคิดมาก เหตุการณ์อะไรที่บอก จิตสุภา : จริงๆ ก็ทเี่ จอในงานทุกๆ วันนีแ่ หละ ค่ะ แม้แต่กระทั่งเรื่องเล็กๆ น้อยๆ อย่างเวลา คุยงานกับโปรดักชันเฮาส์ เราก็ตอ้ งการให้รายการ ทีเ่ ราท�าช่วยสังคม ให้ความรูก้ บั คนดู คือก่อนหน้านี้ เราก็ไม่ได้รตู้ วั ว่าเราอยากจะท�าเพือ่ คนอืน่ ขนาดนี้ แล้วมันมาจากไหน จิ ต สุ ภ า : ไม่ รู ้ เหมื อ นมั น เป็ น passion ในการท� า งานค่ ะ นี่ ไ ม่ ไ ด้ พู ด ในฐานะที่ อ ยู ่ ใ น วงการสื่ อ สารมวลชนแล้ ว จะต้ อ งมี จ ริ ย ธรรม จรรยาบรรณนะ ไม่ ไ ด้ ม าจากมุม นั้น เลย แต่ มันมาจากอะไรก็ไม่รู้ วัชร : ผมสนุกที่ได้เรียนรู้กระบวนการของ งานโทรทั ศ น์ ค รั บ ผมว่ า มั น สนุ ก ดี เพราะว่ า พองานเสร็จแล้วมันเห็นผลลัพธ์มาที่หน้าจอเลย แล้วผมชอบศิลปะด้วย ผมก็ชอบดูภาพทีม่ นั สวยๆ อย่ า งงานโปรดั ก ชั น พอเสร็ จ แล้ ว คุ ณ ก็ ส นุ ก กับการได้ดู แต่ในส่วนของการบริหารธุรกิจ คุณสนุกไหม จิตสุภา : ส่วนตัวแล้วเราชอบนะ เพราะเรา ไม่อยากท�างานลงรายละเอียดหรืองานในส่วน ปฏิบัติการ แต่เราชอบคิด วางแผน มองแบบ ภาพรวมเชิง strategic planning ซึง่ จริงๆ ทีผ่ า่ นมา ไม่คอ่ ยมีเวลาได้ไปท�าตรงนัน้ เลย เพราะต้องไปนัง่ ลงรายละเอียด และเรียนรู้ในทุก 1-2-3 ของทุก
กระบวนการ ขั้นตอนการท�างาน เราเป็นเจ้าของ ก็จ�าเป็นต้องรู้ทุกอย่าง แต่ว่าตอนนี้เริ่มมีเวลา ให้หายใจหายคอ ถอยตัวเองออกมาหนึ่งสเตป มามองภาพกว้ า งในเชิ ง business direction ทั้งหมด ก็แฮปปี้ค่ะ ถ้าอย่างนั้นสไตล์การท�าธุรกิจภายใต้การดูแล ของคุณจะเป็นแบบไหน จิตสุภา : คือแน่นอนว่าเราต้องพยายาม รักษาความแข็งแรงของ media portfolio ที่เรามี ให้มันอยู่ได้นานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แล้วก็ ไม่ให้แต่ละช่องทางมันขัดกันเอง เราอยากให้ เหมือนว่าเราอยู่กับผู้บริโภคทั้งวัน เช้ามาก็อ่าน หนั ง สื อ พิ ม พ์ กลางวั น ก็ เ ปิ ด แอพพลิ เ คชั น อยากให้อยู่ในชีวิตทั้งวัน วัชร : คือแต่ละสื่อต้องเสริมซึ่งกันและกัน มาอุ ด ซึ่ ง กั น และกั น และก็ เ ติ ม เต็ ม ในทุ ก ๆ ไลฟ์ไตล์ที่ผู้บริโภคต้องการ เราต้องไปจ่ออยู่ ตรงนั้นเลย แล้วเมื่อไหร่ที่เขาต้องการ เขาต้อง เข้าถึงเราได้ทั้งหมด บทบาทที่ ว างไว้ ว ่ า เช้ า มาอ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ กลางวันก็อา่ นเว็บ เย็นกลับไปดูทวี ี ในอีกแง่หนึง่ ก็เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อสังคม คุณวางบทบาท การเป็นสื่อที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคอย่างไร จิตสุภา : จริงๆ สือ่ ทุกสือ่ มีอทิ ธิพลต่อคนทีเ่ สพ อยูแ่ ล้ว และมีบทบาททีส่ า� คัญมากต่อการขับเคลือ่ น และให้ ค วามรู ้ ค น แล้ ว จริ ง ๆ ในเชิ ง แบรนดิ้ ง นั่นคือวิสัยทัศน์ที่เราต้องการจะเป็น เราต้องการ จะเป็นผู้น�าทางความคิดของสังคม แล้วการจะเป็นผู้น�าทางสังคมจะต้องท�าอย่างไร จิตสุภา : เราก็ต้องเป็นคนดี คิดดี แล้วจริงๆ เจตนาของผู ้ บ ริ ห ารของเราทุ ก คนคื อ เจตนาดี อย่างรายการ Blind Taste ตอนแรกเถียงกันอยู่ นานมาก เพราะว่าสุ่มเสี่ยงไง เราก็กลัวว่าสังคม จะรับได้ไหมถ้าเราเอาคนตาบอดมาท�าอะไรแบบนี้ แต่ถา้ คุยกับคนตาบอดเอง เขาไม่ได้รสู้ กึ อะไรเลย แล้ ว เขาชอบให้ ค นเรี ย กว่ า คนตาบอดด้ ว ย จริงๆ ตอนแรกจะตัง้ ชือ่ รายการว่า ‘ตาบอดชวนชิม’ แต่กม็ คี นท้วงว่าจะดีหรือเปล่า แต่สดุ ท้ายก็คยุ กัน ในทีมว่าจริงๆ แล้วเราไม่ได้จะท�าให้คนตาบอด ดูไม่ดีนะ จริงๆ รายการนี้ทา� ให้เขาดูบวกขึ้นมา ด้ ว ยซ�้า เพราะว่ า เขาเป็ น คนให้ แ ง่ คิด กับ คนดู ก็คือกลับมาที่เจตนาอย่างที่บอกนั่นแหละ แต่ ค� า ว่ า เจตนาดี มั น ก็ พู ด กั น ทุ ก คนแหละ ว่าเราจะท�าอะไรดีๆ เพื่อสังคม จิตสุภา : ก็ตอ้ งให้คนดูเขาตัดสิน คือส่วนตัว เราเป็นคนเชื่อในเรื่องของการคิดดี พูดดี ท�าดีนะ แล้วคนดีอยู่ที่ไหนก็เป็นคนดี สักวันคนอื่นก็ต้องรู้ ว่าเป็นคนดี แล้วฉันท�าอย่างนี้ ฉันปิดทองหลังพระ ก็โอเคส�าหรับเรา จริงๆ ที่ผ่านมาเราไม่ได้ออกสื่อ อะไรเลย เพราะไม่ได้คิดว่าเป็นสิ่งจ�าเป็นที่ต้อง ท�า เพราะเชื่อ ว่ า สัก วัน หนึ่ง คนจะต้ อ งรู ้ เ องว่ า เราเป็ น คนยัง ไง จากผลงานที่อ อกไป ไม่ ต ้ อ ง ไปป่ า วประกาศบอกคนอื่ น ว่ า ฉั น ท� า อย่ า งนี้ ฉันเหนื่อยนะ แล้วความเชือ่ ในเรือ่ งคิดดี พูดดี ท�าดี มันมาจาก อะไร มาจากใครสอน ท�าไมถึงเลือกที่จะใช้ชีวิต แบบนี้ จิตสุภา : ไม่รู้นะคะ อาจจะมาจากการที่ ครอบครัวสอน แล้วคุณยายก็เป็นคนจิตใจดีมาก
คอยสอนว่ า อย่ า ลื ม บุ ญ คุ ณ คน ต้ อ งกตั ญ ญู คุณตาเองก็เป็นคนรักพวกพ้องมาก ใครช่วยเขาไว้ เขาก็ตอบแทนเต็มที่ มันก็ไม่เชิงว่าเขามาบอก ตรงๆ ว่ า เธอต้ อ งพู ด ดี คิด ดี ท�า ดี แต่ มัน เป็ น สภาพแวดล้อมที่เราเจอด้วย ที่มีเพื่อนดี สังคม ที่อยู่ดี โรงเรียนดี ครูบาอาจารย์ดี แล้วตอนนีท้ งั้ สองคนก�าลังจะสร้างสภาพแวดล้อม ให้กบั สังคมอยู่ คิดว่าลักษณะของสภาพแวดล้อม ที่ต้องสร้างน่าจะเป็นอย่างไร จิตสุภา : เรื่องที่เราน�าเสนอไปนี่แหละค่ะ แล้วก็แนวคิด วิธกี ารท�างาน เอาแค่วา่ เราพยายาม จะวางตัวเองเป็นทางเลือกใหม่ให้คนดูมอี ะไรมากขึน้ แค่นเี้ ราก็รสู้ กึ ว่ามันคือส่วนหนึง่ ทีเ่ รามอบให้สงั คม แล้วค่ะ ตัวเลือกอื่นๆ ส�าหรับคนที่เปิดรับสื่อในตอนนี้ มันมีสารพัดเลย ล�าบากไหม จิตสุภา : มันก็ลา� บากค่ะ เพราะว่าปรัชญา ในการด�าเนินธุรกิจของเรา เราก็อยากรักษาไว้ แต่ในขณะเดียวกันเราก็มี bottom line ที่เราต้อง รักษาไม่ให้ผลประกอบการติดตัวแดงอะไร ก็ตอ้ ง รักษาสมดุล เพราะฉะนั้น ความยากมันอยู่ที่ จุดยืนในเชิงปณิธาน แต่ผลประกอบการก็ต้องดี ด้วย ถ้ามองในตลาดของทีวี คิดว่าคนดูตอ้ งการอะไร มาเติมเต็มบ้าง จิตสุภา : คิดว่าคนไทยต้องการอะไรทีด่ งู า่ ยๆ ดูแล้วสนุก ผ่อนคลาย ที่ พู ด มามั น อาจจะเป็ น แค่ ค าแร็ ก เตอร์ ทั่ ว ไป แต่ในแง่ของการปฏิบัติล่ะ จะท�าอย่างไร จิตสุภา : เราถึงพยายามทีจ่ ะบอกว่ารายการ สนุกๆ ของเรามันไม่ใช่แค่เรือ่ งบันเทิง แล้วรายการ ทีม่ นั มีสาระก็ไม่ใช่แค่สารคดีทดี่ นู า่ เบือ่ นัน่ แหละ คือสิ่งที่เราต้องการจะให้มันเป็น ในแง่ ข องไทยรั ฐ ที วี มั น มี ก ลิ่ น ของความเป็ น องค์กรข่าวไหม วัชร : มีแน่นอนครับ เพราะว่าเราท�าวิจัยมา สิ่งแรกเลยเวลาคนนึกถึงไทยรัฐ คือข่าว เพราะ ฉะนัน้ รายการข่าวเราก็ตงั้ ใจ และถึงผมจะประมูล ช่ อ งแบบวาไรตี้ไ ป ไม่ ไ ด้ เ น้ น ช่ อ งข่ า ว ถึง เขา จะก�าหนดสัดส่วนข่าวแค่ 25% แต่ผมก็ตงั้ ใจจะท�า ให้เป็นข่าว 50% เลย เพราะว่าข่าวก็คือจุดแข็ง จุดหนึ่งของเรา แล้วท�าไมไม่ประมูลข่าว วั ช ร : ไม่ ไ ด้ ป ระมู ล หมวดข่ า วเพราะว่ า ความคมชัดของช่องข่าวเป็นแบบสแตนดาร์ด และเราก็ไม่อยากถูกจัดประเภทให้อยู่ในหมวด ข่าว นี่คือหนึ่งในความแตกต่าง จิตสุภา : มันท�าให้เราโดดเด่นขึ้นมาด้วยนะ สมมติวา่ เราไปประมูลในหมวดข่าว เราก็จะอยูแ่ ค่ ตรงนั้ น แล้ ว รายการวาไรตี้ เ ราก็ ไ ม่ เ ด่ น สั ก ที เพราะว่าไทยรัฐเท่ากับข่าวอยูแ่ ล้ว เรามองว่านีค่ อื การท�า brand extension เพื่อให้กว้างขึ้น ดูวุ่นวายกับการท�าธุรกิจ มีช่วงที่ตัดตัวเอง ออกจากตรงนี้ไหม จิตสุภา : มีนะ ไม่งั้นมันก็แย่ ต้องรักษา สมดุล แต่เอาเข้าจริงๆ ตอนนี้เรายังหา work-life balance ให้ตวั เองไม่ได้เลย เพราะว่าช่วงนีม้ นั เป็น ช่วงพีกทุกอย่าง ตืน่ มาเปิด LINE ดูกเ็ ป็นเรือ่ งงาน แล้ว
วัชร : อย่างผมตื่นมาตอนนี้ก็หยิบรีโมตก่อน หาไอเดียจากการดูโทรทัศน์หรือคะ จิตสุภา : จริงๆ ไอเดียก็เกิดได้ทุกที่ นั่งคุย กันอยู่ไอเดียก็ pop-up ได้ วัชร : บางทีอาจจะได้ไอเดียก็ได้ หรือบางที ดูมากไปอาจจะไม่ได้อะไรก็ได้ หรือถ้าได้มันก็ ไปซ�้ากับของคนอื่นไง ซึ่งผมว่าอาจจะต้องดูของ ต่างประเทศบ้าง ถ้าอยากได้สิ่งใหม่ๆ ที่แบบ เมืองไทยไม่มี ว่าเราจะเอามาปรับอะไรได้ จากที่ได้ไปดูงานในต่างประเทศ มีตรงไหนบ้าง ที่รู้สึกว่าเมืองไทยยังขาดอยู่แล้วอยากจะเติม ตรงนั้น วัชร : ของผมคือตอนทีไ่ ปดูงานทีเ่ กาหลี แล้ว เห็นเขาท�า immersive graphic (กราฟิกสามมิติ เสมื อ นจริ ง ที่ ผุ ด ขึ้ น มาได้ ใ นสตู ดิ โ อ) นี่ แ หละ เพราะทีเ่ กาหลีเขาท�า immersive graphic ประกอบ รายงานข่าวทุกวัน ผมก็เลยตั้งเป้าว่าอีกหน่อย เราจะต้องท�าได้อย่างนั้น อย่างพวกช่องใหญ่ๆ เขาก็มีแล้ว อย่างนี้ถ้าทุกคนท�าได้หมด แล้วความแตกต่าง ในการท�าล่ะ วัชร : มันอยูท่ กี่ ารเล่าเรือ่ ง เปรียบเทียบอย่างนี้ แล้วกัน คุณมีดนิ สอสีสองกล่อง แล้วคุณให้จติ รกร สองคนวาด คุณได้ผลงานออกมาเหมือนกันไหม หรือว่าทีมแมนยูฯ ปีนี้ก็ชุดเดิมกับปีที่แล้ว เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ท�าแล้วชนะ แล้วท�าไม เดวิด มอยส์ ท�า แล้ ว แพ้ ล ่ ะ คื อ ความจริ ง ของมั น มี แต่อยู่ที่ว่าเราจะใช้มันออกมายังไง แผนระยะสั้นของไทยรัฐทีวีตอนนี้เป็นอย่างไร จิตสุภา : เราอยากให้ทุกอย่างมันนิ่ง เข้าที่ แต่ตอนนี้มันอยู่ในเฟส 1.1 เอง วันที่ 24 เมษายน ก็คือเริ่มต้นนับหนึ่ง วัชร : ยังมีอีกเยอะครับ ไม่ใช่แค่เพิ่งเปิดตัว แล้ ว เสร็จ แล้ ว อายุข องใบอนุญ าตก็ตั้ง 15 ปี นี่ เ พิ่ ง 1 อาทิ ต ย์ เ อง แต่ ผ มรู ้ สึ ก ว่ า นานมาก (หัวเราะ) ซึ่งงานระยะสั้นของเราก็คือต้องพัฒนา และสิ่งที่เราต้องเรียนรู้คือเราจะจับหัวใจคนดู ได้อย่างไร โลกของธุรกิจสอนคุณว่าอย่างไร จิตสุภา : เอาจริงๆ นะ เราไม่รู้สึกว่าตัวเอง เหมาะกับการท�าธุรกิจ เราเป็นคนขีใ้ จอ่อนเกินไป แต่โลกของธุรกิจก็สอนเราว่าต้องบากบั่น วัชร : สอนว่าต้องท�าด้วยตัวเอง แล้วก็คิดว่า ต้องทุม่ เทและมุง่ มัน่ และความจริงแล้ว ทุกปัญหา มีทางแก้ไข จิ ต สุ ภ า : สอนให้ รู ้ สึ ก ตั ว ตลอดเวลา พลาดไม่ได้เลย แล้วจะตัดสินใจทีกต็ ้องรอบคอบ มีข้อมูลแบ็กอัพมาก่อน พอมาท�าธุรกิจก็ท�าให้ รู้จักสัจธรรมของชีวิต แล้วก็ธรรมะ (หัวเราะ) ในแง่ว่าเราต้องมีสติอยู่ตลอดเวลา แล้วทุกวัน ทีเ่ ดินเข้าออฟฟิศ เราจะต้องเอาพลังบวกเดินเข้ามา ให้ลกู น้อง เพราะว่าทุกคนรับรูไ้ ด้ ถ้ามาแบบ moody ลูกน้องก็จะ moody ไปด้วย
22
GADGET
COSMETIC
Hidizs AP100
ปัญหำของนักฟังเพลงทีม่ ตี อ่ เครือ่ งเล่นเพลงพกพำก็คอื ส่วนใหญ่เครือ่ งเล่นเพลงพกพำจะมีกำ� ลังขับของเสียงทีย่ งั ไม่มำกพอ จนบำงครัง้ ต้องไปหำล�ำโพงขนำดเล็กมำต่ออีกที ซึง่ ก็เพิม่ ควำมยุง่ ยำกเข้ำไปอีก แต่ Hidizs AP100 เป็นเครือ่ งเล่นเพลงทีส่ ำมำรถเล่นไฟล์เพลงทีม่ ี รำยละเอียดสูงได้ เช่น ไฟล์ FLAC และให้มติ ขิ องเสียงออกมำอย่ำงครบถ้วนสมบูรณ์ โดยไม่ตอ้ งพึง่ พำอุปกรณ์ขยำยภำคสัญญำณภำยนอก และปุม่ เมนูได้รบั กำรออกแบบมำอย่ำงสวยงำม ใช้งำนง่ำย ตัวเครือ่ งท�ำจำกแมกนีเซียมอัลลอยทีใ่ ห้ควำมรูส้ กึ หรูหรำจนจับแล้วไม่อยำกวำง มีให้เลือก 2 สี คือ สีขำว และสีดำ� ควำมจุ 8 GB สำมำรถเพิม่ หน่วยควำมจ�ำจำก MicroSD Card ได้ถงึ 64 GB เล่นเพลงต่อเนื่องได้นำน 10 ชั่วโมง เปิดตัวในประเทศไทยแล้วด้วยรำคำ 10,900 บำท รำยละเอียดเพิ่มเติม www.jaben.co.th
MOVIE
MUSIC
Past Forward
อัลบัม้ รวมพลคนดนตรีชนิ้ เยีย่ มทีห่ ยิบเอำเพลงเพรำะๆ ในอดีตทีค่ นุ้ หูมำท�ำใหม่ในมุมมองทีแ่ ตกต่ำง จำกเดิม โดยใช้เวลำท�ำงำนถึง 2 ปี จนส�ำเร็จออกมำเป็นอัลบั้มนี้ แทร็กแรกของอัลบั้มคือเพลง ให้ โดย ‘แสตมป์’ - อภิวชั ร์ เอือ้ ถำวรสุข ซึง่ ต้นฉบับเป็นของวงรอยัลสไปรท์ส และเขำก็คฟั เวอร์เพลงนี้ ด้วยเสียงกีตำร์อะคูสติกทีฟ่ งั แล้วก็อดฮัมเพลงตำมไปด้วยไม่ได้ แทร็กต่อมำคือ คอย เพลงทีโ่ ด่งดัง ของวงฟรีเบิร์ด ที่ได้ ‘ตุ้ย’ - ธีรภัทร สัจจกุล และ ‘โต้ง’ - มณเฑียร แก้วก�ำเนิด มำช่วยกันปรุงแต่ง จนออกมำเป็นเพลงสไตล์บริตพ็อพสุดเท่ และเพลงทีเ่ รำชอบเป็นพิเศษจนต้องกดฟังซ�ำ้ ก็คอื รักไม่ได้ งำนเก่ำจำกกรูฟไรเดอร์สที่ได้ ‘ปั่น’ - ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว มำถ่ำยทอดด้วยน�้ำเสียงเศร้ำซึ้ง เมื่อรวมกับเสียงของเครื่องสำยก็ยิ่งท�ำให้เพลงนี้มีอำรมณ์ที่บำดลึกยิ่งกว่ำเดิม ส่วนเพลงที่เหลือ ในอัลบั้มก็มีควำมเพรำะไม่แพ้กัน ซึ่งคุณต้องลองไปฟังกันดูแล้วล่ะ
Oculus
“Oculus เป็ น หนั ง สยองขวัญที่แตกต่ำงจำก หนังเรื่องอื่นๆ ที่ฮอลลีวูด สร้ ำ ง หนั ง เรื่ อ งนี้ ดี ทั้ ง กำรเล่ำเรือ่ ง และบรรยำกำศ ทีท่ ำ� ให้คนดูรสู้ กึ หลอนโดย ไม่ ต ้ อ งมี ฉ ำกผี ห ลอกให้ ตกใจ เขำสำมำรถถ่ำยทอด เนื้อเรื่องออกมำจนท�ำให้ คนดูรสู้ กึ ว่ำอยูใ่ นเหตุกำรณ์ ภำยในหนังด้วย ซึง่ นอกจำก ตัวละครในเรื่องจะสับสน ไปมำว่ำสิง่ ทีเ่ ขำเจอนัน้ คือ เรื่ อ งจริ ง หรื อ ภำพมำยำ คนดูเองก็รู้สึกไปพร้อมๆ กันด ้ ว ย ว ่ ำสิ่ ง ไ ห น คือ เรื่องจริง สิ่งไหนคือสิ่งที่ กระจกก�ำลังหลอกเรำอยู่ พอเรำอิ น กั บ เนื้ อ เรื่ อ ง ผลสรุปสุดท้ำยเมือ่ หนังจบ จึงมีพลังมำก และที่ต้อง ชมเลยคือกำรตัดต่อภำพ ซึง่ ต่อเนือ่ งไปกับกำรด�ำเนิน เรื่อง จึงท�ำให้ภำพยนตร์ มี ค วำมน่ ำ กลั ว มำกขึ้ น ก ำ ร ใ ส ่ ป ร ะ เ ด็ น ท ำ ง จิ ต วิ ท ยำเข้ ำ มำก็ ท� ำ ให้ เนื้ อ เรื่ อ งสนุ ก มำก และ แตกต่ ำ งจำกหนั ง ที่ แ ค่ มี ผี อ อกมำหลอกตั ว ละคร แล้วก็จบไป” เลื อ กให้ โ ดย : ‘Gossip Gun’ กรัณย์ จิตธำรำรักษ์ ดีเจ รำยกำรวิทยุ คลืน่ 94 EFM
MAGAZINE
Esquire
เอสไควร์ ฉบับนี้ว่ำด้วยเรื่องรำวของคนดังที่คนทั่วไปมองว่ำเป็นคนแปลกๆ แตกต่ำง แต่แท้จริงแล้วพวกเขำล้วนมีควำมเจ๋ง ที่ซุกซ่อนอยู่ ทั้ง แดนนี เดอวีโต้ นักแสดงตลกชื่อดังที่มำพร้อมกับควำมสูง 150 เซนติเมตร และควำมกวนที่นับเป็นปริมำณไม่ได้ หรือนักแสดงรุ่นเก๋ำอย่ำง ไมเคิล คีตัน ที่แม้แต่ในวันธรรมดำๆ ของเขำยังสุดแสนจะไม่ธรรมดำส�ำหรับคนปกติเช่นเรำ ร่วมด้วย วลำดิเมียร์ ปูติน, โน้ส อุดม, โต้ สุหฤท, ตัน ภำสกรนที และอีกหลำยต่อหลำยคน นอกจำกนี้ยังมีผลกำรส�ำรวจที่จะท�ำให้คุณรู้ตัวว่ำ แท้จริงแล้วคุณแปลกหรือแตกต่ำงจำกชำยไทยทั่วๆ ไปหรือไม่ ปิดท้ำยด้วย ‘Why We Dress Now’ ที่จะพำไปค้นพบสไตล์เท่ๆ ของผู้ชำยทั้ง 18 คนในอเมริกำ ซึ่งจะท�ำให้คุณรู้ว่ำแต่งกำยดีมีชัยไปกว่ำครึ่งจริงๆ
Burt’s Bees Lip Color Collection
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส� ำ หรั บ เรี ย วปำกโดยเฉพำะ ที่ สร้ ำ งสรรค์ เ ฉดสี ขึ้ น จำก สำรสกัดและวัตถุดิบจำก ธรรมชำติ 100% ซึง่ นับเป็น นวัตกรรมสุดพิเศษที่ทำง แบรนด์ Burt’s Bees ได้มง่ ุ มัน่ วิ จั ย ในกำรผสมผสำน โทนสี ที่ ล งตั ว จำกเนื้ อ สี ธรรมชำติ ที่ มี น ้ อ ยเฉด เมื่อเทียบกับสีสังเครำะห์ โดยคั ด สรรมำให้ เ ลื อ ก ทุกโทนสีอย่ำงครอบคลุม ไม่ ว ่ ำ จะนู ้ ด ชมพู แดง มำกถึง 39 สี ตอบโจทย์ทกุ ควำมต้องกำร เพือ่ ให้คณ ุ ปกป้องและถนอมเรียวปำก ส ว ย ใ ห ้ มี สี สั น แ ล ดู มี สุขภำพดีในทุกโอกำสและ ปลอดภัย Burt’s Bees Lip Color Collection มีให้เลือก 4 สไตล์ ได้แก่ ลิปกลอส ลิปไชน์ ลิปชิมเมอร์ และ ทิ น ต์ ลิ ป บำล์ ม อั พ เดต ข้อมูลข่ำวสำรและช้อปปิ้ง ออนไลน์ ไ ด้ ที่ www. facebook.com/BurtsBeesTH และ www.burtsbees.co.th
BOOK
อิ่มอก อิ่มใจ
คงไม่มีหนังสือเล่มไหนที่เหมำะกับคนรักกำรท�ำอำหำรและเรื่องรำวแสนอบอุ่นมำกเท่ำกับ อิ่มอก อิ่มใจ ที่จ�ำกัดควำมเป็นภำษำอังกฤษเก๋ๆ ว่ำ ‘Comfort Diary : Delicious Recipes of Family and Friends’ ของนักเขียนสำว รัตมา พงศ์พนรัตน์ แห่งส�ำนักพิมพ์ Polka Dot ที่จะพำเรำไปรู้จัก กับบรรดำผู้คนและครอบครัวที่น่ำสนใจ พร้อมกับสูตรอำหำรต้นต�ำรับที่ผูกพันกับชีวิตพวกเขำ ให้เรำได้อิ่มกับภำพสวยๆ เรื่องรำวสนุกๆ แสนอบอุ่น และเคล็ดลับกำรท�ำอำหำรที่รับรองควำมอร่อยจำกผู้เขียนและเจ้ำของเมนูเอง ใครอยำกเห็นเมนูประจ�ำบ้ำนของครอบครัว หมิว ลลิตำ หรืออยำกเห็น ลีลำกำรท�ำอำหำรของ พี่ป๊อด โมเดิร์นด็อก รวมถึงเรื่องรำวของอำหำรที่ส่งผลด้ำนบวกให้กับชีวิตของหลำยๆ คน เมื่อได้เปิดหนังสือเล่มนี้ จะต้องอิ่มอก อิ่มใจ สมชื่อหนังสืออย่ำงแน่นอน
23
TRIP
เกาะเต่า
“เกาะเต่า ยังเป็นสถำนที่ที่คงไว้ด้วยบรรยำกำศที่สงบ หำดสวย น�้ำใส ทะเลก็ไม่ค่อยมีคลื่น คนไทยยังไม่ค่อยนิยมไปกันเท่ำไหร่ เพรำะที่เจอมำ จะพบแต่ชำวต่ำงชำติมำกกว่ำ กิจกรรมหลักของคนทีไ่ ปเกำะเต่ำคือกำรไปด�ำน�ำ้ แต่จริงๆ แล้วเรำสำมำรถเล่นน�ำ้ ทะเลหรือท�ำกิจกรรมอืน่ ๆ บนชำยหำด ได้เหมือนกัน ส�ำหรับผมเองถือว่ำเกำะเต่ำเป็นสถำนที่ที่เงียบสงบ ผมชอบที่นี่เพรำะเรำจะได้หลบจำกควำมวุ่นวำยและคนเยอะๆ เพรำะส่วนใหญ่ ทะเลทีส่ วยๆ จะมีคนไปเทีย่ วกันเยอะ แต่สำ� หรับทีน่ ยี่ งั มีควำมเป็นธรรมชำติอยูเ่ ยอะ ท�ำให้ผมได้ชำร์จแบตฯ ให้กบั ตัวเองได้อย่ำงเต็มที”่ เลือกให้โดย : ‘อัทธ์’ - อังค์กูณฑ์ ธนำทรัพย์เจริญ นักร้องน�ำ วง Yes’sir Days
รวม 100 บทสัมภาษณ์คัดสรร เข้มข้น ที่เคยตีพิมพ์ ในนิตยสารแจกฟรีรายสัปดาห์ a day BULLETIN มาตลอดระยะเวลา 5 ปี เนือ้ หาแบ่งเป็น 4 เล่ม ครอบคลุม ทุกประเด็นจากปากคำาของบุคคลหลากหลายวงการ ที่เคยขึ้นปกและสร้างความฮือฮาจากบทสัมภาษณ์หลัก ประจำ า เล่ ม ของ a day BULLETIN ที่ ต รงไปตรงมา ทัง้ คำาถามและคำาตอบ พร้อมต่อยอดการตัง้ คำาถามให้กบั สังคมในมุมมองที่แตกต่าง หลากหลาย พร้อมให้คุณ เลื อ กอ่ า นแบบเต็ ม อิ่ ม แล้ ว วั น นี้ In Talk, We Trust เพราะเราเชื่อในการพูดคุยอย่างมีเหตุผล
THE INFLUENCER
EXHIBITION
Transmission
จำกจุดเริม่ ต้นของคอลเล็กชันงำนศิลปะและวัตถุโบรำณอันเปีย่ มไปด้วยเรือ่ งรำวของพิพธิ ภัณฑ์บ้ำนจิม ทอมป์สัน ที่ส่วนใหญ่มีประวัติควำมเป็นมำยำวนำนกว่ำแนวคิดควำมเป็นรัฐชำติไทยแบบสมัยใหม่ ซึ่งเพิ่ง สถำปนำขึ้นในช่วงทศวรรษ 1930 ดังนั้น ของสะสมชุดนี้จึงเปรียบเสมือนตัวแทนของช่วงเวลำก่อนสมัยใหม่ และช่วงเวลำก่อนกำรเกิดส�ำนึกควำมเป็นชำติ ผ่ำนสำยตำของศิลปินร่วมสมัย 7 ท่ำน ซึ่งตีควำมงำนสะสม ของพิพิธ ภัณ ฑ์ บ้ ำนจิม ทอมป์ สัน ในรู ป แบบของตน นิทรรศกำร Transmission เปิ ดให้ เ ข้ ำ ชมทุก วัน ถึงวันที่ 30 สิงหำคม 2557 เวลำ 09.00-17.00 น. โดยไม่เสียค่ำเข้ำชม ณ หอศิลป์บ้ำนจิม ทอมป์สัน ซอยเกษมสันต์ 2 (สถำนีรถไฟฟ้ำสนำมกีฬำแห่งชำติ)
COLLECTION
บทสัมภาษณ์บุคคลที่สร้างแรงบันดาลใจ ขับไล่ความว้าวุ่น เกื้อหนุนความฝัน
THE MASTER
SHOW
บทสัมภาษณ์นักธุรกิจนักบริหารองค์กร ที่มีวิสัยทัศน์สร้างสรรค์ ไม่เหมือนใคร
THE OBSERVER
Compassion เห็นใจกันบ้าง ไม่ดีเหรอ
adidas Originals by Jeremy Scott Summer 2014
ซัมเมอร์นอี้ ย่ำปล่อยให้โอกำสในกำรแต่งแต้มสีสนั บนร่ำงกำยคุณหลุดลอยไป ร่วมเฉลิมฉลองควำมฉูดฉำด ของหน้ำร้อนกับ adidas Originals by Jeremy Scott Summer 2014 คอลเล็กชันนี้ ที่อำดิดำส ออริจินอลส์ จับมือกับดีไซเนอร์สดุ จีด๊ อย่ำง เจเรมี สก็อตต์ จนได้คอลเล็กชันใหม่ทสี่ ดใสกว่ำเดิม โดยเฉพำะรองเท้ำบูต๊ ส้นตึก รุน่ JS Athletic Wings Wedge ทีบ่ ดุ ว้ ยผ้ำสีแสด พร้อมปักลำยปีก ทีจ่ ะเพิม่ ควำมเซ็กซีใ่ ห้สำวๆ ร้อนแรงไม่แพ้แสงแดด ช่วงซัมเมอร์ ส่วนรองเท้ำแตะรุ่น JS Gel Wings Adilette ก็ไม่น้อยหน้ำ มำพร้อมกับปีกสุดเก๋ที่ข้ำงในเป็นเจลน�้ำ สีฟำ้ และสีเขียว ให้คณ ุ รูส้ กึ ล่องลอยทุกครัง้ เมือ่ สวมใส่ นอกจำกนีย้ งั มี JS Flames I ทีม่ ำพร้อมกับเปลวไฟร้อนแรง JS Gold Rod Laver สีทองเมทัลลิกมันวำว และอีกหลำกหลำยรุน่ ให้เลือก พบคอลเล็กชันนีไ้ ด้แล้วที่ adidas Originals Concept Store ชั้น 1 เซ็นทรัลเวิลด์ และชั้น G สยำมเซ็นเตอร์
GIVE
บริจาคมุ้งเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกให้นักเรียน
โรงเรียนที่วัดดอนจั่น จังหวัดเชียงใหม่ ก�ำลังจะเปิดกำรเรียนกำรสอนในภำคเรียนหน้ำ ซึ่งที่นี่มีเด็ก ในอุปถัมภ์เกินกว่ำ 500 คนทีต่ อ้ งดูแล รวมถึงให้ทพี่ กั ด้วย วัดดอนจัน่ จึงขอรับบริจำคมุง้ ทัง้ มือหนึง่ และมือสอง จ�ำนวนมำกเพือ่ ป้องกันโรคไข้เลือดออก เนือ่ งจำกวัดมียงุ ชุกชุม โดยเฉพำะช่วงเวลำทีก่ ำ� ลังจะเข้ำสูฤ่ ดูฝนเช่นนี้ ด้วย นอกจำกนีย้ งั รับบริจำคพัดลมทุกชนิดเพือ่ ใช้ในอำคำรเรียน ขันน�ำ้ ชุดนักเรียนทุกขนำด และเครือ่ งอุปโภคบริโภคอืน่ ๆ โดยสำมำรถบริจำคได้ทวี่ ดั โดยตรง หรือส่งไปรษณียไ์ ด้ที่ วัดดอนจัน่ 2 หมู่ 4 ต�ำบลท่ำศำลำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000 หรือสอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติมที่พระอธิพล โทร. 08-4809-8595, 08-9637-9703
ผลงำนเรื่องใหม่ของ จตุรชัย ศรีจันทร์วันเพ็ญ ที่เคยสร้ำงสรรค์ ละครเรื่ อ ง ‘ปี ศ าจหั ว โต’ และ ‘เมธีอพาร์ตเมนต์’ มำแล้ว ครั้งนี้ เขำได้ ห ยิ บ จั บ บทละครของ Robin Schroeter มำดัดแปลงใหม่ กลำยเป็ น ละครที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย เงื่อนง�ำ ควำมลึกลับ โรแมนติก แฟนตำซี ว่ ำ ด้ ว ยเรื่ อ งรำวของ ปี ศ ำจสำวที่ ไ ด้ รั บ ภำรกิ จ ให้ ม ำ สังหำรชำยนักล่ำปีศำจบนโลกมนุษย์ แต่ ก ลั บ พบเงื่ อ นง� ำ บำงอย่ ำ งที่ เชื่ อ มโยงเกี่ ย วกั บ ตั ว เธอซึ่ ง จะ เปลี่ยนชีวิตของเธอไปตลอดกำล เปิ ด กำรแสดง 22-26, 29-31 พฤษภำคม และ 1-2 มิถุนำยน ที่ห้องพระจันทร์เสี้ยวกำรละคร สถำบันปรีดี พนมยงค์ ทองหล่อ จองบัตรได้ที่โทร. 09-9179-5731 หรือที่เฟซบุ๊กอีเวนต์ Compassion - เห็นใจกันบ้ำงไม่ดีเหรอ
บทสัมภาษณ์บุคคลที่เฝ้าสังเกตปรากฏการณ์ หลากหลายในสังคมอุดมปัญหาเพื่อค้นหา ปัญญาและคำาตอบร่วมกัน
THE THINKER
บทสัมภาษณ์นักคิดที่มีบทบาท ต่อสังคมในทุกแง่มุม
24
แทบเล็ต Acer Iconia W4
กล้องถ่ายรูป Fujifilm X-T1
เครื่องปรับอากาศ Mitsubishi Electric MSZ-FK13VA
โทรทัศน์ Sony KDL-50W800B
เครื่องซักผ้า Electrolux EWF10932S
เครื่องดูดฝุ่น Electrolux ZUC4102PET โทรทัศน์ Samsung Digital TV / LED TV
CATCHING UP WITH SOMETHING NEW เมื่อเทคโนโลยีไม่เคยหยุดวิ่ง แล้วตัวเราเองจะอยู่นิ่งๆ ให้เทคโนโลยีก้าวล้ำาแซงหน้าเรา ไปทุกวันอย่างนั้นหรือ เพราะสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นทุกวันนี้ล้วนแต่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อชีวิต ที่สะดวกสบายและเหนือชั้นขึ้นทุกขณะ ดังนั้น ลองมองหาอะไรใหม่ๆ ที่น่าจะเหมาะกับ ไลฟ์สไตล์ของคุณสักชิ้น เราเชื่อว่าชีวิตคุณน่าจะสนุกขึ้นได้ ไม่ยากเลย เครื่องชงกาแฟ Nescafe Dolce Gusto By Krups
แทบเล็ต Samsung Galaxy Note Pro
เครื่องชงกาแฟ Delonghi ECOV310.BG
สมาร์ตโฟน Nokia Lumia 1320
WHERE หม้อทอดไม่ใช้น้ำามัน Philips HD9230
สมาร์ตโฟน Samsung Galaxy S5
พบกับสินค้าทุกชิ้นได้ที่ Power Mall ในห้างสรรพสินค้า ในเครือเดอะมอลล์
สมาร์ตโฟน Lenovo VIBE Z
20%
Promotion
Lonely Me, Lonely You
off
235.- /
220.-
abook9@gmail.com abookpublishing
It Was A Good Year นามธรรมประจำาวัน
ขึ้นบ้านใหม่
220.- /
โปรโมชั่นออนไลน์ เอาฤกษ์เอาชัยในการย้ายออฟฟิศใหม่ หั่นราคา 11 เล่มใหม่กันอย่างจุใจ 20% (ฟรีค่าจัดส่ง)
175.-
เหตุผลของการมีชีวิตอยู่ 3 220.- /
สั่งซื้อได้ทาง message ของเพจ a book Publishing (facebook.com/abookpublishing) ตั้งแต่ วันนี้ - 16 พ.ค. เท่านั้น!
175.-
The Blue Stone 325.- /
260.-
ทางรถไฟสายดาวตก
The Moon Forgets 325.- /
260.-
The Sound Of Colors 325.- /
260.-
MR. WING
325.- /
260.-
245.- /
195.-
วันที่ฉันป่วย
พี่ไปหลายวัน
275.- /
220.-
235.- /
City Biker
185.-
เกร็งกล้ามตูด สุดแรงถีบ! 205.- /
facebook.com/polkadotbook, daypoets.com, polkadotbook.net
Available now!
ที่รานนายอินทรทุกสาขา และรานหนังสือชั้นนําทั่วประเทศ หรือสัง่ ซือ้ โดยตรงในราคาพิเศษ โทร. 0-2718-0690 ตอ 412 member@daypoets.com
165.-
26
THE SPACE
HUNTING FOR HAPPINESS เรื่อง : ไอรดา รื่นภิรมย์ใจ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
เมื่ อ ได้ ม าเยื อ น Groove@CentralWorld แหล่งบันเทิงแฮงก์เอาต์แห่งใหม่ที่เต็มไปด้วย ร้านอาหารหลากหลายทีค่ ดั สรรมาแล้วว่าเหมาะ กับไลฟ์สไตล์ของคนเมืองในปัจจุบนั ท่ามกลาง ร้านเหล่านัน้ S’mores Hunting Lodge ก็สะดุดตา เราด้วยลักษณะการตกแต่ง รวมถึงคอนเซ็ปต์ ของร้านซึ่งเราไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อน บริเวณหน้าร้านที่ตกแต่งด้วยวัสดุไม้สีเข้ม และหมีตัวใหญ่ที่เปรียบเสมือนเป็นสัญลักษณ์ ของร้าน ดึงดูดเราเข้าไปพูดคุยกับ นันท์นิชา ถมยา สาวเก่งเจ้าของร้านที่ติดใจวัฒนธรรม การแคมปิ้งแบบอเมริกัน และเอามาดัดแปลง จนกลายเป็นคอนเซ็ปต์ของร้าน “เราเคยไปอเมริกาแล้วก็มโี อกาสได้ทานขนม สมอร์แบบออริจนิ อลตอนแคมปิง้ ซึง่ เด็กอเมริกนั มักจะทานกัน โดยเอามาร์ชเมลโลเสียบไม้ปิ้ง
แล้ววางบนแครกเกอร์ ราดด้วยคาราเมลหรือ ช็อกโกแลตก็ได้ ทับกันเหมือนแซนด์วชิ ตามทีเ่ รา เห็นในภาพยนตร์อเมริกัน เราก็เลยได้ไอเดีย อยากจะท�าร้านขนมก่อนในตอนแรก แต่พอคุย เรื่องร้านและสถานที่ตั้งกับเซ็นทรัลเวิลด์แล้ว ปรากฏว่าเราต้องเปิดร้านบริเวณ Groove ฝั่ง เปิดใหม่ ซึง่ มันต้องเป็นร้านทีส่ ามารถแฮงก์เอาต์ และขายแอลกอฮอล์ได้ด้วย จึงต้องปรับไอเดีย ร้านให้มีลุคที่โตมากขึ้น เลยกลายเป็น hunting lodge ด้วยคอนเซ็ปต์สมอร์ และการแคมปิ้ง แบบเดิม” นอกจากคอนเซ็ปต์รา้ นทีช่ ดั เจนและไม่เหมือน ใครแล้ว ก็ไม่ใช่เรือ่ งง่ายกว่าทีร่ า้ นจะออกมาสมบูรณ์ เพราะต้องใช้ฝีมือในการตกแต่งร้านให้เหมือน กับบรรยากาศแบบอเมริกนั จริงๆ นันท์นชิ าจึงหา พาร์ตเนอร์ทมี่ คี วามถนัดเรือ่ งการตกแต่งภายใน
27
มาเสริมความต้องการในจุดนี้ “เมือ่ คอนเซ็ปต์รา้ นแข็งแรงแล้ว เราก็ปรึกษา กั บ ที ม ดี ไ ซน์ ก็ คื อ คุ ณ ชิ น ภานุ อธิ ช าธนบดี เจ้าของ Trimode Studio เพือ่ ออกไอเดียเพิม่ เติม เมือ่ ไอเดียของเราถูกเปลีย่ นเป็นร้านอาหารทีต่ อ้ ง มีภาพที่โตขึ้น เลยกลายเป็น lodge ในที่สุด ซึง่ จะมีความรูส้ กึ คล้ายๆ กับบ้านพักตากอากาศ ของคนทีไ่ ปล่าสัตว์ ส่วนของตกแต่งภายในร้าน ก็ได้ สักใหญ่ มงคลประเสริฐ และ จีป๊ คงเดชะกุล จาก The Factory Studio ช่วยกันประดิษฐ์และ หาของตกแต่งร้านที่ยึดจากไอเดียและสิ่งที่เรา ชอบ คือเชือก ไม้ และสัตว์สตัฟฟ์ ซึ่งบางอย่าง ก็เป็นของสะสมของเรา พวกสัตว์สตัฟฟ์กส็ งั่ จาก ต่างประเทศ ส่วนโต๊ะที่เลือกใช้ก็เป็นเปลือกไม้ ทีแ่ สดงถึงความดิบของร้าน เปรียบเสมือนผูช้ าย เท่ๆ คนหนึ่ง” ภายในร้านแบ่งออกเป็น 3 โซน ที่ให้ความรู้สึกแตกต่างกันด้วยการตกแต่งเพิ่มเติมด้วย แสงไฟจากโปรเจ็กเตอร์ จนท�าให้ลกู ค้าต่างพากัน ติดอกติดใจบาร์ค็อกเทลบรรยากาศสบายๆ สไตล์อเมริกันมากกว่าโซนอื่นๆ “ลูกค้าชอบทีร่ า้ นเรามีบรรยากาศความสนุก แบบแคมปิ้งสไตล์อเมริกัน ซึ่งร้านในเมืองไทย ไม่ค่อยมี เพราะนอกจากลูกค้าจะก้าวเข้ามา เพื่ อ ทานอาหารแล้ ว เขายั ง เข้ า มาเพื่ อ เสพ คอนเซ็ปต์ร้านอาหารของเราด้วย” สนใจเปิ ด ออฟฟิ ศ หรื อ สถานที่ ส วยๆ ให้เราไปเยีย่ มเยียน สามารถส่งอีเมลมาแนะน�า ได้ที่ adaybulletinmagazine@gmail.com
YOU ROCK MY WORLD
INSPIRED BY SPACE
ค็อกเทลสูตรเด็ดของร้าน
- Breakfast Hoy ซึ่งมีส่วนผสมของไข่ขาว อยู่ด้วย
สัตว์สตัฟฟ์ที่ชอบที่สุดในร้าน
- หมี สั่ ง ท� า ซึ่ ง เป็ น สั ต ว์ ส ตั ฟ ฟ์ ตั ว เดี ย ว ที่ไม่ใช่ของจริง เพราะว่าตัวใหญ่มาก
หนังที่สร้างแรงบันดาลใจในการสร้างร้าน
- Moonrise Kingdom
ขนมสมอร์รสชาติที่ชื่นชอบ
- แบบออริจินอล ไม่ต้องใส่อะไรเพิ่มเลย มีแค่แครกเกอร์ราดด้วยช็อกโกแลตแล้วใส่ มาร์ชเมลโล
คาแร็ ก เตอร์ ลู ก ค้ า ที่ ช อบเข้ า มา สังสรรค์ - คาแร็กเตอร์ร้านจะดึงคนที่สนใจในเรื่อง เดียวกัน ทัง้ คนทีท่ า� งานในวงการศิลปะและ งานดนตรี
พบกันทุกแผง เร็วๆ นี้!
•
PEOPLE IN THE NEWS หมาก-ปริญ สุภารัตน์ พระเอกที่แตกต่าง • REFLECTION มาร็อคกัน ให้เต็มขัน ้ กับหมูม ่ วลคนพันธุร์ อ็ ค บอดีส้ แลม, บิก ๊ แอส, พาราด็อกซ์ และป้าง นครินทร์ กับเรือ่ งราวในช่วงชีวต ิ ก่อนทีพ ่ วกเขาจะเดินทาง มาถึงวันนี้ • THE INTERVIEW ซันนี่ สุวรรณเมธา นนท์ กับบทสัมภาษณ์ที่จะทำาให้คุณรู้จักตัวตน ของเขาทั้งด้านมืดและด้านสว่างมากกว่าที่เคย • FEATURE ถอดรหัสตัวละครไทย มาดูกันว่าพระเอก นางเอก ตัวร้าย พวกเขาเป็น ใครมาจากไหน www.twitter.com/hamburger_mag
www.facebook.com/hamburgermag
ISSUE 190 APRIL 2014
instagram.com/hamburgermagazine
28
HEALTH HEALTH TIPS
Q : การตี ลู ก ท� า ให้ เ ด็ ก มี พฤติ ก รรมที่ ดี ขึ้ น ได้ จ ริ ง หรือไม่ A : ไม่จริง เพราะมีการวิจัยจาก
มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นเมโธดิสต์ ซึง่ ได้ทา� การศึกษาครอบครัวจ�านวน 33 ครอบครัว พบว่า ในระหว่าง 6 วันที่ท�าการศึกษา มีเหตุการณ์ ที่พ่อแม่ตีลูกจ�านวน 41 ครั้ง ซึ่ง หลังจากที่เด็กโดนพ่อแม่ตี 75% ของทัง้ หมดจะกลับมามีพฤติกรรม เหมือนเดิมในอีก 10 นาทีต่อมา ทางด้าน ดอกเตอร์ จอร์จ โฮลเดน ผู้ท�าการวิจัย กล่าวว่า “เราพบว่า การตี ลู ก ไม่ ไ ด้ ส ่ ง ผลให้ ลู ก มี พฤติ ก รรมที่ ดี ขึ้ น แต่ ก ลั บ เป็ น ต้นเหตุให้ลูกมีพฤติกรรมที่เป็น ปัญหา เช่น อารมณ์เกรี้ยวกราด ซึมเศร้า เป็นต้น” ที่มา : www.dailymail.co.uk
4 EXERCISE MISTAKES YOU’RE PROBABLY MAKING
‘การออกก�าลังกายนั้นดีต่อสุขภาพ’ สิ่งนี้ทุกคนต่างรู้ดี แต่ก็มีหลายคนที่มัก คิดว่ายิง่ ออกก�าลังกายมากเท่าไหร่ ก็ยงิ่ เจ็บตัวมากขึน้ เท่านัน้ ซึง่ นัน่ อาจเป็นเพราะ คุณท�าบางอย่างผิดพลาดไป ดังเช่นพฤติกรรมทีเ่ ราหยิบมาบอกเล่าให้คณ ุ ได้ลอง ส�ารวจตนเองดู ดังต่อไปนี้
80%
• ทานอาหารก่ อ นออกก� า ลั ง กายมากเกิ น ไป เนื่องจากระบบการย่อยอาหารของแต่ละคนแตกต่าง กันไป ดังนัน้ ค�าพูดทีว่ า่ “รอ 30 นาทีหลังทานอาหารเสร็จ ถึงค่อยออกก�าลังกาย” นั้นอาจใช้ไม่ได้กับทุกคน จึงมีข้อแนะน�าว่า ผู้ที่ต้องการออกก�าลังกายไม่ควร ทานอาหารก่อนเริม่ เล่นกีฬามากเกินไป เพราะถ้าอาหาร ยังย่อยไม่เสร็จ แต่คณ ุ ออกไปเล่นกีฬาทีต่ อ้ งใช้กา� ลังมาก ก็จะท�าให้ปวดท้องอย่างหนักได้ • ออกก�าลังกายเหมือนเดิมทุกสัปดาห์ เพราะมี ข้อแนะน�าว่าผู้ออกก�าลังกายควรเปลี่ยนรูปแบบของ การเล่นทุก 4-6 สัปดาห์ เช่น ถ้าใครชอบว่ายน�้าก็ลอง เปลี่ ย นท่ า ทางหรื อ จ� า นวนเซตที่ ว ่ า ยในแต่ ล ะครั้ ง หรือถ้าชอบยกดัมเบลเป็นประจ�า ก็ลองเปลีย่ นมาเล่น บาร์เบลดูบ้าง เป็นต้น • พักระหว่างออกก�าลังกายในแต่ละเซตนานเกินไป หนุม่ ๆ หลายคนทีช่ อบออกก�าลังกายในยิม เช่น ยกบาร์ หรือวิ่ง มักจะวางแผนการเล่นเป็นเซตแล้วพักสักครู่ ถึงจะเริม่ เล่นในเซตต่อไป ซึง่ มีขอ้ แนะน�าจากผูเ้ ชีย่ วชาญ ว่า ผู้เล่นไม่ควรพักเกินกว่าครึ่งหนึ่งของระยะเวลา ทีอ่ อกก�าลังกาย เช่น ถ้าวิง่ นาน 20 นาที ก็ควรพักไม่เกิน 10 นาที จากนั้นก็เริ่มออกก�าลังกายในเซตต่อไป • ใช้ยาระงับอาการปวดเพือ่ จะได้เล่นต่อ เช่น สเปรย์ หรือเจลระงับอาการปวด เพราะนี่คือพฤติกรรมที่เป็น อันตรายต่อกล้ามเนื้อของคุณได้ในระยะยาว ยังมี การศึกษาพบว่า การใช้ยาระงับอาการปวดก่อนลงสนาม ส่งผลให้ผู้นั้นมีความเสี่ยงถึง 5 เท่าในการเป็นตะคริว และโรคที่เกี่ยวกับหลอดเลือด ที่มา : www.details.com
มีการศึกษาจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซินพบว่า การดื่มชาเขียว อย่างน้อยวันละ 2 ถ้วย สามารถลดความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็ง ผิวหนังได้ถึง 80%
HEALTH NEWS
นักวิจัยเผย การสูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ อาจท�าให้ลูกหัวใจพิการแต่ก�าเนิดได้ มีการวิจยั จากสหรัฐอเมริกาพบว่า การสูบบุหรีข่ ณะตัง้ ครรภ์สง่ ผลให้เด็กทีเ่ กิดมามีความเสีย่ ง เป็นโรคหัวใจพิการแต่ก�าเนิดได้ โดยความเสี่ยงจะเพิ่มสูงขึ้นตามปริมาณการสูบบุหรี่ของแม่ ทางด้าน ดอกเตอร์ แพทริก ซัลลิแวน แพทย์จากโรงพยาบาลเด็กซีแอตเทิล กล่าวว่า “จากการศึกษา เด็กทีเ่ ป็นโรคหัวใจพิการแต่กา� เนิดในรัฐวอชิงตันจ�านวน 14,000 คน ทีเ่ กิดระหว่างปี ค.ศ. 1989-2011 พบว่ามีความเชือ่ มโยงระหว่างอายุและพฤติกรรมสูบบุหรีข่ องแม่ กับการเกิดโรคหัวใจพิการของลูก ซึง่ ผลของการเป็นโรคหัวใจพิการคือเลือดจะถูกส่งไปยังปอดล�าบาก ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ อย่างไรก็ตาม เรายังไม่พบหลักฐานอย่างแน่ชดั ถึงสาเหตุทแี่ น่นอนของโรคนี้ แต่กห็ วังว่านีจ่ ะเป็น ข้อตักเตือนส�าหรับหญิงตั้งครรภ์ในการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพของลูกที่จะเกิดมา” ที่มา : http://healthyliving.msn.com
HEART
29
HEART TIPS
HOW TO SLEEP BETTER
การพักผ่อนทีด่ ที สี่ ดุ ก็คอื การนอน แต่จะท�าอย่างไรเมือ่ ความคิดฟุง้ ซ่านหลายๆ เรือ่ งผุดขึน้ มาในสมองยามเมือ่ ล้มตัวลงนอนแล้ว หลายๆ คนจึงยังคิดกระวนกระวาย และนอนไม่หลับเสียที เรามีเทคนิคที่ช่วยให้สมองของคุณหยุดคิดจากเรื่องต่างๆ ในเวลานอนเพื่อให้คุณได้รับการพักผ่อนอย่างเต็มที่
• คุณควรให้เวลาพักสมองกับตัวเองบ้าง บางครัง้ ทีต่ อ้ งท�างานหรือการบ้านจนดึกดืน่ คุณไม่ควรล้มตัว นอนทันที เพราะการที่สมองยังไม่ได้หยุดคิดจาก เรือ่ งเหล่านัน้ จะท�าให้นอนหลับยากหรือไม่ได้รบั การพักผ่อนเท่าทีค่ วร ดังนัน้ คุณต้องเผือ่ เวลาก่อนนอน สัก 1 ชัว่ โมง เพือ่ จะได้ไม่คดิ เรือ่ งหนักๆ และผ่อนคลาย ความเครียดหรือข้อมูลที่อยู่ในสมองลงบ้าง • ไม่ควรดูทวี หี รือเล่นคอมพิวเตอร์กอ่ นเข้านอน เพราะแสงจากคอมพิวเตอร์และหน้าจอมือถือจะท�าให้ สมองของคุณตืน่ ตัว ส่งผลให้นอนไม่หลับอีกหลาย ชัว่ โมง • หลีกเลีย่ งความคิดฟุง้ ซ่านเมือ่ เข้านอน เมือ่ คุณ นอนไม่หลับ หัวสมองยังคงคิดถึงสิง่ ทีต่ อ้ งท�าในวันรุง่ ขึน้ พฤติกรรมเหล่านีจ้ ะท�าให้รา่ งกายจดจ�าว่า การนอน คือการตื่นและคิดเรื่องต่างๆ หากคุณนอนไม่หลับ เป็นเวลากว่า 20 นาที คุณก็ควรลุกขึน้ มาเปลีย่ นไปท�า กิจกรรมบางอย่าง เช่น อ่านหนังสือหรือถักไหมพรม เพือ่ ให้รา่ งกายและสมองได้พกั ผ่อนลงบ้างแล้วจึงเข้านอน • คิดถึงสิง่ สิง่ หนึง่ ไว้ในใจ เวลานอนหลับ บางครัง้ เราไม่อยากคิดอะไรมาก แต่เรือ่ งราวต่างๆ กลับไหล เข้ามาในสมองโดยอัตโนมัติ คุณลองนึกภาพใด ภาพหนึง่ หรือโฟกัสไปทีเ่ รือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ อย่างการนับแกะหรือนับเลข 1-100 ก็จะกันความคิดฟุ้งซ่าน ทั้งหลายไม่ให้เข้ามากวนสมองก่อนนอนได้ดี • เขียนสิ่งที่กังวลหรืองานที่ต้องท�า หากมีหลาย เรือ่ งราวทีท่ า� ให้คณ ุ กังวลอยูใ่ นหัวสมอง ให้เขียนสิง่ เหล่านั้นลงบนกระดาษ ทั้งเรื่องที่เป็นกังวล หรือสิ่ง ที่ คุ ณ จะต้ อ งท� า แล้ ว เขี ย นวิ ธีห รื อ เวลาที่ แ น่ ชั ด ในการจะก�าจัดเรื่องราวที่กังวลเหล่านั้นทิ้งไป ที่มา : www.huffiffiingtonpost.com
LET’S GET CREATIVE
การเรียนรูต้ อ้ งไม่หยุดอยูแ่ ค่ใน ห้องเรียน โดยเฉพาะเรื่องความคิด สร้างสรรค์ที่ไม่มีต�าราไหนเป็นสูตร ส�าเร็จ แต่บางครัง้ ก็มเี ทคนิคทีท่ า� ให้ คุณมีไอเดียแปลกใหม่เพิ่มขึ้นได้ Srichand Studio จึงจัดเวิร์กช็อป เพื่ อ ฝึ ก ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ขึ้ น ในวันเสาร์ที่ 17 พฤษภาคม เวลา 09.00-16.30 น. ที่ Srichand Studio ถนนพระรามเก้า ซอย 53 โดยภายใน เวิ ร ์ ก ช็ อ ปจะมี กู รู ด ้ า นความคิ ด สร้างสรรค์อย่าง คุณรวิศ หาญอุสาหะ เจ้าของหนังสือ Marketing Everything! และ พลอย ลุมทอง เจ้าของ C’est Design Studio ที่จะ มาพร้ อ มกั บ ความรู ้ แ ละแนวคิ ด นอกกรอบพร้อมร่วมท�างาน กระตุน้ ต่อมความคิดสร้างสรรค์ดว้ ย งานนี้ รับเพียง 12 คนเท่านั้น โอกาสดีๆ ไม่ได้มีเข้ามาบ่อย สนใจสอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.facebook. com/marketingeverythingbook
“ความโกรธเป็นอารมณ์ชนิดหนึ่ง เกิดได้ เดี๋ยวก็หายได้ อย่าเพิ่งวิ่งตามมันไปจนเสียหาย” ว. วชิรเมธี
ท่ามกลางแบรนด์เสื้อผ้าต่างประเทศที่เข้ามาเปิดสาขาในประเทศไทย เราคงไม่พลาดที่จะพูดถึง ‘ยูนิโคล่’ แบรนด์เสื้อผ้ารีเทลจากประเทศญี่ปุ่น ภายใต้การบริหารของ ทาดาชิ ยานาอิ หัวเรือใหญ่ที่ผ่านทั้งความส�าเร็จและผิดหวังจากการบริหาร มาจนถึงวันนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักแบรนด์ยูนิโคล่ที่น�าเสนอความเป็นญี่ปุ่นจนครองใจคนทั่วโลกไปแล้ว Name : Tadashi Yanai Nationality : Japanese Born : 7 February 1949 Age : 65 “I might look successful but I’ve made many mistakes... You have to be positive and believe you will find success next time.” <<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Tadashi_Yanai
• ทาดาชิ ยานาอิ เริ่มต้นเข้าเรียนที่มัธยมอุเบะ และต่อมา ได้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยวาเซดะในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ และรัฐศาสตร์ • ทาดาชิเข้าสู่วงการธุรกิจโดยเริ่มต้นจากการขายอุปกรณ์ เครือ่ งครัวและเสือ้ ผ้าผูช้ ายทีซ่ เู ปอร์มาร์เก็ตจัสโก้ในปี ค.ศ. 1971 หลังจากนั้น 1 ปี เขาตัดสินใจลาออกไปท�างานในร้านตัดเสื้อ ของบิดา และสร้างแบรนด์ของตัวเองและเปิดร้านในชือ่ ‘Unique Clothing Warehouse’ ครั้งแรกที่เมืองฮิโรชิมา ในปี ค.ศ. 1984 ต่อมาจึงกลายเป็นชื่อ Uniqlo • หลังจากทีเ่ ปลีย่ นชือ่ บริษทั เดิมจากโอโงริ โชจิ เป็น Fast Retailing ทีเ่ สริมความแข็งแกร่งโดยการผลิตสินค้าได้เองแล้ว จึงขยายสาขา ของร้านยูนิโคล่ไปเรื่อยๆ พร้อมปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การผลิต เสือ้ ผ้า ในปี ค.ศ. 2001 มีร้านยูนโิ คล่มากถึง 700 สาขาทัว่ ญีป่ ่นุ เมื่อทาดาชิเห็นว่าบริษัทไปได้ดีที่ประเทศญี่ปุ่น จึงเริ่มคิดที่จะ
ขยายสาขาไปต่างประเทศด้วย • ทาดาชิเปิดตลาดในประเทศอังกฤษเป็นประเทศแรก โดยเปิด ร้านยูนโิ คล่กว่า 20 สาขาในช่วงปี ค.ศ. 2002-2003 การกระท�า ครั้งนั้นเกือบท�าให้ยูนิโคล่ต้องล้มละลาย เขาจึงแสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกจากต�าแหน่งประธานบริหารบริษัท • ในปี ค.ศ. 2008 ทาดาชิกลับมาบริหารบริษทั ของยูนโิ คล่อกี ครัง้ พร้อมปรับเปลีย่ นภาพลักษณ์สนิ ค้าและแผนการตลาดรูปแบบใหม่ เพือ่ ตีตลาดทัง้ อเมริกาและยุโรปอีกครัง้ ด้วยความมัน่ ใจว่ายูนโิ คล่ จะกลายเป็น ‘แฟชั่นรีเทลโลก’ ได้ • แล้วทาดาชิกท็ า� ได้สา� เร็จ ปัจจุบนั ยูนโิ คล่มสี าขาทีญ ่ ปี่ นุ่ 793 สาขา, จีน 54 สาขา, เกาหลีใต้ 52 สาขา, อังกฤษ 15 สาขา, ฮ่องกง 14 สาขา, สิงคโปร์ 5 สาขา, มาเลเซีย 2 สาขา, อเมริกา 2 สาขา และไทย 18 สาขา และตัง้ เป้าหมายในปี 2020 ว่าจะท�ายอดขาย 31.2 พันล้านเหรียญฯ ให้ได้
ALL ABOUT BIZ
30
BIZ IDEA
BIZ LIFE
THE MARKETING REVOLUTION วรวิสุทธิ์ ภิญโญยาง
กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั มาร์เก็ตติง้ ไอเดียส์ จำากัด ผูเ้ ขียนหนังสือกำรตลำด และธุรกิจดิจติ อลชือ่ Marketing Ideas และเจ้ำของคอลัมน์ Marketing Ideas ในหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ ซึง่ เป็นนักกำรตลำดรุน่ ใหม่ทม่ี คี นส่งข้อควำม มำปรึกษำเรือ่ งของกำรตลำดและเทคโนโลยีอย่ำงมำกมำยทุกวันผ่ำนเฟซบุก๊ Marketing Hub (www.facebook.com/MktHub) • ความท้าทายในการโปรโมตแบรนด์ให้คนรูจ้ กั คือ เราต้องหาวิธที �าให้คนจดจ�า แบรนด์ให้ได้ โดยเฉพาะถ้ายังไม่มีคนรู้จักในโลกออนไลน์ด้วยแล้ว ก็ยิ่งต้อง พยายามมากยิ่งขึ้น • ปัญหาทีผ่ บู้ ริโภคไม่สามารถจดจ�าแบรนด์ของคุณได้มหี ลายปัจจัย ตัวอย่างง่ายๆ เช่น การมีโลโก้ที่ไม่ดึงดูด หรือการใช้สีของแบรนด์ที่ไปเหมือนกับของคู่แข่ง โดยเฉพาะถ้าเขาเป็นแบรนด์ทตี่ ดิ ตลาดแล้ว การใช้สหี รือโลโก้ทคี่ ล้ายกันจะท�าให้ ตัวเราเองล�าบากในการท�าให้คนซือ้ นึกถึงเรา และคนมักจะสับสนกับสิง่ ทีไ่ ด้เห็น • โจทย์ที่หินมากส�าหรับผมคือการท�าโปรโมตเพื่อช่วยเพิ่มยอดขาย เพราะ การสร้างการรับรู้ (awareness) ให้คนทั่วไปรู้จักไม่มีหลักประกันว่าจะช่วยเพิ่ม ยอดขายได้ การเพิ่มยอดขายก็ควรจะวัดได้ว่าการขายจากช่องทางไหนที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด วิธกี ารง่ายๆ เช่น การใช้วธิ ที า� โค้ดทีแ่ ตกต่างในแต่ละช่องทาง เมือ่ ผูบ้ ริโภคซือ้ สินค้า เราก็จะมีวธิ กี ารติดตามว่าโค้ดชุดนีเ้ ป็นโค้ดของช่องทาง ไหน ท�าให้เราเช็กได้ว่าเขาซื้อสินค้ามาจากที่ไหน หรือรู้จักเรามาจากสื่อใด • หลักคิดง่ายๆ ของผมคือ พัฒนาโปรดักต์ของเราให้ดขี นึ้ ไปเรือ่ ยๆ ควบคูไ่ ปกับ การพัฒนาบริการหลังการขายให้ดี สร้าง engagement และพัฒนาความสัมพันธ์ ระหว่างเรากับลูกค้า ถ้าสินค้าของเราตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ มีบริการทีด่ ี สร้างความสัมพันธ์ทดี่ ี ลูกค้าจะเกิดความชอบ และรักเรา ท�าให้ไม่มเี หตุผลอะไร ที่ลูกค้าจะไม่ใช้สินค้าจากเราหรือซื้อซ�้า • เครือ่ งมือการสือ่ สารต่างๆ ก็มขี อ้ ดีขอ้ ด้อยแตกต่างกันไป อย่างแบนเนอร์บนเว็บ ถ้าใช้ให้เป็น ก็เป็นประโยชน์ตอ่ ธุรกิจอย่างมาก เช่น เวลาท�าเป็นโปรโมชันต่างๆ แล้วให้คนพิมพ์คปู องออกมาใช้ หากใช้สสี นั หรือข้อความทีด่ งึ ดูดสายตาคนได้ แค่นี้ก็ประสบความส�าเร็จไปขั้นหนึ่งแล้ว เพราะสามารถแย่งความสนใจ (attention) จากลูกค้าได้ • การทีเ่ ว็บไซต์ e-commerce ในบ้านเราเติบโตช้า เป็นเพราะคนไทยยังไม่มนั่ ใจ ในความปลอดภัยของการใช้บัตรเครดิตซื้อของทางอินเทอร์เน็ต ทั้งๆ ที่ความน่าเชื่อถือนั้นไม่แตกต่างกับร้านค้าในอินสตาแกรมด้วยซ�้า • งานด้าน Digital Marketing สิ่งที่สา� คัญที่สุดคือ ระบบการให้บริการแก่ลูกค้า ซึง่ ส�าคัญกว่าการท�าไวรัลให้กบั สินค้าด้วยซ�า้ คุณสามารถใช้เฟซบุก๊ เป็นช่องทาง ในการตอบปัญหาให้กับลูกค้าได้ แต่ต้องคอยเอาใจใส่และช่วยแก้ปัญหาให้ อย่างรวดเร็ว เหมือนอย่างที่ Dell ใช้เฟซบุ๊กท�า Customer Support และประสบ ความส�าเร็จมาแล้ว
• ปัจจุบนั Digital Marketing เหมาะกับกลุม่ เป้าหมายแบบ Niche หรือคนทีส่ ามารถ เข้าถึงแบบเฉพาะเจาะจงได้ ส่วน Traditional Marketing เหมาะกับกลุม่ เป้าหมาย แบบ Mass แต่ผมเชือ่ ว่าเมือ่ เรามีอนิ เทอร์เน็ตทีเ่ ข้าถึงอย่างเต็มทีแ่ ล้ว สัดส่วนของ Digital Marketing จะต้องเพิ่มขึ้นเป็นหลายเท่าตัวอย่างแน่นอน • การเกาะกระแสสังคมถือเป็นวิธีการประชาสัมพันธ์ที่คนทั่วไปมักจะใช้กัน แต่ความจริงแล้วถ้าอยากให้สนิ ค้าขายดีหรือมีความโดดเด่นก็ตอ้ งสร้างความแตกต่าง ยิง่ ถ้าเราสามารถท�ารูปแบบการโปรโมตสินค้าได้อย่างฉีกแนวเป็นเจ้าแรก ด้วยแล้ว คุณก็จะมีสิทธิ์ขึ้นเป็นผู้นา� ได้ทันที แต่ถ้าเราไม่สามารถท�าอะไรเป็น เจ้าแรกได้ หรือคิดให้แตกต่างอาจจะยากเกินไป การน�ากระแสสังคม เทรนด์ มาประยุกต์ใช้ท�า Real-time Marketing และ Content Marketing ก็เป็นอีก ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ • สิ่งส�าคัญที่สุดที่ผมบอกคนรอบข้างอยู่เสมอคือ การเติมความรู้ให้กับตัวเอง เพราะไอเดียจะเกิดจากการหยิบสิ่งต่างๆ เข้ามาผสมผสานไว้ด้วยกัน ถ้าคุณ มีความรูไ้ ม่มาก หรือเห็นเทคโนโลยีมาน้อย โอกาสทีจ่ ะเกิดการเชือ่ มโยงหรือคิด อะไรใหม่ๆ ออกมาก็เป็นไปได้ยาก • การเป็นนักการตลาดนอกจากจะต้องมีความใฝ่รแู้ ล้ว คุณต้องตามติดเทรนด์ ต่างๆ ให้ทันด้วย เพราะถ้าคุณไม่รู้กระแสก็คือไม่รู้ใจผู้บริโภค เหมือนอย่างเรา เข้าใจคนวัยเดียวกัน แต่กลับไม่เข้าใจเด็กรุ่นใหม่ คุณก็ไม่รู้ว่าจะท�าการตลาด กับเด็กๆ อย่างไร • ท�างานแล้วต้องมีคู่แข่งนั้นเป็นเรื่องปกติที่สายงานไหนก็ต้องเจอ แต่ถ้าธุรกิจ ของคุณต่างก็มีขนาดเล็ก แล้วยังมองว่าต่างฝ่ายต่างเป็นคู่แข่งของกันและกัน คุณก็จะไม่มีทางโตเพราะมัวแต่แก่งแย่งลูกค้ากัน ควรหาทางขยายตลาด ให้เติบโตขึ้น และด�าเนินธุรกิจไปด้วยกันดีกว่า เพราะถ้าเรามัวแต่เป็นศัตรูกัน เกิดชาวต่างชาติเข้ามาแย่งส่วนแบ่งทางการตลาดของเราไปอีกก็แย่ไปกันใหญ่ • ตอนนีถ้ อื เป็นช่วงของการเรียนรู้สา� หรับนักการตลาดในประเทศไทยทีจ่ ะดูว่า เทคโนโลยีหรือฟังก์ชนั แบบไหนทีก่ า� ลังมาแรง สามารถน�าไปใช้ในงานประชาสัมพันธ์ ได้ และอย่าไปยึดติดกับค�าว่า Digital Marketing ที่เป็นเพียงเครื่องมือตัวหนึ่ง ในการส่งเสริมธุรกิจ ซึ่งอาจจะเหมาะกับธุรกิจหนึ่ง แต่อาจจะไม่เหมาะกับ อีกธุรกิจหนึ่งก็ได้ สิ่งส�าคัญที่สุดที่เราต้องมีคือ พื้นฐานการตลาดอย่างรู้จริง เพราะจะท�าให้เราใช้เครื่องมือการท�าประชาสัมพันธ์ได้อย่างเหมาะสม
Fitmob เมื่อพูดถึงธุรกิจฟิตเนสในปัจจุบันที่แม้ จะมีลูกค้ามากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเทรนด์ การใส่ใจสุขภาพที่เพิ่มมากขึ้น แต่ก็ยังยาก ที่จะรักษาลูกค้าให้เข้ามาใช้บริการฟิตเนส ได้อย่างสม�่าเสมอ อีกทั้งยังมีค่าบริการหรือ ค่าสมัครสมาชิกราคาสูงเกินกว่าลูกค้าจะสูไ้ หว จนต้องหยุดใช้บริการไป ฟิตเนสต่างๆ จึงเริม่ ผุดไอเดียเพือ่ ดึงให้ลกู ค้ามาใช้บริการมากขึน้ เช่ น เดีย วกัน กับ Fitmob ฟิ ต เนสแห่ ง หนึ่ง ที่เมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ที่มี นโยบายกระตุ้นให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการ fiffiitness class มากขึ้น โดยจะลดค่าบริการ ให้ ลู ก ค้ า หากเข้ า มาใช้ บ ริก ารทุก สัป ดาห์ อย่างต่อเนือ่ งกัน นับว่าเป็นนโยบายทีล่ อ่ ตา ล่ อ ใจลู ก ค้ า สุ ด ๆ โดยคุ ณ สามารถเช็ ก ตารางเรียนออกก�าลังกายได้ทแี่ อพพลิเคชัน Fitmob แล้วลงทะเบียนไว้ ครัง้ แรกทีใ่ ช้บริการ จะเสียค่าบริการ 15 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในอาทิตย์ ต่อๆ ไปจะเสียค่าบริการ 10 และ 5 ดอลลาร์ฯ ตามล�าดับ แต่หากลงทะเบียนไว้แล้วไม่มาเรียน จะต้องเสียค่ายกเลิก 5 ดอลลาร์ฯ แล้วทาง Fitmob จะน�าเงินเหล่านี้ไปมอบให้การกุศล ต่อไป เป็นไอเดียดีๆ ที่ท�าให้ร้านได้ลูกค้า เพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง ในทางกลับกัน ลูกค้า เองก็จะได้ใช้บริการในราคาที่ถูกลงเรื่อยๆ แถมยังกระตุ้นให้คุณออกก�าลังกายอย่าง สม�่า เสมอได้ อีก ทางหนึ่ง ด้ ว ย ถ้ า มีธุร กิจ ฟิตเนสแบบนี้ในประเทศไทยบ้างก็น่าจะ ท�าให้เราอยากเข้าฟิตเนสออกก�าลังกายกัน มากขึ้นก็ได้ ลองเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่ www.fiffiitmob.com
BIZ QUOTE BIZ BOOK
ไม่ต้องฉลาดก็มองเห็นโอกาส ได้มากกว่าคนอื่น ผู้เขียน : โคมิยะ คาสุโยชิ ผู้แปล : ทินภาส พาหะนิชย์ ส�ำนักพิมพ์ : วีเลิร์น รำคำ : 150 บาท
ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่เชื่อว่า ‘ความฉลาด’ เป็น ส่วนหนึ่งที่ท�าให้ทุกๆ เรื่องที่ทา� ประสบความส�าเร็จ ลองเปลี่ยนความคิดและมุมมองใหม่ซะ เพราะคน ทีป่ ระสบความส�าเร็จในเรือ่ งต่างๆ อาจไม่ใช่เพราะว่า เขาฉลาดเสมอไป แต่เป็นเพราะเขา ‘ช่างสังเกต’ มากกว่า เพราะหลายครัง้ ทีค่ นเหล่านัน้ มองเห็นโอกาส ดีๆ และรีบคว้าไว้กอ่ นใคร จนท�าให้หลายคนทีต่ ามไม่ทนั อาจจะพลาดโอกาสงามๆ ในเรื่องธุรกิจและชีวิตไป ถึงเวลาที่คุณต้องลองเปลี่ยนความคิดและฝึกฝน ความช่างสังเกตผ่านหนังสือเล่มนีท้ เี่ ขียนโดย โคมิยะ คาสุโยชิ ที่ปรึกษาด้านการบริหารชื่อดังของญี่ปุ่น ผู้เชื่อว่าคนที่มองเห็นโอกาสก่อนคนอื่นไม่ใช่เพราะ ความฉลาด แต่เป็นเพราะความช่างสังเกตมากกว่า
ในหนังสือโคมิยะได้ยกตัวอย่างประสบการณ์ของ เขาเองทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาให้บริษทั ชัน้ น�า กรณีศกึ ษาต่างๆ เหล่านี้จะท�าให้คุณได้คิดวิเคราะห์ว่าท�าไมจึงเกิด เหตุการณ์เช่นนัน้ เพือ่ มองหาจุดสังเกตต่างๆ ในเรือ่ ง ทีส่ ามารถพลิกสถานการณ์จากหน้ามือเป็นหลังมือได้ นอกจากนีเ้ ขายังน�าเสนอเรือ่ งการสังเกตทีด่ ี วิธกี ารฝึกฝนการสังเกตแบบก้าวกระโดดใน 90 นาทีที่จะ ท�าให้คุณมองเห็นเรื่องต่างๆ แบบมีรายละเอียด พร้ อ มสั ง เกตเห็ น จุ ด เปลี่ ย นหรื อ วิ ธีก ารที่ ท� า ให้ เรื่องนั้นประสบความส�าเร็จเพื่อก้าวน�าคู่แข่งเสมอ เมื่อคุณมีความช่างสังเกตไม่ว่าเรื่องอะไรก็ตาม คุ ณ ก็ จ ะกลายเป็ น คนหนึ่ ง ที่ ป ระสบความส� า เร็จ ทั้งเรื่องการงาน และธุรกิจชีวิตได้
“MY BRAIN, I BELIEVE, IS THE MOST BEAUTIFUL PART OF MY BODY.” Shakira Colombian Singer
31
THE WORDS
“We all want to be famous people, and the moment we want to be something, we are no longer free.” ทุกคนล้วนแต่อย�กเป็นคนมีชื่อเสียง และชั่วขณะที่เร�ต้องก�รเป็นอะไรสักอย่�งนั่นแหละ เร�จะไม่มีคว�มเป็นอิสระอีกต่อไป -Jiddu Krishnamurti
“Be kind whenever possible. It is always possible.”
“Freedom is nothing but a chance to be better.”
-Dalai Lama
-Albert Camus
จงมีความเมตตากรุณาเมื่อใดก็ตาม ทีเ่ ป็นไปได้ เพราะมันเป็นไปได้เสมอ
อิสรภาพไม่ใช่สง่ิ ใดเลยนอกจาก โอกาสทีจ่ ะเป็นในสิง่ ทีด่ กี ว่าเดิม
“Re-examine all that you have been told... dismiss that which insults your soul.” จงตรวจสอบซ้ำ�อีกครั้งในทุกสิ่งทุกอย่�ง ที่คุณรับรู้ม� และละทิ้งในสิ่งที่ทำ�ให้ จิตวิญญ�ณของคุณด้อยค่� -Walt Whitman
“Money won’t buy happiness, but it will pay the salaries of a large research staff to study the problem.” เงินไม่สามารถซื้อความสุขได้ ทว่า มันสามารถจ่ายเป็นค่าจ้างให้นักวิจัยกลุ่มใหญ่ ในการศึกษาปัญหาของความสุขได้
“If you want a happy ending, that depends, of course, on where you stop your story.” ถ้าหากคุณต้องการตอนจบที่สวยงาม มันก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณจะจบเรื่องราวของคุณ ที่ตรงไหน -Orson Welles
-Bill Vaughan
“There is no greater agony than bearing an untold story inside you.”
“As a body everyone is single, as a soul never.”
-Maya Angelou
-Hermann Hesse
ไม่มีความทุกข์ยากเจียนตายใด ที่จะหนักไปกว่าการแบกรับ เรื่องราวที่ ไม่อาจบอกใครในตัวคุณ
ในทางร่างกาย ทุกคนล้วนเป็น หนึ่งเดียว แต่ในทางจิตวิญญาณ มันไม่เคยเป็นเช่นนั้น
36
สมเด็จพระเทพฯ เสด็จพระราชด�าเนินเปิดงานสถาปนิก’57
สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชด� า เนิ น ทรงเปิ ด งานสถาปนิ ก ’57 เมื่ อ วั น ที่ 1 พฤษภาคมที่ ผ ่ า นมา โดยมี สมิ ต ร โอบายะวาทย์ นายกสมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สรวิศ ณ นคร ประธานจัดงานสถาปนิก’57 พร้อมกรรมการบริหาร กรรมการจัดงาน และผู้มีเกียรติเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งแนวคิดการจัดงานในปีนี้คือ 18|80 เพื่อเฉลิมฉลอง วาระครบรอบ 80 ปีของสมาคมสถาปนิกสยามฯ โดยการจัดนิทรรศการต่างๆ มุ่งเน้นให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและรู้จักสถาปนิกมากขึ้น รวมทั้งมีบูธแสดงนวัตกรรมสินค้าทางด้านสถาปัตยกรรมกว่า 700 บูธ
แหลมเจริญ ซีฟู้ด จัดกิจกรรม Spirit of Giving สมทบทุนสร้างกุฏิที่พักสงฆ์
แหลมเจริญ ซีฟู้ด จัดกิจกรรมเพื่อสังคมมาอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ชื่อโครงการ Spirit of Giving และในปี พ.ศ. 2557 นี้ กิจกรรมแรกก็คือการเป็นเจ้าภาพ ทอดผ้าป่าสามัคคี เพื่อสมทบทุนสร้างกุฏิที่พักสงฆ์ ณ วัดศรีมงคล บ้านถ่อนใหญ่ ต�าบลปลาค้าว อ�าเภอเมือง จังหวัดอ�านาจเจริญ และได้น�าสิ่งของไปมอบ ให้กับชาวบ้านในชุมชนด้วย
ตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาดหลักทรัพย์ เยอรมัน ลงนามบันทึกความเข้าใจ ร่วมสร้าง โอกาสทางธุรกิจ
ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ ตลาดหลักทรัพย์เยอรมัน (Deutsche Borse AG) ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding) ในวันที ่ 11 เมษายน 2557 เพือ่ ร่วมมือ พัฒนาตลาดหุ้นและตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ของไทยและเยอรมนี น�าโดย ดอกเตอร์ สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ ประธานกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และ แอนเดรียส พริอซุ ซ์ (Andreas Preuss) รองกรรมการผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์ เยอรมัน และกรรมการผูจ้ ดั การ ตลาดสัญญาซือ้ ขาย ล่วงหน้ายูเรกซ์ (Eurex)
สต็อคทูมอร์ โรว์ เปิดตัวหนังสือ ‘แกะรอยหยักสมอง Filter ความคิด’
บริษทั สต็อคทูมอร์โรว์ จ�ากัด เจ้าของส�านักพิมพ์สต็อคทูมอร์โรว์ ส�านักพิมพ์ ที่ถ่ายทอดเรื่องราวด้านธุรกิจและการลงทุนที่หลากหลาย จัดงานเสวนา เปิดตัวหนังสือ ‘แกะรอยหยักสมอง Filter ความคิด’ หนังสือในกลุม่ Inspiration น�าโดย ภาววิทย์ กลิน่ ประทุม นักเขียน นักลงทุนชือ่ ดัง มาพร้อมกับ ดอกเตอร์ พงษ์รพี บูรณสมภพ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการแกะปมชีวติ ผูค้ น ซึง่ ในงานมีแฟนคลับ หนัง สือ ร่ ว มแสดงความยิน ดีม ากมาย ณ งานสัป ดาห์ ห นัง สือ แห่ ง ชาติ ครั้งที ่ 42 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ที่ผ่านมา หาซื้อหนังสือได้แล้ววันนี้ ที่ร้านซีเอ็ดบุ๊กเซ็นเตอร์ และร้านหนังสือชั้นน�าทั่วประเทศ
33
กสิกรไทยชูยุทธศาสตร์ Tomorrow Comes Today ผู้น�าบริการล�้ายุค
ธีรนันท์ ศรีหงส์ กรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารกสิกรไทย ประกาศยุทธศาสตร์ครองความเป็นอันดับ 1 ในดิจติ อลแบงกิง้ ด้วยพันธกิจ ‘Tomorrow Comes Today เราน�าวันพรุง่ นี ้ มาให้คณ ุ ก่อนใคร’ ด้วยการออกนวัตกรรม บริการทางการเงินเพื่อธุรกิจและการใช้ชีวิตที่ล�้าสมัย แสดงความเป็นเจ้านวัตกรรมบริการล�้ายุคในทุกมิติ พร้อมอัดงบลงทุนพัฒนาไอทีไปแล้วกว่า 1,472 ล้านบาท เพื่อสร้างมาตรฐานใหม่ในบริการดิจิตอลแบงกิ้ง ให้ลูกค้าได้รับบริการล�้าสมัยที่ตอบรับการใช้งานในชีวิตประจ�าวัน และในธุรกิจ ควบคู่กับความปลอดภัยสูงสุด น�าไปสู่การเป็น Main Operating Bank ธนาคารที่ลูกค้าใช้เป็นธนาคารหลักในทุกด้านทุกเรื่องของ ไลฟ์สไตล์ทางการเงิน
สมอลล์รูมเตรียมจัดคอนเสิร์ต GENE KASIDIT ‘BLONDE 2 BE WILD’
Openrice.com ทุ่มทุนพัฒนา OpenSnap แอพพลิเคชันใหม่บนโลกมือถือ
www.openrice.com เว็บไซต์รีวิวแนะน�าร้านอาหารยอดนิยมอันดับ 1 ของเอเชีย เปิดตัวแอพพลิเคชันใหม่บนมือถือ OpenSnap ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ คนรุ่นใหม่ผู้ชื่นชอบการทานอาหารนอกบ้าน ใน 8 ประเทศภูมิภาคเอเชีย และส�าหรับประเทศไทยเปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้ว ซึ่งเป็นก้าวกระโดดของ แอพพลิเคชันยุคใหม่ทรี่ วมฐานข้อมูลร้านอาหารกว่า 1 ล้านแห่ง และฟังก์ชนั โซเชียลเน็ตเวิรก์ เข้าด้วยกันอย่างลงตัว เพือ่ เปิดประสบการณ์แบ่งปันความอร่อย รูปแบบใหม่บนมือถือ
ปาร์ตี้สุดเหวี่ยงก�าลังจะเกิดขึ้น กับคอนเสิร์ต Gene Kasidit ‘Blonde 2 Be WILD’ โดยค่ายเพลงขวัญใจ อินดีอ้ ย่างสมอลล์รมู ทีพ่ ร้อมแล้วส�าหรับงานยิง่ ใหญ่ ครัง้ แรกของ จีน กษิดศิ (GK) ศิลปินสุดจีด๊ ทีม่ าพร้อม กับการเปิดตัวอัลบั้มชุดล่าสุด BLONDE ในวันเสาร์ ที่ 5 กรกฎาคม 2557 ณ เซ็นเตอร์พอยต์ สตูดิโอ (ซอยลาซาล) เปิดจ�าหน่ายบัตรแล้ววันนี้ในราคา 1,200 บาท พร้อมโปรโมชัน early bird ให้คุณเป็น เจ้าของบัตรก่อนใครในราคาเพียง 1,000 บาท ถึง วันที ่ 31 พฤษภาคมนี ้ และบัตรทุกใบรับฟรีซดี อี ลั บัม้ BLONDE รายละเอียดเพิม่ เติม www.facebook.com/ smallroommusic หรือโทร. 0-2261-7826
34
THE GUEST
THE COST OF FREEDOM
งานไม่ประจ�า ท�าเงินกว่า มีที่มาจาก... ก่อนหน้านี้ผมท�างานไม่ประจ�ามาโดยตลอด มีชว่ งเดียวทีไ่ ด้มโี อกาสไปท�างานประจ�าเป็นบรรณาธิการของนิตยสารฉบับหนึง่ ซึง่ จากทีเ่ คย ท�างานไม่ประจ�ามาก็รู้สึกว่างานแบบนี้มันรุ่งยาก ไม่น่าจะเหมาะกับเรา เพราะระบบนี้ มันเอาเวลาเราไปเยอะมาก ต้องมาท�างานทุกวัน ในขณะทีร่ ายได้กน็ อ้ ยกว่ามากเมือ่ เทียบกับ งานไม่ประจ�าทีเ่ คยท�ามา เลยเป็นทีม่ าของการเขียนหนังสือเล่มนีท้ จี่ ะบอกว่างานไม่ประจ�า ท�าเงินกว่า ถ้าคุณท�าให้เป็น สิ่งส�าคัญที่จะท�าให้คุณท�างานไม่ประจ�าแล้วประสบความส�าเร็จคือ... ต้องท�าให้เป็น มืออาชีพ เพราะงานไม่ประจ�า ฟรีแลนซ์ หรือ outsource มีโอกาสมากทีจ่ ะเป็นเพียงแค่งานเสริม พอคิดแบบนั้นก็อาจจะไม่ได้ใส่ความพยายามหรือความตั้งใจเท่ากับตอนที่ท�างานประจ�า ถ้าคุณอยากท�างานไม่ประจ�าให้รุ่ง คุณต้องท�าเหมือนมันเป็นงานประจ�า คืองานประจ�า คุณใส่ความพยายาม ตัง้ ใจกับมัน หรือให้เวลากับมันแค่ไหน งานไม่ประจ�าก็ตอ้ งท�าแบบเดียวกัน ส่วนถ้าใครอยากท�างานประจ�าให้รุ่ง คุณต้องท�าแบบงานไม่ประจ�า คือรับผิดชอบงานของ ตัวเองให้ดีที่สุด และต้องคิดว่าถ้าท�างานชิ้นนี้ไม่ดีพอก็จะไม่มีงานชิ้นต่อๆ ไป หลายคนมองว่างานไม่ประจ�ามักจะมาพร้อมกับความไม่มนั่ คง แต่ผมกลับมองว่า... ความมั่นคงมันไม่ได้อยู่ที่คุณท�างานในบริษัทใหญ่โตหรือมั่นคงแค่ไหน แต่มันขึ้นอยู่กับ ตัวเราเอง ถ้าตัวเราเจ๋ง มีของ แค่นี้เราก็มั่นคงแล้ว เพราะจะไปท�างานที่ไหนก็ได้ มีแต่คน อยากให้ทา� งานให้ แล้วเราจะกลายเป็นฝ่ายเลือกงานด้วยซ�้า ก่อนที่จะออกมาท�างานไม่ประจ�า สิ่งแรกที่ต้องท�าคือ... เริ่มส�ารวจตัวเองก่อนว่าตอน ท�างานประจ�าคุณตัง้ ใจท�างานแค่ไหน ถ้างานนัน้ เป็นงานทีค่ ณ ุ ชอบ แต่กย็ งั ท�าแบบเช้าชาม เย็นชาม ท�างานแบบเอาหน้าเจ้านาย หรือมีคนเข้มงวดทีหนึง่ ก็ตงั้ ใจทีหนึง่ แบบนีอ้ ย่าออกจาก งานประจ�าเด็ดขาด เพราะคุณเหมาะกับการท�างานประจ�าทีม่ คี นคอยควบคุมมากกว่า เพราะฉะนัน้ ถ้าคุณเป็นเจ้านายตัวเองไม่ได้ก็อย่าออก แต่ถ้าคุณเป็นลูกน้องที่ดี เขาสั่งอะไรก็ทา� ได้เสร็จ ตามเป้าหมาย บริหารจัดการงานของตัวเองได้ ก็แสดงว่าคุณพร้อมจะเป็นเจ้านายตัวเองแล้ว ถ้าพูดให้ชดั ลงไปอีก คนทีเ่ หมาะกับงานประจ�าคือ... คนทีช่ อบให้มคี นมาบอกว่าเขาต้อง ท�าอะไร แล้วเขาก็ชอบงานทีช่ ดั เจน ท�าเสร็จแล้วจบ เช่น เข้างาน 9 โมงเช้า เลิกงาน 6 โมงเย็น พอท�างานเสร็จจะได้เอาเวลาที่เหลือไปใช้ชีวิต งานและเรื่องส่วนตัวแยกออกจากกันอย่าง ชัดเจน แต่คนที่ท�างานไม่ประจ�าต้องรับผิดชอบตัวเอง ไม่ชอบให้ใครมาสั่งว่าต้องท�าอะไร ขณะที่งานกับชีวิตก็อาจจะเป็นเรื่องเดียวกัน แยกกันไม่ได้ชัดเจนขนาดนั้น คนที่ท�างานไม่ประจ�าได้ดีต้องมี 2 สิ่งที่ส�าคัญ คือ... อย่างแรกคุณต้องมีลูกค้ามากพอ ซึง่ ฐานลูกค้าเหล่านีส้ ว่ นใหญ่กม็ กั จะมาจากตอนทีท่ า� งานประจ�านัน่ แหละ ถ้าเราท�างานได้ดี เขาก็จะจดจ�าเราได้ ท�าให้เกิดงานต่อๆ มา พอมีงานหลายๆ ที่ก็จะยิ่งมั่นคงมากขึ้น เพราะ ไม่ได้ฝากความหวังไว้ที่ใครคนใดคนหนึ่ง อย่างที่สองคือ คุณต้องสร้างแบรนด์ให้กับตัวเอง เพราะคนทีท่ า� งานไม่ประจ�าส่วนใหญ่มกั จะเป็นคนทีไ่ ม่มหี น้า คือเขาจะใช้ใครก็ได้ ไม่ตา่ งกัน เพราะฉะนั้น คุณต้องสร้างความแตกต่างให้ตัวเอง ให้ลูกค้าจดจ�าได้ว่าผลงานของคนคนนี้ มีความโดดเด่นอย่างไร การสร้างแบรนด์ให้กับตัวเองที่ดีที่สุดคือ... การท�างานให้มีคุณภาพ สร้างความเชื่อถือ ให้กับลูกค้า รวมไปถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลงานของตัวเราเอง บางอย่างอาจจะเป็น รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ที่ทา� ให้เราแตกต่างจากคนอื่นๆ คือต้องท�าให้มากกว่าเราเป็นแค่ คนท�างานรับจ้าง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะท�าให้งานไม่ประจ�าท�าเงินกว่าจริงๆ สิ่งที่ต้องเตือนตัวเองบ่อยๆ ส�าหรับคนที่จะเลือกท�างานไม่ประจ�าคือ... อิสรภาพกับ ความขีเ้ กียจมันเป็นพีน่ อ้ งกัน ถ้าอิสระจนเอาตัวเองไม่อยู่ เราก็จะขีเ้ กียจ คนส่วนใหญ่มกั จะ เข้าใจว่าอิสระคือไม่ต้องท�าอะไร แต่จริงๆ แล้วเป็นความคิดที่ผิด อิสรภาพในที่นี้หมายถึง เราเลือกสิ่งที่จะท�าได้ ไม่ชอบให้ใครมาบังคับ อยากมีรายได้เท่าไหร่ อยากใช้ชีวิตแบบไหน ก็วางแผนได้ เพราะฉะนั้น งานไม่ประจ�าจึงเหมาะกับคนที่มีเป้าหมายในชีวิตชัดเจน พอมีเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่มากพอ ระเบียบวินัยก็จะตามมาเอง สิ่งที่จะท�าให้คนหนึ่งคนประสบความส�าเร็จกับการท�างานไม่ประจ�าหรือไม่ น่าจะ ขึน้ อยูก่ บั ว่า... ตัวเขาถูกดึงดูด หรือถูกผลัก คนทีไ่ ม่ประสบความส�าเร็จส่วนใหญ่มกั จะถูกผลัก ออกมา เพราะเขาไม่ชอบทีท่ เี่ ขาอยู่ พอจะลาออกเขาก็ไม่ได้ลาออกมาเพราะเขามีทที่ ดี่ กี ว่า แต่เขาถูกผลักออกมาด้วยความไม่ชอบ ขณะเดียวกันคนทีป่ ระสบความส�าเร็จกับเส้นทางนี้ ส่วนใหญ่มกั จะถูกดึงดูดให้ออกมา เมือ่ เขาไปเจอสิง่ ทีม่ นั ใช่สา� หรับเขา หรือเขามีความหลงใหล ในบางสิ่งบางอย่าง มันเลยดึงดูดเขาให้ออกมา เพราะฉะนั้น ก่อนจะตัดสินใจลาออก คุณต้องชั่งใจให้ดีๆ ว่าคุณถูกแรงดึงดูด หรือแรงผลัก
เรื่อง : เอกพล บรรลือ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
ถ้ากวาดตามองไปที่อันดับหนังสือขายดีในร้านหนังสือหลายๆ ร้านเวลานี้ สิ่งที่คุณจะได้พบก็คือหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการลาออกจากงานประจ�า แล้วหันหน้าไปสู่อิสรภาพที่แท้จริงอย่างที่หลายคนใฝ่ฝัน ซึ่ง ‘บอย’ - วิสูตร แสงอรุณเลิศ บรรณาธิการ นกั เขียน และนักแต่งเพลง ผเู้ ขียนหนังสือ งานไม่ประจ�า ท�าเงินกว่า และ งานไม่ประจ�า 2 : อิสระเรา ราคาเท่าไหร่? ถือเป็นคนหนึง่ ทีจ่ ดุ กระแส ทางเลือกนี้ให้ลุกโชนขึ้นในหมู่มนุษย์เงินเดือน จนหลายคนอยากจะลุกขึ้นมา เขียนใบลาออกให้รแู้ ล้วรูร้ อด แต่โลกนี้ไม่มอี ะไรที่ได้มาฟรีๆ ก่อนทีจ่ ะไปเดินเล่น บนถนนสายอิสรภาพ คุณต้องจ่ายค่าผ่านทางเสียก่อน ซึ่งบทสัมภาษณ์นี้ ก็เป็นหนึ่งในค่าผ่านทางที่คุณจ�าเป็นต้องจ่าย
HIS WAY • นอกจากจะเป็นเจ้าของหนังสือติดอันดับขายดีที่เขียนขึ้นมาจากประสบการณ์ของตัวเองแล้ว ปัจจุบัน วิสูตร แสงอรุณเลิศ ยังรับหน้าทีเ่ ป็นบรรณาธิการให้กบั ส�านักพิมพ์ Stock2morrow ผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังหนังสือขายดีหลากหลาย เล่ม แถมยังเป็นนักแต่งเพลงให้กับองค์กรต่างๆ อีกมากมาย อาทิ บริษัท AIA, ร้านอาหาร S&P เป็นต้น • วิสูตรก้าวเข้าสู่วงการหนังสือด้วยผลงานพ็อกเก็ตบุ๊กเล่มแรก คือ ผมไม่มีผม ที่ร่วมงานกับส�านักพิมพ์ a book ก่อนจะเป็นคอลัมนิสต์ให้กับนิตยสาร Starpics และนิตยสาร DNA จากนั้นก็มารับหน้าที่เป็นบรรณาธิการให้กับ นิตยสาร MiX นอกจากนี้เขายังเคยเป็นบรรณาธิการให้กับนิตยสาร บันเทิงคดี อีกด้วย • ผลงานหนังสือเล่มต่อไปของเขาก�าลังจะกลายเป็นรูปเป็นร่างในอนาคตอันใกล้ แต่กอ่ นจะถึงเวลานัน้ คุณสามารถ ติดตามแนวคิดดีๆ จากผู้ชายคนนี้ พร้อมความเคลื่อนไหวต่างๆ ของเขาผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ Boy’s Thought ที่มีผู้ติดตามมากกว่า 50,000 คนได้อีกด้วย