ISSUE 349 30 MAR - 5 APR 2015
ISSUE 349, 30 MARCH - 5 APRIL 2015
The Journey is Not Too Late ถ้าเพียงแต่ชวี ติ ของคุณตา Hanchi Gui วัย 76 ปี ชาวเมืองฮาร์บนิ ประเทศจีน จะด�าเนินไปเหมือนผูส้ งู วัยคนอืน่ ๆ ทีเ่ กษียณอายุแล้ว เรือ่ งของคุณตาก็คงไม่กลายเป็น ข่าวดังไปทัว่ ประเทศขนาดนี้ (ข่าวจาก Tancent News) เพราะชีวติ ของคนวัยเกษียณมักจะไม่มอี ะไรยากเกินการคาดเดา เรียกว่าถ้ายังมีเรีย่ วแรงและไม่ได้เจ็บไข้ได้ป่วย ถึงขนาดที่ต้องเดินทางไปพบแต่แพทย์แล้วละก็ กิจกรรมส่วนใหญ่ก็มักจะไม่พ้นท�าสวน เลี้ยงหลาน เข้าวัดเข้าวา แต่คุณตา Hanchi Gui กลับไม่ได้เลือกเส้นทางชีวิต หลังเกษียณอายุเหมือนทีใ่ ครๆ เลือกกัน และจะว่าไปต่อให้เป็นคนทีม่ เี รีย่ วแรงและเงินทองมากกว่าคุณตาหลายเท่า ก็ไม่แน่เสมอไปว่าจะท�าแบบทีค่ ณ ุ ตาชาวเมืองฮาร์บนิ คนนี้ตัดสินใจท�า... ด้วยการน�าเงินเก็บสะสมมาทั้งชีวิตไปซื้อรถบ้านเคลื่อนที่ เพื่อขับท่องเที่ยวไปทั่วประเทศกับคู่ชีวิต เป็นการตัดสินใจที่จะใช้ชีวิตที่เหลือไปด้วยกัน บนวิถีทางแบบนี้ ชีวิตที่ไม่รู้จะเหลืออีกยาวนานคนละเท่าไหร่ ชีวิตที่เคลื่อนที่ไปเรื่อยๆ แทนที่จะลงหลักปักฐานอย่างที่ใครๆ เขาท�ากัน หลายคนบ่นว่า การใช้ชวี ติ เป็นเรือ่ งยาก แต่เมือ่ ใช้ชวี ติ มายาวนานพอ เราจะรูเ้ องว่าสิง่ ทีย่ ากกว่านัน้ ก็คอื การใช้ชวี ติ ในแบบทีต่ วั เองเชือ่ แต่คนอืน่ ไม่ได้เชือ่ ด้วย เหตุผลเพราะว่าเราไม่ได้อยู่คนเดียวอย่างแท้จริง หากแต่ยังมีคนอื่นๆ รอบตัวเราที่พร้อมจะส่งเสียงตั้งค�าถามในสิ่งที่เราเชื่อ คัดค้านในสิ่งที่เราท�า หรือโน้มน้าวให้เรา เชือ่ มัน่ ในหนทางอืน่ ทีเ่ หมาะสมและอาจจะมัน่ คง ปลอดภัยกว่า สิง่ เหล่านีเ้ กิดขึน้ อยูต่ ลอดเวลาและเสียงของผูค้ นรอบตัว ก็สามารถสัน่ ไหวหัวใจและสัน่ คลอนความเชือ่ ของเราได้เสมอ โดยเฉพาะเมื่อใดก็ตามที่คนอื่นบอกว่าท�าในนามของความรักและความห่วงใย เรื่องของคุณตาคุณยายชาวฮาร์บินคู่นี้สร้างความประหลาดใจให้กับ ผูค้ นมากมาย และแน่นอนว่ามันน�ามาซึง่ ค�าถามจากผูค้ นรอบข้างตามเคยเมือ่ มีใครสักคนลุกขึน้ มาท�าในสิง่ ทีเ่ กินความคาดหมายของสังคม ทัง้ ๆ ทีส่ งิ่ ทีค่ ณ ุ ตา Hanchi Gui เลือกท�านั้น เผลอๆ อาจจะเป็นความฝันของใครอีกหลายคนที่เก็บซ่อนไว้ลึกๆ ด้วยซ�้า บางครั้งมันอาจซ่อนอยู่ลึกจนจ�าไม่ได้แล้วว่าเราเคยฝันไว้แบบนั้น มีคนบอกว่า ความฝันก็เหมือนลายแทงขุมสมบัติที่เราเก็บซ่อนไว้ และหมายมั่นปั้นมือว่าวันหนึ่ง เมื่อพร้อม เราจะหยิบลายแทงนั้นมาปัดฝุ่นและออกเดินทางตามล่าขุมสมบัติที่เรา เชือ่ ว่ามันมีอยูจ่ ริง แต่เมือ่ วันเวลาผ่านไป สิง่ ทีพ่ ดั ผ่านเข้ามาในชีวติ ก็คอ่ ยๆ สะสมถมทับลายแทงของเรามากขึน้ เรือ่ ยๆ จนในทีส่ ดุ มันก็ถกู กลบฝังไว้ใต้ผนื ดินแห่งชีวติ ... ตรงไหนสักแห่ง รู้ว่ามี... แต่ไม่รู้ว่าควรเริ่มต้นหาจากจุดไหน ที่เจ็บปวดกว่านั้นก็คือการที่เราไม่หวนกลับไปหา เพราะคิดว่ามันสูญหายไปแล้ว เมือ่ นักข่าวชาวจีนเดินทางไปดูรถบ้านของคุณตา Hanchi Gui แกก็อวดรถคันใหม่ของแกอย่างภาคภูมใิ จ รถคันดังกล่าวยาวประมาณ 11 เมตร กว้างประมาณ 3 เมตรครึ่ง มีเตียง ห้องน�้า ห้องครัว ห้องนั่งเล่น ทุกอย่างพร้อมส�าหรับการเดินทางไกลทั่วประเทศด้วยกันกับคู่ชีวิต คุณตา Gui เล่าว่า ที่ผ่านมาแกเดินทางมาแล้ว มากกว่า 50 เมืองทั่วประเทศ แต่เมืองที่แกชอบที่สุดจนต้องแวะไปเยี่ยมเยียนปีละครั้งก็คือ ไห่หนาน ที่นั่นมีหมู่บ้านหนึ่งที่แกกับภรรยาจะไปปักหลักอย่างน้อยหนึ่งปี เพราะแกมีที่ดินผืนเล็กๆ ที่มีคนมอบให้อยู่แล้ว เลยคิดว่าจะไปปลูกผักแปลงเล็กๆ เพื่อใช้ทา� อาหารกินกันสองคน เรือ่ งของการใช้เวลาในชีวติ คงเป็นอีกเรือ่ งทีเ่ ราไม่สามารถหาบทสรุปได้วา่ ใครผิดใครถูก บางทีเวลาอาจเป็นแค่วาทกรรม มายาคติ หรืออืน่ ๆ ทีพ่ าให้เราไปผิดทิศ ใช้ชีวิตผิดทางก็ได้ เพราะสุดท้ายแล้วไม่ว่าเราจะคิดว่าเรามีเวลามากหรือมีเวลาน้อย ก็อาจไม่ใช่เรื่องที่ถูกต้องทั้งคู่ คิดว่ามีเวลาน้อย อาจจะเร่งในเรื่องที่ไม่ควรเร่ง คิดว่ามีเวลามาก ก็อาจจะเสียเวลาไปกับเรื่องที่ไม่ควรเสียก็ได้ โลกนี้จึงมีได้ตั้งแต่หนุ่มสาวที่ใช้เวลากับ ‘เรื่องไม่เป็นเรื่อง’ เพราะคิดว่ามีเวลาให้ใช้อย่างสิ้นเปลืองได้ และมีทั้งคนแก่วัยเกษียณที่แน่ใจว่าชีวิตต้องการอะไรกันแน่ แล้วมุ่งหน้าใช้ชีวิตที่คิดว่าเหลือน้อยอยู่กับ ‘เรื่องที่เป็นเรื่อง’ ซึ่งก็น่าคิดเหมือนกันว่า ใครกันแน่ที่ใช้เวลา อย่างคุม้ ค่ามากกว่ากัน ถามว่า แล้วเราจะใช้ชวี ติ อย่างไรถึงจะถูกต้อง? ค�าตอบคือ เราอาจจะผิดก็ได้ทถี่ ามหาความถูกต้องในการใช้ชวี ติ เพราะทีส่ ดุ แล้วมันอาจจะมีแค่ ความพอเหมาะพอดีสา� หรับตัวเองล้วนๆ ส�าหรับคุณตา Hanchi Gui แกก็แค่ใช้เวลาอย่างทีแ่ กอยากใช้ และใช้ชวี ติ อย่างทีแ่ กเฝ้ารอมาทัง้ ชีวติ คุณตาตอบค�าถามนักข่าวไว้ ว่า “Human life must have at least two impulses, one of selfless love, a trip to stay away.” ชีวิตคนเราต้องมีแรงกระตุ้นอย่างน้อยสองเรื่อง หนึ่ง คือการรักอย่าง ไม่เห็นแก่ตัว และการเดินทางเพื่อไปใช้ชีวิตในที่อันห่างไกล ทีนี้ มันก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะใช้ชีวิตเพียงเพื่อตอกย�้าภาพจ�าที่คนอื่นจ�าตามๆ กันมา เพราะเชื่อว่ามันเป็น ภาพที่ดูดี หรือจะสร้างสรรค์ภาพแห่งความทรงจ�าของตัวเอง ที่แม้คนอื่นจะไม่เห็นว่าสวยงาม แต่เป็นภาพที่เราจะจดจ�าไปตลอดกาล เชื่อเถอะว่า เราทุกคนล้วนมี ลายแทงขุมสมบัติที่เก็บซ่อนไว้ด้วยกันทั้งนั้น อยู่ที่ว่าเราจะหยิบมันขึ้นมาปัดฝุ่น หรือพร้อมที่จะปัดฝันนั้นทิ้งไป
ปีที่ 7 ฉบับที่ 349 วันที่ 30 มีนาคม - 5 เมษายน 2558
วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan, www.facebook.com/adaybulletin
08
06 GOODNEWS
ติ ด ต า ม ข ่ า ว ส า ร ดี ๆ รอบโลกประจ�าสัปดาห์ ได้ในห้องข่าวแห่งนี้
06
34
23 ALL ABOUT BIZ
24 เราชอบอ่ า น G oo d Ne ws ใ น a day BULLETIN มาก เพราะหาอ่ า นข่ า ว ฟี ล กู ๊ ด แบบนี้ ไ ม่ ไ ด้ จากฉบับอืน่ ๆ ไหนจะ บทสั ม ภาษณ์ บุ ค คล ที่ แ ม้ เ ราจะไม่ รู ้ จั ก
16
เรี ย นรู ้ เ คล็ ด ลั บ ในการท�างานของ กําธร ศิลาอ่อน Chief Supply Chain Offififi cer ของบริษทั เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จ�ากัด (มหาชน)
ตั ว ตนเขามากนั ก แต่ ก็ ท� า ให้ เ รารู ้ สึ ก เหมื อ น ได้ พู ด คุ ย กั บ เขาเอง ช่ ว งหลั ง ๆ เราติ ด ตาม a day BULLETIN บนไอแพดตลอด ทัง้ ทีค่ วามจริง ชอบอ่านบนกระดาษมากกว่าเพราะจะได้อ่าน กวาดตาแบบเต็ ม ตา แต่ ไ ม่ เ คยรั บ ทั น เลย เพราะเลิกงานเย็น ถ้าเป็นไปได้อยากให้เพิ่ม ช่วงเวลาแจกไปจนถึง 2 ทุ่มเลยค่ะ นอกจากนี้ มีอีกหลายเล่มเลยที่พลาดและอยากตามเก็บ
08 INTERVIEW
พู ด คุ ย เรื่ อ งชี วิ ต ที่ ไ ม่ หยุ ด นิ่ ง ของ อาทิ ว ราห์ คงมาลัย, พิมพิศา จิราธิ วั ฒ น์ และสามพิ ธีก ร จากรายการ เทยเทีย่ วไทย
24 THE SPACE
เยี่ ย มชมออฟฟิ ศ ของ ฆนัท เปาวนพันธ์ ทีส่ ร้าง มาจากพืน้ ฐานความชอบ ส่วนตัวล้วนๆ
16 A MUST
สารพั ด สิ่ ง ที่ เ ราคั ด สรร มาฝากแบบ A Must พลาดแล้วจะหาว่าไม่เตือน
26 SPECIAL FEATURE
ร่วมระลึกถึง ลี กวน ยู บุ ค คลผู ้ ท� า ให้ ป ระเทศ สิงคโปร์เปลี่ยนแปลงไป ตลอดกาล
หากที ม งานรวบรวมและวางให้ ห ยิ บ ตาม โอกาสพิเศษได้ด้วยจะดีมากเลยค่ะ - สุรีย์พัชญ์
18 SHOPPING
เติมความสดใสกับไอเทม น่ า รั ก ๆ ที่ จ ะช่ ว ยสร้ า ง บรรยากาศรอบๆ ตัวคุณ ให้ เ หมื อ นอยู ่ ใ นสวน สวยๆ
33 THE WORDS
ทุกถ้อยค�ามีความหมาย และคุณค่าเสมอ ค้นหาได้ ในหน้านี้
20 HEALTH AND HEART
รวมสาระความรู ้ ที่ จ ะ ท�าให้คุณแข็งแรงทั้งกาย และใจ
34 THE GUEST
ร่ ว มรู ้ จั ก เรื่ อ งราวของ ประชาธิปไตยทางดนตรี กับผู้อยู่เบื้องหลังมิวสิก สตรีมมิงอย่าง ฟังใจ
ส่ ง ความคิด เห็น ค�าติ-ชม หรือ ข้ อ เสนอแนะที่มีต ่ อ a day BULLETIN ได้ที่ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วจิ ยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 หรือทางอีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com กรุณาเขียนชื่อ-นามสกุลจริงและที่อยู่มากับจดหมาย เพือ่ ความสะดวกในการจัดส่งของรางวัลไปให้ และบรรณาธิการ ขออนุญาตตัดทอนจดหมายตามสมควร
พิเศษ! จดหมายที่ได้รับเลือกลงตีพิมพ์ในช่วงเดือนนี้ จะได้รบั หนังสือดีๆ จากส�านักพิมพ์ ส่งไปให้ถงึ บ้าน
ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา นิติพัฒน์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ ประพัฒน์ สกุณา เอกพล บรรลือ กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ไอรดา รืน่ ภิรมย์ใจ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล นภษร ศรีวลิ าศ บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกติ ติบตุ ร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยีด่ วง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม กิตติ ศรีวเิ ชียร เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี จิตต์โสมนัส กองแสง พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน สราญรัตน์ ไว้เกียรติ ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, วราพร วิทยารุง่ เรืองศรี 08-9169-9509, พงศ์ธดิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอีย่ มมงคลศิลป์ 08-5056-0083 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจฬุ างกูล 08-1639-1929, รวงรัชต์ ด้านเทาลา 08-1412-9478, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผูจ้ ดั การ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก นริศรา ธาระพุฒ โทร. 0-2716-6900 ต่อ 412 นักศึกษาฝึกงาน ศศกร เทพรักษา กานต์กมล เกิดพูล นวพร ญาณสิทธิ์ สรุตา สิริศรีสัมพันธ์
THE DATABASE ที่มา : http://learningenglish.voanews.com
10 อันดับเมืองรถติดที่สุดในโลก
จาการ์ตา อินโดนีเซีย
อิสตันบูล ตุรกี
เม็กซิโกซิตี เม็กซิโก
คุ ณ คิ ด อย่ า งไรกั บ นโยบายการขาย ลอตเตอรี่ในร้านสะดวกซื้อ สุราบายา อินโดนีเซีย
เซนต์ปีเตอร์สเบิรก์ รัสเซีย
มอสโก รัสเซีย
THE POLL
ที่มา : นิด้าโพล
ประชาชนคิดอย่างไรกับการเปลี่ยนผ่านจากระบบทีวีอะนาล็อกสู่ระบบทีวีดิจิตอล
อันดับ 2
อันดับ 3
ชอบ มีตัวเลือก ในการรับข่าวสาร / รายการมากขึ้น
เฉยๆ
16.72%
40.40%
อันดับ 1
ชอบ ภาพคมชัดดูแล้ว ได้อรรถรส
54.88%
โรม อิตาลี
TV Analog
SIRIVADHANABHAKDI
630,000
กว่ า 630,000 ไร่ คื อ จ� า นวนที่ ดิ น ที่ ต ระกู ล สิ ริ วั ฒ น ภั ก ดี ถื อ ค ร อ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย โดยค�านวณจากทั้งในนามส่วนตัว ครอบครัว และของบริษทั ในตระกูล ท�าให้ตระกูลสิรวิ ฒ ั นภักดี กลายเป็ น ผู ้ ถื อ ครองที่ ดิ น รายใหญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ที่มา : www.terrabkk.com
TV Digital
อันดับ 4
ไม่ชอบ หาช่องยาก จ�ารายการไม่ได้ เพราะมีมากขึ้น
9.84%
107,177,486 คื อ จ� า นวน ยอดไลค์ แ ฟนเพจเฟซบุ ๊ ก ข อ ง นั ก ฟุ ต บ อ ล ชื่ อ ดั ง คริ ส เตี ย โน โรนั ล โด้ ซึ่ ง ท� า สถิติเป็นบุคคลที่มียอดไลค์ แฟนเพจในเฟซบุ๊กมากที่สุด ในโลก แซงแชมป์ เ ก่ า อย่ า ง นักร้องสาวชากีรา ทีม่ ยี อดไลค์ อยู่ที่ 107,068,389 ไลค์ ที่มา : www.socialbakers.com
302
กรุงเทพฯ ไทย
กวาดาลาฮารา บัวโนสไอเรส เม็กซิโก อาร์เจนตินา
สะพานเอะชิ ม า โอะฮาชิ คื อ สะพานที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า มี ความชันมากที่สุดในโลก โ ด ย จุ ด กึ่ ง ก ล า ง ข อ ง สะพานนัน้ สูงถึง 250 เมตร หรือเทียบเท่าความสูงของ ตึก 80 ชั้น มีความยาว ประมาณ 1.7 กิโลเมตร กว้าง 11.3 เมตร เชือ่ มต่อ ระหว่ า งจั ง หวั ด ชิ ม าเนะ และจั ง หวั ด ทตโตริ ใน ประเทศญี่ปุ่น ที่มา : www.amusingplanet.com
314
314 ไพน์ต่อปี คือจ�านวนเฉลี่ย ของผู้ดื่มเบียร์ในสาธารณรัฐ เช็ก ซึง่ ถือว่าเป็นประเทศทีน่ ยิ ม ดื่มเบียร์มากที่สุดในโลก รอง ลงมา ได้แก่ ประเทศออสเตรีย ที่คิดเป็น 277 ไพน์ต่อปี โดย จ�านวนดังกล่าวคิดจากจ�านวน ประชากรในเมื อ งหลวงของ แต่ละประเทศ ที่มา : www.vicnews.com
302 ฟุต คือขนาดของ Airlander 10 เรือเหาะทีม่ ขี นาดใหญ่ ที่ สุ ด ในโลก สร้ า งโดยบริ ษั ท Hybrid Air Vehicles ในประเทศอั ง กฤษ โดยเรื อ เหาะล� า นี้ ส ามารถบรรทุ ก น�้าหนักได้ถึง 10 ตันด้วยกัน ที่ ม า : www.mashable.com
“เห็นด้วย ปกติรา้ นสะดวกซื้ อ ก็ มี ข องขาย เกื อ บทุ ก อย่ า งอยู ่ แ ล้ ว ก็เอาให้ครบไปเลย จะได้ แก้ปญ ั หาสลากเถือ่ นด้วย” พรสวรรค์ เชือ้ ประเสริฐ 26 ปี, คอลัมนิสต์ “ไม่เห็นด้วย เพราะ เหมือนเป็นการมอมเมา ประชาชน” อภิวฒ ั น์ สุม่ มาตย์ 22 ปี, นักศึกษา “เห็ น ด้ ว ย คิ ด ว่ า สะดวกส�าหรับคนไม่คอ่ ย มีเวลา” ลัดดาวัลย์ ศรีวิลาศ 23 ปี, Game Content “ไม่ ค ่ อ ยเห็ น ด้ ว ย เพราะหาซื้อง่ายเกินไป และอาจจะลดรายได้ของ คนขายสลากกินแบ่งด้วย” สุวัฒนา อภิวัฒนา 24 ปี, นักเทคนิคการแพทย์ “ไม่เห็นด้วย เพราะ ถ้าไปซือ้ ของแล้วเจอหวย ภาพแรกทีค่ ดิ ก็คอื เรามา ซื้อของหรือมาซื้อหวย” ประเสริฐชัย ตรงวานิชนาม 29 ปี, เชฟ “ เ ห็ น ใ จ ค น ท� า อาชีพนี้ที่ล�าพังแค่ที่ขาย ก็ มี ป ั ญ หาเรื่ อ งราคา ไม่เท่ากันอยู่แล้ว” ภาวิตรา แก้วไทรหงวน 25 ปี, เภสัชกร
6
เมือ่ วันที่ 20 มีนาคมทีผ่ า่ นมา ผูค้ นในหลายเมืองทัว่ โลกได้ออกมาเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคากันอย่างคับคัง่ โดยเด็กนักเรียน กลุม่ นีก้ ไ็ ด้มาร่วมกิจกรรม ณ หอดูดาว The Royal Observatory ทางตะวันออกเฉียงใต้ของลอนดอน ซึง่ อุปกรณ์สา� คัญทีข่ าดไม่ได้ ก็คอื แว่นกรองแสงหน้าตาล�า้ ยุคเหล่านี้ - Reuters / Stefan Wermuth
Edmilson Lourenco ชายหนุ่มผู้มีอาการดาวน์ซินโดรมวัย 22 ปี ก�าลังแสดงฝีมือการอบขนมในฐานะผู้ช่วย ณ ศูนย์เรียนรู้ อุตสาหกรรมบริการแห่งชาติบราซิล ในเมืองเซาเปาลู โดยเขาถือว่าเป็นผู้มีอาการดาวน์ซินโดรมคนแรกที่ได้ท�างานในศูนย์นี้ และความฝันของ Edmilson ก็คือการเป็นเจ้าของร้านเบเกอรีให้ได้ในสักวัน - Reuters / Nacho Doce
ENTERTAINMENT PEOPLE
ไมลีย์ ไซรัส
เรียกร้องผู้ว่าการรัฐนิวยอร์ก
ช่วยสนับสนุนการช่วยเหลือ
เยาวชนผู้ ไร้บ้าน
เมือ่ ช่วงไม่กวี่ นั ทีผ่ า่ นมา ไมลีย์ ไซรัส พ็อพสตาร์วัย 22 ได้เขียนจดหมายถึง แอนดรู ว ์ โคโม ผู ้ ว ่ า การรั ฐ นิ ว ยอร์ ก เพือ่ ขอให้ทางรัฐพิจารณาเพิม่ งบประมาณ ในการช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่เป็น คนไร้บา้ น จ�านวน 4.75 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือราว 152 ล้านบาท เพื่อให้เพียงพอ ต่อจ�านวนเยาวชนไร้บ้านที่เพิ่มขึ้นเกือบ 10 เท่า ในเวลา 3 ปี ซึ่งไมลีย์ได้เสนอ แนวทางแก้ไขปัญหาที่เด็กๆ ต้องเผชิญ กับสถานการณ์อันตรายเพียงเพื่อจะหา ที่หลับนอนในตอนกลางคืน นั่นคือรัฐ ควรช่วยระดมทุนซื้อที่นอนให้แก่เด็กๆ เหล่านี้ โดยในปีทผี่ า่ นมาไมลียไ์ ด้กอ่ ตัง้ มูลนิธ ิ Happy Hippie เพื่อช่วยเหลือเด็กต่อสู้กับ ความอยุ ติ ธ รรมโดยเริ่ ม จากเยาวชน ผู้ไร้บ้านอีกด้วย
SOCIETY
#younglove โปรเจ็กต์ภาพคู่รักของช่างภาพจากนิวยอร์ก จากความสงสัยทีว่ า่ ท�าไมคนเราไม่จดจ�าภาพความไร้เดียงสา และความอ่อนหวานของความรักในช่วงแรกรักว่ามันเป็นภาพ ทีส่ วยงามแค่ไหน จูเลีย ซานธอส ช่างภาพจาก นิวยอร์กเดลีนวิ ส์ จึงเริม่ โปรเจ็กต์ #younglove ออกถ่ายภาพคูร่ กั ตามทีต่ า่ งๆ ภาพ คู่รักนอนเล่นกันที่สนามหญ้าในสวนสาธารณะ ภาพคู่รัก กอดกันที่รถไฟใต้ดิน หรือคู่รักจูบกันบนดาดฟ้า โดยไม่จา� กัด ประเภทคู่รัก ในลักษณะภาพถ่ายขาวด�าที่ถ่ายด้วยไอโฟน และโพสต์ภาพลงอินสตาแกรม แล้วติดแฮชแท็ก #younglove เมื่ อ ถู ก ถามถึ ง ปฏิ กิ ริ ย าของคู ่ รั ก ที่ ถู ก ถ่ า ยว่ า เป็ น อย่ า งไร เธอเล่าว่าทุกคู่ไม่แคร์ที่ถูกเธอถ่ายภาพ และต่างชื่นชอบภาพ ทีบ่ นั ทึกช่วงเวลาแรกของความสัมพันธ์ของพวกเขาไว้ เธอเล่าอีกว่า ความรักในโปรเจ็กต์นไี้ ม่ใช่เรือ่ งของ อายุคู่รัก แต่เป็นสปิริตของความรัก ความเยาว์ และความสดใส เป็นระยะเวลากว่า 1 ปี ที่เธอถ่ายสะสม ภาพเหล่านี้โดยใช้ช่วงเวลาระหว่างท�างาน ช่วงเวลาเดินทางจากบ้านไปท�างาน และวันหยุดสุดสัปดาห์ ติดตามภาพถ่ายเหล่านี้ได้ที่ IG: juliaxanthos
INNOVATION
ทางหลวงส�าหรับจักรยาน โครงการใหม่กลางกรุงลอนดอน
ไอเดียสุดเจ๋งของบริษัทขนม
บริจาคเงินสนับสนุน
เกิดเป็นน�า้ ใจที่ ไม่สนิ้ สุด บริษัทขนมเจ้าใหญ่ที่มีชื่อว่า Kind ได้ริเริ่ม โครงการปันน�า้ ใจทีเ่ รียกว่า Kind Movement โดยเชือ้ เชิญ ให้ผคู้ นมาท�าความดีเล็กๆ น้อยๆ ซึง่ ทางบริษทั ได้เริม่ เก็บบันทึกการท�าดีเหล่านัน้ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2011 จนกระทัง่ ครบ 1 ล้านครัง้ เมือ่ ไม่กวี่ นั มานี้ นอกจากนี้ บริษทั ยังมี กิจกรรมชือ่ Kind Causes ทีใ่ ห้ผคู้ นเขียนเล่าเรือ่ งราว ความดีเหล่านัน้ บนเว็บไซต์ ซึง่ คนทีไ่ ด้ผลโหวตมากทีส่ ดุ จะได้รบั รางวัลจากบริษทั โดยการท�าความดีมตี งั้ แต่ การน�าเสือ้ โค้ตไปให้ผไู้ ร้บา้ น ไปจนถึงรวบรวมถุงยังชีพ ให้ทหารที่ประจ�าการในต่างประเทศ ซึ่ง Daniel Lebetzky ผู้ก่อตั้งบริษัท เผยว่าในตอนแรกที่เริ่ม โครงการนี้ ทีมงานคาดหวังให้คนท�าความดีเล็กๆ น้อยๆ อาทิเช่น ช่วยถือของ แต่กลับกลายเป็นว่า ไอเดียของพวกเขาได้ขยายออกไปเรื่อยๆ จนเป็น น�า้ ใจทีไ่ ด้เปลีย่ นชีวติ คนจ�านวนไม่นอ้ ยไปตลอดกาล
ในขณะทีน่ วัตกรรมทางด้านยานยนต์ใหม่ๆ ได้รบั ความนิยม มากขึน้ เรือ่ ยๆ จักรยานก็ยงั คงเป็นยานพาหนะทีเ่ ราใช้กนั เป็น ประจ�าและเหมือนว่าจะเป็นพาหนะแห่งอนาคตด้วย ซึ่งกรุง ลอนดอนก็เป็นอีกเมืองหนึง่ ทีก่ า� ลังประสบปัญหาเกีย่ วกับโครงสร้าง ทางการขนส่ง จึงก�าลังวางแผนทีจ่ ะสร้างทางเดินจักรยานมูลค่า 1,400 ล้านดอลลาร์ฯ ทีเ่ รียกว่า East-West Cycle Superhighway ทางหลวงจักรยานความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร ซึง่ บอริส จอห์นสัน นายกเทศมนตรี ลอนดอน กล่าวว่า “นีไ่ ม่ใช่สา� หรับนักปั่นจักรยานเท่านัน้ แต่ทางจักรยานนีจ้ ะช่วยลดการสัญจรบนถนน ที่ติดขัด ช่วยลดมลพิษ และน่าจะช่วยให้ความเป็นอยู่และการใช้ชีวิตของคนเมืองดีขึ้น”
LIFESTYLE คุณพ่อสุดเจ๋ง พัฒนาแอพฯ ช่วยเหลือเด็กออทิสติก
โทเฟอร์ เวิรต์ ส์ คุณพ่อวัย 48 ปี จากรัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา ทราบเป็นอย่างดีวา่ เด็กออทิสติกนัน้ ต้องการการดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพราะเคอร์บี้ ลูกชายของเขา ก็มภี าวะดังกล่าวเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ คุณพ่อคนเก่งจึงเกิดไอเดียในการทีจ่ ะสร้างแอพพลิเคชันเพือ่ ช่วยเหลือ เด็กออทิสติก โดยแอพฯ ดังกล่าวมีชื่อว่า ‘Autism Village’ โดยเขาได้อธิบายเพิ่มเติมว่า Autism Village จะเป็นเหมือนชุมชนทีเ่ ปิดให้ผใู้ ช้ สามารถเพิ่มเติมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อเด็กออทิสติกลงไป ไม่ว่าจะเป็นร้านอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อเด็ก พิพิธภัณฑ์ที่น่าเข้าชม ไปจนถึงสนามเด็กเล่นหรือสถานที่ที่มีบรรยากาศเหมาะสมส�าหรับเด็กพิเศษเหล่านี้ ซึ่งในขณะนี้โทเฟอร์ได้เปิดระดมทุนในเว็บไซต์ Kickstarter เพื่อจะน�าเงินมาสร้างแอพฯ และปล่อยให้ทุกคนสามารถดาวน์โหลดไปใช้ได้ฟรีอีกด้วย
7
หลังจากต้องเจอกับภาวะความไม่สงบในประเทศมานาน ประเทศแถบแอฟริกาเหนือก็เข้าสูช่ ว่ งเวลาทีส่ ดใส บ้าง อย่างช่วง เทศกาล ‘Balloon Capital of Africa’ ทีจ่ ดั ขึน้ ณ เมือง Hammamet ประเทศตูนเิ ซีย ทีม่ ศี ลิ ปิน นักท�าบอลลูนน�าผลงานมาประชันความสวยงามกันบนท้องฟ้ามากมาย - Reuters / Zoubeir Souissi
ถึงแม้จะดูคล้าย แต่นไี่ ม่ใช่เจ้าบ๊อบ แมวข้างถนนกับเจ้าของนักดนตรี แต่เป็นเจ้า Pouce แมวส้มขนฟู ทีเ่ จ้าของจับแต่งองค์ทรงเครือ่ ง มาร่วมขบวนพาเหรดในงานวันเซนต์แพทริกประจ�าปีนี้ ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา - Reuters / Christinne Muschi
SPORT ‘ฟีม รัฐภาคย์’ สร้างประวัติศาสตร์ บิดคว้าแชมป์เวิลด์ ซูเปอร์สปอร์ต
‘ฟีม’ - รัฐภาคย์ วิไลโรจน์ ยอดนักบิดชาวไทยได้โชว์ฟอร์มร้อนแรง คว้าแชมป์การแข่งขันรถจักรยานยนต์ทางเรียบชิงแชมป์โลก เวิลด์ ซูเปอร์ไบค์ สนามที่ 2 ไปครองได้อย่างสวยงาม โดยฟีมออกสตาร์ทในอันดับ 7 ซึ่งทันทีที่การแข่งเริ่มต้น อดีตแชมป์โลก 3 สมัย ชาวตุรกี คีนนั โซฟูโอกรู ได้เร่งเครือ่ งแซงขึน้ น�า โดยฟีมเกาะอยูใ่ นกลุม่ ทีส่ อง ก่อนทีเ่ ขาจะค่อยๆ เร่งความเร็วไต่อนั ดับขึน้ มา จนสถานการณ์ เริ่มพลิกผันเมื่อเข้าสู่รอบที่ 14 ฟีมได้แซงขึ้นมาอยู่อันดับ 2 ตามหลัง จูลส์ ครูเซลล์ นักขับชาวฝรั่งเศส ที่พลิกขึ้นน�าก่อนหน้านี้ และเมื่อเข้า 3 รอบสุดท้าย รถของนักขับจากฝรั่งเศสเกิดขัดข้อง เป็นโอกาสให้ฟีมเร่งเครื่องเข้าเส้นชัยเป็นคนแรกได้สา� เร็จ
ฉลองวันดาวน์ซินโดรมโลก 2015 หลายคนอาจไม่รวู้ า่ วันที่ 21 มีนาคมทีผ่ า่ นมา ถือเป็นวันดาวน์ซนิ โดรม โลก (World Down’s Syndrome Day) ซึ่งจัด ขึ้นเป็นประจ�าทุกปีต่อเนื่องกันมาถึง 10 ปีเต็มในปีนี้ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้คนทั่วไปเข้าใจถึงโรคนี้ มากยิ่ ง ขึ้ น และท� า ให้ ผู ้ ป ่ ว ยสามารถอยู ่ ร ่ ว มกั บ คน ในสังคมได้อย่างเท่าเทียมกัน เป็นที่มาของกิจกรรม ที่จัดขึ้นพร้อมกันทั่วโลกที่เราหยิบมาฝาก • เริม่ ด้วยแคมเปญรณรงค์ทโี่ ด่งดังไปทัว่ โลกอย่าง ‘Lots of Socks’ ทีร่ ณรงค์ให้ทกุ คนสวมใส่ถงุ เท้าสีสนั สดใสออกจาก บ้าน เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเฉลิมฉลองวันดาวน์ซินโดรมโลก พร้อมบริจาคเงินสมทบทุนช่วยเหลือผูป้ ว่ ย ดาวน์ซนิ โดรมทีข่ าดโอกาสในสังคม จนเกิดกระแสการแชร์ ภาพการสวมถุงเท้าหลากสีในโลกออนไลน์ ซึ่งสามารถ
ANIMAL
แมวน้อยกลับบ้านอีกครั้ง
หลังหายไปกว่า 2 ปี เควิน แมวตัวน้อยสีส้ม ออกจากบ้านในปาล์มสปริงส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ตอนเช้าวันพุธ วันหนึง่ ในปี ค.ศ. 2013 จากนัน้ ก็ไม่มีใครพบเห็นมันอีกเลย จนกระทั่ ง 2 ปี ใ ห้ ห ลั ง คนขับรถเทรลเลอร์ข้ามประเทศพบเจ้าเควินในรถ ของเธอ เธอได้ยินเสียงร้องเหมียวๆ โดยที่เธอไม่รู้ เลยว่าเจ้าเควินหลบเข้ามาอยู่ในรถตั้งแต่เมื่อไหร่ เธอจึงน�าเจ้าแมวน้อยไปส่งยังสถานสงเคราะห์ สัตว์เลี้ยงเพื่อตรวจหาเจ้าของจากไมโครชิปที่ฝังไว้ ในตั ว และท� า ให้ รู ้ ว ่ า เควิ น ได้ จ ากบ้ า นมากว่ า 3,000 กิโลเมตร ซึ่ง เชอรีล วอลส์ เจ้าของที่แท้จริง ของมั น บอกว่ า “ฉั น มั่ น ใจว่ า ในช่ ว ง 2 ปี นั้ น ต้ อ งมี ค นดู แ ลเควิ น อย่ า งแน่ น อน” แถมยั ง พู ด ติดตลกปิดท้ายว่า “เควินได้ไปเที่ยวมาหลายที่ ได้เห็นโลกกว้างมากกว่าฉันเสียอีก”
ติดตามภาพทั้งหมดได้ในแฮชแท็ก #lotsofsocks และ #WDSD15 • ส่วนหนุม่ ช่างภาพผูป้ ว่ ยดาวน์ซนิ โดรมอย่าง โอลิเวอร์ เฮลโลเวล วัย 18 ปี ชาวอังกฤษ ก็เฉลิมฉลองวันดังกล่าว ด้วยการเปิดตัวหนังสือรวมผลงานภาพถ่ายของเขา ซึ่ง นอกจากจะท�าให้คนทั่วไปได้รู้ว่าผู้ป่วยดาวน์ซินโดรม ก็สามารถใช้ชวี ติ ได้ไม่ตา่ งจากคนปกติแล้ว ยังช่วยสร้าง แรงบันดาลใจให้ผปู้ ว่ ยดาวน์ซนิ โดรมคนอืน่ ๆ ได้อกี ด้วย แวะไปชมผลงานของเขาได้ที่ www.oliverhellowell.com • ปิดท้ายทีแ่ คมเปญรณรงค์เพือ่ หางานให้กบั เบน สมอลล์ ผู้ป่วยดาวน์ซินโดรมวัย 26 ปีในอังกฤษ ที่ไม่มีใครสนใจ จะจ้างงานเขา จนกระทัง่ ผูค้ นในโลกออนไลน์ได้เผยแพร่ เรือ่ งราวของเขาพร้อมแฮชแท็ก #GiveBenAJob จนในทีส่ ดุ เขาก็ได้ทา� งานเป็นผู้ช่วยในครัวของร้านอาหารแห่งหนึ่ง ถือเป็นอีกหนึ่งความส�าเร็จในการรณรงค์ให้กับผู้ป่วย ดาวน์ซินโดรมทั่วโลกอย่างแท้จริง
“กลไกอ� า นาจอย่ า ง ต�ารวจ ถือเป็นอ�านาจรัฐ ทีใ่ กล้ชดิ กับวิถชี วี ติ ประจ�า ของประชาชนมากที่ สุ ด ถ้ า ต� า รวจหรื อ กลไก อ� า นาจนี้ ไ ม่ ถู ก ปฏิ รู ป ก็อาจกระทบต่อภาพรวม ของการปฏิ รู ป ในเรื่ อ ง อื่ น ๆ และจะไม่ มี ห ลั ก ประกันใดๆ ทีค่ าดหวังและ เชื่อมั่นได้” สุริยะใส กตะศิลา ผู้อ�านวยการสถาบันปฏิรูป ประเทศไทย (สปท.) 22 มีนาคม 2558 หนังสือพิมพ์ โพสต์ทูเดย์
GREEN PLEASE
หลอดไฟ LED ช่วยปฏิวัติฟาร์มคนเมืองได้
ปัจจุบนั ความนิยมในการท�าฟาร์มคนเมืองเพิม่ ขึน้ อย่าง รวดเร็ว สอดรับกับปัญหาโลกร้อน ทีท่ �าให้มนุษย์ตอ้ งคิดค้น ช่องทางในการเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น ซึ่งผลส�ารวจพบว่า ภายในปี ค.ศ. 2050 จะมีประชากรโลกเพิม่ ขึน้ ถึง 2,500 ล้านคน และกว่า 80% อาศัยอยู่ภายในเมือง ซึ่งแน่นอนว่าต้องเกิด ปัญหาเรื่องการขาดแคลนอาหารขึ้นแน่ๆ บริษัทเทคโนโลยี รายใหญ่ของโลกอย่าง Philips จึงได้จับมือกับบริษัท Green Sense Farms ในการน�าเทคโนโลยีหลอดไฟแอลอีดีมาใช้ในการทดลองท�าการเกษตรภายในอาคาร แทนที่การให้พืชสังเคราะห์แสงจากการปลูกในเรือนกระจกแบบเดิม ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวจะสามารถ ลดการใช้ทรัพยากรลงอย่างมาก เพราะใช้น�้าและพลังงานเพียงเล็กน้อยจากหลอดไฟแอลอีดีเท่านั้น ก็สามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้เป็นจ�านวนมาก
ผลส�ารวจเผย ประเทศสเปนมี 4G ไวที่สุดในโลก
Did You Know?
30 มีนาคม 2289 - วันเกิดของ ฟรานซิสโก โคเซ เด โกยา จิตรกรชาวสเปนผู้ยิ่งใหญ่ ภาพของเขาส่ ว นใหญ่ จ ะสื่ อ ถึ ง อารมณ์ ที่เจ็บปวด หวาดกลัว และหมดหวัง ซึ่งเป็น ความสามารถพิเศษของศิลปินผู้นที้ สี่ ามารถ สื่อความรู้สึกของผู้คนออกมาได้เป็นอย่างดี 31 มีนาคม 2476 - วันก่อตัง้ ราชบัณฑิตยสถาน หน่ ว ยงานราชการของไทยที่ ขึ้ น ตรงต่ อ การบั ง คั บ บั ญ ชาของนายกรั ฐ มนตรี ซึ่งมีหน้าทีจ่ ดั ท�าพจนานุกรม และการบัญญัติ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย 1 เมษายน 2448 - รั ฐ บาลเยอรมนี ได้ ก� า หนดสั ญ ญาณขอความช่ ว ยเหลื อ SOS ขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรก โดยใช้ ร หั ส มอร์ ส แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษ 3 ตัว เนื่องจาก เป็นตัวอักษรที่พิมพ์เป็นรหัสมอร์สได้ง่าย ที่สุด 2 เมษายน 2518 - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุด าฯ สยามบรมราชกุม ารี ทรงเป็ น องค์ประธานเปิดมูลนิธิสายใจไทย ที่ก่อตั้ง ขึ้ น ตามพระราชด� า ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจาก การปฏิบัติหน้าที่ป้องกันประเทศชาติ 3 เมษายน 2435 - ไอศกรี ม ซั น เด หรือไอศกรีมที่ราดด้วยไซรัปและมีทอปปิ้ง วางอยู ่ ข ้ า งบนได้ ถื อ ก� า เนิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรก ที่เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยสาเหตุ ที่ไ ด้ ชื่อ ว่ า ไอศกรีม ซัน เดมาจากวัน ก�า เนิด ของไอศกรีมชนิดนี้เป็นวันอาทิตย์ 4 เมษายน 2124 - สมเด็ จ พระราชิ นี เอลิซาเบธที่ 1 ได้ทรงมอบต�าแหน่งเซอร์ ให้กับ เซอร์ ฟรานซิส เดรก นักเดินเรือ ชาวอั ง กฤษคนแรกที่ ส ามารถเดิ น ทาง รอบโลกได้ส�าเร็จ 5 เมษายน 2450 - วันเกิด ศาสตราจารย์ สั ญ ญา ธรรมศั ก ดิ์ ผู ้ เ คยด� า รงต� า แหน่ ง ประธานศาลฎีกา คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ อีกทั้งยังเคยด�ารงต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี ถึง 2 สมัย
OpenSignal บริษัทผู้ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรายใหญ่ของโลก เผยแพร่ผลส�ารวจ ‘สถานะแอลทีอีทั่วโลก’ หรือ 4G The State of LTE report โดยท�าการส�ารวจความเร็วและความครอบคลุมของสัญญาณ 4G ในประเทศต่างๆ พบว่าประเทศที่มี สัญญาณ 4G ไวที่สุดคือ สเปน รองลงมาคือ ฟินแลนด์ เดนมาร์ก และเกาหลีใต้ ส่วนประเทศที่มีสัญญาณ 4G ครอบคลุมที่สุด คือเกาหลีใต้ ที่มีผู้เข้าถึง 4G ถึง 95% รองลงมาคือ ญี่ปุ่น คูเวต และฮ่องกง
ยังเต็มไปด้วยบทบาทหลากหลายจนไม่นา่ เชือ่ ว่าหญิงสาวอายุเพียง 23 ปีอย่างเธอจะได้ทดลองท�า ซึง่ สิง่ เหล่านีล้ ว้ นเกิดมาจากตัวตนที่ไม่เคยหยุดเปิดรับสิง่ ใหม่ๆ ของเธอ และสุดท้ายกับ 3 พิธกี รสุดฮาแถมบ้าพลังประจ�ารายการ เทยเทีย่ วไทย อย่าง ‘ป๋อมแป๋ม’ - นิติ ชัยชิตาทร, ‘ก๊อตจิ’ - ทัชชกร บุญลัภยานันท์ และ ‘กอล์ฟ’ - กิตพ ิ ทั ธ์ ชลารักษ์ ทีล่ ลี าการเป็นพิธกี ร บนหน้าจอโทรทัศน์ของพวกเขาคงเป็นเครื่องพิสูจน์ชั้นดีแล้วว่าพวกเขาใช้ชีวิตกันได้เต็มที่เพียงใด ซึง่ ขอบอกว่าตัวตนหลังจอของพวกเขาก็ ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่ากัน หลังการสนทนากับพวกเขาจบลง สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราสัมผัสได้ทนั ทีกค็ อื ไม่วา่ จะเป็นอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ทัง้ ในหน้าทีก่ ารงาน หรือเรือ่ งส่วนตัว ล้วนไม่ใช่สงิ่ ทีพ ่ วกเขาจะน�ามาเป็นข้ออ้างให้ตวั เองท้อแท้ กับชีวติ แต่พวกเขากลับเก็บเกีย่ วมาเป็นประสบการณ์ทนี่ า่ ประทับใจให้แก่ตวั เองได้ทงั้ สิน้ อาจจะมีบา้ ง ที่ต้องผ่อนจังหวะการใช้ชีวิตให้ช้าลง และรอบคอบมากขึ้น แต่สุดท้ายแล้วพวกเขาก็เข้าใจดีว่า ไม่มคี า� ใดจะนิยามความเป็นมนุษย์ ได้เท่ากับค�าว่า ‘เพราะชีวติ ยังต้องไปต่อ’
สัม
สิตา กิจป ภาษณ์ : ว
รีชา, ปริญ
กร ภาพ : ภาส ย า ่ ถ ์ ย ม ั ร ญา ก้อน
สไตลิสต์ : Hotcake ขอบคุณเสือ้ ผ้าจาก NETHIYAPHA Levi’s CPS CHAPS
คงไม่ใช่เรือ่ งเกินเลยนักหากจะกล่าวว่า ชีวติ ของมนุษย์นนั้ ต้องก้าวเดินไปข้างหน้าอยูต่ ลอดเวลา เหมือนเข็มนาฬิกา ชีวิตบางคนอาจเดินเนิบช้าเหมือนเข็มชั่วโมง บ้างก็อาจจะเคลื่อนที่เร็วเหมือน เข็มนาทีหรือเข็มวินาที ความเร่งรีบในการใช้ชวี ติ ของผูค้ นล้วนขึน้ อยูก่ บั เหตุและปัจจัยต่างๆ ในชีวติ ทัง้ เรือ่ งของอุปสรรค หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ รวมทัง้ ความพึงพอใจต่างๆ แต่ถงึ แม้จงั หวะการใช้ชวี ติ ของแต่ละคนจะเดินช้าเร็วแตกต่างกัน สิง่ หนึง่ ทีท่ กุ คนต่างต้องท�าคือการมองไปข้างหน้าและก้าวต่อไป วันนีเ้ รามีโอกาสได้พดู คุยกับบุคคลในวงการบันเทิง 5 คน ทีพ ่ วกเขาต่างก็มจี งั หวะการใช้ชวี ติ ที่ไม่หยุดนิง่ ทัง้ ‘ตูน’ - อาทิวราห์ คงมาลัย นักร้องน�าวงบอดีส้ แลม ทีใ่ นช่วงปีทผี่ า่ นมาเขาและเพือ่ นๆ ต่างต้องพบกับบททดสอบที่ยากล�าบากและเข้มข้นที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต แต่นั่นก็ ไม่ได้ท�าให้ ไฟ ในการเล่นดนตรีของ ‘ตูน’ ลดน้อยลง แต่เขายังคงลงมือท�าสิง่ ต่างๆ มากมายในชีวติ ของตนเองต่อไป หรือชีวติ ของ ‘แพร์’ - พิมพิศา จิราธิวฒ ั น์ ทีห่ ลายคนอาจจะรูจ้ กั เธอในฐานะทายาทคนส�าคัญ ทีต่ อ้ งดูแลธุรกิจในเครือเซ็นทรัล แต่นนั่ ไม่ใช่สงิ่ เดียวทีท่ า� ให้ตวั ตนของเธอน่าสนใจ เพราะในชีวติ ของเธอ
ธวัชธาตรี
เราเชื่อว่าแฟนๆ คงอยากรู้ว่าช่วงนี้คุณท�าอะไรอยู่ บ้าง หลักๆ ก็จะทัวร์คอนเสิรต์ กับวง ถ้ามีเวลาว่าง ก็จะวิ่งออกก�าลังกาย ทัวร์คอนเสิร์ตก็คงเหมือน ทั่วๆ ไปที่เป็นโปรแกรมตระเวนเล่น 2-3 เดือน แล้วก็หยุดพักทีหนึ่ง เพราะบอดี้สแลมเป็นวง ประเภทที่ไม่ได้ทัวร์เป็นปีๆ แต่พวกเราจะหยุด เพื่อคิดโปรเจ็กต์ใหม่อยู่ตลอดเวลา ช่วงที่ผม มีเวลาพักนานๆ มักจะเป็นช่วงปิดอัลบัม้ ทีอ่ อกทัวร์ กันเหนือ่ ยๆ แล้วหายกันไปเลย 2-3 เดือน จากนั้น ค่อยกลับมารวมกันท�าอัลบั้มใหม่ หลายคนคุ ้ น ภาพคุ ณ เวลาเล่ น ดนตรี อ ยู ่ บ นเวที แล้วด้านชีวติ ส่วนตัวเมือ่ ลงจากเวทีคณ ุ ท�าอะไรบ้าง จริงๆ แล้วนอกจากร้องเพลง สิง่ ทีผ่ มชอบมาก ก็คือการเล่นกีฬา ผมเล่นเยอะมากตั้งแต่เด็ก ทั้งตีปิงปอง เตะฟุตบอล เป็นกีฬาที่เล่นประจ�า ล่ า สุ ด ก็ ไ ด้ ไ ปลองวิ่ ง ระยะไกล ปั ่ น จั ก รยาน เล่นไตรกีฬาประเภททีม ตอนนีก้ ย็ งั ไม่เก่งพอทีจ่ ะ เล่นเดี่ยวได้ แต่พอได้ลองลงแข่งเป็นทีม ผมรู้สึก ว่ามันเป็นแรงบันดาลใจมากๆ เวลาเห็นคนทีล่ งเล่น คนเดียวทัง้ ว่ายน�า้ ปัน่ จักรยาน วิง่ จนจบ ผมรูส้ กึ ว่า เขาต้องมีความสุขแน่เลยทีเ่ ขาท�าส�าเร็จ ตรงนีก้ เ็ ป็น เป้าหมายทีผ่ มอยากท�าให้ได้ ก็เลยเริม่ ปัน่ จักรยาน เริ่มซ้อมว่ายน�้ามากขึ้น เพราะอะไรคุ ณ ถึ ง หั น มาออกก� า ลั ง กายจริ ง จั ง มากขึ้นแบบนี้ จริงๆ ผมเป็นคนออกก�าลังกายแบบจริงจังอยู่ แล้ว ผมเป็นนักกีฬาปิงปองกับฟุตบอลมาตั้งแต่ เด็กๆ แต่ตอนนี้ต้องบอกว่าผมมีความสนใจใน กีฬาหลากประเภทขึ้นมากกว่า ยกตัวอย่างง่ายๆ คือการวิง่ ระยะไกล เมือ่ 3 ปีทแี่ ล้ว ผมเริม่ วิง่ แรกๆ ระหว่างทางผมรูส้ กึ ทรมานมาก แต่พอเข้าเส้นชัย แล้วผมรู้สึกมีความสุข จากระหว่างทางที่เหนื่อย บอกกับตัวเองว่ามาท�าไม ปวดขาก็ปวด ต้องเดิน สลับวิ่งบ้าง แต่พอเข้าเส้นชัยมันเหมือนกับมี สารแห่งความสุขหลัง่ ออกมา ถึงแม้วา่ จะเดินบ้าง วิ่งบ้าง เวลาก็ไม่ดีเท่าไหร่ แต่พอเข้าเส้นชัย สนามแรกได้ ก็เริม่ ทีจ่ ะมองหาสนามต่อไป มองไป ถึงระยะทางทีม่ ากขึน้ เหมือนคนเสพติดความสุข วิ ธีคิ ด แบบนี้ ใ ช้ กั บ การท� า งานและการใช้ ชี วิ ต ได้ด้วยไหม ผมว่าไม่มากก็นอ้ ย ส�าหรับผมการวิง่ ไม่ได้เป็น กีฬาทีแ่ ข่งกับคนอืน่ ผมไม่ได้ตงั้ เป้าว่าจะชนะใคร สิ่งที่อยากชนะก็คือการเอาชนะตัวเอง เอาชนะ ความขี้เกียจของตัวเองที่จะต้องลุกขึ้นมาตี 4 ตี 5 เพื่อออกไปวิ่งตอน 6 โมงเช้า ก็เหมือนเวลาที่จะ ลุกขึน้ ไปท�าอะไรสักอย่างทีร่ สู้ กึ ว่ายากหรือเป็นไป ไม่ได้ วิธีคิดตอนเล่นกีฬาก็มีความสอดคล้องกับ การใช้ชวี ติ แบบนัน้ อาจจะมีบา้ งกับบางคนทีเ่ ป็น นักกีฬาจริงๆ ที่เขาแข่งกับคนอื่น แต่ผมว่า 90% ของคนที่ ล งสนามไปวิ่ ง ระยะไกล คื อ การไป ออกก�าลังกายและแข่งกับตัวเอง เอาชนะตัวเอง เอาชนะเวลาเก่าๆ ของตัวเองให้ได้ ส�าหรับการเล่นดนตรี คุณมีวิธีเติมไฟให้ตัวเอง อย่างไรบ้าง บางทีถา้ หมดแรงก็ตอ้ งหนีเทีย่ วบ้าง หยุดไปเลย ออกไปข้างนอก ผมชอบเดินทาง ชอบฟังเพลง ชอบจดบันทึก บางทีแรงบันดาลใจก็เกิดจาก การเดิ น ทาง สิ่ ง ที่ ผ มชอบที่ สุ ด คื อ บรรยากาศ
ตอนอยูท่ สี่ นามบิน เวลาอยูใ่ นสนามบินผมจะได้คดิ ได้ขดี เขียน ผมชอบช่วงเวลาของการออกเดินทาง มันเหมือนได้อยู่กับตัวเองเยอะขึ้น เห็นว่าตัวคุณเองเลี้ยงสุนัขอยู่ด้วย แถมยังได้ไป เป็นพรีเซ็นเตอร์คู่กันอีก คุณแบ่งเวลาให้กับมัน อย่างไรบ้าง ผมต้องออกทัวร์คอนเสิร์ตบ่อย ท�าให้ไม่ค่อย มี เ วลาอยู ่ บ ้ า น ก็ เ ลยไม่ ค ่ อ ยมี เ วลาเล่ น กั บ ‘เจ้าสมคิด’ สักเท่าไหร่ ซึ่งทุกครั้งเวลาที่ผมกลับ มาถึงบ้าน สมคิดก็จะวิ่งมาหาผมทันที พอนั่ง บนโซฟามันก็จะเอาหัวมาถูไถ หรืออีกตัวที่เป็น พั น ธุ ์ โ กลเดนรี ท รี ฟ เวอร์ ก็ เ หมื อ นกั น ชอบมา คลอเคลี ย ผมอยู ่ เ สมอ ซึ่ ง ถ้ า ช่ ว งไหนที่ ผ มได้ กลับบ้าน ผมก็ชอบพาพวกมันออกไปเดินเล่น พาไปว่ายน�า้ เพราะถึงชีวติ นอกบ้านของผมจะยุง่ แค่ไหน แต่พอได้กลับบ้าน มาใช้เวลาอยู่กับ พวกมัน แค่นี้ผมก็มีความสุขแล้ว ช่วงปีทแี่ ล้วคุณเจออะไรมาเยอะมาก คุณใช้อะไรเป็น พลังผลักดันให้ตัวเองเดินต่อไปข้างหน้าได้แบบนี้ ปีทแี่ ล้วเป็นปีทสี่ นุกอีกปีหนึง่ สนุกนึก สนุกคิด สนุกท�างาน สนุกแก้ปัญหา มีหลายอย่างเกิดขึ้น เยอะมาก แต่สดุ ท้ายผมเลือกทีจ่ ะมองมุมดีๆ ของ มันมากกว่า ผมมองว่ามันเป็นบทเรียนทีช่ ว่ ยชะลอ ความเร็วในชีวิตพวกเราลงได้บ้าง ท�าให้ผมมอง ข้างทางมากขึ้น เห็นอะไรมากขึ้น ไม่ต้องเร่งไป ข้างหน้าเพือ่ ไปให้ถงึ จุดหมาย แน่นอน ในจังหวะแรก ที่เกิดปัญหามันยากที่จะคิดแบบนั้น มันต้องใช้ เวลา แต่พอเวลาผ่านมา 4-5 เดือน ผมก็รู้สึกว่า ดีเหมือนกันที่มีคนมาทัก มาเตือน มาทดสอบ อีกอย่างผมโชคดีที่มีเพื่อนๆ พี่ๆ ในวงที่พร้อมจะ ไปด้วยกัน รวมถึงมีพๆี่ ทีมงาน พีๆ่ บิก๊ แอส พีก่ บ พี่อ๊อฟ ผู้จัดการค่าย ที่คอยให้ก�าลังใจพวกเรา ผมไม่ได้อยู่คนเดียว ผมคิดว่าการมีเพื่อนที่ดี มีพี่ที่ดี มีเจ้านายที่ดี เป็นสิ่งส�าคัญ ชอบอะไรในช่วงเวลานี้ของชีวิตตัวเองบ้าง ก็บอกไม่ถกู นะว่าชอบอะไร แต่ถา้ มีคนมาถาม ว่าอยากกลับไปแก้ไขอะไรให้มันดีขึ้นกว่านี้ไหม ผมคิดว่าไม่อยากกลับไปแก้อะไรเลยนะ ผมรู้สึก ชอบสิ่ ง ที่ มั น เป็ น อยู ่ ต อนนี้ โอเค มั น อาจจะ ไม่สมบูรณ์แบบ อาจจะมีความล้มเหลวทีพ่ วกเรา ไม่ได้เรียกว่าความล้มเหลวด้วยซ�้า แต่ความไม่สมบูรณ์ในอะไรบางอย่าง ผมว่าทัง้ หมดมันโอเค แล้ว ผมคิดว่าสิ่งที่เป็นตอนนี้ ที่ได้รับรู้ตอนนี้ มันจะต่อยอดให้ตัวผมไปอีก 5-10 ปีข้างหน้า ผมมีบทเรียนอยู่ตลอดเวลา ได้เรียนรู้ตลอดเวลา เหมือนผมเดินออกมาจากรัว้ มหาวิทยาลัยทีไ่ ม่ตอ้ ง มีตารางเรียน ไม่ต้องส่งการบ้าน ไม่ต้องสอบ ปลายภาค มันไม่มอี ะไรมาก�าหนดอีกแล้ว แต่สงิ่ ต่างๆ ที่พ บเจอระหว่ า งทาง มัน เป็ น เหมือ นข้ อ สอบ ที่บังคับให้ตัวผมได้จดจ่อ ได้กลับมามองตัวเอง มากขึ้น ผมก็ชอบทุกอย่างที่เป็นตัวเองตอนนี้ คุณคิดอย่างไรกับค�าว่า ‘เพราะชีวิตยังต้องไปต่อ’ ผมว่าจริงนะ เพราะในชีวติ จริงเราก็ตอ้ งไปต่อ อาจจะมีหยุดพักบ้าง มีนงั่ ลงพักเหนือ่ ย แต่สดุ ท้าย พรุ ่ ง นี้ คุ ณ ก็ ต ้ อ งท� า สิ่ ง ที่ ตั ว เองยั ง ท� า ไม่ เ สร็ จ ในวันนี้ให้เสร็จ จังหวะชีวิตในวันนี้มันอาจไม่ได้ สวยหรู บางทีต้องหยุดเพื่อจะคิด หยุดเพื่อที่จะ ให้ไปต่อได้ ชีวิตที่ผ่านมาของผมก็เป็นอย่างนั้น เหมือนกัน
รู ้ ม าว่ า ช่ ว งนี้ คุ ณ ก� า ลั ง ท� า วิ ท ยานิ พ นธ์ อ ยู ่ แล้ ว นอกเหนื อ จากการเรี ย นที่ คุ ณ ก� า ลั ง ทุ ่ ม เท มีอะไรที่คุณก�าลังท�าอยู่อีกบ้าง ตอนนี้แพร์เป็นดีเจช่วงวันเสาร์-อาทิตย์อยู่ที่ 98.5 Click FM ค่ะ เป็นช่วงรายงานชาร์ตเพลง แล้วก็อัพเดตว่าในอาทิตย์ที่ผ่านมามีเหตุการณ์ อะไรที่น่าสนใจบ้าง แล้วก็มีถ่ายละครทางช่อง 7 เรือ่ ง รักเร่ จริงๆ แค่เรียนอย่างเดียวเวลาก็แทบหมด แล้ว แต่ก็พยายามหากิจกรรมท�า เพราะแต่ก่อน แพร์ป่วยง่าย ก็เลยหันมาออกก�าลังกาย ช่วงที่คุณเริ่มหันมาดูแลสุขภาพด้วยการเล่นกีฬา ตอนนั้นเป็นอย่างไร ช่วงแรกที่เข้าฟิตเนสแพร์ก็ยังออกก�าลังกาย แบบเหยาะๆ แหยะๆ แล้วมาเริ่มออกก�าลังกาย จริงจังก็ตอนหันมาเล่นพิลาทิสเมื่อปีที่ผ่านมา วิ่งควบคู่กันไปด้วย ความเปลีย่ นแปลงที่พบคือ ทุกวันนีน้ า�้ หนักลดลง แต่แพร์ไม่ได้กนิ อาหารคลีน ยัง ชอบออกไปหาร้ า นอาหารอร่ อ ยๆ ทานอยู ่ ตลอด คิดว่าถ้าจริงๆ กินอาหารคลีนไปด้วย ป่านนี้คงหุ่นดีกว่านี้แล้วมั้ง (หัวเราะ) ตอนนี้ยัง enjoy eating อยู่ ก็ออกก�าลังกายควบคู่ไปด้วย ไม่อย่างนั้นอ้วนแน่ แล้วปกติชีวิตประจ�าวันคุณท�าอะไรบ้าง มีการแบ่ง เวลาให้ตัวเองอย่างไร จริงๆ แพร์เป็นคนใช้ชีวิตหลากหลายมาก คือจะไม่มีวันไหนที่อยู่ว่างๆ เลย ตื่นเช้ามาก็ไป ออกก�าลังกายตั้งแต่ 7 โมง แต่ถ้าวันไหนที่มี เวลาว่ า งก็ จ ะเริ่ ม คิ ด แล้ ว ว่ า อยากจะกิ น อะไร บางทีก็ไปกับเพื่อนบ้าง แต่จริงๆ แพร์เป็นคนที่ ชอบท�าอะไรด้วยตัวเอง เช่น สมมติว่าวันนี้อยาก ท� า อาหาร ก็ จ ะออกไปตระเวนซื้ อ ของแล้ ว กลับมาท�า หรืออย่างบางทีออกไปดูหนังแล้วเพือ่ น ไม่ไปด้วย แพร์ก็จะไปดูเองคนเดียว บางทีก็ชอบ ออกไปหาที่ อ ่ า นหนั ง สื อ คนเดี ย ว เพราะเป็ น คนติ ด อ่ า นหนั ง สื อ มาก หรื อ ถ้ า มี พ วกงาน ffl l fl e a market ก็จ ะไปเดิน ดู ร ้ า นขายของจุก จิก ร้านขายของวินเทจ ทั้ ง เรี ย นไปด้ ว ยท� า งานในวงการไปด้ ว ยแบบนี้ เหนื่อยบ้างไหม เหนือ่ ยนะ แต่กด็ กี ว่าอยูเ่ ฉยๆ เพราะจริงๆ แล้ว แพร์เป็นคนทีแ่ บ่งเวลาในชีวติ ของตัวเองไว้ชดั เจน มาก เป็ น คนที่ ช อบวางแผนล่ ว งหน้ า สมมติ อาทิตย์นรี้ บั งานแล้ว ถ้ามีงานเข้ามาอีกก็จะไม่รบั เพราะตัวเองจะได้มีเวลาไปท�าอย่างอื่นด้วย การวางแผนให้กับชีวิตตัวเองแบบนี้มีประโยชน์ อย่างไร มันท�าให้ทุกอย่างในชีวิตได้จัดล�าดับความส�าคัญก่อน-หลังอย่างที่ควรจะเป็น แล้วก็ท�าให้ ทุกอย่างออกมามีผลลัพธ์ที่น่าพอใจ เพราะถ้า ไม่วางแผนให้ดี เวลาที่ท�าอะไรหลายๆ อย่าง พร้อมกันเราก็จะเหนื่อย อันนี้ยังท�าไม่เสร็จก็มี อีกอันมาแล้ว สิง่ พวกนีแ้ พร์คอ่ ยๆ เรียนรูม้ าเรือ่ ยๆ ถ้าเรียนจบแล้วอยากจะท�าอะไรต่อ ที่วางแผนไว้คือไปเรียนต่อด้านธุรกิจ เพราะ รู้ว่าสุดท้ายอย่างไรก็ต้องกลับมาท�าธุรกิจที่บ้าน แพร์ อ ยากเรี ย นมาร์ เ ก็ ต ติ้ ง เพราะรู ้ สึ ก ว่ า
ทุกอย่างบนโลกนี้เป็นมาร์เก็ตติ้ง ไม่ว่าจะท�างาน อะไรก็ตาม สุดท้ายทุกอย่างก็วนมาทีโ่ ลกของธุรกิจ อยู่ดี แล้วแพร์เรียนสถาปัตยกรรมสาขาเกี่ยวกับ การจั ด การเรื่ อ งความคิ ด ของคน หรื อ การน�า ความต้องการของคนมาแปลงให้เป็นสถาปัตยกรรม แพร์ รู ้ สึ ก ว่ า มั น สามารถน� า ไปใช้ ไ ด้ อี ก เยอะ ซึ่งปีหน้าก็คงต้องยุ่งๆ เลยกะไว้ว่าหลังเรียนจบ ก็ จ ะไปเที่ ย วก่ อ น เพราะงานออฟฟิ ศ จบมา เดี๋ยวก็ได้ทา� อยู่ดี (หัวเราะ) วางแผนจะไปเที่ยวที่ไหนบ้าง จองตั๋วจะไปอังกฤษแล้วแน่ๆ แล้วก็วางแผน กับเพือ่ นๆ อยูเ่ หมือนกัน แต่องั กฤษนีเ่ ป็นประเทศ ทีไ่ ปทุกปีอยูแ่ ล้ว คือไปแล้วชิน เพราะทีก่ นิ ทีเ่ ทีย่ ว ก็รู้อยู่แล้ว เพื่อนก็อยู่ที่นั่นเยอะ แล้วส่วนใหญ่ แพร์กจ็ ะไปดูพวกงานนิทรรศการศิลปะต่างๆ ด้วย รู้สกึ อย่างไรบ้างที่ได้รับเลือกให้มาเป็นพรีเซ็นเตอร์ ของ 100 Plus ทีเ่ ขาเลือกเราอาจเพราะดูเป็นคนทีม่ กี จิ กรรม เยอะในชีวิต อาจจะเหมาะกับแนวคิดของสินค้า ซึ่ง 100 Plus เป็นสินค้าที่มีความสร้างสรรค์ใหม่ๆ เหมือนกันนะ ฉีกภาพของน�า้ อัดลมกับความเป็น เกลือแร่ที่ดูเหมือนจะไม่เข้ากันเลย คนก็จะมอง ภาพว่าสองอย่างนี้อยู่ด้วยกันไม่ได้ เขาเลยน�า จุดเด่นตรงนีม้ ารวมกัน ซึง่ การสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ เป็นสิ่งที่ต้องท�าในยุคนี้ เราต้องฉีกจากกฎเดิมๆ ซึ่งแพร์คิดว่ามันดีมากๆ เหมือนคุณเป็นคนชอบเติมอะไรใหม่ๆ ให้ตัวเอง ตลอดเวลา ท�าไมถึงเป็นแบบนั้น ส� า หรั บ คนที่ ท� า งานด้ า นการสร้ า งสรรค์ เราจะไม่สามารถท�าอะไรใหม่ๆ ได้เลยถ้าไม่ออกไป หาประสบการณ์ มันเหมือนการพาตัวเองออกไป ข้างนอกกรอบ อะไรเป็นสิ่งที่หล่อหลอมให้คุณเป็นคนที่ชอบเปิดรับ สิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลาแบบนี้ จริงๆ แพร์เป็นคนที่ขี้กลัวมาก เพราะโดน เลี้ยงมาให้อยู่ในกรอบ ตอนเด็กๆ เลิกเรียนก็ไป เรียนพิเศษ ไม่เคยเกเร เป็นเด็กดีมาก จนเพื่อนๆ ชอบบอกว่าเรียบร้อยเกินไป (หัวเราะ) แต่พอมา เรียนสถาปัตย์เราต้องลุย ได้เห็นโลกอีกใบหนึ่ง ได้ไปเที่ยวบางที่ในมุมที่ไม่เคยไป จ�าได้เลยว่า ปีที่มีน�้าท่วม แพร์ยังไปยืนวัดคราบน�า้ อยู่เลยว่า สูงกี่เมตร แล้วมาคิดต่อว่าเราจะท�าอย่างไรให้ สถาปั ต ยกรรมมั น รองรั บ กั บ วิ ถี ชี วิ ต ของคน แพร์ได้เรียนอะไรพวกนี้เลยท�าให้เป็นคนแบบนี้ คิดอย่างไรกับค�าว่า ‘เพราะชีวิตยังต้องไปต่อ’ มันเข้ากับแพร์เหมือนกัน เพราะแต่ละวัน กิจกรรมของแพร์เยอะเหลือเกิน เวลาเหนื่อยๆ ก็ต้องหาอะไรที่สามารถเพิ่มพลังให้กับตัวเอง เพือ่ ทีจ่ ะท�าอะไรได้ตอ่ ซึง่ มันเข้ากับไลฟ์สไตล์ของ คนยุคนีด้ ว้ ย ทีท่ กุ คนต้องมีกจิ กรรมหลายๆ อย่าง ให้ทา� ตลอดเวลา เวลาเราเหนือ่ ย เราอย่าเอาตัวเอง ไปผูกกับความเครียด เพราะถ้าคิดอย่างนั้นเราก็ จะคิดแต่ว่าท�าไม่ได้สกั ที โอเค ร้องไห้ได้ เหนือ่ ยได้ แต่ พ อเป็ น อย่ า งนั้ น เราต้ อ งหยุ ด แล้ ว ตั้ ง สติ ไม่อย่างนั้นงานและชีวิตคงไม่เดินหน้าไปไหน
จุดเริ่มต้นของรายการ เทยเที่ยวไทย เกิดขึ้นได้ อย่างไร ป๋อมแป๋ม : ก่อนหน้านี้ทุกคนเคยท�างาน เบื้องหลังกันมาอยู่แล้ว เราเองก็เริ่มมาจาก การเป็นครีเอทีฟรายการ Five Live แล้วพอเกิด ช่อง Bang Channel ขึ้นมา ก็ต้องมีการคิด รายการใหม่เพือ่ มาฉายในช่อง เราก็ได้โจทย์มา ว่าให้ท�ารายการท่องเที่ยว ตอนนั้นคิดไปคิดมา ก็เลยเสนอรายการ เทยเที่ยวไทย ไป ตอนนั้นคิดว่ารายการจะประสบความส�าเร็จไหม ป๋อมแป๋ม : ไม่เลย คิดว่าคงท�าแค่แป๊บเดียว ตั้งแต่ตอนที่เสนอก็ไม่คิดว่าจะได้ท� าด้วยซ�้า โดยธรรมชาติของการเสนอรายการ เสนอไป สิบรายการ จะมีโอกาสได้ท�าจริงก็สักสองสาม รายการ แต่สรุปว่าพอเราเสนอไป เจ้านายชอบ ก็เลยได้ท�า ตอนแรกที่ท�าไม่คิดว่าจะดังเลยนะ แต่ปรากฏว่าพอเทปแรกออกไปแล้วมีคนชอบ พวกเราก็ทา� ออกมาเรื่อยๆ จนตอนนี้ก็ 4 ปีแล้ว ด้วยความที่คิดมาตั้งแต่ต้น เราก็เลยมองว่า รายการนี้ เ หมื อ นลู ก เหมื อ นหลาน บางครั้ ง ก็มีนะที่ร�าคาญแล้วอยากจะเอามันไปปล่อย ใต้ต้นมะม่วงบ้าง (หัวเราะ) แต่ก็เป็นอะไร ที่ภูมิใจที่เราสร้างขึ้นมาเองตั้งแต่ศูนย์ พวกคุณรู้สึกอย่างไรที่ได้ท�ารายการนี้ ก๊อตจิ : ก็สนุกนะ เหมือนเราไม่ได้อยู่กับที่ มันอาจเป็นความฝันของหลายๆ คนที่อยาก ท�างานแบบนี้ เราได้ออกไปเจอคน ได้ออกไปเจอ สถานทีใ่ หม่ๆ แต่หลายๆ คนทีเ่ ห็นเราในรายการ ก็อาจคิดว่าเราสนุกอยู่ตลอดเวลา แต่จริงๆ เราก็ มี อ าการเหนื่ อ ยบ้ า ง วั น หนึ่ ง ต้ อ งถ่ า ย หลายที่ มั น ต้ อ งมี เ รื่ อ งของการเดิ น ทาง แต่ พ อตั ด ออกมาอยู ่ ใ นโทรทั ศ น์ ค นก็ เ ห็ น ว่ า อุ๊ยตาย สนุกสนานกันจริง แต่ในความเป็นจริง ก่อนหน้านั้นทุกคนหลับเป็นตายกันอยู่บนรถตู้ (หัวเราะ) ป๋อมแป๋ม : ทุกอย่างมันสนุก เพราะด้วย ความที่ เ ราไม่ ค ่ อ ยรู ้ พวกเราไม่ ไ ด้ เ รี ย นจบ นิเทศศาสตร์มา แต่จบอักษรศาสตร์ เพราะ ฉะนั้น เวลาที่ทา� รายการเราเลยใช้ชุดความคิด คนละชุดกับคนท�าทีวี เราไม่ได้ทา� ตามขั้นตอน วิ ธีก ารที่ เ ขามี ก ารพิ สู จ น์ กั น ไว้ เ ลย ซึ่ ง มั น ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพราะเราอยากจะแหกกรอบ อะไรหรอกนะ (หัวเราะ) แต่มนั มาจากความไม่รู้ ของเรา เราท� า รายการในฐานะคนดู ว ่ า เขา อยากจะดูอะไร พอมันออกมาเราเลยรู้สึกว่า มั น สนุ ก ดี ตอนคิ ด ทุ ก อย่ า งมั น มาจากค� า ค�าเดียว ก็คือค�าว่า ‘สนุก’ นอกเหนื อ จากงานเบื้ อ งหน้ า และเบื้ อ งหลั ง ที่ พ วกคุ ณ ท� า อยู ่ พวกคุ ณ ก� า ลั ง สนุ ก กั บ อะไร ในชีวิตส่วนตัวบ้าง ป๋อมแป๋ม : ขี่จักรยานค่ะ ขี่เป็นพาหนะ ปกติเลย ขี่มาท�างาน ที่ไหนที่รถไฟฟ้าไปถึง ป๋ อ มแป๋ ม ก็ ใ ช้ จั ก รยานเดิ น ทางตลอด ขี่ ม า ประมาณ 6 ปีแล้ว แต่ก่อนป๋อมแป๋มขี่เสือภูเขา ก่อนที่จะเปลี่ยนมาขี่ฟิกเกียร์ แล้วก็มาขี่ city bike ทีข่ จี่ กั รยานไม่ได้อยากจะขีไ่ ปแข่ง แต่ขเี่ ป็น พาหนะ เพราะป๋อมแป๋มเป็นคนที่ขับรถยนต์ ไม่เป็น แล้วจากบ้านมาออฟฟิศขีจ่ กั รยานไวกว่า มาก บ้านป๋อมแป๋มอยู่ดินแดง ออฟฟิศอยู่ตึก แกรมมี แล้วมันจะมีอยู่ช่วงหนึ่งตรงแยกอโศก ที่รถติดโดยไม่มีเหตุผล ตรงทางรถไฟตรงนั้น จะมีคนจ�านวนมากทีท่ า� ผิดกฎจราจรแล้วท�าให้ รถติดแบบไม่มีเหตุผล (หัวเราะ) ปั่นจักรยาน ก็ช่วยได้เยอะ แล้วก่อนหน้านี้ก็มีอยู่ช่วงหนึ่งที่ ตัวเองบ้าท�าเบเกอรี แต่เดี๋ยวนี้ไม่มีเวลาท�าเลย แล้ ว ก็ จ ะมี ไ ปเที่ ย ว ปี ห นึ่ ง จะหนี ไ ปเที่ ย ว สั ก สองอาทิ ต ย์ ไปยุ โ รปบ้ า ง หนี ไ ปนอน
บ้ า นเพื่ อ นที่ นั่ น ที่ นี่ บ ้ า ง ก็ พ ยายามไปให้ ไ ด้ ปีละหน กอล์ฟ : กอล์ฟจะอยู่ที่บ้านกับครอบครัว เยอะ แต่กจิ กรรมหนึง่ ทีท่ �ากับทีบ่ า้ นบ่อยๆ ก็คอื ไปเทีย่ ว คุณแม่เป็นคนชอบเทีย่ ว เราเองท�างาน ก็ได้ไปเที่ยวบ่อยๆ ได้เดินทางเยอะอยู่แล้ว แต่คณ ุ แม่เขาอยูบ่ า้ นอย่างเดียว พอเรามีเวลาว่าง ก็จะพาเขาไปเที่ยวบ้าง ซึ่งการไปเที่ยวแบบนี้ เรารู ้ สึ ก ว่ า ได้ เ ที่ ย วจริ ง ๆ เพราะอย่ า งเวลา ไปท�างานก็รู้สึกว่าต้องท�างาน ไม่ค่อยได้พัก ไม่ค่อยได้ใช้เวลากับที่ใดที่หนึ่งนานๆ แต่ถ้า ไปเที่ยวกับที่บ้านก็จะได้เที่ยวจริงๆ ไปเที่ยว ต่างจังหวัดบ้าง ภูเขาบ้าง ทะเลบ้าง ไปปัน่ จักรยาน ไหว้พระ หรือถ้าไปต่างประเทศก็จะประมาณ ปีละครั้ง ที่บ้านชอบไปญี่ปุ่น แต่ถ้าอยู่บ้าน กิจกรรมทีท่ า� กับแม่บอ่ ยๆ ก็คอื ท�าสวนปลูกต้นไม้ ด้วยกัน ก๊อตจิ : ชอบไปเดินตลาดค่ะ การช้อปปิ้ง ถื อ เป็ น กิ จ กรรมที่ ช อบที่ สุ ด ของก๊ อ ตจิ แ ล้ ว (หัวเราะ) เพราะว่าปกติเป็นคนที่ไม่ชอบท� า สิ่งต่างๆ เยอะแยะ แต่ถ้าเป็นเดินตลาดเดินได้ ถึ ง ไหนถึ ง กั น แล้ ว เดิ น ได้ ทุ ก ตลาดเลยนะ ตลาดเสื้อผ้า ตลาดสด แล้วหลังๆ มันมีอันหนึ่ง ก็ คื อ ไปเดิ น ตลาดตามรี วิ ว ของคนข้ า งบ้ า น (หั ว เราะ) ช่ ว งนี้ แ ม่ จ ะพาหมาไปเดิ น เล่ น ตอนเย็นๆ แล้วเขาจะมีกลุ่มของเขาที่คุยกัน เขาก็ไปคุยกับเพื่อนแถวบ้านว่ามีตลาดโน้น ตลาดนี้ พอไปฟังมาแม่อยากไป เราก็พาไป เสาร์-อาทิตย์ก็พาไปเดินตลาดน�้า เวลาท�างานของพวกคุณคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ ในชีวติ แล้วมีวธิ กี ารแบ่งเวลาให้กบั ตัวเองอย่างไร ป๋อมแป๋ม : ส�าหรับป๋อมแป๋มนี่ประมาณ 80% หมดไปกับการท�างานเลยนะ ช่วงนีน้ อนน้อย มาก ไม่คอ่ ยได้ออกไปเตร็ดเตร่ทไี่ หนเพราะงาน ค่อนข้างเยอะ ก็อาศัยช่วงเวลาที่ปั่นจักรยาน มาท�างานในการออกก�าลังกาย หนังสือก็เอาไว้ อ่ า นตอนเข้ า ห้ อ งน�้ า คนที่ อ อฟฟิ ศ ก็ จ ะเห็ น ป๋ อ มแป๋ ม ถื อ หนั ง สื อ เข้ า ไปอ่ า นในห้ อ งน�้ า เป็นประจ�า กอล์ ฟ : ของกอล์ ฟ อาจจะน้ อ ยกว่ า ป๋อมแป๋มหน่อย สัก 70% งานเบื้องหน้าเราก็ ออกกองปกติแบบที่เห็นกัน ส่วนงานเบื้องหลัง เราก็ อ อกกองในอี ก ฐานะหนึ่ ง คุ ม กองเอง เป็ น โปรดิ ว เซอร์ ท� า หน้ า ที่ เ ขี ย นสคริ ป ต์ ส่วนมากงานของกอล์ฟจะต้องออกไปข้างนอก ส่วนใหญ่เป็นรายการพวก school tour ไม่ได้ท�า อยู ่ ใ นสตู ดิ โ อเท่ า ไหร่ แล้ ว ตั ว กอล์ ฟ ก็ จ ะ ใช้วิธีแบ่งเวลาเอา คิวถ่ายรายการเราเหลือ เท่ า ไหร่ ก็ เ อามาแบ่ ง เพื่ อ ท� า งานของตั ว เอง ที่ออฟฟิศ เคยมีช่วงท�างานเกินขีดจ�ากัดกันบ้างไหม ป๋อมแป๋ม : ส�าหรับป๋อมแป๋ม ทุกเวลา เราท�างานได้หมด ท�าให้เป็นคนใช้เวลานอน ไม่เยอะ ท�างานจนป่วยบ่อยๆ นอนวันๆ หนึ่ง ประมาณสัก 5 ชั่วโมงได้ กอล์ฟ : 5 ชั่วโมง นี่ต้องไปนับ 5 นาที 10 นาที ในรถตู้มารวมกันนะ (หัวเราะ) ก๊อตจิ : แต่พวกเราท�าแบบนีก้ นั จนชินแล้ว ท�าทุกวันจนบางครั้งช่วงหยุดยาวๆ เราจะป่วย ไปเลย เพราะตอนท�างานจะเป็นช่วงถึก ไม่คอ่ ย ป่วย แต่พอช่วงหยุดยาวๆ ก็จะป่วยตั้งแต่ต้น จนจบเลย (หัวเราะ) ป๋อมแป๋ม : หรือเพราะว่าเราอยูบ่ า้ นน้อยไง เราเลยไม่คุ้นกับสภาพอากาศที่บ้าน ก็เลยแพ้ เหมือนแพ้น�้าอะไรแบบนั้นหรือเปล่า (หัวเราะ) ท�างานเยอะกันแบบนี้ พวกคุณมีวิธีการเติมพลัง ให้ตัวเองอย่างไร
ป๋อมแป๋ม : พวกเรากินเยอะมาก กอล์ฟ : ใช่ เพราะพวกเราเป็นกองชายล้วน (หัวเราะ) ป๋อมแป๋ม : ต้องมาเห็นเวลาที่พวกเรากิน พวกเรากินกันเยอะมาก เรามีความสุขมาก เวลาที่เห็นอาหารเต็มโต๊ะ ซึ่งอาหารนี่เป็นสิ่งที่ ช่วยเพิ่มพลังให้พวกเราได้ดีมาก อย่างเวลา กินอาหารในร้านเราก็จะสั่งอย่างละสองชุดนะ (หัวเราะ) ก๊อตจิ : ค่าอาหารพวกเราเยอะกว่าค่าใช้จา่ ย อื่นๆ ในกองอีก เรียกว่าคว�่าชามคว�า่ ไหกันเลย ทีเดียว (หัวเราะ) กอล์ฟ : เครื่องดื่มก็ช่ วยเหมือนกันนะ อย่ า งตอนนี้ มี เ ครื่ อ งดื่ ม ใหม่ ที่ พ วกเราเป็ น พรีเซ็นเตอร์ให้อยู่ ก็เป็นเครื่องดื่มที่ให้ความสดชื่น ท�าให้เราพร้อมไปต่อได้ทันที ตอนนี้ กลายเป็นเครื่องดื่มประจ�าของพวกเราไปแล้ว อย่ า งกอล์ ฟ จะชอบรสผลไม้ อ ่ อ นๆ กิ น แล้ ว มันให้ความรู้สึกสดชื่นดี ป๋อมแป๋ม : รู้สึกได้เลยว่าฟองมันละเอียด บางยี่ห้อกินเข้าไปเหมือนเรากินโซดา แต่อันนี้ กลับไม่รสู้ กึ ว่าแสบปาก แถมท้องก็จะอืดได้ยาก กว่า เป็นเครื่องดื่มที่กินได้เรื่อยๆ ก๊อตจิ : จริง อย่างเครื่องดื่มบางอย่างกิน ได้ค รึ่ง กระป๋ อ งก็ ต ้ อ งให้ เ พื่ อ นมากิน ต่ อ แล้ ว (หัวเราะ) แต่อันนี้เรากินได้เรื่อยๆ การได้ทา� อะไรหลายๆ อย่างในชีวติ ท�าให้พวกคุณ รู้สึกสนุกกับชีวิตอย่างไรบ้าง กอล์ฟ : หลายคนที่ต้องอยู่กับงานอะไร สักอย่างนานๆ อาจจะรู้สึกเบื่องานตัวเองง่าย แต่เราโชคดีทไี่ ด้ทา� อะไรหลายๆ อย่าง ได้ทา� งาน ทั้งในออฟฟิศ ได้ท�างานข้างนอก ได้เปลี่ยน ตัวเองไปเรือ่ ยๆ ก็ไม่รสู้ กึ เบือ่ มันให้ความรูส้ กึ ว่า วงจรชีวิตของเราไม่ซ�้า ได้เปลี่ยนไปเรื่อยๆ ป๋ อ มแป๋ ม : พวกเราท�า งานจากการที่ ไม่มคี วามรูพ้ นื้ ฐานเลย เราใช้การปฏิบตั ิ ได้เจอ คนเก่งๆ ก็หยิบความรู้จากเขามาใช้ อันนี้เป็น สิ่งส�าคัญส�าหรับคนท�างานจริงๆ นะ เพราะเรา ไม่สามารถท�าตัวเป็นน�้าเต็มแก้วได้ เราต้อง เจออะไรใหม่ๆ ไปเรือ่ ยๆ ซึง่ เรารูส้ กึ ว่าการท�างาน เยอะๆ ได้พบเห็นอะไรแปลกๆ แม้บางครั้ง จะเป็นเรื่องผิดพลาด แต่มันก็ไม่หายไปไหน การได้ ท� า อะไรเยอะๆ มั น เปิ ด โอกาสให้ เ รา ได้เจอกับคนเยอะ ประสบการณ์ท� างานกับ คนเก่งๆ แบบนี้ต่อให้เรียนอย่างไรมันก็สอนกัน ไม่ได้ ก๊อตจิ : โดยปกติแล้วคนทีท่ า� งานทีละอย่าง มาตลอด เวลาทีม่ งี านหลายๆ อย่างเข้ามาเขาจะ รูส้ กึ อารมณ์เสีย แต่เราจะไม่คอ่ ยเป็น เพราะถ้า จัดระบบได้ชีวิตเราก็ลงตัว การท�างานพิธีกร รายการ เทยเทีย่ วไทย ท�าให้เราฝึกการจัดระบบ ชีวิตได้เยอะมาก คิดอย่างไรกับค�าว่า ‘เพราะชีวิตยังต้องไปต่อ’ ป๋อมแป๋ม : จริงๆ ค�าว่าไปต่อเป็นค�าที่ พวกเราใช้บ่อยมากเวลาออกกอง เพราะว่า บางวันเราต้องไปถ่ายสี่ที่ เสร็จอันนี้ปุ๊บ อะ ไปต่อ กินข้าวเสร็จหรือยัง อะ ไปต่อ ไอ้อาการ ที่ต้องไปต่อจริงๆ มันเหนื่อยไม่ได้ มันต้องรู้สึก กระปรีก้ ระเปร่า ให้เหมือนว่าเราอยากไปต่อจริงๆ กอล์ฟ : พอถึงเวลาทีพ่ วกเราบอกว่าไปต่อ เราก็ตอ้ งเรียกความสดชืน่ ให้ตวั เอง เพือ่ ทีจ่ ะไปต่อ ได้จริงๆ งานของพวกเราเวลาทีอ่ ยูห่ น้าจอเราต้อง สนุกจริงๆ มันโกหกว่าร่าเริงกันไม่ได้ C C
M M Y Y
CM CM MY MY CY CY
CMY CMY K K
GADGET
iHealth : Wireless Blood Pressure Monitor
COSMETIC
การตรวจวัดความดันโลหิตเป็นสิ่งที่ควรท�าเป็นประจ�าส�าหรับคนทุกเพศทุกวัย แต่เราก็เชื่อว่าการหาเวลาว่าง ไปตรวจสุขภาพส�าหรับบางคนนั้นน่าจะยากพอๆ กับการหาที่จอดรถในห้างสรรพสินค้าช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์แน่ๆ เราจึงขอแนะน�าเครือ่ งวัดความดันไฮเทคจาก iHealth ซึง่ ใช้งานง่ายๆ แค่พนั ผ้าไว้รอบต้นแขน และท�าการเชือ่ มต่อตัวเครือ่ ง เข้ากับสมาร์ตโฟน (รองรับระบบปฏิบัติการ iOS และแอนดรอยด์) จากนั้นตัวเครื่องจะท�าการส่งข้อมูลและแสดงผล ของความดันโลหิต รวมถึงอัตราการเต้นของหัวใจให้เห็นทันที ซึ่งคุณสามารถน�าข้อมูลที่ได้นี้ส่งให้กับแพทย์ประจ�าตัว หรือใช้เป็นค่าตั้งต้นในการเริ่มออกก� าลังกายเพื่อลดระดับความดันโลหิตภายในร่างกายให้ลดลงก็ได้ สั่งซื้อและดู รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.ihealthlabs.com
MOVIE
Fast & Furious 7
การกลั บ มาอี ก ครั้ ง ของอภิ ม หาภาพยนตร์ แอ็ ก ชั น แห่ ง ปี Fast & Furious 7 หลังจากต้อง เลือ่ นฉายออกไปเมือ่ ปีทแี่ ล้ว จากอุบัติเหตุที่ไม่คาดฝัน ของ พอล วอล์ ก เกอร์ พระเอกหนุ่มของเรื่อง แต่ ผู้ก�ากับ เจมส์ วาน และ เหล่านักแสดงน�าที่เหลือ ก็ถ่ายท�าภาพยนตร์เรือ่ งนี้ ส� า เร็ จ จนได้ โดยครั้ ง นี้ เป็นการสานต่อเรื่องราว ภาคก่อน ดอม (วิน ดีเซล) และครอบครัวนักซิง่ ของเขา ต้ อ งเผชิ ญ หน้ า กั บ การแก้แค้นของ เด็คการ์ด ชอว์ (เจสัน สเตแธม) พี่ชาย ตัวแสบของ โอเวน ชอว์ (ลุค อีแวนส์) ตัวร้ายที่ถูก พวกเขาเล่นงานไปเมือ่ ภาค ที่แล้ว ซึ่งอดีตมือสังหาร หน่วยรบพิเศษสุดคลั่งผู้นี้ ได้ ก ลั บ มาคิ ด บั ญ ชี ค นที่ เล่นงานน้องชายของตัวเอง แบบรายตั ว ดอมและ พลพรรคนั ก ซิ่ ง จึ ง ต้ อ ง ร ว ม ตั ว กั น ลุ ก ขึ้ น บู ๊ หลั ง พวงมาลั ย อี ก ครั้ ง ซึง่ รับรองได้วา่ ทวีความมัน และความแรงยิ่ ง กว่ า ภาคทีแ่ ล้วมาอย่างแน่นอน เข้ า ฉายแล้ ว วั น นี้ ทุ ก โรงภาพยนตร์
SHOP
Porsche Design Flagship Store
“ผมคิดว่าหลายคนคงเข้าใจว่าแบรนด์พอร์ชมีแต่รถยนต์ แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ เพราะเขามีผลิตภัณฑ์มากมายภายใต้แบรนด์ Porsche Design ซึ่งผมก็เคยเห็น เวลาไปเมืองนอก พอเขามาเปิดที่เมืองไทย เราคิดว่าคนไทยก็ชื่นชอบรถพอร์ช กันเยอะ ดังนั้น ก็เลยอยากชวนให้ลองมาดูผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Porsche Design ด้วย ไม่ว่าจะเป็นแว่นตา กระเป๋าหนัง ซึ่งมีให้เลือกทั้งส� าหรับคุณผู้ชาย และคุณผูห้ ญิง ตอนนีส้ าขาแรกเปิดแล้วทีช่ นั้ 2 สยามพารากอน” Porsche Design แฟล็กชิปสโตร์แห่งแรกของไทยเปิดให้บริการแล้ว พร้อมสินค้าคอลเล็กชัน Spring / Summer 2015 ‘ZenTech’ เลือกให้โดย : ‘โจม’ - ศุกล ศศิจุลกะ นักแสดง และพิธีกร
MAGAZINE
HAMBURGER
ใครทีก่ า� ลังอินกับบทบาทของนางเอกสาว คิมเบอร์ลี แอน เทียมศิริ เราแนะน�าว่าอย่าพลาด HAMBURGER ฉบับล่าสุด เพราะเธอ แวะมาวาดลวดลายสวยๆ ให้ทุกคนได้ชื่นชมผ่านแฟชั่นเซต นอกจากนี้ทางทีมงานยังชวน ตุล ไวฑูรเกียรติ มาพูดคุยกับ ‘ฮิวโก้’ - จุลจักร จักรพงษ์ ถึงอัลบั้มใหม่ของเขา ต่อด้วยเรื่องราวสนุกๆ ของวงการดนตรีไทยกับเรื่องราว 50 เรื่องเบื้องหลังที่คุณ อาจไม่เคยรู้ เปิดพลิกมาอีกหลายหน้าคุณจะพบกับแฟชั่นเซตต้อนรับซัมเมอร์กับเหล่าดารานักแสดงหน้าใหม่ในโปรเจ็กต์ Hormones the Next Gen ซึ่ง HAMBURGER ชวนพวกเขามาถ่ายแบบและตอบค�าถามสนุกๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ทา� ในหน้าร้อนนี้อีกด้วย
La RochePosay : An Thelios XL Ultra-light Fluid SPF 50+
อีกไม่กี่อึดใจก็จะเข้าสู่ ช่วงวันหยุดยาวกันแล้ว และ คงมีหลายๆ คนวางแผนไป ดับร้อน คลายเครียด นอน ผึ่งพุงริมชายหาดกันอย่าง แน่นอน ซึ่งอุปกรณ์ส�าคัญ ที่ เ ราจ� า เป็ น ต้ อ งพกติ ด ตั ว ไปด้ ว ยก็ คื อ ครี ม กั น แดด นั่นเอง และถ้าใครอยากได้ ครีมกันแดดที่มีเนื้อบางเบา เนียนนุ่ม ต้องลองสัมผัสกับ ครีมกันแดดจาก La RochePosay ตั ว นี้ กั น ก่ อ น ซึ่ ง นอกจากตัวครีมจะสามารถ ซึมซาบสู่ผิวของเราได้ทันที แล้ว ยังปกป้องผิวจากรังสียวู ี ต่างๆ ด้วยค่า SPF ที่สูงกว่า 50 และ PPD สูงถึง 42 แถมยัง มีคณ ุ สมบัตชิ ว่ ยลดความมัน ส่วนเกินบนใบหน้าอีกด้วย สิ น ค้ า มี ว างจ� า หน่ า ยแล้ ว ที่ ร ้ า น บู ๊ ท ส ์ , วั ต สั น , เคาน์เตอร์ La Roche-Posay ในโรงพยาบาลต่างๆ และ ร้านขายยาชัน้ น�าทัว่ ประเทศ (ขนาด 500 มิลลิลิตร ราคา 1,400 บาท)
BOOK
Tokyo Shop by Wear it Like a Man
จากบล็อก Wear it like a Man ทีท่ า� หน้าทีเ่ ป็นสไตลิสต์แนะน�าการแต่งตัวเพิม่ ความมัน่ ใจให้กบั ผูช้ ายมายาวนานถึง 2 ปี กลายมาเป็นหนังสือรวบรวม ร้านเสือ้ ผ้าส�าหรับผูช้ ายโดยเฉพาะกว่า 50 ร้านทัว่ มหานครโตเกียว โดยอาศัยความคุน้ เคยกับประเทศญีป่ นุ่ ของ 2 หนุม่ ผูก้ อ่ ตัง้ บล็อก พาตระเวนเสาะหา ร้านที่น่าสนใจ ก่อนจะเรียบเรียงเนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษให้อ่านง่าย ตอบโจทย์หนุ่มนักช้อปทุกแนว ตั้งแต่ผู้ชายมาดเนี้ยบ หนุ่มสไตล์วินเทจ หรือเด็กสตรีท พร้อมภาพถ่ายภายในร้านให้รู้สึกเหมือนก�าลังไปเลือกช้อปเสื้อผ้าด้วยตัวเอง แถมยังมีแผนที่ระบุที่ตั้งของแต่ละร้านไว้อย่างเสร็จสรรพ และยังมีพกิ ดั ร้านกาแฟและคาเฟ่ให้ได้นงั่ พักเหนือ่ ยหลังช้อปเสร็จอีก 17 ร้าน หาซือ้ หนังสือเล่มนีไ้ ด้ทรี่ า้ นหนังสือก็องดิดและคิโนะคุนยิ ะ หรือสั่งซื้อออนไลน์ ที่ http://shop.wearitlikeaman.com
HOTEL
Siam@Siam Design Hotel Pattaya
“พัทยาคือทะเลสนุก และโรงแรมที่ทา� ให้เราไม่รู้สึกว่าท�าไมความสนุกต้องหยุดอยู่แค่ประตูโรงแรมคือ Siam@Siam Design Hotel Pattaya แห่งนี้ คุณคงพอจะนึกออกถึงดีไซน์มนั ๆ แบบทีถ่ า่ ยรูปแล้วให้คนร้องว้าวได้ทกุ มุมแบบ Siam@Siam Design Hotel and Spa ทีก่ รุงเทพฯ แต่ทพี่ ทั ยาเขาไปไกล กว่านัน้ สีสนั เท็กซ์เจอร์ของทุกสิง่ เน้นความขีเ้ ล่นอย่างไม่ยงั้ อย่างบาร์ซงึ่ บางโต๊ะให้ความรู้สกึ เหมือนนัง่ เล่นอยู่ในรถสองแถวทีท่ งั้ คันเป็นของแก๊งเรา ยางมอเตอร์ไซค์ที่โดนถลกมาปูพื้นเล่นๆ ฯลฯ ที่สา� คัญ อย่าพลาดชมอาทิตย์ตกยามเย็นริมสระว่ายน�า้ จิบเครื่องดื่มเบาๆ สวยๆ ในถุงพลาสติกเก๋ๆ แล้วจะนึกไม่ถงึ ว่าวิวอาทิตย์ตกดินจะเข้ากับเพลงตืด๊ ๆ ได้ขนาดนี”้ โรงแรม Siam@Siam Design Hotel Pattaya ตัง้ อยูท่ ถี่ นนพัทยาสาย 2 ดูรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ www.siamatpattaya.com หรือโทร. 038-930-600 เลือกให้โดย : ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์ บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร Esquire Thailand
EXHIBITION
APPLICATION
lalamove Essential Eames: Icons of 20th Century Design
หลังจากตระเวนจัดแสดงมาแล้วทั้งในฮ่องกง จาการ์ตา โตเกียว เซี่ยงไฮ้ และสิงคโปร์ ถึงตอนนี้ก็ได้เวลา ทีช่ าวไทยจะได้ชนื่ ชมการรวบรวมผลงานชิน้ เอกของคูร่ กั นักออกแบบระดับต�านานอย่าง Charles และ Ray Eames กันบ้าง โดยนิทรรศการนีจ้ ะแบ่งพืน้ ทีอ่ อกเป็นโซนต่างๆ มีตงั้ แต่ผลงานสถาปัตยกรรม เฟอร์นเิ จอร์ นิทรรศการ ภาพยนตร์ ของเล่น ไปจนถึงผลงานชิ้นไอคอนที่เป็นที่นิยมของนักสะสม และผลงานบางชิ้นที่ไม่เคยเห็น มาก่อน โดยรวบรวมมาจากหอจดหมายเหตุของเฮอร์แมน มิลเลอร์ เช่น เก้าอีท้ อี่ อกแบบมาเฉพาะสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 เก้าอี้ Shell ทีผ่ ลิตจากไฟเบอร์กลาสแบบวินเทจ ฯลฯ เข้าชมฟรีได้แล้วตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ 31 พฤษภาคมนี้ ที่ห้องนิทรรศการ 2 ศูนย์ความรู้ด้านการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ (TCDC)
GIVE
บริจาคชุดนักเรียนและอุปกรณ์กีฬา
หลายคนอาจหลงลืมไปว่ายังมีนักเรียนที่ด้อยโอกาสอีกมาก โดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในโรงเรียน แนวชายแดนหรื อ บนดอย และในขณะนี้ ก็ มี บั ณ ฑิ ต อาสาสมั ค รจากมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ที่ไปเป็นครูช่วยสอนและลงพื้นที่อยู่ที่โรงเรียนสอนเด็กด้อยโอกาสชาวพม่า อ�าเภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งก�าลังขอรับบริจาคชุดนักเรียนและอุปกรณ์กีฬาเพื่อเด็กๆ ที่โรงเรียน ซึ่งมีนักเรียนกว่า 70 คน ส�าหรับใครที่สนใจอยากจะร่วมบริจาค สามารถส่งพัสดุไปรษณีย์มาได้ที่โรงเรียน agape เลขที่ 187 หมู่ 1 เทศบาลต�าบลท่าสายลวด อ�าเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 โดยวงเล็บที่มุมกล่องว่า ‘บริจาค’ และสามารถร่วมบริจาคได้ตั้งแต่วันนี้จนถึงเดือนพฤษภาคม
บางครั้งเรื่องเร่งด่วนก็อาจจะ จู ่ โ จมเข้ า หาเราอย่ า งไม่ ค าดฝั น อย่างเช่น ลืมของไว้ทบี่ า้ น แต่ตดิ พัน กับการประชุมจนไม่มีเวลากลับไป หรื อ ต้ อ งการส่ ง เอกสารด่ ว น แต่ เมสเซนเจอร์ของบริษัทกลับไม่อยู่ สักคน ถ้าเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น กับชีวติ คุณบ่อยๆ ลองท�าความรู้จกั กับ lalamove แอพพลิเคชันทีใ่ ห้บริการ ส่งของทุกสิ่งอย่าง ทุกที่ ทุกเวลา โดยพนักงานมืออาชีพที่ไว้วางใจได้ ตัง้ แต่ตวั๋ คอนเสิรต์ , เค้กวันเกิด, โต๊ะ รับแขก, เปียโน หรือแม้แต่สตั ว์เลีย้ ง ให้คุณมั่นใจมากยิ่งขึ้นด้วยระบบ ตรวจสอบข้อมูลคนขับ การใช้ระบบ น�าทาง GPS เพื่อติดตามเส้นทาง คนขับ บริการประกันสินค้าสูงสุดถึง 2,000 บาทต่ อ เที่ ย ว มี ร ถบริ ก าร หลายรูปแบบทั้งมอเตอร์ไซค์, รถตู้, รถ MPV และรถกระบะ แถมยัง เรียกใช้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงอีกด้วย ดาวน์โหลดและลองใช้ได้แล้ววันนี้ ในระบบปฏิ บั ติ ก าร iOS และ แอนดรอยด์
ชุดกระโปรงพิมพ์ลาย จาก DA+PP
ชุดกระโปรงพิมพ์ลาย จาก Kate Spade
เสื้อแขนสั้นตัวครอปพิมพ์ลาย จาก Kate Spade
กระเป๋าทรงบัวรดน�้า จาก Kate Spade
กระโปรงพิมพ์ลาย จาก Kate Spade ยางรัดผม จาก Topshop
เสื้อเชิ้ตพิมพ์ลาย จาก DA+PP กระเป๋าทรงกระถางต้นไม้ จาก Kate Spade
อากาศร้อนปีนี้ดูท่าแล้วน่าจะร้อนแรงและอยู่นานกว่าปกติ คงเป็นเพราะพระอาทิตย์คงเร่ง ท�าผลงานเพื่อโบนัสตอนสิ้นฤดูแน่ๆ และคงเป็นเรื่องน่าสนุกหากเราท�าให้บรรยากาศที่ร้อนระอุ กลายเป็นความร้อนแบบเย็นชื่นใจเหมือนนั่งอยู่ในสวนสวยใต้ต้นไม้ใหญ่ ด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสัน สนุกสนาน ชุดเสื้อและกระโปรงพิมพ์ลายที่ใครเห็นเป็นต้องทัก บวกกับเครื่องส�าอาง ในสีโทนอ่อนที่ขับให้ใบหน้ามีสีสันและดูสดชื่นตลอดวัน
กระโปรงยีนส์ทรงสอบ จาก DA+PP
ลิปสติก สี Chu Chu Coral จาก shu uemura
อายแชโดว์ Shu:Palette จาก shu uemura
กระเป๋า tote bag จาก MUJI เสื้อแขนกุดพิมพ์ลาย จาก DA+PP
WHERE Kate Spade ที่เซ็นทรัล ชิดลม, เซ็นทรัล ลาดพร้าว, เซ็นทรัลเวิลด์ และสยามพารากอน Topshop ที่เซ็นทรัล ชิดลม, เซ็นทรัล ลาดพร้าว และเซ็นทรัลเวิลด์ MUJI ที่เซ็นทรัล ชิดลม, เซ็นทรัล ลาดพร้าว และห้างสรรพสินค้าเซน DA+PP และ shu uemura มีจ�าหน่าย ตามห้างสรรพสินค้าชั้นน�าทั่วไป
รองเท้า จาก DA+PP
HEALTH HEALTH TIPS
Q : กระเที ย มสามารถช่วย รั ก ษาเชื้ อ ไวรั ส ที่ ท� า ให้ เ กิ ด น�้ามูกได้จริงหรือไม่ A : แม้เรำต่ำงรู้กันดีว่ำกระเทียม
ประกอบไปด้วยสำรบำงอย่ำงทีม่ ี คุ ณ สมบั ติ ใ นกำรต้ ำ นไวรั ส ถึงกระนัน้ ก็ยงั ไม่มหี ลักฐำนปรำกฏ แน่ชดั ว่ำ กระเทียมมีประสิทธิภำพ ในกำรรักษำอำกำรติดเชื้อไวรัส ทีท่ ำ� ให้เกิดน�ำ้ มูก ดังนัน้ วิธรี กั ษำ ที่ดีที่สุดคือ กำรดื่มน�้ำมำกๆ เพื่อ ท� ำ ให้ น�้ ำ มู ก ไม่ จั บ ตั ว เป็ น เมื อ ก และควรไปพบแพทย์เมื่ออำกำร แย่ลง อย่ำงไรก็ตำม กำรทำน กระเทียมร่วมด้วยก็เป็นอีกหนึง่ วิธี ทีจ่ ะช่วยรักษำอำกำรติดเชือ้ ดังกล่ำว และกระเทียมยังมีคณ ุ สมบัตอิ นื่ ๆ ที่ดีต่อร่ำงกำยอีกด้วย ที่มา : www.thehealthsite.com
288
5 REASONS YOU SHOULD EAT MORE BEANS
ถัว่ เป็นพืชชนิดหนึง่ ทีห่ าทานได้งา่ ยและมีประโยชน์หลากหลาย ซึง่ เหมาะกับคน ในยุคสมัยนี้ที่ทั้งเร่งรีบและชอบความสะดวกสบาย แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าพืช ที่แสนจะธรรมดาชนิดนี้มีประโยชน์อะไรบ้าง โดยเฉพาะประโยชน์ทั้ง 5 ข้อนี้ ที่สามารถเปลี่ยนชีวิตและสุขภาพของคุณไปในทางที่ดีขึ้น
• มีไฟเบอร์สงู ถัว่ เป็นแหล่งของไฟเบอร์ทชี่ ว่ ย ให้คณ ุ รูส้ กึ อิม่ โดยไม่ตอ้ งทำนอำหำรในปริมำณ มำก และแม้ถั่วจะผ่ำนกระบวนกำรปรุงอำหำร ไม่ว่ำจะต้มหรือผัด ไฟเบอร์ที่อยู่ในนั้นก็มิได้ ลดลงแต่อย่ำงใด • ช่วยเรื่องระบบการย่อยอาหาร เนื่องจำก ถั่วมีทั้งไฟเบอร์ที่ละลำยในน�้ำได้และที่ละลำย ในน�้ำไม่ได้ ซึ่งทั้งสองตัวนี้จะท�ำงำนร่วมกัน เพื่อช่วยให้ระบบย่อยอำหำรด�ำเนินไปได้อย่ำง รำบรื่นและมีประสิทธิภำพ • ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด รู้หรือไม่ว่ำ ถัว่ นัน้ อุดมไปด้วยไฟเบอร์ แต่คำ่ ดัชนีนำ�้ ตำลต�ำ่ เพรำะปริมำณไฟเบอร์และโปรตีนในถัว่ ทีส่ งู มำก จึงท�ำให้กำรดูดซึมคำร์โบไฮเดรตจำกถัว่ เป็นไป อย่ำงช้ำๆ ซึง่ ส่งผลให้นำ�้ ตำลในเลือดอยูใ่ นระดับ ที่คงที่ • ลดคอเลสเตอรอลในร่างกาย เนือ่ งจำกถัว่ มีปริมำณคอเลสเตอรอลต�ำ่ มำก จึงนับว่ำเป็นพืช อีกหนึง่ ชนิดทีด่ ตี อ่ สุขภำพ เพรำะคอเลสเตอรอล ที่สูงเกินไปย่อมส่งผลร้ำยต่อสุขภำพได้ • ดี ต ่ อ หั ว ใจของคุ ณ เพรำะถั่ ว มี ป ริ ม ำณ คอเลสเตอรอลต�่ำ จึงส่งผลดีต่อหัวใจของคุณ ด้วย ว่ำกันว่ำ 1% ของปริมำณคอเลสเตอรอล ในเลือดที่ลดลง หมำยถึงควำมเสี่ยงที่จะเกิด อำกำรหัวใจวำยที่ลดลงถึง 2% ด้วย ที่มา : www.health.com
การศึกษาจากมหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์บ่งชี้ว่าการทานอาหารหน้าทีวี จะท�าให้คณ ุ ทานมากกว่าปกติถงึ 288 แคลอรี วิธนี จี้ งึ ไม่เหมาะส�าหรับใครก็ตาม ที่ก�าลังควบคุมน�้าหนัก
HEALTH NEWS
เด็กที่ ไม่กระตือรือร้น จะโตเป็นผู้ใหญ่ที่ขี้เกียจและไม่แข็งแรง
นักวิจัยก�ำลังพยำยำมบอกทุกครอบครัวให้เปลี่ยนกิจกรรมกำรดูโทรทัศน์ร่วมกัน ในตอนเย็น เป็นกิจกรรมกำรออกก�ำลังกำยแทน เนือ่ งจำกมีผลวิจยั ออกมำว่ำ เด็กทีด่ ทู วี มี ำก มีโอกำสจะเติบโตมำเป็นผู้ใหญ่ที่ใช้เวลำอยู่หน้ำจอมำกกว่ำ 3 ชั่วโมงต่อวันถึง 42% เมื่อเทียบกับเด็กที่ดูทีวีน้อยกว่ำ ซึ่งผู้ใหญ่ที่ใช้เวลำหน้ำจอมำกกว่ำ 3 ชั่วโมงต่อวัน มีแนวโน้มทีจ่ ะมีสขุ ภำพอยูใ่ นระดับพอใช้ไปจนถึงย�ำ่ แย่ และมักจะน�ำไปสูภ่ ำวะอ้วนเกินไป ดอกเตอร์ มำร์ก เฮเมอร์ หนึ่งในกลุ่มนักวิจัยจำก The British Cohart Study กล่ำวว่ำ กำรด�ำเนินชีวติ ของผูป้ กครองส่งอิทธิพลต่อกำรด�ำเนินชีวติ ของเด็ก ถ้ำผูป้ กครองมีวถิ ชี วี ติ ที่กระตือรือร้น มักท�ำนู่นท�ำนี่ หรือออกก�ำลังกำยอยู่เสมอ จะส่งผลให้ชีวิตของเด็ก เป็นไปในทำงเดียวกัน จึงจ�ำเป็นอย่ำงมำกที่ผู้ใหญ่ควรเป็นแบบอย่ำงให้เด็กๆ ใกล้ตัว เพื่อเป็นหนทำงสู่สุขภำพที่แข็งแรงของเด็กเหล่ำนั้นเมื่อโตขึ้น ที่มา : www.bbc.com
HEART HEART TIPS
5 WAYS TO FIGHT SOCIAL JET LAG
เชื่อว่าหลายคนคงจะเคยประสบปัญหา Social Jet Lag หรืออาการที่ท�าให้ เราอ่อนเปลี้ยเพลียแรงจากการที่นาฬิกาชีวิตท�างานผิดเวลา ซึ่งสาเหตุหลักนั้น เกิดมาจากการใช้ชวี ติ อย่างไร้ระเบียบ เราจึงอยากน�าเคล็ดลับดีๆ ในการขจัดอาการ ดังกล่าวมาฝาก เพื่อให้คุณสามารถเรียกพลังชีวิตกลับคืนมาได้อย่างเต็มเปี่ยม อีกครั้ง
• ลดทอนสิง่ ไม่จา� เป็นในชีวติ ลง ในยุคสมัยนี้ ทุกคนย่อมมีหน้ำทีห่ ลำกหลำยให้ตอ้ งรับผิดชอบ ซึ่งหลำยครั้งก็ท�ำให้เรำต้องแบกรับภำระใน กำรท�ำงำนจนมำกเกินพอดี วิธีกำรที่ดีที่สุดคือ จัดระเบียบควำมส�ำคัญสิ่งต่ำงๆ ในชีวิต และ ลดทอนสิง่ ไม่จำ� เป็นออกไป จะท�ำให้สมดุลของ ชีวิตคุณดีขึ้น • ก�าหนดเวลานอนให้ชัดเจน กำรนอนคือ กำรพั ก ผ่ อ นที่ ส� ำ คั ญ และดี ที่ สุ ด ของมนุ ษ ย์ กำรที่ เ รำพั ก ผ่ อ นไม่ เ พี ย งพอเป็ น เหมื อ น กำรสะสมอำกำรเหนื่อยเอำไว้ อีกทั้งยังท�ำให้ เรำท�ำสิ่งต่ำงๆ ในชีวิตได้อย่ำงไม่เต็มที่อีกด้วย • หาเวลาออกไปข้างนอก เป็นวิธีกำรหนึ่งที่ เรียกควำมสดชื่นกลับมำให้คุณได้เป็นอย่ำงดี ลองออกไปเดินเล่นในสวนสำธำรณะ รับแสงอำทิตย์ และสูดอำกำศที่สดชื่น จะช่วยท�ำให้คุณรู้สึกดี มำกขึ้น • ออกก�าลังกายเป็นประจ�า แม้จะงำนยุง่ แค่ไหน แต่ขอให้คณ ุ บอกตัวเองไว้เลยว่ำ ต้องแบ่งเวลำ ออกไปขยับแข้งขยับขำเสียบ้ำง เพรำะวิธกี ำรนี้ จะเป็นเหมือนกำรฟิตซ้อมร่ำงกำยให้แข็งแรง ท�ำให้เรำสำมำรถรับมือกับสิ่งต่ำงๆ ได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพมำกกว่ำเดิม • หมัน่ สังเกตนาฬิกาชีวติ ตนเอง กำรทีจ่ ะรักษำ สมดุลชีวิต อันดับแรกเรำต้องรู้จักตัวเองให้ดี เสียก่อน ควรหมัน่ สังเกตพฤติกรรมในชีวติ ของ ตัวเอง ซึ่งเป็นวิธีกำรเฝ้ำระวังที่ท�ำให้คุณได้รู้ สมดุลของนำฬิกำชีวติ ของตัวเองได้เป็นอย่ำงดี ที่มา : www.telegraph.co.uk
ETCHING JEWELRY WORKSHOP
แนะน� ำ เวิ ร ์ ก ช็ อ ปส� ำ หรั บ ผู้มีใจรักในกำรท�ำเครื่องประดับ ทั้งหลำย กับ ‘Etching Jewelry’ เวิร์กช็อปกำรสร้ำงลวดลำยลงบน เครื่องประดับด้วยเทคนิคกำรกัดกรด ทีจ่ ดั ขึน้ โดยโลหะมีค่ำสตูดโิ อ ออฟ จิวเวลรี่อำท ซึ่งเวิร์กช็อป ดั ง กล่ ำ วผู ้ เ รี ย นจะได้ เ รี ย นรู ้ ตั้ ง แต่ ขั้ น พื้ น ฐำน เริ่ ม จำกกำรท� ำ ควำมรู ้ จั ก อุ ป กรณ์ เรี ย นรู ้ เทคนิคพื้นฐำน ไปจนถึงกำรได้ฝึก สร้ำงสรรค์ลวดลำยลงบนชิ้นงำน จริง สอนโดยอำจำรย์มืออำชีพ เ วิ ร ์ ก ช็ อ ป จ ะ จั ด ขึ้ น ใ น วั น ที่ 18 เมษำยนนี ้ ผูใ้ ดทีส่ นใจสำมำรถ ดู ข ้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ www. lohameka.com ค่ำสมัคร 1,500 บำท เท่ำนั้น
“ถ้าแกท�าสว่างแล้ว จะไปไหนมาไหนก็ได้ ถ้าแกยังมืดอยู่ จะไปไหนมาไหนสะดวกหรือ” หลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปัญโญ
นับแต่เทคโนโลยีดิจิตอลเริ่มเข้ามาสู่ชีวิตมนุษย์เรา พฤติกรรมการเสพสื่อบันเทิงของผู้คนก็เปลี่ยนไปจากหน้ามือเป็นหลังมือ ซึ่งหนึ่งในนักธุรกิจที่จับทิศทางของผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี ก็คงจะหนีไม่พ้น รีด เฮสติงส์ ผู้ก่อตั้งบริษัท Netflix เว็บไซต์วิดีโอสตรีมมิงอับดับ 1 ของสหรัฐอเมริกา เส้นทางชีวิตของเขาคนนี้จะเป็นอย่างไร เราจะพาคุณไปดูกัน Name : ÓReed Hastings Nationality : American Born : 8 October 1960 Age : 54 “Stone Age. Bronze Age. Iron Age. We define entire epics of humanity by the technology they use.” <<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<
ที่มา :
http://en.wikipedia.org/wiki/Reed_Hastings, http://forbes.com/profile/reed-hastings-1/, http://worawisut.com/2013/11/11/netflix-is-the-future-of-tv/, http://r70.wikidot.com/netflix-leading-with-data
• รีด เฮสติงส์ เกิดและเติบโตในบอสตัน เขำจบกำรศึกษำจำก โรงเรียน Buckingham Browne & Nichols หลังจำกจบมัธยมเขำใช้เวลำ อยูห่ ลำยปีเป็นพนักงำนขำยเครือ่ งดูดฝุน่ ก่อนจะเข้ำเรียนทีว่ ทิ ยำลัย โบดอยน์ ในวิชำเอกคณิตศำสตร์ หลังเรียนจบเขำได้เข้ำท�ำงำนใน หน่วยอำสำสมัครเพือ่ สันติภำพของอเมริกำ โดยเป็นครูอำสำสมัคร อยูท่ ปี่ ระเทศสวำซิแลนด์ถงึ 2 ปี และกลับมำศึกษำต่อทีม่ หำวิทยำลัย สแตนฟอร์ด ในสำขำวิทยำกำรคอมพิวเตอร์ • รีดได้เริ่มต้นงำนแรกของตัวเองที ่ Adaptive Technology โดยท�ำ หน้ำทีส่ ร้ำงเครือ่ งมือในกำรแก้ไขซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ หลังจำกนัน้ ไม่นำนเขำตัดสินใจออกมำตัง้ บริษทั เองขึน้ มำในชือ่ Pure Software ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตสินค้ำส�ำหรับช่ำงซ่อมซอฟต์แวร์ • ในปี ค.ศ. 1996 บริษทั Pure Software ของรีด ได้รวมกิจกำรเข้ำกับ Atria Software และในปีถัดมำ Rational Software ก็เข้ำซื้อกิจกำร ของ Pure Atria ในขณะที่รีดก�ำลังจะได้รับกำรแต่งตั้งให้เป็น Chief Technical Offfiificer ของทั้งสองบริษัท เขำขำยหุ้นและลำออกจำก
บริษัทที่ตัวเองสร้ำงเพรำะไม่ชอบกำรมีพิธีรีตองในบริษัท • ในปี ค.ศ. 1998 รีดได้ร่วมกับ มำร์ก แรนดอล์ฟ ก่อตั้งบริษัท Netflffllix บริษัทที่ให้บริกำรเช่ำแผ่นดีวีดีทำงไปรษณีย์ โดยไอเดีย มำจำกกำรที่รีดเช่ำภำพยนตร์เรื่อง Apollo 13 แล้วน�ำไปคืนไม่ทัน ธุรกิจของเขำเติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ จนในปี ค.ศ. 2007 เทคโนโลยีดจิ ติ อล ได้เริม่ เข้ำสูช่ วี ติ ผูค้ น รีดจึงเห็นช่องทำงในกำรพัฒนำและให้บริกำร ดูวิดีโอแบบสตรีมมิงผ่ำนอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก และ Netflffllix ได้กลำยเป็นผู้ให้บริกำรวิดีโอสตรีมมิงรำยใหญ่ที่สุดในโลก • นอกเหนือจำกด้ำนธุรกิจ รีดยังให้ควำมสนใจในด้ำนกำรศึกษำและ กำรกุศลอย่ำงมำก โดยเขำเป็นสมำชิกของบอร์ดกำรศึกษำของ แคลิฟอร์เนีย อีกทัง้ ยังให้กำรสนับสนุน Charter Schools และยังเป็น สมำชิกโครงกำร Giving Pledge อีกด้วย โดยปัจจุบนั รีดอำศัยอยูใ่ กล้ ชำยหำดซำนฟรำนซิสโก กับภรรยำและลูก 2 คน ซึ่งปัจจุบัน เขำมีทรัพย์สนิ ส่วนตัวอยู่ถงึ 1,000 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐฯ นับเป็น หนึง่ ในนักธุรกิจทีป่ ระสบควำมส�ำเร็จทีส่ ดุ คนหนึง่ ของโลก
ALL ABOUT BIZ
BIZ LIFE
BE PROUD OF YOUR WORK กําธร ศิลาอ่อน
Chief Supply Chain Offfiificer ของ บริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จ�ำกัด ผู้รับหน้าที่ดูแลกระบวนการผลิตตั้งแต่จัดหาวัตถุดิบ ตลอดจนสินค้า ที่จัดส่งถึงหน้าร้าน โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ทางด้านการเงิน กว่า 20 ปี บวกกับความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจในการดูแลพนักงานทุกคนอย่างทัว่ ถึง
• ในกระบวนการผลิตของเราใช้คนเยอะมาก ขณะที่ในต่างประเทศตอนนี้ ใช้เครือ่ งจักรแล้วเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ แต่เรายังเลือกใช้คนอยู่ เพราะเชือ่ ว่า การท�าอาหารหรือขนมถ้ามีคนมาเกีย่ วข้อง ยังไงก็อร่อยกว่า เพราะการปรุง อาหารไม่ใช่แค่เอาวัตถุดิบมาผสมกัน แต่ต้องใส่ใจลงไปด้วย โรงงานผลิต ของเราจึงให้ความรู้สึกเหมือนเป็นครัวขนาดใหญ่มากกว่าโรงงาน • การใช้เครื่องจักรเป็นการลดต้นทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งเราก็ก�าลังมองหา เครื่องจักรที่สามารถผ่อนแรงคนได้อยู่เหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่การแทนที่ เพราะสิ่งที่ส�าคัญกว่าต้นทุนก็คือคุณภาพของสินค้า เรายังอยากให้คน มาทานเค้กแล้วรู้สึกเหมือนเค้กก้อนนั้นท�าในครัวที่บ้านของเขาเอง • เอส แอนด์ พี เริ่มต้นมาจากร้านเล็กๆ ที่โรงเรียนสาธิตประสานมิตร ขายไอศกรีม แซนด์วิช หรือขนมเล็กๆ น้อยๆ ซึ่งครอบครัวเราท�าเป็น งานอดิเรก ต่อมาธุรกิจเริ่มเติบโตตอนท�าเค้กขาย แล้วสาขาก็เริ่มขยาย ตอนนัน้ เนือ่ งจากเคยมีเหตุการณ์ลกู ค้าวิง่ ตามรถเอส แอนด์ พี ในช่วงปีใหม่ เพราะเขาไม่รู้ว่าจะไปหาซื้อได้ที่ไหน • เราเรียนที่ต่างประเทศ จึงมีโอกาสเห็นเทรนด์ของขนมเมืองนอก และน�า เอาไอเดียแพ็กเกจเหล่านั้นมาปรับใช้กับของเรา จึงเห็นได้ว่าแพ็กเกจของ เอส แอนด์ พี จะสวย เพราะเรามองเห็นตลาดตรงนั้น แต่ที่สา� คัญมันต้อง มีสมดุลว่าลูกค้าจะซื้อเพราะแพ็กเกจหรือขนม จริงๆ แล้วมันต้องดีทั้งคู่ แต่ก็ต้องยอมรับเหมือนกันว่าของบางอย่าง เช่น กระป๋อง บางคนเขาก็ซื้อ เพราะแพ็กเกจ ซึ่งมันน�าไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย • ตอนแรกทีเ่ ข้ามาท�าหน้าทีต่ รงนี้ เราต้องเรียนรูเ้ ยอะมาก ต้องท�างานเหมือน เด็กฝึกงานทุกอย่าง ต้องหัดผสมแป้ง นวดแป้ง เพราะก่อนมาท�างานตรงนี้ เราท�าด้านการเงินมาก่อน เลยไม่ค่อยมีความรู้ด้านนี้เท่าไหร่นัก • เราเคยเป็นทีป่ รึกษาทางการเงินให้กบั บริษทั รถยนต์ ประสิทธิภาพของเขา ต้อง 100 เปอร์เซ็นต์ ต้องเก็บรายละเอียดมากๆ ชิ้นส่วนต่างๆ ต้องผลิต ให้ ไ ด้ ข นาดพอดีเ ป๊ ะ ซึ่ง เราก็น�า ความละเอีย ดอ่ อ นของเขามาปรับ ใช้ กับโรงงานของเรา โดยผสมผสานกับประสบการณ์ของคนที่ท�างานอยู่แล้ว เพื่อเสริมจุดเด่นและลดจุดด้อย • ถ้าถามว่าเราเป็นเจ้านายแบบไหน เราไม่ใช่คนที่เอาแต่สั่งอย่างเดียว จะเป็นการมานั่งพูดคุยกันมากกว่า ที่ส�าคัญคือ ต้องฟังเยอะๆ
• การท�าให้ลูกน้องทุกคนมีความสุขถือเป็นความท้าทายอย่างหนึ่ง เราต้อง พยายามหาวิธใี ห้เขาอยูก่ บั เรานานๆ ไม่ใช่กระโดดไปมา เพราะการเปลีย่ นงาน บ่อยๆ มีอยู่ในทุกอุตสาหกรรม • ความสามารถของพนักงาน หรือผลตอบแทนทีไ่ ด้รบั อาจจะวัดได้ แต่ความรูส้ กึ ของเขาที่มีต่อองค์กรวัดไม่ได้แน่ๆ มันเป็นสิ่งที่เราต้องช่วยกันสร้างขึ้นมา จึงเป็นเรื่องส�าคัญที่เราจะต้องใส่ใจความรู้สึกของพวกเขาเป็นพิเศษ • องค์กรเราเป็นเหมือนครอบครัวขนาดใหญ่ มีอะไรก็คุยกันตรงๆ ไม่ต้อง ไปคุ ย ลั บ หลั ง เพราะทุ ก คนรู ้ ห น้ า ที่ ข องตั ว เองและตั้ ง ใจท� า งานเพื่ อ จุดมุ่งหมายของบริษัท • สิง่ ส�าคัญมากในการท�างานคือ การคิดนอกกรอบ เพราะบางทีวธิ ที นี่ อกเหนือ จากแนวทางปกติอาจท�าให้เกิดสิ่งใหม่ๆ หรืออาจท�าให้สิ่งเดิมๆ ดีขึ้นได้ • ในการท�าธุรกิจ เราจะคุยกับคู่แข่งตลอด เพราะถือว่าเราเป็นส่วนหนึ่ง ของตลาดเหมือนๆ กัน อย่างเราจะคุยกับคู่แข่งทุกเจ้าว่ามีอะไรที่เราผลิต ให้เขาได้ไหม หรือมีอะไรที่เขาจะผลิตให้เราได้ไหม เพราะทุกคนก็ทา� งาน เพื่อองค์กรของตัวเองอยู่แล้ว • การท�าธุรกิจนั้นเรื่องสังคมก็ส�าคัญเช่นกัน อย่างตอนนี้เกือบทุกองค์กร จะมีการท�ากิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม หรือ CSR เพราะเริ่มตระหนักถึง ความส�าคัญของสิ่งแวดล้อมบนโลกมากขึ้น เพราะถ้าไม่มีโลก ก็ไม่มีธุรกิจ เหมือนกัน • ความส�าเร็จในชีวิตของเราคือ เราเกิดมามีผลงานที่เราภาคภูมิใจ ไม่ใช่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย อย่างเดียว แต่ตอ้ งมีบางสิง่ ทีท่ �าให้เกิดความเปลีย่ นแปลง ต่อโลก หรือต่อคนอื่นในทางที่ดีขึ้นด้วย ส่วนความส�าเร็จในเรื่องของ การท�างาน เราต้องมุ่งมั่นในสิ่งที่คิดว่าถูกต้องและตั้งใจท�ามันโดยไม่สนใจ ว่าจะต้องร�่ารวย หรือต้องเป็นมหาเศรษฐีเหมือน บิล เกตส์ หรือคนอื่นๆ • เราเพิ่งดูหนังเรื่อง Whiplash มีค�าพูดประโยคหนึ่งที่ฟังแล้วชอบมากคือ ‘There are no two words in the English language more harmful than ‘good job.’ ’ ซึ่งหมายความว่า ไม่มีสองค�าไหนในภาษาอังกฤษที่ท�าร้ายเรา ไปมากกว่าค�าว่า ‘ดีแล้ว’ เพราะสองค�านี้ท�าให้เราคิดว่าเราท�าได้ดีแล้ว และเราจะล้มเลิกความพยายามในที่สุด
BIZ IDEA
Lopeca
ปัจจุบนั ธุรกิจด้านการท่องเทีย่ วยังคงน่าจับตามอง อยู่เสมอ โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ที่กลายเป็นฟันเฟือง ในระบบเศรษฐกิจ เพราะพวกเขามักหาเวลาว่าง ออกไปท่องเทีย่ ว เพือ่ เก็บเกีย่ วประสบการณ์อยูเ่ สมอ Lopeca เป็นอีกธุรกิจหนึง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ให้แตกต่างจาก แนวธุรกิจเดิมๆ เพราะ Lopeca ท�าให้ทกุ คนสามารถ ท่องเที่ยวและมองเห็นทุกส่วนของโลกผ่านวิดีโอ ทางไกลจากสมาร์ ต โฟนในมื อ ของพวกเขา โดยแนวทางการท�างานของระบบนีค้ อื การมีทมี งาน ไกด์ทอ้ งถิน่ จ�านวนหนึง่ ในเมืองต่างๆ ซึง่ จะเปรียบเป็น ไกด์ส่วนตัวของคุณที่จะพาไปชมเมืองที่คุณสนใจ เริ่มจากสถานที่ที่พวกเขาคิดว่าเจ๋งในเมืองนั้นๆ
ตามด้วยร้านอาหาร หรือสวนสาธารณะบรรยากาศ เยีย่ ม หรือคุณจะเป็นฝ่ายเลือกสถานทีท่ คี่ ณ ุ สนใจก็ได้ โดยบริการนี้เหมาะส�าหรับคนที่อยากไปเที่ยวใน ประเทศต่างๆ ซึ่งอยากเห็นพื้นที่จริง หรือข้อมูลจริง ก่อนตัดสินใจไป หรืออาจเป็นคนที่อยากเรียนรู้ วัฒนธรรมของเมืองเหล่านั้นผ่านไกด์ท้องถิ่นของ Lopeca ซึ่งคุณสามารถใช้บริการ Lopeca ผ่านทาง เว็บไซต์ และเสียค่าบริการผ่านทางระบบจ่ายเงิน Paypal ระยะเวลาทัวร์ 5 นาที ราคา 4.90 ดอลลาร์ฯ และ 15 นาที ราคา 9.90 ดอลลาร์ฯ สามารถเชือ่ มต่อ กับไกด์ผา่ นทางสไกป์ หรือเฟซไทม์ เข้าไปดูไอเดียนี้ ได้ที่ www.lopeca.com
THE SPACE
HOME OF IDEA
เรื่อง : เอกพล บรรลือ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
เชือ่ ว่าหลายคนคงมีสถานทีท่ โี่ ปรดปรานอยูใ่ นใจ และมักจะแวะเวียนไปบ่อยๆ เมื่อจิตใจต้องการ ความผ่อนคลาย ทัง้ ร้านอาหารสุดโปรด ร้านหนังสือ ทีช่ นื่ ชอบ หรือสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ กั จะนึกถึงอยูเ่ สมอ ซึง่ หนึง่ ในสถานทีส่ ดุ โปรดในเวลานีข้ อง ‘โม’ - ฆนัท เปาวนพั น ธ์ มั ณ ฑนากรหนุ ่ ม เจ้ า ของบริ ษั ท ไอเดคคอน จ�ากัด ก็คอื โฮมออฟฟิศทีเ่ ขาสร้างสรรค์ ขึ้นมาด้วยความชอบส่วนตัว แถมยังเป็นแหล่ง เติมไอเดียและแรงบันดาลใจในการท�างานให้กบั เขา อีกด้วย “ก่อนหน้านีช้ วี ติ ท�างานและชีวติ ส่วนตัวของผม แยกออกจากกันชัดเจน คือต้องตืน่ แต่เช้าไปท�างาน ทีอ่ อฟฟิศ ท�างานเสร็จถึงจะได้กลับบ้าน ซึง่ การออกไป ท�างานนอกบ้านก็เหมือนการที่เราถูกตีกรอบอยู่ใน สถานทีท่ คี่ นอืน่ เขาจัดวางไว้แล้ว ไม่ใช่แบบทีเ่ ราชอบ ไม่ใช่มุมที่เราชอบ จะตกแต่งเพิ่มเติมตรงไหนก็ ไม่ได้ เพราะมันเป็นทีข่ องเขา พอตอนนีไ้ ด้ทา� ออฟฟิศ ของตัวเอง ก็เป็นการเปิดโอกาสให้เราสร้างสรรค์ พืน้ ทีท่ เี่ ราชอบได้อย่างเต็มทีโ่ ดยไม่ตอ้ งมีกรอบหรือ กฎเกณฑ์ใดๆ มาเป็นข้อจ�ากัด” โฮมออฟฟิศแห่งนี้เริ่มต้นจากห้องท�างานเล็กๆ ภายในบ้าน จนในทีส่ ดุ ก็ขยายพืน้ ทีอ่ อกไปจนกินพืน้ ที่ ของบ้านเกือบทั้งหลัง แม้งบประมาณจะมีจ�ากัด แต่ไอเดียในการตกแต่งกลับเปิดกว้างให้เจ้าของ สถานที่โชว์ฝีมือได้อย่างเต็มที่ “การตกแต่งออฟฟิศแห่งนีเ้ ริม่ ต้นจากงบประมาณ ที่มีอยู่อย่างจ�ากัด เพราะฉะนั้น เวลาจะท�าอะไร สักอย่างก็ต้องเลือกแล้วเลือกอีก ต้องคิดว่าเรา จะเน้นจุดไหนเป็นพิเศษ และจุดไหนที่สามารถ ประหยัดงบประมาณได้ อย่างเช่น ผนังทีก่ อ่ อิฐขึน้ มา โดยไม่ต้องฉาบ หรือเสาไม้ที่ผมน�าลังไม้เหลือใช้ ราคาถูกมาตกแต่ง ซึ่งเวลาออกแบบออฟฟิศของ ตัวเองต่างจากการออกแบบสถานทีใ่ ห้ลกู ค้า เพราะ เราชอบอะไรก็สามารถหยิบมาใส่ได้เลย ไม่ต้อง มีข้อจ�ากัด หรือโจทย์ในการออกแบบมากนัก” ว่ากันว่าสถานทีแ่ ต่ละแห่งสามารถสะท้อนตัวตน และบุคลิกของเจ้าของสถานทีน่ นั้ ๆ ได้ โฮมออฟฟิศ
แห่งนี้ก็เช่นกัน ซึ่งเจ้าของบ้านนิยามตัวตนของ สถานที่แห่งนี้ว่า “เป็นการผสมผสานความดิบและความเนี้ยบ เข้าด้วยกัน เหมือนคนที่แต่งตัวแบบเซอร์ๆ สวมใส่ กางเกงยีนส์ ไม่ตอ้ งมีพธิ รี ตี อง แต่ใส่ใจรายละเอียด ของทรงผม และสวมนาฬิ ก าเนี้ ย บๆ สั ก เรื อ น มันท�าให้เราไปได้ในทุกสถานที่ และมีความมั่นใจ ในแบบของเราเอง”
INSPIRED BY SPACE
ตัวแทนของความเซอร์และความเนีย้ บ ภายในสถานที่แห่งนี้ - ผนังอิฐและนาฬิกาแขวนผนัง สัตว์เลี้ยงประจ�าออฟฟิศ - นกเลิฟเบิร์ด ที่ส่งเสียงไม่ดังจนรบกวน เพือ่ นบ้าน แต่กฟ็ งั ได้เพลินๆ เวลาทีต่ อ้ งการ ไอเดีย ผลงานการออกแบบภายในทีภ่ าคภูมใิ จ - The Smoke House เขาใหญ่, ร้านหัวปลา ช่องนนทรี จูเนียร์ สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ ฯลฯ
LEE KUAN YEW 1923-2015 เรื่อง : กองบรรณาธิการ เมื่อใดก็ตามที่เราต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักไปอย่างไม่มีวันกลับ สิ่งหนึ่งที่ท�าได้ และควรจะท�า นอกเหนือ ไปจากการแสดงความอาลัยก็คอื การระลึกถึงสิง่ ทีค่ นคนนัน้ ฝากไว้ให้กบั โลกใบนี ้ ทัง้ ผลงาน การกระท�า และค�าพูด สะท้อนวิธีคิดที่เขาเคยเอ่ยเอาไว้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นมรดกล�้าค่าที่สามารถส่งต่อให้คนรุ่นต่อไปได้ ตราบนานเท่านาน ในวาระแห่งการจากไปของ ลี กวน ยู รัฐบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศสิงคโปร์ และอดีต รัฐมนตรีที่ปรึกษาของรัฐบาลสิงคโปร์อีกหลายสมัย เราจึงอยากชวนคุณมาร่วมกันระลึกถึงคุณูปการที่เขามีต่อ ประเทศสิงคโปร์ และท�าให้ประเทศบนเกาะเล็กๆ แห่งนี้กลายเป็นประเทศที่ยิ่งใหญ่ที่สุดประเทศหนึ่งในสังคมโลก เฉกเช่นเดียวกับคนธรรมดาทั่วๆ ไป ลี กวน ยู ไม่ได้เป็นคนที่สมบูรณ์พร้อมในทุกๆ ด้าน บางเรือ่ งทีเ่ ขาท�า อาจขัดกับความเชื่อและมุมมองของใครหลายคน บางนโยบายอาจไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องเมื่อวัดจากบรรทัดฐานของ ความเป็นสากล และน�ามาซึ่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์ที่มีพอๆ กับเสียงชืน่ ชม แต่ความเด็ดเดีย่ ว มุง่ มัน่ และการยึดถือ ในอุดมการณ์อนั ยิง่ ใหญ่ของเขา ก็พสิ จู น์ให้โลกได้เห็นแล้วว่าการเป็นผูน้ า� ทีน่ า่ ยกย่องไม่สามารถตัดสินผลงานกันได้ เพียงชั่วครู่ชั่วยาม หากแต่ ต ้ อ งรอคอยเวลาอั น เหมาะสมเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ ที่ ยั่ ง ยื น นั่ น จึ ง เป็ น เหตุ ผ ลว่ า ท�าไมชาวสิงคโปร์ถึงได้ยกย่องให้เขาเป็น ‘Founding Father of Modern Singapore’
10 TIMELINE UNFORGETTABLE WORDS OF LEE KUAN YEW “แม้ ว ่ า ผมจะนอนป่ ว ยอยู ่ บ น เตียง แม้ว่าคุณจะวางร่างผม ในหลุ ม ศพ ถ้ า ผมรู ้ สึ ก ว่ า มี บางสิ่งก�าลังผิดพลาด ผมก็จะลุกขึ้นมา” กล่าวสุนทรพจน์เนือ่ งในวันชาติสงิ คโปร์ ค.ศ. 1988
OF THE LIFE
จากหนังสือ The Wit & Wisdom of Lee Kuan Yew ตีพิมพ์ ในปี ค.ศ. 2013 “สิงคโปร์เป็นความกังวลของผม จนถึ ง วาระสุ ด ท้ า ยของชี วิ ต ท�าไมผมถึงจะไม่ตอ้ งการให้สงิ คโปร์ เดินหน้าไปสู่ความส�าเร็จต่อไปล่ะ?” ให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ Straits Times, 22 มกราคม 2011
“ผมมั ก จะโดนกล่ า วหาว่ า แทรกแซงชี วิ ต ส่ ว นตั ว ของ ประชาชน ใช่แล้ว ถ้าผมไม่ท�า “ผมคงไม่ พู ด หรอกว่ า ทุ ก สิ่ ง แบบนั้น เราจะไม่มีวันมาถึงจุดนี้ในวันนี้ ที่ ผ มเคยท� า คื อ สิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง และผมพูดได้แบบไม่กลัวค�าครหาเลยว่า แต่ทกุ สิง่ ทีผ่ มท�าก็เพือ่ เป้าประสงค์ ถ้าไม่ท�าแบบนั้น เราจะไม่ ได้มายืนตรงนี้ เศรษฐกิจของเราจะไม่พบกับความก้าวหน้า” ที่ยิ่งใหญ่” กล่าวสุนทรพจน์เนือ่ งในวันชาติสงิ คโปร์ กล่าวขณะให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ นิวยอร์กไทมส์, 13 กันยายน 2010 ค.ศ. 1986 “เรารู ้ ดี ว ่ า ถ้ า เราท� า เหมื อ น ประเทศเพื่อนบ้าน เราคงต้อง ตาย เพราะเราไม่มอี ะไรไปแข่งกับ สิ่งที่พวกเขามี เพราะฉะนั้น เราจึงต้อง สร้างบางสิ่งที่แตกต่างและดีกว่า อะไรที่ ไม่เสื่อมสลาย อะไรที่มีประสิทธิภาพ อะไรที่ สามารถพึ่งพาตัวเองได้ นั่นคือสิ่งที่ใช้ ได้” กล่าวขณะให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ นิวยอร์กไทมส์, 29 สิงหาคม 2007 “สือ่ ต่างชาติเคยพูดถึงพวกเรา ว่ า น่ า เบื่ อ แห้ ง แล้ ง ไม่ ส นุ ก ไม่ ช ่ า งคุ ย ถึ ง ตอนนี้ พ วกเขา จะลบค� า อธิ บ ายเหล่ า นั้ น ไปแล้ ว ก็ ต าม แต่ เ ราต้ อ งไม่ ล บเลื อ นจุ ด ยื น พื้ น ฐาน ของเราเอง เราต้องไม่หวัน่ กลัวต่อค�าโจมตี ที่ ถ าโถมเข้ า มา ถ้ า คุ ณ หวาดกลั ว มั น คุณก็อ่อนแอและเป็นคนโง่” จากหนังสือ Lee Kuan Yew : Hard Truths to Keep Singapore Going ตีพิมพ์ ในปี ค.ศ. 2011
“ผมไม่เคยรู้สึกกังวลจนเกินไป หรื อ หลงใหลได้ ป ลื้ ม ไปกั บ ผลส� า รวจความคิ ด เห็ น หรื อ ผลส� า รวจความนิ ย ม ผมคิ ด ว่ า ผู ้ น� า ที่เป็นแบบนั้นก็คือผู้น�าที่อ่อนแอ ถ้าคุณ มัวแต่กงั วลว่าความนิยมของคุณจะเพิม่ ขึน้ หรือลดลง เมื่อนั้นคุณก็ ไม่ใช่ผู้น�า” จากหนังสือ The Singapore Story : Memoirs of Lee Kuan Yew ตีพมิ พ์ ใน ปี 1998 “ระหว่ า งการเป็ น ที่ รั ก และ การเป็ น ที่ ห วาดกลั ว ผมเชื่ อ ม า เ ส ม อ ว ่ า ม า เ คี ย เ ว ล ลี (นักปรัชญาการเมืองชาวอิตาลี) พูดถูก ที่ว่า ถ้าไม่มีใครหวาดกลัวฉัน ฉันก็ ไร้ซึ่ง ความหมาย” จากหนังสือ The Singapore Story : Memoirs of Lee Kuan Yew ตีพมิ พ์ ใน ปี 1998
“เราจ� า เป็ น ต้ อ งคุ ม ขั ง ประชาชนโดยไม่มีการ“ ส� า ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ เ กิ ด ใ ห ม ่ สอบสวน ไม่ว่าพวกเขา ประชาธิป ไตยจะท�างาน และให้ ผลลั พ ธ์ ก็ ต ่ อ เมื่ อ มี รั ฐ บาล จะเป็นคอมมิวนิสต์ เป็นพวกคลัง่ ชาติ หรือ ที่ซื่อสัตย์และมีประสิทธิภาพเท่านั้น นั่น เป็นพวกเคร่งศาสนาแบบสุดขั้ว ถ้าคุณ หมายถึงประชาชนต้องฉลาดพอทีจ่ ะเลือก ไม่ท�าแบบนั้น ประเทศชาติก็คงถูกท�าลาย” รัฐบาลแบบนั้น จ�าไว้ว่าประชาชนต้องดี กล่าวสุนทรพจน์เนือ่ งในวันชาติสงิ คโปร์ ค.ศ. 1986 พอๆ กับรัฐบาลที่พวกเขาเลือกเข้ามา”
THE WORLD REACTION “ในฐานะของผู้น�าที่ยิ่งใหญ่และรัฐบุรุษที่มีความรักให้กับ ประชาชนอย่างแท้จริง เขาเป็นทีร่ จู้ กั ในฐานะของนักการเมือง ที่ทรงอิทธิพลในภูมิภาคเอเชีย ภายใต้การน�าของเขา ประเทศสิงคโปร์ประสบความส�าเร็จในการเปลี่ยนแปลง ตัวเองไปสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคและยืนหยัด ทัดเทียมกับประเทศพัฒนาแล้วของโลก” โจโค วิโดโด ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย
“ผมเสี ย ใจกั บ ข่ า วการจากไปของ คุณพ่อของคุณ และขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึง้ ต่อคุณและประชาชน ชาวสิ ง คโปร์ ความระลึ ก ถึ ง และ ค�าอธิฐานของผมจะอยูค่ กู่ บั คุณ” นาจิบ ราซะก์ นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ทวีตข้อความถึง ลี เซียน ลุง
LEE KUAN YEW’S
1923
ในโลก ก่อนจะมอบอ�านาจให้ โก๊ะ จ๊ก ตง ขึ้นเป็น นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 และเขาขึ้นเป็นรัฐมนตรี อาวุโสแทน
วันที ่ 16 กันยายน ลี กวน ยู ถือก�าเนิดในครอบครัว ทีร่ า�่ รวยในประเทศสิงคโปร์ โดยบรรพบุรษุ ของเขา เป็นคนจีนที่อพยพมาจากมณฑลกวางตุ้ง
1936-1942
เข้าเรียนที่สถาบันราฟเฟิลส์ และจบการศึกษา จากวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากที่ สุ ด ในสิ ง คโปร์ อย่างวิทยาลัยราฟเฟิลส์ในฐานะนักเรียนทุน
1943-1944
สมัครเข้าท�างานเป็นบรรณาธิการภาษาอังกฤษ ให้ กั บ หน่ ว ยงานโฆษณาชวนเชื่ อ ของญี่ ปุ ่ น ที่เรียกว่า Hobudu
1946
เดิ น ทางไปศึ ก ษาต่ อ ที่ วิ ท ยาลั ย เศรษฐศาสตร์ และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน (LSE)
1947
เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ าตรี ด ้ า นกฎหมาย ทีม่ หาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปีเดียวกันเขาแต่งงาน อย่างลับๆ กับ ควา เกี๊ยก ชู ที่เจอกันขณะเรียน กฎหมายอยู่ที่นั่น
1949
ส�าเร็จการศึกษาด้านกฎหมายที่มหาวิทยาลัย เคมบริดจ์
1950
เดินทางกลับประเทศสิงคโปร์และแต่งงานอย่างเป็น ทางการอีกครั้งกับ ควา เกี๊ยก ชู ก่อนเข้าท�างาน เป็นนักกฎหมายด้านสหภาพแรงงาน จนมีชอื่ เสียง เป็นที่รู้จักไปทั่วประเทศ
1959
ในฐานะผู้น�าของพรรค PAP ลี กวน ยู สามารถ เอาชนะการเลือกตั้งทั่วไป และขึ้นด�ารงต�าแหน่ง นายกรั ฐ มนตรี ค นแรกที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง โดยในขณะนั้นเขามีอายุเพียง 35 ปี ตรงกับช่วงที่ สิงคโปร์อยู่ภายใต้อาณานิคมของอังกฤษ
2004
ลี เซียน ลุง บุตรชายของ ลี กวน ยู ขึ้นรับต�าแหน่ง เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สามของสิงค์โปร์ โดยเขา ยังคงด�ารงต�าแหน่งรัฐมนตรีอาวุโส
สิงคโปร์ มาลายา ซาราวัก และซาบาห์ รวมตัวกัน เป็นสหพันธรัฐมาลายา ก่อนที่จะได้รับเอกราช จากอังกฤษ
1965 1967
ประชาคมอาเซียนก่อตั้งเป็นครั้งแรก โดยสิงคโปร์ ภายใต้การน�าของ ลี กวน ยู เป็นหนึ่งใน 5 ประเทศ ผู้ร่วมก่อตั้ง
1968
เปลีย่ นธนาคารเพือ่ การพัฒนาของสิงคโปร์ (DBS Group Holdings Ltd) ให้เข้าสู่รูปแบบบริษัท จนปัจจุบนั DBS Group Holdings Ltd กลายเป็น ธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
1975
อนุมัติให้มีการก่อสร้างสนามบินชางงีขึ้น ก่อนที่ ต่ อ มาสนามบิ น แห่ ง นี้ ไ ด้ ก ลายเป็ น ศู น ย์ ร วม ร่วมก่อตั้งพรรคกิจประชาชน (People's Action ของการบินที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก Party - PAP)
1954
1978
พบปะกั บ เติ้ ง เสี่ ย ว ผิ ง เป็ น ระยะเวลาสั้ น ๆ ซึ่ ง การพบกั น ครั้ ง นี้ ไ ด้ ส ่ ง ผลต่ อ แนวคิ ด ของ เติง้ เสีย่ ว ผิง ในการบริหารประเทศจีนเป็นอย่างมาก
2010
วันที่ 2 ตุลาคม นาง ควา เกี๊ยก ชู ภรรยาของ นายลี เสียชีวิตลง โดยมีอายุรวม 89 ปี
2011
ลาออกจากต�าแหน่งรัฐมนตรีอาวุโส หลังพรรค PAP ภายใต้ ก ารน� า ของลู ก ชายเขา เอาชนะ การเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปได้ ส� า เร็ จ ยุ ติ บ ทบาททาง การเมืองที่เขามีส่วนร่วมมากว่า 50 ปี ลงอย่าง เป็นทางการ
2013
นาย ลี กวน ยู ต้ อ งทนทรมานจากโรคหั ว ใจ เต้นผิดจังหวะเรื้อรัง จากการอุดตันของเส้นเลือด ที่ไปเลี้ยงสมอง
2015
วั น ที่ 5 กุ ม ภาพั น ธ์ ลี กวน ยู เข้ า รั ก ษาตั ว ที่ โรงพยาบาลด้วยอาการปอดบวมอย่างรุนแรง ก่อนที่ในวันที่ 23 มีนาคม เขาจะถึงแก่อสัญกรรม อย่างสงบในวัย 91 ปี ปิดฉากรัฐบุรุษคนส�าคัญ ของสิงคโปร์ ไปตลอดกาล
1990
บารัก โอบามา ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
“นาย ลี กวน ยู นัน้ ถือเป็นรัฐบุรษุ ทีส่ ง่ ผล ต่อภูมภิ าคเอเชียอย่างยิง่ ยวด และยังเป็น นักยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้งแนวคิด แบบตะวั น ออกและนานาชาติ ไ ด้ เ ป็ น อย่างดี” หง เหล่ย โฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีน
หลังแยกตัวออกมาจากสหพันธรัฐมาลายาในปี ค.ศ.1965 ลี กวน ยู มีวสิ ยั ทัศน์ กว้ า งไกลกว่ า ผู ้ น� าคนอื่ น ๆ โดยไม่ ส นใจ ความจริงที่ว่าสิงคโปร์ ไม่มีทั้งทรัพยากร และบุคลากร เขาเห็นโอกาสในการส่งออก สินค้าชั้นสูงเพื่อตอบสนองความต้องการ ความหรูหราฟูฟ ่ า่ ของประเทศทางตะวันตก และญีป่ นุ่ นอกจากนี ้ เขายังมุง่ เน้นการสร้าง รากฐานทางเศรษฐกิ จ ของสิ ง คโปร์ ใ ห้ แข็งแรง และทีข่ าดไม่ได้คอื การให้ความส�าคัญ กับการศึกษาเป็นอันดับแรกๆ THE POLICY
ลี กวน ยู วางนโยบายควบคุมการเพิ่ม ขยายของประชากร โดยรณรงค์เรื่องการวางแผนครอบครัว และเก็บเงินภาษีเพิม่ เติม จากบุคคลทีม่ ลี กู มากกว่า 2 คน ซึง่ เขาเชือ่ ว่า ครอบครัวที่ไม่พร้อมจะมอบการเลี้ยงดูที่ดี และให้การศึกษาที่เพียงพอแก่เด็กก็ ไม่ควร มีลกู มากกว่านัน้ มิฉะนัน้ แล้วทุกอย่างจะส่ง ผลย้อนกลับไปที่ตัวเด็กและประเทศชาติ THE GOVERNMENT
การลงโทษทางร่างกายเป็นสิง่ ที ่ ล ี กวน ยู ยึดถือ รวมไปถึงการกักขังผูว้ พ ิ ากษ์วจิ ารณ์ เขาโดยไม่ ใ ห้ ผ ่ า นการพิ จ ารณาคดี และ การจ�ากัดอ�านาจของสือ่ มวลชน โดยเชือ่ ว่า ประเทศที่ ก� า ลั ง พั ฒ นาจะต้ อ งเสี ย สละ เสรีภาพบางอย่าง เขาบอกว่าเสรีประชาธิปไตย แบบตะวันตกไม่สามารถน�ามาปรับใช้กับ ประเทศนี้ได้ หลายคนจึงมองว่าเขามีแนวคิด แบบคอมมิวนิสต์ แต่แนวคิดแบบนั้นก็สร้าง ความมัง่ คัง่ ให้กบั ประเทศสิงคโปร์อย่างมาก THE LAW
ลงจากต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยเขาถือได้ว่า เป็นนายกรัฐมนตรีที่ด�ารงต�าแหน่งยาวนานที่สุด
“มุมมองของ ลี กวน ยู ที่มีต่อพลวัตและ การบริ ห ารเศรษฐกิ จ ของภู มิ ภ าคเอเชี ย ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก ซึ่งไม่ว่าใคร ก็ตาม หรือรวมทั้งผู้น�าโลกในอดีต ต่างก็ ศึกษาข้อคิดของเขาเกี่ยวกับการปกครอง และพัฒนา”
อย่างที่รู้กันดีว่า Lee Kuan Yew ใช้ เวลาหลายทศวรรษเปลี่ยนแปลงประเทศ ทีก่ า� ลังพัฒนาให้เป็นหนึง่ ในประเทศทีเ่ จริญ ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ถ้าถามว่าอะไรคือ สิง่ ทีร่ ฐั บุรษุ คนนีท้ งิ้ ไว้ให้ชาวสิงคโปร์ เราคิด ว่ามรดกที่มีค่าเหล่านี้คือหนึ่งในค�าตอบ THE VISION
1963
สิ ง คโปร์ แ ยกตั ว ออกจากสหพั น ธรั ฐ มาลายา อย่างเป็นทางการ โดย ลี กวน ยู ได้อา่ นค�าประกาศ ทั้งน�้าตาผ่านช่องโทรทัศน์นานาชาติ
LEGACY
สิงคโปร์ ได้รบั สมญานามว่า ‘รัฐพีเ่ ลีย้ ง’ หรื อ ‘The Nanny State’ เนื่ อ งจากมี กฎเกณฑ์และข้อจ�ากัดมากมายที่ ลี กวน ยู ก� า หนดขึ้ น ทั้ ง ข้ อ จ� า กั ด ของเสรี ภ าพ ในการพูด การเคี้ยวหมากฝรั่ง การไม่ส่ง เสียงดังโหวกเหวก ข้อห้ามในการขีดเขียน ข้อความบนฝาผนัง หรือแม้แต่กระทั่งกฎ ในการกดชักโครก แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ กฎเหล่านัน้ หลอมรวมให้ ค นสิ ง คโปร์ มี ร ะเบี ย บและ ประพฤติตนดีขึ้นอย่างที่เห็นในทุกวันนี้
“เมื่อ ลี กวน ยู จากไป สิงคโปร์ต้อง สู ญ เสี ย ผู ้ น� า ที่ ค อยชี้ ท างให้ ป ระเทศ มาอย่างยาวนานตลอด 50 ปี นับตัง้ แต่ ได้รับเอกราชเมื่อปี 1965” เควิน รัดด์ นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย
THE SOCIAL IMPACT
แนวคิดของ ลี กวน ยู ไม่เพียงแต่สร้าง ความเปลีย่ นแปลงให้กบั เศรษฐกิจของสิงคโปร์ เท่านั้น แต่ยังมีอิทธิพลต่อการปกครอง ในประเทศจีนอีกด้วย โดยเฉพาะผู้น�าจีน เติง้ เสีย่ ว ผิง ทีน่ า� เอาความเข้มงวด แนวคิด แบบปฏิบัตินิยม และการให้ความส�าคัญ กับอ�านาจโดยชอบธรรมของ ลี กวน ยู ไปปรั บ ใช้ ใ นการปฏิ วั ติ ใ นประเทศจี น จน สร้ า งความเปลี่ ย นแปลงในเชิ ง เศรษฐกิ จ และสังคม ซงึ่ ส่งผลให้คนจีนหลายร้อยล้านคน หลุดพ้นจากภาวะความยากจน และสามารถ ผลักดันเศรษฐกิจไปในทางที่ดีขึ้นได้
อีเลคโทรลักซ์ เดินหน้าลุยตลาด ชูแนวคิด Hip ‘n Health
อีเลคโทรลักซ์ตอกย�้ำควำมเป็นผู้น�ำเแบรนด์ตลำดพรีเมียม ด้วยคอนเซ็ปต์ใหม่ Hip ’n Health ดันสินค้ำเพิ่มมูลค่ำด้วยคอนเซ็ปต์เสริมสุขภำพ เพื่อต้องกำรโฟกัสกลุ่มสินค้ำที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ที่ใส่ใจ สุขภำพ ตำมแนวคิด Hip ’n Health จึงจัดทัพปรับโฉมผลิตภัณฑ์ทั้งที่มีอยู่แล้วและผลิตภัณฑ์ใหม่ เติมจุดเด่นที่โดนใจ เพื่อวิถีกำรด�ำเนินชีวิตทันสมัย เน้นควำมเรียบง่ำยในกำรใช้ชีวิตประจ�ำวันที่บ้ำน ควบคู่ไปกับ กำรเอำใจใส่ดูแลสุขภำพเป็นส�ำคัญ โดยกลุ่มสินค้ำใหม่ที่ประสบควำมส�ำเร็จมำกในปีที่ผ่ำนมำคือ ตู้เย็น 2-3 ประตูรุ่นใหม่ และเครื่องปรับอำกำศ Viva Grande
2015 K-EDM in Songkran Festival
Headline Holdings ร่วมกับ BSI ผนึกก�ำลังสร้ำงปรำกฏกำรณ์ครัง้ ส�ำคัญ เนรมิตควำมสนุกเต็มขัน้ ในงำน ‘2015 K-EDM in Songkran Festival’ น�ำโดย DJ KOO ร่วมด้วย BNSKREW หรือ DJ Vandal Rock และอีกมำกมำย เนรมิตสระขนำดยักษ์เป็นโซน Pool Party และโซน Foam Party พร้อมสงครำมโฟมทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เต็มพืน้ ที่ มอเตอร์สปอร์ตแลนด์ (แดนเนรมิต) ในวันที ่ 13-14 เมษำยนนี้ ณ มอเตอร์สปอร์ตแลนด์ (แดนเนรมิต) จองบัตรได้แล้ววันนี้ที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์ทุกสำขำ
ใหม่! AXE Black เท่ ได้... ไม่ต้องเยอะ
บริษัท ยูนิลีเวอร์ไทยเทรดดิ้ง จ�ำกัด แนะน�ำ AXE Black น�้ำหอมกลิ่นใหม่จ ำก AXE ในแบบ มิ นิ ม อลสไตล์ ที่ มี ก ลิ่ น หอมเท่ แ บบพอดี กั บ คอนเซ็ ป ต์ ‘เท่ ไ ด้ … ไม่ ต ้ อ งเยอะ’ โดย Anne Gottlieb ผู ้ ส ร้ ำ งสรรค์ น�้ ำ หอมชั้ น น� ำ ระดั บ โลก วำงจ� ำ หน่ ำ ยแล้ ว วั น นี้ ขนำด 50 มล. รำคำ 74 บำท และขนำด 150 มล. รำคำ 145 บำท ที่ร้ำนค้ำ ชั้นน�ำทั่วประเทศ
กลุ่มปรารถนาดี คว้ารางวัล Thailand NGO Awards
อรพรรณ ปถมเล็ก ผู้จัดกำรมูลนิธิกลุ่มปรำรถนำดี หรือ Goodwill Group Foundation น�ำทีมเข้ำรับรำงวัลมูลนิธิดีเด่น หรือ Thailand NGO Awards 2014 รำงวัลที่เลือกเฟ้นมูลนิธิ ดีเด่นของแต่ละประเทศทั่วโลก เพื่อเป็นกำรส่งเสริมพันธกิจช่วยเหลือประชำคมโลกอย่ำง แท้จริง จำกมูลนิธ ิ Rockefeller และองค์กร The Resource Alliance
MAYA Music Festival 2015 สุดเจ๋ง! ดีเจระดับโลกร่วมผสานงานเสียง สุดพลังศิลป์ บนเวทีพญานาค!
บริษัท ฟีล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด จับมือกำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดเต็มควำมสนุกครั้งยิ่งใหญ่ในมหำกำพย์แห่งเทศกำลดนตรีระดับโลกผสมผสำนรำกศิลปะของไทยใน MAYA Music Festival จินตกำลแห่งเสียง อำรยะแห่งศิลป์ A Miracle of Art, Magical of Sound ครั้งแรกในประวัติศำสตร์เพื่อประกำศให้โลกรู้ว่ำศิลปะไทยนับพันปี สุดยิ่งใหญ่ ผ่ำนดนตรี EDM (Electronic Dance Music) ภำยใต้ธีม Electro-Naga มโหฬำรกับโครงสร้ำงเวทีพญำนำคควำมสูงกว่ำ 20 เมตร พร้อมโปรดักชันอลังกำรอย่ำงที่ไม่เคยมีใครท�ำมำก่อน ด้วยทุนสร้ำงเวทีกว่ำ 50 ล้ำนบำท และงบสเปเชียลเอฟเฟ็กต์อีกกว่ำ 200 ล้ำนบำท
กาแฟซูซูกิ เปิดตัวร้านกาแฟปรับปรุงใหม่ สาขาอาคารเวฟเพลส เพลินจิต
แบรนด์กำแฟคุณภำพ ซูซูกิ คอฟฟี่ (Suzuki Coffee) ขอเชิญคอกำแฟทุกท่ำนแวะชิมรสชำติกำแฟของร้ำนกำแฟซูซูก ิ สำขำอำคำรเวฟเพลส เพลินจิต ที่เพิ่งปรับปรุงใหม่ ณ บริเวณชั้น G วันธรรมดำเปิดเวลำ 07.00-19.30 น. วันเสำร์-อำทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์เปิดเวลำ 10.00-18.30 น. นอกจำกกำแฟแล้ว ยังมีแซนด์วิช ตับบด ขนมปังปิ้ง เค้ก และขนมหวำนหลำกหลำยชนิด ติดตำมควำมเคลื่อนไหวได้ที่เฟซบุ๊ก Suzuki Coffee Thailand
Sensodyne เปิดตัวน�้ายาบ้วนปากลดการเสียวฟัน!
ใหม่ล่ำสุด น�้ำยำบ้วนปำกเซ็นโซดำยน์ที่ช่วยให้คุณสำมำรถลดและป้องกันอำกำรเสียวฟัน พร้อมทั้งให้ลมหำยใจหอมสดชื่นยำวนำน ด้วยสำรส�ำคัญที่จะซอกซอนไปตำมท่อฟันที่เปิดออก เพือ่ ช่วยลดกำรเสียวฟันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และยังมีรสชำติอ่อนโยน ไม่แสบปำก หำซือ้ ได้แล้ว วันนี้ที่ร้ำนค้ำชั้นน�ำทั่วประเทศ
มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ จั ด เสวนา เชิ ง วิ ช าการ ‘ชี้ ช ะตาที วี ดิ จิ ต อลไทย... ใครรอด ใครร่วง ล้วงลึกทุกประเด็น’
คณะวำรสำรศำสตร์ แ ละสื่ อ สำรมวลชน มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ขอเชิญร่วมฟังกำรเสวนำ เชิงวิชำกำร ‘ชีช้ ะตำทีวดี จิ ติ อลไทย... ใครรอด ใครร่วง ล้วงลึกทุกประเด็น’ จำกมุมมองวิทยำกรแวดวง สือ่ สำรมวลชน-ผูป้ ระกอบกำร ปำฐกถำน�ำ ‘สภำพกำรณ์กจิ กำรโทรทัศน์ภำยใต้ทวี ดี จิ ติ อล’ โดย คุณฐำกร ตัณฑสิทธิ ์ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกิจกำรกระจำยเสียง กิจกำรโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคมแห่งชำติ (กสทช.) ในวันพุธที ่ 1 เมษำยน 2558 ตัง้ แต่เวลำ 12.0016.00 น. ณ ห้อง 407 ชัน้ 4 อำคำรธรรมศำสตร์ 60 ปี มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ท่ำพระจันทร์
THE WORDS
“The way to get started is to quit talking and begin doing.” หนทางที่จะเริ่มต้นได้คือ ต้องหยุดพูด และเริ่มลงมือท�า -Walt Disney
“The road to success is always under construction.” ถนนที่น�ำไปสู่ควำมส�ำเร็จ มักจะอยู่ระหว่ำง กำรซ่อมแซมเสมอ -Lily Tomlin
“Find a purpose “All great to serve, achievements not a lifestyle require time.” to live.” ทุกความสำาเร็จที่ยิ่งใหญ่ ล้วนแต่ต้องใช้เวลาด้วยกันทั้งสิ้น -Maya Angelou
หำจุดมุ่งหมำยเพื่อทุ่มเทชีวิตให้ ไม่ใช่หำรูปแบบกำรใช้ชีวิต เพื่อมีชีวิตอยู่ -Criss Jami
“People have the right to think and say whatever they want to. But you have the right not to take it to heart, and not to react.” ผู้คนมีสิทธิที่จะคิดและพูดอะไรก็ ได้ที่พวกเขำต้องกำร แต่คุณเองก็มีสิทธิที่จะไม่เอำมำใส่ใจและไม่ตอบโต้ ได้ -Phillip C. McGraw
“Sometimes we have to hit bottom before we figure out how to really enjoy life.”
“Most of what makes a book ‘good’ is that we are reading it at the right moment for us.”
-Michael Palmer
-Alain de Botton
บำงครั้งเรำก็ต้องตกต�่ำจนถึงที่สุด ก่อนที่เรำจะคิดหำวิธีใช้ชีวิต อย่ำงมีควำมสุขได้จริงๆ
ส่วนใหญ่แล้ว สิ่งที่ท�าให้หนังสือ เล่มหนึ่งเป็นหนังสือที่ดี ก็คือตอนที่เรา ก�าลังอ่านมันในช่วงเวลาที่ถูกที่ควร
THE THEGUEST GUEST
34
THE DEMOCRACY OF MUSIC
ท็อป : จุดเริม่ ต้นของฟังใจมาจาก... ช่วงหนึง่ ผมมีโอกาสได้ทา� งานในบริษทั สตาร์ทอัพทีอ่ เมริกา แล้วได้เห็นกลุ่มคนเล็กๆ ที่สามารถสร้างบางอย่างขึ้นมาได้ พอกลับมาผมก็เลยมองหาไอเดีย ที่จะสามารถอยู่กับมันได้นานๆ เลยย้อนกลับไปหาความชอบตอนมัธยมปลายของตัวเองที่ชอบ ฟังเพลงนอกกระแส แล้วรู้สึกว่าเพลงพวกนี้หาฟังยาก บวกกับตัวเองเคยใช้เว็บมิวสิกสตรีมมิง (music streaming) มาก่อน เลยเอาโมเดลแบบนั้นมาเป็นต้นแบบในการเริ่มต้นท�าฟังใจขึ้นมา พาย : มิวสิกสตรีมมิงเกิดขึ้นมาเพื่อ... สู้กับการดาวน์โหลดฟรี มันช่วยให้เกิดของฟรีหรือของ ราคาถูกมากๆ มาสู้ เป็นการหาเงินจากแหล่งที่ไม่ได้เงินให้กลับมาได้เงินอีกครั้ง แต่ปัญหาก็คือ มิวสิกสตรีมมิงส่วนใหญ่มักจะผูกอยู่กับค่ายใหญ่ๆ เสียเยอะ เม็ดเงินก็เลยไหลคืนค่ายใหญ่หมด พาย : ฟังใจต่างจากเว็บมิวสิกสตรีมมิงอืน่ ๆ ตรงที.่ .. พวกเราเริม่ จากความชอบเพลงนอกกระแส ซึง่ ตลาดของเพลงนอกกระแสมันเล็ก หลายคนอาจจะมองว่ามันเป็นวงการทีแ่ คบ แต่พวกเราเชือ่ ว่า คนเราฟังเพลงอะไรก็ได้ ไม่จ�าเป็นต้องมาจากค่ายใหญ่ พวกเราเลยอยากสร้างพื้นที่ให้ทุกเพลง สามารถฟังได้เท่ากัน เป็นเหมือนประชาธิปไตยทางดนตรี พาย : ประชาธิปไตยทางดนตรีคอื ... การสร้างพืน้ ทีร่ าบทีไ่ ม่วา่ ค่ายเล็กค่ายใหญ่กส็ ามารถอยูใ่ น พืน้ ทีเ่ ดียวกันได้ แล้วมอบอ�านาจให้ผฟู้ งั เป็นคนเลือกเอง ถ้าเป็นการฟังเพลงในวิทยุ หนึง่ นาทีจะมีเพลง ทีฟ่ งั ได้แค่เพลงเดียว แต่มวิ สิกสตรีมมิง ถ้ามีคนฟังหนึง่ ล้านคน ก็สามารถฟังได้ลา้ นเพลงพร้อมๆ กัน ฟังใจเปิดโอกาสให้เพลงใหม่ๆ ได้รบั การค้นพบมากขึน้ ท็อป : ประชาธิปไตยทางดนตรีมีความส�าคัญ เพราะว่า... เพลงไหนที่มีคนอยากฟังเยอะๆ มันก็ควรจะค้นพบได้โดยง่ายสิ ผมไม่เห็นด้วยกับการผูกขาดของค่ายใหญ่ ไม่เห็นต้องบอกเลยว่า มาจากค่ายอะไร ใครเป็นคนท�า เป็นเพลงเก่าหรือใหม่ พวกเราเลยอยากท�าให้ฟังใจมันเรียบง่าย ที่สุด ทุกวงมีโอกาสได้ฟัง มีโอกาสได้พบเจอ ความเป็นประชาธิปไตยทางดนตรีคือ การท�าให้เพลง ทุกเพลง ดนตรีทุกแนวมีโอกาสได้รับการค้นพบ โดยที่ไม่สนใจว่าวงไหนดังกว่าวงไหน ท็อป : ความตัง้ ใจนอกจากนัน้ ของพวกเราก็คอื .... การสร้างคอมมูนติ ขี้ องคนทีช่ อบดนตรีนอกกระแส ขึ้นมา เราอยากจะท�ากิจกรรมอะไรก็ตามที่ไม่ได้อยู่บนโลกออนไลน์อย่างเดียว มันเลยเกิดเป็น บล็อกข่าวสาร มีการจัดคอนเสิร์ต มีเวิร์กช็อปให้นักดนตรีรู้จักการแต่งเพลงได้ดีขึ้น โปรโมตตัวเอง ได้ดีขึ้น เข้าใจเรื่องลิขสิทธิ์ เข้าใจเรื่องการขายเพลงในโลกดิจิตอล ตรงนี้แหละที่เรามองว่ามันเป็น การสร้างฐานที่แข็งแรง เรามีความผูกพันกันในลักษณะ human touch มากกว่า ท็อป : มิวสิกสตรีมมิงเป็นเรื่องใหม่มากส�าหรับคนไทย ดังนั้น... นักดนตรี ผู้สนับสนุน หรือ แม้แต่คนฟังก็อาจไม่เข้าใจว่ามันมีมลู ค่าอะไรทีเ่ ขาจะต้องเอาเงินมาลงทุน สิง่ ทีพ่ วกเราต้องการคือ การสร้างความเป็นฟังใจขึ้นมาให้เหมือนกับสร้างจักรวาลที่มีเว็บไซต์ฟังใจเป็นหลัก ตอนนี้เรามี การจัดคอนเสิร์ต มีบล็อกบทความ มีอะไรหลายๆ อย่าง แต่ในอนาคตเราก็อาจจะต่อแขนขา ของเราออกไปอีก ซึ่งทั้งหมดพอมันเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน มันก็จะท�าให้คนเชื่อมั่นเรามากขึ้น ท็อป : สิง่ ทีค่ ดิ ว่าจะท�าให้วงการเพลงเดินหน้าไปได้คอื ... การให้ความใส่ใจเรือ่ งลิขสิทธิ์ ปัจจุบนั เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก บางคนที่โหลดเพลงแล้วเอามาแชร์ให้เพื่อนฟัง บางครั้งเขาไม่รู้ด้วยซ�า้ ว่ามันก�าลังท�าร้ายศิลปินอยู่ ทุกคนท�าจนมันกลายเป็นเรื่องธรรมดาไปแล้ว ถ้าตรงนี้ยังไม่สามารถ เปลี่ยนได้ ศิลปินก็จะเหนื่อยขึ้น แต่ถ้าทุกคนเข้าใจและยอมรับกันได้ ผมคิดว่าวงการเพลงไทย ยังไปได้อีกไกล พาย : เทคโนโลยีมีข้อดีและข้อเสียต่อวงการเพลง เช่น... ถ้าเป็นคนยุคก่อนเขาอาจคิดว่า เทคโนโลยีมนั ท�าให้ทกุ อย่างฟรีไปหมด มันเหมือนไม่มเี มืองหน้าด่านหรือคนคุมประตู เงินก็เลยไหล ออกไป แต่คนยุคใหม่เขาคิดว่ามันดีขึ้น จากที่เมื่อก่อนวงดนตรีเล็กๆ ไม่เคยได้รับการเหลียวแล จากค่ายเพลงใหญ่ๆ แต่พอมีเครือ่ งมือพวกนีข้ นึ้ มา มันท�าให้เขาสามารถเข้าถึงแฟนเพลงได้งา่ ยขึน้ แฟนเพลงก็ได้ฟังเพลงที่หลากหลายกว่าเดิม ท็อป : เทคโนโลยีเป็นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ สิง่ ทีต่ อ้ งท�าจริงๆ คือ... การปรับตัวมากกว่า ซึง่ จริงๆ วงการเพลงก็ทา� มาโดยตลอดอยูแ่ ล้ว ยกตัวอย่างเช่น วงการเพลงมีมลู ค่าจากซีดเี ท่านี้ พอมาถึงยุคหนึง่ ซีดีก็หดหายกลายมาเป็นการดาวน์โหลด 5 ปีที่ผ่านมา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นก็คือมิวสิกสตรีมมิง เริม่ เข้ามา วันหนึง่ มันอาจจะมีอะไรมาทดแทนก็ได้ แต่สงิ่ ทีผ่ มเชือ่ อย่างหนึง่ ก็คอื คนยังต้องการฟังเพลง ที่ดีอยู่ หูเรายังมีสองข้างเหมือนเดิม ยังไงเราก็อยากฟังดนตรีที่ดีเหมือนเดิม ท็อป : สิง่ ทีพ่ วกเราได้รบั กลับมาจากการท�าตรงนีค้ อื ... พวกเราท�าเพราะอยากฟังเพลงแบบนี้ พวกเราเชือ่ ว่ายูทบู ไม่ใช่ซอฟต์แวร์ทเี่ หมาะกับการฟังเพลง พวกเราอยากได้พนื้ ทีท่ เี่ หมาะกับการฟังเพลง จริงๆ ฟังใจมันตอบเราตรงนั้น แล้วมันก็น่าดีใจตรงที่มีคนบางคนบอกว่าชอบสิ่งที่พวกเราท�า มันเลยเป็นสิ่งที่หล่อเลี้ยงการท�างานของเรา คงมีใครหลายๆ คนที่กา� ลังหาอะไรแบบนี้อยู่ แล้วก็มี ไอ้บ้าพวกหนึ่งที่สร้างมันขึ้นมาพอดีละมั้ง (หัวเราะ)
เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์, ไอรดา รื่นภิรมย์ใจ ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี
มีคนกล่าวว่า ‘ดนตรี’ เป็นสิ่งส�าคัญที่เติมเต็มความรู้สึกของมนุษย์ ซึ่งก็คงจะจริงอยู่ไม่น้อย เพราะทุกช่วงเวลาในชีวิตก็มักมีบทเพลงใด บทเพลงหนึ่งเป็นเพื่อนเราอยู่เสมอ แต่น่าเสียดายที่วงการเพลงไทย ขาดแคลนสิ่งที่เรียกว่า ‘ประชาธิปไตยทางดนตรี’ ‘ท็อป’ - ศรัณย์ ภิญญรัตน์ และ ‘พาย’ - ปิยะพงษ์ หมืน่ ประเสริฐดี จึงได้บรรจงสร้าง เว็บไซต์มวิ สิกสตรีมมิงสัญชาติไทยอย่าง ‘ฟังใจ’ (www.fungjai.com) ให้เป็นพื้นที่ที่บทเพลงหลากหลายได้ส่งเสียงดังขึ้นกว่าเดิม
THEIR WAYS • ‘ท็อป’ - ศรัณย์ ภิญญรัตน์ ผู้ก่อตั้ง และ CEO เว็บไซต์ฟังใจ อดีตเขาคือกราฟิกดีไซเนอร์มืออาชีพ ซึ่งเคยมี ประสบการณ์การท�างานที่สหรัฐอเมริกาอยู่หลายปี จนเมื่อเขากลับประเทศไทย ก็ได้นา� ไอเดียจากการใช้ซอฟต์แวร์ ประเภทมิวสิกสตรีมมิงอย่าง Spotify มาเป็นต้นแบบ และพัฒนาเว็บไซต์ฟังใจขึ้นมา • ‘พาย’ - ปิยะพงษ์ หมืน่ ประเสริฐดี CMO และ Community Manager ของเว็บไซต์ฟงั ใจ เป็นอดีตนักดนตรีวง Cigarette Launcher ทีค่ ลุกคลีในวงการเพลงอิสระมานาน ก่อนหน้านีเ้ ขาเคยท�าโครงการ Indie Campffiirfi e พืน้ ทีอ่ อนไลน์ทเี่ ปิดโอกาส ให้นักดนตรีอิสระกับผู้ฟังได้ใกล้ชิดกันมากขึ้น • เว็บไซต์ฟงั ใจ (www.fungjai.com) เป็นเว็บไซต์มวิ สิกสตรีมมิงทีร่ วบรวมเพลงไทยทีม่ คี วามหลากหลายมาไว้ในทีเ่ ดียวกัน โดยเปิดโอกาสให้ผคู้ นได้ฟงั และรูจ้ กั เพลงใหม่อย่างถูกกฎหมาย ซึง่ จะมีการแบ่งรายได้จากค่าโฆษณาและค่าสมาชิก ให้ศิลปินอย่างเท่าเทียม นับเป็นเว็บไซต์คอมมูนิตี้ออนไลน์ที่สนับสนุนดนตรีอิสระของไทยอย่างแท้จริง