ISO 9002

Page 1

แนวทางการพัฒนาองค์ กรให้ เข้ าสู่ ระบบ ISO 9002 Moving organization toward ISO 9002 บทนา องค์กรทุกแห่งจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการพัฒนาเพื่อตอบสนองรับต่อการแข่งขันและ การเปลี่ยน-แปลงของโลกในยุคปัจจุบนั เพื่อให้พร้อมที่จะทาการแข่งขันได้ โดยเน้น กระบวนการพัฒนาคุณภาพอันเกิดจากสมมติฐานที่วา่ คุณภาพจะเกิดจากกระบวนการ ทางานที่ดีจะนามาซึ่งคุณภาพของสิ นค้าที่ดี และจะเกิดผลทาให้องค์กรมีคุณภาพ และนาไปสู่ คุณภาพของชีวติ ที่ตนอยู่ และสังคมนั้นๆ และหากสามารถพัฒนาคุณภาพได้ในระดับสากล แล้วก็จะสามารถขยายตลาดได้ทวั่ โลก บทความนี้เป็ นการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาองค์กรให้มีคุณภาพ โดยใช้วธิ ีการ ตามมาตรฐานสากล ( ISO 9002 ) ซึ่งเป็ นวิธีการหนึ่งที่ถูกนามาใช้อย่างแพร่ หลาย องค์กร จานวนมากของไทยส่ งสิ นค้าหรื อบริ การไปยังประเทศต่างๆ จึงต้องมีการพัฒนาองค์กรเข้าสู่ มาตรฐานดังกล่าว โดยใช้วธิ ีการศึกษาจากเอกสารและบทความที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็ นข้อสรุ ป และให้ผอู้ ่านได้นาเอาไปกาหนดกรอบในการพัฒนาองค์กรต่อไป


แนวคิด องค์กรที่มีขนาดใหญ่มากขึ้นหรื อมีผเู้ กี่ยวข้องมากขึ้น จาเป็ นที่จะต้องมีการพัฒนาให้ เข้าสู่ระบบมากขึ้น เพื่อให้การทางานเป็ นไปตามกระบวนการที่เหมาะสม สามารถตรวจสอบ ได้ การพัฒนาระบบการทางานจึงกลายเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญ ระบบ ISO 9000 ถือได้วา่ เป็ น ระบบหนึ่งที่มีชื่อเสี ยงและให้การยอมรับ อันเป็ นเครื่ องหมายที่จะยืนยันถึงคุณภาพของ องค์กร โดยแนวคิดสาคัญของ ISO 9000 คือ การจัดวางระบบการบริ หารเพื่อประกันคุณภาพ ที่จะสามารถตรวจสอบได้โดยผ่านระบบเอกสารอย่างชัดเจน โดยได้กาหนดเนื้อหาออกเป็ น 5 หลักได้แก่ ISO 9000 เป็ นแนวทางในการเลือก กาหนดกรอบ ประยุกต์ การนาไปใช้ให้เหมาะสม ISO 9001 เป็ นมาตรฐานที่เน้นการดูแลทั้งออกแบบและพัฒนา การผลิต การติดตั้งและ บริ การ ISO 9002 เป็ นมาตรฐานที่เน้นการกากับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้งและการบริ การ ISO 9003 เป็ นมาตรฐานที่เน้นการกากับดูแลเรื่ องการตรวจและการทดสอบครั้งสุ ดท้าย ISO 9004 เป็ นแนวทางในการบริ หารงานให้เกิดประสิ ทธิภาพในด้าน ข้อแนะนาใน การใช้มาตรฐาน ข้อแนะนาด้านธุรกิจบริ การ และ ข้อแนะนาด้านการผลิต เป็ นต้น ตามมาตรฐานข้างต้น จะเห็นได้วา่ มาตรฐานที่จะออกใบรับรองได้น้ นั มีเฉพาะ ISO 9001,9002,9003 เท่านั้นส่ วนที่เหลือเป็ นข้อแนะนาและแนวทางการดาเนินการให้มี ประสิ ทธิภาพ สาหรับมาตรฐาน ISO 9002 เป็ นมาตรฐานที่ใช้สาหรับการสร้างระบบ คุณภาพ ที่มุ่งเน้นไปยังกิจกรรมที่เป็ นการตรวจสอบการทางานในทุกขั้นตอน โดยกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ ISO 9002 จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การผลิต การติดตั้ง และการให้บริ การ ซึ่ งเป็ น องค์กรที่มีอยูใ่ นประเทศไทยเป็ นจานวนมาก ที่กาลังพัฒนาเพื่อให้เข้าสู่มาตรฐานดังกล่าว เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับและสามารถแข่งขันได้


การพัฒนาระบบ ISO 9002 ให้ ประสบความสาเร็จ การพัฒนาองค์กรด้วยระบบ ISO 9002 มีหลายขั้นตอน และมีขอ้ ควรระวังรวมถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่จะทาให้ประสบความสาเร็จอย่างมากมาย ทั้งนี้ผเู ้ ขียนได้นาข้อสรุ ปจากปั จจัย ทั้งหมดมาพิจารณารวมกันเพื่อเป็ นแนวทางให้ผทู ้ ี่จะพัฒนาสามารถใช้เป็ นแนวทางในการ ดาเนินการได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ผูบ้ ริ หารระดับสูงต้องให้การสนับสนุนอย่างจริ งจัง ผูบ้ ริ หารระดับสู งจะต้องเข้าใจ ว่าหน้าที่ที่สาคัญประการหนึ่งนอกเหนือจากการดาเนินงานตามหน้าที่หลักแล้วคือ หน้าที่ใน ด้านการพัฒนาคุณภาพขององค์กร และนาองค์กรสู่ระบบมาตรฐานด้วย 2. เริ่ มปรึ กษากับบริ ษทั จดทะเบียน ( Certify body ) โดยติดต่อกรอกข้อมูลองค์กรเพื่อ ขอข้อมูลจากแต่ละแห่งมาเปรี ยบเทียบกัน และตัดสิ นใจเลือกบริ ษทั ที่จะเข้ามาดาเนินการ ตรวจสอบ และเริ่ มปรึ กษาการดาเนินงานตั้งแต่ตน้ เพื่อให้สามารถดาเนินการไปในทิศทาง เดียวกันตั้งแต่ตน้ จากการศึกษาข้อมูลพบว่า ความสาเร็ จ 20 %มาจากที่ปรึ กษา ส่ วนอีก 80% มาจากการดาเนินงานขององค์กรเอง จึงอย่าฝากความหวังทั้งหมดกับที่ปรึ กษา แต่ตอ้ งให้ ความสาคัญกับการทางานขององค์กรเป็ นสาคัญ 3. วางแผนเพื่อจัดทาโครงการ (Proposal) อย่างชัดเจน ครบถ้วนในทุกประเด็นตาม มาตรฐาน ISO ที่กาหนด โดยคานึงถึงพนักงานทุกกลุ่ม ขั้นตอนต่างๆ ปั จจัยที่จะต้อง ระมัดระวัง และงานหลักสาคัญ ๆ ทั้งนี้โครงการจะต้องมีการนาเสนออย่างเป็ นระบบ ชัดเจน และมีความเป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ โดยคานึงถึงทรัพยากรและระยะเวลา ประกอบด้วย การวางโครงการที่ดีจะเป็ นการกาหนดกรอบเวลาที่สาคัญในการติดตามและ การนาองค์กรเข้าสู่ระบบประกันคุณภาพต่อไป 4. ประกาศนโยบายคุณภาพต่อพนักงาน การประกาศนโยบายคุณภาพเป็ นสิ่ งจาเป็ น อย่างยิง่ เป็ นการให้ความสาคัญที่เกี่ยวกับคุณภาพเป็ นประการสาคัญ ต้องมีการเน้นที่กลุ่ม


ลูกค้า การให้ความสาคัญของพนักงานในการพัฒนาระบบ และการทากิจกรรมที่เกี่ยวกับ คุณภาพอย่างต่อเนื่อง 5. แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการฝ่ ายต่าง ๆ หลังจากการประกาศนโยบายคุณภาพ แล้ว องค์กรจะต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการ ( Steering Committee ) และ มี คณะกรรมการดาเนินการด้านต่าง ๆ ที่จะติดตามการดาเนินงานด้านต่าง ๆ อย่างชัดเจน เช่น คณะดาเนินงานฝ่ ายต่างๆ และ คณะกรรมการปฏิบตั ิ -งานฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ทั้งนี้ตอ้ งอยู่ ภายใต้การดาเนินงานของคณะดาเนินงานชุดใหญ่และที่ปรึ กษาโครงการ โดยควรจะ ประกอบด้วยผูบ้ งั คับบัญชาระดับสูงและมีการประชุมอย่างสม่าเสมอ มีการจดบันทึกอย่าง เป็ นทางการ และอาจจะเปลี่ยนบทบาทไปเป็ นคณะกรรมการในการดูแลและควบคุมคุณภาพ ต่อไปเมื่อได้รับ ISO 9002 แล้ว สิ่ งที่ไม่ควรทาคือ แต่งตั้งคณะกรรมการที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ ไม่มีเวลาเพียงพอ หรื อไม่ติดตามงาน จะทาให้โครงการล้มเหลวโดยง่าย 6. คัดเลือกผูบ้ ริ หารที่จะเข้าไปดูแลอย่างเต็มที่ ตัวแทนฝ่ ายบริ หารที่เรี ยกว่า Quality Management Representative ( QMR ) มีความสาคัญมาก อาจจะต้องเป็ นเบอร์ 1 หรื อเบอร์ 2 ขององค์กร มีความสามารถในการผลักดันการเปลี่ยนแปลง มีเวลามากพอในการดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งมีผแู้ ทนจากทุกกลุ่มที่เหมาะสม ในการปรับเปลี่ยนองค์กรด้วย 7. ให้มีการอบรมแก่พนักงานทุกคนในทุกระดับ โดยเริ่ มจากการอบรมพนักงาน ระดับสูงก่อนและลงไปยังพนักงานระดับล่าง ซึ่ งอาจจะต้องดาเนินการได้ในหลายรู ปแบบ เช่น การจัดหลักสูตร การสัมมนา การบรรยาย การนาเสนอโดยวิดิทศั น์ การฝึ กอบรมในการ ทางาน หรื อกิจกรรมอื่น ๆ รวมทั้งควรที่จะมีการทบทวนและให้ความรู ้ในเรื่ องมาตรฐาน อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ ต้องไม่ลืมว่าต้องทาความเข้าใจในสาระสาคัญและข้อกาหนด ISO อย่างถูกต้อง ควรให้การอบรมและดาเนินการไปในทิศทางเดียวกันอย่างต่อเนื่อง 8. กาหนดโครงสร้างและระบบเอกสารที่ดี ระบบเอกสารจะต้องมีการกาหนดกรอบ อย่างชัดเจน และประการสาคัญคือ เอกสารเหล่านี้จะต้องนาไปสู่การปฏิบตั ิในทุกขั้นตอน


ซึ่งไม่ได้มีเพียงเอกสารเท่านั้น การเขียนจะต้องเป็ นเอกสารที่เขียนจากการปฏิบตั ิจริ งภายใต้ กรอบของ ISO ทั้งนี้ตอ้ งคานึงอยูเ่ สมอว่าจะต้องครบวงจรการเขียนเอกสารอันประกอบด้วย การเขียนเอกสารที่สามารถนาไปปฏิบตั ิได้ และมีการนามาทบทวนและนาไปปรับปรุ งแก้ไข ใหม่ เพื่อให้เอกสารทันสมัยอยูเ่ สมอ 9. แต่งตั้งทีมงานขึ้นมาติดตามการดาเนินการด้านต่างๆ เพื่อให้เป็ นไปตามแนวทางและ ข้อกาหนดที่คณะกรรมการชุดต่างๆ กาหนด โดยต้องทาการคัดเลือกผูท้ ี่จะทาการตรวจและ ประสานงานจากผูท้ ี่มีใจกว้าง เข้าใจปัญหา ใช้การชี้แนะ ไม่ใช่การสัง่ การหรื อเน้นการ ควบคุม แต่เน้นการติดตามที่มุ่งเน้นการพัฒนามิใช่การใช้อานาจแต่เพียงอย่างเดียว 10. เน้นการติดต่อสื่ อสารแบบ 2 ทางร่ วมกับพนักงานทัว่ ทั้งองค์กร การดาเนินการจะ ประสบความสาเร็จ คือ จะต้องมีการสื่ อสารอย่างต่อเนื่อง ให้ขอ้ มูลทั้งทางตรง ทางอ้อม เช่น เอกสาร บอร์ด ข่าวตามสาย หรื อ มีการตอบปั ญหาข้อข้องใจของผูเ้ กี่ยวข้อง เช่น ทาไมต้อง ทา ทาแล้วได้อะไร จะกระทบต่อความมัน่ คงของตนเองหรื อไม่ โดยเน้นการมีส่วนร่ วมของ ทุกองค์กรอย่างใกล้ชิด 11. จัดระบบการทบทวนการจัดการทัว่ ทั้งองค์กร รวมทั้งมีการทบทวนเอกสารต่าง ๆ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกันอย่างเป็ นระบบ โดยมีกาหนดระยะเวลาทบทวนที่ชดั เจน 12. ทาการตรวจสอบ( Audit ) และติดตามคุณภาพภายใน การตรวจสอบการ ดาเนินการภายในเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ เพราะมัน่ ใจว่ามีการปฎิบตั ิดา้ นคุณภาพอย่างมี ประสิ ทธิภาพ โดยมีการวางแผน การตรวจสอบ และกาหนดมาตรฐานอย่างชัดเจน รวมทั้ง ตรวจสอบกิจกรรมเหล่านี้วา่ ยังอยูม่ ีสภาพ “ Under control” หรื ออยูใ่ นสภาพ “Out of control” หรื อไม่ หากพบข้อบกพร่ องจะต้องรายงานเพื่อแก้ไขทันที 13. ประเมินตนเองเบื้องต้นอยูเ่ สมอว่าได้มีการปฏิบตั ิงานตามข้อกาหนดที่ได้กาหนด ไว้หรื อไม่ หรื อเอกสารใดที่ไม่สามารถปฏิบตั ิได้ให้ทาการแก้ไข และมีการทบทวนการ ปฏิบตั ิอยูเ่ ป็ นประจาตามแผนและกาหนดเวลาอย่างสม่าเสมอ


14. ติดตามและประเมินผลเพื่อผ่านการรับรอง ควรมีการแต่งตั้งทีมงานติดตามและ ประเมินผลก่อน เพื่อให้มนั่ ใจว่าจะสามารถผ่านการรับรองได้หากจะทาการตรวจประเมิน จริ ง โดยกาหนดระยะเวลาที่ชดั เจนตั้งแต่การตรวจภายในและเตรี ยมการตรวจจริ ง 15 .ตรวจประเมินเพื่อผ่านการรับรอง คือ การดาเนินการตรวจประเมินโดยบุคคลที่ 3 ว่าได้มีการปฏิบตั ิตามระบบที่ได้วางไว้หรื อไม่ หากมีขอ้ บกพร่ องก็จะได้ดาเนินการแก้ไข ต่อไป 16. กาหนดให้มีแผนการติดตามการปฏิบตั ิ เพื่อการรักษาคุณภาพการประเมินอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ตอ้ งมีความพยายาม ร่ วมมือในการปฏิบตั ิงานตามข้อกาหนด และวิธีการที่ กาหนดด้วย 17. รักษาระบบเพื่อศึกษามาตรฐานและกาหนดมาตรฐานในแต่ละด้าน รวมถึงมีการ ติดตามอยูเ่ สมอว่าได้มีการปฏิบตั ิหรื อไม่ การรักษามาตรฐานเป็ นกระบวนการที่ยากลาบาก สาหรับคนไทย เพราะจะทาตามใจตนเอง แต่ทุกฝ่ ายตั้งแต่ฝ่ายบริ หารจนถึงพนักงานจะต้อง รักษามาตรฐานไว้ เพราะจะมีการตรวจการดาเนินการจากผูร้ ับรอง 2 ครั้งต่อปี และมีการ ตรวจติดตามใหม่ ทุกๆ 3 ปี เพื่อเป็ นการทาให้มนั่ ใจว่าได้รักษาไว้ซ่ ึ งคุณภาพที่กาหนดไว้ อย่างสม่าเสมอ หากไม่ปฏิบตั ิตามก็จะถูกลบชื่อออกหรื อถูกยึดใบรับรองคืน


ปัญหาและอุปสรรค การพัฒนาองค์กรเข้าสู่ระบบ ISO มีอุปสรรคจานวนมาก เพราะเป็ นการเปลี่ยนการ ทางานเข้าสู่ระบบที่ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน ปั ญหาที่พบสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ 1. การขาดความรู้และความเข้าใจที่ไม่ดีพอ เพราะเรื่ อง ISO เป็ นเรื่ องใหม่ ดังนั้น อาจจะเกิดความท้อแท้ในการจัดทาระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO หรื อกลับไปทางานใน สภาพเดิมซึ่งตนคุน้ เคยมากกว่า 2. เกิดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เมื่อพนักงานทางานไปสักระยะหนึ่งจะเกิดความ ชานาญในหน้าที่น้ นั อย่างมากจนยากที่จะทาให้การเปลี่ยนแปลง ตามคาที่กล่าวว่า “Please don’t change anything” ซึ่งหากไม่สามารถสร้างกระแสการเปลี่ยนแปลงได้กจ็ ะเกิดลักษณะ ของการไม่ยอมรับ หรื อการขาดความรู้ที่เพียงพอจะทาให้เกิดการปฏิบตั ิที่ไม่สอดคล้องกับ ข้อกาหนดตามมาตรฐานของ ISO ดังนั้น การมีส่วนร่ วมและดาเนินการไปพร้อม ๆ กันจึงมี ความจาเป็ น รวมถึงมีการเปลี่ยนทัศนคติและการให้ขอ้ มูลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ลดการ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงลง 3. ความไม่จริ งจังของผูบ้ ริ หาร หรื ออาจจะเกิดจากไม่มีความเข้าใจเพียงพอและมอบ งานให้ผอู้ ื่นทาแทน หรื อขาดการติดตามแก้ไขให้มีการปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง หรื ออาจทา เพียงให้ผา่ นได้ใบรับรองคุณภาพเท่านั้น 4. การขาดความร่ วมมือ ถึงแม้ทุกฝ่ ายอาจจะเห็นด้วยในประโยชน์ที่ได้รับ แต่หาก ทุกฝ่ ายนิ่งเฉยแล้ว จะทาให้ความสาเร็จเกิดขึ้นไม่ได้เลย ความร่ วมมือในการทา ISO ถือว่าจะต้องมีในระดับ สู งมาก เพราะจะต้องร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมเขียนเอกสาร ร่ วมปฏิบตั ิ ทบทวนและพัฒนา หากขาดความร่ วมมือย่อมทาให้การเข้าสู่ ระบบทาได้ยากยิง่ 5. การขาดวินยั ในการปฏิบตั ิตามแนวทางที่ได้ทาไว้ นิสยั คนไทยมักจะเคยชินกับการ ปฏิบตั ิแบบง่ายๆไม่เป็ นระบบ ไม่มีวนิ ยั ในตนเอง ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้เป็ นหัวใจของการดาเนินงาน


ตามระบบคุณภาพเป็ นอย่างยิง่ ดังนั้นจึงจาเป็ นที่ควรจะมีการสร้างวินยั ให้เกิดขึ้นกับบุคลากร อันจะผลักดันให้สามารถพัฒนาคุณภาพไปได้ง่ายกว่า 6. การดาเนินการในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม เพราะช่วงเวลาของการนาไปปฏิบตั ิควรจะ สอดคล้องกับระยะเวลาในการปรับตัว เช่น มีเวลาว่างในการปรับเปลี่ยนระบบ ไม่ใช่ช่วง เร่ งด่วนขององค์กร หากดาเนินการในเวลาที่ไม่เหมาะสม โอกาสที่จะประสบความสาเร็ จก็ จะยิง่ ยากขึ้น 7. ต้องแก้ไขวัฒนธรรมองค์กรเดิมๆ ทิ้งไป เช่น วัฒนธรรมไม่รับผิดชอบ ไม่เป็ นไร ทางานตามอาเภอใจ การไม่สร้างระบบ ยึดตัวบุคคล ฯลฯ วัฒนธรรมที่ขดั แย้งต่อ กระบวนการคุณภาพ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการแก้ไข เพื่อสร้างกรอบวัฒนธรรมที่พร้อม จะรับต่อการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง


ผลทีจ่ ะได้ รับ หากองค์กรสามารถที่จะดาเนินการจนกระทัง่ ผ่านการรับรองคุณภาพไปแล้ว และ สามารถที่จะรักษาคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดได้จะเกิดผลดีต่อหลายฝ่ ายคือ 1.ประโยชน์ ต่อองค์ กร 1.1 เกิดการยอมรับในคุณภาพ เพราะมาตรฐาน ISO ย่อมเป็ นการประกันว่าใน กระบวนการดาเนินการทุกขั้นตอนมีการดาเนินการอย่างถูกต้อง มีระบบ ขั้นตอน และใน ที่สุดจะแสดงว่า สิ นค้าหรื อบริ การในขั้นสุ ดท้ายมีคุณภาพด้วย 1.2 เกิดภาพลักษณ์ที่ดี องค์กรที่ได้รับการรับรองคุณภาพจะได้รับการยอมรับว่ามี มาตรฐานสูง จึงจะเกิดการยอมรับในสิ นค้าหรื อบริ การได้ง่าย 1.3 ต้นทุนการดาเนินการที่ต่าลงเพราะองค์กรมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น หากมี การดาเนินการตามมาตรฐานแล้วจะเห็นได้วา่ จะลดการสู ญเสี ย ความผิดพลาด หรื อผิด ขั้นตอน หรื อการตัดสิ นใจที่มีระบบมีเอกสารควบคุม จึงจะทาให้ตน้ ทุนการดาเนินการ ต่าลงถึงแม้จะมีค่าใช้จ่ายในการปรับปรุ งการดาเนินการที่มาก แต่เป็ นการลงทุนระยะยาว เพื่อให้เกิดความประหยัดในระยะยาว 1.4 กระบวนการบริ หารงานมีระบบ จากเดิมที่อาจจะมีวธิ ีการทางานแต่ไม่สามารถ ตรวจสอบได้ ทาให้การบริ หารองค์กรมีประสิ ทธิภาพและสามารถตรวจสอบได้ 2. ประโยชน์ ต่อพนักงาน 2.1 พนักงานจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานมากขึ้น เพราะการทางานมี ระบบ ชัดเจน มีคู่มือ สามารถปฏิบตั ิงานแทนกันได้ หรื อตรวจสอบการทางานได้ทุก ขั้นตอน


2.2พนักงานมีส่วนร่ วมในการทางานด้านคุณภาพมากขึ้น เพราะจะต้องดาเนินการ ตามระบบและขั้นตอนที่กาหนดไว้ 2.3 พนักงานมีการทางานที่เป็ นระบบมากขึ้น เป็ นผลโดยตรงตามข้อกาหนดของ ISO ที่จะต้องปฏิบตั ิงานที่เป็ นระบบในทุกกระบวนการที่เข้าสู่ระบบ 2.4 พนักงานมีจิตสานึกด้านคุณภาพที่เป็ นผลจากการดาเนินการที่เป็ นระบบอย่าง ต่อเนื่องยาว นาน จะทาให้เกิดการพฤติกรรมอันนาไปสู่การสร้างจิตสานึกด้านคุณภาพในการทางาน ทุกขั้นตอน 2.5 พนักงานจะร่ วมกันทางานเป็ นทีมมากขึ้น การทางานโดยปกติมกั จะมีการ ดาเนินการไปตามลักษณะเฉพาะหน้าที่ แต่เมื่อผ่านการรับรองคุณภาพแล้วจะต้อง ดาเนินการไปตามกระบวนการที่กาหนด ทาให้ตอ้ งมีความสัมพันธ์กบั บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการของตนเอง ดังนั้นการพัฒนาการทางานเป็ นทีมจึงเกิดขึ้น 3. ประโยชน์ ต่อลูกค้ า 3.1 มีความมัน่ ใจในสิ นค้าและบริ การขององค์กรมากขึ้น เพราะเมื่อองค์กรได้รับ การรับรอง ISO ผลผลิตที่เกิดขึ้นย่อมมัน่ ใจในคุณภาพได้ 3.2 สามารถอ้างอิงจากองค์กรที่รับประกันคุณภาพได้ ทาให้เกิดการยอมรับใน สิ นค้าและบริ การมากขึ้น 3.3 ลูกค้าประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยไม่จาเป็ นต้องตรวจสอบว่าสิ นค้าได้รับ มาตรฐานหรื อไม่ เพราะเมื่อได้รับการประกันคุณภาพก็ยอ่ มถือได้วา่ มีคุณภาพในระดับที่ มัน่ ใจระดับหนึ่ง


สรุป การนาระบบประกันคุณภาพมาใช้ถือได้วา่ เป็ นปรัชญาสาคัญที่จะนาไปสู่การประกัน คุณภาพแบบครบวงจร ด้วยเทคนิคของ ISO 9002 จะสร้างความตระหนักในด้านคุณภาพแก่ พนักงานทุกคน ความสาเร็จในการพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานสากลนั้นจะต้องคานึงถึงการ พัฒนาองค์กร ปัจจัยรอบด้าน รวมทั้งสภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน และนากล ยุทธที่เน้นการเปลี่ยนแปลงองค์กร การจูงใจ การเปลี่ยนพฤติกรรม และการเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์กร โดยเน้นการมีส่วนร่ วม การให้ความรู ้ อันจะทาให้ระบบคุณภาพอยู่ อย่างถาวร ไม่ใช่ใบรับรองคุณภาพ ISO 9002 เป็ นเพียงเฟอร์นิเจอร์อีกชิ้นหนึ่งขององค์กร เท่านั้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.