บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

Page 1

บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ สาระการเรียนรู้ 1. สภาพแวดล้อมในการเขียนแบบ 2. ระบบคอร์ออดิเนท 3. การวัดมุม 4. การอ้างอิงตาแหน่งและมุม 5. กาหนดขอบเขตการเขียนภาพ 6. การตั้งค่าระยะห่างจุดกริดและสแน็ป 7. การเรียกใช้คาสั่งต่างๆ 8. การใช้ออฟเจกท์สแน็ปและออโต้สแน็ป 9. การใช้โพล่าแทร็กกิ้ง 10. การใช้ปุ่มต่างๆบนคีย์บอร์ด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธิบายสภาพแวดล้อมในการเขียนแบบได้ 2. อธิบายระบบคอร์ออดิเนทได้ 3. บอกวิธีการวัดมุมได้ 4. อธิบายการอ้างอิงตาแหน่งและมุมได้ 5. ทาการกาหนดขอบเขตการเขียนภาพได้ 6. ตั้งค่าระยะห่างจุดกริดและสแน็ปได้ 7. เรียกใช้คาสั่งต่างๆได้ 8. ใช้ออฟเจกท์สแน็ปและออโต้สแน็ปได้ 9. ใช้โพล่าแทร็กกิ้งและตั้งค่าได้ 10. ใช้ปุ่มต่างๆบนคีย์บอร์ดได้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 30


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.1 สภาพแวดล้อมในการเขียนแบบ การเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยโปรแกรม AutoCAD นั้น เราจะเขียนแบบบนพื้นที่โมเดลสเปส ด้วยขนาดจริ ง(Full scale) หรื อมารตราส่ วน 1:1 เมื่อเขียนแบบเสร็ จแล้ว ถึงจะเข้าไปในโหมดเลเอาท์ เปเปอร์สเปสโดยคลิกที่แท็ป หรื อ หรื อนาไฟล์ตน้ แบบเทมเพล็ท (Template) ซึ่งบรรจุตารางรายการแบบ(Title block)ที่จดั ทาไว้แล้วเข้ามาใช้งาน จากนั้นจึงจัดหน้ากระดาษและสร้าง ช่องมอง(View Port)เพื่อกาหนดมาตราส่ วนระหว่างแบบแปลนในโมเดลสเปสและกระดาษในเลเอาท์ เปเปอร์สเปส เพื่อเตรี ยมพร้อมในการพิมพ์ลงบนกระดาษจริ ง ซึ่งไฟล์แบบแปลนในโมเดลสเปส สามารถ ที่จะสร้างกระดาษเลเอาท์หลายๆขนาดได้ ไฟล์แบบแปลนในโมเดลสเปสและเลเอาท์ต่าง ๆ ในเปเปอร์สเปสจะถูกบันทึกลงในไฟล์ที่มีส่วน ขยายเป็ น .dwg ส่ วนไฟล์ตน้ แบบ(Template) ที่บรรจุตารางรายการแบบหรื อไตเติ้ลบล็อกขนาดต่างๆ เช่น A4,A3,,A2,A1,A0 จะมีส่วนขยายเป็ น .dwt จะถูกเก็บไว้ในโฟลเดอร์ C:\Documents and Settings \Username\Local Settings\Application\Data\Autodesk\AutoCAD 2007\R17.0\enu\Template เพื่อที่จะสามารถนาเทมเพลทไปใช้ในแบบแปลนใด ๆได้ ตามที่ตอ้ งการ ในการเริ่ มต้นเขียนแบบ จะเขียนชิ้นงานด้วยขนาดที่วดั ได้จริ ง ในพื้นที่โมเดลสเปสเสมอ โดย กาหนดให้ 1 หน่วยบนพื้นที่วาดภาพเท่ากับ 1 มิลลิเมตรหรื อ 1 เซนติเมตรหรื อ 1 เมตรได้โดยไม่ตอ้ ง กาหนดหน่วยวัดมาก่อน ตัวอย่าง เช่น ต้องการเขียนสัญลักษณ์ Load Panel(LP) ที่พิมพ์ออกมาแล้วมี ขนาด 15x10 มิลลิเมตร เราสามารถเขียนสัญลักษณ์ Load Panel(LP) ขนาด 15 x10 หน่วย บนพื้นที่วาด ภาพในโมเดลสเปสได้ทนั ที ใน AutoCAD 2007 มีทางเลือกหลายทาง ในการกาหนดน้ าหนักหรื อความหนาของเส้นและ รู ปแบบในการพิมพ์ แต่วธิ ี ที่นิยมใช้งานมากที่สุด คือ การใช้รหัสสี ควบคุมคุณสมบัติต่างๆของเส้น และใช้ Line weight ควบคุมความหนาเส้นที่จะพิมพ์ลงกระดาษ การควบคุมความหนาเส้นนิยมกระทา ผ่านเลเยอร์ ต้ งั แต่ตอนต้นของการเขียนแบบ เพราะสะดวกในการแก้ไขเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ยงั สามารถ มองเห็นความแตกต่างของความหนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพในเบื้องต้นได้ 2.1.1 การกาหนดรู ปแบบในการพิมพ์ ( Plot Style)เพื่อควบคุมคุณสมบัติและความหนาเส้น สามารถแบ่งออกเป็ น 2 แบบใหญ่ๆ ดังนี้ 1) ใช้ รหัสสี เป็ นตัวควบคุม (Color dependent plot style) ใช้รหัสสี เป็ นตัวควบคุม คุณสมบัติเส้นที่ตอ้ งการพิมพ์ อาทิ เช่น ความหนาเส้น (Line weight)รู ปแบบเส้น (Line type) รู ปแบบ ปลายเส้น (Line end) รู ปแบบการเชื่อมต่อเส้น (Line join) และลวดลาย (Pattern)ที่จะระบายลงบนเส้น ความเข้มของเม็ดสี (Screening) หากเลือกใช้วธิ ี น้ ีรหัสสี ของวัตถุจะเป็ นตัวกาหนดคุณสมบัติต่างๆของ เส้นที่ได้กล่าวมาแล้ว

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 31


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2) การตั้งชื่อสไตล์ (Named plot style) มีการตั้งชื่อสไตล์เพื่อกาหนดคุณสมบัติต่างๆ ของเส้นอาทิ เช่น สี ของเส้น ความเข้มของเม็ดสี (Screening) รู ปแบบเส้น (Line type) ความหนาเส้น (Line weight) รู ปแบบปลายเส้น (Line end) รู ปแบบการเชื่อมต่อเส้น (Line join) และลวดลาย(Pattern) เป็ นต้น หากใช้ชื่อสไตล์ควบคุมการพิมพ์ (Named plot style) รหัสสี ของเส้นจะไม่มีผลต่อความหนาและ คุณสมบัติอื่นๆของเส้น สามารถที่จะสร้างสไตล์ควบคุมการพิมพ์ โดยตั้งชื่อให้กบั วัตถุหรื อกลุ่มของวัตถุ โดยไม่ตอ้ งคานึงถึงรหัสสี ของวัตถุได้ ซึ่ งสามารถที่จะเขียนเส้นที่มีรหัสสี เดียวกัน แต่สามารถพิมพ์ออก ให้ปรากฏมีความหนาเส้นที่แตกต่างกันได้

ไม่ว่าจะเลือกใช้วิธีการพิมพ์แบบแปลนโดยใช้รหัสสีควบคุมการพิมพ์หรือใช้ชื่อสไตล์เป็นตัวควบคุมคุณสมบัติ เส้น สามารถที่จะกาหนดความหนาเส้น (Object line weight) เช่น 0.13, 0.18,0.25,0.35,0.5,0.7 หรืออื่นๆให้กับเส้นที่วาดผ่านเลเยอร์ได้ ซึ่งการกาหนดความหนาเส้นแบบนี้จะทาให้มองเห็นความหนาของ เส้นบนพื้นที่วาดภาพเช่นเดียวกันกับที่จะปรากฏบนเครื่องพิมพ์

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 32


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.1.2 พืน้ ทีใ่ นการเขียนแบบ แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนใหญ่ๆคือ 1) โมเดลสเปส เป็ นพื้นที่ที่ใช้เขียนแบบ เช่น บ้าน เครื่ องจักร วงจรไฟฟ้ า เป็ นต้น เมื่อเข้าสู่ โปรแกรจะพบ UCS Icon (อยูใ่ นวงกลม) ดังรู ปที่ 2.1 ที่มุมล่างด้านซ้ายของพื้นที่วาดภาพ ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายบอกให้ทราบว่ากาลังอยูใ่ น พื้นที่วาดภาพ ในโหมดโมเดลสเปส พร้อมที่ จะเริ่ มเขียนชิ้นงาน ตัวอักษร คาอธิ บายและ เส้นบอกขนาด แต่ความสู งของตัวอักษรจะต้อง มีการคานวณและแก้ไขความสู งของตัวอักษร และความสู งของเส้นบอกขนาด หลังจากที่ รู ปที่ 2.1 Model space กาหนดสเกลให้กบั วิวพอร์ ทได้แน่นอนแล้วอีกครั้งหนึ่ง 2) เปเปอร์ สเปส เป็ นพื้นที่ที่ใช้สาหรับการจัดกระดาษ(Layout) เลือกขนาดกระดาษ เลือกไฟล์ตน้ แบบบรรจุตารางรายการแบบ (Title block) สร้างวิวพอร์ ทเพื่อกาหนดมาตราส่ วนระหว่าง ชิ้นงานในโมเดลสเปสกับกระดาษในเปเปอร์ สเปส ตั้งค่าพารามิเตอร์ ควบคุมการพิมพ์อื่นๆ เป็ นต้นเพื่อ เตรี ยมไว้สาหรับพิมพ์แบบลงบนกระดาษจริ ง เมื่ออยูใ่ น เลเอาท์ใด ๆในเปเปอร์สเปส UCS Iconจะปรากฏ เป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มุมซ้ายล่างของพื้นที่ วาดภาพ ดังรู ปที่ 2.2 โดยที่โปรแกรมกาหนด กระดาษเลเอาท์มาให้แล้ว คือ และ แต่เราสามารถสร้างเลเอาท์เพิ่ม เข้าไปอีกได้ นอกจากนี้ยงั สามารถจะเขียนวัตถุ คาอธิบายแบบแปลนและเขียนเส้นบอกขนาด เข้าไปในแต่ละเลเอาท์ได้โดยตรงโดยที่ไม่จาเป็ น ต้องทราบมาตราส่ วนของวิวพอร์ ท สามารถกาหนด ความสู งจริ งให้กบั ตัวอักษรและให้กบั เส้นบอกขนาดได้โดยตรง รู ปที่ 2.2 Paper Space

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 33


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 3) ฟลอสติง้ โมเดลสเปส จัดว่าเป็ นพื้นที่โมเดลสเปส เพราะต่างกัน เพียงแต่มองทะลุผา่ น กรอบวิวพอร์ ทเท่านั้น ในพื้นที่เลเอาท์เปเปอร์ สเปส สามารถเข้าสู่ ฟลอสติ้งโมเดลสเปส ได้โดยเลื่อนเมาส์เข้าไป บริ เวณกรอบวิวพอร์ท(สี่ เหลี่ยมด้านในสุ ด) แล้วดับเบิ้ลคลิก จะสังเกตเห็นว่าเส้นกรอบ กรอบสี ดา หนาทึบ วิวพอร์ทจะปรากฏเป็ นเส้นสี ดาหนาทึบ เคอร์เซอร์จะสามารถเลื่อนไปมาได้ภายใน ขอบเขตของวิวพอร์ ทเท่านั้น ส่ วน UCS ไอคอน เป็ นรู ปแกน X และแกน Y เช่นเดียวกับที่อยู่ ในโมเดลสเปส แต่เป็ นสี น้ าเงิน ดังรู ปที่ 2.3 เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมชิ้นงานที่อยูใ่ น รู ปที่ 2.3 Floating model space โมเดลสเปสได้จาก ฟลอสติง้ โมเดลสเปสได้เลย โดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลากลับไปที่โมเดลสเปส 2.2 ระบบโคออร์ดิเนท (Coordinate System)

รู ปที่ 2.4 ระบบคอร์ออร์ดิเนทคาร์ทิเชียน

การอ้างอิงตาแหน่งบนพื้นที่วาดภาพของ AutoCAD ใช้ระบบโคออร์ดิเนทคาร์ทิเชียน (Cartesian Coordinate System) ระบบโคออร์ ดิเนทแบบนี้มีจุด กาเนิด( Origin)อยูท่ ี่ (0,0)จากจุดกาเนิดเคลื่อนที่ไป ทางขวาตามแนวแกน+ X จะมีค่าเพิ่มขึ้น (1,2,3,4,...) จากจุดกาเนิดเคลื่อนที่ข้ ึนด้านบนตามแนวแกน+ Yจะ มีค่าเพิม่ ขึ้น(1,2,3,4,...) จากจุดกาเนิดเคลื่อนที่ไป ทางซ้าย ตามแนวแกน-Xจะมีค่าลดลง (-1,-2,-3,-4,.. จากจุดกาเนิดเคลื่อนที่ไปทางซ้ายตามแนวแกน-Y

จะมีค่าลดลง(-1,-2,-3,-4,...) ดังรู ปที่ 2.4 จากรู ปที่ 2.5 จุดโคออร์ดิเนท (7,9) หมายถึง จุดที่ มีระยะห่างจากจุดกาเนิด (0,0) ไปทางขวา 7 หน่วย ตามแนวแกน +X และมีระยะห่างจากจุดกาเนิด (0,0) ขึ้นไปทางด้านบน 9 หน่วยตามแนวแกน+Y

รู ปที่ 2.5 จุดคอร์ ออร์ ดิเนท ตาแหน่ง 7,9

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 34


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.3 การวัดมุม (Polar Angle Measurement) การวัดมุมใน AutoCAD เริ่ มต้นอ้างอิงจากแกน X เสมอ (0 องศาจะอยูใ่ นแกนเดียวกันกับแกน X) หากวัดมุมจากแกน X หมุนทวนเข็มนาฬิกา ค่ามุมจะเพิ่มขึ้นเป็ นค่าบวก ดังรู ปที่ 2.6 (ซ้าย) หากวัดมุมจากแกน X หมุนตามเข็ม นาฬิกา ค่ามุมจะลดลงเป็ นค่าลบ ดังรู ปที่ 2.6 (ขวา) รู ปที่ 2.6 ทิศทางของมุม 2.4 การอ้างอิงตาแหน่งและมุม (Position and Angle Reference) ในการเขียนแบบด้วย AutoCAD จาเป็ นต้องกาหนดตาแหน่งและมุมบนพื้นที่วาดภาพ คาสั่งที่ใช้ ในการเขียนวัตถุ เกือบทุกคาสั่ง ต้องกาหนดตาแหน่งของเคอร์ เซอร์ บนพื้นที่วาดภาพ เช่น คาสั่ง LINE, CIRCLE, RECTANG เป็ นต้น ในการกาหนดตาแหน่งและมุม จาเป็ นที่จะต้องรู ้จกั วิธีการกาหนดตาแหน่ง ด้วยการพิมพ์ค่าโคออร์ ดิเนท เนื่องจากเป็ นพื้นฐานในการเขียนแบบด้วย AutoCAD ระบบโคออร์ดิเนท ที่ใช้ในการกาหนดตาแหน่งและมุมในการเขียนแบบ 2 มิติ มีอยู่ 3 แบบ คือ 1) ระบบพิกดั แบบสั มบูรณ์ (Absolute Coordinate) การบอกตาแหน่งแบบนี้อา้ งอิงค่าที่อ่านได้ จากแกน X และแกน Y โดยตรง จากรู ปที่ 2.7 แสดงให้เห็นการเขียนเส้นตรง โดยที่ไม่ทราบความยาว ของเส้นตรงแต่ละช่วง แต่ทราบตาแหน่งอ้างอิงจุดโคออร์ ดิเนทแต่ละจุดบนพื้นที่วาดภาพ โดยทัว่ ไปมักจะใช้แอบโซลุทโคออร์ ดิเนท ในการ กาหนดตาแหน่งจุดเริ่ มต้น ในการเขียนเส้นเท่านั้น เนื่องจากในทางปฏิบตั ิ มักจะทราบความยาวเส้น แต่ละช่วง และอาจมีเงื่อนไขอื่นที่บงั คับในการ กาหนดความยาวเส้นอยูแ่ ล้ว เช่น การเขียนเส้นจาก วัตถุชิ้นหนึ่ง ไปยังอีกวัตถุอีกชิ้นหนึ่ง ก็สามารถใช้ เครื่ องมือช่วยเหลือในการเขียนภาพได้ โดยไม่ตอ้ ง กาหนดพิกดั ให้ยงุ่ ยาก รู ปที่ 2.7 ระบบพิกดั แบบสัมบูรณ์

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 35


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2) ระบบพิกดั แบบสั มพันธ์ (Relative coordinate) การบอกตาแหน่งแบบนี้จะอ้างอิง ตาแหน่งจากจุดที่กาหนดไปแล้ว โดยจะถือว่าจุด ที่แล้วเป็ นจุดกาเนิด 0,0 ชัว่ คราวในการกาหนด ตาแหน่งแบบรี เลย์ทีฟโคออร์ ดิเนท จะต้องใช้ เครื่ องหมาย @ นาหน้าเสมอ จากรู ปที่ 2. 8 สมมุติวา่ ได้ใช้คาสั่ง LINE กาหนดตาแหน่งจุดเริ่ มต้นแบบ แอบโซลุทที่จุด X,Y = 1,1 และต้องการเขียนเส้นห่าง รู ปที่ 2.8ระบบคอร์ออร์ดิเนทแบบรี เลทีฟ จากจุดดังกล่าวไปทางขวา 2 หน่วย และขึ้นด้านบน 3 หน่วย สามารถใช้ @2,3 เพื่อกาหนดตาแหน่งแบบ รู ปที่ 2.8 ระบบคอร์ออร์ดิเนทแบบรี เลทีฟ รี เลทีฟได้ หากจะเขียนเส้นต่อไปทางซ้าย 6 หน่วย พร้อมกับลงด้านล่างไป 2 หน่วย สามารถใช้ @ -6,-2 และถ้าจะเขียนเส้นต่อไปทาง ซ้าย 1 หน่วย พร้อม กับลงด้านล่าง4 หน่วย สามารถใช้ @ -1,-4 สังเกตุวา่ ค่าที่มีเครื่ องหมาย @ นาหน้า อ้างอิงจากจุดที่ผา่ นมา หรื อจุดสุ ดท้ายเท่านั้น 3) ระบบพิกดั แบบสั มพันธ์ เชิ งมุม (Relative polar coordinate) การอ้างอิงตาแหน่งแบบนี้จะ อาศัยค่าระยะทางและมุมซึ่ งมีระยะสัมพันธ์กบั จุดสุ ดท้าย จากรู ปที่ 2.9 สมมติวา่ ได้ใช้คาสั่ง LINE เขียน เส้นตรง และได้กาหนดจุดแรกของเส้นตรง เป็ นแบบแอบโซลุท โดยมีตาแหน่งอยูท่ ี่ 1,1 ถ้าหากต้องการ เขียนเส้นตรงไปทางขวาในแนวแกน X ยาว 3 หน่วย สามารถป้ อนค่า @ 3<0 จะได้เส้นตรงที่มีความ ยาว 3 หน่วย โดยนับจากจุด 1,1 และทามุม 0 องศากับแนวแกน X โดยที่เครื่ องหมาย @จะบอกให้ โปรแกรมทราบว่าตัวเลขที่ป้อนหลังเครื่ องหมายนี้ เป็ นค่ามุมที่อา้ งอิงจากแกน X หากต้องการเขียน เส้นตรงต่อไปตามแนวแกน Y ยาว 3 หน่วย ก็ป้อนค่า เป็ น @3<90 และถ้าต้องการเขียนเส้นตรงไปตาม แกน X ด้านซ้าย 5 หน่วย ก็ป้อนค่า @5<180 ซึ่งการ อ้างอิงความยาวของเส้นตรงส่ วนนี้วดั ระยะและมุม จากจุดที่แล้ว ส่ วนจุดอื่น ๆ ที่เหลืออยูก่ ็มีการกาหนด ตาแหน่งในทานองเดียวกันทั้งหมด รู ปที่ 2.9 ระบบคอร์ ออร์ ดิเนทแบบรี เลทีฟโพล่าร์ ในการกาหนดพื้นที่วาดภาพ จุดแรกที่กาหนดจะต้องเป็นแบบแอบโซลุทคอร์ออดิเนทเสมอ จุดต่อไปจึง สามารถที่จะใช้รีเลทีพคอร์ออดิเนทหรือรีเลทีฟโพล่าร์คอร์ออดิเนทหรือแอบโซลุทคอร์ออดิเนท หรือผสม กันก็ได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 36


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.5 การกาหนดขอบเขตการเขียนภาพ ก่อนเริ่ มต้นเขียนแบบใน Auto CAD สิ่ งแรกที่ตอ้ งทา กาหนดขอบเขตพื้นที่วาดภาพให้มีขนาด เหมาะสมกับชิ้นงาน โดยกดปุ่ ม ที่คียบ์ อร์ด จะปรากฏจุดกริ ด(Grid) ขึ้นมาที่บริ เวณมุมล่างด้านซ้าย ของพื้นที่วาดภาพ ขยายขอบเขตพื้นที่วาดภาพโดยใช้คาสั่งViewZoomAll หรื อคลิกที่ จะปรากฏจุดกริ ดขยายเต็มพื้นที่วาดภาพ ขอบเขตที่ใช้ในการเขียนภาพที่โปรแกรมกาหนดมาให้จะเป็ น ระบบเมตริ ก มีขนาดเท่ากับกระดาษ A3 โดยเลื่อนเมาส์ไปชี้ที่จุดกริ ดตรงมุมด้านล่างซ้าย(Lower Left Corner ) จะมีค่าโคออร์ ดิเนท X,Y เท่ากับ 0,0 และเลื่อนเมาส์ไปชี้ที่จุดกริ ดมุมบนด้านขวา(Upper Right Corner) จะมีค่าคอร์ ออร์ ดิเนท X,Y เท่ากับ 420,297 ดังรู ปที่ 2.10

420,297

0,0 สังเกตุดูที่ status bar

รู ปที่ 2.10 แสดงขอบเขตลิมิต

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 37


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ หากต้องการเขียนชิ้นงานที่มีขนาด 20 x 15 มิลลิเมตร ลงบนพื้นที่วาดภาพที่มีขอบเขตลิมิต 420,297 นี้ จะทาให้มองเห็นชิ้นงานมีขนาดเล็กมาก ไม่เหมาะสมต่อการเขียนแบบ วิธีที่ถูกต้องก็คือเราควรกาหนด ขอบเขตลิมิตให้มีขนาดใหญ่กว่าขนาดของชิ้นงานประมาณ 2-3 เท่า โดยใช้คาสั่ง Format  Drawing Limits หรื อที่ Command Line พิมพ์คาสั่ง ต่าง ๆ ดังนี้ Command : LIMITS Specify lower left corner or [ ON/OFF]<0.0000,0.0000>:กดปุ่ ม Enter ( เพื่อยอมรับ ค่า 0,0 สาหรับมุมซ้ายด้านล่าง) Specify upper right corner <420.0000,297.0000> 40,30 แล้วกดปุ่ ม Enter (เพื่อกาหนดมุมขวา ด้านบนของขอบเขตลิมิต )

ทุกครั้งหลังจากที่เราได้กาหนดขอบเขตลิมิตแล้วเราจะต้องใช้คาสั่ง ViewZoomAll หรือคลิกที่ปุ่ม

ต่อไปในทันที เพื่อให้พื้นที่วาดภาพเปลี่ยนแปลงไปแสดงขอบเขตลิมิตที่เรากาหนด

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 38


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.6 การตั้งค่าระยะห่างจุดกริด( Grid) และ สแน๊ป (Snap) เมื่อเปิ ดโปรแกรม AutoCAD 2007 ขึ้นมา โปรแกรมจะเปิ ดไฟล์ acadiso.dwt ซึ่งเป็ นไฟล์ เทมเพลทในระบบเมตริ กให้โดยอัตโนมัติ มีระยะของเขตที่ใช้ในการเขียนแบบ เท่ากับ กระดาษ A3 คือ 420,297 มม. โดยจะกาหนดระยะห่างระหว่างจุดกริ ด และระยะห่างของระยะกระโดดของเคอร์ เซอร์ ใน แนวแกน X เท่ากับ 10 และหน่วยในแนวแกน Y เท่ากับ 10 หน่วย หากมีการใช้คาสั่ง File  New หรื อ มีการคลิกปุ่ ม แล้วเลือกไฟล์ acat.dwt ซึ่งเป็ นไฟล์เทมเพลทระบบอังกฤษ มีระยะของเขตที่ใช้ใน การเขียนแบบ เท่ากับ 12,9 นิ้วโดยจะกาหนดระยะห่างระหว่างจุดกริ ด และระยะห่างของระยะกระโดด ของเคอร์เซอร์ ในแนวแกน X เท่ากับ 0.5 หน่วยและในแนวแกน Y เท่ากับ 0.5หน่วย เมื่อใดก็ตามที่มีการกาหนดขอบเขตลิมิตใหม่ อาจทาให้จุดกริ ดไม่สามารถปรากฏบนพื้นที่ วาดภาพได้ ซึ่งมักปรากฏข้อความ grid too dense to display นั้นหมายความว่าจุดกริ ด มีความหนาแน่นมากเกินกว่าที่จะปรากฏ บนพื้นที่วาดภาพ หรื อถ้ามีการลดขนาดของ ขอบเขตลิมิตลง อาจทาให้จุดกริ ดห่างกันมาก จนกระทัง่ มองไม่เห็นบนพื้นที่วาดภาพ ดังนั้น เมื่อมีการขยายหรื อลดขนาดขอบเขตลิมิต เราควรที่จะตั้งค่าระยะห่างของจุดกริ ด และระยะกระโดดของเคอร์ เซอร์ ใหม่ ให้เหมาะสมกับขอบเขตลิมิต(Limits)ด้วย เราสามารถตั้งค่าระยะห่างของจุดกริ ด(grid) และระยะกระโดดของเคอร์เซอร์ (snap) รู ปที่ 2.11 แสดงหน้าต่าง Drafting Setting โดยไช้คาสัง่ Tools  Drafting settings หรื อคลิกขวาปุ่ ม SNAP หรื อปุ่ ม GRID บนบรรทัดแสดงสถานะแล้ว เลือคาสั่ง settings จะปรากฏไดอะล็อค Drafting settings ดังรู ปที่ 2.11  Snap On(F9)

สาหรั บ เปิ ด/ปิ ดโหมดการกระโดดของเคอร์ เซอร์  Grid On(F7) สาหรั บ เปิ ด/ปิ ดโหมดการแสดงจุดกริ ด

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 39


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.7 การเรียกใช้คาสั่งต่างๆ 2.7.1 การแก้ ไขการป้อนข้ อมูลผิดพลาด บางครั้งในการเขียนเส้น โดยใช้คาสัง่ LINE, PLINE, MLINE หรื อ SPLINE อาจเกิดการ ผิดพลาดในการกาหนดตาแหน่งได้เสมอ หากเกิดการผิดพลาดในการกาหนดตาแหน่งในบรรทัดแสดง ข้อความใดๆ ของคาสั่ง เราสามารถพิมพ์ตวั เลือก U ผ่านคียบ์ อร์ ดหรื อคลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Undo ดังรู ปที่ 2.12 เพื่อที่จะย้อนกลับไปสู่ จุดที่กาหนดก่อนเกิดการผิดพลาด

รู ปที่ 2.12 แสดงการยกเลิกคาสั่งก่อนหน้า ด้วยคาสั่ง Undo เมื่อคลิกเมาส์ขวา ขณะใช้คาสั่งใด ๆ แล้วไม่มี เมนูปรากฏขึ้นมา แสดงว่าได้มีการปิดการแสดงไว้ ให้ใช้ คาสั่ง Tools  Options  เลือกแท็ป User Preferences ให้ทาเครื่องหมาย  หน้า Shortcut menu in drawing area 2.7.2 การเลือกวัตถุ(Object Selection) เมื่อมีการเรี ยกคาสั่งใด ๆ เช่น ERASE, MOVE, ROTATE เป็ นต้น ที่บรรทัดป้ อนคาสั่งจะปรากฏ ข้อความ Select objects เพื่อบอกให้ผใู้ ช้เลือกวัตถุ ถ้าวัตถุที่เลือกมีจานวนน้อยเราสามารถใช้เมาส์คลิก บนวัตถุที่ตอ้ งการได้เลย แต่ในกรณี ที่มีวตั ถุจานวนมาก ที่ตอ้ งการเลือก การที่เราจะใช้เมาส์คลิกบนวัตถุ ครั้งละชิ้นเป็ นการเสี ยเวลาในการทางาน ดังนั้น จึงมีการนาเอาตัวเลือกต่างๆ เขามาใช้ในบรรทัด Select objects เพื่อช่วยให้การเลือกวัตถุหลายๆชิ้นเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว โดยมีวธิ ี ใช้งานดังต่อไปนี้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 40


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ ตัวอย่าง การเลือกวัตถุเพื่อย้ายตาแหน่ง เมื่อใช้คาสัง่ Move 1. ใช้คาสั่ง ModifyMove หรื อคลิกที่ปุ่ม ที่บรรทัดป้ อนคาสั่งจะแสดงข้อความ Select objects :

2. ใช้เมาส์คลิกบนวัตถุที่ตอ้ งการ วัตถุน้ นั จะกลายเป็ นส้นประและจะยังปรากฏข้อความ Select objects: ที่บรรทัดป้ อนคาสั่งต่อไปอีก เราสามารถใช้เมาส์คลิกเลือกวัตถุต่อไปได้อีก ถ้าหากเลือกวัตถุที่ ต้องการเคลื่อนย้ายเข้าไปในกลุ่มทั้งหมดแล้ว ให้กดปุ่ ม เพื่อสิ้ นสุ ดการเลือกวัตถุ โปรแกรมก็จะ นาวัตถุท้ งั หมดที่ถูกเลือก เคลื่อนย้ายไปตาแหน่งอื่นต่อไป แต่ในกรณี ที่ตอ้ งการเลือกวัตถุจานวนวนมาก เราสามารถที่จะใช้ตวั เลือกต่อไปนี้ เพื่อช่วยให้ สามารถทาการเลือกวัตถุทาได้ง่ายและรวดเร็ วยิง่ ขึ้น โดยที่บรรทัดคาสั่ง ให้พิมพ์ตวั เลือกต่าง ๆ ดังนี้ W พิมพ์ W แล้วกดปุ่ ม เพื่อกาหนดการเลือกในโหมด Window โปรแกรมจะบอกให้เรา สร้างกรอบสี่ เหลี่ยมผืนผ้าชัว่ คราว โดยเริ่ มจาก จุดที่ 1(First corner) แล้วไปจุดที่ 2(Opposite corner) ดังรู ปที่ 2.13 (ซ้าย) วัตถุใดๆที่อยูภ่ ายในกรอบสี่ เหลี่ยมชัว่ คราวทั้งชิ้น และไม่มีส่วนหนึ่ง ส่ วนใดยืน่ ออกไปด้านนอกกรอบฯ จะถูกเลือกเข้ากลุ่มทั้งหมด และจะกลายเป็ นเส้นประ ดังรู ปที่ 2.13 (ขวา) 1

2

รู ปที่ 2.13 แสดงการใช้คาสั่งเลือกวัตถุ โดยพิมพ์ W

ใน Auto CAD 2007 ไม่ต้องพิมพ์ W ถ้าต้องการเลือกวัตถุแบบ Windows เพียงใช้เมาส์คลิกที่จุดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ โปรแกรมจะกาหนดทางเลือกแบบ Window ให้โดยอัตโนมัติ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 41


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ C พิมพ์

C แล้วกดปุ่ ม เพื่อกาหนดการเลือกในโหมด Crossing โปแกรมจะให้เราสร้าง กรอบสี่ เหลี่ยมผืนผ้าชัว่ คราว โดยเริ่ มจาก จุดที่ 1 (First corner) แล้วไปจุดที่ 2 (Opposite corner) ดังรู ปที่ 2.14 (ซ้าย) วัตถุใดๆที่อยูภ่ ายในกรอบสี่ เหลี่ยมชัว่ คราวทั้งหมด รวมทั้งวัตถุที่ถูกเส้น กรอบสี่ เหลี่ยมชัว่ คราวพาดผ่าน แม้ถูกพาดผ่านเล็กน้อยก็ตาม วัตถุท้ งั หมด จะถูกเลือกเข้ากลุ่ม ดังรู ปที่ 2.14 (ขวา) 2

1

รู ปที่ 2.14 แสดงการใช้คาสัง่ เลือกวัตถุ โดยพิมพ์ C ใน Auto CAD 2007 ไม่ต้องพิมพ์ C ถ้าต้องการเลือกวัตถุแบบ Crossing เพียงใช้เมาส์คลิกที่จุดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ โปรแกรมจะกาหนดทางเลือกแบบ Crossing ให้โดยอัตโนมัติ WP พิมพ์ WP แล้วกดปุ่ ม เพื่อกาหนดการเลือกในโหมดWindow Polygonโดยสร้างรู ปหลาย เหลี่ยมชัว่ คราวล้อมกรอบวัตถุที่ตอ้ งการเลือก ซึ่ งจะทางานเช่นเดียวกันกับการใช้ตวั เลือก Windowในการสร้างรู ปหลายเหลี่ยมชัว่ คราว เราสามารถที่จะใช้เม้าส์คลิกเพื่อสร้างรู ปหลาย เหลี่ยมชัว่ คราวอย่างต่อเนื่อง ดังรู ปที่ 2.15 (ซ้าย) เมื่อเสร็ จสิ้ นการสร้างรู ปหลายเหลี่ยมให้กดปุ่ ม วัตถุที่อยูภ่ ายในกรอบของรู ปหลายเหลี่ยมและไม่มีส่วนหนึ่งส่ วนใดยืน่ ออกไปนอก กรอบจะถูกเลือก ดังรู ปที่ 2.15 (ขวา) 1

2

3

4

6

5 1

รู ปที่ 2.15 แสดงขั้นตอนการเลือกวัตถุแบบ Window Polygon

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 42


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ พิมพ์ CP แล้วกดปุ่ ม เพื่อกาหนดการเลือกในโหมด Crossing Polygonโดยสร้างรู ปหลาย เหลี่ยมชัว่ คราวล้อมกรอบวัตถุที่ตอ้ งการเลือก ซึ่ งจะทางานเช่นเดียวกันกับตัวเลือก Crossing ใน การสร้างรู ปหลายเหลี่ยมชัว่ คราว เราสามารถที่จะใช้เมาส์คลิกเพื่อสร้างรู ปหลายเหลี่ยมชัว่ คราว อย่างต่อเนื่องดังรู ปที่ 2.16 (ซ้าย) เมื่อเสร็ จสิ้ นการสร้างรู ปหลายเหลี่ยมแล้ว ให้กดปุ่ ม วัตถุที่อยูภ่ ายในกรอบและวัตถุที่ถูกเส้นกรอบของรู ปสี่ เหลี่ยมพาดผ่านจะถูกเลือก ดังรู ป 2.16 (ขวา)

CP

5 6

4

1 3

2

รู ปที่ 2.16 แสดงขั้นตอนการเลือกวัตถุแบบ Crossing Polygon ตัวเลือก Window และ Window Polygon จะสร้างกรอบสี่เหลี่ยมชั่วคราวสีม่วงและเส้นกรอบจะเป็นเส้น เต็ม ส่วนตัวเลือก Crossing และ Crossing Polygon จะสร้างกรอบสี่เหลี่ยมชั่วคราวสีเขียวและเส้น กรอบจะเป็นเส้นประ F พิมพ์ F แล้วกดปุ่ ม เพื่อกาหนดการเลือกในโหมด Fence จะใช้เมาส์ลากเส้นพาดผ่าน วัตถุหลายๆชิ้นที่ตอ้ งการเลือกดังรู ปที่ 2. 17 (ซ้าย) แล้วกดปุ่ ม วัตถุที่ถูกเส้น Fence พาดผ่านจะถูกเลือกทั้งหมดดังรู ปที่ 2. 17 (ขวา) 1

2 1

3

รู ปที่ 2.17 การเลือกแบบ Fence เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 43


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ G ใช้สาหรับเลือกกลุ่ม (Group)ของวัตถุที่ผา่ นการรวมกันเป็ นกลุ่มด้วยคาสัง่ Group มาแล้ว เมื่อ พิมพ์ตวั เลือกนี้จะปรากฏข้อความ Enter group name ให้พิมพ์ชื่อกลุ่มเข้าไปวัตถุจะอยูใ่ นกลุ่มที่ กาหนดชื่อทั้งหมดจะถูกเลือก All พิมพ์ All แล้วกดปุ่ ม เพื่อใช้ตวั เลือกวัตถุท้ งั หมดในโมเดลสเปสหรื อในเปเปอร์ สเปส รวมทั้งวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ปิด ( OFF) อยู่ ยกเว้นวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกแช่แข็ง (Freeze) จะถูกเลือก L พิมพ์ L แล้วกดปุ่ ม เพื่อกาหนดการเลือกในโหมด Last โดยเลือกวัตถุที่ถูกเลือก ไว้ใน กลุ่มครั้งล่าสุ ดเพียงชิ้นสุ ดท้ายในกลุ่มเท่านั้น P พิมพ์ P แล้วกดปุ่ ม เพื่อใช้ตวั เลือก Previous นี้ เพื่อเลือกกลุ่มของวัตถุที่เคยถูกเลือก มาแล้วครั้งล่าสุ ดเข้ามาในกลุ่มการเลือกใหม่อีกครั้ง ตัวอย่างเช่น สมมุติวา่ เราเพิ่งจะใช้คาสั่ง MOVE เพื่อเคลื่อนย้ายกลุ่มของวัตถุไปไว้ในตาแหน่งใหม่ แต่ก็ยงั ไม่ได้ตาแหน่งที่ตอ้ งการ เรา เพียงแต่ใช้ตวั เลือกนี้ โดยไม่ตอ้ งเลือกวัตถุกลุ่มเดิมใหม่อีกครั้ง วัตถุกลุ่มเดิมก็จะถูกเลือกอีกครั้ง R พิมพ์ R แล้วกดปุ่ ม เพื่อใช้โหมด Remove เพื่อคัดเลือกวัตถุที่ตอ้ งการออกจากกลุ่มการ เลือก หากเราได้เลือกวัตถุเข้าไปในกลุ่มแล้ว แต่ปรากกว่ามีบางชิ้นที่เราไม่ตอ้ งการเลือก แต่ได้ เข้าไปอยูใ่ นกลุ่มแล้ว เราสามารถใช้ตวั เลือกนี้ จะปรากฏข้อความ Remove objects ใช้คลิกบน วัตถุที่ตอ้ งการเลือกออกจากกลุ่ม เมื่อเลือกวัตถุออกจากกลุ่มไปแล้วเกิดเปลี่ยนใจอีกครั้งเรา สามารถใช้ตวั เลือก A เพื่อเปลี่ยนโหมด Remove objects กลับไปเป็ น Select objects เช่นเดิม แล้วจึงจะสามารถเลือกวัตถุเพิ่มเข้าไปในกลุ่มต่อไปได้ การใช้ตวั เลือก Remove นี้มกั พบอยู่ บ่อยๆส่ วนใหญ่ใช้ในกรณี ที่เราต้องการเลือกวัตถุเกือบทั้งหมด แต่เพียงมีบางชิ้นที่ตอ้ งการ หาก เราได้เลือกวัตถุท้ งั หมดโดยล้อมกรอบแบบ Window ดังรู ปที่ 2.18(ซ้าย) วัตถุท้ งั หมดจะถูกเลือก และกลายเป็ นเส้นประดังรู ป 2.18 (กลาง) หากไม่ตอ้ งการเลือกหลอดไส้ตรงกลาง 6 หลอด พิมพ์ ตัวเลือก R เมื่อปรากฏข้อความ Remove objects ให้คลิกบนหลอดไส้ตรงกลาง 6 หลอด จะถูก เลือกออกจากกลุ่มของหลอดไส้และจะปรากฏเป็ นเส้นเต็มเช่นเดิม ดังรู ปที่ 2.18(ขวา)

รู ปที่ 2.18 แสดงขั้นตอนการเลือกวัตถุ โดยใช้คาสั่ง R หรื อ Remove

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 44


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ A ใช้โหมด Add สาหรับเพิม่ เติมวัตถุที่ยงั ไม่ได้เลือกเข้าไปในกลุ่ม ปกติจะใช้ตวั เลือกนี้หลังการใช้ ตัวเลือก Remove เพื่อกลับไปยังโหมด Select objects อีกครั้ง SI ใช้โหมด Single เพื่อเลือกวัตถุเพียงชิ้นเดียว แล้วเข้าไปทางานต่อไปในคาสั่ง โดยที่ไม่จาเป็ นต้อง กดปุ่ ม เพื่อออกจากโหมดการเลือก U ใช้ตวั เลือก Undo นี้ในการยกเลิกการเลือกครั้งล่าสุ ด

ในขณะที่บนบรรทัดป้อนคาสั่ง Command ไม่ปรากฏคาสั่งใดๆหากเราเลือกวัตถุเหล่านั้นก่อน แล้วค่อย มาใช้คาสั่ง เช่น ERASE, MOVE หรือ COPY ทีหลัง วัตถุที่ถูกเลือกไว้ก่อนซึ่งปรากฏเป็นเส้นประ จะ ถูกเลือกไปใช้ในคาสั่งนั้นโดยอัตโนมัติ คาสั่งนั้นจะข้ามบรรทัด Select objects แล้วทางานต่อไปทันที

2.8 การใช้ออฟเจกท์สแน๊ป (Object Snap) และออโต้สแน๊ป (AutoSnap) ออฟเจกท์สแน๊ป(Object Snap) หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า OSNAP เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถ กาหนดตาแหน่งบนพื้นที่วาดภาพได้อย่างรวดเร็ วและมีตาแหน่งที่ถูกต้องแม่นยา โดยวิธีการบังคับให้ เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้าไปเกาะจุดใดจุดหนึ่งของวัตถุ อาทิ เช่น จุดปลายเส้น (End point) จุดกึ่งกลางเส้น (Mid point) จุดศูนย์กลาง(Center) และอื่นๆเป็ นต้น SNAP กับ OSNAP นั้นแตกต่างกันคือ SNAP ใช้สาหรับควบคุมเคอร์เซอร์ให้สามารถเลื่อนไปมาได้ โดยกระโดดข้ามไปยังจุดต่างๆ ตามระยะห่างที่กาหนด เราใช้ฟังชั่นคีย์ ควบคุมการปิด/เปิด SNAP ส่วน OSNAP นั้นใช้สาหรับควบคุมเคอร์เซอร์ให้กระโดดไปเกาะส่วนใดส่วนหนึ่งของวัตถุ ทาให้ สามารถกาหนดตาแหน่งบนพื้นที่วาดภาพได้อย่างแม่นยา อาทิ จุดปลายเส้น( Endpoint) จุดกึ่งกลางเส้น (Mid point)จุดตัด(Intersection) จุดศูนย์กลาง(Center) จุดสัมผัส(Quadrant) จุดตั้งฉาก (Perpendicular) จุดขนาน(Parallel)และจุดอื่นๆเป็นต้น เราใช้ฟังชั่นคีย์ OSNAP

ควบคุมการปิด/เปิด

เมื่อมีการใช้คาสัง่ ใดๆ ที่มีการกาหนดตาแหน่งโคออร์ ดิเนทบนพื้นที่วาดภาพและเมื่อเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไป บนส่ วนต่างๆ ของวัตถุจะปรากฏมาร์ คเกอร์ รูปแบบต่างๆ , , , , , , , , , , , หรื อ ซึ่ งจะสาพันธ์กบั ตาแหน่งที่เคอร์ เซอร์ วางอยูเ่ หนือส่ วนประกอบต่างๆของวัตถุ ออฟเจกท์สแน๊ป เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 45


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ ในโหมดต่างๆ อาทิ เช่นโหมดปลายเส้น (Endpoint) โหมดกึ่งกลางเส้น (Midpoint) โหมดจุดศูนย์กลาง (Center) โหมดจุดตัด (Intersection) หรื อโหมดต่อเส้น (Extension) จะออกมาทางานโดยอัตโนมัติ ส่ วนโหมดอื่นๆจะยัง ไม่ออกมาทางาน เนื่องจากยังไม่ได้มีการกาหนดให้ ออกมาทางานโดยอัตโนมัติ ซึ่ งจะเรี ยกว่า ออโต้ สแน๊ป(Auto Snap) เราใช้ปุ่มฟังชัน่ คีย ์ หรื อ คลิกบนปุ่ ม OSNAP บนบรรทัดแสดงสถานะ เพื่อ รู ปที่ 2.19 แสดงหน้าต่าง Drafting Setting ควบคุมการปิ ด/เปิ ดโหมดออโต้สแน๊ป หากต้องการ เพิ่มหรื อเปลี่ยนโหมดออฟเจกท์สแน๊ปอื่นๆ ให้ออกมาทางานโดยอัตโนมัติ เราสามารถใช้คาสั่ง Tools > Drafting Setting หรื อคลิกขวาบนปุ่ ม OSNAP แล้วเลือกคาสั่ง Setting…จะปรากฏไดอะล็อค Drafting Setting ดังรู ปที่ 2.19 บนไดอะล็อคนี้ เราสามารถที่จะเพิม่ หรื อยกเลิกออฟเจกท์สแน๊ปอัตโนมัติ ได้ตามต้องการ เครื่องหมายที่อยู่นาหน้าโหมดออฟเจกท์สแน๊ปบนไดอะล็อค Drafting Settings เราเรียกว่า มาร์คเกอร์(Marker) เช่น , , ฯลฯ เมื่อเราเลื่อนเมาส์ไปบนวัตถุ ณ ตาแหน่งซึ่งสัมพันธ์ กับโหมดออฟเจกท์สแน๊ปจะปรากฏมาร์คเกอร์ขึ้นบนวัตถุในพื้นที่วาดภาพ ซึ่งจะบอกให้ทราบว่า กาลังใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดใดอยู่ ใน AutCAD 2007 มีออฟเจกท์สแน๊ปทั้งหมดอยูท่ ี่ 13 โหมด คือโหมดจากจุด (FROm), จุดปลายเส้น (END point, ) , กึ่งกลางเส้น(MID point , ) , จุดตัด(INTersection , ) ,จุดตัดที่ไม่ตดั จริ ง (APParent Intersection , ) , เส้นต่อ(EXTention , ) , จุดศูนย์กลาง(CENTER , ) , ควอแดรนท์ (QUAdrant , ) , จุดสัมผัส(TANGent , ) , จุดตั้งฉาก(PERpendicular , ) , เส้นขนาน (PARAllel , ) ,จุดสอดแทรก(INSertion , ) ,จุด(NODE , ) , จุดใกล้ที่สุด(NEArest , ) ออฟเจกท์สแน๊ปยังมีโหมดต่างๆที่สามารถเรี ยกใช้งานจากปุ่ มไอคอนต่างๆบนทูบาร์ Object Snap ดังรู ปที่ 2.20

รู ปที่ 2.20 แสดงแถบเครื่ องมือ Object Snap เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 46


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

รู ปที่ 2.21 แสดงการใช้ Object Snap Endpoint, Midpoint Temporary Tracking Point ใช้สาหรับกาหนดจุด Tracking Point (เครื่ องหมายบวกเล็กๆ สี แดง)ขึ้นมาชัว่ คราวบนส่ วนประกอบต่างๆของวัตถุเพื่อหาตาแหน่งจุดตัด ในแนวนอนและแนวตั้ง อาทิเช่น การหาศูนย์กลางของสี่ เหลี่ยมผืนผ้า เป็ นต้น FROM ต้องใช้ร่วมกับออฟเจกท์สแน๊ปโหมดอื่นๆ เพื่อกาหนดระยะห่างหรื อระยะ ออฟเซท (Offset) จากจุดที่ตอ้ งการกาหนดตาแหน่งตัวอย่าง เช่น การกาหนด ตาแหน่งของจุดเริ่ มต้นในการเขียนเส้นให้ห่างจากจุดกึ่งกลางเส้นขึ้นไปใน แนวดิ่งตามระยะที่กาหนด END Point ใช้บงั คับให้เคอร์เซอร์กระโดดเข้าไปหาจุดปลายของเส้นโค้ง (Arc) เส้นตรง (Line) เส้นคู่ขนาน(Multiline) จุดปลายเซกเมนต์ของจุดโพลีไลน์(Polyline), หรื อมุมของ(solid) เมื่อใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนปลายเส้น MID point ใช้บงั คับให้เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้าหาจุดกึ่กลางของเส้นโค้ง (Arc), เส้นตรง (Line), เส้นคู่ขนาน(Multiline), เซกเมนต์ของโพลีไลน์(Polyline), ขอบของ solid และอื่นๆ เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนจุดกึ่งกลางเส้น

รู ปที่ 2.22 แสดงการใช้ Object Snap Intersection, Extended Intersection และ Center

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 47


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ Inter section ใช้บงั คับให้เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้าไปหาจุดตัดระหว่างเส้นตรง (Line), เส้นโค้ง (Arc), เส้นคู่ขนาน(Multiline), วงกลม(Circle), หรื อวงรี (Circle), เมื่อเรี ยกใช้ ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้จะปรากฏเครื่ องหมายมาร์ คเกอร์ บนจุดตัดระหว่าง เส้น หากเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปบนเส้นที่ไม่ใช่จุดตัด จะปรากฏมาร์ คเกอร์ ... แทน ซึ่ งสามารถใช้กบั เส้นที่ตดั กันจริ ง APParent intersection ใช้บงั คับให้เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้าไปหาจุดตัดระหว่างเส้นโค้ง (Arc), เส้นตรง(Line), เส้นคู่ขนาน(Multiline), วงกลม(Circle), วงรี (Ellipse) ซึ่งอาจจะ ตัดกันจริ งหรื อไม่ได้ตดั กันจริ งได้ เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้จะ ปรากฏมาร์คเกอร์ ... บนปลายเส้นและจะปรากฏมาร์คเกอร์ บนจุดตัด ระหว่างเส้น EXTention ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้ ช่วยให้เราสามารถหาตาแหน่งของจุดที่ต่อออกไปจาก เส้นตรงหรื อเส้นโค้ง ตามระยะที่เราเลื่อนเมาส์ และยังสามารถกาหนดตาแหน่ง ออกไปจากเส้นใดๆ ไปตัดกับเส้นอื่นๆได้ Center ใช้บงั คับให้เคอร์เซอร์กระโดดเข้าไปหาจุดศูนย์กลางของวงกลม( Circle), เส้นโค้ง(Arc),ว งรี (Ellipse) เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์แน๊ปโหมดนี้จะปรากฏ มาร์คเกอร์ ณ จุดศูนย์กลางของวงกลม เส้นโค้งหรื อวงรี

รู ปที่ 2.23 แสดงการใช้ Object Snap Quadrant, Tangent, Deferred ใช้บงั คับให้เคอร์เซอร์กระโดดเข้าไปหาจุด 0,90,180 หรื อจุด 270 องศา ของวงกลม(circle), เส้นโค้ง(Arc), วงรี (Ellipse), เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ป โหมดนี้จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนจุด 0,90,180 หรื อจุด 270 องศาของวงกลม เส้นโค้งหรื อวงรี TANgent ใช้บงั คับให้เคอร์เซอร์กระโดดเข้าไปหาจุดศูนย์กลางของวงกลม( Circle), เส้นโค้ง(Arc), วงรี (Ellipse) เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์แน๊ปโหมดนี้จะปรากฏ มาร์คเกอร์ บนจุดสัมผัส QUAdrant

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 48


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ PERqendicular ใช้บงั คับให้เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้าไปหาจุดที่ต้ งั ฉากกับเส้นตรง(Line),วงกลม (Circle),เส้นโค้ง(Arc),วงรี (Ellipse)เส้นคู่ขนาน(Multiline),โพลีไลน์ (Polyline),Solid เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนจุดตั้งฉาก PARAllel ใช้ออฟเจกท์สแน๊ปในโหมดนี้ช่วยในการเขียนเส้นขนานกับเส้นตรงใดๆ เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ปในโหมดนี้ แล้วเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปบนเส้นตรงใดๆ จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนเส้นตรงนั้น หลังจากที่เลื่อนเมาส์ออกไป จะปรากฏเครื่ องหมาย + บนเส้นดังกล่าว หากเลื่อนเคอร์ เซอร์ ให้อยูใ่ นแนว ที่จะปรากฏเส้นขนาน จะปรากฏเวคเตอร์ เส้นประ ขนานกับเส้นตรงดังกล่าว ซึ่ งเราก็สามารถเขียนเส้นขนานได้ตามต้องการ

รู ปที่ 2.24 แสดงการใช้ Object Snap Intersection, Node และ Nearest INSertion ใช้บงั คับให้เคอร์เซอร์กระโดดเข้าไปหาจุดสอดแทรกของตัวอักษร(Text),บล็อก (Block),เชพ(Shape) และแอททริ บิวต์ เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้จะปรากฏ เครื่ องหมายมาร์คเกอร์ บนจุดสอดแทรก Node ใช้บงั คับให้เคอร์เซอร์กระโดดเข้าไปหาจุด (Point) เมื่อเรี ยกใช้ออฟเจกท์สแน๊ปโหมดนี้ จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนจุดต่างๆ NEArest ใช้บงั คับให้เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้าไปหาจุดที่อยูใ่ กล้ที่สุดของเส้นโค้ง (Arc),เส้นตรง (Line),เส้นคู่ขนาน(Multiline),โพลีไลน์(Polyline), Solid,จุด(Point) เมื่อเรี ยกใช้ออฟ เจกท์สแน๊ปโหมดนี้ จะปรากฏมาร์ คเกอร์ บนจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้น NONE ระงับโหมดการใช้ออฟเจกท์สแน๊ปอัตโนมัติไว้ชวั่ คราว Object Snap Setting เรี ยกไดอะล็อค Drafting Setting ดังรู ปที่ 2.19 ในระหว่างการใช้คาสั่งใดๆ ที่ต้องใช้ออฟเจกท์สแน๊ปช่วยในการกาหนดตาแหน่ง หากเราเลือกโหมดออฟ เจกท์สแน๊ปผิด เราไม่จาเป็นต้องยกเลิกคาสั่งแล้วเริ่มใหม่ เราเพียงแต่คลิกบนปุ่มไอคอนออฟเจกท์สแน๊ป ในโหมดใดๆ 1 ครั้ง แล้วจึงคลิกปุ่มไอคอนของออฟเจกท์สแน๊ปในโหมดที่ต้องการใหม่ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 49


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.9 การใช้โพล่าแทร็คกิ้ง (Polar Tracking) โพล่าร์ แทร็ คกิ้งใช้สาหรับให้เคอร์ เซอร์ กระโดดตามมุมเอียงที่กาหนด โดยที่เราสามารถเลือก ระยะกระโดดของมุมเอียงหรื อเพิ่มมุมเอียงได้ตามต้องการ การใช้โพล่าร์ แท็รคกิ้งจะช่วยให้เราสามารถ เขียนเส้นตามมุมที่ตอ้ งการได้ง่ายและรวดเร็ ว เราสามารถใช้คาสั่ง Tool  Drafting Settings…Polar Tracking จะปรากฏไดอะล็อค ดังรู ปที่ 2.25 ซึ่งยอมให้เราเปิ ดโหมด Polar Tracking เลือกค่ามุม เพิ่มค่า มุม กาหนดโหมด Object Snap Tracking และอื่นๆโดยมีรายละเอียดของการใช้ตวั เลือกต่างๆ ดังต่อไปนี้  Polar Tracking On เปิ ด/ปิ ดโหมดการใช้งาน Polar Tracking หรื อปุ่ มกดฟั งชัน ่ คีย ์ Polar Angle Settings เลือกมุมที่ตอ้ งการให้เคอร์ เซอร์ กระโดดตามค่ามุมที่ปรากฏบนแถบรายการ Increment Angle หากค่ามุมที่ปรากฏบนแถบ รายการนี้เท่ากับ 90 เมื่อเราใช้คาสั่งในการเขียนเส้นใดๆ แล้วเลื่อนเคอร์เซอร์เข้าใกล้ทุกๆ 90 องศา เคอร์เซอร์จะกระโดดเข้าหาทุกๆ 90 องศา โดยอัตโนมัติ เราสามารถ เพิ่มมุมที่ตอ้ งการ โดยคลิกปุ่ ม NEW แล้วพิมพ์ค่ามุมที่ตอ้ งการ เพิ่มเราสามารถเพิ่มมุมได้หลายๆมุม จะปรากฎเครื่ งหมาย หน้าเช็คบ๊อก Additional angles เคอร์เซอร์จะกระโดด เข้าหามุมที่ระบุไว้ในแถบรายการ Increment Angle และมุมต่างๆที่ระบุใน Additional angles ดังรู ปที่ 2.26

รู ปที่ 2.25 แสดง แท็ป Polar Tracking

รู ปที่ 2.26 แสดงการใช้ Polar Tracking

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 50


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ Object Snap Tracking Settings เมื่อปุ่ มเรดิโออยูท่ ี่ Tracking Orthogonally Only เมื่อใช้ออพเจกท์สแน๊ป ในโหมดใดๆร่ วมกับ OTRACK เคอร์ เซอร์ จะติดตามหาจุดตัดระหว่างจุดออฟเจกท์สแน๊ปเฉพาะในแนวนอน และแนวตั้ง ดังรู ปที่ 2.27 (ซ้าย) Tracking using all polar angle settings เมื่อใช้ออฟเจกค์สแน๊ป ในโหมดใดๆร่ วมกับ OTRACK เคอร์ เซอร์ จะติดตามหาจุดตัดระหว่างจุดออฟเจกค์สแน๊ปทุกๆมุม Polar ที่ระบุในไดอะล๊อค ในรู ปที่ 2.25โดยอัตโนมัติ ดังรู ปที่ 2.27(ขวา)

Track เฉพาะแนวนอนแนวตั้ง

Track ทุกๆมุมPolarที่ระบุ

รู ปที่ 2.27 แสดงการตั้งค่าให้ Polar Tracking ที่มุม 45 องศา Polar Angle Measurement เมื่อปุ่ มเรดิโออยูท่ ี่ Absolute การวัดมุมจะอ้างอิงจากแกน X(ศูนย์องศา) เสมอ Relative last segment การวัดมุมจะอ้างอิงจากเส้นสุ ดท้ายเสมอ เส้นสุ ดท้ายจะแทนแกน X ดังรู ปที่ 2.28

Absolute

Relative

รู ปที่ 2.28 แสดงการตั้งค่าแบบ Absolute และ Relativ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 51


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.10 การใช้ปุ่มต่าง ๆ บนคีย์บอร์ด ในการเขียนแบบด้วย Auto CAD ให้มีประสิ ทธิ ภาพ เราควรที่จะรู ้จกั ปุ่ มต่าง ๆ บนคียบ์ อร์ ด ที่เราจะใช้งานอยูเ่ สมอ ๆ เพราะการใช้คียบ์ อร์ ดจะช่วยให้เราทางานได้เร็ วขึ้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ฟังก์ชันคีย์

ปุ่ มนี้ใช้ยกเลิกคาสั่งใด ๆ ที่ยงั ทางานค้างอยู่ เพื่อกลับไปยังบรรทัด พร้อมที่จะรับคาสั่งอื่น ๆ มาใช้งานต่อไป

Command line

ปุ่ มนี้ใช้สาหรับส่ งข้อมูลที่เราป้ อนผ่านบรรทัด Command เช่น ความยาวเส้น พิกดั รัศมี เป็ นต้น และยังใช้ในการเรี ยกคาสั่งสุ ดท้ายออกมาทางานซ้ าอีกครั้ง โดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาเรี ยกคาสั่งนั้นจากเมนูหรื อปุ่ มไอคอนใหม่ และ ใช้ปุ่มทั้งสองนี้ในการเรี ยกคาสั่งหรื อตัวเลือกของคาสั่งต่าง ๆ ที่เราได้พิมพ์ผา่ น คียบ์ อร์ ดไปแล้วกลับมาใช้งานใหม่ เพื่อที่เราจะได้ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาพิมพ์คาสัง่ หรื อ ตัวเลือกเดิม ๆ ซ้ าใหม่อีก ใช้สาหรับลบวัตถุที่ถูกเลือกไว้ก่อนทิ้งไป ทางานคล้ายปุ่ ม ปุ่ มแสดงข้อความช่วยเหลือ Auto CAD Help เปิ ด/ปิ ดหน้าต่าง AutoCAD Text Window ซึ้ งจะแสดงคาสั่งและข้อความทั้งหมด บนบรรทัด Command: ที่เรี ยกใช้งานไปแล้ว เปิ ด/ปิ ด โหมดออฟเจกท์สแน็ป (OSNAP) แบบอัตโนมัติ ปิ ด/เปิ ด หรื อกระดานเขียนแบบอิเล็คทรอนิคส์ (Tablet digitize) ควบคุมการเปลี่ยนโหมดไอโซเมตริ กด้าน Tog, Left, Right ควมคุมการปิ ด/เปิ ดและเปลื่ยนโหมดการแสดงผลโคออร์ดิเนทของเคอร์เซอร์ บนบรรทัดแสดงสถานะโดยจะสลับไปมาระหว่างการปิ ด(OFF) การแสดงค่าแอปโซลุท (Absolute)โคออร์ดิเนท หรื อแสดงรี เลทีฟ(Relative)โคออร์ดิเนท ควบคุมการปิ ด/ เปิ ดจุดกริ ด (Grids) ซึ่งใช้เป็ นจุดอ้างอิงในการเขียนภาพ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 52


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ ควบคุมการปิ ด/เปิ ด โหมดออร์โธ (Ortho) เพื่อบังคับให้การเขียนเส้นอยูใ่ นแนวนอน หรื ออยูใ่ นแนวตั้งเท่านั้น ควบคุมการปิ ด/ เปิ ดการกระโดดของเคอร์เซอร์ (Snap) ตามระยะที่กาหนด ควบคุมการปิ ด/ เปิ ดการกระโดดของเคอร์เซอร์เข้าหามุม (Polar) ที่กาหนด ควบคุมการปิ ด/เปิ ดโหมด Object Snap Tracking ควบคุมการปิ ด/เปิ ดโหมด Dynamic Input +

ปิ ด / เปิ ดจอภาพของ

+

ปิ ด/เปิ ดหน้าต่าง

Auto CAD ในโหมด Clean Screen Properties ซึ้ งใช้สาหรับแก้ไขคุณสมบัติต่างๆ ของวัตถุ

+

ปิ ด/เปิ ดหน้าต่าง DesignCenter ซึ้ งใช้สาหรับสอดแทรก Block, Dimension Style, Layer, Layout, Linetype, text Style, Xref จากไฟล์แบบแปลน .dwg เดียวกันหรื อไฟล์ .dwg อื่นๆ เข้ามาใช้งาน

+

ปิ ด/เปิ ดหน้าต่าง Tool Palette ซึ้ งใช้เป็ นไลบรารี่ สาหรับจัดเก็บ Block, Hatch, Commands, AutoLISPexpression เพื่อที่จะสอดแทรกไปใช้งานในไฟล์แบบ

แปลน ต่างๆ +

ปิ ด/เปิ ด Sheet Set Manager ซึ้ งใช้สาหรับการจัดการกับแบบแปลนจานวน มาก ๆ ในโครงการต่าง ๆ

+

ปิ ด/เปิ ด

+

ปิ ด/เปิ ดหน้าต่าง DBC onnect Manager ซึ่งใช้สาหรับสอดแทรกเชื่อมโยงวัตถุ ต่างๆ ภายในAuto CAD เข้ากับฐานข้อมูล (Database) ในฟอร์ แมต ต่าง ๆ ที่อยู่ ภายนอก อาทิ เช่น .mdb (Microsoft Access) เป็ นต้น

+

ปิ ด/เปิ ด Markup Set Manager ซึ่ งใช้สาหรับการจัดกับข้อมูล Markup ที่สร้าง จาก Autodesk Composer

Info Palette ซึ่ งแสดงคาแนะนาในการใช้คาสั่งต่าง ๆ

+ ใช้สาหรับเลือกวัตถุท้ งั หมดที่ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ รวมถึงวัตถุที่ถูกซ่อน อยูใ่ น เลเยอร์ ที่ ถูกปิ ด ( Off) แต่ไม่รวมวัตถุที่ถูกซ่อนในเลเยอร์ ที่ถูกแช่แข็ง (Freeze) + คลิกขวา ใช้คาสัง่ เรี ยกเคอร์ เซอร์ เมนูแสดงโหมดต่างๆ ของ Object snap + คลิกขวา ใช้คาสั่งเรี ยกเคอร์ เซอร์ เมนูแสดงโหมดต่างๆ ของ

Object snap

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 53


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การเขียนแบบด้วยโปรแกรม AutoCAD ต้องเขียนด้วยมาตราส่ วนใด ก. 1:1

ค. 1:5

ข. 1:10

ง. 1:100

2. โปรแกรม AutoCAD 2007 ใช้ระบบโคออดิเนทแบบใด ก. คาร์ทิเชียน

ค. แอปโซลุท

ข. รี เลทีฟ ง. โพล่า รี เลทีฟ 3. ในโปรแกรม AutoCAD 2007 ต้องการเขียนรู ปด้านล่างนี้ ต้องป้ อนมุมอย่างไร

ก. -60

ค. 60

ข. 120 ง.

-120

4. จากรู ประนาบด้านล่าง พิกดั ของ P1 คือข้อใด

ก. -3,4 ข. 3,4 ง.

ค. -4,3 4,3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 54


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

5. ต้องการกาหนดขอบเขตการเขียนภาพเท่ากับกระดาษ A4 วางแนวนอน ต้องกาหนดอย่างไร ก. 0,0 และ 297,420

ค. 0,0 และ 297,210

ข. 0,0 และ 420,297

ง. 0,0 และ 210,297

6. เมื่อเปิ ดโปรแกรม AutoCAD ขึ้นมาใช้งาน ระยะห่างของจุดกริ ด(Grid) เป็ นเท่าไร ก. 5 x 5

ค. 1 x 1

ข. 10 x 10 ง. 5

x 10

7. ต้องการลบวัตถุ 3 ชิ้น ในรู ปด้านล่าง ต้องเลือกวัตถุโดย ใช้คาสัง่ ใด

รู ปที่ 1

รู ปที่ 2

ก. คลิก

, พิมพ์ C แล้วกด Enter

ข. คลิก

, พิมพ์ W แล้วกด Enter ง. คลิก

รู ปที่3 ค. คลิก

, พิมพ์ F แล้วกด Enter , พิมพ์ L แล้วกด Enter

8. ถ้าต้องการมาร์ คจุดกึ่งกลาง ของเส้นตรง ต้องใช้เครื่ องมือในแถบ Object Snap อะไร ก.

ค.

ข.

ง.

9. ต้องการเปิ ด/ปิ ด ออฟเจกท์สแน็ป (OSNAP) ต้องกดปุ่ มฟังก์ชนั ใดที่คียบ์ อร์ ด ก. F3 ข. F8 ง.

ค. F9 F10

10. ค่ามุมโพล่าแทร็ คกิ้ง(Polar Tracking) ที่โปรแกรมกาหนดมาให้คือค่าใด ก. 30 องศา

ค. 60 องศา

ข. 45 องศา

ง. 90 องศา

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 55


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การเขียนแบบด้วยโปรแกรม AutoCAD ต้องเขียนด้วยมาตราส่ วนใด ก. 1:1

ค. 1:5

ข. 1:10

ง. 1:100

2. โปรแกรม AutoCAD 2007 ใช้ระบบโคออดิเนทแบบใด ก. คาร์ทิเชียน

ค. แอปโซลุท

ข. รี เลทีฟ ง. โพล่า รี เลทีฟ 3. จากรู ประนาบด้านล่าง พิกดั ของ P1 คือข้อใด

. 1,4 ข. 4,3 ง.

ค. -4,3 4,1

4. จากรู ปด้านล่าง ข้อใดกล่าวถูก

ก. + 60 องศา ค. - 300 องศา ข. – 60 องศา ง. -30 องศา

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 56


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 5. เมื่อเปิ ดโปรแกรม AutoCAD 2007 ขึ้นมา ค่า โคออร์ ดิเนท ในจุดที่ 1 และ 2 ในภาพ มีค่าพิกดั เท่าใด 2

1

. 0,0 และ 12,9

ค. 0,0 และ 297,210

ข. 0,0 และ 420,297

ง. 0,0 และ 1700,1040

6. เมื่อเปิ ดโปรแกรม AutoCAD ขึ้นมาใช้งาน ระยะห่างของจุดกริ ด(Grid) เป็ นเท่าไร ก. 5 x 5

ค. 1 x 1

ข. 10 x 10 ง. 5

x 10

7. ต้องการลบวัตถุ 3 ชิ้น ในรู ปด้านล่าง ต้องเลือกวัตถุโดย ใช้คาสั่งใด

รู ปที่ 1

รู ปที่ 2

ก. คลิก

, พิมพ์ C แล้วกด Enter

ข. คลิก

, พิมพ์ W แล้วกด Enter ง. คลิก

รู ปที่3 ค. คลิก

, พิมพ์ F แล้วกด Enter , พิมพ์ L แล้วกด Enter

8. ถ้าต้องการมาร์ คจุดกึ่งกลาง ของเส้นตรง ต้องใช้เครื่ องมือในแถบ Object Snap อะไร ก.

ค.

ข.

ง.

9. ปุ่ มฟังก์ชนั F3 ที่คียบ์ อร์ด เป็ นการเปิ ด/ปิ ด คาสั่งใด ก. OSNAP ข. Grid ง.

ค. Snap Dynamic input

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 57


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 10. ค่ามุมโพล่าแทร็ คกิ้ง(Polar Tracking) ที่โปรแกรมกาหนดมาให้คือค่าใด ก. 30 องศา

ค. 60 องศา

ข. 45 องศา

ง. 90 องศา

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 58


บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

แบบฝึ กหัด บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. โปรแกรม AutoCAD ได้แบ่งพื้นที่ในการเขียนแบบ ออกเป็ นกี่ส่วน อะไรบ้าง (2 คะแนน) 2. การอ้างอิงตาแหน่งบนพื้นที่วาดภาพของโปรแกรม AutoCAD ใช้ระบบใด จงอธิบาย(2 คะแนน) 3. การวัดมุมใน AutoCAD จะให้แกน X เป็ น..........องศา หากวัดมุมจากแกน X ทวนเข็มนาฬิกา มุมจะเป็ น............... หากวัดตามเข็มนาฬิกา มุมจะเป็ น.............. (2 คะแนน) 4. จงกาหนดจุด พิกดั ต่าง ๆ ต่อไปนี้ ลงในระนาบด้านล่าง (2 คะแนน) ก. P1 (5,1) ข. P2 (-4,-2) ง.

ค. P3 (-1,3) P4 (2,-5)

5. จงบอกหน้าที่ของปุ่ มฟังก์ชนั บนคียบ์ อร์ ด ตั้งตัง่ F1 ถึง F12 (2 คะแนน)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 59


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.