Fine dae issue20

Page 1

Sustainable road

20

ISSUE 6 September 2013


  



EDITOR’S NOTE

ช้าบ้างก็ได้ “การเดิ น ทาง” มี ค วามส� ำ คั ญ ไม่ น ้ อ ยไปกว่ า “จุ ด หมาย ปลายทาง” หลายครั้งที่เรามักจะสนใจจุดหมายปลายทาง ที่ เ ราตั้ ง ใจไว้ จนละเลยที่ จ ะดู ถึ ง วิ ธี ก ารในการเดิ น ทาง และอาจจะลืมไปว่า มันแทบจะมีค่าไม่ต่างกันเลย เราเชื่ อ ว่ า ทุ ก การเดิ น ทางมี ค วามส� ำ คั ญ หมด ไม่ว่าการเดินทางนั้นจะจบลงตรงไหน ดีหรือร้าย ส�ำคัญมาก หรื อ น้ อ ย ทุ ก การเดิ น ทางยิ่ ง สอนให้ เ ราเรี ย นรู ้ แ ละเติ บ โต จึงเป็นโอกาสที่ดีอย่างยิ่ง ที่เราจะร่วมเดินทางไปด้วยกัน และ ไปท�ำความรู้จักกับรูปแบบการเดินทางในวิธีการต่างๆ ที่จะ ท�ำให้จุดหมายปลายทางมี “คุณค่า” มากขึ้นกว่าที่เคย “คุณค่า” ในที่นี้ อาจไม่ใช่สิ่งที่เป็นรูปธรรม ที่จับต้อง ได้ เรามั ก คุ ้ น ชิ น กั บ การเดิ น ทางจากสถานที่ ห นึ่ ง ไปยั ง สถานที่หนึ่ง ด้วยวิธีการที่สะดวกสบาย เช่น การใช้รถยนต์ ขี่มอเตอร์ ไซค์ แน่นอนว่าสามารถประหยัดเวลาได้เป็นอย่าง ดี แต่ก็มีการเดินทางอีกหลายหลากรูปแบบที่เราสามารถ เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็นการปั่นจักรยาน หรือแม้กระทั่งการเดิน ซึ่งนอกจากจะช่วยเรื่องการประหยัดพลังงาน ลดมลพิษ และ เป็นการออกก�ำลังกายแล้ว เรายังรู้สึกได้ถึงเรื่องราวที่ผ่าน ตั ว เราไปแบบช้ า ๆ นั้ น จะติ ด อยู ่ ใ นความทรงจ� ำ ของเราไป แบบยาวๆ เรามาเดินทางไปพร้อมๆ กัน พร้อมเก็บเกี่ยวเรื่องราว มากมายสองข้างทาง เฝ้ามองสิ่งรอบตัวเปลี่ยนผ่านไปช้าๆ พร้อมซึมซับความเคลื่อนไหวระลอกแล้วระลอกเล่าที่กระทบ รอบตั ว แล้ ว จะพบว่ า การเดิ น ทาง เป็ น ปั จ จั ย ที่ จ ะท� ำ ให้ จุดหมายปลายทางมีความหมายมากน้อยเพียงใด พร้อมแล้วอย่ารอช้า.. เริ่มออกเดินทางกันเลย

Fine Team editor.finedae@gmail.com

Alternative Vehicles The novelist Robert Louis Stevenson once wrote: ” To travel hopefully is a better thing than to arrive,” putting into his own words an ancient Taoist belief that “the journey is the reward.” Every journey has its specific meaning and teaches us something new about this world. Each journey contributes to making the destination more meaningful. The reward referred to in the Taoist saying doesn’t have to be a tangible or visible one.. Traveling by car or motorbike enables us to arrive rapidly at our destination, but slower means of transport gives us a different view of the world. We have more time to appreciate its beauty, while also contributing to the preservation of the environment. So let’s consider slowing down on our journeys through life and enjoy the reward that Taoist belief assures us awaits those travelers who take time to reach their destination. Fine Team editor.finedae@gmail.com

From the Cover 50 ปีกับรถสามล้อคู่กาย ที่มอบบริการรับส่งลูกค้าให้ถึงจุดหมายมา นับหมื่นๆ ราย และทุกปลายทาง ต้องแลกมาด้วยหยาดเหงื่อแห่งความ ตั้งใจ จะเป็นอย่างไรกับเส้นทางชีวิตของชายคนหนึ่ง ที่ยังคงหมุนอยู่บน สามล้อพลังงานน่อง พบกับความสุขเล็กๆ ที่หล่อเลี้ยงเขามาตลอด 50 ปี กับลุงสุนทร ยศปัน ที่จะท�ำให้คุณประทับใจใน Fine Smile ท้ายเล่ม

Contributor ยศสุนทร สวัสดี (หยก)

“แค่ใช้สายตา ก็สามารถได้ยินเสียงจากตัวอักษร” ลักษณะนิสัยเฉพาะ ตัวจากชายที่เห็นทุกสิ่งในโลกเป็นตัวอักษร ผู้ที่เชื่อว่าทุกเหตุการณ์ที่ ไหลผ่าน ล้วนต้องการให้ถูกจดจ�ำ แน่นอนว่าความละเอียดในการใส่ใจ ทุกสิ่ง เปลี่ยนทุกอักษรที่เขาบันทึก ให้เต็มเปี่ยมไปด้วยความรู้สึกร่วม ราวกับว่าก�ำลังอยู่กับเขาตรงนั้นจริงๆ เพียงชายตาสัมผัสอักษรของเขา “คนหนึ่งบันทึก อีกคนเปิดอ่าน แปลกแต่จริงที่ความสุข เกิดขึ้นกับทั้ง สองคน” ยศสุนทร สวัสดี

4 www.finedaemag.com


More than just shopping à´Ô¹àÅ‹¹ªÔÅ ªÔÅ ·‹ÒÁ¡Åҧ͌ÍÁ¡Í´¸ÃÃÁªÒµÔáʹËÁÃ×è¹ ¾º»ÐáºÃ¹´ â»Ã´·Õè¤Ø³¤ØŒ¹à¤ÂÁÒµÑé§áµ‹ à´ç¡àÃÕ§ÃÒÂࢌÒÁÒÃÇÁµÑǡѹ㹾ÃÍÁàÁ¹Ò´Ò äÁ‹Ç‹Ò¤Ø³¨ÐªÍºµÔ´µÒÁ˹ѧÎÔµ ໚¹¤¹ÃÑ¡ÍØ»¡Ã³ äÎà·¤ ¹Ñ¡¡ÕÌÒµÑǧ¼ÙŒ·ÕèãÊ‹ã¨ã¹ÊØ¢ÀÒ¾ ËÃ×ͤس¨Ð໚¹¹Ñ¡ªÔÁ·ÕèËŧãËÅã¹ÃÊªÒµÔ áÁŒáµ‹à»š¹à´ç¡ ¹ŒÍ·ÕèᤋÍÂÒ¡àÅ‹¹Ê¹Ø¡¡çµÒÁ àÃÒÁÕ·Ø¡ÊÔ觤ѴÊÃÃà¾×èͤسâ´Â੾ÒÐ ãËŒ¤Ø³ä´Œà¾ÅÔ¹àÅ‹¹ à¾ÅÔ¹ÅÔéÁÅͧ à¾ÅÔ¹ÊÌҧÊÃä áÅÐ໚¹Í‹ҧ·Õè㨻ÃÒö¹Ò à» ´ãËŒºÃÔ¡ÒÃáÅŒÇÇѹ¹Õé ¾ÃŒÍÁ´ŒÇÂÌҹ¤ŒÒáºÃ¹´ ´Ñ§ÁÒ¡ÁÒ·ÕèÃͤسÁÒÊÌҧ»ÃÐʺ¡Òó ´ŒÇ¡ѹ µÑé§ÍÂÙ‹ã¡ÅŒÊÕèᡴ͹¨Ñè¹ «Ö觤سÊÒÁÒöà´Ô¹·Ò§ÁÒÍ‹ҧÊдǡʺÒ´ŒÇÂöÃѺʋ§ºÃÔ¡ÒÿÃÕ¨Ò¡ ʶҹ·ÕèËÅÑ¡µ‹Ò§æ ÃͺàÁ×ͧàªÕ§ãËÁ‹

www.promenadachiangmai.com www.facebook.com/promenadachiangmai


FINE

Alternative Vehicles

TEAM ISSN 2286-9042 President ดร.อนุชิต ฤกษ์สมบูรณ์ดี Consultant จงเจตน์ ศิริ Consulting Editor จิรกฤตย์ ศิริธนาวัตต์ Editor in Chief ภิเสกสัณห์ ธนหิรัญสกุล Social Editor/Reporter อดิเ ทพ น่วมเจิม

Co-Project Event & Organizer สุมณรัตน์ ปานรัตน์ Sales & Marketing Director อลิสา สมพงษ์

Accounting & Human Resource ณัฐธยาน์ ปัทมชัยยันต์

Customer Service สุกัญญา ศิริ Art Director ชาญชัย โควานนท์ Senior Graphic Designer วัฒนา กาสุยะ Graphic Designer วัชรภูมิ จันทร์ปันขว้าง บุญญฤทธ์ สุทธศิลป์ Illustrator มนันยา ตุงใย Columnist ศรัณย์ ดลพิพัฒน์พงศ์ Photographer อิ่มบุญ สตูดิโอ สุพัฒน์ชัย ไชยอิ่นคำ�

1.

ชวงเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ทรงปน จักรยานไปโรงเรียน แทนรถพระที่นั่ง During the World War II, His Majesty King BhumibolAdulyadej rode a bicycle to school instead of provided royal vehicle.

28

4.

Editorial Consultant LOMNUA TEAM Print Krongchang Printing OFFICE Address :

Sor.Siri Suvannaphoum Co., Ltd. 119/48 Moo 5, Tambon Suthep, Muang District, Chiang Mai 50200

Tel : 0 5381 0801 Fax : 0 5381 0811

www.finedaemag.com Email : finedae@finedaemag.com facebook.com/finedaemag

28

12 FINE /Globe

ประเทศจีน มีประชากรประมาณ หนึ่งพันสี่รอยลานคน มีรถจักรยาน ประมาณ 500 ลานคันหรือ ประมาณ 37.2% ของประชากร เมืองที่ใชจักรยานมาก ที่สุดในจีนก็คือเซี่ยงไฮ ซึ่ง 60% ของพนักงานในเมือง ประเทศเนเธอรแลนด จักรยานในการเดินทางไปทำงาน มีประชากรประมาณ 16 ลาน ใช China which has approximated population of หกแสนคน แตมีจักรยานถึง billion and four hundred million people, 16 ลานหาแสนคัน หรือประมาณ FINE one of bicycles about 500 /Featurehas the orpopulation 99.1% อัตราระยะทางการใช about 37.2% of the population. จักรยานเฉลี่ยอยูที่ 2.5 กิโลเมตร million Shanghai is the city that people use bicycle ตอคนตอ the most. Around60% of these people ride Netherlands which has approximated population bikes to commute to work. of 16 million, six hundred thousand people, has the number of bicycle of 16 FINE million /Voyage and five hundred thousand bicycles or 99.1% of its population. An average distance of bike riding is 2.5 km per person per day.

14

2.

14

5.

เมืองหลวงของเนเธอรแลนด มีทางสำหรับจักรยาน 2 ลอถีบถึง 400 กิโลเมตร และการเดินทางถึง 40% ในเมืองนี้เปนการเดินทางดวยจักรยาน In the capital city of the Netherlands, Amsterdam, has 400 km long of bike lane and 40% of transportation in the cityis bicycles.

Stylist แก้วก๊อ ณ เชียงใหม่ Translator วิริศรา เกตุพรหม

12

3. เรื่องของ.. สองล อ Two Wheels

Sales Executive จิรภัทร เขื่อนศรี

Assistant Accounting & Finance นาตยา ปิติดา

11

11 FINE /Chat

Event Organizer Manager ภาคิน ฐานุตราพงศ์

“Plywood Bike” เปนจักรยานที่ออกแบบและผลิตโดย โดย คนไทยในนาม Dots Design Studio เกิดขึ้นจากความตองการทดลองใชไม และโลหะเปนวัสดุหลัก ที่ไดรับการตอนรับ เปนอยางดีจากผูใชทั้งในไทยและตางประเทศ x “Plywood Bike” is a bicycle designed and produced by Thais in the name of Dot Design Studio with the aim to use plywood and metal as main materials, and it was wellaccepted by users both in Thailand and abroad.

6.

อ.ปรีชา พิมพพันธ เปนคนไทยคนแรกที่ปนจักรยาน ขามสามทวีป ชวงป 2504 หลังจบการศึกษาทางดานพละในไทย อ.ปรีชา ออกเดินทางเพื่อไปเรียนตอ ที่สหรัฐอเมริกา โดยเลือกที่จะปนจักรยานไป โดย ผานเสนทาง อินเดีย อาหรับ ตะวันออกกลาง ไปสูยุโรป และขามน้ำขามทะเลไปจน ถึงสหรัฐอเมริกา Preecha Pimpan was the first Thai cyclist who rode a bike acrossFINE three FINEcontinents FINE FINE in 1961. After his graduation in /Feature /DAY /Time /Voyage Physical Vehicles Education in Thailand, he travelled Alternative Keep Touring on New Decor to study in the US by cycling in the route of India, FINE Raining Day for Green Concepts Arabs, and Middle East to Europe, then crossed /Deal FINE the ocean to the US. ปลายป2 2555 นิตยสารอะเดย (a day) จัดงาน @ South Korea Chapter /People a day Bike Fest 2012 ที่สถานี รถไฟฟาแอรพอรตเรลลิ้งค FINE FINE สองล้อหรรษา FINE มักกะสัน ซึ่งถือไดวาเปนงานที/Smile ่เกี่ยวของกับจักรยานที่ใหญที่สุด /Chat /Event ในประเทศไทยเทาที่เคยจัดมา ซึRide ่งแสดงให นถึงกระแสจักรยาน ถ้าเชียงใหม่มีรถไฟฟ้า forเห็Life FINE และลาสุดทางนิตยสารอะเดย ไดจัดแถลงขาวงาน คุณอยากให้มีสถานีไหนบ้าง? FINE ที่กำลังตื่นตัวaในไทย /Biz day bike fest 2013 ที่จะเกิดขึ้นปลายปนี้ /Selection ซึ่งเปนโครงการที่ตอเนื่องจากปที่แลวอีกดวย Chiang Mai FINE Alternative At the end of Year 2012, ‘a day’ Magazine hosted Techno Sightseeing /Globe Eco Gears the event named A Day Bike Fest 2012 at the sky train Two Wheels station, Makkasan (Airport Rail Link), which was FINE considered the biggest ever bike event in Thailand. /Dine It was represented the increasing bike riding trend in Thailand. Recently, there was a press conference of A Day Bike Fest 2013 to be held on 7-10 November, 2013. จักรยาน หรือรถถีบ (ชื่อที่นิยมเรียกกันในขณะนั้น) เขาไทยมาเปนครั้งแรกในชวงสมัย ในสงครามอินโดจีน รัชกาลที่ 5 หรือประมาณในชวงป

8 7. 10 11 12

9.

CONTENTs

14 22 24

28

44

32 42

46

8.

26

10.



Day อ

Bonzai Exhibition and workshop @ 2nd floor Central Plaza Chiang Mai Airport

Ploy Saeng 11 Festival : Nod to the North Creative Show Case

Moo MuZuLive at Warm Up Cafe Chiang Mai

ร่วมค้นหาแสงกล้าแห่งพลังงานของเมืองเชียงใหม่ เมืองทีม่ าก ด้วยทุน หลากหลายด้วยโอกาส และศักยภาพที่ซุกซ่อนอยู่ใน ทุกกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์จากการคัดสรรของ 30 คนต้นคิดถิ่น เหนือ สู่ 30 ชิ้นงานคุณภาพ “เหนือขนาด” เข้าชมฟรีที่ห้อง นิทรรศการ TCDC เชียงใหม่ หลังกาดเมืองใหม่ ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2556 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0 2664 7667 ต่อ 119 เวลา 9.30 – 17.30 (ปิดวันจันทร์) หรือ 0 5208 0500 ต่อ 336 หรือ www.facebook.com/ploysaeng.tcdc

มาอีกแล้วกับคอนเสิร์ตดีๆ กับศิลปินคุณภาพเจ้าของบทเพลง ทีเ่ ศร้าหมองแต่สวยงามกับ “Moo Muzu @ Warm Up Cafe Chiang Mai” ที่จะมามอบบรรยากาศเคล้าน�้ำตาให้กับทุก คน ภายในวันที่ 18 กันยายน 2556 ที่ Warm Up Cafe Chiang Mai ติดต่อสอบถามและส�ำรองโต๊ะได้ที่ 0 5340 0677

เจแปนฟาวน์ เ ดชั่ น กรุ ง เทพฯและบริ ษั ท ไดโคคุ ย ะ จ�ำ กั ด ร่วมกับศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต จัดนิทรรศการบอนไซที่จะแสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ และมุมมองที่มีลักษณะเฉพาะทางสุนทรียศาสตร์ของญี่ปุ่น พร้อมกันนี้ยังมี “คุโรมัทซึ” ราชาแห่งบอนไซญี่ปุ่นเข้ามาจัด แสดงและเวิร์คช็อปการดูแลบอนไซจากมืออาชีพผู้สืบทอดรุ่น ที่ห้าจากนาคานิฉิอีกด้วย ณ บริเวณชั้น 2 หน้าลิฟท์แก้ววันที่ 11 - 12 กันยายน 2556

Indian Movie Film Fest by Major Cineplex

Singha World 2013

ROSES FALL BY PRAEPLOY JINJUM

เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เชียงใหม่ จัดเทศกาลหนังอินเดีย Indian Movie Film Fest ครัง้ แรกในเชียงใหม่ทเี่ ต็มอิม่ กับภาพยนตร์ ชั้นดีจากอินเดียในวันที่ 5 - 11 กันยายน 2556 ชมฟรี 7 วั น 7 เรื่ อ งติ ด ต่ อ รั บ บั ต รชมภาพยนตร์ ใ นวั น ที่ ท ่ า น ต้ อ งการเข้ า ชมก่ อ นรอบฉาย 1 ชั่ วโมงที่ โ ต๊ ะ ลงทะเบี ย น Indian Movie Film Festเมเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ ชั้ น 4 เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต

สิงห์ ฉลองครบรอบ 80 ปี กับงาน Singha World 2013 งานใหญ่ที่จะตระเวนเปิดบ้านต้อนรับชาวสิงห์ทุกภูมิภาค ร่ ว มสนุ ก กั บ คาราวานความมั น ส์ สนุ ก สุ ด เหวี่ ย งกั บ คอนเสิ ร ์ ต ศิ ล ปิ น สุ ดโปรดของคุ ณ กิ จ กรรมขบวนพาเหรด จากเหล่ า ดารา เซเลบ ชื่ อ ดั ง และรื่ น เริ ง บั น เทิ งใจไปกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นเครื อ ของสิ ง ห์ ทุ ก แบรนด์ ใ นงานนี้ ในวั น ที่ 14 – 15 กั น ยายน 2556 ณ เชี ย งใหม่ ฮ อลล์ เซ็ น ทรั ล พลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ที่ แ ผนกประชาสั ม พั น ธ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ จ�ำกัด โทร. 053999199, www.centralplaza.co.th

เชิ ญ ชมนิ ท รรศการแสดงผลงานภาพพิ ม พ์ เ ดี่ ย ว ที่ ถู ก สร้างสรรค์ผ่านมุมมองของผู้หญิง ว่าด้วยการตีความผ่าน อารมณ์ แ ละจิ น ตนาการอย่ า งฟุ ้ ง ฝั น สู ่ ผ ลงานภาพพิ ม พ์ โลหะแนวเซอเรียลลิส โดย แพรพลอย จินจ�ำ ศิษย์เก่าคณะ วิจิตรศิลป์ รุ่นที่ 25 สาขาภาพพิมพ์จัดแสดงวันที่ 5 - 22 กันยายน 2556 ที่ ศูนย์ศิลปะบ้านตึก ตรงข้ามวัดอุปคุต ถนนท่ า แพ ร่ ว มพิ ธี เ ปิ ดในวั น ที่ 5 กั น ยายน ตั้ ง แต่ เ วลา 18.00 น.เป็นต้นไป

8 www.finedaemag.com



Deal

Pen : Fine Team Lens : Fine Team

Hong kong food festival @ Centara Duangtawan

โรงแรมเซ็ น ทาราดวงตะวั น เชี ย งใหม่ จั ดโปรโมชั่ น “เทศกาลอาหารฮ่ อ งกง” ระหว่ า งวั น ที่ 30 สิ ง หาคม – 30 กันยายน 2556 โดยในปีนี้ ได้รับเกียรติจาก เชฟ แลม ฮิง กั๊ม เชฟใหญ่เลื่องชื่อ ประจ�ำห้องอาหารไดนาสตี้ จากโรงแรม เซ็ น ทารา แกรนด์ แอท เซ็ ล ทรั ล พลาซ่ า ลาดพร้ า ว กรุ ง เทพฯ มาเป็ น เชฟรั บ เชิ ญโชว์ ฝ ี มื อ ฝาก ความอร่ อ ยขั้ น เทพ ในแบบฉบั บ อาหารฮ่ อ งกงสู ต ร ต้ น ต�ำ รั บ ให้ ช าวเชี ย งใหม่ ไ ด้ ลิ้ ม ลอง ที่ ห ้ อ งอาหารจี น ซันฟลาวเวอร์ บนชั้น 24 โรงแรม เซ็นทาราดวงตะวัน เชียงใหม่ และขอแนะน�ำ อาหารฮ่ อ งกง แบบเซ็ ต ส�ำ หรั บ สั ง สรรค์ แ บบ ครอบครั ว อบอุ ่ น หรื อ สั ง สรรค์ เป็ น หมู ่ ค ณะ ก็ เ หมาะส�ำ หรั บ ทุ กโอกาส กั บ นานาความ อร่ อ ย หลากหลายรายการให้ เลื อ กตามความพึ ง พอใจ ใน ราคาเริ่ ม ต้ น ที่ 5,000 บาท ต่ อ 10 ท่ า นเท่ า นั้ น เหมาะ ส�ำ หรั บ มื้ อ กลางวั น ระหว่ า ง เวลา 11.30 – 14.30 น. หรือสังสรรค์ในมื้อค�่ำ เวลา 18.00 – 22.30 น. ณ ห้ อ งอาหารจี น ซั น ฟลาวเวอร์ บนชั้น 24 พลาดไม่ได้ด้วยประการทั้งปวง ส นใ จ ส อ บ ถ า ม ข ้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม แ ล ะ ส�ำ ร อ ง ที่ นั่ ง 0 5390 5000 ต่อ 3227 หรือ 82406

53

fineDae-Apr.indd 53

4/2/56 BE 5:53 PM

Oasis

50% OFF Every Treatment @ Oasis Spa Baan Saen Doi, Chiang Mai

พิ เ ศษสุ ด กั บ ข้ อ เสนอที่ จ ะท�ำให้ คุ ณ สะดุ ้ ง !!! โอเอซิ ส สปาบ้ า นแสนดอย เชี ย งใหม่ จั ดโปรโมชั่ น พิ เ ศษส�ำ หรั บ ลูกค้าที่ต้องการนวดหน้า นวดขัดผิว และพอกตัว รับส่วนลดพิเศษทันทีถึง 50% โดยไม่ต้องแสดงคูปองหรือบัตร สมาชิกใดๆ ทั้งสิ้น โอเอซิสบ้านแสนดอยตั้งอยู่บนถนน ชลประทาน ใกล้พชื สวนโลกราชพฤกษ์ ให้คุณได้สัมผัสบรรยากาศที่สวยงาม กั บ กลิ่ น อายสถาปั ต ยกรรมล้ า นนา ผ่ อ นคลายไปกั บ วิ ว กว้ า งๆ จาก ภู เ ขาและสวนสวย ตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึ ง 30 กันยายน 2013 เท่านั้น ติ ดต ่ อส อบ ถ า มข ้ อมู ล เพิ่ มเติ ม 0 5392 0111

The 44th Anniversary of Asia Books Celebration เพือ่ เป็นการขอบคุณลูกค้าในการสนับสนุนตลอด ระยะเวลา 44 ที่ผ่านมา ร้านหนังสือ เอเซียบุ๊คส์ ทุกสาขา จึงได้ร่วมกันจัดแคมเปญ “The 44th Anniversary of Asia Books” ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2556 พร้อมข้อเสนอและ กิจกรรมพิเศษที่ลูกค้าไม่ควรพลาด ลูกค้าทีซ่ อื้ หนังสือและสินค้าทีร่ ว่ มรายการ 1,000 บาทขึ้นไป จะได้รับคูปองส่วนลดมูลค่า 4,400 บาท เพื่อใช้เป็นส่วนลดในครั้งต่อไป พร้อมกันนี้ รับส่วนลด 20% ส�ำหรับลูกค้าที่ซื้อหนังสือ ในหมวดไลฟ์สไตล์ นวนิยาย + non-fiction และการบริหาร ในวันจันทร์ อังคาร และพุธ ตามล�ำดับ ในเงื่อนไขที่กำ� หนด พิเศษสุดส�ำหรับสมาชิก กับแคมเปญ Pointism ที่สมาชิก สามารถน�ำคะแนนสะสมแลกรับส่วนลดในมูลค่าที่สูงกว่า ติดตามกิจกรรมดี ๆ ในแคมเปญที่จะจัดขึ้นตลอดช่วงเดือนสิงหาคม ถึงตุลาคม 2556 ติ ด ต่ อ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ ฝ่ า ยบริ ก ารลู ก ค้ า โทร. 0 2251 8571 หรื อ ที่ www.asiabooks.com


Chat

Pen : Fine Team Lens : Fine Team

สิริรัตน์ จันทร์พิลา (เก็ท) ประชาสัมพันธ์ศนู ย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต

- ศูนย์ราชการเชียงใหม่ เพราะทุกคนมีธุระที่น่ันแน่นอน - เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เพราะเป็นแหล่งรวมความบันเทิงที่หลากหลาย - ศูนย์ประชุมนานาชาติ 700 ปี เวลามีการจัดงานที่นี่ จะได้เดินทางมาสะดวก

เพ็ญพกา จันต๊ะคำ� (ฝน), ณัฏฐ์อริยา สุริยะโชติ (เป้) นางแบบ

- หน้า มช. เพื่อการเดินทางที่ง่ายของนักศึกษา - เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เพราะทุกคนชอบนัดหมายกันทีน่ ี่ และใกล้สนามบิน - สถานีขนส่งอาเขต เป็นสถานีเชื่อมต่อให้กับนักเดินทางต่างถิ่น

จันทิมา บุญฤทัยรัตน์ (หมิง) ESPRIT Asst. Retail Marketing Manager

- หน้าร้าน ESPRIT เพราะที่นี่ตอบโจทย์ได้ทุกความต้องการของทุกท่าน - ศูนย์วฒ ั นธรรมเชียงใหม่ อยากให้นกั ท่องเทีย่ วรูจ้ กั กับวัฒนธรรมของเชียงใหม่ให้มากขึน้ - สนามบิน เพราะนักท่องเที่ยวสามารถไปเที่ยวต่อได้ทันทีหลังจากลงเครื่อง

ธนัชกร ฝายนันชัย (อาร์ต) นักจัดรายการวิทยุ

- กาดอุ๊ยทา ไกลนะ แต่ก็อยากให้คนไป (ฮา) - โรงพยาบาลสวนดอก เพราะเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องส�ำคัญ - สนามบิน ทุกคนจะได้ไปมาสะดวก ไม่ต้องไปฝากรถที่สนามบิน


3. เรื่องของ.. สองล อ Two Wheels

Globe

ประเทศจีน มีประชากรประมาณ หนึ่งพันสี่รอยลานคน มีรถจักรยาน ประมาณ 500 ลานคันหรือ ประมาณ 37.2% ของประชากร เมืองที่ใชจักรยานมาก ที่สุดในจีนก็คือเซี่ยงไฮ ซึ่ง 60% ของพนักงานในเมือง ประเทศเนเธอรแลนด จักรยานในการเดินทางไปทำงาน มีประชากรประมาณ 16 ลาน ใช China which has approximated population of หกแสนคน แตมีจักรยานถึง one billion and four hundred million people, 16 ลานหาแสนคัน หรือประมาณ has the population of bicycles about 500 99.1% อัตราระยะทางการใช million or about 37.2% the population. จักรยานเฉลี่ยอยูที่ 2.5 กิโลเมตร Shanghai is the city thatofpeople use bicycle ตอคนตอ the most. Around60% of these people ride Netherlands which has bikes to commute to work. approximated population of 16 million, six hundred thousand people, has the number of bicycle of 16 million and five hundred thousand bicycles or 99.1% of its population. An average distance of bike riding is 2.5 km per person per day.

Pen : Yossoontorn Pencil : MORMEWiiz

2.

1.

ชวงเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ทรงปน จักรยานไปโรงเรียน แทนรถพระที่นั่ง During the World War II, His Majesty King BhumibolAdulyadej rode a bicycle to school instead of provided royal vehicle.

4.

5.

เมืองหลวงของเนเธอรแลนด มีทางสำหรับจักรยาน 2 ลอถีบถึง 400 กิโลเมตร และการเดินทางถึง 40% ในเมืองนี้เปนการเดินทางดวยจักรยาน In the capital city of the Netherlands, Amsterdam, has 400 km long of bike lane and 40% of transportation in the cityis bicycles.

6.

อ.ปรีชา พิมพพันธ เปนคนไทยคนแรกที่ปนจักรยาน ขามสามทวีป ชวงป 2504 หลังจบการศึกษาทางดานพละในไทย อ.ปรีชา ออกเดินทางเพื่อไปเรียนตอ ที่สหรัฐอเมริกา โดยเลือกที่จะปนจักรยานไป โดย ผานเสนทาง อินเดีย อาหรับ ตะวันออกกลาง ไปสูยุโรป และขามน้ำขามทะเลไปจน ถึงสหรัฐอเมริกา Preecha Pimpan was the first Thai cyclist who rode a bike across three continents in 1961. After his graduation in Physical Education in Thailand, he travelled to study in the US by cycling in the route of India, Arabs, and Middle East to Europe, then crossed the ocean to the US.

7.

9.

12

“Plywood Bike” เปนจักรยานที่ออกแบบและผลิตโดย โดย คนไทยในนาม Dots Design Studio เกิดขึ้นจากความตองการทดลองใชไม และโลหะเปนวัสดุหลัก ที่ไดรับการตอนรับ เปนอยางดีจากผูใชทั้งในไทยและตางประเทศ x “Plywood Bike” is a bicycle designed and produced by Thais in the name of Dot Design Studio with the aim to use plywood and metal as main materials, and it was wellaccepted by users both in Thailand and abroad.

จักรยาน หรือรถถีบ (ชื่อที่นิยมเรียกกันในขณะนั้น) เขาไทยมาเปนครั้งแรกในชวงสมัย รัชกาลที่ 5 หรือประมาณในชวงป พ.ศ.2420 การสั่ง - ซื้อ - สงจักรยาน โดยทางเรือจากยุโรปมาถึงไทย The first bicycle in Thailand was imported in the period of King Rama V (around 1877). The process of order and delivery from Europe to Thailand took nearly a year.

8.

ปลายป 2555 นิตยสารอะเดย (a day) จัดงาน a day Bike Fest 2012 ที่สถานีรถไฟฟาแอรพอรตเรลลิ้งค มักกะสัน ซึ่งถือไดวาเปนงานที่เกี่ยวของกับจักรยานที่ใหญที่สุด ในประเทศไทยเทาที่เคยจัดมา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงกระแสจักรยาน ที่กำลังตื่นตัวในไทย และลาสุดทางนิตยสารอะเดยไดจัดแถลงขาวงาน a day bike fest 2013 ที่จะเกิดขึ้นปลายปนี้ ซึ่งเปนโครงการที่ตอเนื่องจากปที่แลวอีกดวย At the end of Year 2012, ‘a day’ Magazine hosted the event named A Day Bike Fest 2012 at the sky train station, Makkasan (Airport Rail Link), which was considered the biggest ever bike event in Thailand. It was represented the increasing bike riding trend in Thailand. Recently, there was a press conference of A Day Bike Fest 2013 to be held on 7-10 November, 2013.

10.

ในสงครามอินโดจีน กองทัพบกของไทย ใชรถจักรยาน ยี่หอ ฟลลิปส และยี่หอ ซันบีม เปนยานพาหนะดวย During the Indochina War, Thai Royal Army used Philips and Sun Beam bicycles as their vehicles. www.finedaemag.com



Feature

Pen : Frank Dolp & Yossoontorn Lens : Supatchai C.

Alte Ve

14 www.finedaemag.com


ernative Vehicles

ทุกการเดินทางของมนุษย์ มักมี “เวลา” เป็นตัวแปรหลัก มนุษย์ “เพิ่ม” ความเร็ว ของการเดินทางเพื่อ “ลด” เวลา แต่แลกกับการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้น แลกกับสภาพ แวดล้อมที่เสื่อมลงจากมลพิษ แลกกับสุขภาพที่ขาดการใส่ใจดูแล ส�ำคัญกว่านั้นคือ การเสียโอกาสที่จะเห็นสิ่งต่างๆ ได้นานขึ้น สองข้างทางกลายเป็นเพียงภาพปลาย หางตา ท้ายสุด หากมนุษย์เดินทางด้วยความเร็วที่มาก โลกของมนุษย์ผู้เร่งรีบจะ มีแค่สถานีต้นทางกับปลายทางเท่านั้น เชียงใหม่ในปัจจุบัน เทียบกับเมื่อก่อนจะเห็นได้ถึงปริมาณรถที่เพิ่มขึ้น ถนนใน มช. ไม่เคยติดยังต้องติด ทุกแจ่ง ทุกมุมเมืองเต็มไปด้วยการจอดรถข้างถนน เบียด เสียดพื้นที่ถนนซึ่งเดิมทีก็ไม่ได้กว้างสักเท่าไหร่ FINE DAE ฉบับนี้ อยากแนะน�ำ ให้ท่านผู้อ่านเดินทางช้าลงอย่างมีสไตล์ ผ่านพาหนะที่จะเป็นเพื่อนร่วมเดินทาง ไปทุกที่กับท่านอย่างง่ายๆ ชีวิตที่ช้าบ้างอาจท�ำให้เห็นโลกกว้างขึ้นสถานที่เดิมๆ ที่ เคยผ่านตา อาจชวนให้คุณหยุดดูด้วยภาพและมุมมองที่แปลกไป ที่ส�ำคัญยังลดการ ใช้พลังงาน และไม่สร้างมลพิษเพิ่มให้กับโลก On every journey we make, time plays an important role as a main variable. We “increase” the speed of our journey in order to “decrease” the time involved. The cost of this exchange comes in the form of additional energy used, increased pollution and possible damage to our health. The greatest cost, however, is the lost opportunity to see things along the route of our journey. There will come a time when all we notice are the journey’s starting point and destination. In Chiang Mai, the rapid increase in the city’s number of motor vehicles has resulted in worsening traffic jams everywhere, exacerbated by often irresponsible on-street parking. In this issue, FINE DAE suggests better, albeit slower, means of transport which enable users to take in the attractions of Chiang Mai while contributing towards a better environment, where a reduction in energy leads to less pollution and, in a wider context, a cleaner world.

15 facebook.com/finedaemag


Feature

Bicycle จักรยาน

16 www.finedaemag.com


Bicycle เริ่มมีการบันทึกไว้เมื่อประมาณ 2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ว่า จีนเป็นชาติแรก ๆ ในโลกที่ได้ประดิษฐ์ยานพาหนะทางบกที่มี ลั กษณะคล้ า ยรถจั กรยานขึ้น ซึ่ง ต่ อมาอี ยิ ป ต์ และอิ น เดี ย ก็ ไ ด้ ประดิษฐ์ขึ้นเช่นเดียวกัน แต่ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะ รูปร่างที่แน่นอน จากนั้นในปี ค.ศ.1790 ชาวฝรั่งเศสประดิษฐ์ ยานพาหนะ 2 ล้อ เชื่อมกันด้วยไม้ เป็นอานคล้ายหลังม้า และ เคลื่อนที่ไปข้างหน้าด้วยการไสด้วยเท้า ในชื่อ Celerifere ซึ่ง จากแนวคิดดังกล่าวนี้ ชาวเยอรมันจึงได้ท�ำการเพิ่มเติมอุปกรณ์ ที่ใช้บังคับทิศทาง และปรับที่นั่งให้มีสปริง ท�ำให้ในอีกประมาณ 20 ปีต่อมา รถจักรยานคันแรกของโลกก็ได้ถือก�ำเนิดขึ้น หลั ง ต้ น แบบจั ก รยานของเยอรมั น ที่ ส ร้ า งออกมามี ค วาม ใกล้เคียงกับรูปร่างของจักรยานในปัจจุบันที่สุดแล้ว ช่วงหลังจึง เป็นการพัฒนาให้จักรยานสามารถเดินทางได้รวดเร็วขึ้น มีการ เพิ่มเติมเกียร์ ปรับแต่งเบาะและอานให้นั่งสบาย และเหมาะสม ที่จะใช้ในการเดินทางยิ่งขึ้น จักรยานเข้ามาในประเทศไทยช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 มีการประชุม รถจักรยานเป็นครั้งแรกที่วังบูรพาภิรมย์ โดยในสมัยนั้นการสั่ง ซื้อ หรือการส่งจักรยานโดยทางเรือจากยุโรปมาถึงไทยใช้เวลา เกื อ บปี ทั้ งในสงครามอิ นโดจี น กองทั พ บกของไทย ก็ ยั ง เคย ใช้รถจักรยาน เป็นยานพาหนะด้วย จวบจนปัจจุบันนี้จักรยาน กลายมาเป็นพาหนะทางเลือกที่ได้รับความนิยมอย่างมากจาก ทั่วโลก ซึ่งนอกจากจะเป็นการลดมลพิษที่เกิดจากการเดินทาง แล้ ว ยั ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางในการออกก� ำ ลั ง กายที่ ก� ำ ลั ง เป็ น ที่ นิยมอย่างมากอีกด้วย

Thousands of years ago, a wheeled vehicle that resembled a bicycle made its appearance in China. Evidence of similar vehicles was found in Egypt and India. In 1790, the French invented a wooden two-wheeled vehicle with an equestrian saddle and named it “‘Celerifere”. It was propelled by the rider with his feet. German enthusiasts developed the invention further, giving the bicycle a device for direction control and replacing the hard saddle with a sprung seat. About 20 years later (around 1816-1868), the world first bicycle was invented. The German prototype was similar to the shape of today’s bicycle. Later additions increased its speed and comfort, making it more suitable for traveling ever greater distances. Thailand’s first bicycle was imported during the reign of King Rama V. export and import documentation in those days took one year to complete. The country’s first conference of bicycle enthusiasts was held at Burabhapirom Palace. Moreover, Thai Royal Army also used bicycles as vehicles in the Indochina War (1946-1954). Nowadays, the bicycle is everywhere a popular and pollution-free means of transport. And, let’s not forget, cycling has the added benefit of being a great way to exercise.

17 facebook.com/finedaemag


Feature

SEGWAY

18 www.finedaemag.com


ที่นิยม แต่ด้วยราคาที่ค่อนข้างสูงท�ำให้ Segway ในบ้านเราจึง ยังใช้งานในวงแคบๆ ในเชียงใหม่มีร้านค้าและบริการที่เปิดให้นักท่องเที่ยวทดลอง ใช้ เ จ้ า เครื่ อ งดั ง กล่ า วนี้ เ ช่ น กั น โดยจะก� ำ หนดเส้ น ทางในการ เดินทางชมตัวเมืองเชียงใหม่ และใช้ Segway ในการเดินทาง ซึ่ ง นอกจากจะเป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางในการเที่ ย วชมเชี ย งใหม่ ที่ ฉี ก การเดิ น ทางทุ ก รู ป แบบแล้ ว การเดิ น ทางที่ ช ้ า ลงยั ง ช่ ว ยให้ สามารถเห็ น อะไรมากมายกว่ า การเดิ น ทางด้ ว ยวิ ธี ก ารอื่ น ๆ อีกด้วย

SEGWAY กระแสรักษ์โลกที่เกิดขึ้นในช่วงหลังๆ นี้ ส่งผลให้มีการคิดค้น พาหนะที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มมากมายเกิ ด ขึ้ น หนึ่ งในนั้ น คือเจ้ารถเคลื่อนที่ 2 ล้อหน้าประหลาดที่สามารถตอบโจทย์การ เดินทางในการลดมลพิษได้เป็นอย่างดี Segwayเป็ น ยานพาหนะสองล้ อ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาระบบ ควบคุ ม การท� ำ งานโดยยึ ด หลั ก การเคลื่ อ นที่ ข องมนุ ษ ย์ โดย เลียนแบบการท�ำงานของระบบของเหลวในหูชั้นในของมนุษย์ หรือที่เรียกว่าระบบวัดการทรงตัว (Balance Sensor) ด้วยการ เคลื่อนที่อย่างนุ่มนวล และแม่นย�ำ ใช้การโน้มตัวในการก�ำหนด ทิศทางและความเร็ว ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ ซึ่งไม่ว่าน�้ำมันจะ แพงแค่ไหนก็จะไม่เป็นปัญหาของการเดินทางอีกต่อไป หัวใจการทรงตัวของ Segway คือระบบที่ชื่อว่า Gyroscopse Dynamic Stabilization ที่ จ ะตอบสนองทั น ที เ มื่ อ ต� ำ แหน่ ง ของร่ า งกายเราเปลี่ ย นแปลง ด้ ว ยเหตุ นี้ เ จ้ า Segway จึ งไม่ มี เบรคและคันเร่ง มีเพียงการเอียง หรือปรับต�ำแหน่งการทรงตัว ก็กลายเป็นการสั่งการท�ำงานของเครื่องโดยทันที เช่นการเอียง ตัวไปข้างหน้าจะหมายถึงต้องการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เอนไป ข้างหลังเท่ากับเคลื่อนไปข้างหลัง และการทิ้งน�้ำหนักกลับมาตรง กลางเครื่อง ก็จะกลายเป็นเบรค จึงท�ำให้ Segway ได้รับความ นิยม เพราะความฉลาดล�้ำนี้จึงกลายเป็นพาหนะทางเลือกที่เป็น

Recently, a strange-looking electrically-powered two-wheeled vehicle has made its appearance on the scene. It’s the segway—which requires just a battery and a good sense of balance. The driver stands upright, keeping balance with the aid of a control system that imitates the inner ear’s own balance sensor. A rechargeable battery provides power, making the segway an ideal pollution-free vehicle. The key to the segway’s balancing system is “Gyroscopse Dynamic Stabilization,” which responds immediately when the driver changes position. No braking system is required because the driver operates the vehicle by just leaning forwards, backwards or to the side, bringing it to a halt by simply standing straight. Segways are gaining rapidly in popularity in Chiang Mai and can be rented from several shops and travel agencies. It’s the ideal way for visitors to tour the city and take in its sights.

Thank you : Segway Gibbon

19 facebook.com/finedaemag


Feature

Skateboard&CRUISER BOARD

20 www.finedaemag.com


Skateboard

&CRUISER BOARD

ใครจะเชื่อว่ากระดานติดล้อ ที่เริ่มแรกถูกสร้างขึ้นมาใช้เพื่อความ สนุกของวัยรุ่น จะกลายมาเป็นพาหนะทางเลือกสุดแนวที่ได้รับ ความนิยมอย่างแพร่หลายของวัยรุ่นจนถึงปัจจุบัน สเก็ตบอร์ดเกิดขึ้นจากกลุ่มนักเล่นเซิร์ฟในแถบแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าโดยทดลองใช้ บ นถนนที่ มี ลั ก ษณะเป็ น ลอน แทนคลื่นในทะเลในช่วงที่ไม่ใช่ฤดูกาลโต้คลื่น ชาวอเมริกา นิยมเล่นมาก ตั้งแต่ช่วงปี 1950 ประกอบกับดนตรีและภาพยนตร์ เกี่ ย วกั บ สเก็ ต บอร์ ด เป็ น ตั ว ปลุ ก กระแสความความนิ ย มท� ำให้ วงการการออกแบบสเก็ตบอร์ดตื่นตัวมาก โดยได้รับแรงบันดาล ใจจากเซิ ร์ ฟบอร์ ด จนมี ก ารผลิ ต เพื่ อการค้ าครั้ ง แรกในปี 1959 หลังจากนั้นก็มีการพัฒนามาเรื่อย ๆ ทั้งปรับรูปแบบของกระดาน ให้สมดุลยิ่งขึ้น และเปลี่ยนวงล้อเพื่อความปลอดภัยและความ คล่องตัว ทุกวันนี้สเก็ตบอร์ด กลายเป็นตัวแทนของวัยรุ่นที่แสดงออก ถึงความกล้า ความท้าทาย และถูกน�ำมาใช้เป็นช่องทางการเดิน ทาง ที่ ไ ม่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มเลย ทั้ ง ยั ง มี นั ก ออกแบบ และนักพัฒนาน�ำแนวความคิดของเจ้ากระดานติดล้อมาคิดต่อ จนกลายเป็ น CRUISER BOARD ที่ มี รู ป ร่ า งหน้ า ตาคล้ า ยกั บ สเก็ตบอร์ดต้นฉบับ ต่างกันที่น�้ำหนักเบากว่า และขนาดกะทัดรัด ขึ้ น สามารถหิ้ ว ติ ด ตามไปได้ ทุ ก ที่ เป็ น อี ก หนึ่ ง ตั ว เลื อ กหนึ่ ง ที่ น่าสนใจ ก�ำลังได้รบั ความนิยมในต่างประเทศ เนือ่ งจากสเก็ตบอร์ด และครูซเซอร์ บอร์ด เป็นทางเลือกเพื่อการเดินทางระยะสั้นๆ เช่น ภายในมหาวิทยาลัย หรือภายในหมู่บ้าน และมีไม่น้อยที่ อาจจะน�ำไปใช้ประกอบกับระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ เช่น รถไฟฟ้า ใต้ ดิ น หรื อ รสบั ส เพื่ อ ช่ ว ยย่ น ระยะเวลาในการเดิ น เท้ าได้ เ ป็ น อย่างดี ส่วนในเมืองไทยนั้นเริ่มน�ำเข้ามาจัดจ�ำหน่ายจนมีกลุ่ม คนที่นิยมเล่น CRUISER BOARD นี้อยู่ไม่น้อยทีเดียว

หลังจากส่งมอบข้อมูลพาหนะทั้งสามแล้ว ในคอลัมน์ต่อ จากนี้ ทางที มงานจะสาธิ ตให้ ดู ว ่ า เมื่ อ ต้ อ งเดิ น ทางใน แต่ ล ะครั้ ง หากเราเลื อ กพาหนะเหล่ า นี้ เ ที ย บกั บ การใช้ รถยนต์ จะต้องใช้เวลาเท่าไหร่บ้าง เพื่อเป็นข้อมูลส�ำหรับ คนที่อยากเดินทางโดยไม่กังวลเรื่องเวลา โดยทีมงานขอ ก�ำหนดให้ข่วงประตูท่าแพเป็นกิโลเมตรที่ 0 หรือสถานี ต้นทางส�ำหรับการเดินทางไปในทุกคอลัมน์ เริ่มกันเลย ที่หน้าถัดไป ข่วงประตูท่าแพ Thapae Gate

Time

Check in

Who would have believed that a simple wooden board with wheels that started life as a plaything for teenagers would become a popular way for young people to get around? The skateboard originated in the 1950s in California, where surfers modified the surfboard design to create similar means of getting around on dry land. At first, the surfers made their own but commercial production of skateboards began in 1959. They rapidly became part of youth culture, celebrated in music and on the screen, and modified and improved over the years. Skateboard designers and developers then went a stage further and produced a smaller, lighter and more compact version called the Cruise Board. They’re no longer just a teenager novelty but are extensively used by commuters, and not just by college students cruising to and from the campus. Distributors in Thailand have now recognized the trend, and the number of users is growing steadily. Thank you : Preduce

21 facebook.com/finedaemag


People Pen : Frank Dolp Lens : Fotofriday

สองล้อหรรษา สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างที่สองล้อของจักรยานก�ำลังท�ำงานอยู่นั้น ไม่ได้มีเพียงระยะทางที่ตัวจักรยาน เคลื่อนที่ผ่านเท่านั้น เพราะเรื่ องราวที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ างทาง ก็ ท� ำ ให้ ใ ครหลายๆ คนหลงใหลกั บ พาหนะชนิดนี้ และบางครั้งก็ถึงขั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตที่ขาดกันไม่ได้ เช่นเดียวกับกลุ่ม นักปั่นทั้งเสือหมอบและเสือภูเขาที่รวมตัวกันอย่างเหนียวแน่นทุกวันอาทิตย์ ที่ส�ำคัญคือ ปั่น ด้วยกันเป็นเวลาถึง 11 ปีแล้ว

ชื่อกลุ่ม? พวกเรากลุ่ม “ซอยตันหรรษา” ครับ

ที่มาของชื่อกลุ่ม และจ�ำนวนสมาชิก? มีที่มาจากสถานที่อาศัยของผู้ก่อตั้งอยู่ในซอยตันนั่นเอง และที่หรรษาก็คือ กลุ่ม เราหรรษากันจริงๆ นะ ไปที่ไหน ก็จะมีแต่เรื่องสนุกๆ ตามไป ปัจจุบันมีคนมาร่วม หรรษากับเราอยู่ที่ราวๆ 50 คัน

ท�ำไมถึงเลือกที่จะใช้จักรยานแทนกิจกรรมอื่น? หลักๆ คือเราทุกคนชอบการท่องเที่ยว จักรยานก็ตอบโจทย์เราในเรื่องนี้ด้วย แถม ได้ทั้งสุขภาพทั้งๆ ที่ไปเที่ยว ที่ส�ำคัญ เราได้พูดคุยกันตลอดทาง ได้เดินทางกับ เพื่อน เฮฮากันไป ถึงขั้นปรึกษาปัญหาชีวิตก็มี บางทีเราก็เห็นบางคนในกลุ่มแอบ ซ้อมคนเดียวเพื่อจะเตรียมวัดความเร็วในวันที่เรานัดกันบ้าง ท�ำลายสถิติที่ตัวเอง ท�ำบ้าง บางคนปั่นไม่ไหวจริงๆ ก็จะแบกจักรยานขึ้นรถ คือทุกอย่างที่เราเจอด้วย กันผ่านจักรยานนั้น มันมีความสุขไปหมด

ถ้าไม่ปั่นจักรยาน กลุ่มคุณจะท�ำอะไร? เราไม่เคยคิดถึงค�ำถามนี้เลยจริงๆ คิดว่ากลุ่มคงแตกถ้าไม่มีจักรยาน จะให้ไป เล่นกีฬาอื่น มันก็พูดคุยพร้อมๆ กับออกก�ำลังกายล�ำบาก คิดว่าคงไม่มีอะไรมา แทนจักรยานได้

กิจกรรมเพื่อสังคมที่ทางกลุ่มเคยมีส่วนร่วม? ในช่วงเกิดเหตุสึนามิที่ญี่ปุ่น ทางกลุ่มได้รวบรวมกลุ่มจักรยานในเชียงใหม่ออก เรี่ ยไรเงิ น ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย แล้ ว น�ำไปมอบให้ กั บ กงสุ ล ญี่ ปุ ่ น เคยปั ่ นไป ถึ ง ล�ำ ปางเพื่ อ น�ำ เงิ นไปมอบให้ กั บโรงพยาบาลช้ า ง กิ จ กรรม Car Free Day พวกเราก็ร่วมด้วยตลอดไม่เคยขาด และในอนาคต เราอยากออกทริปจักรยานกับ ทุกกลุ่มในเชียงใหม่เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันอย่างทั่วถึง

22 www.finedaemag.com


C

M

Y

CM

ถ้ า จู ่ ๆ มี ค นมาทุ บ จั ก รยานคุ ณ ต่ อ หน้ า ต่ อ ตา แต่ เ อากุ ญ แจรถยนต์ ยื่ น ให้ คุณจะ? รับไว้แน่นอนครับ ไม่ลังเลด้วย(ฮา) แหม รถยนต์เชียวนะครับ แต่ถึงยังไง พรุ่งนี้ เราก็ต้องไปซื้อจักรยานใหม่อยู่ดี เพราะสองล้อพวกนั้นแหละที่คือชีวิต เราไม่ยอม ปล่อยให้ชีวิตเราหายไปง่ายๆ แน่ๆ

ประเทศไทยเคยมีการรณรงค์ ในเรื่องการปั่นจักรยาน แต่ยังไม่เป็นกระแส เท่าที่ควร คิดว่าเป็นเพราะ? คิดว่ารัฐบาลประเทศเราไม่ได้ให้ความส�ำคัญในจักรยานมาตั้งแต่แรก อีกอย่าง คื อ คนไทยยั ง มองจั ก รยานเป็ น เพี ย งอุ ป กรณ์ กี ฬ าเท่ า นั้ น ไม่ ไ ด้ เ ล็ ง เห็ น ความ ส�ำคัญขนาดที่จะเป็นพาหนะหลักได้ ผังเมืองก็เอื้อให้กับรถยนต์มากกว่าทางเท้า หรือทางจักรยาน หลายคนเลยยังไม่กล้าน�ำออกมาใช้อย่างจริงจัง ถ้าจะปั่นไป ท�ำงานจริงๆ ออฟฟิศก็ควรจะมีห้องเปลี่ยนผ้าและห้องอาบน�้ำให้กับพนักงานด้วย เพื่อเอื้ออ�ำนวยต่อการปั ่ นจริ ง ๆ ดั ง นั้ นถ้ า จะแก้ ก็ ต้ องเริ่ มที่ เ ปลี่ ย นค่ า นิ ย มของ คนไทยให้ได้เสียก่อน และหลายอย่างก็จะตามมาเอง

จุดหมายปลายทางที่คิดว่า ถ้าไปกันทั้งกลุ่มจะมีความสุขที่สุด? เราคิดว่า แค่เรามารวมตัวกันที่จุดเริ่มต้น เท่านั้นก็เป็นความสุขที่สุดของกลุ่มเรา แล้ว เพราะวันที่เรารอที่สุดก็คือวันอาทิตย์ ที่ทุกคนจะได้มาร่วมกันปั่นอย่างพร้อม หน้าพร้อมตา เหมือนได้ระบายสิ่งที่เก็บมาทั้งสัปดาห์ออกมาในวันนี้

อยากฝากอะไรถึงคนที่ก�ำลังจะเริ่มปั่น? ก่อนอื่น คุณต้องชอบมันก่อน หลังจากนั้นคุณต้องให้เวลากับมัน และอย่าเห็นว่า เป็นเวลาว่างแล้วค่อยปั่น แต่ต้องยัดมันเข้าไปอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน ที่ส�ำคัญ อย่า พยายามสร้างเงื่อนไขในการปั่นขึ้นมา ไม่งั้นคุณจะหาความสุขจากกันปั่นไม่ได้ เลย เพราะความสุขที่ได้จากการปั่น ไม่เคยจากเราไปเลยตลอด 11 ปี และจะมี เพิ่มมาอีกเรื่อยๆ แน่นอนครับ

MY

CY

CMY

K


BiZ

Pen : Frank Dolp Lens : Supatchai C.

Chiang Mai Techno Sightseeing เราอยากเป็นส่วนหนึ่ง ที่ ได้สาธิตการใช้ชีวิตในอนาคต

ด้วยความที่อยากจะให้การท่องเที่ยวเชียงใหม่ เกิดความ น่ า ตื่ น เต้ น และน่ า จดจ�ำ มากขึ้ น Segway พาหนะสอง ล้ อ พลั ง งานไฟฟ้ า จึ ง ถื อ เป็ น ทางเลื อ กส�ำ หรั บ คนยุ ค นี้ ที่ เบื่อการท่องเที่ยวชมเมืองในรูปแบบเดิมๆ และอยากเติม เต็ ม ชี วิ ต ด้ ว ยกลิ่ น อายแห่ งโลกอนาคต บวกกั บ ช่ ว ยลด โลกร้ อ นผ่ า นการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ด้ ว ย เหตุผลนี้เอง Segway Gibbon จึงถือก�ำเนิดขึ้นเพื่อจะ มอบประสบการณ์ใหม่ให้กับนักท่องเที่ยวผู้รักความท้าทาย ผ่านการให้บริการน�ำเที่ยวรอบเมืองจัตุรัสนี้ ประสบการณ์ ที่ใหม่กว่า ภายใต้แนวคิด “Techno Cultural Touring” “ในต่างประเทศ คนเริ่มรู้จัก Segway มาบ้างแล้ว ผ่าน การใช้งานในสนามบิน ในห้างสรรพสินค้า หรือแม้กระทั่ง ในรีสอร์ทบางแห่ง ทางเราก็เลยคิดว่า ถ้าเราเลือกที่จะน�ำ มาใช้ในธุรกิจท่องเที่ยว ก็คงจะแปลกตาและสร้างมิติใหม่ ให้กับการท่องเที่ยวที่นี่ได้พอสมควร โดยเลือกเครื่องยนต์ 24 และลั ก ษณะยางที่ เ หมาะกั บ สภาพถนนบ้ า นเรา เพื่ อให้

We want to assist in showing you the lifestyle of the future

ราบรื่ น ตลอดการเดิ น ทางและปลอดภั ย มากที่ สุ ดในทุ ก การเคลื่อนไหว หลังจากโปรแกรมทัวร์ Segway Gibbon เปิดให้บริการ ผลตอบรับจากนักท่องเที่ยวกลับดีเกินคาด ทุ ก คนประทั บใจที่ ไ ด้ เ ห็ น เชี ย งใหม่ ใ นมุ ม ที่ แ ปลกตาผ่ า น ความเร็วที่ช้าลง และใกล้เชียงใหม่มากขึ้นผ่านสองล้อที่ ควบคุมได้ดั่งใจนึก” “ด้วยการประหยัดพลังงานและการควบคุมที่ง่ายเพียง แค่เอียงตัวเบาๆ จากตัว Segway เอง จึงถือเป็นเสน่ห์ที่ ท�ำให้คนอยากลองเล่นมากขึ้น ซึ่งทาง Segway Gibbon จึงเหมือนเป็นทัวร์สาธิตถึงศักยภาพของตัวเครื่อง ว่าใช้งาน ได้จริงแค่ไหน ใช้งานยังไง ประกอบกับสาธิตวิธีการใช้งาน ที่ปลอดภัย เพราะหลายๆ คนที่เห็น อาจจะมอง Segway เป็ น เพี ย งแค่ ข องเล่ น ราคาแพงที่ ม าเพี ย งแค่ ช ่ ว งเวลาหนึ่ ง ใช้งานบนถนนได้จริงรึเปล่า ซึ่งทางเราได้พิสูจน์ให้เห็นแล้ว ว่า Segway ก็สามารถน�ำไปใช้แทนรถมอเตอร์ไซค์คัน หนึ่ง ทั้งยังได้เปรียบในเรื่องการเคลื่อนไหวที่คล่องตัวกว่า

และประหยัดกว่า ด้วยเครื่องยนต์ไฟฟ้าที่ท�ำระยะทางได้ถึง 39 กิโลเมตรต่อการชาร์ต 1 ครั้ง ซึ่งเป้าหมายสูงสุดของ ทาง Segway Gibbon คือ เราอยากให้คนหันมาสนใจ อุปกรณ์ชิ้นนี้มากขึ้น อยากให้มีคนใช้งานมากขึ้น ทางเรา จะภูมิใจมากที่สุดหากวันหนึ่งเราได้เห็นถนนในเชียงใหม่ คราคร�่ำไปด้วย Segway” แม้ว่าปัจจุบัน รถยนต์และจักรยานยนต์พลังงานฟอสซิล ยั ง คงท�ำ หน้ า ที่ อ�ำ นวยความสะดวกด้ า นการเคลื่ อ นที่ ใ ห้ แก่มนุษย์ แต่ก็ยังหวังว่า สักวันหนึ่ง Segway อาจจะไม่ ได้ เ ป็ น เพี ย งพาหนะทางเลื อ กที่ ทุ ก สายตามองผ่ า น แต่ จะอยู ่ กั บ ทุ ก ครั ว เรื อ นของชาวเชี ย งใหม่ และสั ก วั น หนึ่ ง ท้ อ งถนนในเชี ย งใหม่ อ าจจะเต็ ม ด้ ว ย Segway เพี ย ง เพราะจุดเริ่มต้นเล็กๆ จากการได้ลองเล่น ได้สัมผัส และ ได้รับประสบการณ์ที่ดีในการขับขี่ผ่าน Segway Gibbon นั่นเอง www.finedaemag.com


An unusual new and environmentally friendly vehicle has become part of the Chiang Mai street scene. It’s the Segway, a two-wheeled electrically -powered means of propulsion, which joins the city’s expanding list of tourist attractions. It offers a great way of getting around, silently, non-polluting and particularly appealing for visitors who are tired of conventional means of transport and who welcome innovation. Segway Gibbon responded to this need with a Segway tour entitled Techno Cultural Touring.” “In other countries, people may have already seen Segways in use at airports, malls, or even in some resorts,” said Usanee Sripet, Public Relations Executive. “We believe that the Segway makes an interesting and novel attraction for tourists. By selecting the appropriate motor and tires suitable for Chiang Mai’s road conditions, we can ensure a smooth and safe ride for our guests. “We received an unexpectedly positive feedback after the launch of our Segway Gibbon Program. Everyone was impressed by the possibility the Segway offers to view Chiang Mai close-up from various perspectives and at low speeds. “The energy-saving properties and self-balancing control features also attract an increasing number of people to try out this form of transport. “Segway Gibbon acts like a demonstration tour that shows the Segway’s potential, how it actually works and its safety, because many people might see it as an expensive new toy that will eventually disappear. Some are wondering whether it can be used on main roads, and we have answered these doubts by proving it can replace a motorcycle because of its greater flexibility and energy saving (39 Km on one battery charge). “The ultimate goal of Segway Gibbon is to heighten public interest in the Segway and increase its use, perhaps to the point where it becomes part of every household. “We will be so proud if one day we see the streets of Chiang Mai full of Segways thanks to the pioneer work of Segway Gibbon.”


D ฏ ine

Mixology

Pen : Frank Dolp Lens : Fotofriday

เพี ย งแค่ ขั บ รถผ่ า นหน้ า ร้ า น ก็ ท� ำ ให้ ต ้ อ งหาที่ จ อดโดย เร็ ว รู ้ ตั ว อี ก ที ก็ นั่ ง อยู ่ บ นโต๊ ะ ไม้ ดี ไ ซน์ เ ท่ ๆ ใน Mixology ร้านอาหารไทย Twist / Fusion ที่เลือกใช้สเน่ห์ของงาน เหล็ก ไม้ ปูนเปลือยและเศษตะปูมาตกแต่งในสไตล์ British Industrial ได้อย่างมีรสนิยม ยิ่งถ้านั่งตรงบาร์แล้วมอง ลอดกระจกไปยังคูเมือง จะเห็นเชียงใหม่ในมุมที่สวยกว่า เดิมอีกด้วย

Mixology มาจากรากศั พ ท์ Mixologist ที่ แ ปลว่ า “นั ก คิ ด ค้ น เครื่ อ งดื่ ม ” ชั ด เจนถึ ง เมนู Cocktail ที่รับประกันว่า หาดื่มที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ในโลก และด้วยทางร้านไม่มีนโยบายด้านความ จ�ำ เจ ดั ง นั้ น เมนู ใ หม่ ๆ จะปรากฏขึ้ น บนกระดาน ด�ำข้างบาร์ทุกวัน เมนูที่ไม่ควรพลาดเมื่อมาถึงที่นี่ Eden’s Bliss ค็อกเทลพีชชินนาม่อนฉ�่ำๆ ผสม กับแอปเปิ้ลเขียวฝานแผ่น ให้ความสดชื่นราวกับเดินติดขอบชายหาด และ Mixology Chiang Mai Burger ข้าวเหนียวลาบหมูที่มาในรูปเบอร์เกอร์ร้อนๆ เข้มเครื่องลาบ อย่างถึงใจ พร้อมทานคู่กับหมูกรอบแก้วและชุดผักพื้นเมือง ซึ่งทางร้านอยากให้คน รุ่นใหม่ได้รับประทานอาหารพื้นเมืองด้วยวิธีที่ง่ายขึ้นภายใต้แนวคิด “Don’t forget Mixology Potato Skin

The décor—best described as “British industrial”—first attracted me to this fusion restaurant, whose name, Mixology, sums up its eclectic construction and decoration. I chose a window seat and watched the world go by. Mixology also describes the restaurant’s wide range of rare-to-find cocktails and other drinks. The drinks menu changes every day because the owner says he doesn’t want his customers to complain of boredom.

Eden’s Bliss

Mixology Chiang Mai Burger

My recommendation is Eden’s Bliss, a peach cocktail with cinnamon and apple. Try it with the signature Mixology Chiang Mai Burger, which blends the taste of spicy Lanna-style minced pork ‘larb,’ with sticky rice instead of the usual hamburger bun. The dish is another example of the Mixology philosophy of dressing up local food in a trendy way—in line with the motto: “Don’t forget your own roots”. Mixology Open : Tue - Sun 11.00 AM - 0.00 AM Tel : 08 3070 6190 ww.facebook.com/MixologyChiangmaiBurger

Miyabi Grill ส� ำ หรั บ ใครที่ อ ยากลิ้ ม ลองรสชาติ ข องเนื้ อ ย่ า งฉ�่ ำ ๆ ระดั บ พรี เ มี ย มและกลิ่ น ควั น ไฟจาก เตาถ่านที่ร้อนระอุตลอดชั่วโมงปิ้งย่าง แนะน�ำให้ ไปที่ “Miyabi Grill” พรอมเมนาด้า ร้านยา กินิกุสไตล์ญี่ปุ่นที่พร้อมบริการเนื้อคุณภาพมากมาย พร้อมกับเมนูที่คัดสรรมาเพื่อสร้าง ความสุขผ่านการรับประทานที่แท้จริง

26

ด้ ว ยลั ก ษณะการปิ ้ ง ย่ า งบนเตาถ่ า นร้ อ นๆ จะ ท�ำให้ คุ ณ ซึ ม ซั บ รสชาติ ข องเนื้ อ ผ่ า นกลิ่ น หอม คลุ ้ ง ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม วางเนื้ อ ลงตะแกรงย่ า ง เมนู ที่ ต้องไม่พลาดคือ บริสเก็ต AUS เนื้อหมักมิยาบิ เนื้อหมักมิโซะ หรือจะเป็นเมนูพรีเมียมอย่างเนื้อ ปลาแซลมอล หมู โ ทโร่ หอยแมลงภู ่ ห มั ก ซอส โคจู จั ง กุ ้ ง แม่ น�้ำ เนื้ อ แกะนิ ว ซี แ ลนด์ และอี ก หลากหลายเมนู คุ ณ ภาพ พร้ อ มน�้ำ จิ้ ม เนื้ อ ย่ า ง สู ต รเด็ ด ที่ จ ะท�ำให้ ท ่ า นมี ค วามสุ ข จนแทบไม่ อยากจะลุกออกห่างเตาแม้แต่น้อย

Top grade cuts of meat are served here on traditional Japanese grills, a time-honored method that enhances flavor in a way conventional techniques fail to do.

Not only Japanese miyabi and miso beef are on the menu, which also features Australian brisket and best New Zealand lamb. Seafood includes salmon, river prawns and mussels marinated in gochuchang sauce. The restaurant’s dipping sauce adds still more to the delicious flavors.

Miyabi 2nd Building, Promenada Open Daily : 11.00 AM - 11.00 PM

www.finedaemag.com


AD the rain tree.pdf 1 30/8/2556 15:14:02

The Glasshouse Chiang Mai ด้วยรสชาติความอร่อยของไก่เบรสจากโครงการหลวงและพาสต้าที่ผลิตจาก บีทรูท และ ผักโขม ผ่านความพิถีพิถันและความเอาใจใส่ในทุกขั้นตอนจาก เชฟฝีมือเยี่ยม ปรุงแต่งจนกลายเป็นอาหารจานพิเศษต่างๆ อาทิ สลัดไก่ เบรสย่ า งเทอริ ย ากิ , อกไก่ เ บรสยั ดไส้ เ สิ ร ์ ฟ พร้ อ มพาสต้ าไส้ อั่ ว , ไก่ เ บรส อบเสิร์ฟพร้อมพอร์ ทไวน์ซอสและพาสต้ าทรี โอ ที่ รวมสามรสชาติ มาไว้ใ น จานเดี ย วกั นได้ อ ย่ า งลงตั ว สั ม ผั ส ประสบการณ์ ค วามอร่ อ ยแบบจั ด เต็ ม เหล่านี้ ท่ามกลางบรรยากาศโปร่งโล่งสบายกับผนังกระจกสวยๆ ใจกลางเมือง เชียงใหม่ที่ เดอะกลาสเฮาส์ เชียงใหม่ บริเวณหลังโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย พร้อมกันนี้ทางร้านยินดีมอบส่วนลด 10% ให้ส�ำหรับท่านที่ส�ำรองโต๊ะล่วงหน้า อีกด้วย

C

M

Bresse chicken from the royal agricultural project is served in several delicious ways at the Glass House, an attractive glass-walled restaurant in Chiang Mai’s Old City.

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Highly recommended are the teriyaki Bresse chicken salad, stuffed chicken breast served with pasta and spicy sausage, and roast chicken served with port wine sauce and triple-flavored pasta. Beetroot and spinach are used by the chef to enhance the flavor of the pasta. The Glass House is located behind the Yupparaj Wittayalai School and a short walk from the Three King’s Monument. The restaurant offers a 10 percent discount for guests who book in advance.

The Glasshouse Chiang Mai 169 Ratchapakinai Road T. Sripoom, Muang , Chiang Mai, Thailand 50200 Open Daily : 10.00 AM - 10.00 PM Tel : 0 5341 8118 www.facebook.com/TheGlasshouse.Chiangmai


Voyage

Pen : Frank Dolp Lens : Frank Dolp & Adithep

ต่อเนือ่ งจากเล่มทีแ่ ล้ว เราพาทุกท่านมาถึง LOTTE World สวนสนุกในร่มชือ่ ดังใจกลางกรุงโซล ฉบั บ นี้ เ ราจะจั บ มื อ พาทุ ก ท่ า นสวมเสื้ อ กั น ฝนอี ก ครั้ ง หนึ่ ง แล้ ว เดิ น ลุ ย ไปต่ อ กั บ สถานที่ ที่เมื่อได้มาเยือนกรุงโซลแล้ว ไม่ควรพลาดเป็นอย่างยิ่ง The previous issue of Fine Dae took readers to the LOTTE World, a famous indoor amusement complex located in the heart of Seoul. Now, keep your raincoat on as we continue our journey through the wet soul of South Korea.

Keep on the move in Raining Day

@ South Korea Chapter2

Second day part 2

หลังจากที่เราสนุกกับเครื่องเล่นต่างๆ ใน LOTTE World ไปแล้ว N Seoul Tower หรือหอคอยนัมซานที่อยู่ใกล้เคียง น่าจะเป็นสถานีต่อไปที่เหมาะกับการไปเยือน กิจกรรมสุดคลาสสิคที่พึงกระท�ำเมื่อขึ้นไปถึงบริเวณหอคอย คือ “คล้อง กุญแจคู่รัก” กิจกรรมที่แสนโรแมนติกส�ำหรับการมาเที่ยวกับคนรู้ใจ กฎแห่งความโรแมนติกมีอยู่ว่า เขียนชื่อบนแม่กุญแจ หาต�ำแหน่งคล้องเข้าไปด้วยกัน และทิ้งลูกกุญแจไปซะ เท่านี้ ความรักของคุณก็จะยืนยาวตลอดไป ต่อจากคล้องกุญแจ คราวนี้ถึงเวลาไปช้อปต่อเบาๆ กับ “ทงแดมุน” ห้างที่บรรจุสินค้าแบรนด์เนมทั้งของเกาหลีและ ต่างประเทศ แต่ร้านที่คนเข้าออกบ่อยที่สุด เห็นจะเป็นห้องเสื้อที่เป็นแบรนด์ของคนเกาหลีเอง บางร้านมีเฉพาะที่นี่ที่เดียว เท่า นั้ น จึ งเหมาะกับคนที่ ช อบเสพเสื้ อผ้ าที่ตัดเย็ บมาเพี ย งชิ้ นเดี ย วในโลก ปิ ดท้า ยวั นที่ สองกั บการเดิ นเที่ย วในกรุงโซล ด้วยการโชว์ดนตรีร่วมสมัยจากคณะ Fanta Stick สุดยอดโชว์อลังการที่ผสมผสานศิลปะการแสดงที่หลากหลาย อาทิ กลอง ขลุ่ย ไวโอลิน และกายากึมซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประจ�ำชาติ กับศิลปะร่วมสมัยอย่างบีบอยและแจ๊สแดนซ์ที่สอดแทรก มุขตลกตลอดทั้งการแสดง After enjoying the many amusements of LOTTE World, the nearby N Seoul Tower or Nam San Tower was the next stop in our itinerary. The tower has a special romantic attraction--“Locks of Love,” where couples can put their names on padlocks which they then hang together on a boundary fence and throw away the key as a symbol of eternal love! A shopping stop came next, at Dongdaemun Market or Tongdaemun, where many Korean products are among the popular brands. Some of the shops are exclusive brand outlets and appeal to people who collect limited editions or individually tailored clothing. Our second day in Seoul ended with a visit to the show “Fanta Stick,” a modern interpretation of Korean traditional music, dance, comedy and martial arts, including demonstrations of the Korean Gayaguem string instrument and break dancing by the B-Boy group.

Third day

28

ตลอดสองวันที่ผ่านมา ทุกการเดินทางของเรายังคงมีฝนอยู่เคียงข้างเสมอ เสริมเล็กน้อยว่าลักษณะฝนที่นี่จะเป็นละออง เล็กๆ ที่แม้ท่านมีร่ม ก็ไม่ได้ช่วยให้เปียกน้อยลงแม้แต่น้อย เริ่มทริปวันใหม่กันที่ ศูนย์โสมเกาหลี สถานที่แสดงเรื่องราวและคุณสมบัติทางการแพทย์ของโสมขาว ศูนย์ฮอตเกนามู สมุนไพรดีท็อกแอลกอฮอล์ในร่างกาย นิยมทานหลังจากการรับประทานสุราเพื่อป้องกันอาการเมาค้าง และศูนย์น�้ำมันสน เข็มแดง ที่ช่วยท�ำให้ไขมันแตกตัวเพื่อช่วยให้ร่างกายดูดซึมได้ดี ซึ่งทั้งสามเป็นพืชสมุนไพรส�ำคัญของชาวเกาหลีใต้ที่รัฐบาล www.finedaemag.com


เกาหลีให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จนกลายมาเป็นของฝากระดับพรีเมี่ยมที่ ควรซื้อกลับ ชมสมุนไพรเสร็จ โปรแกรมส�ำคัญทางวัฒนธรรมเกาหลีก็เริ่มขึ้น โดยเริ่มกันที่ พระราชวัง เคียงบ็อคคุง สถาปัตยกรรมประจ�ำชาติท่ีคนไทยน่าจะคุ้นตากับซีรีย์ชื่อดังอย่างแดจังกึม ที่ใช้วังนี้เป็นที่ถ่ายท�ำทั้งหมด ด้วยบริเวณกว้างขวาง ชนิดที่ถ้าต้องเดินให้ทั่ว คงไม่มีเวลา ไปที่อื่นแน่ๆ จากนั้นก็รับชม พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน เพื่อรับทราบความเป็นมาของคนเกาหลี ตั้งแต่ยุคโบราณผ่านหุ่นจ�ำลอง อนุสาวรีย์นกฟินิกซ์ สัญลักษณ์ประจ�ำชาติเกาหลีใต้ที่ตั้งอยู่ ด้านหน้าเขาหัวมังกร คลองชองเกชอน แลนด์มาร์กอายุ 600 ปี ของกรุงโซล และผ่อนคลาย ด้วยการช้อปปิ้งขนาดยาวที่ เมียงดง หรือสยามสแควร์เกาหลี ศูนย์รวมความเคลื่อนไหวทาง แฟชั่นของคนเกาหลี ที่รับรองว่ามีเวลาเท่าไหร่ก็ช้อปไม่พอจริงๆ The third day started with a visit to the Korea Ginseng Center, where we learnt about ginseng’s medical properties, and the Hocket Namu Center for an introduction to another famous Korean herb. It is prized for its health benefits and especially for alcohol detoxification and tackling hangovers. At the Red Needle Pine Oil Center we found another natural product that rids the body of toxins and rancid fatty lipids. These three types of plants are important medicinal herbs of South Korea, and the government supports research into their properties and commercial product development. After the tour of herb centers, we embarked on a cultural sightseeing itinerary, starting with Gyeongbokgung Palace, a royal palace famous worldwide because of its sheer size and unique architecture. Thai visitors may be familiar with this palace because of its appearance in the legendary Korean Series “Dae Jung Kuem”. The grounds of the palace contain the National Folk Museum of Korea, where replicas of historical objects are used to illustrate the history of traditional Korean ways of life. Next stop was Phoenix Monument, located in front of a Dragon Mountain (Bugaksan Mountain). Koreans believe their national emblem, the phoenix, is a symbol of eternity because it possesses everlasting life. Proceeding to Cheonggyecheon Canal in downtown Seoul, we reached an 8.4 km (5.2 miles) long, modern public recreation area incorporating a massive urban renewal project focused on water management. Last stop of the day was Myeong-dong Market, a stunning shopping district with countless shops and restaurants, comparable to Siam Square in Bangkok. C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Last day

ช่วงเวลาแห่งความสุข มักจะผ่านไปเร็วเสมอ เผลอแป๊บเดียวก็ลืมตาขึ้นมาในวันสุดท้าย ของทริปเสียแล้ว ควรแก่เวลาที่เราต้องเดินทางไปยังสนามบินนานาชาติอินชอน เพื่อเปลี่ยน ประสบการณ์ตลอด 4 วัน 3 คืน ให้กลายเป็นเพียงภาพความทรงจ�ำที่น่าประทับใจ ถึงแม้ทริปลุยฝนที่เกาหลีครั้งนี้จะเต็มไปด้วยอุปสรรค เต็มไปด้วยกลิ่นฝนและอากาศ เปี ย กๆ แต่ ด ้ ว ยนิ สั ย ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วมั ก เชื่ อ ว่ า ทุ ก การเดิ น ทางไม่ เ คยน่ า เบื่ อ จนเกิ นไป ถ้ า ลองมองข้ า มความล�ำ บากเหล่ า นี้ เกาหลี ใ ต้ ใ นวั น ฝนพร�ำ ยั ง คงมี ค วามสวยงามที่ น่าหลงใหลไม่แพ้ในฤดูกาลแห่งหิมะสีขาวโพลน ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า การแทรกตัวเอง อยู่ภายใต้ร่มและเสื้อกันฝน ก็ไม่ท�ำให้การเที่ยวเกาหลีใต้สนุกน้อยลงแต่อย่างใด All too soon came the ride to the airport and the flight home. Despite the rain, we found South Korea to be a fascinating and beautiful destination. The raincoat and the umbrella proved to be no hindrances to our enjoyment of a memorable trip. Thank you :




Entertainment



Event

Longan Sugar Product Exhibition at Royal Park Rajapruek ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ จัดกิจกรรมออกร้าน “โครงการผลิตภัณฑ์น�้ำตาลล�ำไยปีท่ี 3” ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เพื่อน�ำเสนอคุณประโยชน์สารสกัด เข้มข้นจากล�ำไยทั้งเมล็ด ในการรักษาและป้องกันโรคที่เกี่ยวกับ เบาหวาน และไขข้อ ในรูปแบบเกล็ดและแบบน�้ำเชื่อม

Krabi Road Show คุณประสิทธิ์ โอสถานนท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ น�ำคณะผู้ประกอบการท่องเที่ยว จังหวัดกระบี่กว่า 50 ราย จัดกิจกรรม “Krabi Road Show” ณ โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง เชียงใหม่ น�ำเสนอสินค้าทางการท่องเที่ยวใหม่ๆ ในราคาพิเศษแก่นักท่องเที่ยวในประเทศ ในช่วง Green Season

Thai Orchid Restoration Project Opening นายฤทธิพงศ์ เตชะพันธุ์ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานเปิดโครงการ “คืนชีวิตกล้วยไม้ ไทยสู่ไพรพฤกษ์และปลูก กล้วยป่าเพื่อรักษาต้นน�้ำ” ณ อุทยานแห่ง ชาติดอยสุเทพ-ปุย และบริเวณป่าโดยรอบ พระต� ำ หนั ก ภู พิ ง คราชนิ เ วศน์ เพื่ อ เฉลิมพระเกียรติ 81 พรรษา มหาราชินี โดย การสนับสนุนของ บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน)

Food Safety Fair Opening at Jing Jai Market คุณสุรพล สัตยารักษ์ ปลัดจังหวัดเชียงใหม่ เป็น ประธานเปิ ด งาน “ตลาดอาหารปลอดภั ย เพื่ อ ผู้บริโภคจังหวัดเชียงใหม่” ณ ศาลาจตุรมุข โครงการ จริงใจ มาร์เก็ต โดยความร่วมมือของ ส�ำนักงาน สาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ และส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

32 www.finedaemag.com


Lanna Expo 2013

กลุ ่ ม จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ตอนบน 1 จั ด มหกรรม “Lanna Expo 2013” ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ โดยความร่วมมือของจังหวัดเชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, ล�ำพูน และล�ำปาง เพือ่ แสดงศักยภาพการมีสว่ นร่วม ของประชาชนในการพั ฒ นาของดี จ ากสี่ จั ง หวั ด ล้านนาให้เป็นที่ยอมรับต่อไป

Opening PEA Front Office คุณน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็น ประธานเปิด “PEA Front Office” ณ ชั้น G ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ตามโครงการ “ต้นแบบการให้บริการ PEA Front Office เพื่อรองรับผู้ ใช้บริการของ กฟภ.” โดยรับช�ำระเงินค่าไฟฟ้า ผ่านตู้ PEA GENIUS

The International Lantern Festival Chiang Mai 2013 ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ จัดงาน “The International Lantern Festival Chiang Mai 2013” ณ บริเวณข่วงประตูท่าแพ และรอบคูเมือง เชียงใหม่ เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 81 พรรษา ในปี 2556 และ ส่งเสริมการท่องเที่ยวนอกฤดูกาลการท่องเที่ยวให้กับจังหวัดเชียงใหม่

Educational Guidience for Graduated Students by AIS

บริ ษั ท แอดวานซ์ อิ น โฟร์ เซอร์ วิ ส จ� ำ กั ด (มหาชน) หรื อ เอไอเอส จัดกิจกรรม “แนะแนวว่าที่บัณฑิตใหม่ ครั้งที่ 6” ณ อาคารส�ำนักบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี รศ.ดร.ธนารักษ์ สุ ว รรณ์ ป ระพิ ศ รองอธิ ก ารบดี ฝ่ า ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพนั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นประธานกล่าวเปิดงาน

All New Isuzu D-Max X-Series Test Drive

ธารา อีซูซุ เชียงใหม่ จัดกิจกรรม “ธารา อีซูซุ สปอร์ตโดนใจ สไตล์พันธุ์ X” ณ สนามฟุตซอลเชียงใหม่ซุปเปอร์ลีค (เจ็ดยอด) ภายในงานมีกิจกรรม ร่วมทดสอบรถกระบะ All New Isuzu D-Max X-Series พร้อมค�ำแนะน�ำ การขับขี่จากผู้เชี่ยวชาญ

33


Event Charity Rice Planting at Saenkham Terrace ห้องอาหารแสนค�ำเทอร์เรส จัดกิจกรรมการกุศล “ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ” ณ ผืนนา ข้างหมู่บ้านในฝัน เลียบคลอง ชลประทาน โดยจัดขึ้นเป็นปีที่ 6 และในปีนี้ได้รับเกียรติจาก ฯพณฯ รอล์ฟ ชูลเซ่ เอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมันนี ประจ�ำประเทศไทย และภริยา ตลอดจนสายการบินนกแอร์ น�ำโดย คุณอภิพร ภาษวัธน์ ประธานกรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร์ จ�ำกัด พาคณะสื่อมวลชนจากกรุงเทพ และเหล่าสิลปินดาราร่วมปลูกข่าว โดยผลิตภัณฑ์ข้าว ที่ปลูกได้จะน�ำออกจ�ำหน่าย เพื่อน�ำรายได้โดยไม่หักค่าใช้จ่ายมอบให้กับองค์กรสาธารณกุศลต่างๆ ในเชียงใหม่ต่อไป

Mother’s Day at Siripanna Villa Resort & Spa

Food Competition at Le Crystal Restaurant

โรงแรมศิริปันนา วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา เชียงใหม่ จัดกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ จุดเทียน ชัยถวายพระพรชัยมงคล เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยมี ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ รีสอร์ท พร้อม แขกผู้เข้าพักมาร่วมพิธีกันอย่างคับคั่ง ณ บริเวณล็อบบี้ของรีสอร์ท

ภัตาคารอาหารฝรั่งเศส เลอ คริสตัล จัดกิจกรรมการแข่งขันท�ำ อาหารของพนักงานภายในร้าน โดยมีคุณบิ๊ก ผู้บริหาร เลอ คริสตัล เป็นกรรมการในการตัดสินเพื่อเก็บคะแนนสะสม ในรอบตัดสินครั้ง สุดท้ายต่อไป

34 www.finedaemag.com



Event

Dhara Dhevi Chiang Mai Welcomes New Executives โรงแรมดาราเทวี เชียงใหม่ จัดเลี้ยงผู้มีอุปการะคุณ พร้อมทั้งเปิดตัว ผู้บริหารใหม่ ณ ห้องอาหารฝรั่งเศส โดยมี คุณสุเชษฐ์ สุวรรณมงคล เจ้าของธุรกิจโรงแรมดาราเทวี เชียงใหม่ และคุณน�ำ้ พราว สุวรรณมงคล ผู้อ�ำนวยการบริหารโรงแรมดาราเทวี ให้การต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ ที่มาร่วมงาน

Bangkok Airways gives away Lexus

คุ ณ พุ ฒิ พ งศ์ ปราสาททองโอสถ กรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการบิน บางกอกแอร์เวย์ส แจกโชคฉลองครบรอบ 45 ปี มอบรางวัลรถยนต์ Lexus ให้แก่คุณวันวิสาข์ ศรีชัย ผู้โชคดีที่ร่วมสนุก กับสายการบิน ณ บริเวณลานหน้าอาคารออก บัตรโดยสาร ส�ำนักงานใหญ่สายการบินบางกอก แอร์เวย์ส ถนนวิภาวดีรังสิต

Robinson T-SHIRT Design Contest 2013

โรบินสัน ร่วมกับนิตยสารลิปส์ จัดกิจกรรม “Robinson T-SHIRT Design Contest 2013” ณ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เฟ้นหา Young Designer รุ่นใหม่ประชันไอเดีย ออกแบบเสื้อทีเชิ้ต ดีไซน์รักษ์ โลกสุดชิค โดยมีคุณศักดิ์ชัย กาย บรรณาธิการบริหาร นิตยสารลิปส์ และคุณจิตต์สิงห์ สมบุญ ดีไซเนอร์ Greyhound ร่วม ให้ค�ำแนะน�ำ เพื่อจุดประกายความคิดในการออกแบบ

Customer Appreciation Party Dinner Exclusive 36Party

บริษัท สยามนิสสัน เชียงใหม่ จัดงาน “Dinner Exclusive Party” ณ ภัตตาคารอาหารฝรั่งเศส เลอ ค๊อก ดอร์ งานเลี้ยงขอบคุณลูกค้า ภายใต้ บรรยากาศดนตรีแจ๊ส พร้อมแจกของที่ระลึก สร้างความประทับใจให้กับ ลูกค้าเป็นอย่างมาก

แอร์ บากัน ร่วมกับบริษัท บี.พี. ทราเวล เอเจนซี่ จ�ำกัด จัดงาน “Customer Appreciation Party” ณ ล้านนา บอลรูม 1, โรงแรมแชงกรี-ลา เชียงใหม่ งาน เลี้ ย งขอบคุ ณ พั น ธิ มิ ต รทางธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วในพม่ า ที่ ช ่ ว ยเหลื อ และ สนับสนุนด้วยดีเสมอมา www.finedaemag.com



Event

PHILIPS Road Show

บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมกับ ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน เชียงใหม่ จัดกิจกรรม “PHILIPS Road Show” เปิดตัว เชฟสุดหล่อ ชาคริต แย้มนาม ที่มา ร่วมปรุงเมนูรัก ต้อนรับเทศกาลวันแม่แห่งชาติ ณ ลานโปร โมชั่น ชั้น 1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต

Krungsri Money Festival 2013 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) จัดงาน “Krungsri Money Festival 2013” ณ ลานวิดีโอวอลล์ ชั้น G ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต การบริ ก ารธุ ร กรรมทางการเงิ น ที่ ครบครั น พร้ อ มโปรโมชั่ น สุ ด พิ เ ศษ เพื่ อ ตอบสนองทุ ก ความต้ อ งการ ทางการเงิน โดยมี คุณอดิศร ก�ำเนิด ศิริ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานเปิดงาน

Grand Opening The Laguna Home บริษัท รวมโชค พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด จัดงาน “Grand Opening The Laguna Home” ณ โครงการเดอะ ลากูนน่า โฮม บนถนนเชียงใหม่-แม่โจ้ ที่พักอาศัยสุดหรู บรรยากาศริมทะเลสาบ ผู้ที่จองภายในงานรับสิทธิ์ พิเศษมากมาย

Your Bathroom Your Style 2013

โฮมสุขภัณฑ์ จัดกิจกรรม “Your Bathroom Your Style 2013” ครั้ ง ที่ 4 เชิ ญ เซเลบ คนดังร่วมสรรค์สร้างออกแบบห้องน�ำ้ แบ่งปันไอเดียสุดหรู 4 แบบ 4 สไตล์ โดยใช้ สุขภัณฑ์แบรนด์ชั้นน�ำ

38 www.finedaemag.com


CHOMPOR LANNA BOUTIQUE


Event

Smiley OTOP Shop in Lamphun

คุณพินิจ หาญพาณิชย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน เป็นประธานเปิดโครงการ ตลาดเครื อ ข่ า ย “ร้ า นโอทอปชุ ม ชนยิ้ ม ” และ “เทศกาลล� ำ ไยเมื อ งลี้ ” ณ ร้านต้นแบบสาขาลี้ทุ่งหัวช้าง ล�ำพูน เพื่อเพิ่มช่องทางการกระจายสินค้า ท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากยิ่งขึ้น

Chiang Mai Musicians Singers Actors Association Opening VESPA LX 150 3Vie

บริษทั นิยมพานิช จ�ำกัด จัดงานเปิดตัว “VESPA LX 150 3Vie” ณ ลานกิ จ กรรมด้ า นหน้ า นิ ย มพานิ ช ส� ำ นั ก งานใหญ่ ที่ ยั ง คงความ คลาสสิ ค ในสไตล์ วิ น เทจ พร้ อ มโปรโมชั่ น สุดพิเศษส�ำหรับผู้ที่จองในงาน

Central Denim City Ride 2013

คุ ณ เจริ ญ ฤทธิ์ สงวนสั ต ย์ รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เชียงใหม่ เป็นประธานเปิดงาน “Chiang Mai Musicians Singers Actors Association” (CMSAA) ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ตึกเฉลิมพระเกียรติ วิทยาลัยพละศึกษาเชียงใหม่ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของศิลปินชาวเชียงใหม่ และ ผลักดันการท�ำโครงการ “เชียงใหม่เมืองดนตรี”

เซ็นทรัลกาดสวนแก้ว จัดกิจกรรม “Central Denim City Ride 2013” ณ ลานโปรโมชั่น ชั้น G ฝั่งพลาซา เซ็นทรัล กาดสวนแก้ว พบกับแฟชั่นโชว์โดยหนุ่ม คชา และเต๋า AF พร้อมเหล่านายแบบ Central Y Club Model Search

40 www.finedaemag.com


C

M

Y

CM

MY

CY

MY

K

ad furniture.pdf 1 15/8/2556 10:08:25

C

M

Y

รานเบาะบาเบล เฟอรนิเจอร

&

รานสันปาขอย ฟองน้ำหนังเทียม

CM

MY

CY

CMY

K

จำหน า ย - รั บ สั ่ ง ทำโซฟาตามแบบจากโรงงานโดยตรง รั บ ซ อ มและเปลี ่ ย นเบาะหุ ม โซฟาทุ ก ชนิ ด รั บ ทำหมอนอิ ง เบาะที ่ น ั ่ ง สำหรั บ เก า อี ้ ห วาย

รั บ กรุ ผ นั ง ห อ งคาราโอแกะ ห อ งประชุ ม บุ ห ั ว เตี ย ง รั บ งานหุ ม และบุ โ ครงโซฟา เก า อี ้ อ าหาร เก า อี ้ Bean bag บุ ผ นั ง ห อ งเด็ ก ห อ งบอล

โทร.081-5301535,053-246367

email: sofababel.cm1@gmail.com,www.facebook.com/เบาะบาเบล เบาะบาเบล


National 1970s Japan Type : Touring Material : Aluminium, Chromium Finished Driving Set : Suntour Cyclone Wheels : Mavic / Maxxis Tire Seat : Brooks made in England Chainring : Sugino

Selection

Price : 40,000 Baht

Pen : Frank Dolp Lens : Supatchai C.

Solu

AlternativeEcoGears หลายคนอาจมี ชีวิตที่ต้อ งเคลื่อ นที่ไปตามทางที่ถ นน ก� ำ หนด ต้ อ งขั บ รถไปตามที่ ต ่ า งๆ อย่ า งไม่ มี ท างเลื อ ก และต้องทนผูกชีวิตติดกับเครื่องยนต์ ฉบับนี้ FINE DAE จึ ง ขอแนะน� ำ พาหนะที่จะช่ว ยให้คุณหลุด พ้น จากการเดิ น ทางแบบเดิมๆ ด้วยอุปกรณ์ช่วยเดินทางที่จะท�ำให้ชีวิตมี สี สั น ขึ้ น แถมยั ง ให้ ป ระโยชน์ ต ่ อ สุ ข ภาพและเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มอี กด้ว ย

Brompton Barcelona Edition

Type : Retro Model: Duke 24” Material: Cro - Moly Country of Origin + Model years: Taiwan made, Danish design 2012

Price : 50,000

Colour: White Designer: Mikael Pedersen Special Feature: Comfortable seats and more upright riding position

Price : 50,000 Baht

Brompton Type : Folding Model: Barcelona Edition Material: Cro - Moly Country of Origin + Model years: England 2012 Colour: Orange + Blue Designer: David Torrents (based in barcelona) Special Feature: Easily Foldable and same feeling and dimension of a full sized bike

Price : 67,000 Baht

Trek Madone 7 Spartacus (with the one used in Tour de France)

National 1970s Japan

Preduce Thapae

Solu Duke 24”

Preduce X SBTG Santa Cruz cruiser board

Trek Madone 7 Spartacus Preduce X SBTGU.S.A. limited edition by SBTG, Singapore Artist

Price : 1,300

Santa Cruz cruiser board The Simpsons Limited Edition USA Price : 5,090

Limited Edition by Fabian Cancellara Type : Racing Material : Carbon Fiber Finish : Vapor Coat U5 with Swiss Spartacus Driving Set : Ultegra DI2 with Electric Shift Seat, Hand : Bontrager Paradigm XXX Wheels : Bontrager Aeolus 5

Price : 300,000 Baht

Brand : National 1970s Japan : HEEMS RIDE Shop Tel. 08 5899 0796 ∕ Brompton & Solu : Tiny Wheels, Tel. 08 1809 0160 ∕

Trek Madone 7 Spartacus. : Jacky Bike Tel 0 5322 5278 ∕ Preduce X SBTG & Santa Cruz cruiser board : Preduce Thapae Tel 089 154 7970

42


โรงแรมแนวดนตรี แหงแรกในเชียงใหม ใกลไนทบารซาร

チェンマイの一番ミュージカルスタイルのホテル。ナイトバザーの近く。 在清迈第一 音兵官 靠近清迈夜市。


New Décor for Green Concepts

Time

Pen : Frank Dolp Lens : Supatchai C.

@ Central ญPlaza Chiang mai Airport

ทุ ก ๆ 5 ปี Starbucks ทุ ก สาขาทั่ ว โลกจะปรั บ ปรุ ง เติ ม แต่ ง หน้ า ร้ า นใหม่ เพื่ อถื อเป็ น การขอบคุ ณลู ก ค้ า ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น กาแฟแบรนด์ ดั ง ระดั บ โลกแบรนด์ นี้ Starbucks สาขาเซ็ น ทรั ลพลาซา เชี ยงใหม่ แอร์ พ อร์ ต ก็ ต อบรั บ นโยบายนี้ เ ช่ น กั น ด้ ว ยการขยายพื้ น ที่ ร ้ า นเพิ่ ม ขึ้ นเป็ น 2 เท่ า จากร้ า นเดิ ม เพิ่ ม ความโล่ ง โปร่ ง สบาย และตกแต่ ง ในแนวทางที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง ยั ง อิ ง กั บ สถาปั ต ยกรรมของ ห้างที่ตั้งอยู่อีกด้วย เพื่อสร้างความใกล้ชิดและความสบายให้แก่ลูกค้าที่เลือกจะมาผ่อนคลายกับกาแฟคุณภาพในร้าน หลังจากที่ร้าน เดิ มมี พื้ น ที่ ไ ม่ เ พี ยงพอต่ อความต้ องการของลู ก ค้ า

Caramel Macchiato

Green Tea Cream

44

Mango Cheese Cake

แนวคิ ด การตกแต่ ง ร้ า นยั ง คงอิ ง กั บ ธรรมชาติและสังคม สังเกตง่ายๆ ตั้งแต่ เฟอร์ นิ เ จอร์ ที่ Starbucks เลื อ กใช้ วั ส ดุ รีไซเคิล เช่น โต๊ะที่มีส่วนผสมของผงกาแฟ ที่เหลือจากการชง ถ้วยกาแฟกระดาษ และ ผงกาแฟจากทางร้ า นก็ ส ามารถท�ำ เป็ น ปุ๋ยส่งต่อให้เกษตรกรเพาะปลูกกาแฟใน โครงการของ Starbucks ต่ อไป ซึ่ งใน ปี 2015 จะมุ่งหน้าคิดค้นวัสดุที่สามารถ รีไซเคิลได้ถึง 100 เปอร์เซ็นต์เต็ม ส�ำหรับ Starbucks แล้ว ที่ไม่ควรพลาด คือรสชาติเข้มๆ นุ่มๆ อย่าง Iced Caffé Mocha กาแฟเอสเพรสโซ่เข้มข้น ผสมนม สดราดน�้ำเชื่อมช็อคโกแลตพร้อมวิปครีม Caramel Macchiato เอสเพรสโซ่ใต้ ฟองนมเพิ่มความหวานด้วยคาราเมลซอส ที่หวานลงตัวอย่าบอกใคร หรือส�ำหรับใคร ที่ไม่สันทัดกลิ่นกาแฟ ขอแนะน�ำ Green Tea Cream ครีมผสมชาเขียวและนมปั่น เพิ่มความนุ่มด้วยวิปครีมหวานๆ เป็นที่ติด อกติดใจลูกค้าเป็นอย่างมาก หรือจะเติม เต็มวันดีๆอีกนิดด้วย Mango Cheese Cake และ Chocolate Whoopie Pie Starbucks สาขาเซ็ น ทรั ล พลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต พร้อมเสมอที่จะบริการ ทุกท่าน เพื่อสร้างความสุขระหว่างวันด้วย ร้านใหม่ และใส่ใจมากกว่าเดิม

Starbucks at Central Plaza Chiang Mai Airport has doubled its size and introduced some innovative ecological ideas in line with the company’s policy to renovate its branches every five years. Among the innovations are tables made from coffee grounds, part of Starbucks’s campaign to use only recyclable products by the year 2015. Coffee farmers already benefit from fertilizers made from recycled coffee grounds. The coffee menu at Starbucks is as innovative as ever, featuring such specialties as Caffé Mocha, Caramel Macchiato and Green Tea Cream, teamed with delicacies like Mango Cheese Cake and Chocolate Whoopie Pie.

Make your day a perfect one at Starbucks Central Plaza Chiang Mai Airport.



Smile Pen : Yossoontorn Lens : Supatchai C.

Ride for

Life

ในชั่ วโมงเร่ งรี บ เด็ กน้ อยหิ้ ว ปิ ่ นโตวิ่ ง ขึ้ นสามล้ อแออั ด ยั ด เยี ยดกั นอยู ่ ใ นเบาะเล็ กๆ บ้ า งตั ว เล็ ก ก็ นั่ง ลงบนพื้ น ให้ คุ ณ ลุ ง สามล้ อ ถีบเร่งปั่นเร็วจี๋เพราะก�ำลังจะไปเรียนสาย สวนทางกับคุณป้าที่เพิ่งไปจ่ายตลาดมาทั้งผักทั้งเนื้อที่วางไม่พอ ต้องเอาไข่ ไปแขวน ที่ จั บ ของคนขั บ สามล้ อ ขั บ เร็ ว ก็ ไ ม่ ไ ด้ ไ ข่ จ ะพาลแตกเอา คนหนึ่ ง รี บ คนหนึ่ ง ต้ อ งระวั ง แต่ ยั ง ถ้ อ ยที ถ ้ อ ยอาศั ย ทั ก ทายกั น ด้ ว ย กระดิ่ ง กรุ ๋ ง กริ๋ ง สิ่ ง นี้ เ กิ ด ขึ้ น ทุ ก วั น จนทั้ ง คนขั บ และผู ้ โ ดยสารแทบจะกลายเป็ น ญาติ พี่ น ้ อ งกั น เรื่ อ งราวนี้ เ กิ ด ขึ้ น ในตรอกเล็ ก ๆ ของเมื อ งเชี ย งใหม่ เมื่ อ 30 ปี ก่ อน สมัยนี้เมื่อทุกคนมีมอเตอร์ ไซค์ พ่อหนุ่มเหลือน้อยน่องทองทั้งหลาย ต่างไปรวมตัวกันตามสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งชุมชน ปั ่ น เพื่ อ เลี้ ย งปากท้ องต่ อไป หนึ่ ง ในนั้ นคื อคุ ณ ลุ ง สุ น ทร ยศปั น ผู ้ ยึด อาชี พสามล้ อ ถี บ มาอย่ า งยาวนาน

“ลุ ง ถี บ มา 50 ปี แล้ ว เพราะอาชี พนี้แหละ ที่ ท� ำ ให้ ลุ งส่ งลู ก สองคนเรี ย นจนจบ” ลุงสุนทรเล่าถึงชีวิตการท�ำงานที่ผ่านมาตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี ลุงเล่าว่าเริ่มประกอบอาชีพ ถี บ สามล้ อ มาตั้ ง แต่ อ ายุ 28 จนตอนนี้ 78 แล้ ว ก็ ยั ง ท�ำ อยู ่ เพราะเป็ น อาชี พ ที่ ลุ ง รั ก ได้ เ จอคน หลากหลาย และเป็นอาชีพที่ท�ำแล้วเหมือนออกก�ำลังกายอยู่ตลอดเวลา “ตอนนี้ 78 แล้ ว ก็ ยั ง แข็ ง แรงอยู ่ คงเป็ น เพราะปั ่ น สามล้ อ นี่ แ หละ” ลุ ง เล่ า ย้ อ นไปในช่ ว งที่ เริ่มต้นที่จะยึดอาชีพนี้ใหม่ๆ เพราะไม่ต้องการท�ำงานเป็นลูกน้องใคร และอยากมีอิสระในการท�ำงาน อยากท�ำก็ท�ำ เหนื่อยก็พัก ได้เงินวันละสองถึงสามร้อยบาทก็พอใจแล้ว ช่วงแรกๆ ใครจ้างไปไหนก็ ไป มีครั้งหนึ่งยังเคยปั่นรถจากในตัวเมืองไปถึง อ.สันก�ำแพง ท�ำงานแล้วมีความสุขก็อยากท�ำต่อ ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะปั่นไม่ไหว มีบ้างที่ลุงสุนทรยอมรับว่าอาจจะเบื่องานที่ท�ำบ้าง แต่ด้วยความที่ เป็นคนอยู่เฉยๆ ไม่ได้นาน การมาท�ำอาชีพที่ลุงสุนทรรัก จึงกลายมาเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดนั่นเอง “ก็คงปั่นไปเรื่อยๆ จนกว่าจะปั่นไม่ไหวนั่นแหละ” ลุงสุนทรเล่าว่า ปัจจุบันตนยังคงให้บริการอยู่ บริเวณตลาดวโรรส ซึ่งผู้ที่มาใช้บริการบ่อยๆ ก็คือแม่ค้าบริเวณตลาด มีบ้างที่เป็นนักท่องเที่ยวไทย และชาวต่างชาติ ราคาเริ่มต้น เพียง 20 บาทเท่านั้น นอกจากผู้ใช้บริการจะสัมผัสกลิ่นอายของอดีต แล้ว ยังเป็นการเปิดมุมมองให้เห็นเชียงใหม่ในรูปแบบที่ช้าลงอีกด้วย 50 ปี บ นอานจั ก รยาน จากท้ อ งถนนโล่ ง ๆ สลั บ เป็ น ถนนกรวดบ้ า ง กลายเป็ น ถนนกว้ า งใหญ่ ราบเรียบ รถราวิ่งกันขวักไขว่ แม้วันนี้สามล้อถีบจะเหลือน้อยลง แต่มิตรภาพระหว่างผู้โดยสารที่มี ต่อกันมายาวนาน ยังคงด�ำเนินต่อไป และแม้ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าไร ลุงสุนทร ยศปัน ยังยืนยันที่ จะปั่นเพื่อนสามล้อคู่ใจของเขาต่อไปเพราะส�ำหรับเขาแล้ว หากได้เลือกท�ำสิ่งในที่ตนเองรัก อายุก็ ไม่ใช่เรื่องที่ส�ำคัญอีกต่อไป

46

espite the growth of motorized traffic in Chiang Mai, a hardy group of samlor owners still pedal around the city, ferrying shoppers to and from markets and also carrying tourists on tours of the inner city. Loong (“Uncle”) Soontorn Yospun has been a samlor driver for 50 years, earning enough to pay for the college education of his children, and although they have all now graduated he is still plying—or pedaling—his trade at the grand old age of 78. “I am still strong from all the pedaling over the years” he told Fine Dae. “I’ll continue riding my tricycle until my body gives up on me.” The alternative is to stay at home and do nothing. “It’s sometimes boring on the tricycle, but at least I’m out and about and meeting people.” Loong Soontorn first took up the job because of the freedom it offered, even though the income was low--about 200-300 baht per day. Nowadays he charges 20 baht a fare. Loong Soontorn is quite literally a shining example to all of us of how staying active and doing something one loves is perhaps the secret of keeping young and healthy. Old age? It’s then just a number. www.finedaemag.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.