Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Artists: Chitti Kasemkitvatana (c) Nipan Oranniwesna (ni) Wantanee Siripattananuntakul (w) Nopchai Ungkavatanapong (no) Guest Curator: Kamolwan Boonphokaew (k) c2 c3
c1 ni3
no1
w2 w1
w3
k1
no3
c4 c1
ni4
no4 ni1
no2
ni2
2nd floor
ni2
1st floor
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ค�ำน�ำ
ศิลปะคือรากฐานที่มีความจ�ำเป็นต่อการรับรู้เรื่องราวต่างๆทางประวัติศาสตร์สังคมเเละ วัฒนธรรม ศิลปะย่อมผูกโยกกับบริบทต่างๆรายรอบราวกับอวัยวะหนึง่ ทีข่ าดหายมิได้ของสังคม หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เปิดพืน้ ทีใ่ ห้เป็นสนามสนทนาของความรูส้ กึ นึกคิด ความเชือ่ เเละบริบททางการเมืองสังคมและรวมถึงวัฒนธรรมให้สู่ผู้ชมผลงานศิลปะที่ไม่ใช่เเต่เพียง ผู้ที่สนใจในศาสตร์ทางศิลปะเท่านั้น หากเเต่ยังเปิดกว้างให้แก่ผู้สนใจในศาสตร์สาขาอื่น เข้ามารับรู้และเรียนรู้ไปด้วยกัน นิทรรศการ Human AlieNation เป็นส่วนหนึง่ ของ “โครงการสร้างสรรค์ศลิ ปกรรมนานาชาติ ศักยภาพของไทยและความพร้อมในการเป็นผู้น�ำและศูนย์กลางศิลปะร่วมสมัยอาเซียน ประจ�ำปี 2559” ซึง่ เป็นโครงการต่อเนือ่ งของหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ทีม่ งุ่ เน้นการสร้าง ความเข้าใจต่อผูค้ นในสังคมทีแ่ ตกต่างผ่านการเรียนรูท้ างสังคมวัฒนธรรม โดยมีแนวคิดจาก การน�ำความรู้ด้านมานุษยวิทยาที่ว่าด้วยความเป็นอื่นมากระตุ้นให้เกิดบทสนทนาทางศิลปะ ผ่านการตีความจากศิลปินร่วมสมัยทั้ง 4 ท่าน ที่ล้วนมีผลงานที่มีความน่าสนใจและสามารถ สือ่ สารความคิดทีไ่ กลอืน่ ออกไปนอกจากความงามทางศิลปะ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้สนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์นิทรรศการในครั้งนี้ โดยคณะสังคม วิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้มีส่วนร่วมให้นิทรรศการนี้เกิดขึ้น ได้อย่างสมบูรณ์ สุดท้ายนี้ ใน ‘ความเป็นอื่น’ หรือ ‘สิ่งอื่น’ หากเราสร้างความเข้าใจและท�ำความเข้าใจ ค�ำว่าอื่นๆ ย่อมหลอมรวมได้ไปด้วยกัน ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Preface
Art, as an important root of perceiving cultural and societal history, is undoubtedly a necessary part of every society. The Art Centre, Silpakorn University is welcoming the audience to take part in this conversation between feelings, beliefs, cultural and political context through art. Not only the artist or art-gallery-goer, but we also pleased to invite the general audience who ready to learn and experience this with us. The exhibition, Human AlieNation is part of “the ART of ASEAN 2016 Project”, an on-going project of the Art Centre, Silpakorn University that aims to enhance the understanding of people in different societies through socio-cultural learning. Similarly to the project objective, this exhibition is conceptualised from the knowledge of anthropology, ‘being other’, which encourages artistic conversation and interpretations from these 4 contemporary artists. Works shown in this exhibition interestingly express their idea that is far beyond aesthetic aspect. The Art Centre, Silpakorn University is delighted to exhibit this contemporary art exhibition with support from the Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University. Either ‘being other’ or ‘others’, if we understand well the meaning of them, this ‘other’ could be harmonized as one eventually. Dr. Paramaporn Sirikulchayanont Director of the Art Centre, Silpakorn University Copyright © The Art Centre Silpakorn University
สารจาก ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาณาบริเวณของความ(ไม่)แปลกแยก ส�ำหรับมานุษยวิทยา “ศิลปะ” เป็นหนึ่งในรูปแบบและการปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทีส่ มั พันธ์เชือ่ มโยงกับพัฒนาการของกระบวนการศึกษาเชิงชาติพนั ธุว์ รรณา อันน�ำไปสูก่ ารเปิด ประเด็นสนทนาและการตั้งค�ำถามที่ท้าทายการรับรู้ของผู้คนส่วนใหญ่ในสังคมในสาม ประเด็นหลักๆ ได้แก่ ขอบเขตของนิยามความเป็นศิลปะ ความย้อนแย้งของกระบวนการ สร้างภาพตัวแทน “ความเป็นอื่น” และพรมแดนที่พร่าเลือนระหว่างการผลิตและการบริโภค งานศิลปะ ประเด็นหลักทั้งสามนี้เป็นประเด็นอภิปรายที่ได้รับความสนใจจากมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มาต่อเนื่องกว่าสามทศวรรษ อย่างไรก็ดี นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย Human AlieNation และกิจกรรมวิชาการที่เกี่ยวข้อง จะเป็นโอกาสส�ำคัญครั้งแรกที่นักชาติพันธุ์ วรรณา ผูส้ ร้างสรรค์งานศิลปะ ผูก้ ระท�ำในอาณาบริเวณของมานุษยวิทยาและศิลปะ ตลอดจน ผู้เข้าชมนิทรรศการ จะได้ร่วมกระบวนการเรียนรู้ที่อาจเริ่มต้นจาก “ความแปลกแยก” แต่ ขณะเดียวกัน ก็มุ่งหวังว่าจะได้นำ� มาสู่การตระหนัก ความเข้าใจ หรือแม้แต่การตั้งค�ำถามกับ ความเป็นอัตบุคคลของ “เรา” ในสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัยไปพร้อมๆ กัน ขอขอบคุณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทีเ่ ห็นคุณค่าของการเปิดพืน้ ทีใ่ ห้กบั “ความเป็นอืน่ ” ขอขอบคุณศิลปินทุกท่าน และภัณฑารักษ์ ที่ร่วมกันเปิดประเด็นสนทนาว่าด้วยความเป็น ตัวเราผ่านรูปวัตถุของ “ความแปลกแยก” Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Message from The Center for Contemporary Social and Cultural Studies (CCSCS) Faculty of Sociology and Anthropology Thammasat University
The Art and Anthropology Fields of (in)AlieNation Art, as both cultural form and practice, has played an important role in the history of ethnography. From the birth of the discipline, the anthropological approach has inspired major challenges to common perceptions about Art. These include challenging the predominantly Western definition of Art, the politics of visual representation of “the Other” and the inalienability of art production, distribution and consumption. Anthropology at Thammasat University has forged continuing dialogues on the above issues through many decades of its postgraduate pedagogies. The “Human AlieNation” project is particularly welcomed as the very first collaborative project that brings together the life-worlds of artists, ethnographers and other actors in the field of Art and Anthropology, and their audiences. By inviting participants to reconsider alienation as a process of self realisation, it is anticipated that the exhibition will bring about new perspectives and encourage critical conversations about contemporary subjectivities. The Center for Contemporary Social and Cultural Studies (CCSCS), Thammasat University, would like to express its gratitude for the Art Centre, Silpakorn University, for having recognised the significance of “the Other” in its otherwise exclusive art space. Finally, the Center would also like to thank the artists and the curator who have ventured into this stimulating dialogue about the objectification of our “AlieNation”. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Human AlieNation: Art and Anthropology
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ในทุกการมองเห็น จะยังมีสิ่งที่มองไม่เห็นซุกซ่อนไว้อยู่เสมอ
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ผูเ้ ขียน (ในฐานะภัณฑารักษ์รบั เชิญของนิทรรศการ) คือผูท้ มี่ าจากโลกการศึกษาทางมานุษยวิทยา ภูมิหลังของวิธีการคิดและวิธีการศึกษา ถูกบ่มเพาะและเรียนรู้มาจากการเป็นคนนอกที่เข้าไป ศึกษาโลกที่ตนเองไม่คุ้นเคย ความสนใจที่มีต่อโลกศิลปะเริ่มขึ้นมาจากการเล็งเห็นถึง ศักยภาพในศิลปะและบทบาทของศิลปิน ดังที่ Turner (2005: 5) กล่าวว่า ทัง้ สองสิง่ มีความ “สามารถที่จะเอาชนะและบางทีก็ไปถึงขั้นเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยกลวิธีการสะท้อนให้เห็น โศกนาฏกรรมที่แต่ละสังคมก�ำลังเผชิญ” ส�ำหรับผู้เขียนศิลปะและมานุษยวิทยา แม้จะมีความแตกต่างทางปฏิบัติการและกระบวนการ ในการท�ำงาน แต่สงิ่ ทีท่ งั้ สองศาสตร์มเี ป็นพืน้ ฐานร่วมกันก็คอื ต่างคนต่างสะท้อนให้เห็นสภาวการณ์ ที่กำ� ลังเป็นอยู่ และสิ่งที่ก�ำลังเกิดขึ้นในสังคม ในขณะที่มานุษยวิทยา คือการศึกษากลุ่มคน ขนาดเล็กเพื่อเทียบเคียงการวิเคราะห์อธิบายสังคมขนาดใหญ่ ศิลปินก็สะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้นใน ระดับของปัจเจก เชื่อมต่อไปยังสังคม จากนั้นจึงถ่ายทอดออกมาในลักษณะของความคิด สร้างสรรค์ ในรูปของสิ่งที่เป็นวัตถุ สิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ สิ่งที่นักมานุษยวิทยาและศิลปินมีร่วมกัน ในครั้งนี้ก็คือ ความสนใจสภาวะของการแปลกแยก สภาวะของการถูกท�ำให้กลายเป็นคนอื่น “เราทุกกลุม่ ล้วนเป็นคนอืน่ ส�ำหรับคนอีกกลุม่ เสมอ” ค�ำกล่าวของแมคอีวลิ เลย์ (McEvilley, 1995: 11) นักวิจารณ์ศลิ ปะสัญชาติอเมริกนั ถูกน�ำมาเปิดประเด็นสนทนาระหว่างนักมานุษยวิทยา ฝึกหัดและศิลปินทีม่ ภี มู หิ ลังและวิธกี ารท�ำงานสร้างสรรค์ทแี่ ตกต่างกัน 4 คนว่าด้วยบรรยากาศ ในสังคมไทยที่ถูกนิยามอย่างไม่เป็นทางการว่า นี่คือช่วงเวลาของการเปลี่ยนผ่านทางสังคม และการเมือง ในขณะที่คนฝั่งหนึ่งก�ำลังยื้อยุดฉุดรั้ง ย่อมมีคนอีกฝั่งที่รอคอยให้วันคืนเดิมๆ ผ่านพ้นไปเพื่อที่จะพบกับวันใหม่ การหลงอยู่ในวังวนของการเปลี่ยนผ่านก�ำลังท�ำให้ผู้คนต่าง คนต่างมองคนในวัฒนธรรมเดียวกันกลายเป็นคนอื่น ไม่ว่าจะเป็นโลกทางสังคม หรือเป็น โลกศิลปะ ณ เวลานีส้ งิ่ ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ คือการรือ้ ฟืน้ กลไกการแบ่งแยกแบ่งกลุม่ โดยทีม่ อี ดุ มการณ์ ทางการเมืองเป็นตัวชี้วัด กลไกการติดป้าย การคัดกรองการสร้างความเป็นพวกพ้อง/ ความเป็นศัตรูก�ำลังกลับมา และผลที่ตามมาก็คือการพยายามสนับสนุน กู่ก้องเสียงของคน พวกเดียวกันให้ดัง ในขณะที่เสียงของคนอื่นกลับถูCopyright กละเลย© The Art Centre Silpakorn University
In every visual perception, there must be something invisible hidden.
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
I, as this exhibition’s guest curator, come with an educational background in Anthropology. Therefore, my approaches and thinking are oriented through the lens of being an outsider entering into an unfamiliar world. My interest towards fine art starts from my realization of the potential of art and that of the artists’ role. This follows what Turner has described, specifically that both art works and artists can “transcend and perhaps even change society as well as reflect its tragedies” (2005: 5). In my view, the fields of Visual Art and Anthropology, despite their different working processes and approaches to practice, share one fundamental commonality: their ability to reflect situations and movements that are currently occurring in society. Generally, anthropologists explore small-scale groups of humans in order to offer an analytic synthesis to be compared against general society on a larger scale. Meanwhile, artists endeavor to reflect situations and how they impact individuals such that the produced reflections can be connected to society as well. They then transform that reflection in a creative manner through the form of either a tangible or intangible object. “Every group is other to every other group.” This statement by Thomas McEvilley, an American art critic, here serves as the point of departure for a dialogue between an anthropologist-in-training and four artists with different backgrounds and creative specialties. The topic of the dialogue is the current condition of Thai society, which is loosely described as a period of social and political transition. During this time of transformation, a group of people on one side tries hard to hold on to the way things have been, while those on another eagerly anticipate the passing of old days and the arrival of new. Ironically, by sharing the condition of being lost inside the labyrinth of cultural change, all are driven to view those living in the same culture as the other. In both the social and art worlds, there is a current effort to revive the mechanism of peer grouping based on political ideology. The act of social labelling, categorizing, and delineation as ‘friend’ or ‘enemy’ is experiencing a resurgence. The consequence is the promotion of the voice of the in-group to be heard louder, while that of all others is increasingly ignored. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ในหอศิลป์ที่ก่อสร้างขึ้นมาสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เสียงฝีเท้าของมนุษย์ที่กำ� ลังวิ่งกึกกักอยู่ภายในอาคาร ดังลอยมา บ่งบอกให้รู้ว่าภายในมีสิ่งมีชีวิตก�ำลังเคลื่อนไหว ราวกับต้องการส่งสัญญาณให้เห็นถึงบรรยากาศของการวนเวียน การอยู่รวมกันอย่างปะปนระหว่างพวกเขาและพวกเรา Inside an art gallery built during the early Rattanakosin period, the piercing sound of running human footsteps abound, signifying the movement of living objects inside. This sound seems to hint that inside exists the circumstance of circulation, integration, and co-existence of those from both our side and otherwise.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“เสียงคือสัญญาณเริ่มต้น” (สัมภาษณ์ นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์, 21 พฤษภาคม 2016) “Sound is the signal of starting.” (Interview with Nipan Oranniwesna, 21 May 2016) Copyright © The Art Centre Silpakorn University
จุดเริม่ ต้นของการจัดนิทรรศการศิลปะเป็นการท�ำงานร่วมกันของผูเ้ ขียนและศิลปิน โดยความ สนับสนุนของหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีจุดเริ่มต้นมาจาก สมมติ ฐานในการท� ำ งานวิ จั ย ของผู ้ เ ขี ย นที่ ต ้ อ งการตั้ ง ค�ำ ถามเรื่ องความเป็น การเมือง ทางวัฒนธรรมของศิลปะ และบทบาทของศิลปินร่วมสมัยในสภาวการณ์ปัจจุบันที่เต็ม ไปด้วยความแปลกแยกในสังคมและการเมือง สภาวะของความแปลกแยกของมนุษย์ Human AlieNation ชื่อของนิทรรศการมาจากการตีความผ่านค�ำสองค�ำคือ alien และ nation การใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่เฉพาะตัว A และตัว N คือความตั้งใจที่จะสื่อ ให้เห็นสภาวะและความสัมพันธ์ที่มีต่อกันและกันของค�ำสองค�ำ เพื่อสื่อให้เห็นว่าความแปลก แยกนี้เป็นสภาวะของการรับรู้ เป็นความรู้สึกที่สามารถเกิดขึ้นกับมนุษย์คนใดก็ได้ ทั้งใน กระบวนการท�ำงานและกระบวนการใช้ชีวิตในบริบทความไม่มั่นคงทางสังคมและการเมือง โดยผู้เขียนมองว่าความรู้สึกแปลกแยกไม่ใช่เรื่องราวเฉพาะของคนใดคนหนึ่ง และไม่ใช่เป็น เพียงแค่เรือ่ งส่วนตัวแม้จะเกิดขึน้ อย่างแตกต่างไปตามประสบการณ์สว่ นบุคคล แต่เป็นผลพวง มาจากประสบการณ์ร่วมที่ผู้คนในสังคมร่วมสมัยต้องเจอะเจอ ผู้คนที่อยู่ภายใต้การปกครอง ดูแลของรัฐทีไ่ ม่เคยเหนือ่ ยหน่ายในการเข้ามามีอำ� นาจก�ำหนดกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ในชีวติ ของพลเมือง ไม่เว้นแม้กระทัง่ เรือ่ งส่วนตัว (Beck, 2007) ศิลปินทีเ่ ข้ามาร่วมสนทนาผ่านปฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกต่างกันในครัง้ นีม้ ี 4 คนคือ จิตติ เกษมกิจวัฒนา, นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์, วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร และนพไชย อังควัฒนะพงษ์ ภูมิหลังสถานะ ทางสังคม ความแตกต่างทางความคิดและความเชื่อ สิ่งเหล่านี้ไม่เพียงส่งผลต่อปฏิบัติการ กระบวนการสร้างงานศิลปะ แต่สง่ ผลรวมไปถึงการสร้างความหมาย การให้คณุ ค่ากับงานศิลปะ ที่ตนเองเป็นผู้ผลิตในแต่ละชิ้น ความน่าสนใจคือ แม้ว่าพวกเขาจะได้รับการบ่มเพาะพื้นฐาน ความเชี่ยวชาญในการท�ำงานศิลปะที่ต่างกัน หากแต่อุดมการณ์ในการท�ำงานศิลปะกลับเป็น ไปในทิศทางเดียวกัน Copyright © The Art Centre Silpakorn University
This exhibition was conceived through a collaboration between myself and four artists, with the support of the Art Centre, Silpakorn University, and Center for Contemporary Social and Cultural Studies (CCSCS), Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University. Its thematic departure comes from my own thesis’ assumption of a research project questioning the cultural politicization of visual art, and also the role of contemporary Thai artists in a society currently full of socio-political disintegration and conditions of human alienation. Human AlieNation, the exhibition title is conceived from the interpretation of two thematic terms: ‘alien’ and ‘nation.’ The appearance of the two capital letters, ‘A’ and ‘N,’ denotes the condition and the mutual relation of both terms. This is to signify that this alienation is the condition of perception and feeling, which exists in every man, and in every working and living process amid the context of social and political instability. I view that this alienation does not belong solely to any particular person, and is not a personal affair, although it takes form differently according to each individual experience. Nonetheless, it is the product of collective experience shared and encountered by those living in contemporary society. Unfortunately, their existence is monitored by the state, which untiringly dictates all rules for people as its citizens, including even their personal and private matters. (Beck, 2007) The four artists who join with me in this dialogue via different approaches are Chitti Kasemkitvatana, Nipan Oranniwesna, Wantanee Siripattananuntakul and Nopchai Ungkavatanapong. Unquestionably, their backgrounds, social statuses, ways thinking, and beliefs are diverse. Some of them have dissimilar basic training and artistic expertise, while others share quite similar aesthetical preferences. These differences influence not only their approach to the production of art, but also the construction of meaning and the assigning of value to their own createdCopyright pieces. © The Art Centre Silpakorn University
Artists:
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
จิตติ เกษมกิจวัฒนา Chitti Kasemkitvatana
One moment into another. An atmospheric immersion. (2016) c1 c2 c3 c4
One thing after another (2012) Untitled (Rebuit) (2013) Everyday utensils (2014) Drift away and fall (2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
2nd floor
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“นี่ไม่ใช่การสร้างความจริง เป็นเพียงการเสนอให้เห็นว่า ยังมีบทสนทนา (dialogue) อีกชุดหนึ่งอยู่” (สัมภาษณ์ จิตติ เกษมกิจวัฒนา, 29 มีนาคม 2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ความน่าสนใจในงานของ จิตติ เกษมกิจวัฒนา คือการเปิดพื้นที่ในการสร้างสรรค์ของตัวเอง ให้เป็นเวทีของการท�ำงานศิลปะและการสร้างการเรียนรูท้ างประวัตศิ าสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ไปพร้อมกัน และในนิทรรศการครั้งนี้ก็เช่นกัน จิตติเล่าเรื่องระยะ (ที่ไม่) ห่าง ของพื้นที่ กาลเวลาในอดีต และปัจจุบนั ทีท่ ำ� ให้เรือ่ งราวของคนธรรมดา (ordinary person/non-hero) ถูกแยกออกจากประวัตศิ าสตร์กระแสหลัก อันเป็นประสบการณ์ทจี่ ติ ติพบในระหว่างการท�ำงาน ศิลปะในไทยและต่างประเทศตลอดระยะเวลาตั้งแต่ปี 2012-2016 ส�ำหรับจิตติแล้วพื้นที่ และเวลาไม่ว่าจะเป็นพื้นที่และเวลาในประวัติศาสตร์ ในชีวิตประจ�ำวัน ในเมืองใหญ่ หรือแม้ กระทัง่ ในโลก/สถาบันศิลปะ ทุกสิง่ ทุกอย่างล้วนเชือ่ มโยงและมีความสัมพันธ์ตอ่ กัน การเกิดขึน้ และการคงอยูข่ องแต่ละเวลา พืน้ ทีล่ ว้ นส่งผลต่อการเกิด (ใหม่) ของอีกพืน้ ทีแ่ ละเวลาได้เสมอ โดยเฉพาะในประวัตศิ าสตร์ไทย ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการค้นพบทางวิทยาศาสตร์และการเคลือ่ นไหว ทางสังคม การเมือง วัฒนธรรม ล้วนมีส่วนสร้างการเกิดขึ้นของกันและกัน ทว่า อ�ำนาจของ การเขียนประวัติศาสตร์และการจัดการความรู้ที่ผ่านมากลับเต็มไปด้วยช่องว่างอันเป็นผล มาจากการก�ำหนดสร้างและการตีกรอบสิ่งที่เกิดขึ้นให้เป็นเรื่องเฉพาะของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง หรือเป็นเรื่องราวเฉพาะของบุคคลใดบุคคลหนึ่งไป การทบทวนเรื่องเส้นทางและมิติของการเวลาเพื่อเติมเต็มช่องว่างในประวัติศาสตร์ครั้งนี้ จิตติ เลือกทีจ่ ะใช้วธิ กี ารเข้าไปแทรกแซง (intervention) กับเมือง สถาบันศิลปะ เหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ และประสบการณ์ในชีวิตประจ�ำวันที่เขาอยู่และเคยอยู่ ผ่านกรอบของการ สร้างซ�ำ้ (re-work) การตีความ (interpretation) เหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ทเี่ คยเกิดขึน้ และเหตุการณ์ที่ถูกท�ำให้เหมือนไม่เคยเกิดขึ้น ส�ำหรับผู้เขียนการน�ำประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้น ในพื้นที่หนึ่งมาจัดวางในอีกพื้นที่หนึ่ง (พื้นที่ของหอศิลป์) คือการเขียนประวัติศาสตร์ของผู้คน ในอดีต ในแง่มุมที่เต็มไปด้วยความพยายามที่จะท�ำความเข้าใจสถานะของการเป็นผลผลิต ของรัฐ ซึ่งเป็นการเขียนประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองของพลเมือง ด้วยเหตุนี้งานของจิตติจึง ถือเป็นภาคผนวก (reference) เป็นดัชนี (index) ของเหตุการณ์ที่ยังไม่ถูกน�ำเสนอ ทีม่ นี ยั ของการเขียนประวัติศาสตร์ และในขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้ผู้ชมได้ทบทวนส�ำรวจ และ ศึกษาสิ่งที่เคยเกิดขึ้นในความเป็นจริง (the real)Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“This is not a construction of a truth, but a presentation of a truth that another dialogue still exists.” (Interview with Chitti Kasemkitvatana, 29 March 2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
One aspect of the attractiveness of Chitti Kasemkitvatana is his effort in opening his creative space to be an arena of both artistic work and an informed seminar on history, society, and culture at the same time. This characteristic is evident in his works featured in this exhibition. This time, Chitti narrates stories about the distance of space and time, from the past and in the present. They are all about ordinary people who are disenfranchised from mainstream history. The motifs are informed by what he has encountered during his working periods in both Thailand and overseas between 2012 and 2016. For Chitti, all types of space and time matters are always connected, no matter what they are about or from where they derive: past, daily life, big cities, and even art institutions. For him, the emergence and existence of one thing in one time influences those of other times, particularly in Thai history. This feature can be applied to the matter of scientific discoveries, as well as social, political and cultural movements. All mutually inform the formation of the others. Moreover, in his view, in current writing about history and in current knowledge management, there exists a surfeit of gaps. These gaps result from the defining and framing of happenings to belong to only one particular space or person. In this exhibition, Chitti reviews and explores the issues of many routes and times that have passed in an attempt to fill the above mentioned gaps, which was once exceedingly difficult to do. To achieve this, he chooses the method of intervening many objects, including cities, art institutes, history, and his own daily life experiences. His work is based on the process of re-working and re-interpreting many historical incidences, of which some have been commonly reported to have never occurred. For myself, bringing one historical incident that once happened before in one place to be presented and relocated in another place (such as an art gallery) is a form of rewriting the history of people in the past. And the artist tries well to understand these people as a result of the state’s production. Meanwhile, his artistic effort this time is also a re-writing of history of certain citizens through the lens of a citizen. Therefore, Chitti’s oeuvres here can be regarded as both a reference and an index of the incidents that have yet to be presented. Carrying the notion of historical writings, they, meanwhile, offer the audience the chance to reconsider and deeply contemplate what has actually occurred during historical moments. Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
One moment into another. An atmospheric immersion. 2016 Installation view at the Art Centre, Silpakorn University Exhibition Print Advertisements designed by Suppakarn Wongkaew Photo credit: Tanatchai Bandasak Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Everyday utensils (detail shot) 2014 Ink-jet print on paper Photo credit: Chitti Kasemkitvatana Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Drift away and fall 2016 An intervention at Centre Pompidou, Paris All rights reserved by the artist Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
One thing after another 2012 Installation view at Frac-Ile-de-France/Le Plateau, Paris Photo credit:Â Martin Argyroglo
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ Nipan Oranniwesna
IAMNOTWHATIWAS (2016) ni1 The storm continues to rage outside and the wind sweeps relentlessly
across the land from the same direction (2015)
ni2 Signal (2016) ni3 Two years later... (2016) ni4 2401 (2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
2nd floor
1st floor
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ในขณะที่จิตติใช้วิธีการน�ำประวัติศาสตร์จากที่อื่นเข้ามาสร้าง (ซ�้ำ) เรื่องราวในพื้นที่ใหม่ ศิลปินคนที่สองคือนิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ เขาใช้พื้นที่ของหอศิลป์เป็นจุดเริ่มต้นการเดินทาง ของโชคชะตาผ่านการท�ำงานศิลปะ การเดินทางน�ำพาให้เขาออกนอกพรมแดนแห่งการถูก ปกครองไปสูพ่ รมแดนทีร่ ฐั ไม่อาจสร้างอ�ำนาจปกครอง ส�ำหรับนิพนั ธ์ การท�ำงานศิลปะเปิดโอกาส และสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับชีวิตเสมอ หากได้ศึกษาและวิเคราะห์เส้นทางการท�ำงาน ศิลปะของนิพนั ธ์มาอย่างต่อเนือ่ งจะพบว่าผลงานใหม่ๆ เกิดขึน้ มาจากความพยายามทีจ่ ะสร้าง บทสนทนากับผลงานก่อนหน้าเสมอ การแตะประเด็นทีด่ เู หมือนการวิพากษ์วจิ ารณ์เหตุการณ์ ความขัดแย้งทางการเมืองใน ปี 2011 จึงไม่ได้เกิดมาจากการหยิบจับกระแสที่ก�ำลังเป็นที่ สนใจ หากแต่เป็นประสบการณ์ตรงจากการใช้ชีวิตประจ�ำวันในสังคมทั้งในฐานะสมาชิกของ สังคม ในฐานะของศิลปินที่ถูกผลักให้ต้องออกมาตั้งค�ำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น และสิ่งที่ยังหลง เหลือค้างคาจากบรรยากาศของปี 2011 ก็คอื สัญญาณของความไม่ปกติภายในสังคมการไม่รู้ และ/หรือการไม่แน่ใจในสิง่ ทีร่ ู้ ทีผ่ ลักให้ตอ้ งตกไปอยูใ่ นสถานะของคนนอกคนอืน่ จากปี 2011 ล่วงเลยมาจนถึง 2016 ความรูส้ กึ ดังกล่าวไม่เคยลบเลือน สัญญาณนัน้ ไม่เคยจางหายไป จากการเดินย้อนไปตามเส้นการเดินทางของแม่บา้ นชาวเมียนมาร์ทมี่ าท�ำงาน ที่หอศิลป์ นิพันธ์ กลับไปสูจ่ ดุ เริม่ ต้นของพืน้ ทีอ่ กี ครัง้ --เกาะสอง จังหวัดระนอง หนึง่ 1 ใน 5 ด่านพรมแดนส�ำคัญ ทีเ่ ปลีย่ นและสร้างสถานะทางสังคมใหม่ให้กบั คนจากพืน้ ทีอ่ นื่ จนถูกเรียกโดยรวมว่ากลุม่ แรงงาน ข้ามชาติ แรงงานผลัดถิ่น คนต่างด้าว ฯลฯ ส�ำหรับผู้เขียน ความเป็น คนอื่นนั้นเป็นสิ่งที่ผู้อื่น หยิบยื่น ไม่ใช่มาจากการที่เรานิยามตนเอง ตลอดระยะเวลาของการอยู่ระหว่างพรมแดนของ สองรัฐ--ไทย-เมียนมาร์ ความรู้สึกกลัว ความแปลกแยกจากสิ่งที่รจู้ กั คุน้ เคย สะท้อนภาพ อดีตที่ศิลปินเคยมีกับสังคมที่อยู่รอบตัว “IAMNOTWHATIWAS” (2016) ก�ำลังสะท้อน ให้เห็นว่า ระยะทางสถานะไม่ได้รับประกันว่าการอยู่ใกล้จะท�ำให้เรารู้ดีกว่าใคร เพราะไม่ว่า จะอยู่ในระยะ หรือสถานะไหน ในบางครั้งเราก็กลายเป็นคนอื่นได้เช่นกัน ฉะนั้นความเป็นอื่น จึงไม่จ�ำเป็นต้องตามหา แต่เป็นสิ่งที่ได้ถูกท�ำให้เปลี ่ยนรูปและลักษณ์ และเข้ามาอยูใ่ กล้มาก Copyright © The Art Centre Silpakorn University
เสียจนทีเ่ ราไม่รตู้ วั โดยทีม่ อี ำ� นาจทางเศรษฐกิจเป็นเครือ่ งมือเปลีย่ นแปลง และในขณะเดียวกัน ก็หลอมรวมใหม่ไปพร้อมกัน ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นผลงานประติมากรรมสามมิติขนาดเล็ก หรือ ประติมากรรมไม้ที่ถูกจัดวางเป็นแนวยาวไปกับพื้น ประหนึ่งก�ำลังเป็นการอุปมาให้เห็นถึง เส้นแบ่งหรือพรมแดนที่เป็นตัวก�ำหนดความเป็นคนใน ความเป็นคนอื่น รวมไปถึงความเป็น พวกพ้อง ไม่ว่าจะเป็นพวกพ้องในสังคมเดียวกัน เมืองเดียวกัน หรือรัฐประเทศเดียวกัน
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
While Chitti employs the method of bringing historical incidents from other places to be reproduced in a new space, Nipan Oranniwesna explores the space of Silpakorn University’s Art Centre as the departure for his travelogue along the route of creating art works. This journey of his has brought him to new territories free from any state domination. For Nipan, creating art always offers him new chances and unique experiences. While surveying and analyzing Nipan’s projects, one may notice a link between his new and former artistic creations. The presence of works of his that relate to the political conflict of 2011 in this exhibit comes not from his effort to catch any particular social stream, but from his direct experience as being a member of this society. As an artist, he is driven to raise questions towards many happenings. And one extant trace from the crisis of 2011 is the signal of abnormalities in society. With their ignorance and their hesitation towards the given information, many have found themselves outsiders in their own society. For Nipan, from 2011 to 2016, that feeling has never dissipated, nor has that signal ever vanished. Nipan set out on a journey to follow the route that a female art gallery janitor from Myanmar took to visit her hometown. He reset his trip at a new starting point, Koh Song, in Ranong province. This is one of five major checkpoints along the Kingdom’s borderlines that play a role in changing and recreating the social statuses of those from other territories. These people are referred to as migrant laborers, foreign laborers, aliens, and so on. This status of ‘other’ derives not from their own self-definitions, but through the imposition of others. By attempting to experience an existence on this border between two states, Thailand and Myanmar, Nipan’s feelings of fear and of being estranged from the familiar have been evoked. This reminds and reflects the imprinted images of things surrounding him. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“IAMNOTWHATIWAS” (2016) reflects that, without a reduced distance and a more acquainted status, one cannot be considered to be a person with a higher level of understanding. No matter how far or close the distance, and no matter what status we have, one can become an alien at any time. Otherness is a condition that we have no need to seek. It transforms itself and approaches so stealthily that it is difficult to discern its approach. Economic power is an instrument that encourages and makes this change more potent. All of the sculpture works of Nipan included in this show, including the small three-dimensional and the long wooden pieces lying on the floor, are a metaphorical visual landscape of a borderline marking the separated areas of those from the inside and the outside, and of those from the same and the other group, who share living space in a singular society—a town or even a country. Within this geo-political landscape, all hierarchical social levels, individually and institutionally, attempt to take authority and advantage into their hands.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Signal 2016 Two channel video, color, sound, 15 mins. (loop) (Video camera/ editor: Achara Chakratok) All rights reserved by the artist Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
2401 (work in progress) 2016 Wood, 389x760x1.5 cm (Production: Hiranpruk Trichakraphop) All rights reserved by the artist
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
The storm continues to rage outside and the wind sweeps relentlessly across the land from the same direction 2015 Coin, melted and casted, 2.3x3.3x0.2 cm (Production: Apisit Nongbua) All rights reserved by the artist
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร Wantanee Siripattananuntakul
Songs without lyrics (2016) w1 III (2014) w2 When she sings a voiceless song (2015) w3 The Conductor (2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
1st floor
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ท่วงท�ำนองเพลงแสนค�ำนึงวนกลับมาดังขึ้นอีกครั้ง ดังสลับกับเสียงสภาพแวดล้อมและเสียงท่วงท�ำนองจากกลองสแนร์ ที่ถูกรัวเป็นจังหวะ การมาบรรจบพร้อมกันของสามบทเพลงครั้งนี้ ราวกับจะบอกเป็นนัยว่า ความเชื่อมั่นไม่อาจสร้างให้เกิดขึ้นได้ ผ่านการใช้ก�ำลังบังคับ The pondering melody resonates, alternating with the sounds of the surrounding ambience and a rhythmic snare drum. The marriage of these three sounds seem to denote that trustworthiness cannot be delivered through the manes of enforcement.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“ทุกชนชั้นในสังคมต่างเคยช่วงชิงอ�ำนาจและความได้เปรียบต่างๆ ให้มาเป็นของตน ไม่ว่าจะในระดับสถาบันการเมืองการปกครอง หรือแม้แต่ในระดับบุคคล” (สัมภาษณ์ วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร, 10 กรกฎาคม 2016) “Within this geo-political landscape, all hierarchical social levels, individually and institutionally, attempt to take authority and advantage into their hands.” (Interview with Wantanee Siripattananuntakul, 10 July 2016) Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Songs without lyrics 2016 Three-channel video installation color, stereo sound Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
III 2014 Single-channel video, color, stereo sound, 8.48 mins. When she sings a voiceless song 2015 Single-channel video, color, stereo sound, 4.51 mins. The Conductor 2016 Single-channel video, color, stereo sound, 5.09 mins.
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
ส�ำหรับ วันทนีย์ ศิรพิ ฒั นานันทกูร เพลง ท�ำนอง (melody) เนือ้ หา (content) หรือจังหวะ (rhythm) ไม่ใช่สิ่งที่เป็นตัวแทนของการแสดงความรู้สึกต่างๆ ของมนุษย์เพียงอย่างเดียว แต่ยังมี อีกหนึ่งคุณสมบัติที่เพิ่มเติมมานั่นก็คือ ความสามารถที่จะท�ำให้เกิดได้ทั้งความสามัคคี และ ความเกลียดชังสลับกัน
ในนิทรรศการ Human AlieNation อุดมการณ์ ความเชื่อ ความศรัทธา ถูกน�ำมาเสนอ ผ่าน “บทเพลง” (ที่ไม่อาจเอ่ยชื่อถึง) เป็นการร้อยเรียงให้เห็นช่วงเวลาของยุคสมัยที่สะท้อน ผ่านชีวิตของผู้คน ที่อยู่ในฐานะผู้ขับกล่อม และผู้ที่ก�ำลังถูกขับกล่อมจากกลไกในการสร้าง ความยินยอมพร้อมใจ (consent) ผลงานวิดีโอจัดวาง 3 จอขนาดใหญ่ (III (2014), When she sings a voiceless song (2015), และ The Conductor (2016)) คือการ ฉายภาพตัวแทนของคนสามชนชั้นคือ ชนชั้นแรงงาน ชนชั้นกลาง และชนชั้นน�ำ มีภาพของ ชายชาวสวนผูก้ ำ� ลังค้นหาอะไรบางอย่าง ภาพของหญิงชนชัน้ กลาง ผูต้ อ่ สูอ้ ย่างโดดเดีย่ วล�ำพัง แต่กย็ งั มีความหวังทีจ่ ะน�ำพาชีวติ ให้ดำ� เนินไปต่อ และภาพของชายหนุม่ ภูมฐิ านในชุดสูทเต็มยศ ที่กำ� ลังท�ำท่าทางสั่งการ ก�ำกับ และชี้นำ� คนหนึ่งค้นหา อีกคนฝันฝ่า และอีกคนคอยก�ำกับอยู่ ในความมืด บทบาทของคนทัง้ สามถูกบรรเลงผ่านท่วงท�ำนองของสามบทเพลงส�ำคัญทีม่ สี ถานะ ทางสังคมที่แตกต่างกันไปตามความเปลี่ยนแปลงของช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ของไทย ในชื่อผลงานชุด “Songs without lyrics” จากภาพที่ปรากฏนี้สะท้อนให้เห็นว่า สถานะของเพลงจึงเป็นได้ทั้งท่วงท�ำนองของการต่อสู้ และเป็นการครอบง�ำทางอุดมการณ์ไปพร้อมกัน ขึ้นอยู่กับผู้ที่หยิบเพลงนั้นๆ น�ำมาใช้เพื่อ ผลประโยชน์ส่วนตัว และ/หรือผลประโยชน์ส่วนรวมอย่างไร โดยการท�ำงานในครั้งนี้ ศิลปิน ใช้วิธีการเล่าเพลงที่ไร้/ถอดเนื้อเพลง พร้อมไปกับการสร้างสัญญะและสร้างชุดความหมาย แฝงผ่านตัวนักแสดงน�ำ (actors/actress) ตัววัตถุ (things/objects) พืน้ ทีถ่ า่ ยท�ำ (shooting spaces) และเทคนิคการถ่ายท�ำ ทุกๆ รายละเอียดของการปรากฏและไม่ปรากฏทั้งหมด ล้วนเป็นเนือ้ หาทีศ่ ลิ ปินต้องการสือ่ สารกับผูช้ ม ด้วยความตัง้ ใจทีจ่ ะสะท้อนเรือ่ งของโครงสร้าง ทางอ�ำนาจที่อยู่ในระดับปฏิบัติการในชีวิตประจ�ำวัCopyright นของผู้คนทุ กชนชั้นในสังคม © The Art Centre Silpakorn University
For Wantanee Siripattananuntakul, the role of a song, as well as its melody, content, and rhythm, is to not only represent various sensations of humans. In addition, one of its added features is its ability to bring about both unity and hatred. In this Human AlieNation exhibition, the topics of ideology, belief, and faith are presented through a song (of which title cannot be mentioned here). Arranging various motifs from one chapter of time as its content, this song reflects the lives of those who lull and those who are lulled. It belongs to a mechanism of constructing social consent. To illustrate her view, Wantanee presents three video installations on large screens: “III” (2014), “When she sings a voiceless song” (2015), and “The Conductor” (2016). The moving images of people from three social classes are represented: manual laborers, the middle-class, and elites. The first clip features a male farmer searching for something; the second, a middle-class female hoping to survive despite a lonely fight; and the third, a man posing with a commanding gesture and corresponding attire. Three different actions are portrayed: searching, struggling, and ordering under dark light. These portrayals are accompanied by three different songs, under the same title of “Songs without lyrics.” Each tune relates to a different social status in accordance with the changing chapters of Thai history. These images and sounds reflect the ability of songs to function as hymns of battle, as well as instruments of ideological domination. It depends on the objective of the one who uses this or that song, whether it is for his or her personal purpose or that of the public. In this project of Wantanee, the selected songs either originally have no lyrics or they have been dismissed. Her construction of signs and meanings are presented through actors, objects, shooting techniques, and spaces. All details of appearances and disappearances are well screened by the artist herself, with the intention to communicate with the audience about the structure of authorities that are commonly practiced in the daily lives of people of all classes. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
นพไชย อังควัฒนะพงษ์ Nopchai Ungkavatanapong
no1 Re-touching the negatives (2014-2016) no2 Tiptoeing around the stars (2015-2016) no3 Definition (2015-2016) no4 Ceci n’est pas une pipe. (2015-2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
2nd floor
1st floor
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“เมื่อด�ำเป็นขาว และเมื่อขาวเป็นด�ำ เมื่อภาพที่มองเห็นอาจจะไม่ได้เป็น อย่างที่สายตาสร้างภาพให้เห็น... ในขณะที่กายภาพพูดอย่างหนึ่ง ความหมายกลับเป็นอีกอย่างหนึ่ง ผู้ชมจะท�ำอย่างไร” (สัมภาษณ์ นพไชย อังควัฒนะพงษ์, 2 กรกฎาคม 2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
และส�ำหรับนพไชย อังควัฒนะพงษ์ เรื่องราว สถานะ การรับรู้ที่มีต่อสิ่งของ และอาจจะรวม ไปถึงผู้คน (จนส่งผลให้เกิดความแปลกแยก ความเป็นอื่น) ทุกอย่างเป็นผลมาจากสิ่งที่ถูก สร้างขึ้น ทั้งในมุมของผู้ผลิต และผู้ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ ความเป็นวัตถุของนพไชยไม่ได้ ถูกสร้างแค่ในทางกายภาพ แต่ยังมีความหมายซุกซ่อนอยู่เบื้องหลัง สิ่งเหล่านั้นอาจจะเป็น การรับรู้ ประสบการณ์สว่ นตัว, การเปลีย่ นแปลงของยุคสมัย, ผลกระทบจากกระแสการพัฒนา, การถูกท�ำให้เป็นเรือ่ งของการเมือง (politicization) ฯลฯ การท�ำงานในครัง้ นีเ้ ขาสนใจเรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย และการเกิดขึ้นของนวัตกรรม เทคโนโลยี โดยมองว่าการเกิด ขึน้ ของสิง่ เหล่านีไ้ ม่เพียงส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของสังคม แต่ยงั มีสว่ นท�ำให้ขา้ วของเครือ่ งใช้ ผูค้ น ทัง้ หลายต้องตกอยูใ่ นสถานะของสิง่ ของ (objects) ทีถ่ กู ทิง้ ถูกท�ำขึน้ ใหม่ และถูกก�ำหนด ให้ต้องเปลี่ยนแปลงไป ความน่าสนใจในตัวงานศิลปะของนพไชยก็คือ วิธีการสร้างกระบวนการน�ำเสนองานศิลปะใน รูปแบบต่างๆ ซึง่ เป็นสิง่ ทีพ่ ฒั นามาจากความรูส้ กึ นึกคิด จากประสบการณ์สว่ นตน/ประสบการณ์ ของคนอื่น ผ่านวิธีการน�ำข้าวของ วัตถุต่างๆ ที่เคยแวดล้อมและอยู่ร่วมสมัยในช่วงชีวิตของ ตัวเขาเองมาถอดรื้อ และประกอบสร้างวัตถุขึ้นมาใหม่ สะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนผ่านของ เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตของผู้คนไปพร้อมกัน ไม่ว่าจะเป็น ผลงาน “แถให้ถงึ ดาว” (Tiptoeing around the stars) ทีว่ า่ ด้วยเรือ่ งกลุม่ ดาวทีอ่ ยูเ่ บือ้ งบน “อยู่ที่คำ� จ�ำกัดความ” (Definition) ผลงานกล่องไม้ล้อมกรอบด้วยไฟสีขาว “นี่ไม่ใช่กล้อง ยาสูบ” (Ceci n’est pas une pipe.) และ “ว่าด้วยเรือ่ งลบ” (Re-touching the negatives) ภาพถ่ายฟิลม์ เนกาทีฟทีผ่ า่ นกระบวนการจัดการด้วยวิธดี งั้ เดิม ภาพพอร์ตเทรตของผูค้ น หญิง ชาย เด็ก และคนชรา ที่อยู่ในเงามืดบนแผ่นฟิล์ม ถูกน�ำมาฉายผ่านเครื่องฉายภาพ (Magic lantern) ทัง้ หมดทีก่ ล่าวถึงนีค้ อื กระบวนการทีจ่ ะถูกน�ำเสนอด้วยวิธกี ารถ่ายโอน (transmission) ชีวิต สังคม เป็นการน�ำเสนอของศิลปินเพื่อจะน�ำไปสู่เป้าหมายคือการตั้งค�ำถามกับวิธีคิด วิธีการมองเห็น และวิธีการจินตนาการของผู้ชม ด้วยเหตุนี้ผลงานที่ถูกน�ำมาจัดวางน�ำเสนอ จึงอาจจะไม่ใช่แค่งานศิลปะ แต่เป็นเวทีของการทดลอง เป็นบททดสอบ ที่ไม่ใช่แค่เพียง ระหว่างศิลปินกับผู้ชม แต่คือบททดสอบของผู้ชมกับผัสสะ การรับรู้ของพวกเขาเอง
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“When black becomes white and white turns black, the perceived vision is not similar to what the eyesight renders… While the physical tells one thing, the meaning becomes another. What will the audience members do?” (Interview with Nopchai Ungkavatanapong, 2 July 2016)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Lastly, for Nopchai Ungkavatanapong, stories, statuses, and perceptions toward surrounding objects (and, possibly, also people) are the results of social production. Being an object, in his view, engages not only the matter of physicality, but also hidden significance. These objects may be perceptions, personal experiences, period changes and affects resulting from development, politicization, or something else entirely. This project of his focuses the subject of change periods and the emergence of innovations and technologies. He views that the occurrence of these things brings about not only societal changes, but also those of daily items, tools, and people. All come under the status of being objects that are discarded, reproduced, and identifiable for their ability to be transformed. One notable feature of Nopchai’s works is their various forms of presentation, which are developed from his own considerations, collected from the experiences of himself and others. In this execution, various objects from daily life, once surrounding him and sharing the contemporary period with him, are brought to be dismantled and reconstructed. This strategy reflects the transition of technologies and innovations that affects the living of human beings. “Tiptoeing around the stars” explores the subject of stars floating above, while “Definition” is a wooden box surrounded by white light. Featuring negative images processed with an original method, “Ceci n’est pas une pipe.” and “Re-touching the negatives” portray the portraits of women, men, children, and the elderly as silhouettes upon negative films, which are projected with the help of a magic lantern machine. All art works described above are brought by their artists with the objective to arouse the audience to question various methods of thinking, viewing, and imagining each of them. Therefore, the artistic objects installed here are possibly not only works of art, but also form an arena of experimentation and a testing lesson. Both entail not only the interaction between the artists and their audiences, but also between the audience members themselves and their own senses and perceptions.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ว่าด้วยเรื่องลบ (Re-touching the negatives) 2014-2016 Dimensions Variable Mixed objects Photo credit: Taweewit Kijtanasoonthorn
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
อยู่ที่ค�ำจ�ำกัดความ (Definition) 2015-2016 Dimensions Variable Neon light and mixed objects Photo credit: Taweewit Kijtanasoonthorn
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
แถให้ถึงดาว (Tiptoeing around the stars) 2015-2016 Dimensions Variable Neon light and mixed objects Photo credit: Taweewit Kijtanasoonthorn Copyright © The Art Centre Silpakorn University
k1 Art and Anthropology
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
1st floor
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
พืน้ ที่ (space) ของหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรถือเป็นพืน้ ทีส่ ำ� คัญและถือเป็นวัตถุ (material) ชิ้นหนึ่งของการจัดท�ำนิทรรศการ พื้นที่ทั้งชั้นหนึ่งและชั้นสองถูกก�ำหนดให้เป็นเสมือนบริบท ของการน�ำเสนอออกมาเป็นความแปลกแยกที่สามารถมองเห็น (visible) เช่น รูปลักษณ์ ภายนอกของคน วัตถุ สิง่ ของ และความแปลกแยกทีม่ องไม่เห็น (invisible) เช่น ความรูส้ กึ ความคิด ความเชือ่ ต่างๆ ทีไ่ ร้รปู ลักษณ์ ฯลฯ ทีจ่ ะเชือ่ มโยงไปสูว่ ตั ถุประสงค์ รูปแบบ รูปลักษณ์ และสือ่ ในการท�ำงานทีศ่ ลิ ปินวางไว้ ทัง้ นี้ อาจกล่าวได้วา่ การมารวมตัวกันของศิลปินทัง้ สีไ่ ม่เพียง สะท้อนแง่มุมทางวัฒนธรรมที่สะท้อนผ่านงานศิลปะ แต่เป็นพื้นที่ของการสนทนาบริบทของ เหตุการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 2010 เป็นต้นมา ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวมีบทบาท อย่างยิ่งในฐานะบริบทของการสร้างงานศิลปะของศิลปินไทย ในขณะที่วันทนีย์เสนอสภาวะของการ(ถูกท�ำให้ต้อง)อยู่ในสภาวะของความแปลกแยกของ มนุษย์ในสังคม ผลงานของนพไชยคือการเตือนผู้ชมให้กลับไปสู่จุดเริ่มต้นของการรับรู้ และ ยอมรับว่าความแปลกแยกนั้นมีอยู่ในธรรมชาติและส่งผลต่อการก�ำหนดภาพการรับรู้ทาง ผัสสะของมนุษย์ จิตติเสนอความแปลกแยกทีม่ าจากการอ่านประวัตศิ าสตร์ การอ่านเหตุการณ์ ทางสังคม และนิพันธ์เสนอความแปลกแยกที่มาจากการอยู่ในเหตุการณ์และพื้นที่วัฒนธรรม เดียวกัน พร้อมกันนี้ นอกจากการน�ำเสนอผลงานศิลปะที่ถูกผลิตขึ้นใหม่และถูกน�ำมาสร้าง ประวัตศิ าสตร์ใหม่แล้ว นิทรรศการครัง้ นีย้ งั มีสถานะเป็นสนามของการศึกษาทางมานุษยวิทยา ที่สนใจเรื่องปฏิบัติการสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัยในประเด็นเรื่องการเมืองวัฒนธรรมในศิลปะ ข้อมูลในกระบวนการสร้างงานศิลปะและสร้างนิทรรศการทั้งหมดถือเป็นข้อมูลสนามที่จะถูก น�ำไปวิเคราะห์กลไกการท�ำให้ (ไม่) เป็นการเมือง ((de) politicization) ในศิลปะโดยละเอียด ต่อไป Copyright © The Art Centre Silpakorn University
และเนื่องจากการท�ำงานในครั้งนี้เป็นการท�ำงานร่วมกันของสองปฏิบัติการคือศิลปะและ มานุษยวิทยา นิทรรศการจึงให้ความส�ำคัญกับความรู้สึก การรับรู้ และการท�ำงานกับ ประสบการณ์ทางผัสสะที่หลากหลาย (multi sensorial experiences) ในขณะที่ศิลปินท�ำ หน้าที่เป็นดังนักมานุษยวิทยา (artists as anthropologist) ลดทอนความคิด ความรู้สึก ให้อยูใ่ นรูปของวัฒนธรรมทางสายตา นักมานุษยวิทยาก็ได้รว่ มเดินทางเข้าไปในโลกศิลปะและ โลกของศิลปิน จากนั้นก็ขยายผลการศึกษาออกมาด้วยวิธีการทางมานุษยวิทยาทัศนา ด้ ว ยเหตุ นี้ ฝ ั ่ ง ผู ้ จั ด จึ ง คาดหวั ง ว่ า ผู ้ ช มจะปล่ อ ยให้ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งกลั บ ไปสู ่ เ รื่ อ งของ αἰσθητικός หรือ aisthetikos ทีห ่ มายถึงการรับรูไ้ ด้ดว้ ยผัสสะ (feeling) ในความหมาย ดัง้ เดิมของกรีกด้วยวิธกี ารรับรูข้ องผูช้ มเองเช่นกัน เพราะผูจ้ ดั เชือ่ มัน่ ว่าความรูส้ กึ เป็นจุดเริม่ ต้น ในการเชือ่ มต่อกับประสบการณ์เดิม และ/หรือสร้างประสบการณ์ใหม่ทจี่ ะพัฒนาต่อไปเป็นการ รับรูใ้ นระดับต่างๆ การเริม่ ต้นโดยการใช้ความรูส้ กึ น�ำทางจะท�ำให้สงิ่ ทีเ่ คยถูกมองว่าเป็นปัญหา เป็นเส้นแบ่งทีข่ วางกัน้ พืน้ ทีศ่ ลิ ปะ พืน้ ทีข่ องชีวติ และพืน้ ทีข่ องการศึกษาออกจากกันพร่าจางลง
กมลวรรณ์ บุญโพธิ์แก้ว นักมานุษยวิทยาในฐานะภัณฑารักษ์
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Moreover, the space of the Art Centre, Silpakorn University, can be regarded for its significance itself as a material of exhibition. Both its first and second floors are designated as a sphere where the status of alienation become visible (as in the cases of exhibited human physical appearance, materials, and objects) as well as invisible (as in the cases of feeling, thinking, beliefs, and so on). Both groups share a connection to the objective and forms intended by the artists. Moreover, the gathering of work by these four artists offers not only a cultural reflection, but also a space for discussion of social incidents occurring since 2010, which is a noteworthy context for the creation of works of art by Thai artists. While Wantanee presents the human condition of being (or being forced to become) alienated in society, Nopchai’s works remind the audience to return to the starting point of perception and to accept that alienations naturally exist and affect the sensory perceptions of humans. Chitti situates the subjects of alienation from the matter of histories and social incidents. Meanwhile, Nipan displays the situations of alienation that derive from related events and cultural areas. Besides the presentation of art works that are newly executed and engage the matter of creating new histories, this exhibition also holds its function to be as a field study for an anthropologist who is interested in the executions of contemporary art works with the theme of politics and culture. The presented information and knowledge from this field of research will be later analyzed for its mechanisms of (de)politicization in detail. This project is also a collaboration between two disciplines: visual art and anthropology. One of this exhibition’s focal points is the issues of feeling, perceptions, and multi-sensorial experiences. At this show, the artists conduct themselves as anthropologists who undertake their own socio-cultural surveys, bringing the resultant thoughts and data to be synthesized and transformed in the form of visual cultural objects. On this journey, I, as an anthropologist, have also joined and entered the realm of arts and artists to conduct an exploration of my own. Finally, the delivered study outcomes are extended through the method of Visual Anthropology. Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Therefore, the organizer asks the audience, in viewing this exhibition, to leave all things behind in order to get back to the real matter of aisthetikos (or αἰσθητικός in Greek). The original notion of this ancient term, the origin of the term aesthetics, deals with perception through feeling. Therefore, the exhibition organizer believes that ‘feeling’ is the departure point for a journey to connect with past experiences, and it also assists in the construction of new experiences that will later evolve to become knowledge at various levels. With the utilization of feeling as a learning guide, what was once viewed as barriers inhibiting art will become living and studying spaces from which boundaries will become diminished and eventually vanish. Kamolwan Boonphokaew anthropologist and curator of this exhibition
Beck, U. (2007). A new cosmopolitanism is in the air. Retrieved from http://www.signandsight.com/service/1603.html McEvilley, T. (1995). Art & Otherness: Crisis in Cultural Identity. Kingston, NY: McPherson. Turner, C. (2005). Art and social change : contemporary art in Asia and the Pacific. Padanus Books. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
About Artists
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
จิตติ เกษมกิจวัฒนา
จิตติ คือ ความคิด, ความตริตรอง, สติปัญญา, ความตั้งใจ, ประโยชน์, ความฉลาด และความ เลื่องลือ ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับแปลไทย-ไทยของเปลื้อง ณ นคร จิตติ เกษมกิจวัฒนา คือ ศิลปิน, ภัณฑารักษ์อิสระ, อาจารย์พิเศษ, ผู้ร่วมก่อตั้งโครงการ Messy Sky, เป็นศิลปินที่ทำ� หน้าที่เป็นเช่นนักประวัติศาสตร์คนส�ำคัญ ฯลฯ พื้นที่ในการแสดง งานศิลปะของเขาคือพื้นที่ของโลกศิลปะสากล “ไม่ได้เรียนศิลปะเพื่อเป็นศิลปิน เรียนเพื่อที่จะค้นหาตัวเอง แต่ถึงอย่างนั้นก็มีเรื่องที่ย้อนแย้ง เพราะแม้จะเรียนมามากมาย อ่านหนังสือ ดูหนังฟังเพลงก็ยังมีเรื่องที่มองข้ามไป แม้ว่าเรื่องนั้น จะเป็นเรื่องของตัวเองก็ตาม” การท�ำงานศิลปะที่เปิดโอกาสให้เกิดการค้นพบตัวเองท�ำให้จิตติค้นพบว่าตัวเองสนใจแนวคิด ปรัชญาทัง้ แบบตะวันตกและตะวันออก เขาให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งของจิต (spirit), ความว่างเปล่า (void), พืน้ ที่ (space) และเวลา (time) ส�ำหรับเขาแล้วศิลปะคือผลผลิต ทีม่ าจาก “กระบวนการคิด การทบทวนสิ่งที่เคยเกิดขึ้น การแสดงให้เห็นการตกผลึกทางจิตใจ” และจิตใจก็ไม่ได้ถูกแบ่ง ออกเป็นจิตใจทีส่ นใจการสร้างสรรค์ หรือจิตใจทีส่ นใจในเรือ่ งอืน่ ๆ (Fall silent/mysterious flights (2011), Tomorrow was yesterday (2011)) เพราะโลกความคิดอันที่จริงแล้วไม่มี เส้นแบ่ง มีแค่เพียงการพยายามตีกรอบ นิยาม แบ่งแยก จัดกลุ่ม จากผู้มีอำ� นาจเท่านั้น ในฐานะศิลปิน จิตติไม่ใช่ศลิ ปินทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ของพวกช่างฝัน หรือแม้กระทัง่ พวกขายฝัน เขาชอบ กล่าวว่า การท�ำงานศิลปะของตนเองนัน้ dry หรือแห้งแล้ง นัน่ เป็นเพราะภาพทีป่ รากฏ หรือ visual ในงานของจิตติเต็มไปด้วยความธรรมดา (ordinarily) ความว่างเปล่า (emptiness) และ ความสนใจในความว่าง (void) นี้เองที่นำ� มาซึ่งการค้นคว้าในเรื่องสภาวะแห่งความว่างเปล่าใน รูปแบบต่างๆ ทั้งความว่างที่อยู่ในพื้นที่ ความว่างที่อยู่ในห้วงของกาลเวลา ความว่างที่อยู่ในห้วง อวกาศ ความว่างที่อยู่ในประวัติศาสตร์ ความว่างที่อยู่ในสังคม เพราะความว่างเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติและในขณะเดียวกันก็เป็นสิง่ ทีถ่ กู ท�ำให้เกิดขึน้ ปะปนกันไป อย่างไรก็ตามแทนทีจ่ ะ มุ่งเปิดโปงชี้ให้เห็นว่าใครกันเป็นผู้สร้างให้เกิดความว่างนั้น หรือก�ำลังบิดเบือนสิ่งที่เคยเกิดขึ้น เขากลับพยายามเสนอสิ่งที่เขาค้นพบ ช่องว่างที่มาจากการถูกปัดรวมเข้าไปอยู่ความว่างแล้ว
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
น�ำเสนอสิง่ นัน้ ออกมาให้ปรากฏ เพือ่ ให้ผคู้ นได้อา่ น ได้ชนื่ ชม ได้คน้ หาค�ำตอบ คนทีเ่ คยได้สมั ผัส กับงานของจิตติมาก่อนจะสามารถรับรู้ได้ว่าจิตติคาดหวังให้ผู้ชมที่อยู่ในโลกศิลปะได้อ่าน ได้ค้นหา เช่นเดียวกับที่เขาเคยค้นหา และเคยค้นพบมาก่อนเช่นกัน ไม่ว่าเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องที่ ส่วนตัว/เรื่องส่วนรวม, เรื่องศิลปะ/เรื่องสังคม การเมือง (one thing after another (2012), #IMWTK (2014), One moment into another. A collision (2015)) ด้วยเหตุนี้แล้ว การลดทอนสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในตัวงานให้เหลือเพียงบรรยากาศและการปรากฏ ของวัตถุทอี่ ยูใ่ นสถานะต่างๆ จึงเป็นการลดทอนทีไ่ ม่ได้หวังจะตีกรอบ สร้างการรับรูห้ รือความเข้าใจ แบบหนึ่งแบบใด ตรงกันข้ามการลดทอนนี้กลับเป็นการลดทอนที่พยายามเปิดช่องว่างให้ผู้ชม ได้เข้ามาค้นหา ลองฝึกทักษะในการค้นหา ซึ่งนี่เป็นทักษะที่หลายคนมองข้ามด้วยเพราะมักจะ เคยชินกับการเชื่อตาม คิดตามสิ่งที่เคยเชื่อเคยได้ยิน เคยรับฟังมาแต่เดิม และที่ส�ำคัญสิ่งที่ ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนก็คือ การให้ความส�ำคัญกับสภาวะของการรับรู้ การตระหนักรู้ และ ตรวจสอบการรับรู้ของตนเอง แทนที่จะกระตุ้นให้ตั้งค�ำถามกับสิ่งที่ปรากฏ เขาชี้ให้ผู้ชมส�ำรวจ การรับรู้ (perception), ความรู้สึก (sensation) ของตนเองโดยเชื่อมโยงไปกับสิ่งที่ตาเห็น
Chitti Kasemkitvatana works as an independent artist and curator, recognized for his poetic approach and working style, and his not abiding to any particular presentation form. His past works include three-dimensional projects, installation work, books, and more. His solo exhibition is such as Tomorrow was Yesterday, #IMWTK. His recent solo show is titled One Moment into Another. A Collision, under the sponsorship of Berliner Kunstler-programm desCopyright DAAD.© The Art Centre Silpakorn University
นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์
การเป็นตัวของตัวเองอาจดูเป็นสิ่งที่ง่ายที่สุด แต่ในทางกลับกันก็ท�ำให้การเปลี่ยนแปลงตัวเอง กลายเป็นสิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ ไป นักสังคมวิทยาชาวฝรัง่ เศสเคยกล่าวว่าภูมหิ ลังทางสังคมและการอบรม บ่มเพาะในระดับสถาบันการศึกษาคือแหล่งทีม่ าส�ำคัญในการบ่มเพาะรสนิยมในงานศิลปะ ส�ำหรับ นิพนั ธ์ ช่วงระยะเวลามากกว่า 10 ปี ที่เขาเติบโตและบ่มเพาะฝีมือการสร้างสรรค์อยู่ในกรอบ ความเชื่อเรื่องความงามแบบอะคาเดมิคมาตลอด ปฏิบัติการที่เริ่มต้นฝึกฝนการท�ำงานศิลปะ จากการจดจ�ำเทคนิค เคยชินกับการทุม่ เทพลังและการสร้างสรรค์ไปกับการใส่ใจทุกรายละเอียด อยู่กับขั้นตอนการท�ำงานภาพพิมพ์ จนมองข้ามที่จะวิเคราะห์ต่อ คิดแย้ง หรือคิดท�ำลายปฏิบัติ การเดิมของตนเองไม่ใช่สิ่งที่จะท�ำให้เกิดขึ้นได้อย่างถอนรากถอนโคน “ในช่วงปี 1993-95 เรามีปัญหากับการท�ำงานศิลปะของตัวเองจนต้องพยายามท�ำลายดีเอ็นเอ ที่แฝงอยู่ในตัวให้หมด แต่ก็ท�ำไม่ได้ ค�ำถามที่โผล่ขึ้นมาในหัวจากการมองดูงานภาพพิมพ์ที่อยู่ ตรงหน้า ใช่ มันสวย แต่สวยแล้วอย่างไรต่อ สิ่งที่ทำ� ให้เราไปต่อได้คืออะไร และเมื่อไม่มีค�ำตอบ ใดๆ เกิดขึ้น งานหลายชิ้นที่ทำ� เสร็จแล้วเราต้องหาวิธีทำ� ลายทิ้ง” พ.ศ. 2524-2528 (1981-1986) รวมระยะเวลา 5 ปี ของการเข้ามาศึกษาที่กรุงเทพฯ ในคณะ จิตรกรรมฯ สาขาวิชาภาพพิมพ์ การได้มีโอกาสเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัย ไม่เพียงเป็นโอกาส ในการบ่มเพาะฝีมือและความรู้ด้านเทคนิคในการท�ำงาน แต่ยังท�ำให้เกิดการบ่มเพาะแนวทาง การใช้ชีวิตในฐานะศิลปินไทย ชีวิตนิพันธ์ในสถานะของนักศึกษาศิลปะไทย เขาปฏิบัติตนเช่น นักเรียนคนอื่นๆ คือส่งผลงานศิลปะของตนเองเข้าประกวดเพื่อสั่งสมชื่อเสียงและรางวัลจนได้ รับรางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง จากการส่งงานภาพพิมพ์เข้าประกวดในรายการศิลปกรรมแห่ง ชาติ ครั้งที่ 31 และ 32 จนมาถึงจุดหนึ่งของช่วงชีวิตที่ได้ไปศึกษาต่อด้านภาพพิมพ์ที่ญี่ปุ่น และ มีโอกาสได้ออกไปดูงานศิลปินคนอืน่ ๆ ในต่างประเทศ นิพนั ธ์อดไม่ได้ทจี่ ะย้อนกลับมาดูงานของ ตัวเอง แล้วพบเห็นแค่ความงดงามที่อยู่ตรงหน้า ความงามที่ไร้เสียงและช่างเงียบงัน “เราแค่ อยากหาหนทางไปต่อให้กับศิลปะ..ให้กับชีวิตที่หวังจะเป็นศิลปินของตัวเอง”
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
หาก “Reminiscence of earth” ในปี 1995-1996 นิทรรศการเดี่ยวที่จัดแสดงในญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็นการท�ำงานในวัยหนุ่ม (young) ที่เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นในการพัฒนาเทคนิคฝีมือ สะท้อนความเชื่อ ความศรัทธา ที่มนุษย์คนหนึ่ง (ในฐานะศิลปิน) มีต่อผู้ให้ก�ำเนิดสรรพสิ่ง ทั้งก�ำเนิดโลก ก�ำเนิดชีวิต ก�ำเนิดความรัก จุดเปลี่ยนแปลงที่น�ำมาสู่การค้นพบเส้นทางที่จะ ท�ำให้เขาไปต่อก็คงเป็นเส้นทางที่มาจากการเดินทางไปพบเจอกับพื้นที่ใหม่ พื้นที่ที่ไม่ได้ถูกตี กรอบอยู่ในสตูดิโอ ในช่วงหลัง ค.ศ. 1998 (Nivasathan (นิวาสถาน) (2000), City of ghost (2006) Dejà Vu ปี 2008, Being.....at homE (2009), Speechless (2012) เป็นต้น) ณ ทุกวันนีท้ กุ ครัง้ ทีเ่ ดินทางไม่วา่ จะไปในสถานทีท่ อี่ ยูไ่ กลหรือสถานทีท่ ใี่ กล้ กล้องถ่ายรูปขนาดเล็ก และโทรศัพท์มือถือที่ถ่ายรูปได้จะอยู่ในกระเป๋าติดตัวไปทุกที่เคียงข้างเขามาตลอด “การถ่ายรูป คือการฝึกฝน” “การดูหนังคือความชื่นชอบที่ส่งอิทธิพลต่อการอิมเมจในการท�ำงานศิลปะ” ด้วย เหตุนี้แม้นิพันธ์จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มศิลปินชื่อดังของประเทศไทยที่ผ่านประสบการณ์การท�ำงาน ศิลปะในเวทีนานาชาติมามากมาย เช่น Venice Biennale ครั้งที่ 52, Busan Biennale 2008, Biennale of Sydney ปี 2012, Singapore Biennale 2013 ทว่า ประสบการณ์ที่ เขาอยากส่งผ่านไปยังลูกศิษย์มากที่สุดกลับไม่ใช่ประสบการณ์ของการเป็นศิลปินแถวหน้า แต่ เป็นประสบการณ์ที่มาจากการฝึกฝนเพียงเพราะไม่เชื่อในเรื่องของพรสวรรค์ที่ถูกบ่มเพาะกันมา อยู่เสมอในสิ่งแวดล้อมของการเรียนการสอนศิลปะ
Nipan Oranniwesna has joined exhibitions in both domestic and international arenas since his college years. One of his major honors is having been chosen as a Thai representative artist to join the 52nd Venice Biennale in 2007. Since then, his name has regularly appeared as a Thai artist represented in international arenas, including the 18th Biennale of Sydney and the Singapore Biennale.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร
วันทนีย์ จบการศึกษาจากคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ (สาขาประติมากรรม) จากนั้นไปศึกษาต่อที่ University of Arts, Bremen ประเทศเยอรมนี ผู้เคยกล่าวว่า “นับตั้งแต่ 7 ขวบที่รู้ว่าตัวเองชอบศิลปะ อยากเป็นศิลปิน ก็ไม่เคยนึกถึงตัวเองในภาพอื่นเลย” “สมัยปี 1 ที่สอบเข้าไปเรียนที่จิตรกรรม เราชอบแวนโกห์มาก รับรู้ได้ว่าเขาเป็นคนที่รักศิลปะ จนตัวเราเองก็อยากทีจ่ ะมีจติ ใจทีซ่ อื่ สัตย์กบั ศิลปะได้มากขนาดนัน้ อยากมีจติ ใจทีจ่ ะอดทนกับมัน ได้มากถึงมากที่สุด อดทนกับเส้นทางที่ศิลปะจะพาไป อดทนกับทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นอยู่ในโลก ศิลปะ...เพราะโลกใบนี้เป็นโลกที่เรารักมากที่สุด แต่ในเวลาเดียวกันก็อดจะเกลียดมันไม่ได้ เหมือนกัน” ความรัก ความเกลียด ความฝัน ความทะเยอทะยาน ความสงสัย ความไม่พอใจทัง้ หลายทีเ่ กิดขึน้ กับชีวติ นับตัง้ แต่ทวี่ นั ทนียเ์ ลือกทีจ่ ะเข้ามาเดินในสนามของศิลปะ ข้อความและความรูส้ กึ ทัง้ หลาย ล้วนอบอวลลอยอยู่ในบรรยากาศของการน�ำเสนองานศิลปะของวันทนีย์เต็มไปหมด ส�ำหรับคน กลุ่มหนึ่งที่เคยดูงานศิลปะของวันทนีย์อาจจะกล่าวว่างานของเธอช่างเต็มไปด้วยมโนทัศน์ ในเชิงความคิด ที่ลดทอนเรื่องราวเรื่องเล่าเสียจนยากจะสัมผัส แต่ในขณะเดียวกันก็อาจจะมี คนอีกกลุ่มที่สัมผัสได้ถึงความรู้สึกที่เคยเต็มไปด้วยความเกรี้ยวกราดเต็มไปด้วยค�ำถามและ ความสงสัย ทีป่ รากฏในงานชิน้ แรกๆ (Personal space (1998)) และค่อยๆ ลดทอนลงจนมาถึง ผลงานวิดีโอชิ้นล่าสุดที่จัดแสดงที่เยอรมันชื่อ We all live under the same sky, but we don’t all have the same horizon (2015) ที่เหลือแค่เพียงการสะท้อนมุมมองส่วนบุคคล ที่มีต่อปรากฏการณ์ที่อยู่รอบตัว Copyright © The Art Centre Silpakorn University
จากชีวิตลูกจีนในครอบครัวใหญ่ มาสู่การใช้ชีวิตอยู่ในโลกศิลปะไทย, การไปใช้ชีวิตอยู่ใน โลกตะวันตกที่กลายมาเป็นจุดเปลี่ยนผ่านของวัยรุ่นที่กลายมาเป็นผู้ใหญ่เต็มตัว จากเดิมที่ใช้ “Wantanee Siripattananuntakoon” เป็นศูนย์กลาง ส�ำรวจสิ่งที่เกิดขึ้นกับ Wantanee คนนั้นในระหว่างปี 1999-2004 มาสู่วุฒิภาวะของ “Wantanee Siripattananuntakul” ที่ แสดงให้เห็นถึงระดับของการพยายามท�ำความเข้าใจในสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ตัง้ แต่ปี 2006 มาจนถึงปัจจุบนั เช่น การพยายามเข้าใจโลกศิลปะ เข้าใจกลไก (Wantanee’s one man show (2006), A Wantanee Retrospective (2007)) จนค้นพบรูปแบบวัฒนธรรมและสังคมทีต่ นเองเติบโตมา (Wantanocchio (2008) และ Wantanocchiobot’09 (2009)) Wantanee คนใหม่ ค้นพบว่า ชีวิตคงเป็นเช่นเดียวกับประวัติศาสตร์ที่ไม่ได้ด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่อง แต่กลับเต็มไป ด้วยการแตกแยก การปะทุออก (rupture) ((Dis)continuity (2012)) โลกศิลปะไม่ได้อยู่ อย่างโดดเดีย่ วแต่เป็นโลกทีเ่ ข้าไปเกีย่ วข้องกับโลกทางสังคมใบอืน่ ๆ ทัง้ โลกเศรษฐกิจ (Evacuated crocs (2012), Living with uncommon value (2012), The price of inequality, (2015) และโลกการเมือง (III (2014), She sings a voiceless songs (2015)) ในระดับที่ เรียกได้ว่าผลัดกันก�ำหนด ผลัดกันได้รับผลประโยชน์ แต่ส�ำหรับ Wantanee แล้วคงมีแค่เพียง ประชาชนคนธรรมดาเท่านั้นที่ไม่เคยได้รับโอกาสและผลประโยชน์ใดๆ
Wantanee Siripattananuntakul is recognized for exploring the potential of works of art to raise many social questions and to increase awareness of social issues. In 2007, she was chosen to be the representative of Thai artists to join the 53rd Venice Biennale. Most of her renowned past works are in the forms of video art, sculptures, and installations based on the utilization of many new forms of media. They include Wantanocchiobot’09 (2009); (Dis)continuity (2012); Living with un Common Value (2012), displayed at Kuenstler Haus, Bremen, Germany; III (2014); and, State of Ridiculous (2015).
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
นพไชย อังควัฒนพงษ์
เย็นวันหนึง่ ในราวปี 1980 หากคุณอยูร่ ว่ มในพืน้ ทีแ่ ละเวลาเดียวกับชายวัยรุน่ ชาวเอเชียลักษณะ ผอมสูงคนหนึง่ ทีเ่ มืองแนชวิลล์ (Nashville) สหรัฐอเมริกา คุณก็คงจะเห็นเขาก�ำลังลากกระเป๋า เดินทางออกจากร้านอาหารที่เคยเป็นที่พักแห่งแรกในต่างแดนออกเดินทางในช่วงเวลาใกล้ค�่ำ ไปตามถนน ก้าวขึ้นรถประจ�ำทางอย่างทุลักทุเล ไม่มีใครรู้ได้ว่าการโยกย้ายครั้งนี้จะตามมาด้วย การโยกย้ายในอีกหลายครั้ง “ไม่รู้เหมือนกันว่าท�ำไมพอจะตั้งหลักอยู่ที่ใดที่หนึ่งก็มีเหตุท�ำให้ ต้องโยกย้ายอยู่ตลอดเวลา ชีวิตที่ผ่านไปในแต่ละวันท�ำให้ชีวิตสึกหรอ และเพิ่มสัมภาระในชีวิต ให้มีมากขึ้น...จ�ำไม่ได้ว่าเก็บสัมภาระต่างๆ ใส่กระเป๋ามากี่ครั้งแต่รู้ว่าทุกครั้งที่ต้องโยกย้าย ยิ่งสะท้อน ‘สิ่งที่ขาดหายไป’ ในชีวิต” (My first little mobile home, Moving to oxford (1987,1989), Here I go again (1983,1985,1987)) ฯลฯ เงินทอง ยานพาหนะ ทีอ่ ยูอ่ าศัย สิง่ ทีต่ อ้ งการในชีวติ คืออะไร...(?) ค�ำตอบคือ “การเป็นทีย่ อมรับ” และ “การได้รบั ความรัก” (Ain’t talking about love no.3 (1992), Looking for a little romance (1984,1985), Modern love และนอกจากเหตุผลสองข้อดังที่กล่าวมาข้างต้น “การเติมเต็มส่วนทีข่ าด” ก็เป็นอีกเหตุผลของการดิน้ รนเพือ่ ทีจ่ ะท�ำงานศิลปะ ทัง้ เติมให้กบั สิง่ ที่ ตัวเองขาด และเติมสิ่งที่ขาดให้กับสิ่งที่อยู่รอบตัว (สังคม) หลังจากไปอยู่ที่อเมริกากว่า 14 ปี การกลับมาบ้านในช่วงปี 1994 หรือราว พ.ศ. 2537 ซึ่งเป็นช่วงเวลาหลังเหตุการณ์การต่อสู้ ทางการเมืองของภาคประชาชนในปี 2535 ที่น�ำมาสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญและการเรียกร้อง ให้มีการปฏิรูปทางการเมือง เขากลับมาพร้อมกับค�ำถามต่อสิ่งที่เป็นอยู่ พร้อมไปกับทบทวนใน สิ่งที่เคยเชื่อ นพไชยเคยกล่าวในที่หนึ่งว่าเขาเชื่อว่า “จุดไฟให้สว่าง...แล้วโลกจะเปลี่ยนแปลง” การเริ่มที่จะน�ำไฟ (light) ทั้งหลอดไฟ ไฟฟ้าเข้ามาสร้างบทสนทนาร่วมกับวัสดุและวัตถุ หลากหลายชิน้ จึงเริม่ ต้นขึน้ ในช่วงเวลานัน้ และกลายมาเป็นหนึง่ ในเอกลักษณ์ในการท�ำงานศิลปะ ของนพไชยในเวลาต่อมา (Bathe (1998), Awkward (2012), I have seen a sweeter sky (2013)) ความน่าสนใจในตัวงานศิลปะของนพไชยคือ วิธีการน�ำเสนอการแสดงออกทางอารมณ์ ความ รู้สึกนึกคิดที่มาจากประสบการณ์ส่วนตน ผ่านการน�ำข้าวของ วัตถุต่างๆ ที่เคยแวดล้อมและอยู่ ร่วมสมัยในช่วงชีวติ ของตัวเขาเองมาบอกเล่า ในขณะเดียวกันก็สะท้อนการเปลีย่ นผ่านของเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนไทย จากงานฝีมือของช่าง (crafts) มาสู่ Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ผลผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม (industrial products) วัตถุและวัสดุทกุ ชิน้ ล้วนเป็นข้าวของ ที่เคยอยู่ในสถานะของสินค้าอุปโภค (commodity) แต่ในปัจจุบันได้กลายเป็นข้าวของที่ตกยุค หมดสมัย สิ่งของที่นพไชยท�ำไม่เพียงสร้างชีวิตใหม่ให้กับข้าวของเหล่านั้นแต่ยังโยกย้ายสถานะ และบริบทให้กลายมาเป็นวัตถุที่มีสถานะที่จะถูกยอมรับว่าเป็นงานศิลปะ จากสมุดสเกตช์งานศิลปะที่ผ่านการใช้งานมาหลายสิบปี สะท้อนปฏิบัติการในการท�ำงานศิลปะ การเป็นคนช่างคิดช่างเขียนและใส่ใจกับสิง่ ทีแ่ วดล้อมอยูใ่ นชีวติ ประจ�ำวัน การน�ำข้าวของแต่ละชิน้ เช่น จักรยานเด็ก, โทรทัศน์เครื่องเก่า, หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เก้าอี้ไม้ท�ำมือ ฯลฯ มาร้อยเรียงในรูป แบบของเส้นแนวนอนและเส้นแนวตั้ง เทคนิคการน�ำเสนอดังกล่าวนี้ไม่เพียงจะเป็นการท้าทาย กับความคาดหวังของผูช้ มในการทีช่ มงานศิลปะในแกลเลอรีห่ รือพิพธิ ภัณฑ์ แต่ยงั เป็นการพยายาม จะลบพรมแดนอันศักดิ์สิทธ์ที่เคยแยกสนามศิลปะกับสนามของชีวิตประจ�ำวันออกจากกัน แน่นอนว่าคนที่เคยพบเห็นงานศิลปะของนพไชยคงเคยมีค�ำถามเกิดขึ้นในใจว่าสิ่งที่ปรากฏ อยู่ตรงหน้าคืองานศิลปะจริงหรือ ส�ำหรับคนที่มีความกล้าหาญพอที่จะเดินเข้าไปถามค�ำถาม นพไชยก็คงจะตอบกลับมาด้วยการ เล่าเรื่องนิทานที่เคยอ่านมาในช่วงวัยหนุ่มให้ฟัง เรื่องราวของลูกศิษย์กลุ่มหนึ่งพยายามลองภูมิ อาจารย์ดว้ ยการออกอุบายถามว่าสถานะของลูกไก่ทอี่ ยูใ่ นมือนัน้ เป็นไก่เป็นหรือไก่ตาย โดยหวังว่า หากอาจารย์ตอบว่าเป็น พวกเขาจะบีบไก่ตวั นัน้ ให้ตาย หากตอบว่าตายเขาจะปล่อยให้ไก่ได้มชี วี ติ อยูต่ อ่ ไป ทว่าค�ำพูดทีอ่ อกจากปากอาจารย์ เขาไม่ได้ตอบว่าตายหรือเป็น กลับเป็นค�ำพูดประโยค สั้นๆ ที่ว่า “ค�ำตอบทั้งหลายอยู่ในมือของพวกคุณ”
Nopchai Ungkavatanapong is mixed media artist is his effort to reconstruct the pre-occupied perceptions and interpretations of audiences. In 2002, he participated in an artist residency program at Ecole Nationale d’Arts de ParisCergy Residency, Cergy, France, and, at Gresol Art, Girona, Spain, in 2003. Among his recognized works is Colour For Guardian Spirits, displayed in both Thailand and Berlin, Germany. In 2013, he was also invited to join the Singapore Biennale. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Human AlieNation นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย วันที่ 4 สิงหาคม-3 กันยายน 2559 จัดโดย: หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมมือกับ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภัณฑารักษ์รับเชิญ: กมลวรรณ์ บุญโพธิ์แก้ว ศิลปิน: จิตติ เกษมกิจวัฒนา นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร นพไชย อังควัฒนะพงษ์ ออกแบบสูจิบัตรและกราฟฟิกนิทรรศการ: ศุภกานต์ วงษ์แก้ว ผู้แปล: ภัทร ด่านอุตรา ออกแบบและติดตั้งนิทรรศการ: หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ (จ�ำนวน 800 เล่ม) ลิขสิทธิ์ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร © 2559
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Human AlieNation A contemporary art exhibition 4 August–3 September 2016 Organized by: The Art Centre, Silpakorn University In Association with: The Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University Guest curator: Kamolwan Boonphokaew Artists: Chitti Kasemkitvatana Nipan Oranniwesna Wantanee Siripattananuntakul Nopchai Ungkavatanapong Catalogue and graphic designer: Suppakarn Wongkaew English translator: Pattara Danutra Exhibition design and installation: The Art Centre, Silpakorn University Printed at Parbpim Ltd,. (800 copies) Copyright The Art Centre, Silpakorn University © 2016
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
ขอขอบคุณ: หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์, ผศ.ดร. ยุกติ มุกดาวิจิตร อาจารย์พรรณราย โอสถาภิรตั น์, กฤษฎา ดุษฎีวนิช และทีมติดตัง้ นิทรรศการ, คณะดิจทิ ลั มีเดีย และศิลปะภาพยนตร์, ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภาพพิมพ์, ดร.ธนาวิ โชติประดิษฐ, ภัทร ด่านอุตรา, อาจารย์ปิยลักษณ์ เบญจดล, อาจารย์เศรษฐา วีระธรรมานนท์, อาจารย์ทนงศักดิ์ สุวรรณรัตน์ อาจารย์วรพล กาญจน์วีระโยธิน, สมยศ หาญอนันทสุข, ธณัฐชัย บรรดาศักดิ์, แมรี่ ปานสง่า ถกล ขาวสะอาด, อภิสิทธิ์ หนองบัว, Lek studio, อัจฉรา ฉะกระโทก, Dennis Tan ไอยเรศ บุญฤทธิ์, คุณนิธิ โบจรัส, สะรุจ ศุภสุทธิเวช, Ko Ku Aung, Ma Pa Lin Thien Soe Aung, หิรัญพฤกษ์ ไตรจักรภพ, สุดยอด ควบคุม, ศุภกานต์ วงษ์แก้ว อาจารย์ทวีวิทย์ กิจธนสุนทร, วรเทพ อรรคบุตร, สิริวัฒน์ โพธิ์กระเจน Special Thanks: The Art Centre, Silpakorn University, The Center for Contemporary Social and Cultural Studies (CCSCS), Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University, Dr.Paramaporn Sirikulchayanon, Assistant Professor Dr.Yukti Mukdawijitra, Panarai Ostapirat, Kritsada Duchsadeevanich and installation team, School of Digital Media & Cinematic Arts, Bangkok University, Parbpim Ltd., Part, Dr. Thanavi Chotpradit, Pattara Danutra Piyaluk Benjadol, Settha Veerathunmanon, Thanongsak Suwannarat Worapon Kanweerayothin, Somyot Hananuntasuk, Tanatchai Bandasak Mary Pansanga, Thakol Khaosa-ad, Apisit Nongbua, Lek studio Achara Chakratok, Dennis Tan, Iyared Boonyarit, Koonniti Bojarus Saroot Supasutivech, Ko Ku Aung, Ma Pa Lin, Thien Soe Aung Hiranpruk Trichakraphop, Soodyord Kuabkoom, Suppakarn Wongkaew Taweewit Kijtanasoonthorn, Worathep Akkabootara, Siriwat Pokrajen
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University