อนุมานวสาร ฉบับกรกฎาคม-กันยายน 2553

Page 1

ฉบับที่ ๑๗   กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๓   anumanavasarn.com



anumanavasarn.com


หนังสือ ๑๐๐ ปี ศิลปะ สถาปัตยกรรม วชิราวุธวิทยาลัย

รูปแบบ ปกแข็ง ขนาด 26 X 30 cm ลักษณะการพิมพ์ 4 สี offset จำานวนหน้า 324 หน้า ภาษา ไทย | อังกฤษ กำาหนดวางจำาหน่าย ธันวาคม 2553 สถาปั ต ยกรรมที่พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมศิลปากร กระทรวงวัง จัดสร้างขึน้ ไว้ทโ่ี รงเรียนมหาดเล็กหลวง เป็นสถาปัตยกรรมอันวิจติ ร ได้รบั การยกย่องว่าเป็น การประสมประสานสถาปัตยกรรมแบบโกธิคของ ตะวั น ตกให้ เ ข้ า กั บ รู ป แบบของพระอุ โ บสถและ ศาลาการเปรียญของไทยอย่างกลมกลืน จนเกิดเป็น ศิลปะสถาปัตยกรรมไทยรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีเอกลักษณ์โดดเด่น จึ ง เห็ น เป็ น โอกาสอั น ควรที่ จ ะจั ด ให้ มีก ารศึ ก ษา ค้ น คว้ า และรวบรวมเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ศิ ล ปะ สถาปัตยกรรมในวชิราวุธวิทยาลัย แล้วจัดพิมพ์เป็น หนังสือออกเผยแพร่ในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ใน ปี ๒๕๕๓ นี้ รายละเอียดต่างๆ โปรดติดตามใน อนุมานวสารฉบับต่อๆ ไป





จดหมายข่าวสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์

ผู้จัดท�ำ คณะกรรมการบริหารสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ประจ�ำปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔

ที่ปรึกษา สุเมธ ตันติเวชกุล ชัยอนันต์ สมุทวณิช วิโรจน์ นวลแข ม.ล.ชัยนิมิตร นวรัตน ยอดชาย ขันธชวนะ บรรยง พงษ์พานิช วรชาติ มีชูบท กุลวิทย์ เลาสุขศรี ประชา ศรีธวัชพงศ์ อโนมา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์

โอวี ๓๐ โอวี ๓๓ โอวี ๓๗ โอวี ๓๗ โอวี ๔๔ โอวี ๔๔ โอวี ๔๖ โอวี ๕๗ โอวี ๕๙

โอวี ๔๖

รองประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์และบรรณารักษ์ วีรยุทธ โพธารามิก โอวี ๖๐ สาราณียกร อาทิตย์ ประสาทกุล

โอวี ๗๑

บรรณาธิการ กิตติเดช ฉันทังกูล

โอวี ๗๓

คณะบรรณาธิการ กัญญฎา วิชัยธนพัฒน์ นิธิศ นวรัตน ณ อยุธยา กอบกิจ จ�ำจด กรด โกศลานันท์ ภพ พยับวิภาพงศ์ พิชิต ศรียานนท์ เสฎฐวุฒิ เพียรกรณี พงศกร บุญมี ปรีดี หงสต้น ร.ต.สถาพร อยู่เย็น กรรณ จงวัฒนา ศรเทพฤทธิ์ ศิลปบรรเลง ศิริชัย กาญจโนภาส

โอวี ๖๕ โอวี ๗๐ โอวี ๗๑ โอวี ๗๑ โอวี ๗๒ โอวี ๗๓ โอวี ๗๕ โอวี ๗๕ โอวี ๗๖ โอวี ๗๖ โอวี ๗๖ โอวี ๗๖

• • • •

เปลี่ยนแปลง-ย้ายที่อยู่ สนับสนุนการเงิน-โฆษณา ส่งข่าว-ประกาศ-ประชาสัมพันธ์ ส่งข้อเขียน-บทความ

๑๗ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๓

ธนกร จ๋วงพานิช ศศินทร์ วิทูรปกรณ์ จิระ สุทธิวิไลรัตน์

โอวี ๗๗ โอวี ๗๙ โอวี ๘๓

ถ่ายภาพ ณัฏฐ์ ไกรฤกษ์ เฉลิมหัช ตันติวงศ์ สงกรานต์ ชุมชวลิต วรุฒมาศ ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา

โอวี ๗๒ โอวี ๗๗ โอวี ๗๗ โอวี ๗๙

ศิลปกรรม ปริญญา ยุวเทพากร สงกรานต์ ชุมชวลิต ศศินทร์ วิทูรปกรณ์ ปฏิภาณ สานแสงอรุณ

โอวี ๗๗ โอวี ๗๗ โอวี ๗๙

โฆษณา เขต ณ พัทลุง (โทร ๐๘๑-๓๕๙-๗๑๐๒) โอวี ๗๑ มณฑล พาสมดี (โทร. ๐๘๗-๙๙๑-๓๒๓๐) โอวี ๗๓ ฝ่ายบัญชีและการเงิน อภิพงศ์ พงศ์เสาวภาคย์ สุทธิพงษ์ ลิ้มสุขนิรันดร์ รัฐพล ปั้นทองพันธ์

โอวี ๗๑ โอวี ๗๓ โอวี ๗๕

ผู้ช่วยประสานงาน / ทะเบียนสมาชิก วาสนา จันทอง ล�ำจวน ไชยชาติ (เจ้าหน้าที่สมาคมฯ) พิมพ์ที่ พี. เพรส ๐๒ ๗๔๒ ๔๗๕๔ หมายเหตุ ตัวอักษร ออกแบบโดย ม.ล.ชัยนิมิตร นวรัตน โอวี รุ่น ๓๗ สัญลักษณ์ “๑๐๐ ปี วชิราวุธฯ” ออกแบบโดย นิธิ สถาปิตานนท์ โอวี ๓๘ ภาพปกโดย ณัฏฐ์ ไกรฤกษ์ โอวี ๗๒ ติดต่อ : สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยฯ ๑๙๙ ถนนพิชัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๑-๓๐๕๙ โทรสาร ๐-๒๖๖๙-๓๕๑๘ e-mail: ovnewsletter@yahoo.com website: www.oldvajiravudh.com


สารบัญ วชิราวุธรฤก

ลอดรั้วพู่ระหงส์ ๘๒ คอลัมน์พิเศษ ๓๖ วันกลับบ้าน สนามข้าง ๙๘ วิชาประวัติศาสตร์ที่ไม่มี ในต�ำราเรียน ฉบับสมบูรณ์ Vajiravudh Centenary Sevens ครั้งแรกที่อนุมานวสาร สิ่งที่ข้าพเจ้าได้พบเห็น ๑๔๕ คอลัมน์พิเศษ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อาลัย รัชกาลที่ ๖ (ตอนที่ ๒) ลุงองอาจ นาครทรรพ ๔๕ ตึกขาว วิถีวชิราวุธ ร�ำพึงเรื่องร้อยปีของ โดด ๗๒ การเรียนการสอนของ สัมภาษณ์ ไปร้ า น Y-50 วชิราวุธวิทยาลัย ใต้หอประชุม ๑๘ จดหมายเหตุฯ ๗๖ ๑๒๔ โรงเลี้ยง Shokuzen อ.เติมศักดิ์ กฤษณามระ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ๑๐๖ เรือนจาก ๖๒ ๑๐๐ ปี วชิราวุธวิทยาลัย คอมมอนรูม ๑๒๘ เรือนผู้การ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล บทความ ยอดอ�ำมาตย์ บ่ายวันอาทิตย์ ๘๖ จากนักเรียนเก่าฯ ศัพท์ โอวี ๑๓๔ และครอบครัวโอวี เผยกรุแฟชั่นแห่งยุคสมัย ลิงเกาะรั้ว East meet West หอประชุม ๒๘ ข่าวสาร หนังสือสวดมนต์ ร้านวิวิธภูษาคาร และกิจกรรม ระฆังกีฬา ๙๐ ฉบับร้อยปี และหลักสูตร สวดมนต์ของวชิราวุธ กล่องจดหมาย ๑๓ สุรพล เศวตเศรณี วิทยาลัย สนามหลัง ๑๓๗ ผู้ว่า ททท. สนามหน้า ๕๐ จากห้องประชุม ๑๑๓ รวมพลนักรักบี้ สมาคมฯ ๑๕๑ กองบังคับการ ๖๘ วันกลับบ้าน ๖๐ ปี วงปี่สก๊อต วชิราวุธวิทยาลัย

anumanavasarn.com


สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

วัตถุประสงค์หลัก ของการจัดตั้งสมาคมฯ

งเสริมและเผยแพร่เกียรติคุณของ ๑ ส่พระบาทสมเด็ จพระปรเมนทรมหา

วชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ พระราชทานก�ำเนิดวชิราวุธวิทยาลัย อุปการะแก่กันและกันในหมู่สมาชิกใน ทุกทางที่ไม่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม อันดีของประชาชน ประสานสามัคคีในหมู่สมาชิกนักเรียน เก่าวชิราวุธวิทยาลัยและนักเรียนใน พระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันใน หมู่สมาชิกและนักเรียนเก่าวชิราวุธ วิทยาลัย ส่งเสริมและสนับสนุนกิจการของวชิราวุธ วิทยาลัย เพื่อน�ำไปสู่ความเจริญของ โรงเรียน ส่งเสริมเกียรติและประเพณีแห่งวชิราวุธ วิทยาลัย เผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติคุณของ วชิราวุธวิทยาลัย ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา การกีฬา และการบันเทิงตามสมควร

๓ ๔

๖ ๗ ๘ ญสาธารณประโยชน์ในโอกาส ๙ บ�อันำเพ็สมควร

สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก กมีสิทธิที่จะร่วมกิจการต่างๆ ๑ สมาชิ ที่สมาคมฯ จัดขึ้น แต่ต้องปฏิบัติตาม ระเบียบที่วางไว้

กมีสิทธิประดับเข็มเครื่องหมาย ๒ สมาชิ ของสมาคมฯ ได้ในเวลาที่เป็นสมาชิก ญสมาชิกมีสิทธิเสนอ ๓ สามั ความคิดเห็น ตรวจดูหลักฐาน และบัญชีต่าง  ๆ ของสมาคมฯ ได้ ในเวลาท�ำการของสมาคมฯ

ญสมาชิกเท่านั้นมีสิทธิเข้า ๔ สามั ประชุมใหญ่ ลงคะแนนเสียงและเลือกตั้ง หรือรับเลือกตั้งเป็นนายกสมาคมฯ หรือ กรรมการสมาคมฯ เว้นแต่สามัญสมาชิก นั้นค้างช�ำระค่าบ�ำรุง

ญสมาชิกมีหน้าที่ต้องช�ำระ ๕ สามั ค่าบ�ำรุงตามที่กำ� หนดไว้ กต้องปฏิบัติตามระเบียบและ ๖ สมาชิ ข้อบังคับของสมาคมฯ ที่วางไว้ กมีสิทธิที่จะใช้สถานที่และ ๗ สมาชิ บริการของสมาคมฯ และสโมสร

แต่ต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ที่ก�ำหนดไว้


คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ประจ�ำปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นายกสมาคมฯ

รุ่น ๔๐ นายปฏิภาณ สุคนธมาน กรรมการและเหรัญญิก

ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย กรรมการโดยต�ำแหน่ง

นายชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา กรรมการและประธานสโมสร

รุ่น ๕๒ รุ่น ๕๔

นายตันติ ปริพนธ์พจนพิสุทธิ ์ อุปนายก ฝ่ายสิทธิประโยชน์

รุ่น ๔๐ นายสัคคเดช ธนะรัชต์ กรรมการและรองประธานกีฬา

รุ่น ๕๗

นายสุรเดช บุณยวัฒน อุปนายก ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รุ่น ๔๑ นายชาย วัฒนสุวรรณ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก

รุ่น ๕๗

นายชัยวัฒน์ นิตยาพร ประธานส่งเสริมความสัมพันธ์

รุ่น ๔๒ ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ

รุ่น ๕๙

ดร.คุรุจิต นาครทรรพ อุปนายก ฝ่ายต่างประเทศ

รุ่น ๔๕ นายวรากร บุณยเกียรติ รุ่น ๕๙ กรรมการและรองประธานสโมสร/ปฎิคม

ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์ รุ่น ๔๖ นายวีรยุทธ โพธารามิก กรรมการและประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรรมการและบรรณารักษ์ นายศุภลักษณ์ เปรมะบุตร กรรมการและนายทะเบียน

รุ่น ๖๐

รุ่น ๔๗ นายภัคพงศ์ จักรษุรักษ์ รุ่น ๖๑ กรรมการและรองประธานกิจกรรมพิเศษ

ร.อ.ชมพล ยูสานนท์ รุ่น ๕๑ นายทรงศักดิ์ ทิพย์สุนทร กรรมการและประธานฝ่ายหารายได้ กรรมการและรองประธานกีฬา

รุ่น ๖๒

นายสุภรัตน์ อัลภาชน์ กรรมการและประธานกีฬา

รุ่น ๗๑

รุ่น ๕๑ นายอาทิตย์ ประสาทกุล กรรมการและสาราณียกร

นายไชยวุฒิ์ พึ่งทอง รุ่น ๕๑ กรรมการและประธานกิจกรรมพิเศษ

anumanavasarn.com


ห้องเพรบ 10 จากประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ สวั ส ดี ครั บ สมาชิ ก ชาวโอวี ที่ รั ก ทุกท่าน เหลืออีกเพียง ๓ เดือนเท่านั้น ก็จะ ถึงวันที่พวกเรารอคอยนั่นคือ วันครบรอบ ๑๐๐ ปี ของโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยใน วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ตามพระราช ประวั ติ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำริสร้างโรงเรียน แทนวัดประจ�ำรัชกาล โดยมีพระราชด�ำริให้ โรงเรียนที่จะสร้างขึ้นใหม่นี้ ให้มีการจัดการ เรียนการสอนตามแบบ Public School ของ อังกฤษ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ พระยาไพศาลศิลปศาสตร์ กรรมการจัดการ โรงเรียนมหาดเล็กหลวงขณะนัน้ ด�ำเนินการ เปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรกในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๔๕๓ ณ โรงเรียนราชกุมาร (เก่า) ใกล้หอพิธีพราหมณ์ ในพระบรม มหาราชวัง โดยมีอำ� มาตย์โทพระโอวาทวรกิจ (เหม ผลพันธิน) ท�ำหน้าที่ครูใหญ่ และใน วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๕๔ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ย้ายจากโรงเรียนราชกุมาร (เก่า) ไปเปิด การเรียนการสอน ณ โรงเรียนแห่งใหม่ ใน บริเวณสวนกระจังริมคลองเปรมประชากร อันเป็นที่ดินพระราชพัสดุ ซึ่งพระราชทาน ให้เป็นที่ตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตแล้ว ในวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๙ พระบาทสมเด็จ

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ ทรงมี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้รวม โรงเรียนมหาดเล็กหลวง และโรงเรียนราช วิทยาลัยเข้าด้วยกัน และพระราชทานนามให้ ใหม่เป็นที่ระลึกถึงองค์พระเชษฐาธิราชเจ้า ผู้ให้ก�ำเนิดโรงเรียนว่า “โรงเรียนวชิราวุธ วิทยาลัย” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาบรมบาทบ� ำ รุ ง เป็ น ผู ้ บั ง คั บ การ โรงเรียน ส�ำหรับการนับอายุของโรงเรียนนั้น เคยมีการนับอายุเป็นสองลักษณะ จะเห็น ได้จากการจัดงานวชิราวุธครบรอบ ๕๐ ปี นั้นเคยจัดขึ้นครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่ง นับจากปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ซึ่งเป็นปีที่ได้รับ พระราชราชทานนามโรงเรี ย นวชิ ร าวุ ธ วิทยาลัย และการจัดงานวชิราวุธฯ ครบรอบ ๘๐ ปีนนั้ ได้ถกู จัดขึน้ ในปีพ.ศ.๒๕๓๓ ซึง่ นับ จากปีที่ได้รับพระราชทานก�ำเนิดโรงเรียน เป็นครัง้ แรก ส�ำหรับการนับเลขรุน่ นัน้ เรานับ เลขรุ่นมาจนถึงปัจจุบันจากปี พ.ศ. ๒๔๖๙ โดยนั บ จากนั ก เรี ย นวชิ ร าวุ ธ ฯ รุ ่ น แรก จบการศึกษาในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ เป็นรุ่นที่ ๑ แต่หากจะนับรุ่นจากปีที่ได้รับพระราชทาน ก�ำเนิดโรงเรียนแล้ว วรชาติ มีชบู ท ห้องสมุด วชิราวุธฯ เคลื่อนที่บอกว่า ควรนับจากปีที่ นักเรียนมหาดเล็กหลวงที่จบการศึกษาเป็น ท่านแรกคือ ม.ล.อุรา คเนจร สามารถสอบ ผ่านการศึกษามัธยมปลายได้เป็นคนแรกใน


ตึกเรียนคณะเด็กเล็ก

ปี พ.ศ. ๒๔๕๔ ดังนัน้ เราจึงนับรุน่ ๑ เริม่ ต้น จากปี พ.ศ. ๒๔๕๔ ครับ ตามที่พี่หน่อ ม.ล.ชัยนิมิตร นวรัตน์ เคยมี ข ้ อ คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ ว ่ า การ นั บ เลขรุ ่ น ควรให้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การ ก�ำเนิดโรงเรียนในครั้งแรก และในเมื่อพวก เราเห็นพ้องต้องกันแล้วว่าวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นปีที่โรงเรียนวชิราวุธฯ มีอายุครบรอบ ๑๐๐ ปีแล้ว เราก็ควรนับเลข รุน่ จากปี พ.ศ. ๒๔๕๔ จากนักเรียนวชิราวุธฯ ที่จบเป็นคนแรกเป็นรุ่นที่ ๑ ดังนั้นนักเรียน วชิราวุธฯ ทีจ่ บปีการศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงเป็นรุน่ ที่ ๑๐๐ ซึง่ ผมเองนัน้ จบการศึกษา ในรุน่ ๔๖ ถ้านับจากปี พ.ศ. ๒๔๕๔ แล้วก็จะ เป็นรุน่ ๖๓ คือปีทโี่ รงเรียนมีอายุครบ ๖๓ ปี มีเรื่องน่าแปลกอยู่เรื่องหนึ่ง ที่พี่เตา บรรยง พงษ์ พ านิ ช ค้ น พบและบอกกั บ

พวกเราว่า ปีรนุ่ ทีจ่ บจากปี พ.ศ. ๒๔๖๙ นัน้ ถ้ า นั บ เลขรุ ่ น ที่ ต นเองจบบวกรวมกั บ อายุ ปัจจุบนั (ไม่นบั พวกเราทีเ่ รียนซ�ำ้ ชัน้ นะครับ) แล้วในปีนี้ตัวเลขจะรวมกันเท่ากับ ๑๐๐ เท่าอายุโรงเรียนพอดี ยกตัวอย่างเช่น ผมจบ รุ่น ๔๖ อายุปีนี้อายุ ๕๔ ปี รวมกันเท่ากับ ๑๐๐ ปี ลูกชายจบรุน่ ๗๙ ตอนนีม้ อี ายุ ๒๑ ปี รวมกันเท่ากับ ๑๐๐ ปี เรียกว่าถ้าบอก รุ่นก็จะค�ำนวณอายุพวกเราได้ทันที นับไป นับมาขลังทั้งสองแบบ เราก็นับทั้ง ๒ แบบ เลยดีไหมครับ ผมรุ่น ๖๓/๔๖ ครับ ในวาระทีโ่ รงเรียนวชิราวุธฯ ครบรอบ ๑๐๐ ปี นี้ วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย และสมาคม นักเรียนเก่ า วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ในพระบรม ราชูปถัม ป์ จึง ได้ จั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่ อ เฉลิมฉลองการครบรอบ ๑๐๐ ปี ในครั้งนี้ อย่างยิ่งใหญ่ เริ่มต้นจากการสร้างตึกใหม่ anumanavasarn.com


12

ห้องเพรบ

ทดแทนตึ ก เรี ย นคณะเด็ ก เล็ ก ซึ่ ง มี ค วาม ทรุดโทรมอย่างมากให้เป็นศูนย์การเรียนที่ ทันสมัย เป็นการวางพื้นฐานที่ส�ำคัญให้กับ นักเรียนคณะเด็กเล็กก่อนเข้าเรียนในคณะ เด็กโต การจัดกิจกรรมเสวนาในหลายจังหวัด เป็นการระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ องค์ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ การจัดกิจกรรม การแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการแข่งขันรักบี้และกอล์ฟประเพณี ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทานระหว่ า งวชิ ร าวุ ธ ฯ ราชวิทย์ฯ การแข่งรักบี้ ๗ คนนานาชาติ การแข่งรถแรลลี่ การจัดแสดงดนตรี การจัด ท�ำหนังสือศิลปกรรมโรงเรียนวชิราวุธฯ และ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การจัดงานฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปีในวันที่ ๒๙ ธันวาคมนี้ โปรดติดตาม รายละเอียดได้ในฉบับนะครับ ส�ำหรับในฉบับนี้ เราได้สัมภาษณ์ ท่านประธานจัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ดร.สุเมธ ตั น ติ เ วชกุ ล และโอวี อ าวุ โ สอี ก ท่ า นคื อ ศจ.ดร.เติ ม ศั ก ดิ์ กฤษณามระ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ฯ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันเป็นสถาบันที่ สามารถผลิตนักบริหารที่ดีที่สุดเป็นอันดับ หนึ่งของประเทศไทย นอกจากนั้นแล้ว เรา ยังได้รบั เกียรติจากพีเ่ ล็ก สุรพล เศวตเศรณี ท่านผู้ว่าการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยคน ปัจจุบัน ทางทีมงานของอนุมานวสารขอ ขอบคุณทุกท่านที่กรุณาให้สัมภาษณ์ลงใน อนุมานวสารด้วยครับ

สุดท้ายนี้ พวกเราทีมงานอนุมาน วสารอยากจะขอเชิญชวนเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ ชาวโอวี เข้าร่วมงานและกิจกรรมต่างๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งวันงานครบรอบ ๑๐๐ ปีใน วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นัน้ การจัด งานในค�่ ำคืน นั้ น ตกเป็ น หน้ า ที่ ข องโอวี รุ ่ น ๔๒ ซึง่ ท่านประธานจัดงานฯ คือ พีพ่ ระนาย สุวรรณรัฐ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย มี ความตั้ ง ใจอย่ า งยิ่ ง ยวดที่ จ ะจั ด งานนี้ ใ ห้ ยิ่งใหญ่ เพื่อเป็นที่ระลึกแด่องค์พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวองค์ผู้ให้ ก� ำเนิดโรงเรี ย น และเพื่ อ รองรั บ พวกเรา ชาวโอวี แ ละนั ก เรี ย นปั จ จุ บั น รวมถึ ง ผู ้ ป กครอง ให้ ร ะลึ ก ย้ อ นรอยอดี ต ของ โรงเรียนทีไ่ ด้สร้างนักเรียนเก่าฯ จ�ำนวนมาก ออกไปท�ำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติ และแผ่นดินของเราชาวไทยอย่างมากมาย สมดังพระราชปณิธานที่ทรงได้ตั้งไว้ในการ สร้างโรงเรียนแทนวัด และทรงพระราชทาน ทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กับพวกเราชาวโอวี ทุกคน เป็นโอกาสอันดีของพวกเราทีจ่ ะกลับ คืนสู่บ้านของเรา ร่วมแสดงความกตัญญู กตเวทิตาต่อบิดาผูเ้ ปรียบเสมือนผูใ้ ห้กำ� เนิด และสัง่ สอนพวกเราให้มคี วามเป็นลูกผูช้ ายที่ สมบูรณ์ เป็นสุภาพบุรุษ เป็นผู้มีศาสนา มี ความเสียสละเพื่อส่วนรวม สมดังพระราช ปณิธานที่พระองค์ทรงตั้งไว้ มาร่วมงานกันนะครับ ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์ โอวี ๖๓/๔๖


๑๙๙ กล่องจดหมายโอวี 13 เขียนถึงอนุมานวสาร

“...แม่ โอวี บริจาคเงินให้อนุมานวสาร ซองเปิดอ่านอย่างรวดเร็ว ง่วนก้มหน้าก้มตา ๑,๐๐๐ บาท...” อ่านตัง้ แต่ตน้ จนจบ พูดง่ายๆ ก็วา่ ... “รีบแย่ง ลูกชายอ่านก่อนเลยทีเดียว!!” กระผมก็เลยถามข้อคิดเห็น คุณแม่ เรื่ อ งนี้ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง เรื่ อ งความ ประทับใจ ที่ตัวกระผมได้พบประสบด้วย ผูป้ ลาบปลืม้ อนุมานวสารผูน้ ไี้ ปว่า แล้วคุณแม่ ตนเอง เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว จริงๆ ตั้งใจจะมา คิดว่า รูปแบบเนือ้ หาทีน่ �ำเสนออยูใ่ นปัจจุบนั เล่าให้พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ อนุมานวสารฟัง เป็นอย่างไร ต้องการให้แก้ไขเปลี่ยนแปลง นานแล้ว บัดด้วยที่ว่าช่วงหลายวันที่ผ่านมา เพิ่มเติมอะไรตรงไหนบ้างไหมครับ? ...เมื่อเสียงค�ำถามสิ้น คุณแม่โอวี ความคร้านเกียจมันครอบง�ำ จนมิมใี จจะเปิด ผู ้ นี้ ก็ ยิ ง ค� ำ ตอบสวนกลั บ มาในทั น ที อ ย่ า ง คอมเช็คเมล์เลย จวบจนกระทั่งวันนี้ ...เพื่อมิให้เสียเวลา งั้นกระผมจะขอ หนักแน่นมั่นใจไร้ลังเล ด้วยค�ำสั้นๆ เพียง สามค�ำ... “สมบูรณ์แบบ!!!!!!!!!” เล่าเลยแล้วกันนะครับ... แม้นจะเป็นเพียงค�ำชมสัน้ ๆ เพียงแค่ เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๙ สิงหาคม ที่ผ่าน มา กระผมได้มโี อกาสไปร่วมแสดงความยินดี สามค�ำ แต่มันก็สามารถท�ำให้ต่อมความสุข ในงานพระราชทานประกาศนี ย บั ต รเนติ ของกระผม มันพองโตชนิดหาที่สุดมิได้ มัน บัณฑิตไทย ของเพื่อนโอวีคณะผู้บังคับการ ท�ำให้กระผมรู้สึกภูมิใจแทนพวกเราทีมงาน ของกระผมคนหนึ่ง นามว่า ขาวขุ่น หรือ อนุมานวสารทุกคน อย่างมหาศาล มากไปกว่านัน้ คุณแม่ของขาวขุน่ ยัง วิชชัวร์ รุน่ ๗๗ (วิชชุ วุฒนานุรกั ษ์ นามสกุล บอกกับกระผมอีกด้วยว่า เดิม โคตรสมบัติ) ในกาลนี้ ท� ำ ให้ ก ระผมได้ พ บกั บ “...อยากจะบริจาคเงินให้อนุมานวสาร คุณแม่ของวิชชัวร์ แล้วเริ่มแรกที่คุณแม่ มานานแล้ว แต่ไม่รู้จะบริจาคผ่านช่องทาง ท่านนี้เอื้อนเอ่ยคุยกับผมอย่างชื่นใจ ก็คือ... ใด ไหนๆ มาเจอศรเทพฤทธิแ์ ล้ว งัน้ แม่กข็ อ “อนุมานวสาร” ของพวกเรา บริจาคผ่านหนูเลยก็แล้วกัน...” คุณแม่ของวิชชัวร์ได้กล่าวชมหนังสือ ณ ทั น ใด คุ ณ แม่ วิ ช ชุ ก็ ค วั ก เงิ น อนุมานวสารอย่างมาก บอกกับกระผมว่า ๑,๐๐๐ บาท ยื่นให้กระผมในทันที โดยขอ ชื่นชอบหนังสืออนุมานวสารที่พวกเราก�ำลัง บริจาคในนามลูกชาย “วิชชุ วุฒานุรักษ์ ท�ำกันอยูถ่ งึ สุดยิง่ อ่านแล้วประทับใจทุกครัง้ รุ่น ๗๗” (ทั้งนี้เงินบริจาคดังกล่าว กระผม ทั้งยังตั้งตาคอยรอเวลาที่เล่มใหม่จะส่งมา ได้ส่งมอบให้กับจ่าโก้ บก. ของพวกเราเป็น เสมอ ครัน้ ยามทีอ่ นุมานวสารเล่มใหม่สง่ มา ที่เรียบร้อยแล้วครับ) ถึงทีบ่ า้ นเมือ่ ใด คุณแม่ผนู้ กี้ จ็ ะรีบปรีม่ าแกะ anumanavasarn.com


14

๑๙๙ กล่องจดหมายโอวี

ก่อนจะร�่ำลากัน คุณพ่อของวิชชัวร์ ยังบอกกับกระผมอีกว่า อยากให้ลองมาร่วม ทีมท�ำอนุมานวสารกับพวกเราบ้างเหมือนกัน (เพราะไหนๆ ครั้งหนึ่ง สมัยอยู่โรงเรียนก็ เคยเป็นกรรมการสมาคมหนังสือพิมพ์อดีต “ลูกทีม” ของ “หมวดพร้อม” เขียนข่าวคณะ ผู้บังคับการ ลงพระมนูแถลงสารมาแล้ว) เรื่องทั้งหมด กระผมเลยขอน�ำมา เล่าสูก่ นั ฟังแก่พวกเราชาวอนุมานวสารทุกๆ คนครับ ด้วยหวังว่า จะเป็นอีกหนึ่งก�ำลังใจ ให้พวกเราทุกๆ คนได้รู้ไว้ว่า “....ณ เวลานี้ ก็ได้มอี กี หนึง่ แฟนคลับ อนุมานวสาร ก�ำลังตั้งตาคอยอ่านอนุมาน วสาร ฝีมือพวกเราทีมงานทุกๆ คนอยู่...” เล่าสู่กันฟังครับ ศรเทพฤทธิ์

เรียนผู้ที่เกี่ยวข้อง ตามทีผ่ มได้อา่ น อนุมานวสาร ฉบับที่ ๑๖ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๓ แล้วพบ ข้อมูลบางส่วนอาจจะไม่ถกู ต้องเล็กๆ น้อยๆ บางส่วน ดังนี้ครับ ๑) เลขหน้าผิด หน้าสารบัญ ในหมวด ข่าวสารและกิจกรรม กล่องจดหมาย จาก หน้ า ๑๐ ควรเป็ น หน้ า ๙ สนามหลั ง จากหน้า ๑๕๓ ควรเป็นหน้า ๑๕๔ จาก ห้องประชุมสมาคมฯ จากหน้า ๑๕๔ ควร เป็นหน้า ๑๕๗ ๒) เลขรุ่น และเบอร์โทรศัพท์ ใน หน้า ๑๖๗ ห้องเบิกของ ร้านขายสัตว์เลี้ยง Furrytail ของพีก่ อบกิจ จ�ำจด ต้องเป็นรุน่ ๗๐ และเบอร์โทรศัพท์ ๒ ตัวสุดท้าย ไม่แน่ใจ ว่าถูกแล้ว หรือต้องเหมือนกับของ ๒๒ EQ เรียน คุณวาสนา/คุณล�ำจวน กระผมเป็นผู้ปกครองเด็กนักเรียน (ลงท้ายด้วย ๘๕ หรือ ๕๘) วชิราวุธฯ มีความประสงค์อยากได้ อนุมานวสาร ขอแสดงความนับถือ ฉบับย้อนหลัง ขอสอบถามข้อมูลดังนี้ครับ เอกจิต ร่มพฤกษ์ (ข่วย โอวี ๗๓) ๑. ย้อนหลังได้ตงั้ แต่ฉบับทีเ่ ท่าไหร่ / ราคาสนับสนุนเล่มละเท่าไหร่/ติดต่ออย่างไร ๒. หากจะเป็ น สมาชิ ก เพื่ อ รั บ อนุมานวสาร จะต้องมีเงื่อนไขอย่างไร จึงเรียนมาเพือ่ พิจารณา/ ขอบพระคุณ ครับ วิฑูรย์ จอมมะเริง ผู้ปกครอง ด.ช.จอม จอมมะเริง ๘๔๐๘ / สนามจันทร์ ๑๗


ขอขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดท�ำอนุมานวสาร 15 ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐

โอวี OV Spirit&Web OV ๒,๐๐๐ บาท นักเรียนเก่าฯ ในเชียงใหม่ ๒,๖๐๐ บาท ๕,๐๐๐ บาท ธันวา ชัยจินดา ๓,๐๐๐ บาท วิวัฒน์ ถิระวันธุ์

โอวี ๓๔ พงษ์เทพ ผลอนันต์ ๕,๐๐๐ บาท พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ ๓๐,๐๐๐ บาท สุพล วัธนเวคิน ๕๐,๐๐๐ บาท โอวี ๔๖ โอวี ๓๕ ๒,๐๐๐ บาท สุพจน์ ศรีตระกูล ๑,๐๐๐ บาท โอวี รุ่น ๔๖ ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ ์ ๑๘,๐๐๐ บาท โอวี ๓๗ โอวีอาวุโส จีระ อุดมวัฒน์ทวี ๒๐๐ บาท สั น ติ ภ าพ ลิ ม ปะพั น ธ์ ๑,๐๐๐ บาท ดนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา ๒,๐๐๐ บาท ร.ท.นุรักษ์ อิศรเสนาฯ ๓,๐๐๐ บาท ธนันต์ วงษ์เกษม ๑,๐๐๐ บาท ม.ล.พรสุทธิ์ ลดาวัลย์ ๕๐๐ บาท โอวี ๓๘ นรศุภ นิติเกษตรสุนทร ๑,๐๐๐ บาท ถวัลย์ ปานะนนท์ ๕๐๐ บาท อดิศักดิ์ เหมอยู่ ๒๐,๐๐๐ บาท ปฏิภาณ ตันติวงศ์ ๒,๐๐๐ บาท ศ.น.พ.อาวุธ ศรีศุกรี ๒,๐๐๐ บาท รักพงษ์ ปัจจักขภัติ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๔๐ โอวี ๑๖ ดร.สหัสโรจน์ โรจน์เมธา ๕,๐๐๐ บาท ๑๐,๐๐๐ บาท เสถียร เสถียรสุต ๑๕,๐๐๐ บาท โอวีรุ่น ๔๐ ม.ร.ว.อดิศรเดช ศุขสวัสดิ์ ๓,๐๐๐ บาท จุลสิงห์ วสันตสิงห์ ๑๐,๐๐๐ บาท โอวี ๑๙ พูลศักดิ์ ประณุทนรพาล ๕,๐๐๐ บาท โอวี ๔๗ ปราณีต ชัยจินดา ๑๐,๐๐๐ บาท ธานี จูฑะพันธ์ ๕,๐๐๐ บาท โอวี ๔๑ โอวี ๒๕ เปรมปรี วัชราภัย ๔,๐๐๐ บาท โอวี ๔๘ ร.ท.ชนินทร์ วรรณดิษฐ์ ๒,๐๐๐ บาท ชนัตถ์ อุดมวัฒน์ทวี ๒๐๐ บาท โอวี ๔๒ ทองเปา บุ ญ หลง ๒๐๐ บาท โอวี ๒๘ รุ่น ๔๒ ๑๐,๐๐๐ บาท สัตยา เทพบรรเทิง ๕,๐๐๐ บาท ๑๐,๐๐๐ บาท วิชัย สุขธรรม ๒,๐๐๐ บาท เชิดชัย ลีสวรรค์ รวมบริจาคใหม่ ๒,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท สนั่น จรัญยิ่ง ๒,๐๐๐ บาท อภิชัย สิทธิบุศย์ เลิศศักดิ์ ผลอนันต์ ๕๐๐ บาท นภดล บัวทองศร ๑,๐๐๐ บาท องอาจ อนุสสรราชกิจ ๒๐๐ บาท โอวี ๓๐ อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ๔,๐๐๐ บาท อโนทัย สังคาลวณิช ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๔๓ ก๊วนกอล์ฟโอวี ๔๓ ๑๐,๐๐๐ บาท รวมบริจาคใหม่ ๒,๐๐๐ บาท โอวี ๓๑ เขมทัต อนิวรรตน์ ๕๐๐ บาท โอวี ๔๙ อิสระ นันทรักษ์ ๒,๐๐๐ บาท โอวี รุ่น ๓๑ ธนาวุฒิ สาครสินธุ์ ๑,๐๐๐ บาท ๓,๑๐๐ บาท และรุ่นข้างเคียง นภดล เทพวัลย์ ๒,๐๐๐ บาท โอวี ๔๔ จิรายุส แสงสว่างวัฒนะ ๒,๐๐๐ บาท พงษ์พินิต เดชะคุปต์ ๓,๐๐๐ บาท นาวาโท บัญชา จันทร์ไทย ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๓๓ รัฐฎา บุนนาค ๕,๐๐๐ บาท มนต์เทพ โปราณานนท์ ๘,๐๐๐ บาท พล.ต.ต.จักร จักษุรักษ์ ๑๐,๐๐๐ บาท ศิโรฒม์ สนิทวงศ์ฯ ๑๐,๐๐๐ บาท บริจาคเพิ่ม ๓,๐๐๐ บาท อภิชัย มาไพศาลสิน ๒,๐๐๐ บาท จักรพันธุ์ โปษยกฤต ๓๐,๐๐๐ บาท รวมบริจาคใหม่ ๕,๐๐๐ บาท ด�ำรงพันธุ์ พูนวัตถุ ๕๐๐ บาท โอวี ๕๐ โอวี ๔๕ ๑๐,๐๐๐ บาท ดร.คุรุจิต นาครทรรพ ๘,๐๐๐ บาท โอวี รุ่น ๕๐ นพดล มิ ง ่ วานิ ช ๑,๐๐๐ บาท ศ.ดร.ทวิป กิตยาภรณ์ ๕,๐๐๐ บาท

anumanavasarn.com


16

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดท�ำอนุมานวสาร

โอวี ๕๑ พล.ต.ต.จักรทิพย์ ชัยจินดา ๑๐,๐๐๐ บาท พ.ท.ธนา ลิ้มธนากุล ๑,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท สุวิช ล�ำ่ ซ�ำ อลงกรณ์ กฤตยารัตน์ ๕,๐๐๐ บาท โอวี ๕๒ จุมพจน์ มิ่งวานิช น.พ.ชนินทร์ ล�่ำซ�ำ บัญชา ลือเสียงดัง วิเชฐ ตันติวานิช สันติ อุดมวัฒน์ทวี

๕๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท ๕๐๐ บาท ๒,๐๐๐ บาท ๒๐๐ บาท

โอวี ๕๓ ทินนาถ กิตยาภรณ์

๑,๐๐๐ บาท

โอวี ๕๕ ทวีวัฒน์ ลิ้มธนากุล ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อนันต์ สันติวิสุทธิ์ อภิศักดิ์ เกี่ยวการค้า

๑,๐๐๐ บาท ๒,๐๐๐ บาท ๒,๐๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท

โอวี ๕๖ ทวีสิน ลิ้มธนากุล พรหมเมศ จักษุรักษ์

๑,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท

โอวี ๕๗ วีระวัฒน์ เนียมทรัพย์ สัคคเดช ธนะรัชต์ อนุวัตร วนรักษ์

๑,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท

โอวี ๕๘ ธนา เวสโกสิทธิ์ ๒,๐๐๐ บาท รวมบริจาคใหม่ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๕๙ กิตติ แจ้งวัฒนะ ๑,๐๐๐ บาท คมกฤช รัตนราช ๕,๐๐๐ บาท ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ๕,๐๐๐ บาท วรากร บุณยเกียรติ ๑,๐๐๐ บาท

เวทิศ ประจวบเหมาะ ๕,๐๐๐ บาท โอวี ๗๑ อธิปัตย์ โรจนไพบูลย์ ๑,๐๐๐ บาท สถิร ตั้งมโนเพียรชัย ๑,๐๐๐ บาท อนุวัฒน์ ชูทรัพย์ ๑,๐๐๐ บาท อาทิตย์ ประสาทกุล ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๖๐ โอวี ๗๒ วีรยุทธ โพธารามิก ๑,๐๐๐ บาท กันต์ ปัจจักขภัติ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๗๓ โอวี ๖๑ ๑,๐๐๐ บาท กมล นันทิยาภูษิต ๕,๐๐๐ บาท ณัฐพล ลิปิพันธ์ นครา นาครทรรพ ๒,๐๐๐ บาท โอวี ๗๔ ภัคพงศ์ จักษุรักษ์ ๑,๐๐๐ บาท ศศิศ อุดมวัฒน์ทวี ๒๐๐ บาท พฤศ อุ ด มวั ฒ น์ ท วี ๒๐๐ บาท โอวี ๖๒ โกมุท มณีฉาย ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๗๕ ทรงศักดิ์ ทิพยสุนทร ๑,๐๐๐ บาท ธัชกร พัทธวิภาส ๑,๐๐๐ บาท ธนพร คชเสนี ๑,๐๐๐ บาท อัคร ปัจจักขภัติ ๑,๐๐๐ บาท ปิยะพงษ์ บุณยศรีสวัสดิ์ ๑,๐๐๐ บาท ประภากร วีระพงษ์ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๗๗ ภัฎพงศ์ ณ นคร ๕๐๐ บาท วิชชุ วุฒานุรักษ์ ๑,๐๐๐ บาท วรรธนะ อาภาพันธุ์ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๗๙ โอวี รุ่น ๗๙ ๒,๐๐๐ บาท โอวี ๖๕ ภวั ต พงศ์ เทวกุ ล ณ อยุ ธ ยา ๕๐๐ บาท วัชระ ตันธนะ ๕,๐๐๐ บาท วรุฒมาศ ศุขสวัสดิ์ฯ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๖๕ โอวี ๘๐ ปรีเทพ บุญเดช ๕๐๐ บาท ธนทัต อนิวรรตน์ ๕๐๐ บาท โอวี ๖๖ ฟ้าสาง ปริวุฒิพงศ์ ๑,๐๐๐ บาท เจษฎา บ�ำรุงกิจ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๘๑ พันตรี จุณณะปิยะ ๑,๐๐๐ บาท รชต ชื่นชอบ ๑,๐๐๐ บาท โอวี ๖๙ เพื่อนโอวีและผู้ปกครอง กิตติ ชาญชัยประสงค์ ๕๐๐ บาท ธเนศ ฉันทังกูล ๕๐๐ บาท ณรงค์ บุญเสถียรวงศ์ ๑,๐๐๐ บาท วิฑูรย์ จอมมะเริง ๑,๐๐๐ บาท ผู้ปกครอง ด.ช.จอม จอมมะเริง โอวี ๗๐ รุ่น ๗๐ ๓,๐๐๐ บาท ๘๔๐๘ /สจ.๑๗ ร.ศ. พ.ญ.ผจง คงคา ๕,๐๐๐ บาท สมพร ไม้สุวรรณกุล ๒๐๐ บาท * ผู้บริจาคใหม่หรือเพิ่มเติม


องค์พระมนูแถลงสาร ผู้เป็นสัญลักษณ์แห่งการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัย

ขนาดหน้าตัก ๙ นิ้ว จัดสร้างเพียง ๑๐๐ องค์

ขอเชิญสั่งจองวัตถุมงคลเนื่องในวาระฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี วชิราวุธ ภายในบรรจุมวลสารมงคลและจัดสร้างตามพิธีกรรม ด้วยเจตนาบริสุทธิ์ รายได้สมทบทุนการจัดงาน ๑๐๐ ปี วชิราวุธวิทยาลัย ๒๔๕๓ - ๒๕๕๓ สอบถามรายละเอียดกรุณาติดต่อคุณฉัตรแก้ว โทร ๐๒-๖๖๙๔๕๒๖-๙


18 คุใต้ยกัหบนัอประชุ ม กเรียนเก่าฯ

ศ.เติมศักดิ์ กฤษณามระ

วันวาน ผมเป็นรุ่นที่จบปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ปีที่น�้ำท่วมกรุงเทพฯ ผมก็ น่าจะเป็นโอวีรุ่นที่ ๑๔ ถ้าคิดย้อนหลังจากรุ่นที่จบปัจจุบัน ผมอยู่คณะประคอง (คณะดุสิต) ตามชื่อราชทินนามของ หลวงประคองทีเ่ ป็นผูก้ ำ� กับคณะ ตอนผมอยูผ่ บู้ งั คับการคือ พระพณิชสารวิเทศ พอตอนผมออก พระพณิชย์ฯ ก็ออก พร้อมกัน ผมเข้า ป. ๒ ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ผมเป็นนักเรียนรุน่ แรก ทีเ่ ข้าไปอยูใ่ นคณะสนามจันทร์ เพราะเป็นปีแรกทีส่ ร้างเสร็จ ซึง่ สมัยนัน้ เราเรียกกันว่า “เด็กเล็กนอก” เพือ่ นในรุน่ ผมก็มี เช่น พงส์ สารสิน กิตติรัตน์ ศรีวิสารวาจา สน ชูโต พารณ อิศรเสนาฯ ม.ร.ว.ยงสวาสดิ์ ม.ร.ว.พูนสวาท กฤดากร เชาวน์ ณ ศีลวัลย์ สอนประหยัด สุจริตกุล และอุดม รักตประจิตร อย่าเอาไปเขียนเลยคนเขาไม่รู้เรื่องกันแล้ว ฮาๆๆ


anumanavasarn.com


20  ใต้หอประชุม

ขุนหลวงธรรมสาร ท่านจบเปรียญ ๙ เคยอยู่ในวังรัชกาลที่ ๖ ท่านก็มักจะเล่าเรื่องต่างๆ ให้พวกเราฟัง เด็กๆ ก็นั่งฟัง บนตักท่านบ้าง นอนฟังบ้าง พยายามเข้านั่งใกล้ท่าน เพื่อฟังนิทาน ซึ่งการอบรมแบบนี้ ผมคิดว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดาย ที่ไม่มีอีกแล้ว สภาพโรงเรียนสมัยนั้น “เงียบ” ทั้ง โรงเรียนมีนักเรียนสองร้อยกว่าคน ไม่เกิน สามร้อย มีคณะละ ๕๐ คน และเด็กเล็กอีก ๑ คณะ ตอนเย็นก็ไปยืนเกาะรัว้ ร้องไห้อยาก กลับบ้าน ถนนสุโขทัยและถนนราชวิถีเงียบ มากมีแต่เสียงชะนีรอ้ ง ถนนด้านหลังก็เงียบ ถนนที่ดูคึกคักก็เส้นพระราม ๕ สมัยผม ในหลวงไม่ได้เสด็จฯ มาที่โรงเรียนเลย ด้วยความที่คุณพ่อผมเป็นนักเรียน เก่าราชวิทย์ฯ เลยคิดอยากจะส่งผมมาเข้า โรงเรียนประจ�ำ และสมัยนั้นก็มีโรงเรียน ประจ�ำเพียง ๒ โรง คือ วชิราวุธฯ และ

อัสสัมชัญศรีราชา ซึง่ วชิราวุธฯ มีขอ้ ดีคอื เป็น โรงเรียนต้นแบบของโรงเรียนประจ�ำ มีความ เป็นไทย เผอิญน้าเขยผมคือ หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล บอกให้เอาเข้าวชิราวุธฯ เรื่อง ก็เลยต้องจบ ผมเลยต้องเข้ามาเรียนตอน ๗ ขวบ อยู่โรงเรียนเป็นเดือนๆ ทั้งที่บ้านก็อยู่ ใกล้โรงเรียนก็กลับไม่ได้ มัธยม ๑ ผมก็เข้าคณะใน พวกที่ เพิ่งขึ้นมาจากเด็กเล็กจะต้องมาพักที่คณะ ผูบ้ งั คับการก่อน แล้วจะแจกไปตามคณะต่างๆ ทีหลัง เพื่อให้พวกเด็กเล็กได้ปรับตัวก่อน ขุนช�ำนาญทีเ่ ป็นครูพละ สอนเราเล่น กีฬา แบ่งเด็กเก่งไปเล่นกีฬา พวกทีเ่ ล่นกีฬา ไม่เก่งก็ไปเล่นดัดตน คุณหลวงธรรมสาร ท่านจบเปรียญ ๙ เคยอยู่ในวังรัชกาลที่ ๖ ท่านก็มักจะเล่า เรื่องต่างๆ ให้พวกเราฟัง เด็กๆ ก็นั่งฟังบน ตักท่านบ้าง นอนฟังบ้าง พยายามเข้านัง่ ใกล้ ท่านเพือ่ ฟังนิทาน ซึง่ การอบรมแบบนีผ้ มคิด ว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดายที่ไม่มีอีกแล้ว หั ว หน้ า ไม่ ไ ด้ เ ป็ น แบบของท่ า น เจ้าคุณภะรตฯ สมัยก่อนผมเข้าโรงเรียน ท่านเจ้าคุณบรมบาทบ�ำรุง จะเป็นแบบของ อังกฤษแท้ คือไปถึงบ้านของผมเพือ่ ดูหน้าตา สอบถามประวัติครอบครัวว่าใครเป็นใคร ก่อนทีจ่ ะเข้า พอผมเข้ามาท่านก็ออก พออยู่ มาได้ ๓ ปี มาอยู่คณะผู้บังคับการ มีครู สนั่น แพทยานนท์ เป็นผู้ดูแล และมีน้องชื่อ ครูเสนาะ สอนว่ายน�้ำ ตรงบ่อข้างเรือนท่าน ผู้การฯ พอกลับบ้าน คุณแม่ผมก็มักจะถาม


ว่าท�ำไมเป็นโรคหูน�้ำหนวก เพราะน�้ำในสระ ค่อนข้างสกปรก สมัยก่อนว่ายน�ำ้ คลองต้อง ชูหน้าขึ้น ไม่ใช่เอาหน้าจมลงไปแบบว่ายใน สระน�้ำ สอนว่ายกันบนโต๊ะก่อนที่จะปล่อย ให้ลงบ่อ นี่ละครับวิธีว่ายน�้ำแบบวชิราวุธฯ ในสมัยก่อน กีฬารักบีย้ คุ ผมมีเล่นก่อนผมเข้าแล้ว มีสตาร์ เช่น พีพ่ จน์ สนิทวงศ์ อยูค่ ณะปวโรฯ (พญาไท) ส่วนผมยังเด็กเล่นไม่ได้ โดยมาก ก็ เ ล่ น กั น เอง ไม่ ค ่ อ ยได้ ไ ปแข่ ง กั บ ใคร ส่วนใหญ่มีแต่แข่งกรีฑา เพราะเป็นช่วง เปลีย่ นแปลงการปกครองใหม่ๆ โรงเรียน วชิราวุธฯ ถูกหาว่าเป็นเจ้า จะท�ำอะไร เลยต้องระวังตัว ตอนหลังก็เกิดสงคราม พวกเรา ก็มีการช่วยกันขุดสนามหลบภัย ตรงสนามหลังมีพวกทหารญี่ปุ่น มาตั้งหน่วยไฟฉาย ประมาณ ๖ ดวงเอาไว้ส่องเครื่องบินทิ้งระเบิดของ ฝ่ายสัมพันธมิตร ด้วยความเป็นเด็ก เราก็ซน ไปคุยกับพวกทหารญี่ปุ่นที่ ข้างตึกพยาบาลเก่า (ปัจจุบันคือ หอ ประวัต)ิ พวกทหารญีป่ นุ่ ก็สอนวิธที �ำ ถัว่ หมัก และพวกนีก้ จ็ ะมา ล้ อ เลี ย นเราว่ า เวลา เสี ย งหวอดั ง วิ่ ง กั น ใหญ่ เ ลยนะ ก็ ต ้ อ ง รี บ วิ่ ง นะเพราะ ชุดนอนเราสีขาว เราก็ สื่ อ สาร

ด้วยภาษามือกับพวกทหารญี่ปุ่น เครื่องบินทิ้งระเบิดลงตรงสวนอ้อย และแถวเชิงสะพานซังฮี้มากที่สุด สวนอ้อย โดนระเบิดก่อน ส่วนคณะดุสิตโดนอีกรอบ หนึ่ง ตอนนั้นผมออกไปอยู่ชั้นเตรียมอุดม แล้ว และโรงเรียนจะย้ายให้ไปอยูต่ า่ งจังหวัด แต่คุณพ่อไม่ยอมให้ไป ก็ไปเปิดโรงเรียน ใหม่ที่วังเทเวศร์ แล้วก็โดนระเบิดจนได้ วัน นั้นเดินอยู่

anumanavasarn.com


22  ใต้หอประชุม

ริมถนน พอระเบิดลงต้องรีบกระโจนลงไป ในหลุมหลบภัย ทับยายแก่ร้องโวยวายใหญ่ และเป็นครั้งแรกที่เห็นศพสดจริงๆ ที่ตาย เพราะโดนระเบิดลง ส่วนใหญ่เครื่องบิน ทิง้ ระเบิดแรกๆ เป็นรุน่ บี ๒๔ หลังๆ ใช้บี ๒๙ ทั้งสองแบบบินได้สูงปืนยิงไม่ถึง และบี ๒๙ ที่ ม าทิ้ ง บอมบ์ เ ทเวศร์ นี้ก็มาเพื่อทดลองที่ ประเทศไทยก่อน เพราะการต่อต้านเรา น้อย ถึงค่อยย้ายฐานไปฮอนโนลูลู เวลามา ทิ้งระเบิดจะทิ้งช่วงกลางวัน เห็นได้ชัดเลย เวลาระเบิดร่วงลงมา ตอนที่บอมบ์โรงไฟฟ้า สามเสนเครือ่ งบินจะมาจากทางใต้และจะบิน ขึ้นตามแม่น�้ำมา พอแถววัดราชาจะเป็นจุด เริ่มปล่อยระเบิด ผมว่าที่คณะดุสิตโดน น่า จะมาจากทางมักกะสัน ไม่รวู้ า่ มันแกล้งหรือ มือห่วย ถึงเลยมาโดนวชิราวุธฯ

น้ อ งชายที่ ยั ง อยู ่ ว ชิ ร าวุ ธ ฯ ก็ ต ้ อ ง ย้ายไปอยู่บางปะอิน ผมก็ตามไปรับถึงที่นั่น ทีน่ อนของนักเรียนอยูข่ า้ งโรงฆ่าหมู นักเรียน คงดีใจที่โรงเรียนจะได้ซื้อหมูให้กิน แต่กลิ่น จะเป็ น อย่ า งไรผมไม่ รู ้ เ พราะไม่ ไ ด้ ไ ปอยู ่ เพราะผมจบ ม.๖ ไปแล้ว ผมเป็นรุน่ “โตโจ” ม.๖ ทั้งประเทศไม่ต้องสอบไล่ก็จบยกชั้น หมด เลยตั้งชื่อตามนายพลญี่ปุ่น โตโจ ว่า เป็นคนช่วยให้จบ เพราะตอนนั้นโดนบอมบ์ มากจนโรงเรียนไม่กล้าเปิด

ศิษย์มีครู

ความประทับใจของผม ด้วยความ เป็นเด็กดีในเชิงทีว่ า่ นอนสอนง่าย อย่างครูยม ไทวุฒพิ งศ์ คุณพระประทัตก็ดี คุณพระสนธิ ก็ดี ครูฝรั่ง เอจี เบอร์มองต์ ก็ดี การที่ครู


วชิราวุธฯ รักก็แปลกๆ เวลาเขาเรียนกัน ครู จะให้ ผ มไปนั่ ง กรอกคะแนนของนั ก เรี ย น จะมีคะแนน ต ๒ ก. ครูยมจะให้ผมเป็น คนกรอกเพราะเชื่อใจในความสุจริตของผม เป็นคะแนนรวมในวิชา ผมก็ไม่ได้เรียนใน ชั้นเรียน ครูทั้งหลายก็สอนให้ผมเป็นพิเศษ แต่เวลาคนอื่นเรียนผมไปนั่งในห้องพักครู กรอกคะแนนให้ครู ส่วนครูภาษาอังกฤษ เอจี เบอร์มองต์ เมตตาต่อผมมากแม้จะท�ำปากกาหมึกหก ราดข้อสอบ ครูเอจี เบอร์มองต์ มาถึงก็ฉีก ข้อสอบผมทิ้งเลย ในใจก็คิดว่าคงโดนเฆี่ยน แน่ๆ แต่ปรากฏว่าเทอมนั้นได้คะแนน ๕๐ คะแนน ไม่ตกแต่ก็ไม่ดี นี่คือวิธีการแบบ ครูวชิราวุธฯ ที่ท�ำกับเด็กนักเรียนอย่างผม ทั้งๆ ที่ผมเป็นเด็กนักเรียนสอบไล่ได้ที่ ๑ มาตลอด แต่ก็ยังไม่ได้พาสชั้น ตั้งแต่นั้นมา ผมก็เลยไปเล่นดีกว่า ผมมาเข้าบรรจุเป็นอาจารย์ที่จุฬาฯ วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๔๙๙ เป็นอธิการบดี ปี ๒๕๑๘ หลังจากนัน้ ก็ออกมาท�ำธุรกิจทาง บ้าน แต่ทางจุฬาฯ ก็ให้ผมกลับมาช่วยท�ำ สถาบันภาษา จุฬาฯ แท้คอื ตีความเอาตามใจ เพราะตอนทีเ่ กิดเรือ่ งการท�ำงานไม่เรียบร้อย เขาก็ให้ผมมาเป็นกรรมการเพราะเห็นว่า พ่อรวยแล้วคงไม่โกง ก็สั่งเอาดื้อๆ ทั้งที่กฎ ของจุฬาฯ การด�ำรงต�ำแหน่งอธิการบดีอาจ จะเป็นคนนอกได้ แต่คนอื่นในจุฬาฯ ต้อง เป็นอาจารย์ประจ�ำทั้งหมด พอผมลาออก จากจุฬาฯ เขาก็อนุมัติให้ แต่ผมขอไม่ท�ำ

สถาบั น ภาษาได้ ไ หม สภาเขาลงมติ ว ่ า มี คุณสมบัติเมื่อแต่งตั้งมีก�ำหนดระยะเวลา แน่นอน ดังนั้นผมจึงเป็นได้ กลับจากต่างประเทศ ๒๔๙๘ ผมก็ มาสอนพิเศษจนกลายมาเป็นอาจารย์ประจ�ำ พอมาท�ำศศินทร์ก็รู้จักนักธุรกิจเยอะ ถึงได้ บอกว่าผู้บริหารของศศินทร์คนต่อไป ต้อง สามารถหาเงินบริจาคได้ เพราะค่าเล่าเรียน เราไม่ อ ยากเก็ บ สู ง ทางที่ ดี ก็ ต ้ อ งหาเงิ น บริจาคจากนิสิตเก่าฯ และคนนอก แต่จาก นิสติ เก่าฯ เราก็ยงั หาได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย เราก็ต้องหาจากคนนอกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่ง เครื อ นั ก ธุ ร กิ จ ที่ รู ้ จั ก ก็ มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ย ให้การระดมเงินบริจาคเข้ามานั้นท�ำได้ ด้วย เหตุทภี่ าพลักษณ์ของผูบ้ ริหารก็ตอ้ งเป็นทีน่ า่ ไว้ใจว่าไม่เอาเงินเข้ากระเป๋าตัวเอง นีก่ ก็ ำ� ลังมีโครงการของหมอประเวศ วะสีกบั ศศินทร์ทจี่ ะสร้างบ้านทีพ่ งั งาแล้วเชิญ คนที่ได้รับรางวัลโนเบลไพรส์มาอยู่ เพื่อ ให้เขาคิดทฤษฎีใหม่ๆ ให้เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ ผมก็เลยบอกว่าไหนๆ จะสร้าง ก็สร้างไปเลย ๓-๔ หลัง

ผลงานในชีวิต

ที่ ม าของศศิ น ทร์ เ กิ ด ขึ้ น จากคุ ณ บั ญ ชา ล�่ ำ ซ�่ ำ และภรรยาที่ เ คยเป็ น เพื่ อ น ร่วมชั้นเรียนกับสมัยเรียนที่วังเทเวศร์ด้วย กั น และก็ ไ ด้ เ ป็ น กรรมการผู ้ จั ด การของ ธนาคารกสิ ก รในขณะนั้ น ทางกสิ ก รก็ มี ทุนส่งคนไปเรียนต่างประเทศกันเยอะ แต่ anumanavasarn.com


24  ใต้หอประชุม พอกลับมาท�ำงานใช้ทุนหมดก็ออก อันที่ หนึ่ง อันที่สอง ส่งไปเรียน Top 10 แต่ไม่มี Softness ของ Business พอนายแบงค์ใหญ่ ต่างประเทศมาบอกให้ไปรับก็ไม่ไป นีค้ อื สิง่ ที่ คุณบัญชาต้องการแก้ไข ก็มีการตั้งคณะ กรรมการกัน แล้วก็มาเรียกนายเติมศักดิ์ มา ผมก็บอกว่าผมมาท�ำงานด้านภาษาแล้ว ไม่ได้เกี่ยวกับภาคธุรกิจแล้ว อธิการก็ตอบ ว่าเขาต้องการเปิดสอนวิชาธุรกิจเป็นภาษา อังกฤษ เพราะฉะนั้นตรงสเปค ผมก็บอกว่า

สมัยผมอยู่คณะพาณิชย์ฯ ผมเคยไปขอทุน รัฐบาลสวีเดนมาพัฒนาครู ที่นั่นเรียนเป็น ภาษาอังกฤษทีละวิชา หากสอนหลักสูตร เร่งรัดบริหารธุรกิจสอนทีละวิชาก็พอท�ำได้ สองสมัย ก่อนคณะวิศวะฯ เคยมีหลักสูตร เร่งรัดสอนตลอดอาทิตย์ละ ๗ วัน จาก ๔ ปี เหลือ ๒ ปีครึ่ง จากนั้นผมก็ไปคุยกับอาจารย์ฝรั่งว่า จะจ้างมาสอนเป็นรายวิชาได้ไหม แต่สอน เป็น ๒ เท่าเร็วขึ้นเท่าหนึ่ง จากเดิมสอนแค่ อาทิตย์ละ ๒ ครั้งเป็น ๔ ครั้ง เขาก็จะ สามารถกลับบ้านได้ภายใน ๖ อาทิตย์ ดังนัน้ เขาก็จะไม่เสียเวลาทีจ่ ะมานานนักแถมยังได้ มาเทีย่ วเปลีย่ นบรรยากาศ ด้วยเหตุนจี้ งึ เป็น ผลส�ำเร็จ ที่อื่นเขาจะจ้างฝรั่งมา ๑ หรือ ๒ คน มาอยู่เป็นปีๆ ถ้าท�ำแบบนี้เรา ก็เสียเงิน ฝรั่งก็เสียคน ส่วนที่ Wharton School ที่เรา ไปติดต่อ เพราะเราคิดว่ามีความเป็น ไปได้ แต่ผมบอกเลยว่าผมไม่เคยเรียน MBA แม้จะเคยเรียนที่ Stamford จริงแต่ไม่ได้เรียน MBA ผมเลย ขอให้ในคณะกรรมการจะต้อง มีคนทีเ่ คยเรียน MBA อยู่ ๒ คน คือ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล จบจาก Wharton


และ เทพ รุง่ ธนาภิรมย์ จบจาก The Kellogg School of Management ท� ำ ให้ ผ มมี Reference ไปพูดได้ ซึ่งก็สำ� เร็จเรียบร้อย ด้วยดี

สิ่งที่ได้รับจากวชิราวุธฯ

ผมไม่ เ คยนึ ก เลยว่ า วชิ ร าวุ ธ ฯ ได้ ให้อะไรที่เป็นพิเศษ จนมีนักเรียนศศินทร์ รุ่นแรก มีนักศึกษาศศินทร์คนหนึ่งเคยเป็น หัวหน้านักเรียนที่วชิราวุธฯ เป็นหัวหน้าทีม รักบี้ แกเข้าจุฬาฯ เรียนหลักสูตร ๔ ปี แกเรียน ไป ๕ ปีแต่ว่าในขณะที่เรียนตลอด ๕ ปี นั้น แกเป็นประธานรักบี้ ประธานฟุตบอล ประธานกีฬากลางแจ้ง และเป็นประธาน สจม. ผมก็บอกว่าคนที่เรียนจบด้วยเกรด ๒.๐๐ มันไม่มีในโลก มันต้องเป็น ๑.๙ Something แล้วเขาเตะขึ้นมา การตั ด สิ น ใจรั บ ให้ เ ข้ า มาเรี ย นที่ ศศินทร์นั้น ผมไม่ได้เป็นคนตัดสินแต่ผมให้ ฝรั่งเป็นคนตัดสิน เพราะตัวเองตัดสินเป็น แต่แบบจอหงวน หมายความว่าตัดสินได้แต่ ความรูเ้ พียงอย่างเดียวไม่ใช่ Form ฝรัง่ คนที่ สัมภาษณ์มาบอกผมว่าที่ตัดสินใจรับเด็ก คนนี้ ก็ เ พราะเป็ น หั ว หน้ า ที ม กี ฬ าทั้ ง นั้ น เรียกว่าเป็นคนที่มี Team Person ไม่ได้เป็น นักเทนนิสหรือนักแบดมินตัน แต่ว่าการ เล่นกีฬาประเภททีมอย่างรักบี้ และฟุตบอล โดยเฉพาะยิ่งเป็นหัวหน้านักเรียนด้วยแล้ว ส�ำหรับฝรัง่ เขาถือว่าเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ เพราะ เวลาฝรั่งดูประวัติคนที่เป็นหัวหน้านักเรียน

เพราะพวกเราท�ำงานกันเป็นทีม สั่งกันค�ำเดียวก็สามารถท�ำได้ ในทางธุรกิจ สิ่งนี้ท�ำให้ การท�ำงานรวดเร็วมาก และก็ต้องมีความเชื่อใจกัน กับคนในทีม ฉะนั้นสิ่งที่ วชิราวุธฯ ให้ทั้งนักเรียนปัจจุบัน และนักเรียนเก่าฯ ก็คือว่าทีมเวิร์คของวชิราวุธฯ แน่นมาก กับคนที่ไม่ได้เป็น มันผิดกันเลย เด็กคนนั้นก็เข้าศศินทร์ได้ แล้วก็จบ ออกไป ตอนที่มาเรียนหนังสือครูก็มาฟ้อง ว่าไม่เข้าห้องเรียน ผมก็เรียกมาถาม เขา ก็ตอบว่าเขามาตรงเวลาแต่ไปอยู่ที่ห้องสมุด ให้เหตุผลว่า “เข้าไปแล้วร�ำคาญผมก�ำลังจะ ตอบ คนอื่นแย่งตอบไปก่อนทุกที ผมก�ำลัง จะถาม มันก็แย่งถามก่อน ผมก็เลยไม่รู้ว่า จะเข้าไปท�ำไมเลยมานั่งอ่านหนังสือในห้อง สมุดดีกว่า” พอหลังจากเขาจบไป นักเรียน วชิราวุธฯ ที่เข้ามาเรียนศศินทร์ ได้ไปอยู่กับ เขาหมดเลย ผมก็เลยไปถามว่าท�ำไม เขา ก็บอกว่าเพราะพวกเราท�ำงานกันเป็นทีม สั่งกันค�ำเดียวก็สามารถท�ำได้ ในทางธุรกิจ anumanavasarn.com


26  ใต้หอประชุม สิ่งนี้ท�ำให้การท�ำงานรวดเร็วมากและก็ต้อง มีความเชื่อใจกันกับคนในทีม ฉะนั้นสิ่งที่ วชิราวุธฯ ให้ทงั้ นักเรียนปัจจุบนั และนักเรียน เก่าฯ ก็คอื ว่าทีมเวิรค์ ของวชิราวุธฯ แน่นมาก ดังนั้นการบริหารงานของบริษัทหลักทรัพย์ นั้นก็จะท�ำงานกันเป็นทีม จนตอนนี้กลาย เป็นบริษัทหลักทรัพย์ Number One ของ ประเทศไทย

ความเห็นต่อโรงเรียน

ผมกับอาจารย์ชัยอนันต์สนิทกันพอ สมควร พอตอนคุณน้า คือ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ท่านเสีย ซึ่งก่อนหน้าที่ท่านจะ เสียก็ดูแลศึกษาภัณฑ์ ท่านก็ได้จ้างให้คน ท�ำปกหนังสือเดินดิ้นทองไว้หมด ซึ่งมีอยู่ใน ตู้หนังสือใหญ่ๆ ๔ ตู้ ตู้ละ ๑๐ ชั้น พอท่าน เสียผมก็เป็นผู้จัดการมรดก ผมก็ไม่รู้จะเอา ไปไว้ที่ไหน ก็เลยมาบอกอาจารย์ชัยอนันต์ แล้วส่งมอบให้ทางโรงเรียน และก็มอบเงิน เพือ่ จัดหาตูใ้ ส่หนังสืออีกล้านหนึง่ แต่ปรากฏ ว่าโรงเรียนมีอยู่แล้ว ผู้การปิ๋งเลยเอาเงิน นี้ไปตั้งกองทุนท่านผู้หญิงดุษฎี เพื่อสร้าง นักเรียนผู้น�ำ ให้นักเรียน ม.๔ ขึ้น ม.๕ ที่ ได้รับทุนไปเป็นตัวน�ำเพื่อนๆ ในทางที่ดีซึ่ง เป็นเรือ่ งทีด่ ที ไี่ ด้เห็นนักเรียนวชิราวุธฯ ตอน สัมภาษณ์ ซึ่งดีกว่านักเรียนศศินทร์ของ ผมอีก เด็กนักเรียนวชิราวุธฯ เวลาเข้ามา สัมภาษณ์มาถึงจะมายืนค�ำนับเฉยๆ ถ้าไม่ เชิญให้นั่งก็จะไม่นั่ง เสร็จแล้วพอมานั่งก็จะ สวัสดีกรรมการทุกท่าน กรรมการบางท่าน

ก็ชอบสังเกตเวลาสวัสดี จะสวัสดีทกุ คนหรือ ไม่ เวลาลา ลาทุกคนหรือไม่ และให้คะแนน ตรงนี้ด้วย ทุกปีกรรมการก็จะเถียงกันเป็น ชั่วโมงว่าจะให้ใคร ซึ่งยอดต้องมีเพียงหนึ่ง ไม่มีสอง ไม่มีรางวัลชมเชยใดๆ ทั้งสิ้น ยอด ก็คือยอด นักเรียนที่ได้ทุนไปแล้วก็ต้องเป็น ตัวน�ำให้คนอื่นเอาแบบอย่าง ใจผมไม่ อ ยากให้ ว ชิ ร าวุ ธ ฯ เป็ น โรงเรียน Public School เหมือนโรงเรียน อื่นๆ อยากให้วชิราวุธฯ เป็นโรงเรียนที่สอน คนให้เป็นคน มากกว่าสอนคนให้แต่วิชา ของศศินทร์เองก็มี ๒ สิง่ ทีเ่ ราอยากจะท�ำ คือ Knowledge กับ Form ล�ำพัง Knowledge เฉยๆ อย่างเดียวไม่พอ วชิราวุธฯ เรา Form ดีมีกิริยามารยาท ไม่ใช่มีแต่ความรู้อย่าง เดียว ช่วงที่ผมอยู่เห็นมีนักเรียนวชิราวุธฯ ที่ได้ที่หนึ่งในประเทศไทยเพียงคนเดียวคือ สุรินทร์ เศรษฐมานิต นอกนั้นไม่เห็นมีใคร ได้เลย

สมาคมนักเรียนเก่าฯ

หน้าที่ของสมาคมนักเรียนเก่าฯ ไม่ ว่าจะเป็นของมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนก็ แล้วแต่ ก็ต้องมีหน้าที่ ๔ อย่างหลักๆ ๑. อธิ บ ายบทบาทของสมาคม นักเรียนเก่าฯ ให้นักเรียนปัจจุบันให้รู้เรื่อง เพราะนักเรียนปัจจุบันสักวันหนึ่งก็จะเป็น นักเรียนเก่าฯ ๒. สมาคมฯ ก็ต้องตั้งเข็มทิศตัวเอง ให้ดี เช่น ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง เป็นต้น


ท่านผู้หญิงขจร และท่านผู้หญิงขจรก็เป็น ผูท้ บี่ อกกับพระยาภะรตฯ ว่าถ้าจะแต่งเพลง ให้เอาผูห้ ญิงคนนีม้ า ก็ทา่ นเป็นนักแต่งเพลง โรงเรียนมากมาย ท่านผูห้ ญิงขจรเคยสอนอยู่ ทีโ่ รงเรียนราชินี เลยรูจ้ กั ความสามารถความ เก่งของท่านผู้หญิงดุษฎีว่าเป็นอย่างไร เป็น เรื่องที่ไม่ค่อยมีใครทราบ เพลงที่ท่านแต่ง ก็เช่น อีกสี่สิบปี และเพลงมหาวชิราวุธราช สดุดี ที่เป็นเพลงประจ�ำโรงเรียน มีเรื่องเล่า อยู่ว่าตอนนั้นท่านผู้หญิงประพันธ์เนื้อร้อง ได้แล้ว แต่ครูอีกท่านหนึ่งที่รับประพันธ์ ท�ำนองเพลงก็ยังแต่งท�ำนองเพลงไม่ได้ คิด ท�ำนองเพลงไม่ได้ ให้ใครคิดก็ทำ� ไม่ได้ เลย ไปจุดธูปขอรัชกาลที่ ๖ โดยบนไว้ว่าถ้าได้ ท�ำนองเพลงนีเ้ มือ่ ไร จะแต่งเพลงนีเ้ ป็นเพลง สุดท้าย จะไม่แต่งเพลงใดๆ อีกเลย ครูที่ไป บนขอท�ำนองเพลงมหาวชิราวุธราชสดุดีนี้ ก็คือครู โฉลก เนตรสูตร แล้วก็ได้ทำ� นอง เพลงมาจริงๆ Manuscript ที่รัชกาลที่ ๖ เขียน ถึงแม่บ้านคนอังกฤษ เป็นลายพระหัตถ์ ทั้งหมด บรรยายเรื่องราวช่วงที่ท่านศึกษา อยู่ที่ประเทศอังกฤษ แม่บ้านคนนี้ได้เก็บ เกร็ดประวัติศาสตร์ รวบรวมเอาไว้ตงั้ แต่ฉบับแรก จนตกมาถึงลูก ของโรงเรียน ท่ า นผู ้ ห ญิ ง ดุ ษ ฎี เป็ น ภรรยาของ ก็เอาออกมาขาย และผมไปเจอเลยซื้อกลับ ม.ล.ปิ่น ซึ่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มา ตอนนี้เก็บรักษาอยู่ที่หอสมุดจุฬาฯ ศึกษาในขณะนั้น แต่ท่านเป็นลูกศิษย์ของ

และก็ต้องดู Welfare ของนักเรียนเก่าฯ เป็นหลัก ถ้านักเรียนเก่าฯ บางคนเกิดเหตุ พลิกผันท�ำให้ไม่สามารถช่วยเหลือตนเอง หรือครอบครัวได้ ก็ต้องมีมาตรการที่เข้าไป ช่วยเหลือบ้างตามสมควร ๓. สมาคมฯ ต้องเป็นผู้น�ำให้สังคม เป็นปากเสียงในเรื่องอะไรก็แล้วแต่ที่สำ� คัญ เช่น เรื่องวิชาการ เป็นต้น ๔. อุดหนุนช่วยเหลือกิจกรรมหรือ กิจการของโรงเรียน ซึ่งทั้งหมดนี้ก็เป็นสิ่งที่สมาคมศิษย์ เก่าของศศินทร์ท�ำอยู่และสมาคมนักเรียน เก่าวชิราวุธฯ ก็นา่ จะท�ำเช่นเดียวกัน ของเรา พอเข้ามาก็เก็บค่าเล่าเรียนส่วนหนึ่งเป็นค่า สมาชิกสมาคมศิษย์เก่าฯ เลย ให้ค่ารายหัว ไป แล้วสมาคมฯ ก็ต้องมีหน้าที่ที่จะต้อง ท�ำ แล้วคนที่จบก็เป็นสมาชิกโดยอัตโนมัติ ก็ไปพูดคุยท�ำอะไรกันได้ง่ายกว่าเก็บตอน หลัง เพราะฉะนั้น ถ้าเราไปขอให้สมาคมฯ ท�ำอะไรก็ต้องท�ำให้ เพราะนักเรียนปัจจุบัน ก็เป็นนักเรียนเก่าฯ ในอนาคต

สัมภาษณ์ เรียบเรียง ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์ โอวี ๔๖ กิตติเดช ฉันทังกูล ศรเทพฤทธิ์ ศิลปบรรเลง โอวี ๗๖ ธนกร จ๋วงพานิช โอวี ๗๗

ถ่ายภาพ โอวี ๗๓ สงกรานต์ ชุมชวลิต วรุฒมาศ ศุขสวัสดิ์ฯ

โอวี ๗๗ โอวี ๗๙

anumanavasarn.com


28

หอประชุม


หนังสือสวดมนต์ฉบับร้อยปี

และหลักสูตรสวดมนต์ ของวชิราวุธวิทยาลัย

ขอเจริญพรมายังพี่น้องโอวีที่รักทุกๆ ท่าน

เรือ่ ง หนังสือสวดมนต์ฉบับร้อยปีและหลักสูตรสวดมนต์ของวชิราวุธวิทยาลัย ก่อนอืน่ อาตมาภาพต้องขออนุโมทนากับท่านผูบ้ งั คับการ ดร.สาโรจน์ ลีสวรรค์ ทีไ่ ด้เล็งเห็นปัญหาการสวดมนต์บนหอประชุมของนักเรียน และได้ ริเริ่มให้มีการสังคายนา นิมนต์พระเถรานุเถระมาช่วยตรวจแก้ข้อผิดพลาด ในหนังสือสวดมนต์ของโรงเรียนตลอดไปจนถึงการจัดให้มีการอบรมการ สวดมนต์ที่ถูกต้องโดยพระภิกษุวิทยากร เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็น ธ�ำรงรักษาไว้ ซึง่ ธรรมเนียมการสวดมนต์ตามแบบฉบับหลวงเพือ่ เป็นปฏิบตั ิ บูชาถวายเป็นพระราชกุศลแด่องค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปีของโรงเรียน ตลอดระยะเวลาหนึ่งเดือนที่ผ่านมา อาตมาได้ทำ� หน้าที่นำ� พระภิกษุ มาอบรมการสวดมนต์ ใ ห้ กั บ นั ก เรี ย น อาตมาได้ เ ห็ น และได้ สั ม ผั ส ถึ ง พัฒนาการที่รวดเร็วของนักเรียนวชิราวุธฯ ในภาพรวม ทั้งนี้ไม่ใช่แต่เพียง การสวดมนต์ที่กระชับถูกจังหวะ ถูกท�ำนองเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึง ท่วงทีกริยา ระเบียบวินัยตลอดไปจนถึงทัศนคติของนักเรียนที่ดีขึ้นมาก แม้จะเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ ซึ่งเป็นผลจากเหตุคือ การสวดมนต์ที่ถูกต้อง อันท�ำให้พิธีกรรมบนหอประชุมมีความศักดิ์สิทธิ์ และส่งผลเป็นสรรพมงคล anumanavasarn.com


30  หอประชุม ทั้ ง หลายแก่ ค ณาจารย์ แ ละนั ก เรี ย นโดย ทั่วกัน ฉะนั้นเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับการ สั ง คายนาดั ง กล่ า ว จึ ง ขอเจริ ญ พรชี้ แ จง สืบอนุสนธิ์ ถึงทีม่ าทีไ่ ปและประวัตคิ วามเป็น มาของธรรมเนียมการสวดมนต์ของโรงเรียน เรา ซึ่งสามารถค้นคว้าได้จากค�ำน�ำหนังสือ สวดมนต์ของโรงเรียนในการพิมพ์ครัง้ แรกๆ ตามหลั ก ฐานท� ำ ให้ ท ราบได้ ว ่ า หนังสือสวดมนต์ของโรงเรียนเรานัน้ เริม่ จัด พิมพ์ขนึ้ ครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ในสมัย ของอดีตท่านผู้บังคับการพระยาภะรตราชา ท่านได้คัดแบบมาจากสมเด็จพระวันรัต วัด เบญจมบพิตร เมื่อมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๐ ในสมัยนั้นแบบสวดมนต์ที่ถูกต้องเป็นของ หายาก แต่ ล ะวั ด จะมี ก ารเล่ า บทท่ อ งจ� ำ สื บ ทอดกั น มา ท� ำ ให้ เ กิ ด วิ วั ฒ นาการ แตกต่างไปจากแบบเดิม การสวดบทบูชา พระรัตนตรัยนั้น ทางผู้บริหารของโรงเรียน ในยุ ค นั้ น ได้ ไ ปขอลอกแบบมาจากท่ า น เจ้าคุณพระธรรมโกศาจารย์ วัดราชาธิวาส และนักเรียนวชิราวุธฯ ก็ได้ใช้สวดต่อๆ กันมา จนถึงทุกวันนี้ ส่วนคาถาต่างๆ ดังที่ปรากฏ ในหนังสือสวดมนต์ของเรานั้น ได้รับความ กรุณาจาก คุณวัน นวลยง แห่งกรมศิลปากร ช่วยคัดเลือกโดยให้ คุณแปลก สนธิรักษ์ แห่งกรมการศาสนา ช่วยดัดแปลงแก้ไข ค�ำแปลให้ตรงตามสมัยนิยมเพือ่ ให้เกิดความ เข้ า ใจ รวมไปถึ ง ได้ จ ากการค้ น คว้ า และ คัดลอกมาโดย คุณอรุณ ใจงาม หรือที่ ได้ยินนักเรียนเก่าฯ ในยุคนั้นเรียกท่านว่า

“มหาอรุณ” ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๓ หนังสือ ที่พิมพ์ไว้ครั้งแรกได้หมดจ�ำนวนลง ครูของ โรงเรียนคือ หลวงธรรมสารประศาสน์ ได้ ร่วมกับมหาอรุณ ท�ำการเพิม่ เติมคาถาลงไป อีก สามปีต่อมาหลังจากนั้น ท่านมหาอรุณ ก็ได้เพิ่มเติ ม เครื่ อ งหมายวรรคตอนลงไป ในบทสวดมนต์ ด้วยความเชื่อที่ว่าจะท�ำให้ การสวดมนต์ของนักเรียนง่ายขึน้ การกระท�ำ ดังกล่าว เป็นงานที่มีรายละเอียดสูงสร้าง ความล�ำบากในการจัดเรียงตัวพิมพ์มใิ ช่นอ้ ย และเป็นจุดเริม่ ต้นของความผิดพลาดในการ สะกด การออกเสียงและการสือ่ ความหมาย ในภาษาบาลี แม้กระนั้นหนังสือสวดมนต์ ของวชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ก็ ยั ง เป็ น ที่ นิ ย มของ พุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป เนื่องจากเนื้อหา บทสวดที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์กว่าหนังสือ สวดมนต์โดยทั่วไปตามท้องตลาด ในการพิ ม พ์ ค รั้ ง ต่ อ มาในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ โรงเรียนได้รับความกรุณาอีกครั้ง จากพระราชวิสุทธิเวที วัดเบญจมบพิตร ใน การตรวจแก้ไขตัวสะกดที่ผิดพลาด และ เป็นฉบับหนังสือสวดมนต์ที่เราใช้กันเรื่อย มาจนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้ก�ำกับ คณะพญาไทในสมัยนั้นคือ คุณครูภาณุพงศ์ เวชชาชีวะ ผู้ซึ่งมีศรัทธาในการสวดมนต์ เป็นอย่างแรงกล้า ได้ขออนุญาตท่านอดีต ผู้บังคับการ ดร.กัลย์ อิสรเสนา ณ อยุธยา เพิ่ ม เติ ม บทพระคาถาชิ น บั ญ ชรลงไปใน หนังสือสวดมนต์ของโรงเรียน (ครูภานุพงศ์


เป็นผู้ที่สวดคาถาชินบัญชรได้คล่องขนาด ที่สามารถสวดไปกลับถอยหน้าถอยหลังได้ แต่เราก็ไม่เคยน�ำคาถานี้มาใช้แต่อย่างใด รวมไปถึ ง คาถาในหนั ง สื อ สวดมนต์ อี ก หลายๆ คาถาที่ค� ำบาลีฉันทลักษณ์ไม่ลง รอยกับท�ำนองสวดที่เราคุ้นเคยสวดกันอยู่ ในโรงเรียน) ตลอดระยะเวลาในช่วงห้าปีหลังจาก นั้ น คุ ณ ครู ภ านุ พ งศ์ ไ ด้ พ ยายามทุ ่ ม เท แรงกายแรงใจในการปรับปรุงแก้ไขวิธีการ สวดมนต์ของนักเรียนบนหอประชุม ตลอดไป จนถึงการสรรหาบทพระคาถามาเพิม่ เติมลง ในหนังสือสวดมนต์ เป็นต้นว่า คาถายอด พระกัณฑ์ไตรปิฎก แต่เดิมก่อนหน้านี้เรา สวดพระคาถา โดยไม่ต้องสวดค�ำแปล เรา เพิ่งมาเริ่มสวดบาลีแปลไทยกันในสมัยครู ภานุพงศ์นี่เอง อาตมาเองก็อยู่ในเหตุการณ์ ในช่ ว งเวลานั้ น พอดี ในขณะนั้ น อาตมา ไม่เห็นด้วยกับการสวดมนต์แบบแปล ด้วย เหตุผลแบบเด็กๆ คือ ท�ำให้เราต้องใช้เวลา ในการนั่งอยู่บนหอประชุมนานขึ้นอีกเกือบ เท่าตัว ถ้าวันไหนตรงกับวันอาทิตย์ที่ต้อง สวดมนต์บท “ท�ำวัตรเช้า” ด้วยแล้วยิ่งท�ำให้ รู้สึกท้อใจเป็นก�ำลัง เนื่องจากเป็นบทสวดที่ ต้องใช้เวลากันนานเป็นชั่วโมง ซ�้ำยังจะต้อง ต่อด้วย “คาถา” อีกต่างหาก อย่ า งไรก็ ต าม ผลงานที่ อ าจารย์ ภาณุพ งศ์ฝากไว้ใ นหนังสือสวดมนต์ที่น่า อนุ โ มทนา คื อ การไปขอพระราชทาน พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ ครัง้ ทรงผนวช เมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๗ จากสมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ม า ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ ไ ว ้ ใ น ห นั ง สื อ ส ว ด ม น ต ์ ของโรงเรี ย นเราตั้ ง แต่ ฉ บั บ ที่ พิ ม พ์ ใ นปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน อัน ที่ จ ริ ง อาตมาคิ ด ว่ า ทางโรงเรี ย นน่ า จะขอ พระราชทานพระบรมฉายาลั ก ษณ์ ท รง ผนวชของรั ช กาลที่ ๗ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ และสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิราชฯ มาประดิษฐ์ไว้ใน หนังสือสวดมนต์ของวชิราวุธวิทยาลัย เพื่อ เป็นการระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อ โรงเรียนของเราด้วย จากประวั ติ ศ าสตร์ เ รื่ อ งหนั ง สื อ สวดมนต์ที่อาตมาได้ไล่เรียงมานี้ จะเห็นได้ ว่าวิวฒ ั นาการของ ธรรมเนียมการสวดมนต์ ในวชิราวุธวิทยาลัย ไม่เคยมีการยึดแบบแผน ตายตัว หรือตามหลักการปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้องแต่ อย่างใด แต่มกั จะมีการเพิม่ เติม ปรับเปลีย่ น อยู่บ่อยครั้งตามความรู้ ความเข้าใจของ บุคลากรภายในโรงเรียนในแต่ละยุคแต่ละ สมัยทีไ่ ด้มโี อกาสเข้ามาท�ำงาน โดยบุคลากร ของโรงเรียนคนใดก็ตามที่พอจะมีคุณวุฒิ เปรียญบาลีก็มักจะเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้ท�ำหน้าที่นี้ในโรงเรียน ผลที่เกิดขึ้นตาม มาคือ ๑. บทสวดมนต์ในหนังสือหลายบท ได้ถูกแก้ไขดัดแปลงท�ำให้พุทธวจนะผิดไป จากของเดิม anumanavasarn.com


32  หอประชุม ๒. นักเรียนซึ่งใช้บทสวดมนต์นั้น ย่อมไม่สามารถสวดมนต์อย่างถูกต้องได้ ๓. การสวดมนต์ควรจะน้อมน�ำให้ เกิดสมาธิภาวนา กลับกลายเป็นได้ “ถีน มิทธะนิวรณ์” คือ ความง่วงนอนทุกครั้ง ที่ขึ้นหอประชุม ปัญหาเหล่านี้ชวนให้เราคิดว่า ถึง เวลาหรื อ ยั ง ที่ นั ก เรี ย นวชิ ร าวุ ธ ฯ เรานั้ น ควรจะได้มาทบทวนกันอย่างจริงจังว่า เรา จะยึดถือแบบแผนหรือหลักการใดในการ สวดมนต์จึงจะดี ซึ่งเรื่องนี้อาตมาขอลอง เสนอข้อวิสัชนาตามเหตุและผลที่ได้ค้นคว้า มาเพื่อให้พิจารณากันดังต่อไปนี้ ตามประวั ติ ศ าสตร์ ดั ง ที่ ทุ ก คน ทราบกั น ดี อ ยู ่ แ ล้ ว ว่ า พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชด�ำริ ว่า ในรัชกาลก่อนได้สร้างวัดกันมาเยอะ แล้ ว จึ ง ทรงมี พ ระราชประสงค์ ใ ห้ ส ร้ า ง โรงเรียนมหาดเล็กหลวงขึ้นแทนวัดประจ�ำ รัชกาล ด้วยเหตุนี้เอง จึงท�ำให้วัดบวรนิเวศ วิหาร ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ ได้ถูก ยกระดับขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นพิเศษ ประจ�ำรัชกาลที่ ๖ เนื่องด้วยเคยเป็นวัดทรง ผนวชของพระองค์ทา่ นและพระมหากษัตริย์ ไทยอีกหลายพระองค์ รวมไปถึงพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันอีกด้วย นอกจากนีว้ ดั บวรฯ ยังเป็นศูนย์กลางทางการ ศึกษาพุทธศาสนาที่ส�ำคัญของประเทศไทย และเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช เจ้าหลายพระองค์ จึงเป็นเรื่องที่น่าคิดเป็น

อย่างยิ่งว่า แบบแผนการสวดมนต์ของวัด บวรนิเวศวิหารนั้นสมควรที่จะน�ำมาใช้เป็น แหล่งอ้างอิง ส�ำหรับการสวดมนต์ในวชิราวุธ วิทยาลัย ซึง่ เป็นโรงเรียนของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั และมีหน้าทีส่ �ำคัญ ที่จะต้องรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีทาง พุทธศาสนาให้ถูกต้องตามแบบโบราณราช ประเพณี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อค�ำนึงถึง ความส�ำคัญในพระราชศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาขององค์ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ แล้ว พระองค์ท่านคงจะทรงโปรดให้โรงเรียนของ พระองค์ท่านปฏิบัติไปในแนวทางที่ถูกต้อง มิใช่ปฏิบัติแบบตามมีตามเกิด หรือท�ำสืบ ต่อๆ กันมาโดยไม่มีที่มาที่ไปอย่างที่เป็นอยู่ เป็นแน่แท้ หลั ง จากที่ ไ ด้ ศึ ก ษาวิ จั ย ค้ น คว้ า และทดลองสวดมนต์ตามวัดต่างๆ ด้วยตัว เองมาแรมปี คือ ตั้งแต่เมื่อประมาณเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นมา จนประจักษ์ แจ้งแก่ใจถึงผลานิสงส์ของพระพุทธมนต์ ท� ำ ให้ อ าตมาเกิ ด ศรั ท ธาอย่ า งมากใน พระพุทธศาสนาและพอจะเห็นทางดับทุกข์ ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส สอน จึ ง ได้ ตั ด สิ น ใจ ออกบวช โดยได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้เป็นนาค หลวงอุปสมบท ณ พระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง เมือ่ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา เมื่ออุปสมบทแล้วก็ได้มาจ�ำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ที่พระต�ำหนักทรง


พรต และก็ เ หมื อ นดั ง เช่ น ทุ ก ๆ ครั้ ง ที่ พานพบสิ่งดีๆ เข้ามาในชีวิต สิ่งแรกที่นึกถึง คือโรงเรียน ดังนั้นภารกิจแรกที่ได้ท�ำ คือ สานต่อโครงการหลักสูตรสวดมนต์วชิราวุธ วิทยาลัยที่ท�ำค้างไว้จนเสร็จสมบูรณ์ ภายใต้ ความกรุ ณ าของสมเด็ จ พระวั น รั ต พระ อุปัชฌาย์ โดยท่านได้แนะน�ำให้ลอกแบบ บทสวดมนต์ ม าจาก บทสวดมนต์ ฉ บั บ หลวง ส่วนวิธีการสวดก็ให้ดัดแปลงมาจาก แบบของวัดบวรนิเวศวิหาร อันมีหลักฐาน อ้างอิงทางประวัติศาสตร์อันน่าเชื่อถือได้ว่า พระเจ้าอยู่หัวของเราก็ทรงสวดแบบนี้ จาก การที่อาตมาได้เข้ามาท�ำการศึกษาในเรื่อง นี้อย่างจริงจัง โดยได้รับความกรุณาจาก พระเถรานุเถระที่เป็นคณาจารย์ทางด้าน ภาษาบาลีและการสวดมนต์ ท�ำให้ได้ข้อ

สรุปอันเป็นแนวทางส�ำหรับยึดถือปฏิบัติที่ เหมาะสมทีส่ ดุ ส�ำหรับนักเรียนวชิราวุธฯ ดังนี้ ๑. บทสวดสาธยายมนต์ตา่ งๆ สมเด็จ พระวันรัตเห็นสมควรให้สอบทานและลอก แบบมาจากหนั ง สื อ สวดมนต์ ฉ บั บ หลวง ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวทรงมีพระราชศรัทธาให้สร้างขึ้น เพื่อ พระราชทานถวายพระอารามหลวงทั่ ว ประเทศ ทรงเล็งเห็นปัญหาความคลาดเคลือ่ น ของบทสวดในแต่พระอารามละแห่ง โดย มี พ ระราชประสงค์ ใ ห้ เ ป็ น แบบมาตรฐาน เดียวกัน เพื่อเป็นการสะดวกแก่การท่อง บทสาธยาย ๒. ธรรมเนียมการสวดมนต์ ที่ใช้ กันอยู่ในประเทศไทยมีวิธีและท�ำนองการ สวดหลักๆ อยูส่ องแบบคือ ๑. แบบมคธ คือ anumanavasarn.com


34  หอประชุม การสวดเน้นการออกเสียงส�ำเนียงอักขระ ให้ถูกต้องและแบ่งวรรคตอนตามโครงสร้าง ฉันทลักษณ์บาลี ๒. แบบสังโยค คือ การ ออกเสียงต่อเนื่องโดยใช้เสียงตัวสะกดแบบ ภาษาไทย ส่วนการสวดท�ำนองสรภัญญะนัน้ ส่วนมากใช้สวดเป็นบทขัดต�ำนานหรือบทน�ำ สวด แต่จะมีบ้างที่จะประพันธ์ขึ้นมาเฉพาะ ส่วนมากจะเป็นบทส�ำหรับให้นกั เรียนใช้สวด ท่องกันตามโรงเรียนทั่วไป เช่น บทองค์ใด พระสัมพุทธ สุวิสุทธสันดาน โดยพระศรี สุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ทัง้ นี้ หลักสูตรการสวดมนต์แต่ละวัน จะประกอบไปด้วย ๑. บทบูชาพระรัตนตรัย ย่อจากบท ท�ำวัตรเช้าพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔ ๒. บทพระสูตร พระคาถา และพระ ปริตรประจ�ำวัน สวดทัง้ มคธและสังโยคสลับ กันไป โดยยังคงท�ำนองสรภัญญะและแปลใน บางบท ตามความถูกต้องเหมาะสม ๓. บทแผ่เมตตาเจริญพรหมวิหาร ๔. บ ท ถ ว า ย พ ร ะ ร า ช กุ ศ ล แ ด ่ ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ พระนิพนธ์ในสมเด็จ พระญาณสั ง วรสมเด็ จ พระสั ง ฆราชสกล มหาสังฆปรินายก และในทุกๆ วันอาทิตย์ที่นักเรียนอยู่ โรงเรียนเราจะสวดท�ำวัตรเช้าแบบเต็มและ ต่อด้วยพระสูตรที่ส�ำคัญ เช่น ธรรมจักร กัปปวัตตนสูตร เป็นต้น อาจฟังดูเป็นของ แปลกใหม่สำ� หรับผูท้ เี่ คยชินกับการสวดตาม กันต่อๆ กันมา แต่อันที่จริงไม่ได้มีของใหม่

เพิม่ เข้ามาแต่อย่างใด ทุกอย่างล้วนมีอยูแ่ ล้ว แต่ดงั้ เดิมทัง้ สิน้ เราเพียงแต่ปรับปรุงวิธกี าร สวดให้ถูกต้องเท่านั้น นับเป็นเรื่องน่ายินดียิ่งที่ก่อนหน้า นี้พวกเราได้อานิสงส์จากโรงเรียนเพียงแค่ พออ่านตัวสะกดภาษาบาลีออก แต่เราไม่ สามารถจดจ�ำพุทธมนต์ต่างๆ ได้เพียงเท่านี้ ก็ถือว่าก้าวหน้ากว่าพวกอื่นเยอะแล้ว แต่ ต่อไปนี้นักเรียนวชิราวุธฯ จะเป็นผู้สืบทอด และด�ำรงค์ไว้ซึ่งธรรมเนียมการสวดมนต์ที่ ถูกต้องเป็นมาตรฐาน ทั้งส�ำเนียงการออก เสียงและท�ำนองการสวด ซึ่งสามารถน� ำ ไปใช้ได้ตลอดชีวิตและเข้ากันได้กับทุกวัด ในประเทศไทย ทั้งธรรมยุติและมหานิกาย นักเรียนวชิราวุธฯ ครูอาจารย์ตลอดจนบุคลากร ในโรงเรี ย นก็ จ ะได้ รั บ อานิ ส งส์ จ ากการ


สวดมนต์อย่างเต็มที่ พุทธมนต์จะติดตัว ติ ด ใจนั ก เรี ย นไปตลอดชี วิ ต หลั ง จากที่ ไ ด้ ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนไปแล้ว ในนามของโรงเรี ย นและในฐานะ ผูป้ ระสานงานโครงการ อาตมาภาพขอกราบ ขอบพระคุณ พระเดชพระคุณเจ้าทั้งหลาย ผู้ซึ่งเป็นทั้งพระอุปัชฌาย์และพระอาจารย์ ของอาตมา ในความเมตตากรุณาอนุเคราะห์ ให้คำ� ปรึกษา ตลอดจนความช่วยเหลือต่างๆ ทั้งการตรวจทานต้นฉบับ รวมไปถึงการรับ นิมนต์ไปช่วยฝึกสอนนักเรียนที่โรงเรียน และได้ให้ความกรุณาบันทึกเสียงสวดมนต์ ลงในแผ่ น ซี ดี แ ม่ แ บบ จนท� ำให้โครงการ ดังกล่าวแล้วเสร็จลงด้วยดี ดังมีรายนาม ต่อไปนี้ ๑. สมเด็จพระวันรัต ๒. พระราชวิสุทธิญาณ ๓. พระบวรสุทธิวงศ์ ๔. พระศรีวิสุทธิกวี ๕. พระอาจารย์แครอล กันตสีโล ๖. พระมหา ม.ร.ว.นันทวัฒน์ ชยวฒฺโน ๗. พระเจริญ สุภวุฑฺฒิโก ๘. พระมหา ดร.ธวัชชัย ปญฺญาชโย ๙. พระเอกพล จิตพโล ๑๐. พระวรชัย ทมวโร ๑๑. พระทศพร คุณวโร ในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี ใ นปี พ.ศ. ๒๕๕๓ นี้ วชิราวุธวิทยาลัย โดยความ เห็นชอบจากท่านผูบ้ งั คับการ ได้เป็นเจ้าภาพ

สร้ า งแผ่ น ซี ดี แ ม่ แ บบ บทสวดมนต์ ฉ บั บ หลวง ถวายแด่พระอารามหลวงและวัดต่างๆ ทั่วประเทศเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ สมดังพุทธภาษิตทีว่ า่ “สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ การให้ ธ รรมทาน เป็ น ทานอั น ประเสริ ฐ ย่อมชนะการให้ทานทั้งปวง” อาตมาก็ขอ อนุโมทนาในกุศลกรรมครั้งนี้ด้วยมุทิตาจิต อย่างยิ่ง แผ่ น ซี ดี ดั ง กล่ า ว จะแนบอยู ่ ใ น หนังสือสวดมนต์วชิราวุธวิทยาลัยฉบับร้อยปี ที่ก�ำลังจะจัดพิมพ์ให้ทันงานฉลองในปีนี้ จึง ใคร่ขอเรียนเชิญพี่น้องโอวีที่รักทุกท่าน มา ร่วมกันเจริญพระพุทธมนต์ไปพร้อมๆ กับ นักเรียนวชิราวุธฯ เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่องค์พระผู้พระราชทานก�ำเนิดโรงเรียน ของเราในปีอันเป็นมงคลนี้เป็นต้นไป อาตมามีความเชือ่ มัน่ เป็นอย่างยิง่ ว่า หลักสูตรการสวดมนต์ที่ถูกต้องต่อไปนี้นั้น จะมีสว่ นในการอบรมจิตใจนักเรียนวชิราวุธฯ ให้ ยึ ด มั่ น อยู ่ ใ นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและ ศีลธรรม ด�ำเนินชีวติ อยูด่ ว้ ยความเป็นมงคล ทัง้ ๓๘ ประการ สมดังพุทธมนต์ทวี่ า่ ไว้ดว้ ย ประการทั้งปวง ขอเจริญพร พระนิธิศ เมธาวี พระต�ำหนักทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร

(นิธิศ นวรัตน ณ อยุธยา) รุ่น ๖๕ สร. / พท. (ปีการศึกษา ๒๕๒๖ – ๒๕๓๕) anumanavasarn.com


36

คอลัมน์พิเศษ

พระนิพนธ์ของ ม.จ.หญิงพูนพิศมัย ดิศกุล

สิ่งที่ข้าพเจ้าได้พบเห็น

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ (ตอนที่ ๒)

ประทับเหนือพระแท่นหน้าพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร พร้อมด้วยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส พระราชอุปัธยาจารย์ และสามเณรสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์


เสด็จกลับทาง America ได้ทอดพระ เนตร์เห็นความเจริญอันเกิดขึน้ ได้ดว้ ย ความ ขยันหมัน่ เพียรและ Energy ของคนอเมริกนั ย่อมเป็นเหตุให้เกิดความปรารถนาเช่นนั้น บ้างเป็นธรรมดา จะป่วยกล่าวไปใยถึงผู้ที่ ได้อยู่ในความเจริญมาถึง ๙ ปี ๑๐ ปีแล้ว ข้าพเจ้าเองโชคเคาะให้ไปยุโรปมาเพียง ... เดือน ได้เห็นได้ฟังมาครู่เดียว ยังรุ่มร้อน อยากได้อยากมีในเมืองของตนบ้าง และกลับ มาคิดแล้วคิดเล่าว่ายอมทุกอย่างที่จะฟันฝ่า ความล�ำบากเพื่อท�ำอะไรให้เป็นประโยชน์ แก่ผหู้ ญิงไทย จนเกิดเหตุการณ์ให้เราจ�ำต้อง ออกไปอยูเ่ สียต่างประเทศ จึงหายอยากและ นึกสมน�้ำหน้าตัวเอง ! Last but not least, ได้เสด็จกลับมาทาง เมืองญี่ปุ่น ซึ่งเป็นชาวตะวันออก สีเหลืองๆ ด้วยกัน พูดจาโฮะฮะกัน ๒-๓ ค�ำ เขาก็เจริญ ให้ดูได้อย่างน่าพิศวงงงงวยก็ท� ำไมเราจะ เจริญบ้างไม่ได้บ้างเล่า ? เมื่ อ เป็ น เช่ น กล่ า วมานี้ แ ล้ ว จะ ประหลาดหรือที่สมเด็จพระบรมฯ ของเรา จะไม่เสด็จกลับมาพร้อมด้วยความมุ่งมั่น หมายต่างๆ ทีท่ รงคิดไว้และพร้อมด้วยความ รักชาติอันแรงกล้าของบุรุษหนุ่มอันเพิ่งเข้า เต็มชันษา ๒๒ ปีบริบูรณ์ แต่อนิจจา ผล ของการที่ได้ทรงอุทิศความสนุกสบายของ เด็กหนุ่มทั้งหลายมาแต่พระชันษาได้ ๑๕ ปี ทรงซือ่ ตรงต่อหน้าทีข่ องค�ำว่า – The Crown Prince ไม่ให้มีด่างพร้อย ทรงอดทนและ มุ่งต่อการเล่าเรียนจนควรนับได้ว่าทรงได้

Supremacy และ Prestige จากพวกนักเรียน ด้วยกันกลับมา เพราะเจ้านายชุดเดียวกัน เคยทรงเล่ า ว่ า “ฉั น เคยรั ก กั น มากอย่ า ง สนิทสนมจนท่านหลงหนังสือขึ้นมา ก็เลย ห่างกันไป” ถ้ามีสงิ่ ไรบกพร่อง พวกนักเรียน ด้ ว ยกั น คงไม่ มี ใ ครลื ม ที่ จ ะเล่ า แม้ อ ย่ า ง กระซิบ การอุทศิ พระชนม์ชพี มาแล้วเท่าไรนี้ หาได้เกิดผลดังมุง่ หมายไว้แค่อย่างหนึง่ อย่าง ใดไม่ ถ้าจะเปรียบก็เหมือนหนึ่งว่า- ทรง น�ำลูก Pear อันสุกงอมหอมหวานมาด้วย พระหัตถ์เอง ด้วยความหวังอันแรงกล้าที่จะ เพาะพันธุ์ให้ขึ้นในเมืองไทยนี้ แต่ต้นแปร์ไม่ เคยมีและไม่ยอมขึ้น ลูกไม้ชนิดหนึ่งที่เรา เคยกินกันอย่างใกล้แปร์ ก็คอื ลูกสาลีอ่ นั มีมา แต่เมืองจีน รสชาติก์ ไ็ ปอีกอย่างหนึง่ และดัง เกวี๊ยวกว๊าวอยู่ในปากเวลากินจนบัดนี้ เรื่อง East กับ West ผลสมกันใหม่ นี้เป็นเรื่องที่น่าเศร้าใจอย่างยิ่ง แต่ถ้าเราจะ ดูกันอย่างขันๆ บางสิ่งก็ท�ำให้หัวเราะจน เกือบหยุดไม่ได้ทีเดียว ดูประหนึ่งว่าจะไม่มี ทางที่จะเข้าใจกันได้จริงเสียเลย ทั้งในเรื่อง ส่วนตัวและการงาน ดังจะเห็นได้ต่อไปใน หนังสือเล่มนี้ แม้ในปัจจุบันนี้ก็น่าสงสัยนัก ว่าใครเข้าใจใคร ? เมือ่ สมเด็จพระบรมฯ ได้เสด็จประทับ อยู่ในวังสราญรมย์เรียบร้อยแล้ว การถวาย ตัวเป็นข้าให้ทรงใช้สอยก็ตั้งต้น เด็กหนุ่มๆ มากมายทัง้ ลูกเจ้านายและข้าราชการทุกชัน้ บรรดาศักดิ์ จมืน่ มหาดเล็ก (สาย ณ มหาไชย ภายหลังเป็นพระยาบ�ำเรอบริรักษ์) เป็น anumanavasarn.com


38

คอลัมน์พิเศษ

ผู้ใหญ่ดูแลทั่วไปในวังนั้น สมเด็จพระราช บิ ด าโปรดให้ ท รงไปประจ� ำ อยู่ใ นกรมราช เลขาธิการกับกรมพระสมมตอมรพันธุ์ ด้วย ในที่นั้นจะได้ทรงทราบเรื่องการบ้านเมือง ได้หมด และโปรดให้ประทับอยู่ในที่ประชุม เสนาบดีด้วย พ.ศ. ๒๔๔๗ ได้เสด็จทรงผนวชเป็น พระภิกษุตามราชประเพณีในพระอุโบสถ วัด พระศรีรตั นศาสดาราม แล้วเสด็จไปประทับ อยู ่ กั บ กรมหลวงวชิ ร ญาณวโรรส ผู ้ ท รง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌายาจารย์ ยั ง วั ด บวรนิ เ วศ ทรงเล่าเรียนพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด จนตลอดพรรษาแล้วทรงรับพระธรรมมา ทั้งการเล่าเรียนต่อมาและทรงประพฤติเอง อย่างลึกซึ้ง ซึ่งในพวกนักเรียนนอกด้วยกัน ไม่มใี ครเสมอเหมือน ทรงสามารถเทียบเคียง สาสนาต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ดังจะเห็นได้ ตามพระราชนิพนธ์ต่างๆ ในเรื่องสาสนา พราหมณ์อนั เป็นคัมภีรเ์ ก่า Old Testament ของเราและทรงทราบการพิ ธี ข องสาสนา Christ และ Islam ได้ตลอดด้วย ถ้าจะเรียก ว่าทรงเป็นนักสาสนา คือ Religionist ก็ไม่ ผิด ส่วนความประพฤติส่วนพระองค์นั้นเล่า ผู้ใดที่มีโอกาสรู้จักจริงๆ จะต้องยอมรับเป็น ความจริงว่า พระกาย - ทรงบังคับได้จริงๆ เพราะมี Self Control และไม่เคยมีกริ ยิ าของ คนโอหัง arrogant เลยแม้แต่สักนิด พระวาจา = ค�ำน้อยก็ไม่มซี งึ่ หยาบคาย มีสัมมาคาระวะไม่ว่ากับใคร แม้แต่ในค�ำน�ำ หนังสือทีท่ รงเขียนไว้ทกุ เล่ม ไม่มเี ลยสักเล่ม

ที่จะไม่มีค�ำว่า ขออภัย อย่างกริ้วก็เมินเฉย ไปพักหนึ่งเท่านั้น เวลาทรงคุยเล่าอะไรถึง ออกท่าทาง ก็ไม่มีหยาบ พระหทัย = พระราชนิสสัยอันอ่อน โยนตามธรรมชาติของพระองค์ บวกเข้ากับ ทางพุทธสาสนาอย่างลึกซึ้ง จึงท�ำให้ทรง หนักไปทางธรรมยิง่ กว่าทางโลก ทรงมักน้อย สันโดษ ไม่จู้จี้หยุมหยิม จนสอาดเกินกว่าที่ จะเห็นสิ่งโสโครกตามโลกียวิสัยได้ ข้าพเจ้า แน่ใจว่า ถ้าทรงเลือกตามพระราชหฤทัยได้ จะทรงผนวชอยู ่ เ ลยหรื อ มิ ฉ ะนั้ น ก็ จ ะทรง ท�ำงานอยู่ในหอพระสมุดส�ำหรับพระนคร นีเ้ อง เพราะข้าพเจ้าเคยได้ยนิ ตรัสกับเสด็จพ่อ เย็นวันหนึ่ง ในเวลาประทับคุยกันเล่นอยู่ที่ สนามจันทร์ (พระปฐมเจดีย์) ว่า “กรมพระ ด�ำรง ตาผมยาว, เครายาว, ใส่แว่นตา, มือ คล�ำหนังสืออยู่ตลอดวันนั้น, เป็นสุขจริงๆ“ ทรงย�้ ำ ค� ำ ท้ า ยนี้ แ ล้ ว ท่ า นก็ ท รงพระสรวล อย่างเข้าพระทัยกันทั้งสององค์ นี่คือสมเด็จ พระบรมฯ และพระเจ้าอยู่หัว – พระองค์ที่ ข้าพเจ้าได้รู้จักแล้ว เมื่อครบเวลา ๑ พรรษาแล้ว ก็ทรง ลาผนวช เสด็จกลับมาประทับยังวังสราญรมย์ และทรงงานดังเคยมา ในตอนนี้ที่ได้ทรงตั้ง สโมสรชื่อ “ทวีปัญญา” ขึ้นในวังที่ประทับ มีจุดพระประสงค์ให้เกิดความรู้ซึ่งกันแลกัน ตามชื่อของสโมสร มีห้องหนังสือ, ห้องพัก, ห้องบิลเลียด, ที่เล่นเกมต่างๆ ทั้งในที่กลาง แจ้งและในหลังคาครบถ้วนตามต� ำราของ Club ในเมืองอังกฤษ แล้วทรงออกหนังสือ


ทรงฉายทีพ่ ระต�ำหนักเกรตนีย์ (Graitney) เมืองแคมเบอร์ลยี่ ์ (Camberley) ประเทศอังกฤษ เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ คราวทรงหยุดพักการเล่าเรียนเนื่องในเทศกาลตรุษฝรั่ง (คริสต์มาส) (จากซ้าย) ๑. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ ก�ำแพงเพชรอัครโยธิน) ๒. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒน์พงศ์ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมืน่ พิไชยมหินทโรดม) ๓. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ) ๔. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ (พระเจ้า บรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ๕. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุน มไหสุริยสงขลา (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระนครสวรรค์วรพิต) ๖. สมเด็จ พระลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนพิษณุโลกประชานาถ (สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าฯ กรมหลวง พิษณุโลกประชานาถ)

รายเดือนเรียกว่า “ทวีปัญญา” ด้วย ทรง เชิญชวนให้เจ้านายและข้าราชการเข้าเป็น สมาชิกและส่งเรื่องต่างๆ ไปลงในหนังสือ นัน้ แค่พระองค์เองทรงเขียนทัง้ แต่งและแปล มากกว่าผู้ใดๆ จึงควรนับว่าพระองค์ได้ทรง คิดส�ำนวนในภาษาไทย รวมทัง้ ลายพระหัตถ์ อย่างใหม่ new school ขึ้นในครั้งนั้น ซึ่งยัง

คงเห็นได้อยูจ่ นทุกวันนี้ ในเรือ่ งแปลหนังสือ ภาษาอื่นเป็นภาษาไทย หรือแปลภาษาไทย ออกเป็นภาษาอื่นนี้ ในพวกนักเรียนนอก ทั้งหมดที่ข้าพเจ้ารู้จัก มีอยู่เพียง ๓ คน คือ ๑. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒. กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ๓. พระองค์เจ้าธานีนิวัต anumanavasarn.com


40

คอลัมน์พิเศษ

เป็นผู้ที่แปลอย่างดีเลิศล้น (Beautifully done) ไม่มใี ครเหมือนจริงๆ ยังจะหาหนังสือ ที่จะพิสูจน์ได้อย่างว่านี้อยู่หลายเรื่อง น่า เสียดายที่มีอยู่เพียง ๓ องค์ และทุกองค์ ทรงมีงานอืน่ ท�ำยิง่ กว่าทีจ่ ะนัง่ แต่แปลหนังสือ มิ ฉ ะนั้ น โลกจะต้ อ งเลื่ อ งลื อ ถึ ง วั ฒ นธรรม Culture ของคนไทย โดยเฉพาะเรื่ อ ง บทกลอนของไทยทีม่ อี ยูห่ ลายอย่างต่างชนิด และล้วนไพเราะเพราะพริ้งจับอกจับใจ จะ อ่านไปทางไหนทัง้ ทวนหน้าทบหลังย้อนมาก็ คล้องกันได้ บางคราวท�ำให้ขา้ พเจ้านึกทะนง ถามตนเองว่า “มีบทกลอนที่ไหน, เหมือน

เช่นนี้บ้างหนอ?” แม้สระพยัญชะนะ รวม ทั้งไม้เอก, โท, ตรี, จัตวา, กากะบาด อันมี เสียงผันได้อยู่ ๕ ก็สามารถจะออกเสียงตาม ภาษาต่างๆ ได้ชดั เจน ถ้า Literature ของเรา ไม่ควรนับว่าเป็นพวกที่ ๑ ในโลก, ก็เกือบไป การเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช นั้น ไม่ใช่เป็นต�ำแหน่งที่สนุกอย่างที่คนคิด ด้วยตาเห็น เพราะถ้าทรงงึมง�ำไม่แสดงว่า สามารถ ก็จะเป็นการหักล้างความหวังใน ภายหน้าของคนทัว่ ไป แต่ในเวลาเดียวกัน ถ้า ทรงปราชญ์เปรื่องเกินไป ก็เป็นการหักล้าง ความหวังการข่มรัศมีของพระเจ้าแผ่นดิน

ทรงฉายพร้อมด้วยสภากรรมการทวีปัญญาสโมสร ในการที่สภากรรมการทวีปัญญาสโมสรจัดการรื่นเริงส่งเสด็จ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนนครราชสีมา เสด็จออกไปทรงศึกษาวิชาการที่ประเทศอังกฤษ ณ พระต�ำหนักจิตรลดา


ฉะนั้ น มกุ ฎ ราชกุ ม ารจึ ง อยู ่ ใ นที่ ย ากไม่ ใ ช่ น้อยๆ ทุกประเทศด้วยกันทั้งหมด สมเด็จ พระบรมโอรสฯ ของเราทรงใส่พระทัยอยู่ ในอักษรศาสตร์และศิลป์ มีทรงแปลและ แต่งบทละคอนทั้งอย่างไทยและยุโรปให้ข้า ในพระองค์แสดง เรียกว่า “ละคอน และ โขนสมัคร์เล่น” เป็นเครื่องหย่อนพระทัย ในเวลาว่าง ไม่ทรงเกี่ยวแก่การเมืองเกิน พระต�ำแหน่งหน้าที่ เมื่อใดเหมาะแก่การจะ เสด็จออกทอดพระเนตร์บา้ นเมือง ก็จะเสด็จ ประพาสไปทุ ก ทางในพระราชอาณาจั ก ร มีเสด็จทางมณฑลพายัพและปักษ์ใต้ฝ่าย เหนือ เป็นต้น เมื่ อ เสด็ จ ประพาศมณฑลพายั พ ครั้งนี้ ยังต้องเดินทางด้วยม้าจากปลายทาง รถไฟเข้าป่าไป ก่อนวันเสด็จออกเดินทางได้ ทรงพระสุบินไปว่า - มียักษ์ตนหนึ่งมาเฝ้า ทูลว่าชือ่ หิรญ ั จะมาอยูเ่ ฝ้าดูแลรักษาพระองค์ มิให้มีภัยอย่างใดได้ จึงโปรดให้ช่างท�ำรูป ยักษ์ตามที่ทอดพระเนตร์เห็นในพระสุบิน นั้นรับไว้และเรียกว่า “ท้าวหิรัญ” ต่อมา และได้ ท รงศึ ก ษาในทางโบราณคดี ด ้ ว ย พระเนตร์ พ ระกรรณ์ เ อง จึ ง ไม่ มี เ หตุ ใ ห้ เป็ น ที่ ขุ ่ น เคื อ งพระราชหฤทั ย ของสมเด็ จ พระชนกาธิราชแต่ประการใด ดังจะเห็นได้ ในพระราชหัตถ์เลขา แม้ในเวลาจวนจะเสด็จ สวรรคตแล้วว่าทรงพระราชกรุณาและทรง ไว้วางพระราชหฤทัยในมกุฎราชกุมารมาถึง ๑๖ ปีด้วยความเรียบร้อยสมควร จนถึง วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ เวลาเช้า

กรมหลวงด�ำรงฯ เสด็จไปปลุกบรรธม เชิญ เสด็จเข้าไปยังพระราชวังสวนดุสิตแล้ว ก็ เป็นอันหมดเขตร์ของมกุฎราชกุมาร, เมื่อ พระชันษาอีก ๓ เดือนจะเต็ม ๓๐ ปี เมื่ อ สมเด็ จ พระชนกนารถเสด็ จ สวรรคตแล้ว สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ก็เลยเสด็จ เข้าทีพ่ ระบรรธมอยูใ่ นห้องพระทีน่ งั่ อัมพร ที่ เรียกว่า “ในที่ขาว” White Chamber อยู่ชั้น กลางแต่คืนนั้น มีมหาดเล็กในพระองค์อยู่ รับใช้ ๒-๓ คน ท่านพวกนี้เล่าว่าเวลาเสด็จ อยู่ในห้องพระบรรธม - ทรงเศร้าโศกมาก ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าจริง เพราะต่อมาไม่ชา้ ข้าพเจ้า เคยเข้าไปเฝ้าเวลาเสวยกลางวัน ในเวลานั้น เสวยพระองค์เดียวอย่างไทยแท้สำ� หรับกลาง วัน ประทับบนเยาะพับแข็งๆ มีที่ทรงพิง มีขนั น�ำ้ และพระสุพรรณศรี (กระโถน) และ พานผ้าเช็ดพระหัตถ์ทองวางอยูข่ า้ งขวา และ ชามหยกเลีย่ มทองสีเขียวคล�้ำใส่พระกระยา (ข้าว) วางบนโต๊ะทองเล็กตรงพระพักตร์ เครื่องเสวยใส่ชามฝาลายน�ำ้ ทองวางบนโต๊ะ เงิน ๓ โต๊ะ เรียกว่า – เครื่องใหญ่, เครื่อง เทียบ, เครื่องเคียง – หมายความว่าเครื่อง ใหญ่นั้น มีสิ่งที่จ�ำเป็น principal dishes เครื่องเทียบมีของผสม เช่นผักสดส�ำหรับ เครื่องจิ้มและปลา salads และเครื่องเคียง - มีสิ่งพิเศษ special dishes ใส่โต๊ะเล็ก กว่า ๒ โต๊ะก่อน (เขาจึงท�ำเป็นเถา ๓ ใบ) มีมหาดเล็กนุ่งผ้าม่วงสีน�้ำเงินหมอบคลาน ตั้งเครื่องและถวายอยู่งานทัดคนหนึ่ง เสด็จ ประทับบนเบาะที่พื้นพรม หันพระคะนอง anumanavasarn.com


42

คอลัมน์พิเศษ

(หลัง) ไปทางรูปกินรอัฒจรรย์ใหญ่ วันนั้น ตรัสเล่ากับข้าพเจ้าว่า “ฉันยังจ�ำได้ว่า-ตรงนี้ (ทรงชีพ้ ระหัตถ์ไปทีห่ น้าพระทวารจะออกไป หน้ามุข) ทูลกระหม่อม (สมเด็จพระชนกนารถ) รับสั่งกับฉันว่า – “รีบๆ สบายเสียเถิด” ทรง เล่าแล้วก็ทรงยิ้มอย่างสลดๆ เหมือนทรง ระลึกถึงสมเด็จพระชนก และทรงเห็นจริง ตามด้วย เห็นแล้วว่าเป็นพระเจ้าแผ่นดินนัน้ ไม่สนุกสบายเลยจริงๆ ! รุ่งขึ้นสรงน�ำ้ พระบรมศพแล้ว ก็ทรง พระราชด�ำเนินด้วยพระบาทน�ำเจ้านายและ ข้าราชการตามพระบรมศพไปยังพระบรม มหาราชวัง เมื่อเสร็จการตั้งและท�ำพิธีถวาย พระบรมศพแล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็เลย เสด็จประทับอยู่ในพระที่นั่งจักรีนั้นต่อมา เสด็จลงถวายบังคมพระบรมศพพร้อมด้วย สมเด็จพระราชชนนีทุกเวลาย�ำ่ ค�่ำจนตลอด เวลา ๖ เดือน เจ้านายและข้าราชการทั้ง ฝ่ายหน้าฝ่ายในก็ไปรวมกันเฝ้าที่พระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาทนั้นทุกวัน ถึงปลายปี พ.ศ. ๒๔๕๔ ก็เริ่มงาน ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระชนก นารถ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ คนทุกชั้นที่มีความปรารถนาจะท�ำบุญถวาย ได้ที่หน้าพระบรมศพ ฉะนั้นจึงมีงานที่หน้า พระบรมศพอยู ่ ห ลายวั น ราษฎร์ ทุ ก ชั้ น มีพวกพระเพือ่ นต้นก็เข้ามาท�ำบุญถวายจาก ต่างๆ เมือง จนถึงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๔๕๔ จึ ง ได้ เ คลื่ อ นกระบวนพระบรมศพไปยั ง ที่ พระเมรุมาศในท้องสนามหลวงตามขัตยิ ราช

ประเพณี แล้วถวายพระเพลิงเวลาบ่าย ๕ โมงวันนัน้ รุง่ เช้าเก็บพระบรมอัฐแิ ห่กลับเข้า ในพระบรมมหาราชวัง มีการท�ำบุญถวายอีก ครัง้ แล้วเชิญเสด็จขึน้ ประดิษฐานไว้ยงั ชัน้ บน พระที่นั่งจักรี เป็นเสร็จงาน แต่ยังมีการไว้ ทุกข์ถวายต่อมาจนครบ ๑ ปี เนื่ อ งแต่ ส มเด็ จ พระราชบิ ด าและ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รวมทั้ ง สมเด็ จ พระอนุ ช าหลายพระองค์ ไ ด้ ท รงคุ ้ น เคย กั บ พระราชวงศ์ ใ นยุ โ รปประเทศมาแล้ ว หลายเมือง เป็นเหตุให้ประมุขของประเทศ นั้นๆ แสดงพระราชประสงค์จะส่งผู้แทน พระองค์มาช่วยในงานพระราชพิธบี รมราชา ภิเศก, เช่นเดียวกับที่ทรงท�ำกันอยู่แล้วใน ยุโรป ฉะนั้นจึงต้องกะเวลางานให้เหมาะสม และเป็ น เวลาหนาวส� ำ หรั บ เจ้ า นายทาง ตะวันตก แต่ตามทางราชประเพณี-สมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จะต้ อ งเสด็ จ ขึ้ น ประทั บ ยั ง พระราชมณเฑี ย รสถานและจะต้ อ งสรง มุรกาภิเศกสนาน ทรงรับมหามงกุฎแล้วจึง จะเรียกว่า – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และใช้ค�ำว่า – รับพระบรมราชโองการได้ เต็มตามแบบโบราณ จึงเป็นเหตุให้ต้องมี การพระราชพิธีบรมราชาภิเศกเป็น ๒ ครั้ง ครั้ ง แรกมี ง านที่ พ ระที่ นั่ ง อมริ น ทร์ วินิจฉัย และพระที่นั่งไพศาลทักษิณ แล้ว เสด็ จ ขึ้ น พระราชมณเฑี ย รประทั บ อยู ่ ใ น พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานตามราชประเพณี นับเป็นวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน เป็นวันเสวย ราชย์ ฉั ต รมงคล ดั ง มี ร ายการแจ้ ง อยู ่ ใ น


พระราชกิจจานุเบกษาโดยถี่ถ้วนแล้ว ถึงเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๕ ในวันที่ ๒๘ และ ๒๙ เจ้านายและทูตพิเศษ จากยุโรปก็เสด็จมาถึง มี ๑. Prince William and Grand Duchess Marie of Sweden ประทับที่ พระราชวังสราญรมย์

๒. Grand Duke Boris of Russia ประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ๓. Prince Waldermar of Denmark กับพระราชโอรส ๓ พระองค์ คือ Prince Aake, Prince Axel และ Prince Eric ประทับที่พระราชวังพญาไท

(แถวนั่งจากซ้าย) ฮิส ซริน ไฮเนสส์ ปรินซ์อาเล็กซานเดอร์ ออฟเตก (H.S.H. Prince Alexander of Teck ฮิส อิมพีเรียล ไฮเนสส์ แกรนดุ๊กบอรีส (H.I.H. Grand Duke Boris Vladimirovich) เฮอร์ รอแยล ไฮเนสส์ ปรินซ์เซส วิลเลียม ดัชเชสส์แห่งสุเดอมาเนีย (H.R.H. Princess William Duchess of Sudermania) เฮอร์ รอแยล ไฮเนสส์ ปรินซ์เซส อาเล็กซานเดอร์ ออฟเตก (H.R.H. Princess Alexander of Teck) ฮิส รอแยล ไฮเนสส์ ปรินซ์วลั ดิมา (H.R.H. Prince Waldemar) ฮิส รอแยล ไฮเนสส์ ปรินซ์ วิลเลียมส์ ดุ๊คแห่งสุเดอมาเนีย (H.R.H. Prince William Duke of Sudermania) (แถวยืน - จากซ้าย) ปรินซ์อักเซล (H.R.H. Prince Aksel) ฮิส อิมพีเรียล ไฮเนสส์ ปรินซ์ ฮิโรยะสุ ฟูชิมิ (H.I.H. Prince Hiroyasu Fushimi) ปรินซ์ โอเก (H.R.H. Prince Aage) ปรินซ์ เอริก (H.R.H. Prince Erik)

anumanavasarn.com


44

คอลัมน์พิเศษ

๔. Prince Alexander และ Princess Alice of Teck, of Great Britain ประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ๕. Prince Horiyasu Fujimi of Japan ประทับที่พระที่นั่งอุดร ๖. Mr. & Mrs. Hamilton King of America ๗. Baron C, von der Goltz of Germany ๘. Senor Luis Pastor U de Mora of Spain ๙. Chamberlain H. L. Loevenskiold of Norway ๑๐. Chamberlain Count T. de Bolesta Koziebrodzki of Austria-Hungary ๑๑. Marquis D. E. de la Paune of Italy ๑๒. Monsieur P. de Mageri of France ๑๓. Mr. F. J. Domela Niewenhuis of Holland รวม ๑๓ ประเทศด้วยกันทั้งหมด ท่านผู้แทนประเทศต่างๆ นี้ได้เสด็จประทับ อยู่ที่ในพระราชวังต่างๆ มีข้าราชการไทย ประจ�ำรับรองอยูด่ ว้ ย นับเป็น Royal Guests ตลอดในเวลางาน ซึ่งเริ่มต้นในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายนนั้น และวันที่ ๒ ธันวาคม เป็น วั น ทรงพระมหามงกุ ฎ เสด็ จ ออกมุ ข เด็ จ พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาทให้ ร าษฎร เฝ้า แล้วเสด็จทรงพระราชยานแห่มายัง

วั ด พระศรี รั ต นสาสดาราม เพื่ อ ประกาศ พระองค์เป็นพุทธสาสนูปถัมภกในท่ามกลาง พระสงฆ์ราชาคณะ อันมีสมเด็จพระมหา สมณะกรมหลวง วชิรญาณเป็นประธาน แล้วเสด็จขึน้ รุง่ ขึน้ วันที่ ๓ มีแห่พยุหยาตรา กระบวนใหญ่เลียบพระนครทางบก และวันที่ ๔ เสด็จทางกระบวนเรือ ต่อจากงานที่ทรง เครื่องต้นเต็มที่ใน ๓ วันนี้แล้ว ก็มีการเลี้ยง ดูถวายพระพรชัยมงคล และการสวนสนาม ของทหารบก, เรือ, เสือป่า, ลูกเสือโดยทัว่ ถึง มีการจุดไฟทัว่ ทัง้ พระนครตลอดในเวลางาน, ทั้งทีการออกร้าน, การมหรศพต่างๆ รวม ทั้งมีตำ� นาน Pageant เรื่องพงษาวดารไทย เป็นตอนๆ ด้วย ไม่มีงานอะไรละที่จะสนุก เหมือนตั้งแต่ข้าพเจ้าเกิดมาเพราะเพียงคิด ดูเถิดว่า – การรับเจ้านายต่างประเทศนั้น ธรรมดาก็จะต้องมีงานอะไรๆ พิเศษถวายอยู่ แล้ว นีย่ งั เป็นงานบรมราชาภิเศกเติมเข้าด้วย งานนี้จึงจะต้องเป็นงานมโหฬารสักเพียงใด แต่อายุข้าพเจ้ายังไม่ถึงเวลารับแขกก็สนุก แต่ ใ นเรื่ อ งไปเที่ ย วดู ง านและช่ ว ยแต่ ง ตั ว พีห่ ญิงใหญ่ซงึ่ ต้องไปในงานกับเสด็จพ่อด้วย ข้าพเจ้าจึงไม่รู้จักกับเจ้านายต่างประเทศใน เวลานัน้ นอกจากได้เห็น จนไปยุโรปใน พ.ศ. ๒๔๗๓ ได้ไปพบเจ้านายทีเ่ สด็จมากรุงเทพฯ ในคราวนัน้ บางพระองค์ ท่านยังทรงจ�ำความ สนุกสนานและกลับทรงเล่าประทานให้เรา ฟังได้สนุกทีเดียว ม.จ.หญิง พูนพิศมัย ดิศกุล (ติดตามตอนต่อไปในเล่มหน้า)


ตึกขาว

คาบเรียนรู้วิชาการ

45

ร�ำพึงเรื่องร้อยปี

ของการเรีของวชิ ยนการสอน ราวุธวิทยาลัย หั ว ใจของการศึ ก ษาของวชิ ร าวุ ธ วิทยาลัยนั้นก็เหมือนกับพับลิกสกูลทั่วไป ของอั ง กฤษดั้ ง เดิ ม หากจะอ่านเรื่องการ ศึ ก ษาแบบพั บ ลิ ก สกู ล ของอั ง กฤษแบบ สนุกๆ ไม่เป็นวิชาการนักก็สามารถหาอ่าน ได้ไม่ยากจากหนังสือคลาสสิกเรื่อง “Tom Brown’s Schooldays” ซึ่งหัวใจของการ ศึกษาแบบนี้ก็เหมือนกับหัวใจมนุษย์นั่นเอง ที่มี ๔ ห้อง ดังนี้

พุทธิศึกษา คือวิชาการทั่วไปที่เรียน กันตามปกติ อันมี เลขคณิต ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ดนตรี ศิลปศึกษา ฯลฯ จริยศึกษา คือการปลูกฝังอบรมให้ เป็นคนดีซึ่งส่วนใหญ่ก็คือการอบรมสั่งสอน ตามค�ำสอนของศาสนาซึง่ นักเรียนวชิราวุธฯ ทุกคนต้องเป็นคนมีศาสนา anumanavasarn.com


46

ตึกขาว

พลศึ ก ษา คื อ การออกก� ำ ลั ง กายที่ ถูกวิธแี ละสร้างเสริมความมีน�้ำใจนักกีฬา ซึง่ เป็นองค์ประกอบอันส�ำคัญยิ่งของการเป็น สุภาพบุรุษ สุภาพชน หั ต ถศึ ก ษา คื อ การศึ ก ษาและฝึ ก อบรมให้ผู้เรียนมีทักษะ (Skill) ในการใช้ มือท�ำงานเป็น ซึ่ ง สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารีทรงให้พระราชโอวาท ในการเปิ ด สั ม มนาความสั ม พั น ธ์ ไ ทย-จี น เรื่อง “สตรีกับการแก้ไขปัญหาความยากจน และการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม” เมื่ อ วั น ที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ว่า “เรื่อง หัตถศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นมาก ต้องท�ำอะไรให้ได้ด้วยมือด้วย ความสามารถ เพราะถ้าใครท�ำอะไรไม่เป็น ชีวิตก็จะไปไม่ได้เท่าไร ต้องใช้มือสร้างได้ ท�ำได้ ไม่หวังใช้แต่อปุ กรณ์ชว่ ยเหลือ เพราะ

ถ้ามีวิชาแล้วไม่ว่าจะมีเชื้อชาติอะไรก็สมัคร งานได้ดีกว่าเป็นแรงงาน” ซึ่งการท�ำงาน ด้วยมือทีเ่ ห็นชัดๆ ในปัจจุบนั ก็คอื งานศิลปะ ต่างๆ อย่างในโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยก็มี

โรงปัน้ และศิลปินใหญ่ของไทยในยุคปัจจุบนั คือ คุณจักรพันธุ์ โปษยกฤต ก็คือ โอ.วี. คนหนึ่ง ในปัจจุบันนี้หัตถศึกษารวมถึงการ ศึกษาและการใช้คอมพิวเตอร์อีกด้วย พวกเราเหล่าโอวี ก็คงระลึกได้ว่าที่ วชิราวุธวิทยาลัยเรามีครบถ้วนพร้อมมูลทั้ง ๔ องค์ประกอบที่สำ� คัญ

ยิ่ ง นี้ จ ะเห็ น ได้ จ ากเวลาเรี ย นวิ ช า สามัญ (พุทธิศกึ ษา) ก็เรียน ๖ วันต่อสัปดาห์ ส�ำหรับการอบรมทางจริยธรรมก็มีอยู่เป็น ประจ�ำแบบว่าต้องสวดมนต์รวมทุกวัน วันละ ๒ เวลา และนักเรียนวชิราวุธฯ ได้รบั ฟังโอวาท ค�ำสั่งสอนและฟังเทศน์อยู่เป็นนิจ ส่วนเรื่อง พลศึกษานั้นดูเหมือนจะพูดได้เต็มปากว่าที่ โรงเรียนวชิราวุธฯ จะมีมากกว่าทุกโรงเรียน ในประเทศไทย และในทางหัตถศึกษาเราก็มี อย่างพร้อมมูล ในขณะที่โรงเรียนทั่วไปในประเทศ ออกจะหาที่ใด ที่จะมีการให้การศึกษาครบ ทัง้ ๔ ประการได้ยาก โดยทีโ่ รงเรียนส่วนใหญ่ จะมุ่งเน้นแต่เรื่องพุทธิศึกษาเพียงถ่ายเดียว โดยละทิง้ การศึกษาประเภทอืน่ อีก ๓ ประเภท


อันเป็นสาเหตุที่ท�ำให้เรามีประชากรที่ขาด ความสมดุ ล ทางการศึ ก ษาแบบที่ เ รี ย กว่ า “หัวโต ตัวและแขน ขาลีบ” อย่างมากมาย จนอาจกล่ า วได้ ว ่ า การที่ โ รงเรี ย นที่ สั ง กั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารส่ ว นใหญ่ มุ ่ ง แต่ พุ ท ธิ ศึ ก ษาอย่ า งเดี ย วนั้ น เองโดยละเลย จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษานั่นเอง ได้สร้างประชากรทีข่ าดความสมดุลแบบว่ามี แค่คนสองพวกคือ คนที่รับค�ำสั่งเป็นกับคน ที่คิดเป็น แต่ตัดสินใจไม่เป็นมากมายเหลือ เกินในประเทศไทยของเราทุกวันนี้ แต่ปัญหาของนักเรียนวชิราวุธฯ นั้น จากประสบการณ์ของผูเ้ ขียนซึง่ เป็นอาจารย์

มหาวิทยาลัยมาร่วม ๓๘ ปีแล้ว กลับเป็น อีกอย่างหนึ่งคือ บรรดาโอวีที่เข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยมักจะมุ่งแต่วิชาพลศึกษากัน มากเกินไปซึง่ ก็ขาดความสมดุลอีกนัน่ แหละ เพราะสั จ ธรรมก็ คื อ “อะไรที่ ม ากเกิ น ไป ย่อมเป็นผลเสียทั้งสิ้น” และเนื่องจากมุ่งไป ในทางพลศึกษา (เอากันให้ตรงตัวเลยก็คือ กีฬารักบี้นี่แหละ) มากก็ท�ำให้เกิดอาการ ขาดความสมดุลอย่างหนักถึงขนาดไม่เรียน

หนังสือ (พุทธิศกึ ษา) ในมหาวิทยาลัยเอาแต่ จะเล่นรักบี้ท่าเดียว มิหน�ำซ�้ำการสังคมสมาคมก็มีปัญหา เนื่องจากบรรดาโอวีใน มหาวิทยาลัยมักจะขลุกอยู่แต่ในกลุ่มโอวี แทบจะไม่ ย อมคบหาสมาคมกั บ บรรดา เพื่ อ นฝู ง นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาอื่ น ๆ เลย ท� ำ ให้ ภาพลักษณ์ของโอวี ในสายตาของสังคม มหาวิทยาลัยมองว่า “เป็นพวกเด็กมัธยมที่ ไม่ยอมโต” อย่างไรก็ตาม หากบรรดาที่โอวีผ่าน บ่วงกรรมของมหาวิทยาลัยไปได้ คือเรียนจบ ปริญญาไปเมื่อเผชิญกับโลกภายนอก โลก แห่งความจริงแล้วก็ดูเหมือนว่าผลของการ ศึกษาแบบพับลิกสกูลจะปรับความสมดุล ให้ บ รรดาโอวี ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในชี วิ ต กันแทบทุกคน ซึ่งเรื่องนี้ก็เป็นข้อเท็จจริง เชิงประจักษ์ทวั่ ไปอยูแ่ ล้ว หากจะยกตัวอย่าง ทีเ่ ป็นเชิงบุคคลาธิษฐาน เพือ่ ความแจ่มชัดก็ ขอยกตัวอย่างทีม่ สี สี นั เห็นจริงเห็นจังให้ทา่ น ผู้อ่านเห็นกันจะจะสัก ๑ คน ก็คือ “บรรยง พงษ์พานิช” (เตา โอวี ๔๔) สาเหตุที่เลือกเอาบรรยง ก็เนื่องจาก เป็นโอวีคนหนึ่งที่ผู้เขียนได้เห็นและติดตาม ความเป็ น มาของบรรยงมาตั้ ง แต่ เ ริ่ ม เข้ า คณะใน เนื่องจากบรรยงเป็นเด็กที่โตเร็วจึง มีปัญหาเรื่องการเล่นกีฬาต่างๆ เนื่องจาก เข้ า คณะในมาก็ มี ส ่ ว นสู ง เกิ น รุ ่ น เล็ ก แล้ ว พออยู่ไปได้อีกปีหนึ่งก็สูงเข้ารุ่นใหญ่ไปอีก ก็เลยไม่ค่อยมีโอกาสจะได้เล่นกีฬายอดฮิต ของโรงเรียน เช่น รักบี้ บาสเกตบอล หรือ anumanavasarn.com


48

ตึกขาว

แอสโซซิเอชัน่ ฟุตบอล (ค�ำย่อคือ แอสซอคฯ พวกอเมริกันเลยเอาไปเรียกเป็นซ๊อกเกอร์ นั่นแหละ) มากนัก เลยหันไปตีแบดมินตัน ซึ่งก็หาคนเล่นด้วยยาก ผลสุดท้ายก็เลยเข้า ห้องสมุดวันละ ๕ ชั่วโมง อ่านหนังสืออย่าง เมามันแล้วก็ได้แรงบันดาลใจจากหนังสือนี่ แหละ ซึง่ เป็นหนังสือภาษาอังกฤษทีค่ รูอรุณ แสนโกศิ ก มอบให้ ห้องสมุดเป็นหนังสือ ส�ำหรับการฝึกนักกีฬา บรรยงอ่านแบบพก ดิกชันนารีด้วยจนจบก็เลยมุ่งมั่นที่จะเล่น กีฬา แบบตั้งเป้าว่าต้องติดทีมโรงเรียนด้วย การตื่ น ตั้ ง แต่ ตี ห ้ า ถึ ง หกโมงเช้ า คนเดี ย ว ทุกวัน เมือ่ ร่างกายพร้อมแล้วบรรยงก็เลยติด ทีมโรงเรียนในกีฬาแทบทุกอย่างแถมยังติด รักบี้ทีมชาติด้วย มิหน�ำซ�ำ้ ยังได้เหรียญทอง วิ่ ง ๑,๕๐๐ เมตรนั ก เรี ย นประเทศไทย นอกจากนีย้ งั ได้เป็นหัวหน้าทีมบาสเกตบอล ที่เป็นแชมป์บาสฯ นักเรียนอีกด้วย แน่ น อนที่ สุ ด เมื่ อ เอาดี ท างกี ฬ า การเรียนก็ตอ้ งแย่ แต่อาศัยทีห่ วั ดีมาแต่เดิม (ห้องก. มาตลอด) ประกอบกับการสั่งสม จากการอ่านหนังสือมามากมายแถมอ่าน หนังสือภาษาอังกฤษจบเล่มด้วยตัวเองจึง จบชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษามาอย่ า งฉิ ว เฉี ย ดและ เข้ า จุ ฬ าฯ ได้ ร าวปฏิ ห าริ ย ์ (ความจริ ง การสอบเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย นั้ น หากภาษา อังกฤษดีก็ต้องติดแน่ๆ แต่บรรยงติดคณะ เศรษฐศาสตร์นซี่ นิ า่ ประหลาดใจ) การเรียน หนังสือในจุฬาฯ ของบรรยงก็ร่องแร่งเต็มที เพราะเอาแต่เล่นกีฬาเป็นบ้าเป็นหลัง และ

จีบผูห้ ญิงกับเล่นการพนัน แต่กจ็ บออกมาได้ แบบคาบเส้นด้วยความที่เป็นที่รักของเพื่อน ฝูงในคณะเศรษฐศาสตร์ เรียกว่าสังคมดี เพือ่ นฝูงก็ชว่ ยงาน ช่วยในการเรียนการสอบ อย่างเป็นงานมหกรรมเลยทีเดียว จึงเรียน จบมาอย่างหวุดหวิด เกรดแย่แถมมีเอฟติด อยู่ในเรคคอร์ดถึง ๗ วิชา (ตรงนี้แหละครับ ที่เด็กโอวีรุ่นหลังมีปัญหามาก เพราะไม่คบ กับใครเลยนอกจากพวกโอวีด้วยกัน) บรรยงออกมาเผชิญชีวติ กับโลกแห่ง ความจริงก็พบกับความขมขืน่ ขนาดไปสมัคร งานที่ธนาคารไทยพาณิชย์เขาก็ไม่ให้สอบ เพราะอ้างว่าเสียเวลาเปล่าๆ ส่วนธนาคาร กสิกรไทยซ�้ำร้ายหนักขึ้นไปอีก คือไม่ยอม ให้ใบสมัครด้วยซ�้ำไป เมือ่ เห็นใบแจ้งผลการ เรียนของบรรยงแล้ว แต่ ใ นเมื อ งไทยก็ มี ค นที่ ฉ ลาดมี วิสยั ทัศน์อยูไ่ ม่นอ้ ย เพียงแต่คนพวกนีม้ กั ไม่ ค่อยมีโอกาสมาคัดเลือกคนเข้าเรียนหรือเข้า ท�ำงานบ่อยนัก แต่บรรยงก็สมัครไปเรือ่ ยก็ได้ งานกับบริษัทเล็กๆ ที่เริ่มจับเรื่องตลาดทุน รุ่นแรกๆ ที่ผู้บริหารเห็นแววว่าคนเรานั้น จะตัดสินกันแค่ใบแสดงผลการเรียนไม่ได้ (บังเอิญผู้บริหารท่านนั้น คือ คุณวิโรจน์ นวลแข ผู้เป็นโอวีที่ได้รับการศึกษาอบรม แบบสมดุลทีถ่ งึ พร้อมด้วยการศึกษา ๔ อย่าง ดังกล่าว) ที่น่าสนใจก็คือ บรรยงได้ไปสมัคร เรียนหลักสูตร เอ็ม.บี.เอ. ที่สถาบันศศินทร์ ได้ อ ย่ า งไร ทั้ ง ๆ ที่ เ กรดเฉลี่ ย ที่ เ ขาจบ


ปริญญาตรีมานั้นได้เพียง ๒.๐ คาบเส้น อย่างว่าในเมื่อศศินทร์เป็นสถาบันที่ร่วมมือ และใช้หลักสูตรของมหาวิทยาลัยอันดับหนึง่ ของสหรัฐอเมริก าในสาขาเอ็ม.บี.เอ.และ ศศินทร์เป็นสถาบันทางเอ็ม.บี.เอ.ของไทยที่ ได้รบั การรับรองจาก AACSB (Association to Advanced Colleges of Business Schools) อั น หมายความว่ า ผู ้ ที่ เ รี ย นจบ ศศินทร์ไปแล้วจะได้รับการรับรองในทวีป อเมริกาทั้งหมดเลยทีเดียว

ครับ! มีศาสตราจารย์จาก Kellogg Graduate School of Management แห่ง มหาวิ ท ยาลั ย Northwestern ซึ่ ง เป็ น สถาบั น ที่ ส อนเอ็ ม .บี . เอ.อั น ดั บ หนึ่ ง ของ สหรั ฐ อเมริ ก ามาร่ ว มสอบสั ม ภาษณ์ คั ด นักศึกษาให้สถาบันศศินทร์ทจี่ ะรับเพียง ๓๒ คนในปีแรก ซึ่งจากข้อตกลงกันแล้วตัวแทน ของ Kellogg Graduate School of Management จะเป็นผู้ที่มีสิทธิขาดในการคัดเลือก เมื่ อ สั ม ภาษณ์ บ รรยงสิ้ น สุ ด ลง ตัวแทนฝ่ายไทยบอกว่าควรคัดชื่อบรรยง ออก เนื่ อ งจากเกรดที่ เ รี ย นมาแย่ ที่ สุ ด ในบรรดาผู ้ ส มั ค รทุ ก คน แต่ ตั ว แทนจาก

Kellogg กลั บ บอกว่ า บรรยงนี่ แ หละเป็ น ตัวเลือกที่ดีที่สุดในการเข้าเรียนในรุ่นแรก ของศศินทร์ โดยอ้างว่าการดูแต่ผลการเรียน อย่ า งเดี ย วนั้ น ไม่ พ อหรอก ต้ อ งดู ถึ ง บุคลิกลักษณะ (character) ของคนด้วย ต้องดูด้วยว่าลักษณะการเป็นผู้นำ� เช่น การ เป็นหัวหน้าทีมกีฬานานาชนิดของโรงเรียน วชิราวุธวิทยาลัยด้วย มิหน�ำซ�้ำยังมีความ สามารถเฉพาะตัวในการเล่นกีฬาได้ดีอีก ด้วย แสดงถึงการมีวินัยส่วนตัวสูง และกาล เวลาก็ได้พิสูจน์แล้วว่าการศึกษาแบบสมดุล ทั้งพุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และ หั ต ถศึ ก ษานั้ น เป็ น การศึ ก ษาที่ ดี ที่ สุ ด ที่ โลกที่พัฒนาแล้วเชื่อถือ เพราะบรรยงนับ เป็นนักเรียนเก่าเกียรติยศ เป็นนักเรียน เก่าตัวอย่างของสถาบันศศินทร์อย่างแท้จริง ในฝีมือ ความสามารถและความส�ำเร็จทาง ธุรกิจที่เป็นที่ยอมรับของประเทศ ท่ า นผู ้ ก ่ อ ตั้ ง สถาบั น ศศิ น ทร์ คื อ ศาสตราจารย์เติมศักดิ์ กฤษณามระ ได้ เปิดเผยเรื่องนี้เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๓ นี้เอง ดังนั้น วชิราวุธฯ ของเรามาถูกทาง แล้วละครับ หากมีข้อบกพร่องก็คงจะหา วิ ธี ส ร้ า งความสมดุ ล ระหว่ า งพุ ท ธิ ศึ ก ษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษาให้พอดี เนื่องจากที่ผ่านมาอาจจะ Off- Balance ไป บ้างก็เห็นจะหนักไปทางพุทธิศึกษา หรือ พลศึ ก ษามากจนเกิ น ไปท� ำ ให้ เ สี ย สมดุ ล นั่นเอง โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ โอวี ๓๙ anumanavasarn.com


50

สนามหน้า

แหล่งเพาะน�้ำใจนักกีฬา

ค�ำกล่าวของเหล่านักรักบี้โอวีในระดับต�ำนานและโอวี พี่ใหญ่ของสมาคมนักเรียนเก่าฯ ในปัจจุบัน ได้สะท้อนให้เห็น ถึงความจ�ำเป็นที่ว่า การแข่งขันรักบี้ประเพณีครั้งที่ ๒๑ ในปีที่ โรงเรียนวชิราวุธฯ ครบ ๑๐๐ ปี โดยสมาคมนักเรียนเก่า วชิราวุธฯ เป็นเจ้าภาพ เป็นการแข่งขันรักบี้ที่วชิราวุธฯ แพ้ ไม่ได้อีกแล้ว หลังประสบกับความพ่ายแพ้ในการแข่งขันรักบี้ ประเพณีมาถึง ๔ ครั้งติดต่อกัน การแข่งรักบี้ประเพณีในครั้งนี้ ทีมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ จึงอยู่ในสถานการณ์หลังชนฝาถอยไม่ ได้อีกแล้ว !!!


“ถ้าสู้กันจริงๆ ผมมองว่าเราสู้เขาได้ แต่ดู ๒ ปีที่ผ่านมาฝีมือ ไม่แพ้ และเรายังสามารถเอาชนะขาดได้ แต่ไปแพ้นาทีสุดท้าย ไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น เราเกือบจะชนะมาหลายปีแล้วและที่ท�ำให้ผม ต้องมางานในวันนี้ก็เพราะว่า นายกศิษย์เก่าราชวิทย์ฯ มาพูดกับ ผมว่า “ไม่อยากชนะ” เป็นสิ่งที่ผมรับไม่ได้ ผมมีความรู้สึกว่า ถ้าเราจะชนะ เราต้องชนะด้วยฝีมือ การที่จะมีฝีมือเอาชนะเขาได้ เราก็ต้องฟิต ถ้าพวกพี่ๆ โอวีรุ่นเก่าที่เป็นสัญลักษณ์ของรักบี้ วชิราวุธฯ เล่นได้เล่นไปแล้ว แต่เราท�ำไม่ได้ก็ต้องอาศัยน้องๆ โอวี รุ่นใหม่ๆ เข้ามาช่วยกันแสดงฝีมือ” จุลสิงห์ วสันตสิงห์ โอวี ๔๐ นายกสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยฯ กล่าวเปิดงานรวมพลนักรักบี้

anumanavasarn.com


52

สนามหน้า

“ผมจ�ำได้เสมอ เวลาก่อนไปแข่งรักบี้ ท่านผู้บังคับการพระยาภะรตฯ จะอบรมนักกีฬาทุกคนว่า “กีฬามีแพ้มีชนะ แต่วันนี้แพ้ไม่ได้” และก็เช่นเดียวกันปีนี้เราครบ ๑๐๐ ปี เรายิ่งแพ้ไม่ได้” พล.ต.ต.จักร จักษุรักษ์ โอวี ๓๓ อดีตนักรักบี้ทีมชาติและวชิราวุธฯ อดีตโค้ชทีมวชิราวุธฯ ย้ อ นกลั บ ไปถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จั ด การ แข่งขันรักบี้ประเพณีระหว่างวชิราวุธฯ –ราชวิทย์ฯ ก็ เ พราะนั ก รั ก บี้ จ ากทั้ ง ๒ สถาบั น หลั ง จบการ ศึกษาแล้วก็ไม่มีโอกาสได้เล่นรักบี้กันอีก และไปขอ ค�ำปรึกษาจากครูมัทนะ หลานสอาด ก็เริ่มจัดทีม ท�ำงานขึ้นร่วมกับนักเรียนเก่าทั้งสองสถาบัน โดย ตัง้ ใจจะจัดการแข่งขันแบบ เหย้า-เยือน พอเรือ่ งการ จัดแข่งขันถึงผู้หลักผู้ใหญ่ในสมาคมนักเรียนเก่าฯ ทราบเรื่องก็เข้ามาช่วยจัดจนกลายเป็นงานใหญ่ มี การขอถ้วยพระราชทาน การแข่งขันในปีแรก ทีม นักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ซึ่งประกอบด้วยผู้เล่นระดับ ทีมชาติหลายคน เรียกได้ว่าเป็นทีม All Star ก็ยัง พบกับความพ่ายแพ้ แต่จากสถิติที่ผ่านมา วชิราวุธฯ ชนะ ๖ ครั้ง เสมอ ๑ ครั้ง และแพ้ถึง ๑๓ ครั้ง จากการ แข่งขัน ๒๐ ครั้งที่ผ่านมา มีข้อน่าสังเกตอย่างหนึ่ง


“พอผมทราบว่ามีการจัดงานนี้ ผมตั้งใจไว้เลยว่าต้องมาให้ได้ ขอให้พวกเราร่วมแรงร่วมใจ เพื่อปีนี้ปีส�ำคัญของพวกเรา ให้เอาชัยชนะมาให้ได้ เราต้องร่วมแรงร่วมใจฟิตให้เต็มที่ เพื่อไม่ให้แผ่วปลาย เราไม่แพ้เขาแต่แรงสู้ไม่ได้ ขอฟิตให้เต็มที่”

จากสถิติ คือสถิติชนะของทั้งสองทีมที่ผ่านมา มี สถิติชนะติดต่อกัน ๔ ครั้ง พอครั้งที่ ๕ ทีมที่แพ้ มา ๔ ครั้งติดจะพลิกกลับมาชนะได้ และหวังว่าปี ๒๕๕๓ นี้สถิติคงจะวนกลับมาให้ทีมวชิราวุธฯ ชนะ เหมือนเดิม เวทีเสวนาที่จัดขึ้น โดยเชิญนักรักบี้ชื่อดัง อย่าง พล.ต.ต.จักร จักษุรักษ์ โอวี ๓๓ สุรเดช บุ ณ ยวั ฒ น โอวี ๔๑ พจน์ ลั ก ษณะสมพงษ์ โอวี ๕๔ สหพล พลปัถพี โอวี ๖๑ ร.อ.ธัญวิทย์ เครือสินธุ โอวี ๖๙ และนักรักบีด้ าวรุง่ ดวงใหม่ กิตติภคั ทีฑธนานนท์ โอวี ๘๑ มาแลกเปลีย่ นเล่าประสบการณ์ การเล่นรักบีข้ องแต่ทา่ น เป้าหมายของงานในครัง้ คือ การมาร่วมกันแบ่งปันประสบการณ์เพือ่ หาทางออก ส�ำหรับวิกฤตทีมรักบีน้ กั เรียนเก่าวชิราวุธฯ ทีผ่ ลงาน ตกต�่ำลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีหลายประเด็นปัญหา ที่ส่งผลต่อความตกต�่ำในครั้งนี้ ตั้งแต่เรื่องของตัว

ร.ต.อ.แวน เลณบุรี โอวี ๔๑-๔๓ อดีตนักรักบี้ทีมชาติ และผู้ก�ำกับคณะดุสิต

anumanavasarn.com


54

สนามหน้า

“วิธีการท�ำทีมแบบครูอรุณ คือจะผสมผู้เล่นระหว่างตัวเก๋ากับ ผู้เล่นที่ยังหนุ่มเข้าด้วยกัน แต่เก๋าของทีมเรามักจะ เก๋าจนเก่าไปหน่อย และการวางแผนการเล่นนั้น เมื่อผู้เล่นลงไปในสนามแต่ละคน ต้องมาร์คตัวฝ่ายตรงข้ามคนไหน และหัวใจส�ำคัญที่สุดคือ วินัย ความเป็นนักกีฬา โค้ชว่าอย่างไรก็ ต้องว่าตามนั้น” สุรเดช บุณยวัฒน โอวี ๔๑

ผูเ้ ล่น โอวีใหม่ๆ มาเล่นให้ทงั้ ทีมสโมสรและทีมรักบี้ ประเพณีน้อยลง ขาดวินัยและความพร้อมในการ ซ้อมทีม โอวีที่เพิ่งจบและเด็กรุ่นใหม่ๆ ขาดความ สนใจทีจ่ ะเล่นรักบี้ ผูฝ้ กึ สอนขาดประสบการณ์มาก พอ การวางแผนการเล่นและการฝึกสอนที่ล้าสมัย การแบ่งฝักแบ่งฝ่ายแยกค่ายย้ายก๊กของผู้ฝึกสอน และผู้เล่น ฯลฯ ปัจจัยเหตุทั้งหลายนี้ เมื่อรวมกัน เข้าก็ส่งผลสะท้อนออกมาให้พวกเราเห็นผ่านผล การแข่งขันในทุกรายการที่ทีมรักบี้ของโอวีเข้าร่วม ในระดับสโมสร ทีมรักบีโ้ อวีตกไปอยูใ่ นระดับดิวชิ นั่ ๒ ทีมรักบี้ประเพณีผูกปีแพ้มา ๔ ครั้งติด และ ล่าสุดการแข่งรักบี้ ๗ คน ในปีนี้ก็ต้องงดส่งเพราะ ขาดตัวผู้เล่น เมื่อย้อนกลับในการแข่งขันรักบี้ประเพณี ที่ผ่าน ๑๐ ครั้งหลังสุด ทีมวชิราวุธฯ เอาชนะทีม ราชวิทย์ฯ ได้เพียง ๒ ครัง้ เท่านัน้ หลังจากทีห่ ยุดการ แข่งขันไปในปี ๓๙ - ๕๒ นั้นสาเหตุหลักๆ เพราะ เกิดการตีกันระหว่างนักเรียนทั้งสองโรงเรียนท�ำให้ คณะกรรมการจัดการแข่งขันทั้งสองโรงเรียนมีมติ ให้ยุติการแข่งชั่วคราว แล้วค่อยกลับมาแข่งกันใหม่ ในปีซึ่งเริ่มกลับมาแข่งขันกันใหม่ได้ในปี ๒๕๔๓ ซึง่ เป็นปีทที่ มี วชิราวุธฯ กลับมาประเดิมคว้าชัยชนะ ได้ ทั้งๆ ที่ในตอนนั้นทีมราชวิทย์ฯ เต็มไปด้วยผู้ เล่นทีมชาติ ๑๕ คนแรกของราชวิทย์ฯ เป็นตัวทีม ชาติเกือบทั้งหมดและก็มาจากสโมสรเดียวกัน คือ สโมสรต�ำรวจ ส่วนทีมวชิราวุธฯ มีผู้เล่นส่วนใหญ่ มาจากสโมสรราชกรีฑา (สปอร์ตคลับ) มีพี่ใหญ่ ทรงธรรม อัลภาชน์ เป็นโค้ช ผู้เล่นเรามีครบหมด ทุกต�ำแหน่งขาดอยู่ตำ� แหน่งเดียว คือ สกรัมฮาล์ฟ


เป็นปีที่ต้องไปเอารุ่นพี่ที่เคยเล่นในต�ำแหน่งนี้กลับ มาเคาะสนิมสัก ๒-๓ คน แต่พี่ใหญ่ฟันธงเปรี้ยง ว่าจะให้เด็กนักเรียนที่มาช่วยซ้อมอย่างตั้งใจลงเล่น เด็กคนนั้น คือ ปฤณ คชภักดี โอวี ๗๓ และก็ไม่ ท�ำให้ทุกคนผิดหวัง ตัดสินใจวิ่งฝ่าทีมราชวิทย์ฯ เข้าไปวางทรัยในช่วงท้ายเกมส์ ท�ำให้สกอร์ในวัน นั้นพลิกโผทีมวชิราวุธฯ ชนะทีมราชวิทย์ฯ แบบ หักปากเซียน ส่วนความส�ำเร็จของปี ๒๕๔๘ ที่เราชนะ ได้นั้นเป็นเพราะโค้ชคือ จ๊อก เทียร์แนนท์ ใช้วิธี เอาผู้เล่นสดๆ ลงก่อนเป็น ๑๕ คนแรก ไปชนกับผู้ เล่นเก๋าๆ ของราชวิทย์ฯ ในช่วงครึ่งแรก ส่วนพวกผู้ เล่นมีประสบการณ์เอาพักไว้กอ่ น พอครึง่ หลังค่อยๆ เปลี่ยนตัวเก๋าของทีมวชิราวุธฯ ลงไปผสม รูปเกมส์ เราเริ่มกลับมาน�ำและยันแต้มเอาไว้ได้จนจบเกมส์ ในช่วงเสนอความเห็นหลังเวทีเสวนาจบ ลง โอวีหลากหลายรุ่นหลานท่านต่างพากันลุกขึ้น แสดงความคิดเห็น ในมุมมองและความคิดทีต่ นเอง ได้ประสบมา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อ เสนอแนะจากผู้ที่เข้าร่วมงานก็ท�ำให้เห็นภาพของ ปัญหาได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และผลจากการเสวนา ในครัง้ นี้ ได้ประมวลประเด็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด ซึ่งพอจะแบ่งออกเป็นประเด็นหลักๆ ได้ดังนี้ ปัญหาแรก คือเรือ่ งของตัวผูเ้ ล่นไม่มาซ้อม และมีจำ� นวนลดน้อยลงทุกปี เริ่มตั้งแต่นักเรียนชั้น มัธยมปลายที่หันไปสนในเล่นกีฬาประเภทอื่น หรือ หันไปทุ่มเทกับการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย และเลิกเล่นรักบี้ไปเลยก็มีไม่น้อย พอมาดูที่กลุ่ม เด็กโอวีที่เพิ่งจบจากโรงเรียน และก�ำลังอยู่ศึกษา

“นักรักบี้ที่จะติดทีมประเพณี ในปีนี้เราดูคุณสมบัติ ณ วันนี้ ไม่ใช่ในอดีต เพราะถ้าดูแบบนั้น ตัวผมก็ต้องติดด้วย” เล็ก สุภรัตน์ อัลภาชน์ โอวี ๕๑ ฉายาโค้ชเทวดา ผู้ฝึกสอนทีมชาติรักบี้หญิง

anumanavasarn.com


56

สนามหน้า

“การเล่นรักบี้ที่ดีที่สุดอยู่ที่การรับ ลูกส่งลูก ถ้ารับลูกไม่ได้ เราก็ท�ำ อะไรต่อไม่ได้ รับลูกได้ก็ต้องคิด สูตรเล่นสูตรต่างๆ ได้หมด อย่างที่สอง เกมรุกคือเกมที่ดีที่สุด ทีมวชิราวุธฯ เราเป็นทีมที่มี เกมรับดีกว่าราชวิทย์ฯ มาก สังเกตที่เราแพ้มา ๔ ปี ติดและ แพ้ช่วงท้ายของเกมส์ ดูเหมือนว่า แรงเราไม่ค่อยมี เป็นเพราะ ทีมเราวอร์มมากไปหรือเปล่า เล่นรักบี้แมตช์หนึ่งแค่ ๘๐ นาที แต่รวมเวลาวอร์มแล้วเป็น ๑๐๐ กว่านาที การวอร์มควรจะเป็น การยืดเส้นและวิ่งนิดหน่อยก็ พอแล้วไปเต็มที่ในสนาม” พจน์ ลักษณะสมพงศ์ โอวี ๕๔ นักรักบี้ดาราเอเชีย คนแรกของไทย

อยู่ในระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งโอวีกลุ่มนี้ควรที่จะ เป็ น ก� ำ ลั ง หลั ก ของที ม หลายคนกลั บ เลื อ กที่ จ ะ ย้ายไปเล่นให้ทีมสโมสรอื่นๆ ที่ให้ค่าเหนื่อยหรือ โอกาสที่ดีกว่า บางคนก็เลือกที่จะเล่นให้แค่ทีม มหาวิทยาลัยที่ตนเองรับโควตาอยู่และมองว่าการ มาเล่นให้ทีมโอวีเป็นเรื่องของการเสียสละ ที่ได้ผล เสียมากกว่าดี กล่าวคือรุ่นเด็กๆ มองว่าการเข้ามา ซ้อมรักบี้ประเพณี ถ้ามาแล้วไม่ได้ลงเล่นหรือไม่ ติดตัวจริงก็เป็นเรื่องที่เสียเวลาและความรู้สึก ใน บางครั้งนักรักบี้ที่ฟอร์มก�ำลังดีแต่กลับมาเจอการ มองข้ามจากโค้ชและไม่ได้รับโอกาสในการลงเล่น ทั้งๆ ที่ตัวนักกีฬาเองคิดว่าตนพร้อม การคัดเลือก ตัวผู้เล่นที่ขาดกฎเกณฑ์ที่แน่ชัด ทัศนคติแบบนี้ไม่ ได้เพิ่งเกิดขึ้นแต่เป็นมานานพอสมควร แม้มีความ พยายามทีจ่ ะพัฒนาและปรับปรุงทีมรักบีใ้ ห้ดขี นึ้ แต่ ก็ขาดความต่อเนื่อง และส่วนใหญ่ก็เป็นการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้ามากกว่าที่จะแก้ปัญหาในระยะ ยาว และปัญหานี้พี่เล็ก สุภรัตน์ ได้ขึ้นมากล่าว อย่างน่าสนใจว่า


“ต้องยอมรับว่าการแข่งประเพณีปีที่แล้ว เราซ้อมกันจริงๆ แค่ ๑ อาทิตย์ก่อนแข่ง เพราะ ติดแข่งรักบี้รวมดารา ส่วนการจะชนะได้อยู่ที่ตัว นักกีฬา โค้ชจะดีไม่ดีเป็นอีกเรื่องหนึ่ง นักกีฬาของ โอวีทีมสโมสรปีนี้ส่งชื่อ ๓๒ คน มาแข่งจริงได้แค่ ๑๙ คน แถมบางต�ำแหน่งยังไม่มีตัวลงเล่น รักบี้ ๗ คนปีนเี้ ลยตัดปัญหาไม่สง่ แข่งไม่ตอ้ งพูดถึงเรือ่ งรักบี้ ประเพณี ทีมวชิราวุธฯ เรามีปัญหาเรื่องตัวผู้เล่น ส�ำรองทีจ่ ะมาทดแทนตัวจริง ความสามารถแตกต่าง กันเยอะไม่สามารถทดแทนกันได้ และยิ่งนักกีฬา ไม่มีวินัยทุกอย่างก็จบ ปัญหาส�ำคัญคือผู้เล่นไม่มา ซ้อม ขนาดเชิญให้มาร่วมงานก็ยงั ไม่มากัน ในฐานะ คนท�ำงาน ใครจะมาติได้ทงั้ นัน้ ขออย่างเดียวเป็นการ ติเพือ่ ก่อ การคัดเลือกนักรักบีน้ นั้ ไม่มเี ส้น ทีมเราใน ปัจจุบันยังขาดตัวผู้เล่นที่มีประสบการณ์และความ สามารถเฉพาะตัวสูงพอที่จะไปสู้กับเขาได้” ปัญหาที่สอง คือเรื่องตัวผู้เล่นที่ขาดแรง จูงใจในการเล่นรักบี้ ขาดวินัยในการฝึกซ้อมและ รักษาสภาพร่างกาย และขาดความเสียสละมาฝึก

“หน้าที่ของตัวส�ำรองคือ ยิ่งตัวส�ำรองยิ่งแข็งตัวจริงยิ่งเก่ง นี่คือค�ำตอบส�ำหรับน้อง ที่ก�ำลังเล่นอยู่ว่ามาเล่นแล้วไม่ติด ส่วนอีกเรื่องที่ส�ำคัญที่สุดคือ การบริหารทีม หากมีโค้ชที่ดี ผู้ประสานงานที่ดี ทีมที่ดีมีแน่นอน มีน้องๆ อีกเยอะมากพร้อมที่จะ เข้ามาช่วยอยากให้คนที่ท�ำทีมปีนี้ หยิบฉวยเอาทุกคนที่พร้อมจะช่วย เข้ามาร่วมกันท�ำทีม เพราะปีนี้เราแพ้ไม่ได้” เอธัส มนต์เสรีนุสรณ์ โอวี ๕๔ อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้ง ผู้ว่ากรุงเทพฯ

anumanavasarn.com


58

สนามหน้า

“การแข่งรักบี้ประเพณีนั้น ต้องเป็นการผสมผสานกัน ระหว่างผู้เล่นที่เก๋ามีประสบการณ์ และผู้เล่นที่สดใหม่ จะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ไม่ได้ และผู้เล่นที่คิดว่าตนเองเก่งแล้ว ไม่ได้เป็นตัวจริง ต้องไม่ท้อแท้ ถอดใจ เพราะการได้มาเล่นรักบี้ ประเพณี คือเป็นโอกาส ในการตอบแทนบุญคุณ ให้แก่โรงเรียนวิธีหนึ่ง” สหพล พลปัถพี โอวี ๖๑

ซ้อมและเล่นรักบี้เพื่อส่วนรวม โดยมองเพียงว่าถ้า ตนเองมาซ้อมแล้วไม่ติด หรือมีตัวผู้เล่นรุ่นพี่ที่เล่น ต�ำแหน่งเดียวกันอยู่ก่อน ก็มักคิดสั้นๆ กันว่าไม่ มาซ้อมดีกว่า ผลที่เกิดคือจ�ำนวนผู้เล่นที่ลดน้อยลง ตัวเลือกก็น้อยลง ประสิทธิภาพในการฝึกซ้อมก็ลด ลงเพราะขาดคูซ่ อ้ มทีด่ ี การจะแก้ไขปัญหาเรื่องแรง จูงใจให้นกั รักบีโ้ อวีจากทีมต่างๆ กลับมาซ้อมด้วยกัน โดยจะอ้ า งใช้ แ ต่ ค� ำ ว่ า กตั ญ ญู หรื อ ตอบแทน โรงเรียนคงจะไม่พอเสียแล้ว หากแต่อยู่ที่การเปิด ใจยอมรับอย่างเป็นธรรมว่า ณ ตอนนี้ปัญหาที่ผู้ เล่นให้ความส�ำคัญต่อการกลับมาซ้อมรักบีป้ ระเพณี อยู่ที่การเล่นพรรคเล่นพวกในหมู่ผู้เล่นที่สนิทกับผู้ ฝึกสอน เพราะความสนิทสนมส่วนตัว หรือที่เรียก ว่าเด็กเส้นท�ำให้โค้ชละเลย หรือมองข้าม หรือมี อคติตอ่ ตัวผูเ้ ล่นอืน่ ๆ ปัญหาข้อนีห้ ลายคนอาจจะคิด ว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย หรือไม่ส�ำคัญ แต่ก็ต้องไม่ลืม ว่ารักบี้คือการแข่งขันประเภททีม และทีมประกอบ ด้วยคนหลายๆ คนเข้ามาเล่นด้วยกัน ไม่มีทีมกีฬา ใดทีเ่ พิกเฉยหรือเลือกปฏิบตั ติ อ่ ผูเ้ ล่นแล้วจะประสบ ผลส�ำเร็จได้ การเปิดโอกาสกว้างอย่างเท่าเทียมกัน ต่อผูเ้ ล่นทุกๆ คนทีเ่ ข้ามาซ้อมได้แสดงศักยภาพของ ตน โดยพร้อมให้เหตุผลทีย่ อมรับได้ตอ่ การคัดเลือก ตัวผู้เล่นโดยไม่เอาอคติส่วนตัวของผู้ฝึกสอนเข้ามา ตัดสิน ถ้าท�ำได้เช่นนี้ก็พอจะมีทางออกส�ำหรับการ แก้ไขปัญหาในข้อนี้ได้ ปัญหาที่สาม คือเรื่องของระบบบริหาร จัดการทีม ตั้งแต่การวางระบบการท� ำทีม การ สนับสนุนทีมและวางทิศทางอนาคตของทีม การ พัฒนารูปแบบการฝึกสอนรักบี้ สวัสดิการนักกีฬา


และการวางแผนการเล่นและแก้เกมส์ในการแข่งขัน ซึง่ เรือ่ งนีถ้ า้ มองในเชิงเปรียบเทียบกับฝ่ายราชวิทย์ฯ จะเห็นว่าคนท�ำทีมมีความต่อเนื่อง และมีความ เข้าใจในตัวผู้เล่นมาอย่างต่อเนื่องกว่า ในขณะที่ทีม วชิราวุธฯ มีการผลัดเปลี่ยนคนท�ำทีมบ่อยมาก คง ต้องไม่ลืมกันว่าความส�ำเร็จของทีมราชวิทย์ฯ ก็ไม่ สามารถสร้างได้ในเพียง ๑ หรือ ๒ ปี แต่เขาใช้เวลา มากเพือ่ มายืนในจุดทีเ่ ป็นอยู่ ถ้าอยากจะประสบผล ส�ำเร็จต้องมีการคิดการวางแผนกันใหม่ในระยะยาว ส่วนระยะสั้น คือการท�ำอย่างไรให้นักรักบี้โอวีที่ยัง เล่นได้เข้ามาซ้อมกันให้มากที่สุด นี่คือสิ่งที่ท้าทาย คนที่รับหน้าที่ท�ำทีมประเพณีในโอกาสครบ ๑๐๐ ปีโรงเรียนและทีมโอวีในฤดูกาลหน้า อีกปัญหาหนึ่ง เป็นปัญหาเฉพาะของทีม สโมสรโอวี คือเรื่องการที่ผู้เล่นโอวีหลายคนออก ไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์กับทีมสโมสรอื่นๆ ซึ่งก็ มีบางคนมองว่าเป็นผลดีต่อทีมประเพณีของโอวี มากกว่า มีแนวความคิดหนึ่งเสนอว่าการเตรียมทีม ประเพณีให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ ควรเริ่มต้นที่ทีมสโมสร หากทีมสโมสรโอวีมีผลงานดีเท่าไร ทีมประเพณี ก็ยิ่งมีความแข็งแกร่งเท่านั้น การปล่อยให้นักรักบี้ โอวีกระจัดกระจายไปอยู่ตามสโมสรต่างๆ มีแต่จะ ท�ำให้ทีมสโมสรโอวีอ่อนแอลง และผู้เล่นเหล่านั้น ก็มักจะถูกใช้งานมากเกินไปจนเกิดอาการบาดเจ็บ ตามมาได้ จึงมีความเห็นให้มีการดึงนักรักบี้ที่อยู่ สโมสรอื่นกลับมาเล่นให้ทีมสโมสรโอวี โดยใช้หลัก ประกันอาชีพในอนาคตของผู้เล่น พร้อมให้ทั้งให้ เงิ น เบี้ ย เลี้ ย งในอั ต ราที่ พ อเหมาะ เช่ น เป็ น ค่ า เดินทาง เป็นต้น

“ขอฝากทุกคนที่เป็นโอวี ให้เข้ามาช่วยกันเล่นช่วยกันซ้อม ท�ำเพื่อทีมและโรงเรียน ส่วนตัวผมจะเล่นเต็มที่ ทุกครั้งที่ได้ลงสนาม ต่อให้ร่างกายจะแย่แค่ไหน ผมก็จะมาซ้อมอย่างเต็มที่ และคิดว่าน้องๆ ทุกคน จะเต็มที่ไปกับผมด้วย” ศมสมรรถ เดชะไกศยะ โอวี ๖๘ เล่นรักบี้ประเพณี ๘ ครั้ง ผู้ฝึกสอนรักบี้ทีมโรงเรียน

anumanavasarn.com


60

สนามหน้า

“ทีมรักบี้ของโอวี ก็เปรียบเสมือนสังคมๆ หนึ่ง ทุกคนที่เข้ามา ก็ต้องปรับตัวเข้าหาสังคม เพราะทุกคนต่างมีเหตุผล และข้ออ้างของตนเองหมด แต่เมื่อเราเข้ามาอยู่ในสังคมร่วมกัน ทุกคนก็ต้องปรับตัว ให้เข้ากับกติกาของสังคมที่เราอยู่ ณ ตรงนั้น” ชยาพล ปิ่นธานี โอวี ๖๘ ผู้ฝึกสอนรักบี้ทีมโรงเรียน และทีมโอวี

อีกประเด็นหนึ่ง ที่เป็นการแก้ปัญหาใน ระยะยาว ก็คอื ส่วนการสร้างนักรักบีร้ นุ่ ใหม่ในระดับ นักเรียนขึ้นมาทดแทนรุ่นเก่าให้มากขึ้น เมื่อเป็น ผู้เล่นที่เพิ่งจบใหม่ๆ ก็ต้องหาทางชะลออัตราการ เลิกเล่นของผู้เล่นให้มีอายุการใช้งานให้นานขึ้น สาเหตุประการหนึง่ ทีท่ �ำให้ผเู้ ล่นเลิกเล่นเร็วก็เพราะ ผู้เล่นต้องเริ่มมองหาอนาคตด้านการศึกษาต่อก็ดี หน้าทีก่ ารงานก็ดี ล้วนเป็นปัจจัยทีท่ �ำให้ผเู้ ล่นแขวน สตั๊ดก่อนเวลาอันควร ในอีกมุมมองหนึง่ หากย้อนมองวัตถุประสงค์ การจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณี ก็เริ่มมาจากความ อยากจะเล่นเพือ่ ให้เป็นตัวอย่างแก่นอ้ งๆ และจัดแข่ง เพือ่ ความสามัคคีระหว่างนักเรียนทัง้ สองฝ่าย แต่พอ จัดแข่งกันนานเข้า วัตถุประสงค์ก็กลายเป็นความ ต้องการเอาชนะอีกฝ่ายเพราะมองเป็นเรื่องของ ศักดิศ์ รีสถาบัน การเตรียมทีมรักบีป้ ระเพณีจงึ กลาย เป็นเรื่องจริงจัง เคร่งเครียดมากขึ้น จากจุดเริ่มต้น ที่มารวมตัวกันของผู้เล่นรักบี้ที่เลิกเล่นรักบี้ไปแล้ว ได้มีโอกาสกลับมาเล่นกับเพื่อนๆ ต่างสถาบัน การ แข่งรักบี้ประเพณีจึงเป็นเรื่องของมิตรภาพมากกว่า ศักดิ์ศรีการเอาชนะให้รุ่นน้องได้ดู ความเห็นสุดท้าย ก่อนปิดท้ายเวทีเสวนา ในวันนั้น ก็ขอฝากถึงพี่ๆ โอวีทุกท่านที่ผิดหวังกับ ฟอร์มการเล่นของทีมโอวีตลอดมานั้น สามารถมา ให้ก�ำลังน้องๆ ได้ตลอดทั้งปี ไม่ใช่แค่วันแข่งรักบี้ ประเพณีเพียงวันเดียวเท่านั้น เพื่อที่วันจริงเวลาชม เกมแล้วจะได้รู้จักตัวผู้เล่นที่เป็นรุ่นน้องๆ ได้ทุกคน ถ้าใครรับลูกตกหรือเล่นผิดพลาดเล่นไม่ได้ดังใจ ก็ จะได้ว่าถูกคน โดยไม่ต้องหันมาถามกันว่า “ไอ้นี่ คือใครวะ?”


สถานการณ์รักบี้ในโรงเรียน ณ ปัจจุบัน ผู้บังคับการ สาโรจน์ ลีสวรรค์ โอวี ๔๐ ได้ชี้แจงว่า ขณะนี้เราให้การสนับสนุน ในเรื่องสถานที่ฝึกซ้อมต่างๆ ให้แก่ทีมโอวี ผู้ฝึกสอนทุกคนทุ่มเทให้แก่การฝึกสอนรักบี้ มาก ผูฝ้ กึ สอนมาอยูท่ โี่ รงเรียนตัง้ แต่ ๑๔.๐๐ ถึง ๔ ทุ่ม และทุกเดือนค่าฝึกสอนก็ไม่รับ ส่งคืนโรงเรียนหมด แถมยังน�ำอาหารมาเลีย้ ง น้องๆ อยู่เสมอ ผมต้องขอชื่นชมในความ เสียสละของผู้ฝึกสอนทุกคน ตอนนี้ เ ด็ ก เล็ ก จะเริ่ ม ซ้ อ มตอนอยู ่ ป.๕ การแข่งรักบี้ภายในจากเดิมเล่นแบบ น๊อกเอ้าท์ ถ้าแพ้รอบแรกก็ได้เล่นครั้งเดียว เลยเปลี่ยนเป็นการแข่งแบบแบ่งสาย เพราะ ตอนนี้เรามี ๖ คณะ ให้ได้แข่งอย่างน้อย ๒ เกมส์ ส่วนการแข่งขันรักบี้ในระดับเด็กนั้น ก็ให้การสนับสนุนส่งแข่งมินิรักบี้ที่เกษตร บางกอกพัฒนา เพื่อให้เด็กรู้จักว่าข้างนอก ตอนนี้ก็มีการเล่นรักบี้ พอโตขึ้นเด็กก็เริ่ม มองถึงอนาคตตัวเอง เล่นรักบีเ้ พือ่ เอาโควต้า ให้ตัวเองได้เข้ามหาวิทยาลัย โรงเรียนท�ำได้ แค่ปลูกฝังความรับผิดและความกตัญญูต่อ โรงเรียนเท่านั้น ถ้าสามารถท�ำได้ส�ำเร็จทีม โอวีก็จะไม่มีปัญหาในอนาคต ทีมงาน อนุมานวสาร รายงาน

“การมาเล่นมาซ้อมรักบี้ประเพณี นั้นผมไม่คิดว่าผมต้องติดทุกครั้ง เราเป็นส่วนหนึ่งของทีม แพ้ก็แพ้ด้วยกัน ชนะก็ชนะด้วยกัน เราเล่นเพื่อทีมเล่นเพื่อโรงเรียน เป็นการแสดง ความกตัญญูให้โรงเรียน ในชีวิตของโอวีแต่ละคน มีโอกาสที่จะตอบแทนโรงเรียนได้ เราก็ต้องช่วยกันท�ำ” ร.อ.ธัญวิทย์ เครือสินธุ์ โอวี ๖๙

anumanavasarn.com


62

เรือนจาก

นักเรียนเก่าฯ เล่าเรื่องสนุก

ดร.สุเมธ โอวี ๓๑

ตันติเวชกุล


“นักเรียนเก่าฯ เราเยอะ แต่ยังขาดพลัง” “ในโอกาสวชิราวุธฯ ๑๐๐ ปี โอวีควร จะท�ำอะไรที่เป็นประโยชน์ ถ้านักเรียนเก่าฯ ระดมก�ำลังช่วยกันท�ำอย่างจริงจัง ปัญหา ของโรงเรียนที่ยังตกค้างก็สามารถแก้ไขได้ แต่ที่ผ่านมา เราไม่เคยลุกขึ้นมาแก้ไขกัน จริงๆ เลย “เรายังไม่ได้ลงมือกันสร้างองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาความคิด มัวแต่ไปท�ำกิจกรรม สร้ า งตึ ก รามบ้ า นช่ อ งแต่ ตั ว จิ ต วิ ญ ญาณ โรงเรี ย นกลั บ ไม่ ส นใจ ท� ำ ไมไม่ ส นใจ กระบวนการพัฒนาตรงนี้ แม้มีอยู่บ้างแต่ก็ ไม่เป็นผลส�ำเร็จที่เห็นจริง “ในที่ ป ระชุ ม ของคณะกรรมการ อ�ำนวยการ เคยมีการถกเถียงประเด็นปัญหา ของโรงเรียนคล้าย ๆ กับทีว่ โิ รจน์ นวลแข เคย พูดถึง แต่ปรากฏว่ายกขึ้นมาพูดทีไรวงแตก ทุกครั้ง ตอนหลังผมก็เบื่อหน่ายพอหมด วาระก็ถอนตัวออกมา ถ้าจะว่ากันจริง  ๆ ปัญหาของโรงเรียนหลายเรือ่ งเป็นสิง่ ทีแ่ ก้ไข ได้ยาก เพราะตัวองค์กรเองยังขาดความกล้า ที่ จ ะเปลี่ ย น บางเรื่ อ งก็ ต ้ อ งพู ด กั น อย่ า ง ตรงไปตรงมาเพือ่ ผลดีตอ่ โรงเรียนเป็นส�ำคัญ

“โครงสร้ า งการบริ ห ารกิ จ การ โรงเรียนจะต้องมีความแน่ชดั ไม่ปรับเปลีย่ น ไปตามตัวบุคคล คณะกรรมการฯ ที่เข้ามา ก็ ต ้ อ งมี ค วามหลากหลาย ทั้ ง ด้ า นความ สามารถ อายุ เป็นต้น เพื่อเป็นกลไกใน การตั ด สิ น เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ ของโรงเรี ย นได้ กระบวนการคัดเลือกก็ต้องมีความโปร่งใส และต้องกล้าพูดกล้าท�ำ “หลายคนชอบมาบ่ น ให้ ฟ ั ง เรื่ อ ง ทรัพย์สนิ ของโรงเรียนทีล่ น้ เกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ได้ พ ระราชทานไว้ ผมเห็ น ด้ ว ยว่ า เป็ น ที่ เรื่องส�ำคัญที่เราควรจะรู้ว่าทรัพย์สมบัติของ โรงเรียนมีอยู่มากน้อยเท่าไร ไม่ใช่ทราบแต่ เพียงว่าจะขอเท่าไรก็ได้ ค�ำถามคือผู้ที่ดูแล เรือ่ งนีอ้ ยูจ่ ะเก็บง�ำเรือ่ งนีไ้ ว้ทำ� ไม ในเมือ่ เป็น เรื่องที่มีผลต่อความอยู่รอดของโรงเรียนใน ระยะยาว เราจะปล่อยให้สถานการณ์เป็น แบบนี้ต่อไปไม่ได้เพราะทรัพย์สินเป็นสิ่งที่ ทรงพระราชทานไว้ให้กับวชิราวุธวิทยาลัย เรื่ อ งนี้ เ คยพู ด กั น มามากแล้ ว รู ้ ป ระเด็ น ปัญหาอย่างทะลุปรุโปร่งแล้ว เมื่อรู้ปัญหาก็ รู้วิธีการแก้ไขด้วย ทีนี้เมื่อรู้ปัญหามีทางแก้ แล้วก็เหลือแต่ว่าใครจะมาเป็นคนลงมือท�ำ anumanavasarn.com


64  เรือนจาก มิฉะนั้น โรงเรียนไม่สามารถวางแผนระยะ ยาวได้ “เราสามารถดึงนักเรียนเก่าฯ ให้กลับ เข้ามาช่วยเหลือกันและกัน และช่วยเหลือ ตอบแทนบุญคุณโรงเรียนได้ นักเรียนเก่าฯ ของเรามีเยอะแต่ขาดพลัง คนที่เสียสละ เข้ามาท�ำงานก็มีอยู่ไม่กี่คน ถ้าเรารวมพลัง

กันจริงจะท�ำอะไรที่เป็นประโยชน์ได้อีกมาก “เพี ย งแต่ ว ่ า เราจะท� ำ อย่ า งไรให้ เนื้อหากิจกรรมน่าดึงดูด น่าสนใจ สามารถ ให้ทุกคนกระโดดและพร้อมใจเข้ามาร่วมได้ ตามก�ำลังความสามารถของแต่ละคน อาจจะ เริม่ ต้นจากตัง้ กองทุนของนักเรียนเก่าฯ พีใ่ ห้ น้อง เพือ่ นช่วยเพือ่ น ช่วยเหลือนักเรียนเก่าฯ ที่ก�ำลังศึกษาต่อ หรือรุ่นน้องที่เพิ่งจบใหม่ ก�ำลังหางานท�ำ หรือสมาคมฯ ก็อาจเข้า มาช่วยเหลือนักเรียนเก่าฯ ที่ประสบปัญหา อยู่ได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางบ้าน สุขภาพ เหล่านีเ้ ราพร้อมขาด แต่การบริหารจัดการ” “ในการเฉลิมฉลองวชิราวุธฯ ๑๐๐ ปี หลายคนถามว่าท�ำไมมีแต่สร้างตึก ในความ เป็นจริงแล้ว ผมเห็นด้วยเลยว่าท�ำไมเราต้อง ท�ำแต่ถาวรวัตถุไม่ท�ำอย่างอืน่ แต่กต็ อ้ งมอง ด้วยว่าการสร้ า งถาวรวั ต ถุ ส ามารถระดม เงินทุนได้งา่ ยกว่า ในโอกาสวชิราวุธฯ ๑๐๐ ปี เราก็เลยต้องเอาถาวรวัตถุเป็นตัวน�ำ สร้างตึก ๑๐๐ ปีให้เสร็จก่อน แล้วค่อยว่าเรือ่ งกองทุน พัฒนากั น ต่ อ ไป ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ เ ราต้ อ งท�ำ กั น จริงจัง “สมาคมฯ ต้องหากิจกรรมเพือ่ สังคม ท�ำอย่างต่อเนื่อง ไม่อย่างนั้นเราก็จะโดน ตราหน้าว่าท�ำเป็นแต่ประกวดนางงาม อย่ า งเดี ย ว เราก็ ต ้ อ งแสดงให้ สั ง คม เห็นด้วยว่า เราก็สามารถท� ำเรื่องอื่น ได้ อย่างเช่นศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ จังหวัดนครนายก ที่สมาคมฯ สมัย ดุสิต นนทะนาคร เป็นนายกฯ ไป


สร้างไว้กเ็ ป็นตัวอย่างหนึง่ ของความพยายาม ของชาววชิราวุธฯ ที่จะท�ำสิ่งดี ๆ ให้เกิดขึ้น เหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ ได้กเ็ พราะทุกคนมาร่วมมือ กัน ตอนนี้เป็นแต่ตัวบุคคล เรามีนักเรียน เก่าฯ หลายคนที่ท�ำประโยชน์ให้สังคม แต่ น่ า เสี ย ดายไม่ ไ ด้ เ ป็ น ยี่ ห ้ อ นั ก เรี ย นเก่ า วชิราวุธฯ ที่ทุกคนมาร่วมมือกันท�ำ “เราจะออกแบบกิ จ กรรมเช่ น นี้ อย่ า งไรให้ ต รงกั บ ลั ก ษณะและธรรมชาติ ของนักเรียนเก่าฯ ของเรา เพราะถ้าไปเลียน กิจกรรมของคนอื่นเขาก็จะกลายเป็นของ โหล จะท�ำอย่างไรให้กิจกรรมช่วยน�ำเสนอ ความเป็นตัวตนของเด็กวชิราวุธฯ ไม่ควร เป็นแค่การจ่ายเงินไปแล้วก็จบ ต้องให้มา ลงมือท�ำด้วยเป้าหมายเราไม่มปี ญ ั หา เพราะ สามารถไปร่วมมือท�ำกับมูลนิธหิ รือโครงการ

ของในหลวงได้มากมาย เรือ่ งหาทุนก็ไม่ยาก เท่าไรเหลืออย่างเดียว คือพวกเรามีเวลา ผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนลงไปช่วยกันท�ำได้ไหม อย่างที่ศูนย์ภูมิรักษ์ฯ ก็ได้วริสร รักษพันธ์ (โอวี ๖๑) ขับรถเทียวไปเทียวมาดูแลอยู่จน ส�ำเร็จเป็นรูปเป็นร่าง “พวกเราที่ มี ค วามถนั ด อะไรก็ ควรเข้ามาช่วยกัน มาช่วยกันแบ่งปันให้ คนอื่นให้สังคม สมาคมฯ ควรเน้นส่งเสริม ให้นักเรียนเก่าฯ มีส่วนร่วม หรือบางคนท�ำ อยู่แล้วก็สามารถมาร่วมมือกันท�ำก็ได้ แต่ ถ้าไม่ว่างกันจริง ๆ ก็อาจจะจ้างคนมาท�ำ แทน เราต้องผลัดกันมาดูแล และท�ำการ สือ่ สารสูส่ งั คมเพือ่ ให้เป็นทีร่ บั ทราบ ผลงาน ก็จะได้ปรากฏ การด�ำเนินงานหรือขยายผล ต่อไปก็จะง่ายขึน้ และมีคนสนับสนุน โอวีกจ็ ะ anumanavasarn.com


66  เรือนจาก ได้มีชื่อเสียงอย่างสร้างสรรค์ “อย่างที่มูลนิธิชัยพัฒนาออกไปตั้ง ศูนย์ฝึกอาชีพให้ชาวบ้านแบบ Tailor-Made มูลนิธิชัยพัฒนามีตัวอาคารและสถานที่อยู่ เราก็เอามาใช้เป็นศูนย์ฝึกอาชีพให้ผู้หญิง ฝึกหัดท�ำอาหาร จากเดิมเป็นได้แค่เด็กเสิรฟ์ ได้เงินเดือนเดือนละ ๘๐๐ บาท พอฝึกหัด ท�ำอาหารกับแม่ครัวชาววังแล้วก็จะได้เป็น ผู้ช่วยแม่ครัวเดือนละ ๔,๐๐๐ บาท ซึ่งหลัง จบคอร์สฝึกหัด แล้ว เราก็มี

ประกาศนียบัตรให้ด้วย ไปสมัครงานที่ไหน เขาก็ รั บ แถมได้ ค ่ า แรงดี ก ว่ า ด้ ว ย หรื อ ที่ นครปฐม มูลนิธิฯ ก็ไปช่วยชาวบ้านปลูก ดอกมะลิได้กิโลกรัมละ ๗๐ บาท แม่บ้าน ทีอ่ ยูเ่ ฉยๆ ก็สนใจมาเรียนร้อยพวงมาลัยกัน มูลนิธิฯ ก็เชิญครูสอนถักร้อยพวงมาลัยจาก ในวังมา ไม่ได้สอนแบบขายตามสี่แยกนะ เอามาสอนร้อยเป็นกระแต เป็นพวงมาลัย ไว้ประดับตกแต่งงานต่างๆ เป็นของช�ำร่วย ฝึกกันเสร็จก็ตั้งร้านกันไปได้ตั้งหลายคน ใช้เงินน้อยได้ผลมาก กิจกรรมเช่นนี้เรา สามารถร่วมมือกับองค์กรใด ๆ ได้ทั้งนั้น ไปช่วยกันสอนในเรือ่ งทีช่ าวบ้านเขาต้องการ ถ้ามีองค์กรอื่นสนใจเข้ามาร่วมท�ำก็แบ่งกัน ไปว่าใครจะลงเท่าไร ซึ่งเบาแรงเราไปและ ก็ได้ชื่ออีกด้วย “เราอาจจะเริ่ ม มารวมตั ว ตั้ ง กลุ ่ ม “โอวีอาสา” มาร่วมท�ำงานกับมูลนิธชิ ยั พัฒนา กันก่อนก็ได้ สมมติต้องการอาสาสมัคร สัก ๔ คน ไปท�ำกิจกรรมคราวละ ๒-๓ อาทิ ต ย์ กลุ ่ ม โอวี อ าสาก็ ม าสมั ค ร ได้เลย ใครถนัดด้านไหนมาเลย เดีย๋ ว จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงให้ พวกข้าราชการ ถ้าลามาท�ำงานอาสา เขา คิดเป็นเวลาท�ำงานให้ มาท� ำ งานแบบนี้ ไ ด้ ทั้ ง ม า ท� ำ ค ว า ม ดี อิ่ ม บุ ญ แ ล ้ ว ยั ง ไ ด ้ เ ที่ ย ว ใ น ส ถ า น ที่ ธรรมชาติสวย ๆ ได้


ท�ำประโยชน์ไปพร้อม ๆ กัน “เราต้องเริ่มท�ำจากง่าย ๆ ก่อน อย่า เพิ่ ง รี บ ไปคิ ด ท� ำ อะไรจริ ง จั ง มาก เพราะ ถ้าจริงจังเกินไป เราไปร่วมเต็มที่แล้วถ้าท�ำ ไม่สำ� เร็จก็จะเสียก�ำลังใจ เสียชือ่ ด้วย พร้อม เมื่อไรค่อยไป เบื่อเมื่อไรก็หยุด ไปท�ำด้วย ความสนุก พอท�ำไปสักพักค่อยมองหาลูท่ าง ที่ตนถนัด แล้วค่อยมาเริ่มท�ำจริงจัง ใช้เงิน กันไม่คอ่ ยเยอะ โอวีทสี่ นใจก็ตดั สินใจกันเอง ว่าสนใจอยากจะร่วมหรือไม่ ผมและมูลนิธิ ชัยพัฒนาพร้อมที่จะให้ร่วมได้เสมอ “ที่ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ สมาคมฯ ได้ ล งทุ น ก่ อ สร้ า งจนเป็ น รู ป เป็ น ร่ า งไป มหาศาล เราก็เพิง่ ส่งมอบให้มลู นิธชิ ยั พัฒนา ไปบริ ห ารงานต่ อ ท� ำ ไมเราไม่ ล องไปท� ำ กิจกรรมกับศูนย์ฯ เป็นระยะๆ ให้ต่อเนื่อง เช่น โอวีทอี่ ยากไปสนับสนุนชุมชนทีย่ ากจน ก็อาจจะพามาอบรมที่ศูนย์ภูมิรักษ์ฯ สัก ๗ วัน หรือเจอกลุม่ เป้าหมายก็เข้าไปสนับสนุน ให้ ม าท� ำ ที่ ศู น ย์ ภู มิ รั ก ษ์ ฯ จั ด กิ จ กรรมให้ ต่อเนื่องและต่อยอดกับศูนย์ฯ ที่เราสร้างไว้ เป็นฐานแล้ว พอคนที่ส�ำเร็จการอบรม เรา ก็ให้ประกาศนียบัตรทีม่ ยี หี่ อ้ สมาคมนักเรียน เก่าวชิราวุธฯ ติดไปด้วย “เด็กนักเรียนวชิราวุธฯ ก็ควรจะออก ไปเรียนรู้ข้างนอกโรงเรียนด้วย เช่น ไปอยู่

ตามป่าเขาไปอยู่ชนบท ไปเรียนรู้ชีวิตจริง เอาพ่อแม่ไปด้วย โรงเรียนก็สามารถมาใช้ สถานที่ที่ศูนย์ภูมิรักษ์ฯ ได้ เป็นกิจกรรม สานสัมพันธ์ในครอบครัวไปในตัวด้วย “กลุ่มผู้ปกครองนักเรียนวชิราวุธฯ นี้เป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่มีก�ำลังสูง สามารถท�ำ อะไรได้มหาศาล ต้องดึงผู้ปกครองเข้ามา ท�ำกิจกรรมร่วมกัน ผู้ปกครองก็จะได้เรียน รู้โรงเรียน ฝ่ายบริหารโรงเรียนก็ต้องเข้าใจ นักเรียนเก่าฯ ก็ต้องเข้าใจ ต้องท�ำให้เป็น เครือข่ายสามเส้าให้ได้ แล้วอย่าปัดแข้งปัดขา กันเองนะ ท�ำให้มสี ปิรติ เดียวกัน พลังในการ ท�ำสิ่งดี ๆ จะมีมหาศาล และผลดีก็ตกอยู่ที่ ผู้ปกครอง และโรงเรียนก็จะได้เรียนรู้ร่วม กันในการสั่งสอนเด็ก “กิจกรรมของสมาคมฯ เดีย๋ วนีก้ เ็ ห็น แต่แข่งกีฬา กีป่ กี ชี่ าติกเ็ ล่นแต่อย่างนี้ แก่จะ ตายแล้วจะไปเล่นอะไรไหว ต้องหากิจกรรม ที่ใคร ๆ ก็สามารถท�ำได้ และเป็นประโยชน์ ต่อสังคม ต่อคนทีม่ โี อกาสน้อยกว่าเรา อย่าง ฝรั่งแก่แล้วก็ยังไปช่วยสร้างบ้านให้คนจน โอวีที่แก่ๆ ก็ไปช่วยออกเงิน เด็กๆ มีแรงก็ ไปลงมือลงแรงท�ำ “แค่นี้ ความส�ำเร็จในการท�ำให้ส่วน รวมก็เกิดขึ้นแล้วและท�ำได้ง่าย ๆ โอวีต้อง รู้จัก “ให้”

สัมภาษณ์ ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์ โอวี ๔๖ กิตติเดช ฉันทังกูล วีรยุทธ โพธารามิก โอวี ๖๐ ธนกร จ๋วงพานิช อาทิตย์ ประสาทกุล โอวี ๗๑ ศศินทร์ วิทูรปกรณ์

เรียบเรียง โอวี ๗๓ กิตติเดช ฉันทังกูล โอวี ๗๗ ถ่ายภาพ โอวี ๗๙ สงกรานต์ ชุมชวลิต

โอวี ๗๓ โอวี ๗๗

anumanavasarn.com


68 กองบั งคับการ สิบนิ้วประนมเหนือเกศ ไหว้ครูวิเศษทั้งน้อยใหญ่

ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ นี้ นอกจากเป็นวาระการเฉลิมฉลอง วชิราวุธวิทยาลัยทีม่ อี ายุครบ ๑๐๐ ปีแล้ว ยังเป็นวาระทีส่ ำ� คัญอีกประการ หนึ่ง คือเป็นปีที่วงปี่สก๊อตของโรงเรียนที่ได้ก่อตั้งมาครบ ๖๐ ปีอีกด้วย ในวาระที่ส�ำคัญนี้ ผู้เขียนขอบันทึกเรื่องราวจากความทรงจ�ำเกี่ยวกับ วงปีส่ ก๊อตวชิราวุธวิทยาลัยในอดีตไว้เพือ่ ไม่ให้ขอ้ มูลเก่าทีส่ ำ� คัญสูญหาย ไปกับกาลเวลา ทัง้ ได้คน้ คว้าข้อมูลเพิม่ เติมจากบุคคลทีน่ บั ถือ และแหล่ง ข้อมูลอื่นเพิ่มเติม เพื่อความสมบูรณ์ของบทความนี้


วงปี่สก๊อตวชิราวุธวิทยาลัยนี้ เกิด ขึ้นในสมัยที่พระยาภะรตราชา (ม.ล.ทศทิศ อิศรเสนา) ขณะด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับการ วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ท่ า นได้ มี โ อกาสรู ้ จั ก Mr.Stewart Spilsbury Marr ผู้จัดการ แผนกเดินเรือบริษทั บอร์เนียว จ�ำกัด ต่อมา Mr.Marr ได้ถกู ควบคุมกักขังบริเวณในฐานะ เชลยศึ ก ในสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง

และย้ า ยจากมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และการเมือง มายังวชิราวุธวิทยาลัยในปี พุทธศักราช ๒๔๘๘ ซึ่งผู้บังคับการและ ครอบครัวก็พกั อยูใ่ นบริเวณโรงเรียนเช่นกัน ท่านได้แอบพบปะถามทุกข์สขุ กับชาวอังกฤษ หลายคน รวมทัง้ Mr.Marr ซึง่ รูจ้ กั มักคุน้ กัน มาก่อน บางครั้งแอบโยนเป็ดไก่ ข้าวปลา อาหารข้ามรั้วลวดหนามที่ทางราชการกั้นไว้ ไปให้ตามแต่โอกาสจะอ�ำนวย ต่อมาในช่วงปลายสงคราม เครือ่ งบิน ฝ่ายสัมพันธมิตรน�ำระเบิดมาทิ้งในบริเวณ กรุ ง เทพฯ ทุ ก ครั้ ง ที่ มี สั ญ ญาณเตื อ นภั ย ทางอากาศ ก็มักจะมีผู้คนหลบเข้ามาอยู่ใน บริเวณโรงเรียนทางด้านหลังทีไ่ ม่ได้ใช้กกั ขัง เชลยศึก ซึ่งคาดว่าคงจะปลอดภัยเพราะ สัมพันธมิตรคงไม่ทิ้งระเบิดที่อยู่ของเชลย ศึกพวกเดียวกัน แต่ไม่เป็นดังคาด คืนหนึ่ง ระเบิดลอยมาโดนคณะดุสิตพังไปแถบหนึ่ง (ทิ้งร่องรอยให้เห็นได้ในปัจจุบัน) ส่วนคณะ จิ ต รลดากระเบื้ อ งหลั ง คาเกื อ บไม่ เ หลื อ พระที่นั่งอนันตสมาคมก็โดนไปส่วนหนึ่ง เมื่อสงครามยุติลง Mr.Marr เป็นคน ร่างผอมบางอยู่แล้ว ขณะถูกกักขังคงขัดสน เรื่องอาหารการกินท�ำให้ร่างกายไม่แข็งแรง ได้เดินทางกลั บ สหราชอาณาจั ก รอั ง กฤษ เพื่อพักฟื้นรักษาตัวอยู่พักใหญ่ จากนั้นจึง กลับมาท�ำงานในบริษัท บอร์เนียว จ�ำกัด อย่างเดิม ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ พระยา ภะรตราชา มีดำ� ริอยากให้วชิราวุธวิทยาลัยมี anumanavasarn.com


70

กองบังคับการ

วงปี่สก๊อต เนื่องจากในรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ได้ทรงมีพระราช ประสงค์ให้มวี งปีส่ ก๊อตประจ�ำกองเสือป่า แต่ หาผูฝ้ กึ สอนตัง้ วงไม่ได้ ด้วยความจงรักภักดี กตัญญูกตเวที จึงสนองพระราชประสงค์ นี้ โดยติดต่อเชิญ Mr.Marr ผู้มีเลือดเนื้อ เชื้อสายเป็นชาวสก๊อต และมีความสามารถ ในการเล่นดนตรีชนิดนี้อยู่แล้วให้ช่วยจัด ซื้อปี่สก๊อต ๘ คันและกลอง ๔ ใบ จาก สหราชอาณาจั ก รอั ง กฤษมาฝึ ก สอนให้ นักเรียน เป็นวงปี่สก๊อตขนาดเล็กจ�ำนวน ๑๒ นาย จึงได้เกิดขึน้ ในปีนนั้ เป็นต้นมา และ ในปีถัดมาวงปี่สก๊อตได้น�ำแถวนักเรียนไป ถวายบังคม พระบรมรูปพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าฯ ณ ลานพระราชวังดุสติ และ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ณ สวนลุ ม พิ นี ต ลอดจนเป็ น วงดนตรี เกียรติยศรับและส่งเสด็จ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ องค์ต่อๆ มา และพระบรม วงศานุวงศ์ตลอดมา จากผลงานของท่านที่ ได้ทุ่มเทฝึกสอนวงปี่สก๊อตวชิราวุธวิทยาลัย Mr.Marr ได้ รั บ พระราชทานเครื่ อ งราช อิ ส ริ ย าภรณ์ จั ตุ ร ถาภรณ์ ช ้ า งเผื อ ก ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๓ Mr.Marr ได้รับหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอน ปี่สก๊อตให้นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัยติดต่อ เป็นเวลานาน ท่านเป็นครูดนตรีท่านเดียว ที่ อ ดี ต ผู ้ บั ง คั บ การให้ เ กี ย รติ ป ระกาศใน หอประชุม ให้นกั เรียนเตรียมตัวในทุกครัง้ ที่ ท่านเดินทางมาสอนและควบคุมการบรรเลง

วงปี่สก๊อตของวชิราวุธวิทยาลัยได้รับเกียรติ เชิญไปร่วมงาน St.Andrew’s Society ณ ราชกรีฑาสโมสรเป็นประจ�ำทุกปี Mr.Marr ในชุดสก๊อตเต็มยศเดินน� ำขบวนวงดนตรี ปี่สก๊อตบรรเลงเพลงประจ� ำชาติ เ ปิ ด งาน รืน่ เริง อันเป็นทีป่ ระทับใจกล่าวขานของสังคม ชาวสก๊อตในประเทศไทยอย่างไม่รู้เลือน นอกจากนั้ น อดี ต ผู ้ บั ง คั บ การได้ จัดการประกอบพิธสี มรสกับคุณวี มาร์ อย่าง สมเกียรติทหี่ อประชุมวชิราวุธวิทยาลัย ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๓ มีบตุ รชาย ๒ คน ท่านได้ ส่งบุตรชายคนแรก Mr.Stewart Somkanay Marr Jr. มาเป็นนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย คณะสราญรมย์ ชั้นประถมปีที่ ๓ ในปี พุทธศักราช ๒๕๑๒ และเมื่อถึงอายุอัน สมควรได้ส่งไปศึกษาต่อที่ Clifton College


อันเป็น Public School ทีม่ ชี อื่ เสียงในอังกฤษ ปัจจุบันประกอบธุรกิจร้านอาหารในอังกฤษ ส�ำหรับบุตรชายคนที่สอง Mr.Petrie Victor Edward Marr (ที่รู้จักในนามคุณเพชร มาร์ กรรมการเวทีประกวดร้องเพลง The Stars) เป็นนักเรียนเก่ากรุงเทพคริสเตียน ปัจจุบัน ท�ำงานทางด้านดนตรีกับบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน) Mr.Marr ได้รบั หน้าทีฝ่ กึ สอนปีส่ ก๊อต ให้แก่นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย จนกระทั่ง สุขภาพไม่อ�ำนวยให้มาฝึกสอนได้อีก ท่าน ได้ทูลเกล้าฯ ถวายปี่สก๊อตส่วนตัวของท่าน ทีส่ งั่ ท�ำขนาดใหญ่กว่าปกติดว้ ยไม้ชนิดพิเศษ เลี่ยมแหวนเงินแท้ทุกข้อต่อ ให้เป็นสมบัติ ของโรงเรี ย น ซึ่ ง ในอดี ต หั ว หน้ า วงได้ รั บ เกียรติเป็นผู้ครอบครองและใช้บรรเลง และ ได้ใช้บรรเลงในงานพระราชทานเพลิงศพของ ท่าน ณ เมรุวดั ธาตุทอง เมือ่ วันอังคารที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๖ ทางโรงเรียนได้เก็บ รักษาไว้พร้อมกับประวัติวงปี่สก๊อต เพื่อ แสดงแก่นักเรียนและผู้เข้าเยี่ยมชมกิจการ ในหอประวัติของโรงเรียน วงดนตรี ป ี ่ ส ก๊ อ ตวชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ได้ พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง มาตลอด โดยมี อ ดี ต ผูจ้ ดั การวงปีส่ ก๊อต คือ อาจารย์ พ.ต.อภิรกั ษ์ อารียม์ ติ ร และอาจารย์ด�ำรงศักดิ์ ศรีสรุ นิ ทร์ ตามล� ำ ดั บ ในปั จ จุ บั น อาจารย์ ม งคล

เล็กทรงเจริญ รับหน้าที่เป็นผู้จัดการวงในปี พุทธศักราช ๒๕๔๐ ทางโรงเรียนได้สั่ง ซื้อปี่สก๊อตคุณภาพดีจากอังกฤษ ผลิตโดย Mr.Keith Robert Walker ครูสอนปี่สก๊อต ชาวอังกฤษซึ่งได้เดินทางมาช่วยซ่อมบ�ำรุง อุปกรณ์ปี่สก๊อตที่ช�ำรุด และต่อมาได้รับ เป็นครูผฝู้ กึ สอนและควบคุม วงปีส่ ก๊อตของ วชิราวุธวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ ตั้งแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๔๙ เป็นต้นมา ในพุทธศักราช ๒๕๕๓ นี้ ถือได้ว่า วงปี่สก็อตวชิราวุธวิทยาลัยมีอายุครบรอบ ๖๐ ปี ปั จ จุ บั น ประกอบด้ ว ยผู ้ บ รรเลง ปี่สก๊อต ๔๘ นาย กลอง ๑๒ นาย และคฑา น�ำแถว ๓ นาย รวม ๖๓ นาย นับว่าเป็นวง ปีส่ ก๊อตฝีมอื ดีขนาดใหญ่ในเอเชียอาคเนย์ วง ปี่สก๊อตวชิราวุธวิทยาลัยได้เดินทางไปร่วม การแข่งขันระดับนานาชาติ Pipe Band Championship ๒๐๑๐ จัดโดย Singapore Pipe Band Association เมื่ อ วั น ที่ ๖ มิถนุ ายน ๒๕๕๓ ได้อนั ดับที่ ๓ จากผูแ้ ข่งขัน ทั้ ง หมด ๖ วงในภู มิ ภ าคเอเชี ย อาคเนย์ ส�ำหรับการเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติครัง้ แรก ถือว่าผลการแข่งขันเป็นที่น่าพอใจ แต่ยังคง ต้องปรับปรุงในข้อบกพร่องเพื่อต�ำแหน่งที่ ดีขึ้นในการแข่งขันครั้งต่อไป ชัยวัฒน์ นิตยาพร น.ร.ว. ๒๗๗๑ โอวี ๔๒

(ข้อมูลเพิ่มเติมจากค�ำไว้อาลัยของ ดร.กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย ใน หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ Mr.Stewart Spilsbury Marr วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๒๖ รวม ทั้งค�ำบอกเล่าของคุณวี มาร์ ภริยาผู้ล่วงลับ และวชิราวุธานุสาสน์ในอดีต)

anumanavasarn.com


72

โดด

กฎมีไว้แหก ก�ำแพงมีไว้ข้าม

ศุกร์ทแี่ ล้ว ขณะทีเ่ ราชาวอนุมานวสาร ก� ำ ลั ง นั่ ง คิ ด ไม่ ต กว่ า พอตกค�่ ำ เราจะไป สังสรรค์กันที่ไหนดี พลันก็ได้ข่าวว่ามีรุ่นพี่ โอวีของเราไปควบกิจการร้านย่านทองหล่อ ไม่ใกล้ไม่ไกลแถวนี้เอง พวกเราเลยไม่รอช้า ยกโขยงกันไปเยี่ยมเยียนรุ่นพี่กันถึงที่ ณ ร้าน Y50 ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นซอยแจ่มจันทร์ ทีเ่ ชือ่ ม ระหว่างทองหล่อกับเอกมัยกันตั้งแต่หัวค�ำ่ แม้ว่าวันนั้นเราจะไปถึงเร็ว แต่รถก็ จอดกันเต็มหน้าร้านแล้ว ถ้ามาดึกกว่านี้ไม่ ต้องคิด แต่ไม่ต้องกลัวจะหาที่จอดรถไม่ได้ หรือต้องไปจอดไกลมากนะครับ เพราะรถ จอดปุ๊บก็มีเด็กมารับรถปั๊บ ส่วนเราก็เดิน

ตัวปลิวเข้าร้านอย่างสบายๆ ขึน้ บันไดไปผ่าน รูปภาพหอประชุมโรงเรียนขนาดใหญ่ตรง ชานพัก (ให้เราแน่ใจว่าที่นี่เป็นร้านของเด็ก วชิราวุธฯ แน่นอน) ก็จะถึงร้านทีต่ งั้ อยูบ่ นชัน้ สองพอดี และพีก่ อ้ (วัชระ ตันธนะ โอวี ๖๔) พี่ทิว (ทมะ วัชรพุกก์ โอวี ๖๖) และพี่เย้ (ร.อ.ธัญญวิทย์ เครือสินธุ์ โอวี ๖๙) สาม หุ้นส่วนนั่งรอต้อนรับพวกเราอยู่แล้วที่โต๊ะ ตรงหน้าเวที พี่ทิวซึ่งเป็นมัณฑนากรของร้านชวน ให้เราดูโถงของร้านที่สูงโปร่ง ให้ความรู้สึก เหมือนอยู่ในหอประชุมโรงเรียน ซึ่งพี่ทิว อธิบายว่าพีเ่ ขาจงใจออกแบบให้เป็นอย่างนัน้


สามทุ่มครึ่งหลังจากกินอาหารกัน เสร็จเราก็เริ่มสอดส่ายสายตาไปรอบๆ ร้าน แล้วก็พบว่าลูกค้าแต่ละคนของ Y50 ถ้าไม่ เป็นดาราก็เหมือนจะเป็นนางแบบ ดูจาก หน้าตา รูปร่าง แล้วก็การแต่งตัว แต่ที่ แปลกคือที่นี่ลูกค้าก็ไม่ได้เบียดเสียดจนเดิน ไม่ได้ ร้านก็เหมือนกับร้านอื่นๆ ถึงแม้ว่า โต๊ะจะถูกจองเต็มมาตั้งแต่เมื่อวาน พี่ก้อ บอกว่าลูกค้าที่นี่จะค่อนข้างมีระดับหน่อย ส่วนใหญ่ท�ำงานแล้วเรื่อยไปจนถึงวัยรุ่นที่ เพิ่งเริ่มท�ำงาน ช่วงหัวค�่ำดนตรีจะเป็นแจ๊ส ที่เสียง เพลงเบาๆ กอปรกับเสียงใสๆ ของนักร้อง สาวช่ ว ยสร้ า งบรรยากาศชิ ล ๆ ในขณะที่ พวกเราก้นติดเบาะคุยกันอย่างออกรสได้ เป็นอย่างดี ผ่านไปราวสี่ทุ่มครึ่ง ณ เวลาที่ ทุกคนเริ่มจะกรึ่มๆ วงสตริงที่มีมือคีย์บอร์ด ชั้นเซียนมาก (ยืนยันโดยนักดนตรีคนหนึ่ง ในทีมงานอนุมานวสารของเรา) ก็รับหน้าที่ ปลุกให้คนเริม่ ลุกขึน้ จากโต๊ะ แล้วขยับสเต็ป ไปตามเพลง พอโต๊ะอื่นเริ่มลุก พวกเราก็ไม่ รอช้าเปลี่ยนจากนั่งมายืนถือแก้วยืนคุยกัน บ้าง พี่ทิวซึ่งเป็นมือแคริเน็ตเก่าของวงโยฯ สมทบว่าวงดนตรีพวกนี้พี่เขาคัดเองกับมือ ไม่มผี ดิ หวังเรือ่ งคุณภาพ เวลาล่วงเลยไปจน นาฬิกาแตะเลขหนึ่ง วง Bangkok Delight ทีส่ มาชิกในวงพร้อมใจกันอยูใ่ นชุดประหลาด ก็ก้าวขึ้นเวที ท่ามกลางความสงสัยของพวก จากซ้าย พี่ก้อ (วัชระ ตันธนะ โอวี ๖๔) เรา แต่พอท� ำนองเพลงเลดี้กาก้าออกมา พี่ทิว (ทมะ วัชรพุกก์ โอวี ๖๖) และพี่เย้ เท่านั้นเราก็ไม่สงสัยอะไรอีก เพราะคนทั้ง (ร.อ.ธัญญวิทย์ เครือสินธุ์ โอวี ๖๙)

แล้วยังชีใ้ ห้เราเห็นโคมไฟทีพ่ ที่ วิ สัง่ ท�ำเป็นรูป ระฆังแก้วขนาดใหญ่เหมือนกับโคมไฟบน หอประชุมโรงเรียน จากนั้นพี่ทิวไม่ลืมที่จะ บอกให้เราไหว้พระรูปเสด็จพ่อ ร.๖ ที่ตั้งอยู่ ที่มุมหนึ่งของร้านด้วย พี่เย้เล่าว่าอันที่จริงชาวโอวีมาที่นี่กัน เยอะ ตรงตามความตั้งใจที่พวกพี่เขาอยาก ให้ ร ้ า นนี้ เ ป็ น ร้ า นที่ โ อวี ม าพบปะสั ง สรรค์ คุยกันเรื่องเก่าๆ แล้วก็จริงอย่างที่ว่า พี่เย้ พูดไม่ทันขาดค�ำเราก็เห็นพี่บอม (เริงยุทธ โพธารามิก) เดินเข้าร้านมาพอดี ตามด้วย พี่โบ๊ท (ชยาพล ปิ่นธานี) ที่ยกก๊วนโอวี ๖๘ มาจับจองที่นั่งอีกโต๊ะหนึ่งข้างเวทีเช่น เดียวกัน

anumanavasarn.com


74

โดด

ร้านไม่มใี ครนัง่ ติดกันแล้วสักคน พร้อมใจกัน เต้นไปกับดนตรีสดุ มันส์กนั ทัง้ นัน้ Bangkok Delight ส่งต่อความสนุกออกมาไม่หยุด ทั้งไมเคิล แจ็คสัน และเคป็อปส่งตรงจาก เกาหลี และแน่นอนว่าพร้อมด้วยเครื่องแต่ง ตัวสุดจี๊ดตรงธีมเพลงทุกเพลงไป ถ้าเคยชมภาพยนตร์ไทย ปิดเทอม ใหญ่หัวใจว้าวุ่นเมื่อปีที่แล้ว และจ�ำฉากงาน ปาร์ตี้สุดมันส์ได้ ขอบอกว่าที่นี่คือสถานที่ ถ่ายท�ำจริงและบรรยากาศสนุกอย่างนั้นก็ ไม่ได้มีแค่ในหนังเท่านั้นนะครับ ถ้าจะหาที่ พบปะสังสรรค์ทมี่ ดี นตรีสดดีๆ อาหารเครือ่ ง ดื่มพร้อมสรรพ แถมด้วยรายละเอียดของ โรงเรียนสอดแทรกอยู่ทุกที่ คงไม่มีที่ไหน

ดีไปกว่า Y50 นี่แล้วล่ะครับ แล้วไม่ต้อง กลัวว่าถ้ามาคนเดียวแล้วจะเหงานะครับ ที่ นี่มีโอวีเป็นลูกค้าประจ�ำอยู่เป็นกะตั๊ก แถม ราคาก็ไม่หนีจากร้านทั่วไปในซอยทองหล่อ เอกมัยเลย ยิ่งพี่ๆ ใจดีบอกว่าถ้าโอวีมาจะ ลดให้ตั้ง ๑๕ % แหม! อย่างนี้เราจะพลาด ได้อย่างไรละครับ ขอขอบคุณ พี่ก้อ วัชระ ตันธนะ ๖๔ พี่ทิว ทมะ วัชรพุกก์ ๖๖ และพี่เย้ ฐัญวิทย์ เครือสินธุ์ ๖๙ มา ณ ทีน่ ดี่ ว้ ยนะครับ วันหลังจะไปถล่มร้านกันใหม่ สิร นุกลู กิจ โอวี ๗๗ เรียบเรียง พงศธร โกยสมบูรณ์ โอวี ๗๓ พิสูจน์ความมันส์



76 โรงเลี ้ยง ชวนชิมร้านอาหาร โอวี

ShoKu Zen ชาบูและสุกี้ญี่ปุ่น เด็ดทั้งซุป เด็ดทั้งเนื้อ เมื่ อ มี ค� ำ เชิ ญ มา มี ห รื อ ที่ ที ม งาน อนุมานวสารจะพลาดได้ ยิง่ เป็นค�ำเชิญให้ไป ลิ้ ม ชิ ม รสร้ า นอาหารของชาวโอวี ที่ เ พิ่ ง เปิดใหม่ ทีมงานอนุมานวสารยิ่งพลาดไม่ได้ ต้ อ งรี บ เข้ า ไปท� ำ หน้ า ที่ พิ สู จ น์ ว ่ า รสชาติ อาหารของร้านใหม่นี้ จะดีพอที่จะให้พวก เราการันตีตรา “โรงเลี้ยง” ให้ได้หรือเปล่า ร้ า นอาหารที่ พ วกเราไปตามค� ำ ‘เชิญชิม’ ครั้งนี้ เป็นร้านสุกี้และชาบูสไตล์

ปกาศิต จันทรุเบกษา (โอวี ๖๕) เปิดบริการทุกวันเวลา ๑๐.๓๐ - ๒๒.๐๐ โทร ๐๒-๓๒๐-๒๙๐๖


ญี่ปุ่นของพี่เหน็ง - ปกาศิต จันทรุเบกษา (โอวี ๖๐) น้องชายของพี่หม่อง - ชลิตรัตน์ จั น ทรุ เ บกษา (โอวี ๕๔) ร้ า นนี้ มี ชื่ อ ว่ า “Shokuzen” ตั้งอยู่ที่ชั้น ๒ ของอาคาร โอเอซิส ในซอยพัฒนาการ ๕๓ ถ.พัฒนาการ การเดินทางแม้จะไกลหน่อย แต่ไม่ได้ลำ� บาก มาก ถ้ามาช่วงเย็นๆ อาจจะต้องเจอรถติด เพราะลูกค้าจะมากันจนแน่นเต็มร้าน แม้ว่า ร้านจะเพิง่ เปิดมาได้แค่เดือนเศษๆ แต่ตอนนี้ ก็เริม่ มีลกู ค้าหน้าเดิมๆ กลับมาทีร่ า้ นอยูเ่ ป็น ประจ�ำ พี่เหน็งกล้าพูดเลยว่า “อาหารของ เราอร่อยกว่า ลูกค้าทีม่ าก็มาถามว่าท�ำไมไม่ ไปเปิดที่ทองหล่อ ไม่ไปเปิดที่เอกมัย เขาว่า เราสูไ้ ด้นะ แต่เราว่ามันไกลบ้าน เดินทางมา ร้านตัวเองไม่สะดวกเท่าทีน่ ี่ และทีส่ �ำคัญเรา คิดว่าถ้าอาหารทีไ่ หนอร่อย ร้านจะอยูท่ ไี่ หน ยังไงคนก็มา เราก็เลยท�ำกันตรงนี้สบายๆ ถ้าลูกค้าเชื่อใจว่าอาหารร้านนี้ดี พวกเขาก็ จะกลับมากันเอง” ได้ฟังค�ำการันตีจากปากของเจ้าของ ร้านเองแล้ว ยิ่งท�ำให้พวกเราอยากจะพิสูจน์ ว่าอาหารร้านนีจ้ ะอร่อยเหมือนทีเ่ จ้าของร้าน พูดไว้ไหม ที่ร้านนี้มีให้เลือกระหว่างว่า จะกินชาบูหรือจะกินสุกี้ ถ้าเป็นชาบู น�้ำซุปที่ได้จะใสๆ เพราะจะได้กิน รสหวานจากทั้ ง ผั ก และเนื้ อ ที่ จะมาลวกกันเอง แต่ถ้าเป็น สุ กี้ น�้ ำ ซุ ป ที่ ไ ด้ จ ะเป็ น น�้ ำ ซุ ป สู ต รพิ เ ศษจากญี่ ปุ ่ น โดยตรง พี่เหน็งเล่าที่มา

ของน�้ำซุปนี้ว่า “คุณแม่มีเพื่อนสนิทเป็นคน ญีป่ นุ่ เพือ่ นของคุณแม่คนนีก้ เ็ ลยเข้ามาช่วย สอนทุกอย่างเลย ตัง้ แต่การต้มน�ำ้ ซุปต้องใส่ สาหร่าย ปลาโอ ปลาซาร์ดีน ท�ำให้ได้กลิ่น ทะเลด้วย น�้ำซุปสุกี้ที่ของร้านนี้หอมกว่า ร้านอื่นๆ เพราะถ้าเป็นร้านอื่นท�ำ ส่วนใหญ่ ใช้แค่ซีอิ้วผสมน�้ำตาลอย่างเดียว แต่น�้ำซุป ของร้านเรา หอมเพราะเราใส่วัตถุดิบดีๆ ลงไปต้มเป็นน�้ำซุปก่อน แล้วค่อยมาปรุง รสอีกที น�้ำซุปของเราจึงหอม อร่อยกว่าที่ อื่นแน่นอน” ได้ยินอย่างนี้แล้ว พวกเราเลยต้อง ขอลองรสน�ำ้ ซุปสุกี้สูตรพิเศษจากญี่ปุ่น พอ หม้อสุกี้มาตั้งอุ่นบนเตาข้างหน้า พวกเราก็

anumanavasarn.com


78  โรงเลี้ยง

ไม่รอช้ารีบสั่งเนื้อ หมู และผักมาอย่างละ หลายชุด เพราะกลัวพีเ่ ขาจะเสียใจทีพ่ วกเรา มาแล้วกินกันน้อยไป แต่นั้นเป็นแค่ข้ออ้าง อันที่จริงแล้วพี่เหน็งบอกแล้วว่า “วัตถุดิบ ทั้งหมดเราซื้อเองหมดครับ เนื้อนี่มาจาก ไทย-เฟรนซ์ ส่วนหมูนเี่ ป็นหมูนำ�้ เป็นของแฟน ผมเองทีส่ งิ ห์บรุ ี หมูน�้ำก็คอื หมูออร์แกนิกส์ เป็นหมูที่เลี้ยงแบบธรรมชาติ เขาปล่อยให้ หมูมันเดินไปทั่ว ไม่ได้จับขังในคอกแล้วให้ กินอย่างเดียว และที่สำ� คัญไม่มีฉีดสารเร่ง ให้โต หรือให้สีสวย หมูส่วนใหญ่ตอนนี้เป็น หมูฟาร์มทีถ่ กู เลีย้ งในคอกเท่านัน้ แต่ทรี่ า้ นนี้ เราใช้หมูออร์แกนิกส์อย่างดี ลูกค้าส่วนใหญ่ ที่กลับมาก็เพราะติดใจเนื้อหมูนี่ละ” แค่ ไ ด้ ยิ น ว่ า เนื้ อ ไทย – เฟรนซ์ ก็ ท�ำเอาพวกเราน�้ำลายสอ ยิ่งได้ยินเรื่องหมู ออร์แกนิกส์เข้าไปอีก ก็เลยระดมสั่งกันจน เจ้าของร้านต้องเข้าไปช่วยสไลด์เนื้อเองเลย เมื่อทั้งเนื้อหมูน�้ำและเนื้อวัวไทย – เฟรนซ์ ออกมาเสิ ร ์ ฟ ที่ โ ต๊ ะ น�้ ำ ซุ ป สุ กี้ สู ต รพิ เ ศษ

ก็ เ ริ่ ม เดื อ ดได้ ที่ พอ เปิดฝาหม้อออก กลิ่น หอมของน�ำ้ ซุปสาหร่าย และปลาทะเลก็ ล อย หอมออกมายั่วน�้ำลาย ทันที พวกเราไม่รอช้า หยิบตะเกียบไปคีบเนือ้ หมูสไลด์บางๆ ขึ้นมา แล้วไปจุ่มแช่ในน�้ำซุป จุ ่ ม เนื้ อ ไว้ ใ นน�้ ำ ซุ ป ได้ ไม่นานเท่าไรก็สุกพอดีกิน พวกเราคีบเนื้อ หมูขึ้นมาจากหม้อแล้วกินเข้าปาก แค่เคี้ยว เบาๆ เนื้อหมูก็ค่อยๆ ละลาย แถมยังฉ�ำ่ ไป ด้วยน�ำ้ ซุปสูตรพิเศษทีห่ อมและหวาน แค่กนิ เนื้อกับน�ำ้ ซุปก็อร่อยเกินพอแล้ว ถ้าใครคนไหนชอบกินกับน�ำ้ จิ้ม ทาง ร้านก็มีน�้ำจิ้มสูตรพิเศษจากคุณแม่ของพี่ เหน็ ง ที่ ห อมด้ ว ยกลิ่ น งา แถมยั ง รวมเอา ความหวานกับความเค็มไว้ได้อย่างพอดี ใคร ทีช่ อบกินแบบไทยๆ ทีร่ า้ นก็มเี ครือ่ งเคียงทัง้


พริก กระเทียม มะนาวไว้ให้ ส่วนคนที่ชอบ แบบญี่ปุ่นหน่อย ก็จะมีงาขาว พริกป่นญี่ปุ่น โชยุไว้คอยให้บริการเช่นกัน พวกเรานั่งลวก นั่งจิ้ม นั่งกินทั้งเนื้อ กินทั้งหมูกันอย่างเพลินปาก ก็เพราะเนื้อ แต่ละชิ้นโดนสไลด์จนบางพอดี จุ่มลงน�้ ำ สักแป๊บก็เอาขึ้นมากินได้โดยที่จะไม่ต้องรอ ตอนที่เคี้ยวเนื้อแต่ละชิ้นก็แสนนุ่ม ไหนจะ มีรสจัดๆ ของน�้ำจิ้มและน�้ำซุปหอมๆ ช่วย ให้กินกันอย่างคล่องคออีก พวกเราจึงเริ่ม อิม่ กันโดยไม่รตู้ วั ถ้าไม่อมิ่ กันก็คงจะแย่แล้ว เพราะพวกเรากินกันจนไม่รวู้ า่ เขาเอาเนือ้ มา เสิร์ฟกันเป็นจานที่เท่าไร ที่ร้าน Shokuzen นี้ ไม่ได้มีแค่ชาบู หรือสุกไี้ ว้บริการเท่านัน้ แต่ยงั มีอาหารญีป่ นุ่ เมนูต่างๆ ให้เลือกทานหลายจานและยังมี จานอร่อยที่พี่เหน็งบอกว่าเป็นสูตรเด็ดมา จากคุณแม่ ซึ่งก็คือ “สตูว์ลิ้นวัว” แม้ว่าพวก เราจะเริ่มอิ่มกันแล้ว แต่พวกเราก็ไม่อยาก พลาดที่จะชิมอีกสักจาน หลังจากที่ค�ำแรก เข้าปากและตามมาด้วยค�ำต่อๆ ไปจนหมด พวกเราก็พบว่ามันคุ้มค่าจริงๆ ที่ไม่ยอม พลาดชิมสตูว์ลิ้นวัวจานนี้ ลิ้นวัวนั้นนุ่มได้ใจ จากพวกเรากันไปทุกคน น�ำ้ ซอสก็เข้มข้นจน พวกเราต้องกินกันให้หมด เพราะถ้าไม่หมด คงจะเสียดายความอร่อยที่เหลือ ถึงแม้กระเพาะของคาวจะเต็มแล้ว แต่พวกเราก็ยังคงมีกระเพาะของหวานไว้ รออยู่ ของหวานที่ถ้ามาร้าน Shokuzen แล้วไม่น่าพลาด เห็นจะหนีไม่พ้นเมนูขนม

หวาน “น้อยหน่านมสด” แค่ได้ยินชื่อก็น่า สนใจแล้ว ยิ่งได้ชิมก็จะพบว่าความหวาน และเย็ น ของน้ อ ยหน่ า ที่ ต ้ อ งกิ น พร้ อ มกั บ นมสดหอมมันนั้น ท�ำให้รู้สึกสดชื่นขึ้นมา หลั ง จากที่ ต ้ อ งหมดพลั ง งานไปกั บ ทั้ ง เนื้ อ และหมูไปเยอะ การได้กินน้อยหน่านมสด หวานๆ เย็นๆ น่าจะเป็นการปิดคอร์สประจ�ำ มื้อได้อย่างสมบูรณ์

ความอิ่มอร่อยที่ได้พวกเราได้จาก ร้าน Shokuzen นี้ น่าจะเป็นเครื่องการันตี คุณภาพของร้านอาหารที่เพิ่งเปิดใหม่ร้านนี้ ได้เป็นอย่างดีเยีย่ ม พีเ่ หน็งยินดีตอ้ นรับพีน่ อ้ ง ชาวโอวีทุกคน ให้ไปชิมน�้ ำซุปสูตรพิเศษ และลิ้มรสความนิ่มของเนื้อหมูออร์แกนิกส์ รวมไปถึงน�้ำจิ้มและเมนูเด็ดจานอื่นๆ ด้วย การมอบส่วนลดพิเศษให้กับเฉพาะชาวโอวี เท่านัน้ ใครทีส่ นใจจะไปทีร่ า้ น Shokuzen โทร ไปจองล่วงหน้ากันก่อนหรือสอบถามเส้นทาง ได้ที่ ๐๒-๓๒๐-๒๙๐๖ ชาวโอวีคนไหนทีช่ อบ กินของอร่อย ห้ามพลาดร้านนีไ้ ปโดยเด็ดขาด ศศินทร์ วิทูรปกรณ์ โอวี ๗๙ เรียบเรียง วรุฒมาศ ศุขสวัสดิ์ฯ โอวี ๗๙ ถ่ายภาพ anumanavasarn.com



anumanavasarn.com


82 ลอดรั ้วพู่ระหงส์ เรื่องเล่าจากคนใกล้ชิด


“วันกลับบ้าน” ไม่ทราบว่าในครัง้ นี้ คอลัมน์ ‘วันกลับ บ้าน’ ที่อยู่ท้ายเล่มจะเขียนถึงเรื่องอะไร แต่ ที่ทราบแน่ๆ คือ ‘ลอดรั้วพู่ระหงส์’ ฉบับนี้ ขอเขียนเรื่อง “วันกลับบ้าน” ถึงแม้ค�ำว่า ‘บ้าน’ ของแต่ละคนจะมี ความหมายที่แตกต่าง แต่สิ่งที่ประกอบขึ้น มาเป็นบ้านนัน้ คงไม่ได้หมายความถึงแค่การ เป็นที่อยู่อาศัย แต่มักประกอบด้วยความรัก ความผูกพัน และความรู้สึกพิเศษ ไม่มีที่ ใดเหมือนอย่างที่เขาร้องออกมาเป็นเพลงว่า ‘There’s no place like home’ ส�ำหรับนักเรียนวชิราวุธฯ ซึ่งใช้ชีวิต วัยเด็กอยู่ห่างบ้านพอสมควร ‘วันกลับบ้าน’ คงจะเป็นวันที่มีความหมาย ไม่เฉพาะเพียง แต่ผู้กลับบ้าน แต่ส�ำหรับผู้ที่รอคอยการ กลับบ้านเช่นกัน ด้วยคุณปู่รับราชการอยู่ต่างจังหวัด อันไกลโพ้นที่กว่าจะไปถึงต้องนั่งรถไฟต่อ ด้วยรถยนต์กันให้วุ่นวาย วันกลับบ้านของ พ่อจึงต้องรอยาวนานถึงปีละครัง้ เดาเอาเอง ว่าคุณย่าซึง่ คอยรับอยูท่ างโน้นคงจะตัง้ ตารอ

ลูกชายทีจ่ ากไปเสียนาน พูดอย่างนีค้ นทีเ่ ป็น แม่คงจะรู้ดีว่าความคิดถึงลูกนั้นมันสาหัส ขนาดไหน แต่ถึงกระนั้นคุณย่าก็คงยังไม่ เข็ดขยาด เพราะเพื่ออนาคตของลูก อาของ ผูเ้ ขียนจึงถูกทยอยส่งเข้าอยูป่ ระจ�ำทีโ่ รงเรียน ราชินีและวชิราวุธวิทยาลัยตามล�ำดับ ‘วันกลับบ้าน’ ของพ่อ เมื่อไม่ได้ กลับ จึงต้องใช้โรงเรียนนัน่ แหละเป็นบ้านไป โดยปริยาย พ่อเล่าว่านักเรียน ‘บ้านไกล’ ที่ อยู่ด้วยกัน เช่น หมอบรรจบ (น.พ.บรรจบ ยันตดิลก) ต่างท�ำการครอบครองคณะฯ อย่างสุโข น�ำที่นอนมาซ้อนแล้วติ๊งต่างว่า เป็นสปริงบอร์ด หกคะเมนตีลังกากันอย่าง สนุกสนาน บางครั้งก็ออกไปเที่ยวภายใน อาณาเขตที่ ก� ำ หนด (สมั ย ก่ อ นอนุ ญ าต ให้ นั ก เรี ย นโตออกนอกโรงเรี ย นได้ ใ นวั น หยุด แต่ก�ำหนดอาณาเขตไว้อย่างชัดเจน) นานๆ ครั้งจึงจะกลับไปอยู่บ้านญาติที่อยู่ ในกรุงเทพฯ เพื่อรับของฝากและเบี้ยเลี้ยง ที่คุณปู่ส่งมาให้ anumanavasarn.com


84  ลอดรั้วพู่ระหงส์ ดังนั้น วชิราวุธฯ จึงเปรียบเสมือน บ้านที่สองของพ่อ เมื่ อ ผู ้ เ ขี ย นโตพอที่ จ ะจ� ำ ความได้ ‘วันกลับบ้าน’ ของพี่ชายทั้งสองคนนั้นออก จะโกลาหลพอควร เพราะแม่ จ ะตื่ น เต้ น ประดุจลูกกลับจากถิ่นทุรกันดาร อดอยาก ปากแห้งจึงต้องเตรียม ‘ของชอบ’ ไว้ส�ำหรับ มื้ อ เย็ น จนเต็ ม โต๊ ะ รอคอยการกลั บ มา กินข้าวแบบพร้อมหน้าพร้อมตา ซึง่ เดือนหนึง่ จึงจะมีสักครั้ง แม่ จ ะตั้ ง ตาคอยตั้งแต่บ่าย รอว่า เมือ่ ใดลูกในชุดราชปะแตนจะเดินผ่านประตู เล็ ก หน้ า บ้ า นเข้ า มาแล้ ว ท� ำ ท่ า ‘ตะเบ๊ ะ ’ อย่างเป็นทางการ ก่อนที่จะถอดเสื้อนอก และเครื่ อ งแบบออกเพื่ อ แปลงร่ า งจาก ‘เด็กในหลวง’ เป็น ‘เด็กแถวบ้าน’ โดยทันใด วิง่ หายไปเยีย่ มบรรดาเพือ่ นพ้องรอบบ้านซึง่ โตมาด้วยกันแต่เล็กแต่น้อย ส�ำหรับพี่ชายคนโต เมื่อเข้าคณะใน นานๆ เข้าการไปเยีย่ มเพือ่ น ‘ข้างบ้าน’ ก็ลด น้อยถอยลง แต่กลับพุ่งเป้าหมายไปที่เพื่อน ‘โรงเรียน’ ที่บ้านอยู่ไม่ไกลกัน เช่น พี่เต้ย (นิธิ สถาปิตานนท์) พี่วิทย์ (วิทย์ เลณบุรี) หรือถ้าต่อให้ยาวไปอีกหน่อย ก็จะลัดเลาะไป ถึงซอยกลางเพื่อไปสังสรรค์กับพี่อ๊อด พี่อู๊ด (อภิชาติ ชุตมิ ติ ร) เรียกว่าอยูด่ ว้ ยกันมานาน ๑ เดือนยังไม่พอ สัปดาห์ที่ได้กลับบ้านก็ยัง ต้องดั้นด้นไปพบกันอีกให้จงได้ ส่วนพีช่ ายอีกคน พฤติกรรมไม่คล้าย พี่คนโตสักเท่าไร เอาเป็นว่าเมื่อแรกๆ เข้า

คณะใน จะมีบรรดาเพื่อนฝูงมาค้างแรมกัน บ้างเป็นครั้งคราว แต่พออยู่ปีท้ายๆ กลับ มาแปลกในลักษณะที่ว่าถึงกับงดกลับบ้าน เอาเสียดื้อๆ อาศัยอยู่ในโรงเรียน เล่นกีฬา เขียนฉากไปตามเรื่อง พ่อแม่หลังๆ แทนที่ จะท�ำอาหารรอ กลับต้องส่งเป็นเสบียงแทน เปลี่ยนจาก ‘วันกลับบ้าน’ เป็น ‘วันเยี่ยม’ ไปโดยปริยาย ใช่วา่ ‘บ้าน’ จะไม่อบอุน่ แต่ ‘โรงเรียน’ และ ‘เพื่อน’ นี่เขาเรียกว่าผูกพัน เมื่ อ ผู ้ เ ขี ย นส่ ง ลู ก เข้ า เรี ย นคณะ เด็กเล็ก วันกลับบ้านจะเป็นวันส�ำคัญของ ทั้งพ่อแม่และลูก วัฏจักรเดิมๆ ของการตั้ง ตารอก็กลับมาอีก อาศัยว่าเจ้าตัวเล็กเป็นเด็ก ช่างคุย เมื่อได้พบพ่อแม่ดีใจกันตามสมควร แก่เวลาแล้ว ก็เริ่มบรรยายถึงชีวิตตลอด ๒ สัปดาห์ที่อยู่โรงเรียนอย่างละเอียดลออ เพื่อนคนนั้นอย่างนู้น คนนู้นอย่างนั้น กว่า จะเล่าจบเสร็จสรรพก็ถงึ วันทีจ่ ะต้องกลับเข้า คณะฯ พอดี วันกลับบ้านของเขาและของเรา จึงอบอวลไปด้วยกลิ่นอายของโรงเรียน ยิ่ง บางครั้งเมื่อพ่อลูกเริ่มพูดกันเป็นปี่เป็นขลุ่ย แทรกด้วยเพลงโรงเรียนเมื่อใด คนเป็นแม่ ก็มีอันต้องถอนใจเฮือก พร้อมกับตระหนัก ว่า ที่คนเขาชอบนินทาในท�ำนองนักเรียน วชิราวุธฯ นอกจากจะมีบ้านคือครอบครัว แล้ว ยังถือโรงเรียนเป็นเสมือนบ้านด้วยนั้น เห็นจะไม่ผิดความจริงไปสักเท่าใด เป็นธรรมดาอยู่เองที่คนเราต่างรัก บ้านและบางครั้ ง เมื่ อ ต้ อ งจากไปไกลก็ ใ ห้


คิ ด ถึ ง อยู ่ อ ย่ า งไม่ ส ร่ า งซา สมัยที่ผู้เขียน ร�่ำเรียนและท�ำงานอยู่ต่างประเทศเป็นเวลา นานนั้น มีสถานีวิทยุโปรดชื่อ Easy ๑๐๐ F.M. ซึ่งทุกสัปดาห์จะเปิดเพลงซ�้ำซากอยู่ เพลงหนึ่งชื่อ ‘Homecoming’ แปลเป็นไทย ว่า ‘คืนสู่เหย้า’ มีท่วงท�ำนองไพเราะเพราะ พริ้ง ชวนให้ระลึกถึงความหลังว่าที่ตรงนี้เรา เคยอยู่ ตรงนั้นเคยวิ่งเล่น เคยมีเวลาที่สุข สนุกสนาน ท�ำให้นึกถึงวันที่เราจะได้กลับสู่ บ้านอีกครั้ง อยากจะเห็นกับตาว่าที่ๆ เคย ให้ความสุขกับเรานั้นจะยังเหมือนเดิมหรือ ไม่หนอ ฟังครัง้ ใดน�ำ้ ตาพาลจะหยดเสียให้ได้ เพราะ ‘บ้าน’ ส�ำคัญอย่างนี้ จึงไม่นา่ สงสัยว่าท�ำไมสมัยที่ยังแข็งแรง พ่อจึงเวียน ไป ‘นัดพบ’ ประจ�ำทุกเดือนกับรุน่ ลายคราม ซึ่ ง ต่ า งดั บ หายไปที ล ะคนสองคนอย่างถ้า ไม่จ�ำเป็นก็คงไม่ขาด พี่ ช ายคนโตซึ่ ง มี ชี วิ ต อยู ่ เ มื อ งนอก นานเหลือเกินกว่าจะกลับมาบ้านเมืองไทย สักครัง้ แต่กลับมาครัง้ ใดก็เป็นต้องขอเข้าไป ถวายบังคมพระบรมรูปฯ ที่หน้าหอประชุม ทุกครั้งไป พี่ชายอีกคนไม่ค่อยได้เฉียดไปแถบ ถนนราชวิถี แต่กลับออกแบบที่ท�ำงานของ ตนให้คล้ายคลึงตึก (ขาว) ที่เคยร�ำ่ เรียนมา เสียอย่างนั้น... น่ากลุ้มใจไปอีกแบบ คนใกล้ๆ ผู้เขียนซึ่งออกตัวเสมอว่า ไม่ค่อยสนิทกับโรงเรียนเพราะ ‘ติด’ บ้าน ที่มีพี่ๆ น้องๆ อยู่กันหลายคน มาบัดนี้ กลับห่วงใยทุ่มเทท�ำงานและกิจกรรมเพื่อ

โรงเรียนอันเป็นที่รัก แม้กระทั่งถึงลูกชายซึ่งย้ายไปเรียน ทวี ป อื่ น ตั้ ง แต่ ยั ง อยู ่ มั ธ ยมต้ น ให้ รู ้ สึ ก เคอะเขินเมื่อก้าวกลับไปที่ๆ เคยอยู่ หรือ เจอะเจอเพื่ อ นฝู ง ที่ ร ้ า งรากั น ไปแสนนาน ก็ยังหวนกลับมามีสปิริตตั้งอกตั้งใจท�ำใน สิ่ ง ที่ เ ขาพอจะท� ำ ได้ เ ฉกเช่ น พี่ ๆ ที ม งาน อนุมานวสารทั้งหลาย ทั้งนี้ก็เพื่อโรงเรียน อีกนั่นแหละ ทุกคนมีวิธีและหนทาง ‘กลับบ้าน’ ที่แตกต่างกัน แต่เส้นทางของพวกเขาก็ยัง คงมุ่งสู่ ‘บ้าน’ ที่ครั้งหนึ่งเคยเลี้ยงดู ให้วิชา ความรู้ ให้ความสุขสนุกสนาน หล่อเลี้ยงให้ เติบใหญ่มีชีวิตดังเช่นปัจจุบัน ในประเทศที่ ล ่ ม สลายและไม่ มี ชื่ อ อยู่ในแผนที่โลกอีกต่อไป เคยมีค�ำกล่าวว่า “จงกลับบ้านเถิด ตราบใดที่ท่านยังมีบ้าน ให้กลับ” อีกเพียงไม่กี่เดือน วชิราวุธวิทยาลัย ก็จะมีอายุครบ ๑๐๐ ปี ยากยิ่งจะหาสถาน ศึกษาใดทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์อนั ยาวนานเช่นนี้ และในวันที่ ๒๙ ธันวาคมที่ก�ำลังจะมาถึง ประตูโรงเรียนก็พร้อมจะเปิดกว้างเพือ่ รอรับ การกลั บ มาของผู ้ ซึ่ ง ครั้ ง หนึ่ ง เคยถื อ ว่ า ที่ แห่งนี้เปรียบเสมือน ‘บ้าน’ ขอเอาใจช่วยลูกวชิราวุธให้หาหนทาง กลั บ บ้ า นได้ พ บ และช่ ว ยกั น ท� ำ ให้ ค� ำ ว่ า ‘วันกลับบ้าน’ มีความหมายส�ำหรับทุกคนขึน้ มาอีกครั้ง อโนมา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา anumanavasarn.com


86 บ่ครอบครั ายวันอาทิตย์ วโอวี

ร้านวิวิธภูษาคาร ร้านนี้เปิดตั้งแต่สมัยปลายรัชกาล ที่ ๕ โดยคุณปู่ หลวงวิจิตรภัตราภรณ์ กับ คุณย่าปลื้ม เป็นผู้เริ่มสร้างกิจการนี้ขึ้นมา แรกเริ่มร้านตั้งอยู่บนถนนเฟื่องนครหลัง กระทรวงมหาดไทยเป็นตึก ๔ ชั้น ด้าน หลังบ้านมีลานสนามหญ้าใหญ่ มีเรือนของ คุณย่าซึ่งใช้เป็นที่ท�ำงานของช่างปัก ซึ่งก็จะ ท�ำชิ้นงานที่เป็นลวดลายเครื่องหมายต่างๆ เช่น ตราครุฑ เป็นต้น คุณปู่ก็ขายเครื่อง แบบข้าราชการ ผ้าม่วงผ้าลาย และเป็นคน ทีร่ บั ท�ำเครือ่ งแบบของเสือป่า และพอตัง้ กอง ลูกเสือ เครื่องแบบของลูกเสือคนแรก ก็มา

ตัดที่ร้านวิวิธฯ นี่เอง พอกระทรวงฯ ท�ำการ ขยายก็มาเวนคืนที่ดินไป เลยต้องย้ายมา อยู่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน ในปี ๒๕๑๗ เรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๘ ก่อนกองทัพญี่ปุ่นบุก ประเทศไทย ๓ วัน เมื่อก่อนนักเรียนวชิราวุธฯ จะมา ตัดชุดราชปะแตนก็ตอ้ งเดินเข้าไปในบริเวณ สวนหลั ง บ้ า น จนย้ า ยร้ า นมาที่ ใ หม่ ง าน รับตัดเครือ่ งแบบให้นกั เรียนวชิราวุธฯ ก็เริม่ น้อยลง จนกระทั่งทุกวันนี้ทางร้านก็รับท�ำ เครื่องแบบให้โรงเรียนราชวิทย์ฯ เป็นส่วน ใหญ่ เพราะคุณพ่อเป็นนักเรียนราชวิทย์ฯ ด้ ว ยความผู ก พั น ของคุ ณ พ่ อ พอโรงเรี ย น ราชวิทย์ฯ รื้อฟื้นกลับขึ้นมาใหม่ ก็เข้าไป รับงานตัดชุดเฉพาะเสื้อนอก เครื่องหมาย และหมวก ส่วนของวชิราวุธฯ ก็ปล่อยให้ เจ้าอื่นเขารับไปท�ำแทน เพิ่งจะมีช่วงนี้เองที่ทางวชิราวุธฯ ติดต่อเข้ามาให้ทำ� หมวก ซึ่งที่ผ่านมา ได้ทราบปัญหาจากทางโรงเรียน


anumanavasarn.com


88

บ่ายวันอาทิตย์ ติดต่อมาว่าจะให้เข้าไปตัดชุดให้นกั เรียนใหม่ ภายในเวลา ๓ อาทิตย์ ซึ่งเราก็รับงานนี้ จึง ต้องมาอยู่ที่วิธีบริหารจัดการของทางร้านจะ ท�ำอย่างไรให้ทันก�ำหนด

ว่าลักษณะทรงของหมวกเริ่มผิดเพื้ยนไป อี ก ทั้ ง เวลาฝนตกหมวกก็สีตกใส่เสื้อ ซึ่ง ใครท� ำ เราก็ ไ ม่ รู ้ แ ต่ ท างโรงเรี ย นก็ ข อให้ ทางร้านเข้ามาท�ำแทน ซึ่งหมวกที่ทางร้าน ท� ำ สี ไ ม่ เ คยตก เพราะสั ก หลาดที่ ใ ช้ ต ้ อ ง สั่ ง น� ำ เข้ า จากต่ า งประเทศเท่ า นั้ น ส่ ว น เครื่องแบบอื่นๆ ยังคงมีอยู่ เช่น กระดุม เครื่องหมาย เพียงแต่ทางร้านไม่ได้เข้าไป ติ ด ต่ อ โรงเรี ย นโดยตรง เพราะตอนนี้ ทางร้านรับตัดชุดให้นักเรียนเข้าใหม่ของ โรงเรียนราชวิทย์ฯ ทุกปี ซึ่งก็มีจ�ำนวนเป็น ร้อยๆ ชุด ถ้ามารับงานทางวชิราวุธฯ อีกก็ เกรงว่าจะท�ำงานให้ไม่ทัน เพราะช่างที่เรามี อยู่มีจำ� นวนไม่พอ และช่วงเวลาที่เปิดเรียน ก็ ไ ร่ เ รี่ ย กั น ซึ่ ง ปี ห น้ า นี้ ท างโรงเรี ย นก็ ไ ด้

ในเครือ่ งแบบชุดราชปะแตน ทุกส่วน ท�ำยากพอๆ กัน เพราะต้องใช้มือเย็บ อย่าง แผงคอนี่ ก็ ต ้ อ งใช้ มื อ เย็ บ ทั้ ง หมด แต่ ถ ้ า ซับซ้อนมากสุดคือ “หมวก” นอกจากจะเย็บ ด้วยมือแล้ว ก็เย็บตะเข็บด้านบนของหมวก จะต้องท� ำตะเข็บสองอันเพื่อให้หมวกเข้า มาติดกัน ซึ่งที่ร้านอื่นจะไม่มี แล้วค่อยติด แปะเข้าไปทางร้านเราท�ำตามแบบเดิม ส่วน ลิ้นหน้าหมวกก็ต้องตัดให้เข้ากับหน้าหมวก แต่ละอันแล้วค่อยใส่เข้าไปแล้วเย็บ ส่วนที่ เป็นกระดุมกลัด ๒ เม็ดด้านหน้าหมวกนั้น ต้องสามารถแกะออกไป


ส่วนกระดุมถ้าตามแบบเดิมจริงต้อง เป็นเงินทั้งเม็ด แต่มาในยุคนี้เงินแพงแล้วก็ ด�ำง่าย ดูแลรักษายาก เลยเปลี่ยนมาเป็น โครเมียมชุบแทน ซึ่งเบากว่าและราคาถูก ซึ่งก็มีบางแบบก็เป็นแบบเปิดหลัง ข้างใน กลวงหรือปิดหลัง เมื่อก่อนเวลาว่างก็มานั่ง ท�ำกระดุมเอง มีเครื่องปั้มอยู่ในร้านเลยใช้ ท�ำตราเครื่องแบบโลหะต่างๆ เมือ่ ก่อนแถบดิน้ เงินดิน้ ทอง อินทรนู ร้านวิวธิ ฯ รับท�ำทัง้ หมดแต่พอมาถึงตอนนีข้ นั้ ตอนการผลิตชิ้นส่วนเครื่องแบบต่างๆ การ ปักเครื่องหมายก็หันมาใช้เครื่องจักรเกือบ ทั้งหมด ซึ่งทางร้านวิวิธฯ เองเรายังคงรักษา การท�ำเครื่องแบบต่างๆ ด้วยมือเป็น หลัก ซึ่งถ้าสินค้าชิ้นไหนที่สามารถ ผลิ ต ได้ ด ้ ว ยเครื่ อ งจั ก รร้านเราก็สู้ ร้านอื่นไม่ได้ในเรื่องความรวดเร็ว และราคาที่ ถู ก กว่ า เพราะฉะนั้ น อะไรที่เครื่องจักรยังท�ำไม่ได้ร้านเรา ก็รับท�ำทั้งหมด ซึ่งตอนนี้ก็มีแผงคอ และหมวกที่ร้านยังรับท�ำได้ แต่ถ้า เมื่ อ ไหร่ ร ้ า นอื่ น เขาใช้ เ ครื่ อ งจั ก ร ท� ำ ได้ ร ้ า นเราก็ ค งต้ อ งเลิ ก กิ จ การ เพราะงานท� ำ หมวกต้ อ งอาศั ย การเย็ บ ที ละใบด้วยมือ และเนื้อผ้าสักหลาดที่เราสั่ง ก็ ร าคาแพงมาก เก็ บ สต็อกของมากก็ไม่ ได้ เพราะลูกค้าหลักๆ ของร้านเรามีไม่กี่ โรงเรียนก็มีวชิราวุธฯ ราชวิทย์ฯ นวมินทร์ สัมภาษณ์ วรชาติ มีชูบท

เรียบเรียง โอวี ๔๖ กิตติเดช ฉันทังกูล

ปิ ย ะชาติ ฯลฯ ซึ่ ง เครื่ อ งแบบของแต่ ล ะ โรงเรียนมีสที แี่ ผงคอและกระดุมต่างกันออก ไป มีวชิราวุธฯ เพียงโรงเรียนเดียวทีม่ เี ครือ่ ง พระนามย่อของรัชกาลที่ ๖ (วปร.) ส่วน โรงเรียนอืน่ ทีเ่ พิง่ ตัง้ ขึน้ ใหม่ ก็จะใช้ระบบการ ยืมชุด นักเรียนจะไม่ได้เป็นเจ้าของชุดทุก คน แต่โรงเรียนจะให้นักเรียนยืมไปใช้เป็น ครั้งคราว เพราะฉะนั้นการสั่งชุดและเครื่อง แบบจากโรงเรียนใหม่ๆ นี้จึงมีน้อย เครื่ อ งแบบวชิ ร าวุ ธ ฯ ส� ำ หรั บ ผม คือความมีระเบียบความมีวินัยที่ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ท่านทรงถือว่า “เจ้าเหล่านี้ข้า ถือเหมือนลูกของข้า” ฉะนั้นพวกเราจึงต้อง

ไม่ท�ำอะไรที่เหลวไหล ท�ำอะไรก็ต้องอยู่ใน วินัยแสดงถึงความมีเกียรติ ถ้ า มี โ อกาสอยากกลั บ ไปแต่ ง ชุ ด ราชปะแตนกับเพื่อนๆ เพื่อถ่ายรูป ผมเป็น คนหนึง่ ทีแ่ ต่งแน่นอน คงน่าจะสนุกไม่นอ้ ย! ถ่ายภาพ โอวี ๗๓ วรุฒมาศ ศุขสวัสดิ์ฯ

โอวี ๗๙

anumanavasarn.com


90

ระฆังกีฬา

คุยกับโอวีก่อนไปเข้าแถว

สุรพล เศวตเศรณี ผู้ว่าการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย


“ความเป็นโรงเรียนวชิราวุธฯ ไม่ได้อยู่ที่ว่าเรามีหอประชุมหรืออะไร แต่อยู่ที่ระบบของการผลิตสุภาพบุรุษให้แก่สังคม ระบบที่สร้างคนที่มีความเป็น นักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย รู้รักชาติศาสตร์กษัตริย์เป็นฉัตรไชย” “หาดทรายยังสวย... รายล้อมทะเลด้วยรัก คงไว้ในใจแน่นหนัก ไม่หวั่นยามพายุผ่าน...” เสียงเพลง “ทรายกับทะเล” ดังมาจากนักร้อง สาวสวยเสียงสดใสใน งานเลี้ยงของคืนหนึ่งที่สนามกีฬากรุงเทพ กรีฑา ท่ามกลางอากาศเย็นยะเยือกของฤดูหนาว ทีมงานอนุมานวสารจ�ำนวน หนึ่ง ได้นั่งละเลียดจิบฟองเบียร์ระงับความหนาวพลางพูดคุยกับพี่เล็ก “สุรพล เศวตเศรณี” ผู้ว่าการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย นักเรียนเก่า วชิราวุธฯ รุ่นที่ ๔๓ ประเด็นของการสนทนาในคืนนั้นเป็นการบอกเล่า ถึงประวัติการท่องเที่ยวของพี่เล็กตั้งแต่ยังเป็นนักเรียนที่ปีนรั้วหนีเที่ยว ไปกินอาหารรอบดึกที่ร้านนายมะ เฉกเช่นเดียวกับ นักเรียนวชิราวุธฯ คนอื่นๆ จนกระทั่งได้มาด�ำรงต�ำแหน่งสูงสุดในด้านการท่องเที่ยวของ ประเทศไทยในปัจจุบัน

ชีวิตในรั้ววชิราวุธฯ

“พี่น้องของพี่อยู่วชิราวุธฯ กันหมด พี่น้องทั้งหมด ๖ คน ผู้ชาย ๔ คน อยู่วชิราวุธฯ หมดเลย เพราะว่าคุณพ่อคิดว่า อยากจะให้ลูกๆ ได้ เรียนโรงเรียนดีๆ แล้วอีกอย่าง ซึง่ ส�ำคัญก็คอื ว่าโรงเรียนเราเป็นแนวทาง ของ Public School มันมีการสอนระเบียบวินยั แบบอังกฤษ เพราะอย่างนี้ พีช่ ายคนโต พีท่ วีศกั ดิ์ เศวตเศรณี ตอนนีก้ เ็ สียชีวติ ไปแล้วก็เข้ามาเป็นคน แรก คนที่สองก็พี่ด�ำริ แล้วตัวผมเองก็เป็นคนที่สาม แล้วก็จะมีน้องชาย anumanavasarn.com


92

ระฆังกีฬา

อีกคนชือ่ กมลวิทย์ ทุกคนเข้าวชิราวุธฯ หมด แล้วก็อยู่คณะผู้บังคับการหมด ตัวพี่เองนี่ เข้าไปตอน ป.๔ เป็นรุ่น ๔๓ ก่อนหน้านั้น คือพี่อยู่โรงเรียนราชินีมาก่อน เพิ่งมาเข้า วชิราวุธฯ ตอนอยู่ ป.๔”

เหตุการณ์ประทับใจสมัยอยู่ วชิราวุธฯ

“ถ้าพูดถึงเรื่องช่วงชีวิตในวชิราวุธฯ ต้ อ งบอกว่ า มั น เป็ น สิ่ ง ที่ ส ร้ า งพื้ น ฐานให้ ความเป็นตัวของตัวเรามากมาย เพราะเรา อยู่ในโรงเรียนตั้งแต่เด็ก ด้วยความเป็นเด็ก ความคิดอ่านแบบเด็กจึงถูกชีน้ ำ� ได้งา่ ย อย่าง การศึกษาก็ชนี้ ำ� โดยครู อย่างอืน่ นีก่ จ็ ะอยูก่ บั เพื่อนๆ หรือหัวหน้า รุ่นพี่อะไรต่างๆ ตอนที่ พีเ่ ข้าไปแรกๆ อาจจะเหมือนว่าเราได้เปรียบ คนอื่น เพราะเรามีพี่อยู่ก่อนแล้วสองคนมัน ก็ไม่เหงาไม่คิดถึงบ้าน มีพี่คอยดูแลอะไร ต่างๆ เราก็เลยปรับตัวได้เร็ว แล้วพี่ๆ เขาก็ เล่นกีฬาเราก็เล่นด้วย เล่นกีฬาที่มันเหมาะ สมกับตัวเรา ชอบอะไรก็เล่นไอ้นั่น ซึ่งตัวพี่ เองก็จะไม่คอ่ ยเล่นกีฬาเดีย่ ว เพราะร่างกาย เราไม่ใช่คนตัวใหญ่ก็เล่นประเภทกีฬาทีม อย่างฟุตบอล รักบี้ ก็เล่นตั้งแต่อยู่เด็กเล็ก คือเล่นแบบเด็กๆ ยังไม่มแี บบแผนอะไร พอ เล่ น ไปเราก็ รู ้ สึ ก ชอบว่ามันมีการใช้ก� ำลั ง ด้วย ใช้สมองด้วย อะไรต่อมิอะไรด้วย แล้ว คือพี่จะชอบท�ำกิจกรรมมากกว่าชอบเล่น ดนตรี เล่นกีฬาเพราะอย่างไอ้เรื่องเรียน มันถูกบังคับให้เรียนอยู่แล้วไง โรงเรียนเรา

จะเน้นฝึกทักษะ ฝึกความสามารถหลายๆ ด้าน ไม่ใช่ว่าไปโรงเรียนเพื่อเรียนหนังสือ อย่างเดียว แต่ไปโรงเรียนเพื่อเรียนหลายๆ อย่าง พี่ว่าตรงนี้มันส�ำคัญนะ มันท�ำให้เรา ได้มีกิจกรรมร่วมกัน ได้ท�ำงานได้ท�ำความ รูจ้ กั สนิมสนมกันกับเพือ่ นกับพีก่ บั น้อง แล้ว มันก็จะมีในลักษณะการแข่งขันระหว่างคณะ ด้วย มันเป็นรูปแบบที่ฝึกให้เราอยู่ในสังคม ตรงนี้คือความประทับใจ อีกอย่างหนึ่งก็คือ เพื่อน เวลาเราอยู่โรงเรียนเพื่อนมันอยู่กับ เรา ๒๔ ชั่วโมง จริงอยู่ที่เราจะมีเพื่อนสนิท เป็นกลุม่ ๆ แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้วมันก็รวมตัวเป็น


เวลาหนีมันก็ไม่ง่าย แต่ไอ้ตอนโตนี่มันจะ มีฤดูกาลของมัน คือช่วงที่เตรียมจัดงาน คณะเราจะไม่ค่อยได้ไปเรียน เพราะต้อง ไปซือ้ ข้าวซือ้ ของท�ำงานนูน่ งานนี่ เตรียมงาน กันดึกๆ ดื่นๆ ส่วนมากที่เราหนีไปก็จะไป ราชวัตร หรือไม่ก็ไปดูหนัง ไปราชวัตรนี่ก็ ต้องราดหน้าไอ้มะ ดูหนังก็ต้องไปที่ศรีย่าน การดูหนังนี่จะมันมากสนุกมาก เพราะมัน เป็นหนังพากย์ มันจะมีการพากย์นอกบท ประสบการณ์การหนีเที่ยว “ไอ้การหนีเที่ยวนี่ มันมาเป็นเอา บ้างอะไรบ้าง ตัวผมนี่จะไม่ค่อยได้ไปเที่ยว ตอนโตแล้วตอนเข้าคณะในแล้ว เพราะตอน เต้นร�ำ เที่ยวจีบผู้หญิงอะไรอย่างนั้นจะไม่ เด็กๆ อยู่เด็กเล็กก็ไม่รู้จะหนีไปไหน จังหวะ ค่อยได้ไปไม่สันทัดเรื่องอย่างนี้ กลุ่มผมที่ คณะ เราอยู่ด้วยกันตลอดมันก็จะรู้นิสัย ใจคอ รูอ้ ธั ยาศัยกันและกัน พึง่ พาซึง่ กันและ กัน เช่น ถ้าวันไหนใครไม่สบายตืน่ สาย เพือ่ น มันก็จะถาม อ้าว! ไอ้เล็กหายไปไหน แล้ว มันก็มาดูเราว่าเราเป็นอะไร มาดูอาการเรา พาเราไปตึกพยาบาล สิ่งต่างๆ เหล่านี้ทำ� ให้ เราเกิดความผูกพัน”

anumanavasarn.com


94

ระฆังกีฬา

จะไปด้วยกันบ่อยๆ ก็จะมี เชือ้ ชาย พงษ์เทพ นี่จะเป็นเพื่อนซี้กัน เราจะชอบไปแนวนี้ แต่ ก็จะมีบางกลุม่ ทีไ่ ปเทีย่ วเต้นร�ำ จีบผูห้ ญิงไป มีแฟนแบบนี้ก็มี”

ชีวิตหลังจากจบวชิราวุธฯ

“หลังจากที่พี่จบวชิราวุธฯ ก็ไปเข้า เรี ย นที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ เข้ า ไปปี ๒๕๑๔ แล้วพอจบมหาวิทยาลัยมาก็เข้ามา ท�ำงานที่การท่องเที่ยวฯ เลย ตอนนั้นมันปี ๒๕๑๙ คือจริงๆ พี่จบมาปี ๒๕๑๗ แล้ว ก็ไปท�ำงานให้คุณอา ซึ่งเป็นธุรกิจด้านการ ประกันอยู่ประมาณปีเศษๆ พอปี ๒๕๑๙ ก็มาท�ำงานที่นี่แล้วก็อยู่มาตลอด ระหว่าง ที่ท�ำงานก็ได้ทุนไปเรียนต่อปริญญาโท ไป ศึกษาต่อยอดเรื่องความรู้อะไรต่างๆ ด้วย” “ตอนที่ พี่ เ ริ่ ม เข้ า ไปท� ำ งานใน ต�ำแหน่งพนักงานข่าวสาร คือคอยให้ขา่ วสาร กับพวกนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมา ประเทศไทย อยากไปเที่ ย วไหน ขึ้ น รถ อะไร พักที่ไหน ซึ่งก็ท�ำงานทั้งสองที่ คือ ที่การท่องเที่ยวฯ กับศูนย์บริการข่าวสารที่ สนามบินดอนเมือง แล้วที่พี่จ�ำได้ก็คือตอน นั้นการแข่งขันสูงมาก เพราะปีที่พี่สมัครเข้า ท�ำงาน มีคนมาสมัครในต�ำแหน่งเดียวกันนี้ สามพันกว่าคนแล้วรับสี่คน มันแข่งกันมาก เหตุผลที่พี่มาสมัครก็เพราะพี่อยากท�ำงาน แบบนี้ อยากติดต่อกับชาวต่างประเทศ และ ก็มีโอกาสได้เดินทางไปที่ต่างๆ พอได้มาท�ำ ก็รู้สึกชอบ แล้วตอนนั้นที่การท่องเที่ยวฯ

ก็มีพี่โอวีอยู่พอสมควร อย่างพี่ธรรมศักดิ์ โรจนสุนทร พีภ่ ราเดช พยัฆวิเชียร พีไ่ พศาล วังซ้าย ซึ่งพวกพี่ๆ เหล่านี้ ก็ประสบความ ส� ำ เร็ จ ในหน้ า ที่ ก ารงานกั น มาก อย่ า งพี่ ภราเดชนี่ก็เคยเป็นผู้ว่าการฯ เหมือนกัน”

สถานที่ท่องเที่ยวในใจของ ผู้ว่า ททท.

“ส่วนใหญ่ก็จะไปเที่ยวทะเลกันไป หัวหิน คือการไปต่างจังหวัดมันจะเป็นการ ไปกับครอบครัว ถ้ามีเพื่อนคนไหนมีบ้าน อยูต่ า่ งจังหวัด พอมีปดิ เทอมมันก็จะถามกัน “เฮ้ย! จะใครไปเทีย่ วบ้านกูบา้ ง” ส่วนตอนที่ พี่มาอยู่การท่องเที่ยวฯ ก็จะชอบไปเที่ยว ธรรมชาติ เช่น เขาใหญ่ ซึ่งเมื่อก่อนตอน ที่พี่เข้ามาท�ำงานใหม่ๆ การท่องเที่ยวฯ ยัง เป็นเจ้าของที่พักบนเขาใหญ่ เราก็จะไปพัก ไปเที่ยวกันมีสนามกอล์ฟด้วยนะ แล้วทีนี้ ที่เขาใหญ่ สิ่งที่พี่ชอบมากที่สุด คือการไป ส่องสัตว์ตอนกลางคืน พี่เป็นคนที่ชอบสัตว์ ชอบธรรมชาติ ชอบอะไรแบบนี้อยู่แล้วด้วย สมัยนัน้ การไปส่องสัตว์แล้วเห็นเสือ เห็นช้าง เป็นเรือ่ งปกติธรรมดามากเลย กวางนีไ่ ม่ตอ้ ง พูดถึงมีเพียบ แล้วพอตอนเช้าพวกเจ้าหน้าที่ ป่ า ไม้ เ ขาจะมาพาเราไปดู น ก มี น กเงื อ ก นกกาฮังอะไรพวกนี้ จะเป็นแนวท่องเที่ยว แบบธรรมชาติ แล้วอีกอย่างหนึ่งที่พี่ชอบก็ คือการไปภาคอีสาน คือเราไปแล้วเราชอบ เพราะภาคอีสานนี่ธรรมชาติมันก็ยังดีอยู่ ผู้คนที่นั่นก็มีนำ�้ ใจ อัธยาศัยดี แล้วอีกอย่าง


ฝึกความเป็นผู้นำ� พอเราจบมาเราก็มาเป็น ผู้น�ำได้ ผมคิดว่าเมื่อเรามองย้อนกลับไปจะ เห็นว่าเราถูกฝึกมาแบบนี้ แล้วการที่เราจะ ก้าวขึ้นไปอยู่ในต�ำแหน่งส�ำคัญๆ ได้ ผมว่า ทีไ่ หนๆ ก็เหมือนกัน คือหนึง่ ผูบ้ งั คับบัญชา ต้องให้การยอมรับ ต้องเห็นความสามารถ เรา ต้องเอ็นดูนั่นเป็นแรงดึง อีกอย่างคือ แรงดัน ลูกน้อง ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องรัก ต้องเคารพ เวลาที่เรามอบหมายงานเขาจะ สิ่งที่ได้รับจากโรงเรียน ท�ำอย่างเต็มใจ ไม่มีความกดดัน ตรงนี้เป็น กับแรงผลักดันในชีวิต “คือตอนทีพ่ เี่ ข้ามา พีไ่ ม่ได้ตงั้ เป้าเอา แ ร ง ดั น ไว้ว่าจะมาเป็นต�ำแหน่งสูงสุดอะไรหรอก พี่ อยากจะมาท�ำเพราะเราชอบท�ำงานแบบนี้ แต่ทีนี้พอเราอยู่ไป นิสัยอะไรต่างที่เราได้ รับการอบรมสัง่ สอนมาจากทีโ่ รงเรียน อย่าง เช่นว่า เราเป็นคนให้เกียรติผู้อื่น เราท�ำงาน แบบสู้งาน ไม่ว่าจะงานเล็กงานน้อยอะไร ต่างๆ ก็เหมือนกับตอนที่เราเป็นนักเรียน คุณต้องท�ำโน่นท�ำนี่ที่คุณไม่อยากท�ำ แต่ รุ่นพี่เขาอยากให้ท�ำ เขาสั่งให้ท�ำนี่ อย่าง ซักถุงเท้า รองเท้า ชุดกีฬาอะไรต่อ อะไร ตอนเป็นรุ่นน้องเรา ท�ำได้ แล้วพอเราโตขึ้น มาก็มีงานที่เราต้องรับ ผิ ด ชอบ อย่ า งงาน คณะ งานสมาคมนัน้ สมาคมนี้ คือท�ำให้ เราได้ฝึกการ ท� ำ ง า น ม า ฝ ึ ก ความรับผิดชอบ คือผมชอบศิลปวัฒนธรรมอย่างนี้ อีกสถานที่หนึ่ง คือตอนที่ผมเรียน อยู่ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ไปแค้มป์ เมื่อก่อนนี้จะขี่มอเตอร์ไซค์วิบากขึ้นดอยไป ตั้งเต็นท์นอนแถวๆ ที่มีพวกชาวเขาอาศัย อยู่เยอะๆ ไปสัมผัสชีวิตชาวเขา เป็นความ รู้สึกที่สนุกดี”

anumanavasarn.com


96

ระฆังกีฬา

ทีนี้ถ้าคุณมีแรงดึงแรงดันแล้ว การที่เราจะ ท�ำงานในองค์กรใดๆ มันจะสามารถเคลื่อน ไปได้ แต่ถ้าคุณมีศัตรูนะมันจะล�ำบากมาก พี่บอกได้จริงๆ เพราะว่าคนๆ เดียวท�ำงาน ไม่ได้หรอก การที่เราได้อยู่วชิราวุธฯ มัน เป็น Team Culture มันมีวัฒนธรรมของ การท�ำงานร่วมกัน เด็กวชิราวุธฯ เล่นรักบี้ กันมา เวลาเราเล่นรักบี้เราจะถูกสอนให้ ท�ำงานเป็นทีม ปิดทองหลังพระรับลูกมา แล้วต้องส่ง ต้องท�ำทางให้เพือ่ น ต้องช่วยกัน ดันสกรัม พอเราจบมาท�ำงานเราก็ต้องรู้จัก การส่งต่องาน ไม่เอาเปรียบคนอืน่ ทุกๆ คน จะมีสว่ นส�ำคัญในการท�ำงาน สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ จะมีผล มันเป็นสิ่งหนึ่งที่เราน�ำมาปรับใช้ใน การท�ำงานและท�ำให้เราเดินไปข้างหน้าได้”

เคล็ดลับก้าวสู่เบอร์หนึ่ง ของ ททท.

“ในการท่องเที่ยวฯ นี้จะมีงานหลาย ประเภท อย่างงานด้านการตลาดก็มี ด้าน วิชาการก็มี ด้านการพัฒนา ด้านการบริหาร บุคคลก็มี ทีนี้เนื่องจากเราไม่รอู้ ะไรมาก แต่ เราพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ เรามีคนคอยสนับสนุน และให้ค�ำแนะน�ำ ถ้าเราทุ่มเทให้กับงาน พอ เราไปท�ำงานที่ไหนก็จะมีคนคอยสนับสนุน คอยแนะน�ำ และเราก็จะเข้ากับคนได้ง่าย ท�ำงานที่ไหนก็ได้ ตรงนี้เป็นอีกจุดหนึ่งที่ ท�ำให้เราได้รบั โอกาสในการท�ำงานมากยิง่ ขึน้ ที่ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งซึ่งเราไม่รู้ตัวก็ คือเรื่องของภาษาอังกฤษ คือหมายความว่า เราไม่ได้เป็นเด็กนักเรียนนอก เราโตในเมือง


ไทย แต่ภาษาอังกฤษของเราจะสามารถใช้ ในการสือ่ สารได้ในระดับหนึง่ เพราะว่าตอน เด็กๆ เรามีครูชาวต่างชาติมาสอน มันท�ำให้ เราไม่ตนื่ กลัวต่อการใช้ภาษาอังกฤษ แล้วเรา ก็มีเพื่อนที่เป็นชาวมาเลเซีย ตอนแข่งรักบี้ ประเพณี พวกนักรักบี้จะมานอนที่โรงเรียน นอนกั น ที่ ตึ ก พยาบาล ที ม ที่ ม าก็ จ ะมี ทั้ ง ตัวจริง ตัวส�ำรอง มีอาจารย์ มีโค้ช อะไรต่างๆ แล้วตอนค�่ำๆ พวกนี้ก็จะออกมาเดินเล่น มาคุยกับเรา ใช้ภาษามือบ้างอะไรบ้าง แต่ ความกล้ า ที่ จ ะสื่ อ สาร กล้ า ที่ จ ะใช้ ภ าษา อังกฤษมันก็เกิด แล้วตรงนี้เป็นประโยชน์ เมื่อเราเข้ามาท�ำงานที่การท่องเที่ยวฯ การ อ่านออกเขียนได้ ตรงนีเ้ ป็นข้อได้เปรียบของ เราอย่างหนึ่ง”

วชิราวุธฯ จะครบร้อยปี

ในฐานะที่ผู้ว่า ททท. เป็นโอวี พี่ก็ คิดว่าวชิราวุธฯ เป็นสมบัตอิ ย่างหนึง่ ของชาติ นี่คือมองแบบการท่องเที่ยวฯ เห็นว่าสิ่งใด ก็แล้วแต่ที่มีคุณค่า ก็สมควรที่จะเชิญชวน ให้คนมาชม ได้มารับรู้ว่าพับลิกสคูลแบบ อังกฤษแท้ๆ ความเป็นโรงเรียนวชิราวุธฯ ไม่ได้อยูท่ วี่ า่ เรามีหอประชุมหรืออะไร แต่อยู่ ที่ระบบของการผลิตสุภาพบุรุษให้แก่สังคม ระบบที่สร้างคนที่มีความเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย รู้รักชาติศาสตร์กษัตริย์เป็น สัมภาษณ์ วีรยุทธ โพธารามิก กิตติเดช ฉันทังกูล

เรียบเรียง โอวี ๖๐ สถาพร อยู่เย็น โอวี ๗๓

ฉัตรไชย อันนี้คือสิ่งที่ท�ำให้เราเป็นสถาบัน ที่น่าชื่นชมเหมือนของต่างประเทศ ที่เขามี สถาบันต่างๆ อย่าง เคมบริดจ์ นั่นคือในแง่ ของสถาบันการศึกษา อีกอย่างหนึ่งคือสถาปัตยกรรมของ เรามีคณ ุ ค่ามากๆ พวกเรารูว้ า่ หอประชุมเรา เป็นไม้สกั ตึกขาวก็เป็นหินอ่อน เราต้องดูแล รักษาบูรณะให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ ถ้ามองในมุมมองของคนภายนอก จะเห็นว่าเราได้รักษาสิ่งก่อสร้างในโรงเรียน ให้ อ ยู ่ ใ นสภาพดี ม าตลอด และก็ ไ ม่ เ คย สร้างอะไรมาบดบังทัศนียภาพเหล่านั้นเลย คือการท�ำให้อาคารของโรงเรียนกลายเป็น แลนด์มาร์คที่สำ� คัญอันหนึ่งของกรุงเทพฯ ในโอกาสที่วชิราวุธฯ จะครบหนึ่ง ร้อยปี ก็อยากเห็นสิ่งที่เป็นความส�ำเร็จของ เราที่มีมาในอดีต แล้วก็ยังเป็นสิ่งที่สามารถ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อโลกในปัจจุบัน สิ่งที่ เราต้องรักษาไว้ คือเยาวชนของเรานี้ ไม่ใช่ สักแต่ว่าเรียนเก่งอย่างเดียว ยังมีอะไรที่ ลึกซึ้งกว่านั้นในการที่จะสร้างที่จะขัดเกลา หล่อหลอมคนออกมาจ�ำนวนหนึ่ง เพื่อให้ เป็นพลังขับเคลื่อนสังคมส่วนใหญ่ ผมคิดว่า เราจะต้องสร้างสิง่ เหล่านีต้ อ่ ไป ตามพระราช ปณิธานของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั ซึง่ พระราชด�ำรัสของท่านไม่ได้เป็น สิ่งล้าสมัยเลย” น้องเพื่อน ถ่ายภาพ ลยาชุจึมงชวลิ ประเสริ ศรี๗๗ โอวี ๗๖กอบกุ สงกรานต์ ต ฐโอวี anumanavasarn.com


98

สนามข้าง

Vajiravudh Centenary ค�ำถามส�ำหรับคนที่ไม่เคยเกี่ยวข้อง หรือมีข้อมูลน้อยเกี่ยวกับนักเรียนวชิราวุธฯ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย เมื่อพูดถึงวชิราวุธ คุณนึกถึงอะไร ?????... ต่อกติ๊กต่อกติ๊กต่อกติ๊กต่อกติ๊ก ต่อกติก๊ ต่อกติก๊ ... ปิง๊ ... จากการสอบถามกลุม่ เป้าหมายกว่าร้อยราย ได้ค�ำตอบดังนี้คือ ๑. เด็กนักเรียนทีส่ วมชุดราชปะแตน (อืออ ใช่สิ ขนาดเด็กนักเรียนโรงเรียนอะไร ไม่รู้ไปขึ้นเวทีพันธมิตร หนังสือพิมพ์ยังลง

พาดหัวเลยว่า “เด็กนักเรียนวชิราวุธฯ ขึ้น เวทีพันธมิตรฯ”) ๒. โรงเรียนที่มีอาคารเรียนรูปทรง คล้ายวัด (อันนี้ถ้าใครเคยมองออกไปนอก โรงเรียน แล้วเห็นคนต่างจังหวัดเดิน หรือ นั่งรถผ่านหน้าโรงเรียนแล้วยกมือไหว้ท่วม หัว คงร้องอ๋อ) ๓. วงดนตรีปี่สก็อต (วันปิยมหาราช ๒๓ ตุลาคม มีวงดนตรีโยธวาทิตจากโรงเรียน มากมายน�ำแถวนักเรียนไปเพื่อถวายบังคม


Sevens พระบรมรูปทรงม้า แต่มีโรงเรียนๆ หนึ่งมี เครื่องดนตรีรูปร่างประหลาด มีถุง มีท่อ เสียงดัง แอ่อี๊แอ่อิ๊แอ่... คนรู้ทันทีว่าเป็นวง ปี่สก็อตของโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย) ๔. กีฬารักบี้ฟุตบอล (จบ ม .๘ จาก โรงเรียนเข้ามหาวิทยาลัย รุน่ พีถ่ ามเลย “จบ วชิราวุธฯ เหรอ เล่นรักบี้หรือเปล่า” จริงๆๆ แล้วพวกเราชาววชิราวุธฯ ไม่ ได้มีแค่นี้ เรายังมีศิลปินแห่งชาติ นักดนตรี ฝี มื อ ขั้ น เทพ นั ก การฑู ต ที่ ดี ข้ า ราชการ

ระดับปลัดกระทรวง ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ ขนาดใหญ่ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ เกษตรกร ดีเด่น ฯลฯ แต่ทั้ง ๔ อย่างที่กล่าวมาข้างต้นเป็น สิ่งที่สาธารณชน รับรู้ว่ามันเป็นสัญลักษณ์ อย่างไม่เป็นทางการของวชิราวุธวิทยาลัย อาจมีคนแย้งว่า ไม่ใช่แค่นั้นมันยังมี อีก อะไรล่ะ????? ก็ไอ้โรงเรียนที่มันชอบ จัดประกวดนางงามไงเล่า... ฮืย... อันนี้ขอเถียง มันอาจจะเป็น สิ่งที่ท�ำให้คนนึกถึงวชิราวุธฯ แต่มันไม่ใช่ สัญลักษณ์ครับ แต่มันเป็นนิสัยติดไปถึง สันดานเลยครับ หรือจะโกหกตัวเองว่าไม่ ชอบของสวยๆ งามๆ (โรงเรียนผู้ชายอื่นๆ อาจจะอิจฉาเราลึกๆ ก็ได้) ชุดราชปะแตนรวมหมวกหนีบและ เครื่องหมายต่างๆ กับอาคารเรียนรูปทรง คล้ายวัด เป็นสิ่งที่ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ พระราชทานแก่พวกเรา ส่วน วงดนตรีปี่สก็อต และ กีฬา รักบี้ฟุตบอล ริเริ่มและจริงจังขึ้นในสมัย ท่านผูบ้ งั คับการพระยาภะรตราชา (จริงแล้ว กีฬารักบี้ มีมาก่อนทีท่ า่ นผูบ้ งั คับการพระยา ภะรตราชา จะเข้ามารับต�ำแหนงผูบ้ งั คับการ แต่ยังเล่นกันไม่จริงจัง) ในฐานะที่ ร�่ ำ เรี ย นมาทางด้ า น เศรษฐศาสตร์ สาขาการตลาด ใช้เวลาเรียน แบบหลับๆ ตืน่ ๆ (ส่วนมากจะหลับ) เป็นเวลา ๕ ปี จบด้วยเกรดนิยมสุดหรู (๒.๐๐๐๑) ขอฟั น ธงเลยว่ า อดี ต ท่ า นผู ้ บั ง คั บ การ anumanavasarn.com


100 สนามข้าง พระยาภะรตราชา เป็นสุดยอดนักการตลาด จริงๆๆ (แต่ขออนุญาต ไม่จุดธูปถามเพื่อ คอนเฟิร์ม นะครับ) ยังไงๆๆ ละ????? ทฤษฎี บ ทที่ ๑ ของการตลาด อาจารย์ย�้ำในห้องเรียน (ขนาดหลับๆ ตื่นๆ ยังจ�ำได้) จะประสบความส�ำเร็จได้ในธุรกิจ (หรืออะไรก็แล้วแต่) ต้องมีความแตกต่าง (Differentiate) ถ้ามีแต่วงโยธวาทิต ใครๆ ก็มี แล้วใครจะจ�ำเราได้ ถ้าเราเล่นกีฬาฟุตบอล ใครจะรู้ว่าเรามาจากวชิราวุธฯ (ฟุตบอลใครๆ ก็เล่น) จตุรมิตร (เทพศิรินทร์ สวนกุหลาบ อัสสัมชัญ กรุงเทพคริสเตียน) ตัง้ มาก่อนเรา ไม่ต�่ำกว่า ๓๐ ปี ทุกโรงเรียนเล่นฟุตบอล

เป็นกีฬาหลัก เห็นไหมครับ??? ถ้าเราเล่น ฟุตบอล เราก็ไม่มีความแตกต่างนะสิ แล้ว ใครจะจ�ำเราได้ เป็นการคิดใหม่ ท�ำใหม่ มาก่อนอดีต นายกทักษิณกว่า ๕๐ ปี โดยอานิสงส์ของความจริงจังในการ สนับสนุนกีฬารักบี้ฟุตบอล จึงเกิดผลดีต่อ วงการรักบี้ไทยอย่างมากมาย ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดีตท่านผู ้ บั ง คั บ การพระยาภะรตราชา ในวันนั้น ก็คงไม่มีการทาบทามครูอรุณ แสนโกศิก สุดยอดนักกีฬาในยุคนัน้ มาเป็น ผู้ฝึกสอนกีฬารักบี้ และสร้างชื่อเสียงให้กับ โรงเรียนวชิราวุธฯ ท�ำให้คนทัว่ ไปแทบจะนึก ได้เลยว่า วชิราวุธฯ = รักบี้ (ประมาณว่า เหมือนกับ แฟ็บ = ผงซักฟอก ซีร็อก = ทีม Rugby Girls


เครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร) “ครู อ รุ ณ เป็ น โค้ ช มืออาชีพ ที่ไม่ได้มีอาชีพเป็นโค้ช” ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดีตท่านผู้บังคับการพระยาภะรตราชาใน วันนั้น ก็คงไม่มีนักรักบี้ที่ทยอยกันขึ้นมา เป็นก�ำลังส�ำคัญให้กับทีมชาติไทย ในระยะ เวลากว่า ๕๐ ปีที่ผ่านมา (ขออภัยที่ไม่อาจ ใส่ชื่อได้หมด เพราะนับแล้วเป็นร้อยคน) ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดี ต ท่ า นผู ้ บั ง คั บ การพระยาภะรตราชา ในวันนั้น ก็คงไม่มีคนอย่าง ลุงผี (วิวัฒน์ โกศัลยวิตร OV ๒๖) อาจักร (พล.ต.ตจักร จักษุรักษ์ และน้องๆ OV ๓๓, ๓๔, ๕๓) พี่ต๋อ (พ.ต.อภิรักษ์ อารียมิตร OV ๔๐) พี่จ้อย (ศรีเขต ศิริวรรณ OV ๔๐) พี่นุก (พลอากาศตรีประยุทธ บุพะกสิกร OV ๓๗) พี่เหม (อดิศักดิ์ เหมอยู่ OV ๓๘) พี่เล็ก (ศุภรัตน์ อัลภาช OV ๕๑) ฯลฯ ที่สละเวลา ส่วนตัวมาเพื่อดูแลทีมชาติไทยในหลายๆ ช่วงทีผ่ า่ นมา โดยไม่ได้หวังผลตอบแทนใดๆ (ไม่ว่าจะเป็นชื่อเสียงหรือเงินทอง) ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดี ต ท่ า นผู ้ บั ง คั บ การพระยาภะรตราชา ในวั น นั้ น คงไม่ มี รั ก บี้ ป ระเพณี ร ะหว่ า ง วชิราวุธฯ กับ The Malay College ซึง่ ด�ำเนิน มาอย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลาเกือบ ๕๐ ปี มีการ สานสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่าทั้งสองสถาบัน อย่างที่เห็นในทุกวันนี้ ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดี ต ท่ า นผู ้ บั ง คั บ การพระยาภะรตราชา

ในวันนั้น ก็อาจจะไม่มีถ้วยชนช้าง (ถ้วย อรุ ณ แสนโกศิ ก ) ซึ่ ง เป็ น รั ก บี้ ป ระเพณี ระหว่างราชกรีฑาสโมสรกับทีมนักเรียนเก่า วชิราวุธฯ ซึง่ เกิดขึน้ ในช่วงทีพ่ อี่ ว้ น (ชัยวัฒน์ นิตยาพร OV ๔๒) พีอ่ นั๋ (สุรเดช บุณยวัฒน์ OV ๔๑) ดูแลแผนกกีฬารักบี้ของราชกรีฑา ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดีตท่านผู้บังคับการพระยาภะรตราชาใน วันนั้น ก็คงไม่มีคนอย่างอาช้อย (วิโรจน์ นวลแข OV ๓๗) ทีเ่ ข้ามาแก้ไขวิกฤตการณ์ ทางการเงิ น ของสมาคมรั ก บี้ ถึ ง สองครั้ ง สองครา คือในสมัยทีอ่ าจารย์โฉลก โกมารกุล ณ นคร เป็นนายกสมาคมฯ และอีกครัง้ เมือ่ สองสมัยที่แล้ว (๒๕๔๖) ที่นายกสมาคมฯ คนก่อนหน้านัน้ ท�ำบัญชีเป็นตัวแดงไว้กว่า ๖ ล้านบาท และหาสถานที่ทำ� การสมาคมรักบี้ ในปัจจุบนั ก็เกิดขึน้ ในสมัยทีอ่ าจักร อาช้อย และพี่ๆ โอวี อีกหลายท่านเข้าไปเป็นกรรม สัมปาทิกของสมาคมฯ ถ้าไม่มีการสนับสนุนกีฬารักบี้ของ อดีตท่านผู้บังคับการพระยาภะรตราชาใน วันนั้น ก็คงไม่มีแรงบันดาลใจ แรงขับให้ ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย มหามิตรตลอดกาล ของเราจริงจังกับกีฬารักบี้ เพื่อที่จะหาทาง เอาชนะเราในเชิงกีฬา ซึ่งสุดท้ายก็เป็นผล ดีโดยรวมส�ำหรับวงการรักบี้ของไทย โอ๊ย! พล่าม เอ๊ย! อรัมภบทมาซะ ยาว ขอเข้าเรื่องสักที... ก็ในฐานะทีใ่ ครเขาเห็นว่าเราถือรักบี้ เป็นสรณะ (ประมาณว่าถ้าเป็นหนังจีน ก็ anumanavasarn.com


102

สนามข้าง ต้องเรียกว่าเส้าหลิน แห่งวงการรักบี้ หรือ ถ้าหนังแขกก็ต้องเป็นตักศิลาของรักบี้ไทย) ในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี ของโรงเรียนเรา จะท�ำอะไรกับกีฬารักบี้ดีหล่ะ ??? จุดเริ่มต้นก็ต้องมาย้อนดูตัวเราก่อน เล่นรักบี้มาก็หลายปี ไปดูรักบี้ ๗ คน Hong Kong ก็ไปดูเกือบทุกปี ถ้าไม่ติดปัญหา การงานและการเงิน ๖ Nations, ๓ Nations, Rugby World Cup ก็ติดตามมาตลอด ทุกปี ได้ข้อคิดว่าการจัดกีฬานี่ต้องจัดให้มี บรรยากาศสนุกสนานและผ่อนคลาย (Fun & Relax) ใครเคยไปดู ๗ คน Hong Kong คงนึกออก อาการเคร่งเครียดกับงานมา ทั้งปี ปลาย มี.ค. ของทุกปี ถ้าไม่มีธุระอะไร ขอไป Hong Kong สัก ๓ วัน กินอาหาร จีน กินหมูย่าง เป็ดย่าง ดูรักบี้ แล้วก็เบียร์ๆ (โอ๊ย! เมา) ก็เลยได้ข้อคิดว่า ทีมวชิราวุธฯ ของ เราก็กอ่ ตัง้ มามากกว่า ๖๐ ปี เคยแข่งขันกับ ทีมจากต่างประเทศหลายต่อหลายทีม ทั้ง The Malay College ทีเ่ ล่นกับเรามายาวนาน St. Andrew จากสิงค์โปร์ หรือทีมอื่นๆ จาก Hong Kong, Sri Lanka, Taiwan, England และ New Zealand เราก็นา่ จะใช้โอกาสครบ รอบ ๑๐๐ ปี ของโรงเรียนจัดการแข่งขัน รั ก บี้ สั ก รายการหนึ่ ง โดยเชิ ญ ที ม ทุ ก ที ม ที่เคยเล่นหรือมีความสัมพันธ์กับโรงเรียน วชิราวุธฯ มาร่วมแข่งขันรักบี้รายการพิเศษ โดยใช้ ชื่ อ ว่ า Vajiravudh Centenary Sevens โดยก� ำ หนดอายุ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มการ

แข่งขันไม่เกิน ๑๘ ปี มีการเสนอโครงการ ต่อคณะกรรมการจัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ที่ประชุมสรุปอนุมัติให้ด� ำเนินการจัดการ แข่งขัน โดยการแข่ ง ขั น จะจั ด ขึ้ น ใน วั น ที่ ๑๑ - ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๓ ที่สนามหน้า วชิราวุธวิทยาลัย ได้ด�ำเนินการออกจดหมายเชิญทีม จากต่างประเทศไปเกือบ ๓๐ ทีม เมื่อเดือน มีนาคม โดยมีรายชื่อทีมดังต่อไปนี้ จาก Malaysia ได้แก่ The Malay College, Saad Foundation College, Victoria Institution, King Edward VII, Pre Cadet of Malaysia จาก Singapore ได้แก่ St. Andrew School, Raffles Institution, AngloChinese Junior College Anglo-Chinese School (Independent) จาก Taiwan ได้แก่ Tum Kung Senior High School, Taipei Municipal Jiang High School, Tain Liu Hsin Senior High School จาก Hong Kong ได้ แ ก่ King George V จาก Sri Lanka ได้แก่ Isipathana College จาก England ได้แก่ Oundle School, Shrewsbury School, Dulwich School, Canford School, Bromsgrove School จาก Australia ได้แก่ Hale School


จาก New Zealand ได้แก่ Nelson College, Hamilton Boys High School, Waitaki Boys High School, Palmerston North Boys High School, Christchurch Boys High School, West Lake Boys High School, Rangitoto College, King’s College_Auckland, Mount Albert Gramma School, Kelston Boys High School, Otago Boys High School ณ เวลานี้ (๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๓) มี ทีมตอบรับมาเกือบ ๑๐ ทีมแล้ว คาดว่าจะมี การตอบรับมาเพิม่ อีก ๔-๕ ทีม ภายในเดือน กันยายน หลังจากนัน้ ก็จะเชิญทีมในประเทศ รู ป แบบการจั ด การแข่ ง ขั น จะใช้ Format เดียวกับ IRB Rugby Sevens World Series เลย โดยจะมีทีมเข้าแข่งขัน ทั้งหมด ๑๖ หรือ ๒๔ ทีม เมื่อผ่านการ

ภัคพงศ์ เพื่อนผม น�ำทีม Rugby Girls รับประกันคุณภาพครับ

แข่งขันในรอบแรก แล้วทีมจะถูกแบ่งเป็น ๔ Divisions Cup, Plate, Bow และ Shield (ทีมที่มีฝีมือระดับเดียวกัน ก็จะถูกจัดให้อยู่ ใน Division เดียวกัน ไม่ห่างชั้นมาก) ในเรือ่ งของค่าใช้จา่ ย โรงเรียนจะออก ค่าใช้จา่ ยในส่วนของค่าทีพ่ กั และค่าเดินทาง ภายในประเทศ แก่ทีมที่มาจากต่างประเทศ และจากต่างจังหวัด (วันที่ ๑๐, ๑๑ และ ๑๒ ธันวาคม) ในเย็นวันที่ ๑๒ ธันวาคม ทาง โรงเรียนจะเป็นเจ้าภาพจัดเลีย้ งคณะนักกีฬา และผูเ้ กีย่ วข้อง ภายหลังเสร็จสิน้ การแข่งขัน ในส่วนนี้ต้องขอบอกว่าคนที่ชื่นชอบ กีฬารักบี้ไม่ควรพลาด เพราะจากข้อมูลที่ สืบค้นมาทีมทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขันทุกทีมเป็น ทีมชัน้ น�ำในระดับประเทศของแต่ละประเทศ anumanavasarn.com


104 สนามข้าง โดยเฉพาะทีมจาก New Zealand แล้ว ห้าม พลาดชมโดยเด็ดขาด ขออนุญาตให้ข้อมูล เพื่อเรียกน�้ำย่อยดังนี้ Hamilton Boys High School แชมป์ระดับโรงเรียนโลก (World School Championship) จัดขึ้นที่ญี่ปุ่นเมื่อปีที่แล้วมี Warren Gatland โค้ชทีมชาติ Wales ชุด ปัจจุบันเป็นศิษย์เก่า West Lake Boys High School มีศิษย์เก่าที่ติดทีมชาติ New Zealand ชุด ใหญ่อย่าง Luke McAlister Nick Evans, Frano Botica King’s College มีศิษย์เก่าที่ติด ทีมชาติ New Zealand ชุดใหญ่อย่าง Pita Alatini, Ali Williams, Ian Kirkpatrick, Daniel Braid Christchurch Boys High School มีศิษย์เก่าที่ติดทีมชาติ New Zealand ชุด ใหญ่อย่าง Daniel Carter, Daryl Gibson, Scott Hamilton, Andrew Mehrtens, Richard Loe, Fergie McCormick, Aaron Mauger Palmerston North Boys High School มีศิษย์เก่าที่ติดทีมชาติ New Zealand ชุดใหญ่อย่าง Craig Wickes, Jason Eaton, Aaron Cruden Mount Albert Gramma School แชมป์ของ Auckland Kelston Boys High School แชมป์ ๗ คน ในระดับโรงเรียนของ New Zealand

นีแ่ ค่บางส่วนนะครับ จริงๆ แล้วเยอะ กว่านี้ จะลงทั้งหมดก็กลัวเปลืองกระดาษ พูดง่ายๆ ก็คือเด็กจาก New Zealand ที่ จะเดินทางมาเล่นในรายการแข่งขันที่ทาง โรงเรียนจัดขึ้นนี้ อาจจะติดทีมชาติ New Zealand ในอนาคต เราอาจเห็นพวกเขาในรักบีช้ งิ แชมป์ โลก ๒๐๑๕ หรือ ๒๐๑๙ ก็ได้ !!!! นอกจากการแข่ ง ขั น รั ก บี้ ๗ คน นานาชาติในระดับอายุไม่เกิน ๑๘ ปีแล้ว เรา ยังมีการจัด มินริ กั บี้ โดยจัดทีส่ นามข้าง อีก หนึง่ รายการเพือ่ ให้เด็กๆ อนาคตของวงการ รักบี้ไทย ได้มีส่วนร่วมกับงานของเราด้วย

มีรักบี้วัยรุ่นกับรักบี้เด็กแล้ว กลัว ผู้อาวุโสจะน้อยใจ เราเพิ่มการจัดรักบี้นัด พิเศษอีกหนึ่งนัด ระหว่างทีม OV อาวุโส อายุไม่ตำ�่ กว่า ๔๕ ปี (มีเช็คบัตรประชาชน นะครับ อายุไม่ถึงห้ามเล่น) แข่งกับทีม Rugby Girls (ส่วนมากเป็นเชียร์ลีดเดอร์) จากจุฬา โดยความอนุเคราะห์จัดหาโดย ต้น (ภัคพงศ์ จักษุรกั ษ์ OV ๖๑) แต่ขอบอก


นะครับว่าเป็น Touch Rugby หรือ Flag Rugby (ห้ามแตะตัวโดยเด็ดขาด แต่ถ้า พลาดพลั้งไปแตะโดยไม่ตั้งใจก็อนุโลมให้ ครับ) งานนี้อายุยิ่งเยอะยิ่งมีสิทธิ์ลงก่อนนะ ครับ (ถืออาวุโสโดยเคร่งครัด) ดูตวั อย่างพอ เป็นกระสัยตามรูปด้านล่างนะครับ ความแข็งแกร่งอาจไม่เทียบทีมหญิง ของพี่เล็ก (ศุภรัตน์) แต่... กินขาดนะครับ พี่ตันติ ห้ามพลาดนะครับ

นอกจากกิจกรรมจัดแข่งขันรักบีแ้ ล้ว เรายังเอาเก้าอี้มาตั้งไว้หน้าบันไดตึกขาว ให้ นักรักบีท้ มี โรงเรียนในแต่ละรุน่ ได้นดั กันมา ถ่ายรูปเก็บไว้เป็นที่ระลึก มีแข่งขันด้วยนะ ครับว่ารุ่นไหนจะนัดกันมาได้มากที่สุด ในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี ของ โรงเรียนมีกิจกรรมเยอะมากครับทั้งกีฬา ดนตรี จัดเสวนา จัดประชุมทางวิชาการ ฯลฯ หวังอย่างยิ่งนะครับว่านักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ทุกคนคงหาเวลาเข้ า ร่ ว มไม่ กิ จ กรรมใดก็ กิจกรรมหนึ่ง แต่ถา้ ใครชอบบรรยากาศการแข่งขัน กีฬาที่ตื่นเต้นเร้าใจ อาหารเครื่องดื่มพร้อม คณะกรรมการจัดงานรักบี้ฟุตบอลประเภท ๗ คน นานาชาติ Vajiravudh Centenary Sevens ขอเชิญครับ นครา นาครทรรพ (โอวี ๖๑)

anumanavasarn.com


106

คอมมอนรูม

เรื่องสบายสไตล์ โ อวี

บรรยากาศโรงแรมริมน�ำ้ แม่กลอง อ�ำเภออัมพวา

หลังจากเคลียร์งานเสร็จ ผมรีบกลับ บ้ า นเก็ บ กระเป๋ า ทั้ ง ของตั ว เองและสาวๆ เตรี ย มตั ว ปิ ด โทรศั พ ท์ ทิ้ ง ความโกลาหล วุ่นวายไว้ที่เมืองหลวงของประเทศไทย แหวกรถติ ด ขึ้ น ทางด่ ว นมุ ่ ง หน้ า ถนนธนบุ รี ป ากท่ อ ปลายทางที่ จั ง หวั ด สมุทรสงคราม รู้แต่ว่าจะไปพักที่ไหนแต่ยัง ไม่รู้ว่าจะไปท�ำอะไรที่จังหวัดสมุทรสงคราม ใช้เวลาประมาณหนึ่งชั่วโมงแบบนิ๊งหน่อง ทัวร์ ไปเรื่อยๆ ก็ถึงที่พักที่บ้านท้ายหาด วอเตอร์สปอร์ตของรุ่นพี่โรงเรียนเดียวกัน ระหว่างทีเ่ ช็คอินก็ถามพนักงานว่า วันนีพ้ วก เราควรท�ำอะไรดี “เช่าเรือ ไปเที่ยวตลาดน�ำ้ แล้วดูหิ่งห้อยมั้ยครับ เหมาล�ำเก้าร้อยบาท ครับ” ตอบแบบไม่ต้องคิด เพราะขี้เกียจจะ คิดอยู่แล้ว “เอาสิน้อง เรือมากี่โมง” “ห้า โมงครึ่ง ครับ”

...ห้ า โมงครึ่ ง เรื อ หางยาวพร้ อ ม กัปตันเรือในชุดกางเกงขาสัน้ มาตรงเวลาเป๊ะ ขึน้ เรือหยิบเสือ้ ชูชพี ให้สองสาวทีร่ กั สุดหัวใจ เป็นอย่างแรก ถามกัปตันเรือว่าจะไปไหนกัน “ไปวัดจินดามณี แล้วไปตลาดอัมพวา ขากลับ มาล่องเรือดูหิ่งห้อยครับ” “ไปเลยน้อง” เรือหางยาวเริ่มเคลื่อนตัวออกจาก ท่าน�้ำของโรงแรม สองสาวดูตื่นเต้นไม่น้อย ทุกครั้งที่เรือโยกตามกระแสคลื่น สองสาว บีบมือแน่นตามจังหวะคลื่น กระทั่งเรือแล่น จนเกื อ บถึ ง วั ด จิ น ดามณี ส องสาวหน้ า ตา เหมือนกันจึงเริ่มผ่อนคลาย ลงเรือสต๊อป แรกที่ วั ด ขึ้ น ไปดู โ บสถ์ ที่ ภ ายในเหลื อ ง อร่ามดูน่าศรัทธา เราใช้เวลาไม่นานกับที่วัด เพราะดูเหมือนจะไม่คอ่ ยคุน้ เคยกับวัด และ เผอิญมีสโลแกนของชีวิตที่ยึดไว้ว่าธรรมะ อยู่ในใจจึงไม่ค่อยติดใจในธรรมสถานอะไร


เท่าไหร่ กลับมาลงเรืออีกทีหกโมงกว่าๆ มุง่ หน้าตลาดน�ำ้ อัมพวา ตลอดข้างทางได้เห็น วิถีชีวิตของคนริมน�้ำที่ปัจจุบันปรับตัวเอง รับกระแสท่องเที่ยว โดยปรับปรุงบ้านตัว เองมารับแขกท่องเที่ยวแบบโฮมเสตย์ ยิ่ง ใกล้ ต ลาดยิ่ ง เห็ น ที่ พั ก โฮมเสตย์ น ่ า รั ก ๆ บูตคิ นิดๆ ทีส่ ำ� คัญนักท่องเทีย่ วหน้าตาจิม้ ลิม้ ที่ นั่ ง ชิ ล ชิ ล อยู ่ ห น้ า ที่ พั ก ริ ม น�้ ำ นั่ ง ดู เ รื อ นักท่องเทีย่ วทีแ่ ล่นผ่านไปมา แสนเพลินใจ... ดูไปเหอะน้อง อย่าลุกไปไหนเชียวหล่ะ เดีย๋ ว วิวข้างทางพี่เสียหมด.... เรือจอดทีท่ า่ เราเดินเข้าไปในใจกลาง ตลาด ยิ่งใกล้เสียงเพลงลูกกรุงย้อนยุคก็ยิ่ง ดังขึน้ เรือ่ ยๆ เหมือนเวลาเดินบนถนนเอกมัย เพือ่ ไปเทีย่ วทีผ่ บั ทีไ่ ด้ยนิ เสียงเพลงตลอดทาง แต่แตกต่างกันที่วิวข้างทาง เป็นบ้านริมน�้ำ และยานพาหนะ อย่างเดียวที่เห็นคือ เรือ... เดินเข้ามาถึงตลาด เห็นคนจับกลุ่มกันแน่น เพ่งพินิจอีกทีจึงรู้ว่าเป็นบรรดานักท่องเที่ยว ที่ออกันอยู่บริเวณบันไดชั้นที่ยื่นลงสู่คลอง เพื่อสั่งอาหารจากแม่ค้าพ่อค้าที่พายมาขาย ก๋วยเตี๋ยว ทะเลเผา กาแฟโบราณ ...น่ า กิ น ชะมั ด แต่ ดู ท ่ า จะไม่ ไ หว เพราะคนแน่นขนาดนั้น อีกทั้งสองสาวที่มา ด้วยคงไม่อาจจะเสีย่ งลงไปนัง่ กินด้วยเป็นแน่ เอาไว้วนั หลังแล้วกันวะ ละสายตาจากเขตโรง เลี้ยงลอยน�้ำเพื่อพยายามหาที่มาของเสียง เพลงลูกกรุงย้อนยุค อ้อ!! อยู่อีกข้างหนึ่ง ของสะพานนี่เอง

ท้องเริ่มส่งสัญญาณว่า บัดนี้บรรดา พยาธิ์ที่อยู่ในท้องออกมาใช้สิทธิเรียกร้อง สสารมาให้แหย่ จึงตัดสินใจเดินหาของกิน ตามเสียงเพลงไปเรื่อย จนพบว่าเป็นเสียง เพลงจากวงดนตรีกึ่งคาราโอเกะ ที่บรรดา น้าๆ ที่ดูเหมือนจะมารวมตัวกันเฉพาะกิจ เพื่อเอนเตอร์เทนนักท่องเที่ยวอยู่หน้าร้าน ข้าวแกงคุณย่า “สองเพลงสิบบาท” เฮ้ยยย ใครมาร้องก็ได้หรอเนี่ย แจ๋วจริง เดินต่อไปอีกสักพัก มาสะดุดตากับ ร้านขายของทีร่ ะลึก ทีล่ ว้ นแล้วแต่จะชวนให้ ระลึกถึงอารมณ์แห่งตลาดน�้ำอัมพวาแห่งนี้ ที่ มี ก ลิ่ น อายแบบพื้ น บ้ า น อารมณ์ เ ก่ า ๆ เรียกว่าเดินเข้าไปในร้านก็แทบ

“สองสาวล่องน�ำ้ แม่กลอง” anumanavasarn.com


108 คอมมอนรูม จะนึกภาพของวิถีชีวิตของคนในย่านแม่น�้ำ แม่กลองได้ เหมือนกับได้มาเยือนกันบ่อย ครั้ง จะทุ่มหนึ่งแล้ว กัปตันเรือบอกว่าจะ มารับสองทุม่ เลยรีบหาอะไรใส่ทอ้ ง เผือ่ พรุง่ นี้ มีสงคราม จะได้ไม่อดตายในหลุมหลบภัย (บรรยากาศหนังเรื่อง คู่กรรม มันพาไป) เดินข้ามสะพานกลับมายังตลาดโต้รุ่ง ร้าน ขายอาหารสารพัดให้เลือก แต่อยากได้ที่ นั่งแบบสั่งได้หลายๆ เจ้า จนกระทั่งเจอที่นั่ง มีร้านอาหารหลายชนิดรวมกัน สามารถสั่ง ได้หมด ตัดสินใจลองเดินช๊อปดูหน่อย เห็น บัวลอยไข่หวานติดอยู่กับลูกชิ้นเอ็นปิ้ง ทน ไม่ไหวเจอของโปรด เลยสั่งลูกชิ้นปิ้งสองไม้ แม่ค้าบอกว่า “ไม้ละสิบบาทจ้า” ส�ำเนียง ให้ ก ารต้ อ นรั บ สุ ด ๆ ตามแบบฉบั บ ของ ชาวบ้าน ฟังแล้วอยากสั่งเยอะๆ จัง เราเลย บอกต่อไปว่า รูดลูกชิ้นออกให้ด้วยนะครับ แม่ค้าใจดี ยิ้มแย้มเป็นกันเอง บอกว่า “คิด ค่ารูดไม้ละห้าบาทนะจ๊ะ” ....หาาาาไม้ละ ห้าบาท ท�ำไมค่าบริการสวนทางกับท่าทาง จังเลยวะ ผมคิดในใจ ยืนงงอยู่สักพัก แม่ค้า ปากหวานก็พูดต่อ... “อ่ะๆๆ ล้อเล่งงงง” แม่ค้าปากหวานท�ำท่าเหมือนตลกชื่ออ่าง แต่เรายังตามไม่ทันอยู่ “ไม่งนั้ ก็ไม่ได้คยุ กันสิจะ๊ คุณสัง่ แล้วก็ ไป จะได้คยุ กันไง” หูๆๆๆ พีค่ บั เอนเตอร์เทน ลูกค้าสุดๆๆ เกือบสองทุ่มไปรอกัปตันและเรือที่ ท่าตามนัดหมาย ใกล้กนั กับท่าเจอร้านกาแฟ

โบราณนามว่า “สมานการค้า” โฆษณาว่า ขายมานานมากตั้ ง แต่ รุ ่ น พ่ อ ดู จ ากอายุ อานามของคนขายแล้วก็พอเดาได้ว่านาน ขนาดไหนแล้ว และเพื่อไม่ให้เสียเที่ยว สั่ง โอเลี้ ย งยกล้ อ ส� ำ หรั บ ตั ว เองและน�้ ำ แดง มะนาวส�ำหรับสองสาวสวยสองคนที่เริ่มบ่น หิวน�ำ้ เจ้าของร้านเดินมาเสิรฟ์ เอง เหลือบเห็น เราหยิบกล้องมาจะถ่ายรูปสองสาว แกก็ จัดการจัดมุมกล้องให้พร้อมแนะน�ำว่าให้มา ถ่ายมุมนี้ เพราะใครมาก็ต้องถ่ายกันทั้งนั้น จริงดังอาเจ็กว่า มุมกล้องนี้เข้าท่าจริงๆ การ จัดวางสินค้า ประกอบกับจักรยานคันเก่า ที่ ดู ตั้ ง ใจมาจอดไว้ เ ป็ น พรอพประดั บ ฉาก มากกว่าใช้เดินทางไปไหนๆ สองทุ่มตรง กัปตันมาตามเวลาเป๊ะ อีกเช่นเคย ขากลับเราต้องล่องเรือกลับไป ตามคลองผีหลอกกลับไปยังโรงแรม สอง ข้างทางเต็มไปด้วยต้นล�ำพูที่ตอนขามาเราก็ นั่งผ่านมาแล้วแต่ไม่ยักกะรู้ พอเรือเข้าใกล้ กับต้นล�ำพู กัปตันก็จะดับเครื่องเพื่อให้เรือ ลอยเข้าไปใกล้ๆ เอง เราอยู่ห่างจากฝั่งประมาณ สาม-สี่ เมตรได้ แสงระยิ บ ระยั บ บางๆ ส่ อ งมา กระทบตาจากต้นล�ำพู “เหมือนต้นคริสต์มาส เลยพ่อ” ลูกสาวส่งเสียงทักด้วยความตื่นเต้น เออแฮะเหมือนจริงๆ เพียงแต่มนั ไม่ได้สว่างไสว เหมือนไฟจากหลอดนีออน แต่เป็นแสงไฟ จากความมหัศจรรย์ของธรรมชาติที่เด็กยุค นี้ไม่สามารถจะหาดูได้ง่ายๆ อีกต่อไป


“สมานการค้า ร้านกาแฟแนวเก๋า ใครมาอัมพวา ต้องแวะชิม” เราแวะชมแสงหิ่ ง ห้ อ ยบนต้ น ล� ำ พู ต้นแล้วต้นเล่า แสงหิ่งห้อยค่อยๆ เลือน หายไป ภาพท่าเรือโรงแรมเริ่มชัดเจนขึ้น พร้อมๆ กับแสงไฟนีออนที่เข้ามากระตุกใจ ว่ า เราก� ำ ลั ง เดิ น หน้ าเข้าหาความสั บสน วุ่นวายอีกครั้งแล้ว หันกลับไปมองล�ำน�้ำแม่กลอง สาย ลมอ่อนๆ แตะหน้า เหมือนจะส่งท้ายกัน...

ยังหรอกพี.่ .. เรากลับมาอีกแน่ แต่คราวหน้า จะรีบไปตั้งแต่เย็นๆ จะไปสั่งลูกชิ้นปิ้งของ แม่ค้าจอมเอนเตอร์เทน แล้วไปตั้งวงเหล้า หน้าร้านข้าวแกงคุณย่าแลกเหรียญไปร้อง คาราโอเกะกับวงคุณอาสักร้อยหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ ที่สุดต้องไม่ลืมปิดโทรศัพท์ไม่อยากให้ใคร โทรเข้ามากวนใจเพราะโดนมนต์รกั แม่กลอง เข้าแล้วอย่างจัง anumanavasarn.com


110

คอมมอนรูม

เจื้อยแจ้วแว่วเสียงส�ำเนียงขับร้อง ล่องลอยพริ้วหวานซ่านมา มนต์รักแม่กลองแว่วมา

ดังเพลงมนต์รักแม่กลอง กล่อม สาวงามบ้านอัมพวา เหมือนสายธารแม่กลองร�ำพัน

พี่ต้องจากลาขวัญตานิ่มน้อง ต้องครวญมาสักวัน เราสองล่องเรือร่วมกัน...

ไม่ลืมลาสาวแม่กลอง กลิ่น เนื้อนางไม่จางสัมพันธ์ ร้องเพลงชมจันทร์ลุ่มน�้ำแม่กลอง

ไม่ลืม น�ำ้ ใจไมตรี ให้ดื่มน�ำ้ ตาลพร้อมกับยิ้มหวาน ก่อนลาจากสาวแม่กลอง

สาวงามบ้านบางคณฑี เอื้ออารีเรียกร้อง ของนวลละออง เรา ร่วมปิดทองงานวัดบ้านแหลม

เจื้อยแจ้วแว่วเสียงส�ำเนียงขับร้อง ล่องลอยเมื่อคืนข้างแรม มนต์รักแม่กลองแทรกแซม

คร�ำ่ ครวญลาสาวแม่กลอง กรุ่น หอมไอทะเลเคล้าแซม คิดถึงพวกแก้มนวลสาวแม่กลอง

บทความข้างบน ผมได้เคยเขียนใน บล๊อกส่วนตัวในเว็บไซต์แห่งหนึ่งเมื่อสองปี ที่แล้ว จากการที่ผมอยากพักผ่อนสมองพา ลูกเมียไปเที่ยวแต่ไม่ได้วางแผน เลยตัดสิน ใจเปิดเว็บโอวีหาโรงแรมของพวกเรา หวังว่า จะอุดหนุนพีน่ อ้ งโอวีทที่ ำ� ธุรกิจโรงแรมแล้วก็ เจอข้อมูลสมใจนึก เริ่มคืนแรก ไปพักที่บ้านท้ายหาด วอเตอร์สปอร์ตเพียงแค่แจ้งกับเจ้าหน้าที่ว่า เป็นนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ก็ได้รับการตอบ กลับว่า คุณได้รับส่วนลด ๒๐% ในข้อหา ที่คุณดันเรียนวชิราวุธฯ แต่เสียดายที่ไม่ได้ พบพีท่ เี่ ป็นเจ้าของโรงแรม โรงแรมสวยราคา พอดีๆ พร้อมอาหารเช้า บรรยากาศริม น�้ำ ไปถึงตอนเย็นก็เช่าเรือให้มารับที่ท่าน�้ำ ของโรงแรม ๙๐๐ บาท เหมาล�ำไปเที่ยว ตลาดน�ำ้ อัมพวาและดูหงิ่ ห้อยทีค่ ลองผีหลอก ตื่นเช้ากินอาหารกับโรงแรม สายๆ ว่ายน�ำ้

ที่ ส ระของโรงแรม เที่ ย งเช็ ค เอ้ า ท์ ไ ปกิ น อาหารกลางวันที่ร้านอร่อยริมน�้ำ ขับรถต่อ ไปหัวหินเป้าหมายคือโรงแรม The Bihai The Bihai เป็นบูทิคโฮเต็ลอยู่สุด ถนนทางเข้ า เขาตะเกี ย บ โรงแรมสวย สะอาดและใหม่ ชั้นล่างสุดเปิดประตูออก มาโดดลงสระน�ำ้ ได้เลย นาทีแรกที่ขับรถถึง โรงแรมเห็นพนักงานลงมารับกระเป๋า แต่ ดูแล้วหน้าตามันโอวีสุดๆ เพราะน้องคนนั้น ยกมือไหว้ปลกๆ กริยาอ่อนน้อมถ่อมตน ตามประสาพวกเรายามเจอรุน่ พี่ สัญชาตญาณ ของผมเดาไม่ผิดผลปรากฏว่าเป็น GM ของ โรงแรมตอนนั้น (ปัจจุบันไปเปิดร้านอาหาร ของตัวเองชื่อ... ถนนเทพประสิทธิ์ พัทยา) ชื่อกุลธวัช รุ่น ๖๘ หรือ สันขวาน สั น ขวานแนะน� ำ ตั ว เสร็ จ บอกว่ า เจ้าของโรงแรมเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกัน แต่ ตอนนั้นไม่อยู่ไปเที่ยวจังหวัดอื่น สันขวาน


“ที่ทำ� การนิตยสาร มนต์รักแม่กลอง ร้าน ขายของที่ระลึก ที่อบอวลด้วยบรรยากาศ น่ารักของชาวอัมพวา” เดินมาส่งที่ห้อง ผมเลยชวนน้องกินข้าวเย็น ด้วยกัน สันขวานตอบว่าผมต้องไปช่วยแม่ ครั ว ดู แ ลอาหารให้ ลู ก ค้ า ด้ ว ย (มั น ท�ำ ได้ หลายอย่างจริง) แต่หลังจากนั้นไปกินกับพี่ ต่อได้ครับ เข้าทางผมกินข้าวเสร็จเจอกัน... ไอ้น้อง กินข้าวเสร็จผมไปหาสันขวานที่ห้อง อาหารนั่งกินเบียร์คนละขวด พร้อมแลก เปลี่ยนข้อมูลกัน ได้ความว่าสันขวานก�ำลัง มีแผนจะเปิดโรงแรมของตัวเองที่พัทยาแถว ถนนเทพประสิทธิ์ ตอนนี้เลยมาช่วยเพื่อน และฝึกงานไปด้วย เบียร์ใกล้หมดขวดจึง ชวนกันไปเปลี่ยนบรรยากาศในเมืองหัวหิน นิดหนึ่ง เลยนึกขึ้นได้ว่ามี พี่ตุ๊ จักรพันธ์ รุ่น ๔๓ อยู่ที่หัวหินตอนนั้นเหมือนกัน จึงรีบโทรไปหาพี่ตุ๊เพื่อเพิ่มจ�ำนวน คนในวงเหล้ า พี่ ตุ ๊ บ อกว่ า พี่ อ ยู ่ ที่ โ รงแรม

สายลม (ร้านประจ�ำของเฮียเขา) ให้ตามมา ได้เลย ผมกับสันขวานจึงรีบม่งุ หน้าไปสมทบ กับพี่ตุ๊ทันที ไปถึ ง โรงแรมสายลมพบว่ า พี่ ตุ ๊ นั่ ง อยู่กับพี่ปลิว ศรีภพ รุ่น ๔๗ จึงถือโอกาส แนะน�ำตัวสันขวานให้รู้จักกับพี่ๆ เขา หลัง จากนัน้ คงไม่ตอ้ งอธิบายต่อถึงบทสนทนาบน โต๊ะอาหารคืนนัน้ นะครับ ว่าเราคุยเรือ่ งอะไร ค�ำ่ คืนทีไ่ ม่มอี ะไรของผมกลับกลายเป็น คืนที่สนุกสนานอีกครั้งหนึ่ง ด้วยมิตรภาพ ของพี่ๆ น้องๆ ที่มีให้กับผมและให้แก่กัน และกัน ผมกลับโรงแรมมากับสันขวาน ด้วย สภาพลิ้นเริ่มจะแข็งแล้ว สันขวานเดินมาส่ง ผมที่ ห ้ อ งแล้ ว แยกย้ า ยกลั บ ไปนอนเกื อ บ ตีหนึ่ง รุ่งเช้าผมตื่นขึ้นมาพบสันขวานอยู่ที่ ห้องอาหารแล้วและก็ได้กินอาหารเช้าฝีมือ น้องสันขวานซะด้วยครับ จะไปเทีย่ วไหน ไม่ตอ้ งกลัวเบือ่ ขอให้ รู้เถอะว่าที่นั่นพวกเรามีใครอยู่บ้าง รับรอง ทริปนัน้ จะสนุก และจะประทับใจกับมิตรภาพ ที่พวกเราหยิบยื่นให้กันไม่รู้ลืม ดูกอล์ฟ ดิ โอเพ่น ปีนี้ ฟังผู้บรรยาย พูดว่า ไม่มีกีฬาไหนที่สามารถให้คนที่มีช่วง อายุต่างกันมากขนาดนี้ได้มาเจอกัน ก็เลย นึกถึงต่อไปว่า ก็คงไม่มีสายสัมพันธ์ของ โรงเรียนไหนที่ท�ำให้คนที่มีช่วงอายุห่างกัน มากมาจอยกันได้ขนาดนี้ ขอบคุณพีต่ ุ๊ รุน่ ๔๓ พี่ปลิว รุ่น ๔๗ ตัวผม รุ่น ๖๐ สันขวาน รุ่น ๖๘ ที่รวมกันสร้างความสุขให้กันและ กั น ในค�่ ำ คื น หนึ่ ง ริ ม ชายหาด หั ว หิ น ... ขอบคุณครับ ยุทธน้อย anumanavasarn.com



จากห้องประชุมสมาคมฯ สรุปการท�ำงานของคณะกรรมการฯ

113

วชิ ร าวุ ธ ๑๐๐ ปี Vajiravudh Centennial

ใกล้เข้ามาทุกขณะส� ำหรับวันครบรอบ ๑ ศตวรรษแห่งการสถาปนาวชิราวุธ วิทยาลัย สถาบันการศึกษาที่ได้ชื่อว่าเป็นที่หล่อหลอมกุลบุตรของประชาชนชาวไทย ให้เป็นสุภาพบุรษุ อย่างแท้จริงแห่งหนึง่ วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนทีผ่ ลิตบุคลากรออกมา เป็นคนดีมคี ณ ุ ภาพ มีชอื่ เสียงในสังคมมากมาย และเนือ่ งในวาระ ๑๐๐ ปีแห่งการสถาปนานี้ วชิราวุธวิทยาลัยและสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึง พร้อมด�ำริให้มีการจัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ขึ้น เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระบาท anumanavasarn.com


114

จากห้องประชุมสมาคมฯ

สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระผูก้ อ่ ตัง้ วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ให้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ก่ สาธารณชน ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานคณะ กรรมการจัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปี กล่าวว่า ในวาระที่ ว ชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย จะครบรอบ ๑๐๐ ปี ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ที่ จะถึ ง นี้ นั ก เรี ย นเก่ าฯ นัก เรี ยนปัจ จุ บัน และคณะครูวชิราวุธวิทยาลัย ล้วนส� ำนึก ในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้ทรงพระมหา กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนา วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ขึ้ น ซึ่ ง นั บ เป็ น พระราช กรณียกิจแรกที่ทรงปฏิบัติหลังจากที่เสด็จ เถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ ๖ แห่ง พระบรมราชวงศ์ จั ก รี ถื อ เป็ น พระบรม ราชานุสรณ์ ด้านการศึกษาแห่งองค์พระ ผูใ้ ห้กำ� เนิดวชิราวุธวิทยาลัย เป็นเครือ่ งหมาย แห่งการแสดงกตเวทิตาคุณ คณะกรรมการ จัดงานฯ จึงมีแนวคิดจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้น มาเพื่ อ เผยแพร่ พ ระอั จ ฉริ ย ภาพทางด้ า น เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม กีฬา บันเทิงโดยสะท้อนผ่านกิจกรรมเด่น ๔ ประเภท ได้แก่ งานนิทรรศการวชิราวุธ ๑๐๐ ปี งานเสวนาวชิราวุธ ๑๐๐ ปี การ แสดงดนตรี เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ และการ แข่งขันกีฬาวชิราวุธ ๑๐๐ ปี โดยจะปิด ท้ายด้วยพิธีเฉลิมฉลองครั้งใหญ่ของคณะ นักเรียนเก่าฯ และนักเรียนปัจจุบันในราว ปลายเดือนธันวาคม ๒๕๕๓ นี้

ทัง้ นี้ กิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ ในรูปแบบต่างๆ นั้น นอกเหนือไปจากที่จะมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ยังมุ่งหวัง ให้นักเรียนวชิราวุธฯ ทั้งนักเรียนเก่าฯ และ นักเรียนปัจจุบัน มารวมตัวกันร่วมร� ำลึก เฉลิมฉลองตามโอกาส และเทิดพระเกียรติ องค์พระผู ้ ก ่ อ ตั้ ง วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย และที่ ส�ำคัญประการหนึ่งเพื่อน�ำรายได้สมทบทุน ก่อสร้างอาคารวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ส�ำหรับใช้ เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพใน ระดับชั้นประถมศึกษา ซึ่งเป็นวัยพื้นฐาน ที่ส�ำคัญในการที่จะปลูกฝังทั้งความดีและ ความรู้ ในการสร้างคนดีที่มีคุณภาพให้แก่ ประเทศชาติและสังคมต่อไป ส�ำหรับการจัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปีนนั้ คณะกรรมการจัดงานฯ ได้รับความร่วมแรง ร่ ว มใจเป็ น อย่ า งดี จ ากเครื อ ข่ า ยองค์ ก ร เกีย่ วเนือ่ งในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว มาร่วมสนับสนุน อาทิ ธนาคาร ออมสิน บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั กสท. โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นต้น รวมทั้ง นักเรียนเก่าฯ - ปัจจุบัน คณะอาจารย์ และ ผู้ปกครองของวชิราวุธวิทยาลัย พร้อมใจกัน ร่ ว มเฉลิ ม ฉลองผ่ า นกิ จ กรรมหลั ก ๔ ประเภท ทีเ่ ริม่ จัดเพือ่ เฉลิมฉลองตัง้ แต่บดั นี้ ไปจนถึงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ซึ่งเป็น วันสถาปนาโรงเรียนประกอบด้วย


๑. งานนิทรรศการวชิราวุธ ๑๐๐ ปี มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ละ สดุดใี นพระอัจฉริยภาพของพระองค์ ในด้าน ต่างๆ ให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาปวงชน ชาวไทยทั่วไป รวมทั้งการสร้างทรัพยากร มนุษย์ด้วยการศึกษาของไทยด้วยการก่อตั้ง โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย ในปัจจุบัน) และการตอบสนองพระบรม ราโชบายของผู้บริหารวชิราวุธวิทยาลัยใน การปลูกฝังคุณค่าต่างๆ การแสดงผลงาน ของนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ ในสายงานต่างๆ โดยจะประกอบไปด้วย นิทรรศการ ๕ เรื่อง ดังนี้ ๑๐๐ ปี รัชกาลที่ ๖, ๑๐๐ ปี วชิราวุธ วิทยาลัย, จากพันธกิจสู่การสร้างสังคมของ นักเรียนเก่าวชิราวุธ, นักเรียนเก่าวชิราวุธ ๑๐๐ ปี และเคียงข้างสังคมไทย โดยจะจัด ขึน้ ระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ณ ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย และเปิด ให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมได้ฟรี ๒. งานเสวนาวชิราวุธ ๑๐๐ ปี มี วัตถุประสงค์เพือ่ ร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้าอยู่หัวผู้ก่อตั้งวชิราวุธวิทยาลัยและเพื่อ เชิดชูพระเกียรติขององค์พระผูพ้ ระราชทาน ก�ำเนิดวชิราวุธวิทยาลัย และเพื่อเผยแพร่ พระอัจฉริยภาพทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม โดยมีก�ำหนดจัดงาน เสวนาในเรื่องต่างๆ ดังนี้ การเสวนาเรื่อง พระเจ้าแผ่นดินผู้ทรง พระกรุณา ในวันที่ ๒๘ สิงหาคม

๒๕๕๓ ณ หอประชุมวชิราวุธวิทยาลัย การเสวนาเรือ่ ง มุง่ พระราชหฤทัยเพือ่ การสร้างชาติ ในวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๓ โดยโรงเรี ย นมหาวชิ ร าวุ ธ สงขลา จ.สงขลา การเสวนาเรื่ อ งเรื่ อ ง พระราชกิ จ เพื่อก้าวเดิน ในวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๓ โดยโรงเรียน ปริน๊ ซ์รอยแยลส์ เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ การเสนวนาเรือ่ ง นฤมิตรประชาธิปไตย วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ณ หอ ประชุมวชิราวุธวิทยาลัย โดยการเสวนาวชิราวุธ ๑๐๐ ปีที่จะ จัดขึ้นนี้ จะเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วม โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่จะมีของขวัญเล็กๆ น้อยๆ จากวังรื่นฤดีอีกด้วย ๓. วชิราวุธ ๑๐๐ ปีมหรสพแห่ง สยาม มีวัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อ ร�ำ ลึกถึงพระอัจฉริย ภาพ และพระปรีช า สามารถของพะบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ทางด้ า นการดนตรี แ ละศิ ล ปะ การแสดง โดยคณะกรรมการจัดงานฯ จะ จัดการแสดงดนตรีและการบันเทิงประกอบ ในรูปแบบต่างๆ ในช่วงวันเสาร์ - อาทิตย์ ของเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๓ ดังนี้ งานวชิราวุธ Retro: วันที่ ๒๐-๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ณ สวนลุมพินี โดยจะแบ่งโซนการแสดงออกเป็น ๔ โซนตามยุคสมัยต่างๆ นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๓ จนถึงปัจจุบัน งานนี้จะเปิดให้

• • •

anumanavasarn.com


116

๑๐๐ ปี วชิราวุธ

ประชาชนทั่วไปเข้างานฟรี งานวชิ ร าวุ ธ Society: วั น ที่ ๒๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๓ ณ วชิ ร าวุ ธ วิทยาลัย เป็นงานกาลาดินเนอร์ พร้อม ชมการแสดงดนตรีวงปี่สก๊อต และ ดนตรีวงอื่นๆ จากนักเรียนวชิราวุธ วิทยาลัย งานวชิราวุธลูกทุ่ง EXPO: วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ณ พระราชวัง สนามจันทร์ ซึ่งจะเน้นเป็นการแสดง ดนตรีลูกทุ่งเฟสติวัล ๓ รุ่น งานนี้จะ เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้างานฟรี ๔ .  กิ จ ก ร ร ม ก า ร แ ข ่ ง ขั น กี ฬ า วชิราวุธ ๑๐๐ ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อร�ำลึก ถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้ทรงให้ความ ส�ำคัญของการกีฬา โดยได้ทรงพระราชทาน ให้เป็นหลักการที่ส�ำคัญด้านหนึ่งในการน�ำ มาใช้พัฒนาศักยภาพของคนในชาติ และ นั ก เรี ย นวชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ยั ง ผลให้ กี ฬ า เป็นวิถีชีวิตที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งของนักเรียน วชิราวุธวิทยาลัย ดังนั้นผู้ที่จบการศึกษา จากวชิราวุธวิทยาลัย จะมีคุณสมบัติความ เป็นนักกีฬาติดตัวออกไปทุกคน นอกจากมี พลานามัยแข็งแรง และมีความสามารถใน เกมกีฬาต่างๆ แล้ว สิง่ พิเศษทีม่ คี อื น�ำ้ ใจเป็น นักกีฬา ส�ำหรับในวาระวชิราวุธ ๑๐๐ ปีนี้ คณะกรรมการฯ ได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬา ทั่วไปขึ้น ๗ ประเภท ฟุตบอล ๗ คน กอล์ฟ การกุศล สควอช บาสเกตบอลเยาวชน รักบี้

เยาวชนนานาชาติ และรักบี้ ๗ คน โดยมี ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาสิริโสภาพัณณวดี เป็นรางวัลทุกประเภท ทั้งนี้ กิจกรรมกีฬา เหล่านี้ เปิดให้ประชาชนทัว่ ไปสามารถสมัคร เข้าร่วมแข่งขัน ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ที่ สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ใน พระบรมราชูปถัมภ์ และส�ำหรับพิธีเฉลิมฉลองวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ที่จะจัดขึ้น ในช่วงวันครบรอบการ สถาปนาวชิราวุธวิทยาลัยนั้น จะประกอบ ไปด้วย พิธีใส่บาตรเพื่อถวายเป็นพระราช กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัว ในเช้าวันที่ ๒๗ ธันวาคม พิธีเสด็จ พระราชด�ำเนินฉลองวชิราวุธ ๑๐๐ ปี และ งานเลี้ยงรับรอง ในวันที่ ๒๘ ธันวาคม และ พิธีเจริญพระพุทธมนต์ และงานเฉลิมฉลอง วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ศกนี้ จึ ง ขอเชิ ญ นั ก เรี ย นเก่ า ฯ นั ก เรี ย น ปัจจุบัน และคณะครู เข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง เฉลิมฉลองวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ส� ำ หรั บ รายละเอี ย ดงานกิ จ กรรม ต่างๆ ซึง่ จะจัดขึน้ ในครัง้ ต่อๆ ไป ท่านทีส่ นใจ สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ฝ่ายเลขาธิการ คณะกรรมการจัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๐๒๓๕๓-๓๗๓๙ ต่อ ๑๐๐๐ หรือ วชิราวุธ วิทยาลัย โทร. ๐–๒๖๖๓–๔๕๒๖-๙ ต่อ ๓๘๔ โทรสาร ๐๒-๖๖๓ – ๔๕๙๗ หรือ เว็บไซต์ http://www.vajiravudh100.com


นิทรรศการ วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๓. “จากพันธกิจสู่การสร้างสังคม ของศิษย์เก่าวชิราวุธวิทยาลัย”

๑. “๑๐๐ ปี รัชกาลที่ ๖” ๑ เตรียมพร้อมส่งผ่าน ๒ สร้างเสริมความมั่นคง ๓ เร่งรัดพัฒนา ๓ สร้างขยายการศึกษา

๗ บรมราโชบาย ๘ การศึกษาสร้างคน (ผลงาน OV) ๙ รับใช้สังคม (ผลงาน OV)

๒. “วชิราวุธวิทยาลัย ๑๐๐ ปี”

๔ พระราชทานก�ำเนิดวชิราวุธวิทยาลัย ๕ สถาปัตยกรรม ๖ บารมีปกเกล้า ๖ ผู้บังคับการในยุคต่าง ๆ ๖ สงครามโลกครั้งที่ ๒

๔. “ศิษย์เก่าวชิวาวุธ”

๑๐ สิ่งของ/รูปภาพจาก OV ๑๑ สิ่งของ/รูปภาพจาก OV * โถงรับรอง ห้องวิดิทัศน์

๑๑

๑๐

anumanavasarn.com


118

๑๐๐ ปี วชิราวุธ

ดนตรี วชิราวุธ ๑๐๐ ปี “สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า” หรือ “พระมหาราชเจ้าผู้ทรงเป็นจอมปราชญ์” คือพระบรมราชสมัญญาภิไธยที่พสกนิกร ชาวไทยทั้งหลายได้พร้อมกันถวายเป็นพระ เกียรติยศแด่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว พระผู ้ พ ระราชทานพระบรม ราชูปถัมภกแก่กิจการนาฏดุริยางคศิลป์ ให้ ตกเป็นมรดกวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าของ ชาติสืบมาตราบจนทุกวันนี้ กล่าวเฉพาะนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย แล้ว นอกจากส�ำนึกที่ว่า สมเด็จพระมหา ธีรราชเจ้า ทรงเป็นพระผูพ้ ระราชทานก�ำเนิด สถานศึกษาที่ได้เล่าเรียนกันมา ทั้งยังได้ พระราชทานเงินทุนอุดหนุนการศึกษาแก่ นั ก เรี ย นทุ ก คน นั บ แต่ วั น แรกตราบจน วันสุดท้ายทีไ่ ด้มาเล่าเรียนในโรงเรียนนี้ และ แม้นว่าจะก้าวพ้นชีวิตนักเรียนไปแล้ว แต่ กระแสพระราชด� ำรัสที่พระราชทานไว้ว่า “เจ้าเหล่านี้ข้าถือเหมือนลูกของข้า ส่วนตัว เจ้าๆ ก็ต้องถือว่าข้าเป็นพ่อเจ้า” นั้น ยังคง ตราตรึงอยู่ในดวงจิตของนักเรียนวชิราวุธ วิทยาลัยทุกคนผู้ได้ชื่อว่าเป็น “ลูก” ของ ล้นเกล้าฯ ล้นกระหม่อมมิรู้เสื่อมคลาย ทั้ง ยังเป็นปฏิญญาส�ำคัญให้ “ลูก” ทุกคนได้ ร่วมกันสนองพระมหากรุณาธิคุณตามควร แก่โอกาสตลอดมา

เมื่อการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เฉลิมพระราชมณเฑียรจะเวียนมาบรรจบ ครบรอบ ๑๐๐ ปี ในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ศกนี้ และถัดจากนั้นอีกเพียงเดือนเศษก็ จะเป็นวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี วชิราวุธ วิ ท ยาลั ย ที่ ท รงพระมหากรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มสถาปนาขึ้ น เป็ น ประดุ จ พระอารามหลวงประจ�ำรัชกาล และเป็น พระราชกรณี ย กิ จ แรกในรั ช กาล คณะ นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัยทั้งนักเรียนเก่าฯ และนักเรียนปัจจุบันจึงได้พร้อมกันจัดงาน มหกรรมดนตรี “มหรสพแห่งสยาม” เพื่อ สื บ ทอดพระบรมราชปณิ ธ านในการผดุ ง ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปะการดนตรี ของไทยให้คงคูเ่ ป็นมรดกวัฒนธรรมของชาติ สืบไปชั่วกาลนาน ในงาน “มหรสพแห่งสยาม” นี้ จะ ประกอบไปด้วยงานใหญ่ ๓ งาน ๓ รูปแบบ มหกรรมมหรสพแห่งศตวรรษ ประกอบด้วย ๑) วันที่ ๒๐-๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่ สวนลุมพินี ภายใต้แนวคิด “ลอยกระทง Retro: จันทร์สวย กระทงสาย ดนตรีสุด นิยมชาวสยาม” ๒) วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ภายใต้ แนวคิด “วชิราวุธ Society : ตระหง่าน ค�ำ้ กาลเวลา คุณค่าคู่ควรพระบารมี ดนตรี


ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษ” และ ๓) วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่พระราชวังสนาม จันทร์ ภายใต้แนวคิด “ลูกทุ่ง EXPO : สุข สดใส สีสันสนุกสนานแบบไทย ดนตรี ลูกทุ่ง-งานวัดสุดตระการ” โดยไฮไลท์จะอยูท่ งี่ านวชิราวุธ Retro “Big Picnic Day” ที่สวนลุมพินี ในวันเสาร์อาทิตย์ที่ ๒๐-๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ซึ่งเป็นงานที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้ามา ร่วมเฉลิมฉลองเทศกาลลอยกระทงและชม ความยิ่งใหญ่ทางศิลปะทุกแขนง ย้อนยุค ไป ๑๐๐ ปี ลู ก หลานไทยจะได้ ม าเห็ น ประเพณีลอยกระทงโบราณ การประกวด นางนพมาศ การศึกษาแนวพระราชด� ำริ ในการวางรากฐานการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยผ่านการน�ำเสนอในรูปแบบ เมืองจ�ำลอง “ดุสิตธานี” พร้อมชิมอาหาร เลิศรสจากต�ำนานร้านเก่าแก่กว่า ๑๐๐ ร้าน รวมทัง้ การเต้นลีลาศกับวงดนตรีสนุ ทราภรณ์ พร้อมกับวงดนตรีหลากยุคสมัย ชมภาพยนตร์ เก่าทีห่ าดูได้ยาก และพบกับนางสาวไทยรวม ตลอดทัง้ รองนางสาวไทยตัง้ แต่อดีตตราบจน ถึงปัจจุบนั ทีพ่ ร้อมใจกันมาประชันความงาม ในงานนี้ และที่สำ� คัญ ขอเชิญชวนท่านที่มา เทีย่ วชมงานทุกท่านร่วมกันน�ำผ้าหลากสีสนั มาคนละผืน หรือจะหาซื้อในงาน เพื่อน�ำมา

ผูกปลายทั้งสองข้างกับปลายผ้าของคนอื่น เป็นการประกาศสัญลักษณ์ครองใจภายใต้ แนวคิด “ร้อยปี ร้อยใจ คนไทยรักกัน” ซึ่ง ผ้าที่ผูกปลายทั้งสองข้างทุกผืนนั้นจะน�ำมา ม้วนรวมกันเป็นก้อนผ้าหลากสีขนาดยักษ์ ใส่ลงในตะกร้าปิกนิคขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และน�ำไปจัดแสดงไว้ในที่ที่เหมาะสมต่อไป ส�ำหรับนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ทุกคน รวมทั้งผู้รับเชิญจะมารวมตัวกันครั้ง ยิ่ ง ใหญ่ ที่ บ ริ เ วณสนามรั ก บี้ ห น้ า โรงเรี ย น วชิราวุธวิทยาลัย เพื่อร่วมฉลอง ๑๐๐ ปี การพระราชทานก�ำเนิดโรงเรียน อิ่มอร่อย ไปกั บ อาหารเย็ น รสเลิ ศ ในรู ป แบบ Gala Dinner พร้อมรับความเพลิดเพลินไปกับเสียง ดนตรีอันไพเราะจากวง Orchestra วงใหญ่ พร้ อ มกั บ ปรากฏการณ์ ค รั้ ง แรกของการ บรรเลงร่วมกับวงปี่สก๊อต นับแต่มีการจัด ตัง้ วงปีส่ ก๊อตขึน้ เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย ที่วชิราวุธวิทยาลัยเมื่อ ๖๐ ปีก่อน และท้ายสุดในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ จะเป็นงานวชิราวุธลูกทุ่ง EXPO ณ พระราชวังสนามจันทร์ ซึ่งจะเน้นเป็นการ แสดงดนตรีลูกทุ่งเฟสติวัล ๓ รุ่น ตั้งแต่ นักร้องลูกทุง่ อมตะในอดีต นักร้องลูกทุง่ Indy และนักร้องลูกทุ่งยอดนิยมในปัจจุบัน โดย งานนี้จะเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้างานฟรี anumanavasarn.com


120

๑๐๐ ปี วชิราวุธ

เสวนา วชิราวุธ ๑๐๐ ปี และภาคใต้ ซึ่งรวมตัวกันเป็นโรงเรียนใน เครือข่ายและมีความจงรักภักดีในพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นที่ยิ่ง เนื้ อ หาครอบคลุ ม ทั้ ง เศรษฐกิ จ การเมือง (ประชาธิปไตย) การศึกษา ศาสนา กฎหมาย โดยมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ เช่น ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ดร.โอฬาร ชัยประวัติ อาจารย์เสริน เตชานันท์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เสาร์ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๓ รองศาสตราจารย์ ธงทอง จันทรวงศุ เรื่อง “พระเจ้าแผ่นดินผู้ทรงพระกรุณา” เลขาธิการการศึกษาแห่งชาติ ณ หอประชุมวชิราวุธวิทยาลัย ดร.ธัชพล ชัยพร พฤหัสบดีที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๓ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรือ่ ง “มุง่ พระราชหฤทัยเพือ่ การสร้างชาติ” คุณเชื้อพร วังควร จากวังรื่นฤดี โดยโรงเรียนมหาวชิราวุธสงขลา จ.สงขลา เป็นต้น พฤหัสบดีที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๓ ในเสวนาครั้งแรก ณ หอประชุม เรื่อง “พระราชกิจเพื่อก้าวเดิน” วชิราวุธวิทยาลัย จะประกอบด้วยวิทยากร โดยโรงเรียนปริ๊นซ์รอยแยลส์เชียงใหม่ เช่น อาจารย์ธงทอง และคุณหญิงนิธิวดี จ.เชียงใหม่ อ้นตระการ อายุ ๑๐๐ ปี บริบูรณ์ เป็น วันเสาร์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ คุณพนักงานของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ และ เรื่อง “นฤมิตรประชาธิปไตย” เป็นคนสุดท้ายที่เคยถวายรายงานพระบาท ณ หอประชุมวชิราวุธวิทยาลัย สมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ที่ยังมีชีวิตอยู่ จะ เป็ น เสวนาครั้ ง ส� ำ คั ญ เพราะ ๓ มาเล่าเรื่องผ่านจอวีดีโอ ผู้ฟังจะได้สัมผัส โรงเรียนร่วมกันจัดทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง เรื่องราวอย่างใกล้ชิด เนื่องในวโรกาส ๑๐๐ ปี แห่งการ สถาปนาวชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย และ ๑๐๐ ปี บรมราชาภิ เ ษกของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วชิราวุธวิทยาลัย รูส้ กึ ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ จึงพร้อมใจ กัน จัดเสวนาเผยแพร่พระเกียรติคุณ เรื่อง “เสวนา ๑๐๐ ปี พระเสด็ จ ผ่ า นพิ ภ พ พระคุ ณ ยั ง ขจรจบมิ รู ้ ห าย” ขึ้ น ตั้ ง แต่ เดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน ศกนี้ โดยมี หัวข้อย่อย คือ

• • • • • •


กีฬา วชิราวุธ ๑๐๐ ปี เมื่อพูดถึงวิถีชีวิตที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง ของนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย คือทุกวันเวลา ๔ โมงถึง ๖ โมงเย็น ทุกคนต้องออกก�ำลัง กายและเล่นกีฬา โดยมีกฬี าให้เลือกเล่นกว่า ๑๐ ชนิด ดังนัน้ ผูท้ จี่ บการศึกษาจากวชิราวุธ วิทยาลัย จะมีคุณสมบัติความเป็นนักกีฬา ติดตัวออกไปทุกคน นอกจากมีพลานามัย แข็งแรง และมีความสามารถในเกมกีฬา ต่างๆ แล้ว สิ่งพิเศษที่มีคือน�้ำใจเป็นนักกีฬา ซึ่งก�ำลังเป็นที่ต้องการของสังคมในขณะนี้ ครั้นเมื่อจบออกไปศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ มีหลายคนที่ยังน�ำประสบการณ์ใน เกมกีฬาไปสร้างชื่อเสียงให้แก่องค์กรและ ประเทศชาติอีกด้วย เช่น กีฬาสควอช และ กีฬารักบี้ฟุตบอล เป็นต้น ในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระองค์ ไ ด้ ทรงให้ ค วามส� ำ คั ญ ของการกี ฬ า โดยได้ ทรงให้พระราชทานก�ำเนิดสมาคมกีฬาใน หลายประเภท อาทิ สมาคมแอสโซซิเอชั่น ฟุตบอล เป็นต้น นอกจากนี้แล้วพระองค์ ยังได้พระราชทานให้เป็นหลักการที่ส�ำคัญ ด้านหนึง่ ในการน�ำมาใช้พฒ ั นาศักยภาพของ คนในชาติ และนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย คณะกรรมการจัดงานฯ ได้พิจารณาแล้ว จึง ได้จดั ให้มกี จิ กรรมด้านกีฬาวชิราวุธ ๑๐๐ ปี

ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีความหลากหลาย เป็นกีฬา ที่นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัยและนักเรียนเก่า วชิราวุธวิทยาลัยเคยเล่น มีความพร้อมใน การจัดการแข่งขัน โดยเฉพาะความนิยม และการได้รบั ความร่วมมือจากจากองค์กรที่ เกี่ยวเนื่องกับรัชกาลที่ ๖ ตลอดจนเหล่า พสกนิ ก รทั่ ว ไป โดยมี ถ ้ ว ยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตน ราชสุ ด าสิ ริ โ สภาพั ณ ณวดี เป็ น รางวั ล ทุกประเภท ได้แก่ ๑) ฟุตบอล ๗ คน วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๑๙ ก.ย. - ๑๓ พ.ย. ๒๕๕๓ สนามราชการ / เอกชน / วชิราวุธฯ ๒) กอล์ฟการกุศล วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๑๘ ต.ค. ๒๕๕๓ สนามกอล์ฟไทยคันทรีคลับ ๓) สควอช วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๖ พ.ย. - ๑๒ ธ.ค. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย 4) บาสเกตบอลเยาวชน ๑๓ ปี วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๙ / ๑๐ / ๑๑ / ๑๓ / ๑๔ พ.ย. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย anumanavasarn.com


122

๑๐๐ ปี วชิราวุธ

กีฬา วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๒. กอล์ฟ วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ประธานฯ นายสัคคเดช ธนะรัชต์ ๖) รักบี้ ๗ คน วชิราวุธ ๑๐๐ ปี และคณะ โทร. ๐๘๑ ๖๒๐ ๕๗๘๕ ๑๘ - ๑๙ ธ.ค. ๒๕๕๓ ๑๘ ต.ค. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย สนามกอล์ฟไทยคันทรีคลับ จึงใคร่ขอความกรุณาสื่อสารมวลชน ๑ ประเภท ทีมทั่วไป (๘ คน) และท่านผูม้ เี กียรติ ณ ทีน่ ี้ ช่วยประชาสัมพันธ์ จ�ำนวนทีม ๑๘ ทีม และเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ๓. สควอช วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ข้อมูลเพิม่ เติมการแข่งขันกีฬาแต่ละประเภท ถ้วยพระราชทาน ตามที่แนบ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ประธานฯ นายพริศวร์ อิมราพร ข้อมูลการแข่งขันกีฬาวชิราวุธ ๑๐๐ ปี และคณะ โทร. ๐­ ๘๑ ๔๘๖ ๙๗๐๐ ๖ พ.ย.- ๑๒ ธ.ค. ๒๕๕๓ ๑. ฟุตบอล ๗ คน วชิราวุธ ๑๐๐ ปี สนามวชิราวุธวิทยาลัย ถ้วยพระราชทาน ๒ ประเภท ทั่วไปเดี่ยว และเดี่ยว ๔๐ ปี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ประธานฯ พ.ต.ท.กุลธน ประจวบเหมาะ จ�ำนวน ๑๒๘ คน และคณะ โทร. ๐๘๑ ๘๔๗ ๕๑๑๑ ๑๙ ก.ย. - ๑๓ พ.ย. ๒๕๕๓ ๔. บาสเกตบอล วชิราวุธ ๑๐๐ ปี สนามหน่วยราชการ / เอกชน /วชิราวุธฯ ถ้วยพระราชทาน ๕ ประเภท U๑๒ U๑๕ U๑๘ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ทั่วไป อาวุโส ๔๐ ประธานฯ นายสรัญ รังคสิริ จ�ำนวนทีม ๑๐๐ ทีม และคณะ โทร. ๐๘๑ ๔๔๓ ๔๑๔๔ (กิตติธาดา) ๕) รักบี้เยาวชน ๗ คน นานาชาติ ๑๑ - ๑๒ ธ.ค. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย


๙ / ๑๐ / ๑๑ / ๑๓ / ๑๔ พ.ย. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย ๑ ประเภท U๑๓ จ�ำนวน ๘ ทีม

๕. รักบี้เยาวชน ๗ คน นานาชาติ ถ้วยวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ประธานฯ นายนครา นาครธรรพ และคณะ โทร. ๐๘๑ ๘๒๘ ๓๗๓๙ ๑๑ - ๑๒ พ.ย. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย ๒ ประเภท U๑๘ และมินิรักบี้ จ�ำนวน ๒๔ ทีม

๖. รักบี้ ๗ คน วชิราวุธ ๑๐๐ ปี ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ประธานฯ นายอดิศักดิ์ เหมอยู่ และคณะ โทร. ๐๘๑ ๘๒๒ ๐๘๙๘ ๑๘ - ๑๙ พ.ย. ๒๕๕๓ สนามวชิราวุธวิทยาลัย ๑ ประเภท ทีมทั่วไป จ�ำนวน ๑๖ ทีม

anumanavasarn.com


124 บัจดหมายเหตุ วชิราวุธฯ นทึกเรื่องราวในโรงเรียน

โรงเรียนมหาดเล็กหลวง

๑๐๐ ปี วชิราวุธวิทยาลัย อี ก ไม่ กี่ วั น ก็ จ ะถึ ง ก� ำ หนดจั ด งาน ฉลอง ๑๐๐ ปี วชิราวุธวิทยาลัยกันแล้ว แต่เมื่อมีการกล่าวถึงเหตุการณ์หรือบุคคล ส�ำคัญในประวัตวิ ชิราวุธวิทยาลัย หลายท่าน มั ก จะนึ ก ถึ ง หรื อ กล่ า วถึ ง เหตุ ก ารณ์ ห รื อ บุคคลในช่วงที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั โปรดให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง และโรงเรียน ราชวิทยาลัยเข้าเป็นโรงเรียน เดียวกันเมือ่ วันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๙ แล้ ว ส่ ว นเหตุ ก ารณ์ ใ นรั ช สมั ย พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นก็มักจะ นับเป็นเรื่องของโรงเรียนมหาดเล็กหลวง ท� ำ ให้ ผู ้ ที่ ไ ม่ มี โ อกาสศึ ก ษาเรื่ อ งราวของ โรงเรี ย นโดยถ่ อ งแท้ พ ากั น เข้ า ใจผิ ด ไป ว่า โรงเรียนมหาดเล็กหลวงและวชิราวุธ วิทยาลัยเป็นคนละโรงเรียนกัน ทัง้ ทีน่ กั เรียน วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ทุ ก คนต่ า งก็ ถู ก สั่ ง สอน สืบต่อกันมาว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เป็นผู้พระราชทานก�ำเนิดวชิราวุธ

วิทยาลัย ข้อเท็จจริงนี้จึงออกจะดูแปลกๆ และขัดแย้งกันอยู่ในที ก่อนที่จะกล่าวถึงการรวมโรงเรียน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ คงจะต้องย้อนกลับไป กล่าวถึงก�ำเนิดของโรงเรียนมหาดเล็กหลวง และโรงเรียนราชวิทยาลัยเสียก่อน โรงเรียนมหาดเล็กหลวงนัน้ พระบาท สมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นแทน พระอารามหลวงประจ�ำรัชกาล เนื่องในการ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครั้งแรก ในรัชกาล ซึ่งตรงกับวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.  ๒๔๕๓ แต่เนือ่ งจากวันเฉลิมพระชนมพรรษา ปีนั้นตรงกับวันอาทิตย์ จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เปิดโรงเรียนครัง้ แรกในวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ (สมัยนั้นขึ้นปีใหม่ในวันที่ ๑ เมษายน) ซึ่งตรงกับวันพฤหัสบดีอันโบราณ ถือกันว่า เป็น “วันครู”


ส่ ว นโรงเรี ย นราชวิ ท ยาลั ย นั้ น ถื อ ก� ำ เนิ ด ขึ้ น ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีผลสืบเนื่อง มาจากการที่ได้เสด็จพระราชด� ำเนินทอด พระเนตรโรงเรียนแรฟเฟิลส์ที่สิงคโปร์ จึง มี พ ระราชด� ำ ริ ที่ จ ะจั ด ให้ มี โ รงเรี ย นแบบ พั บ ลิ ค สกู ล ขึ้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ เพื่อฝึกอบรม นั ก เรี ย นที่ จ ะออกไปศึ ก ษาต่ อ ที่ ป ระเทศ อังกฤษ จึงโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงธรรมการ จ้ า งครู ช าวอั ง กฤษเข้ า มาเตรี ย มการ จัดตั้งโรงเรียนนี้ขึ้น แต่เนื่องจากมิสเตอร์ กาเตอร์ ครู ใ หญ่ ช าวอั ง กฤษเสนอ โครงการจั ด ตั้ ง โรงเรี ยนราชวิทยาลัยเป็น โครงการใหญ่ที่ต้องใช้เงินมาก ในชั้นต้น จึงโปรดให้กระทรวงธรรมการตั้งโรงเรียน ราชวิ ท ยาลั ย ขึ้ น ที่ บ ้ า นสมเด็ จ เจ้ า พระยา (ตรงที่เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ ในทุกวันนี้) ก่อน แต่เปิดอยู่ได้ไม่นานเกิด อหิ ว าตกโรคระบาดจนท� ำ ให้ ค รู ช าวต่ า ง ประเทศเสี ย ชี วิ ต โรงเรี ย นจึ ง ต้ อ งปิ ด ลง ชั่ ว คราว แล้ ว มาเปิ ด ใหม่ อี ก ครั้ ง ที่ ส าย สวลี สั ณ ฐาคาร หรื อ โรงเลี้ ย งเด็ ก ที่ ถ นน บ�ำ รุ ง เมื อ ง (ใกล้ โ รงพยาบาลหัวเฉียวใน ปัจจุบัน) ในระหว่างนี้กระทรวงธรรมการได้ โอนโรงเรียนราชวิทยาลัยไปสังกัดกระทรวง ยุ ติ ธ รรม เพื่ อ เตรี ย มนั ก เรี ย นเข้ า ศึ ก ษา ต่อในโรงเรียนกฎหมาย และได้มีการย้าย โรงเรียนไปอยู่ที่ริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา ต�ำบล บางขวาง จังหวัดนนทบุรี แต่เมื่อเจ้าพระยา อภัยราชมหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์

ลพ สุ ทั ศ น์ ) มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เสนาบดี กระทรวงยุ ติ ธ รรมแล้ ว กลั บ เห็ น ว่ า การ ที่ โ รงเรี ย นราชวิ ท ยาลั ย มาสั ง กั ด อยู ่ ใ น กระทรวงยุติธรรมนั้นเป็นการไม่เหมาะสม เพราะกระทรวงยุติธรรมไม่มีหน้าที่จัดการ ศึกษา แต่ภารกิจหลักของกระทรวงยุตธิ รรม คือ การอ�ำนวยความยุติธรรม เสนาบดี กระทรวงยุ ติ ธ รรมจึ ง ได้ น� ำ ความกราบ บั ง คมทู ล พระกรุ ณ าพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทาน โอนโรงเรี ย นราชวิ ท ยาลั ย จากกระทรวง ยุ ติ ธ รรมมาขึ้ น สภากรรมการโรงเรี ย น มหาดเล็ ก หลวง และเมื่ อ ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ ให้โอนโรงเรียนราชวิทยาลัย มาขึน้ สภากรรมการโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เมื่ อ เดื อ นมิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๔๕๙ แล้ ว โรงเรียนราชวิทยาลัยจึงน่าจะได้แปรสภาพ จากโรงเรียนรัฐบาลมาเป็นโรงเรียนราษฎร์ เช่นเดียวกับโรงเรียนมหาดเล็กหลวง และ โรงเรียนพรานหลวง ดังมีพยานปรากฏใน “ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรม ศึกษาธิการโรงเรียนราษฎร์ที่ได้บอกความ จ�ำนงที่จะด�ำรงต่อไป ตามมาตรา ๕ แห่ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รงเรี ย นราษฎร์ พ.ศ.  ๒๔๖๑” ซึง่ กระทรวงธรรมการได้ลงทะเบียน โรงเรียนราษฎร์ในมณฑลกรุงเทพฯ ไว้ตาม ล�ำดับดังนี้ ๑. โรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพฯ ตัง้ อยูถ่ นนซังฮีใ้ นอ�ำเภอดุสติ จังหวัด พระนคร anumanavasarn.com


126

จดหมายเหตุวชิราวุธฯ

๒. โรงเรียนราชวิทยาลัย ตัง้ อยูบ่ างขวาง อ�ำเภอนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๓. โรงเรี ย นราชิ นี ตั้ ง อยู ่ สุ นั น ทาลั ย ปากคลองตลาด อ�ำเภอพระราชวัง จังหวัดพระนคร ๔. โรงเรียนพรานหลวง ตั้งอยู่ที่สวน มิสกวัน อ�ำเภอดุสติ จังหวัดพระนคร ๕. โรงเรียนกรุงเทพฯ คริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ถนนประมวญ อ� ำเภอสาธร จังหวัดพระนคร ๖. โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ตั้งอยู่ข้าง ศิรริ าชพยาบาล อ�ำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี ๗. โรงเรียนอัสสัมชัญ ตัง้ อยูว่ ดั อัสสัมชัญ อ�ำเภอบางรัก จังหวัดพระนคร ฯลฯ และใน “ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมศึ ก ษาธิ ก าร โรงเรี ย นราษฎร์ มณฑลพายัพ ซึ่งได้บอกความจ� ำนงที่จะ ด�ำรงต่อไป ตามมาตรา ๕ แห่งพระราช บัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. ๒๔๖๑” นั้น กระทรวง ธรรมการก็ได้ลงทะเบียนโรงเรียน ราษฎร์ไว้ตามล�ำดับดังนี้ ๑. โรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ห้วยแก้ว ต� ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากความในประกาศกระทรวง ธรรมการทั้งสองฉบับจะเห็นได้ว่า โรงเรียน มหาดเล็ ก หลวง โรงเรี ย นราชวิ ท ยาลั ย โรงเรียนพรานหลวง และโรงเรียนมหาดเล็ก

หลวงเชียงใหม่นนั้ ต่างมีสถานะเป็นโรงเรียน ราษฎร์ตามความในพระราชบัญญัตโิ รงเรียน ราษฎร์ พ.ศ. ๒๔๖๑ ทั้งสิ้น เมื่ อ ปลายรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ มี พ ระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ยุบเลิกโรงเรียน มหาดเล็กหลวงเชียงใหม่ไปก่อนแล้ว แต่ การยุบเลิ ก มาเสร็ จ สิ้ น ในตอนต้ น รั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และ เมื่ อ มี ก ารจั ด ระเบี ย บราชการในพระราช ส�ำนักในตอนปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๘ ก็ได้มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ยุบเลิก โรงเรี ย นพรานหลวงไปอี ก โรงเรี ย นหนึ่ ง ส่วนโรงเรียนมหาดเล็กหลวงและโรงเรียน ราชวิทยาลัยนั้น โปรดให้ยุบรวมเข้าด้วยกัน และพระราชทานนามใหม่ ว ่ า “โรงเรี ย น วชิราวุธวิทยาลัย” เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๙ การที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั โปรดให้ยบุ รวมโรงเรียนมหาดเล็ก หลวงและโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน พร้อมกับพระราชทานนามให้ใหม่นั้น จึง เป็ น เหตุ ใ ห้ นั ก เรี ย นเก่ า วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ในอดีตหลายท่านมีความเชื่อว่า โรงเรียน มหาดเล็ ก หลวงและโรงเรี ย นวชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย เป็ น คนละโรงเรี ย นกั น แต่ เ มื่ อ พิจารณารายละเอียดในประกาศกระทรวง ธรรมการที่ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๓ หน้า ๑๒๓๘ วันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๔๖๙ ซึ่งมีความตามประกาศนั้นว่า


“ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมศึกษาธิการ โรงเรียนราษฎร์กรุงเทพฯ ที่ด�ำรงอยู่ตามพระราช บัญญัติ ๒ โรงเรียนรวมเปนโรงเรียนเดียวกัน และเปลี่ยนชื่อใหม่ ------------------โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพฯ ซึ่งตั้งอยู่ที่ถนนซางฮี้ใน ต�ำบล โรงเรียนมหาดเล็กหลวง อ�ำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร กับโรงเรียนราช วิทยาลัย ซึ่งตั้งอยู่ที่บางขวาง อ�ำเภอนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี รวมเปน โรงเรียนเดียวกัน และเปลี่ยนชื่อใหม่เรียกว่า “โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย” คงตั้งท�ำการสอนอยู่ที่ถนนซางฮี้ใน ต�ำบลโรงเรียนมหาดเล็กหลวง อ�ำเภอ ดุสิต จังหวัดพระนคร ประกาศมา ณ วันที่ ๑๒ มิถุนายน พระพุทธศักราช ๒๔๖๙

เมื่ อ พิ จ ารณาความในประกาศ กระทรวงธรรมการข้างต้นนั้นประกอบกับ ประกาศวางรูปการและพระราชทานนาม โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ซึ่งทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ ให้ อ อกประกาศเมื่ อ วั น ที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๙ แล้ว จะเห็น ได้ ว ่ า พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ยกโรงเรียนราช วิทยาลัยมารวมกับโรงเรียนมหาดเล็กหลวง และโปรดเกล้ า ฯ ให้ เ ปลี่ ย นชื่ อ โรงเรี ย น

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์ เสนาบดี”

มหาดเล็ ก หลวงเป็ น “โรงเรี ย นวชิ ร าวุ ธ วิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงกล่าวได้ว่าโรงเรียนมหาดเล็กหลวงและ วชิราวุธวิทยาลัยนัน้ แท้จริงแล้วก็คอื โรงเรียน เดียวกัน ดังนั้นการฉลอง ๑๐๐ ปี โรงเรียน มหาดเล็ ก หลวงก็ คื อ การฉลอง ๑๐๐ ปี วชิราวุธวิทยาลัยนั่นเอง วรชาติ มีชูบท โอวี ๔๖ anumanavasarn.com


128 เรือนผู้การ

ยอด อ�ำมาตย์


ยุ ค นี้ ถ ้ า จะไม่ พู ด เรื่ อ งอ� ำ มาตย์ ดู จะเชยมาก ที่ ผ ่ า นมาโรงเรี ย นก็ มี ย อด อ�ำมาตย์ เป็นอ�ำมาตย์จริงๆ ครับ ต�ำแหน่ง มหาอ�ำมาตย์โท พระยาภะรตราชา ผู้การ โรงเรียนของเรานั่นเอง ที่จ�ำได้ก็เพราะว่า ตอนที่เรียนชั้น ม.ศ. ๒ วิชาภาษาไทย วันหนึ่งอาจารย์อารี องคสิงห ถามนักเรียนในชั้น ม.ศ. ๒ ก. ว่า ยศต�ำแหน่งทางพลเรือนของท่านผูบ้ งั คับการ นั้นคืออะไร นั ก เรี ย นทั้ ง ชั้ น ตอบว่ า “พระยา” ซึ่งผิด อาจารย์อารีบอกว่า ไม่ใช่ พระยาเป็น บรรดาศักดิ์ตามราชทินนาม ยศต�ำแหน่งของท่านผู้การคือ มหา อ�ำมาตย์โทครับ เต็มๆ ว่า มหาอ�ำมาตย์โท พระยาภะรตราชา หรือทีเ่ รียกว่าเป็นพระยา พานทอง เรียกว่าพวกเราเป็นศิษย์อ�ำมาตย์ ของแท้ๆ เลยก็ว่าได้ ผูก้ ารของเรา พระยาภะรตราชา เกิด ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของหลวงราช ดรุณรักษ์ (หม่อมราชวงศ์สอาด อิสรเสนา) และนางราชดรุณรักษ์ (เอี่ยม) เริ่มเรียน หนังสือที่บ้านก่อน แล้วจึงเข้ารับการศึกษา เบื้ อ งต้ น ต่ อ ที่ โ รงเรี ย นพระต� ำ หนั ก สวน กุ ห ลาบอั ง กฤษ (ที่ วั ด เทพศิ ริ น ทร์ ) ต่ อ มาย้ายไปเรียนที่วัดมหาธาตุและโรงเรียน ราชวิทยาลัยตามล�ำดับ พ.ศ. ๒๔๔๖ จึงได้ จ่า หลวงอภิบาลบุริมศักดิ์ (ม.ล.ทศทิศ อิศรเสนา) ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ฝายวิชา โรงเรียนมหาดเล็กหลวง

รับทุนกระทรวงธรรมการไปศึกษาวิชาครูที่ ประเทศอังกฤษ ตอนที่ท่านสอบทุนนั้น ท่านเคยเล่า ว่า อยากเป็นวิศวกรมาก จึงพยายามท�ำ ข้อสอบให้ได้ดีที่สุด เพราะถ้าใครได้ที่ ๑ จะ ได้เรียนสาขาวิศวกร ถ้าได้ที่ ๒ ก็จะต้องไป ศึกษาวิชาครู ปรากฏว่าท�ำเลขตอบผิดไปข้อ หนึ่ง ตอนท�ำข้อสอบรู้อยู่แล้วว่าตอบผิด ก็ เลยต้องมาเป็นครู นี่ถ้าเกิดท่านผู้การตอบ โจทย์เลขได้ป่านนี้ท่านผู้การอาจไปอยู่กรม รถไฟ ไม่ก็กรมทางหลวงเป็นนายช่างใหญ่ แล้วประเทศก็อาจเสียยอดครูไปคนหนึง่ ก็ได้ เรียกว่าฟ้าลิขิตมาก็ว่าได้ ถัดจากนั้นมา ท่านผู้การก็ได้เป็น ผู้ดูแลนักเรียนไทยระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ถึง ๒๔๖๙ นักเรียนไทยช่วงนั้นที่มีส�ำคัญ ที่กล่าวถึงท่านผู้การเราก็คือ พระองค์เจ้า จุลจักรพงษ์ฯ เกิดวังปารุสก์ เป็นหนังสือที่นิพนธ์ โดยพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ฯ ได้กล่าวถึง พระยาภะรตราชาว่า ท่านเป็นผูด้ แู ลนักเรียน ไทยที่เอาใจใส่นักเรียนเป็นอย่างดี ค�ำสอน ที่ท่านพูดไว้ก็คือ มีพวกเรานะไม่ดี เพราะ มีพวกเราก็ต้องมีพวกเขา ดังนั้น ขออย่าให้ มีพวกเรา ให้ทั้งหมดเป็นพวกเดียวกันให้ได้ ท่านจึงเน้นเรื่องความสามัคคีพร้อมๆ กับ Integrity ในหมู่พวกเรา ค�ำว่า Integrity นี้ เป็นค�ำที่หาภาษา ไทยให้ตรงยากมาก อันนีผ้ มไม่ได้พดู นะครับ แต่ ฯพณฯ อานันท์ ปันยารชุน ได้พูดว่าเมื่อ ตอนทีม่ าบรรยายทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทย anumanavasarn.com


130

เรือนผู้การ

ค� ำ ๆ นี้ ห าภาษาไทยตรงตั ว ค่ อ นข้ า งยาก เพราะมันเหมือนความเป็นหมู่คณะที่ได้มา จากการเสียสละประโยชน์สว่ นตัวของทุกคน ตัวอย่าง Integrity ของท่านผู้การก็ คือ วันหนึ่ง พี่กี้ พระนาย สุวรรณรัฐ เอา วิทยุยี่ห้อ Schaub Larenz ซึ่งเป็นวิทยุ กระเป๋าหิ้วมาฟัง ตัววิทยุค่อนข้างใหญ่เวลา หิ้วจะอุ้มคล้ายอุ้มลูกรักบี้ซึ่งดูแล้วเก๋มาก เพราะเป็นหัวหน้า วิทยุ Sony สมัยนีน้ นั้ เทียบไม่ได้กบั ยี่ห้อ Schaub Larenz ซึ่งท�ำจากเยอรมันนี ทั้งเรื่องเสียง Bass ลึกสะเทือนไปน้องๆ ล�ำโพง เบสสมัยนี้เสียงทุ้มแหลมก็สุดการ รับฟัง แถมรูปลักษณ์ก็กินขาด ใครหิ้วใน โรงเรียนถือว่าเก๋ามาก พอดีผู้การเห็นเข้า ขนาดพีก่ เี้ ป็นหัวหน้าใหญ่กไ็ ม่ละเว้นครับ คือ ริบเลย แถมให้ผปู้ กครองไปรับคืน ผูป้ กครอง ก็ไม่ใช่ใครครับ คือนายพ่วง สุวรรณรัฐ ปลัด กระทรวงมหาดไทยสมัยนัน้ เรียกว่าท่านไม่ สนว่าผู้ปกครองเป็นใคร เรื่องไม่สนว่าผู้ปกครองเด็กเป็นใคร นั้น เป็นเรื่องที่เลื่องลือมาก มีอยู่วันหนึ่ง ท่านไล่เด็กนักเรียนคนหนึ่งออกไป แล้ว คุณพ่อของเด็กท่านนั้นเป็นถึงนายพล ก็รีบ มาพบท่านถึงที่ออฟฟิศแล้วเอาปืนออกมาขู่ เลย ท่านผู้การก็เฉยๆ ไม่กลัวอะไรทั้งนั้น สุดท้ายเด็กคนนั้นก็ไม่กลับเข้ามาเรียนใหม่ อย่าว่าแต่ผู้ปกครองเลย ขนาดกระทรวง ศึกษาธิการบอกให้ซ้ายหัน ท่านว่าไม่ถูก ต้องขวาหัน แล้ววันนี้ทุกคนมาร้องปฏิรูป

การศึกษา ถ้าเชือ่ ผูก้ ารเรา ป่านนีก้ ารศึกษา ของเราไม่ช้าขนาดนี้ ค�ำสอนที่ท่านพูดเสมอก็คือ “งาน หลวงอย่าให้ขาด งานราษฎร์อย่าให้เสีย” คือ ถึงเวลาเรียนก็เรียน ถึงเวลาเล่นก็เล่น ช่วง ที่มีแข่งรักบี้ ท่านก็จะผ่อนผันให้ โดยไม่มา ดูนักเรียนเข้าเรียนตอนเช้า พอแข่งรักบี้ เสร็จ ท่านก็จะประกาศว่าต่อไปนี้ต้องเรียน แล้ว จ�ำเป็นต้องตรงเวลา จากนั้นก็จะมาดู ว่านักเรียนคนไหน ถ้าระฆังตีแล้วยังเดินอยู่ ก็โดนตบมากน้อยตามโทษานุโทษ สิ่งที่ท่านไม่ชอบคือ นอนหลับเวลา เรียน จะหลับท่าข้ามรั้ว ท่าค�ำ้ ยัน หรือท่า ไหนๆ ถ้าบังเอิญมาเจอก็เป็นเรื่อง แต่สิ่งที่ ท่านไม่ชอบที่สุดคือเรื่องรวนครู ถ้าพบว่า มีเด็กที่ไหนรวนครูแล้วเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก โดยเฉพาะครูใหม่ๆ เด็กๆ นี่มันชอบรวน มาก ครูที่เก่าๆ หน่อย จะเป็นที่เกรงใจของ นักเรียนไม่กล้ารวน แต่เรื่องเรียนไม่เรียน นี่อีกเรื่อง เรื่ อ งเดิ น ตรวจตราห้ อ งเรี ย นที่ เสียงดังนั้น เป็นเรื่องที่ท่านท�ำเป็นประจ�ำ สมัยนั้นประตูจะเปิดโล่งหมด พอผู้การโผล่ ให้เห็นประตูที่ ๑ ปับ๊ ! นักเรียนทุกคนจะจัด ระเบียบตัวเองทันที ทีน่ อนอยูก่ จ็ ะถูกกระซิบ ว่า แป๊ะมา เท่านัน้ ครับสะดุง้ ตืน่ ทันที พอมา ถึงประตูที่ ๒ ซึ่งห่างแค่ ๒ เมตร เท่านั้น ห้องเรียนทั้งห้องที่ขาดระเบียบจะหายวับไป กับตาทันที กลายเป็นห้องที่เรียบร้อยทันที นับว่าเป็นเรื่องมหัศจรรย์มาก จนครูทุกคน


อยากให้ผกู้ ารเดินตรวจทุกวันเพราะนักเรียน จะตั้งใจเรียนมาก ย้ อ นกลั บ มาด้ า นประวั ติ ข องท่ า น ก่อนจบการศึกษาเพียงภาคเดียว กระทรวง ธรรมการก็เรียกตัวกลับมารับราชการเป็น อาจารย์โรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบ และโรงเรียนราชวิทยาลัย เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๓ สอนได้เพียงปีเดียว ก็ย้ายไปสอนที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงที่ ตั้งขึ้นใหม่ ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปที่สวนกระจัง (ปัจจุบนั คือวชิราวุธวิทยาลัย) ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิชาการ พ.ศ. ๒๔๕๕ รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงอภิบาลบุริมศักดิ์ พ.ศ. ๒๔๕๔ ย้ายกลับไปรับราชการ กระทรวงธรรมการ และเปลี่ยนราชทินนาม เป็นหลวงประพันธ์เนติประวัติ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น หั ว หน้ า กอง สอบไล่วิชา พ.ศ. ๒๔๕๙ เป็นพระปรีชา นุสรณ์ และเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓ จึงเลื่อนเป็น พระยาภะรตราชา และเป็นคนไทยคนแรก ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นผูด้ แู ลนักเรียนไทย ในอังกฤษท�ำหน้าที่ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๖๔ พ.ศ. ๒๔๖๙ รวมเวลา ๕ ปี และเป็น ๑ ใน ๕๘ ของนักเรียนเก่าโรงเรียนเทพศิรินทร์ ที่ ร่วมก่อตัง้ สมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรนิ ทร์ใน พระบรมราชูปถัมภ์ขึ้นในต่างประเทศ หลังจากกลับจากอังกฤษได้มาเป็น เลขานุ ก ารเสนาบดี ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร แล้วจึงย้ายไปเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมือ่ พ.ศ. ๒๔๗๐ ต่อมาอีก ๒ ปี คือเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ จึงได้ รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย คนที่ ๒ ต่อจากพระยาอนุกิจ วิทูร และในช่วงเดียวกันได้ทำ� หน้าที่ผู้รักษา การคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ไปพร้ อ มกั น จนออกจาก ราชการเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ จากการดูที่ประวัติการรับราชการ ของท่านผู้การจะเห็นว่าท่านเริ่มรัชกาลใน สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้าอยู่หัว คือ ๒๔๕๓ ยิ่งท่านมาเป็นผู้การ โรงเรียนมหาดเล็กหลวงซึ่งตั้งมาภายหลัง โรงเรียนราชวิทยาลัยแล้ว ท่านยิง่ รักในหลวง รัชกาลที่ ๖ มาก ที่บ้านจะมีรูปในหลวง รัชกาลที่ ๖ ขนาดใหญ่ตั้งไว้ เมื่ อ เด็ ก คนไหนท� ำ ไม่ ดี ท่ า นก็ จ ะ เรียกมา หลายรายร้องไห้กลับไปทัง้ ๆ ทีไ่ ม่ได้ ถูกตีแม้แต่ครัง้ เดียว แต่ทรี่ อ้ งไห้เพราะเสียใจ ที่ตนเองได้กระท�ำสิ่งไม่ดีลงไป เพราะเวลา ท่านเรียกมาอบรมที่เรือนผู้การนี้ จะไม่มี การตีแต่จะสอนด้วยถ้อยค�ำและเหตุผลจน กินใจและให้นึกถึงสิ่งที่ในหลวง ร.๖ ให้พวก เราทุกคน ท่านพูดไปพลางก็ชี้ไปที่พระบรม ฉายาลักษณ์ รัชกาลที่ ๖ ไปพลาง นักเรียน คนใดก็ตามที่ได้รับฟังอบรมจากท่านแล้ว ก็ น�ำ้ ตาตกมามิใช่น้อย เรือนผูก้ ารนัน้ มีเรือ่ งเล่ากันว่าน่าจะ ยังใช้ไฟ ๑๑๐ โวลท์ หรืออย่างไรไม่ทราบ แน่ แต่ไฟค่อนข้างสลัว โดยเฉพาะบริเวณ anumanavasarn.com


132

เรือนผู้การ

กรงลิง (เอาไว้ขังเด็กเป็นการท�ำโทษ) ที่ เลื่องลือ ท่านค่อนข้างประหยัดทุกเรื่องและ เป็นคนที่สะอาดมาก วันหนึง่ เจ้าบัง (ปานเทพ อาธารมาศ) ได้มีโอกาสขึ้นรถผู้การ ท่านก�ำชับไว้เลย ว่าห้ามมีขี้ผงเด็ดขาด ผ้ายางในรถท่านนั้น หาฝุ่นไม่ได้แม้แต่น้อย พอกลับจากงาน เจ้าบังมันบอกว่าเกิดมาไม่เคยเห็นรถอะไร จะสะอาดมากขนาดนี้ เรียกว่าขี้ผงสักนิด ก็ไม่มี รถของท่านมี ๒ คัน คือ Vauxhaul กับรถเบนซ์ คนรถของท่านจะล้างรถจนเรียก ว่าสีปา้ ยทะเบียนลอกไปเยอะเพราะล้างบ่อย มาก ถ้าเป็นรถญีป่ นุ่ คงเหล็กหายไปหมดแล้ว เพราะล้างบ่อยด้วยน�้ำเป็นกระป๋องๆ เลย จอดเมื่อไรล้างเมื่อนั้น ทุกวันอาทิตย์ ผู้การจะเข้ามาตรวจ คณะและดูเรือ่ งท�ำความสะอาด วันอาทิตย์นี่ เป็นเวรท�ำความสะอาด ถ้าปรกติก็ไม่เท่าไร แต่ถา้ วันไหนมีซอ้ มรักบีเ้ ช้าแล้ว วันนัน้ จะสุด โหดจริง เพราะเหนือ่ ยทัง้ รักบีแ้ ล้วจะต้องมา ท�ำความสะอาด วันไหนคณะไม่สะอาดก็จะ โดนท�ำใหม่ มีอยู่ครั้งหนึ่ง ท่านก�ำลังจะเปิด ฝักบัวเพราะไม่รู้ว่าฝักบัวเสีย ดีที่ห้ามทัน มิฉะนั้น คงจะเปียกทั้งครูและนักเรียนแถม นักเรียนคนนั้นจะถูกตบเพราะไม่เตือนท่าน อีกด้วย เรื่องถูกตบนี่ถือเป็นเรื่องที่กลัวมาก มีอยู่วนั หนึง่ ครูจิตประกาศไม่เรียนตอนเช้า เจ้าจิระ-เศรษฐ์ก็ชวนเพื่อนคนหนึ่ง บอก

“เฮ้ย! ไปไหว้พระรูป ร.๖ กันดีกว่า” ก็ เดินไปด้วยกัน ขากลับพอเดินมาถึงคณะ รถผู้การจอดเทียบไปเลย ถามว่าท�ำไมไม่ เข้าเรียน ไม่ถามเปล่าครับ จะพยายามยืน่ มือ มาตบด้วย ดีที่หลังคารถมันเตี้ย ผู้การจะ ตบก็ไม่ถนัด จะออกมาก็ไม่อยากออกมา นอกรถ เรียกว่าหลังคาห้ามผูก้ ารไว้ เลยรอด ถูกตบเพราะอธิบายท่านทันพอดีวา่ ครูจติ สัง่ ไม่เรียน ขอบคุณหลังคารถเบนซ์มาก ถ้ามัน สูงกว่านี้สักนิด รับรองได้ชิมรสมือพระยา พานทองแน่ มีเรื่องที่ท่านเล่าอีกเรื่อง คือ ผู้ดี สามารถทานข้าวกับน�้ำปลาได้ แปลว่า... ”รู้จักอดทนครับ” สมัยที่เกิดสงครามโลก ครั้งที่ ๒ นักเรียนวชิราวุธฯ ยังอยู่กันที่ โรงเรียน คณะดุสิตเป็นที่อยู่ของทหารญี่ปุ่น ท่านเล่าว่า อาหารการกินอัตคัด บางทีหา ของออกมาท�ำอาหารไม่ได้ก็ต้องให้นักเรียน ทานข้าวกับน�้ำปลากันอยู่หลายวัน ซึ่งแปล ว่าผู้ดีย่อมต้องรู้จักอดทน เมื่อมันไม่มีอะไร จะกินก็ให้ติดดินทานข้าวกับน�ำ้ ปลา จนเมื่อ สามารถหาของมาท�ำกับข้าวได้แล้ว ก็เลิก กินข้าวกับน�้ำปลาไป และเรือ่ งสุดท้ายทีท่ า่ น สอนดีมากคือ เรื่องลูกศิษย์คิดล้างครู เรื่องมีอยู่ว่า มีคนหนึ่งเป็นครูสอน เลีย้ งม้า สามารถหัดให้มา้ ท�ำตามค�ำสัง่ ได้ทกุ อย่าง ก็มลี กู ศิษย์คนหนึง่ เก่งมากเรียนตามที่ ครูสอนได้ทุกอย่าง พอศิษย์คนนี้เก่งมากๆ เข้าก็เลยเหลิงคิดเทียบอาจารย์ ทางอาจารย์ ก็ เ ลยประกาศแข่ ง ด้ ว ยเพื่ อ สอนลู ก ศิ ษ ย์


วันที่ประลองก็แข่งกัน ให้ม้าท�ำอะไรต่ออะไร ที่ สั่ ง ได้ ทุ ก อย่ า ง พอ มาถึงอาจารย์ก็เลยสั่ง แบบพิ เ ศษ คื อ ให้ ม ้ า ท�ำตรงกันข้ามกับที่สั่ง คือบอกให้ม้าเดินหน้า ม้าจะถอยหลังเป็นต้น พออาจารย์ท�ำให้ดูแล้ว ลูกศิษย์จะท�ำบ้างท�ำไม่ ได้ คือไม่เก่งพอ ท่านสอนให้ ทุกคนรู้จักดึงตนเองให้ ลงมาให้ได้ ยิ่งภูมิใจว่า เก่งมากเพียงใด ต้อง ไม่เทียบครู ต้องรู้จัก ดึ ง ตนเองให้ ล งมาให้ ได้ แต่เหนือสิ่งอื่นใด สิ่งที่ท่านอ�ำมาตย์ต่อสู้ มาตลอดได้ แ ก่ เ รื่ อ งการปราบปรามการ ข่มหมูแห่งประเทศไทย ท่านจะตบนักเรียนทันที ถ้ามีการ ข่มหมูเด็ก เช่น เรียกเด็กมานวดนี้ หรือมา ท�ำอะไรที่เกินกว่าเหตุ ใช้ให้หยิบหม้อข้าว ให้รุ่นพี่ท่านไม่ว่า เพราะเคยเจอมาต่อหน้า ท่านถามว่าหยิบหม้อข้าวไปส่งให้ใคร ก็ตอบ ว่ารุ่นพี่ใช้ท่านก็ไม่ว่า แต่ถ้ามานวดหรือ ให้ เด็กท�ำงานเกินเลยหรือ กินแรงเด็กเกินไป

ท่านไม่เคยยอม ไม่ว่าจะเป็นใคร เรียกว่า ไม่มีใครที่รังแกเด็กเกิดขึ้นในสมัยท่าน พวกเราจึ ง ทั้ ง รั ก และเคารพท่ า น ในงานครบรอบ ๘๐ ปีโรงเรียน เมื่อรูป ท่านขึ้นมาหน้าจอ ทุกคนตบมือให้ท่านโดย พร้อมเพรียงกัน

“คิดถึงท่านอ�ำมาตย์เสมอครับ” นพดล สุรทิณฑ์ โอวี ๔๖

ปล. เนื้อหาบางส่วนจาก วิกีพีเดีย และเรื่องที่ได้ยินมาและพบมา anumanavasarn.com


ศั พ ท์ โ อวี 134 เรื่องราวในโรงเรียนฉบับไม่เป็นทางการ

ลิงเกาะรั้ว (คำ�นาม)

ลิง...เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่ง มีพฤติกรรมชอบ ห้อย โหน รวมถึงที่สำ� คัญ “เกาะ” อะไรก็ได้ที่มันสามารถจะ “เกาะ” ได้ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในป่า มีในเมืองบ้างเป็นบางเมือง บัดทว่า คนเมืองอย่างเราๆ ง่ายสุด ถ้าอยากจะไปดูลิงก็ไปได้ที่สวนสัตว์ ณ มุมกรงรั้วลิง รั้ว... คืออุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เกิดจากการน�ำเสา (จะเสาไม้ เสาเหล็ก... ฯลฯ ก็ได้) มาเรียงปักตัง้ ฉากกับพืน้ ดิน เว้นช่องว่างระยะห่างเท่าๆ กัน ล้อมรอบพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ จะเป็นอาณาเขตวงกลม สี่เหลี่ยม หรือรูปร่างอื่นใดก็สุดแท้แต่ผู้ต้องการสร้างจะศรัทธา ด้วยเหตุนี้ จึงมิแปลกใจเลยที่เราจะได้ยลภาพ “ลิงเกาะรั้ว” อย่างมากมาย ยาม เมื่อไปเที่ยวชมสวนสัตว์ก็ทั้งลักษณะทางกายภาพของรั้วที่สามารถเกาะได้ บวกเคล้าด้วย พฤติกรรมชอบเกาะของลิงเป็นทุนเดิมด้วยแล้ว ปรากฏการณ์ “ลิงเกาะรั้ว” ในสวนสัตว์ จึงเกิดขึ้นอย่างเกลื่อนกลาด แต่กระนี้ ปรากฏการณ์เช่นกล่าว หาได้เกิดขึ้นแค่ที่สวนสัตว์เท่านั้น หากทว่า ยังมาอุบัติขึ้นที่วชิราวุธวิทยาลัย (ฝั่งเด็กเล็ก) ด้วยเฉกเดียวกัน พวกเราชาววชิราวุธฯ ทั้งหลายเป็นที่ทราบกันดีว่า ในยุคสมัยที่พระยาภะรตราชา เป็นผูบ้ งั คับการโรงเรียน ณ เวลานัน้ ในช่วงเปิดภาคเรียน นักเรียนวชิราวุธฯ จะได้กลับบ้าน เพียงเดือนละหนึ่งครั้งเท่านั้น! นับว่าเป็นระยะเวลาอันยาวนานทรมานใจใช้ได้ทีเดียว ในความรู้สึกคิดถึงแม่อาลัยบ้าน ส�ำหรับนักเรียนคณะเด็กใน หัวใจก็คงจะไม่ กระเทือนนัก ก็ด้วยเป็นเด็กมัธยม วัยรุ่นวัยคะนองไปกับผองเพื่อนอยู่แล้ว ทว่าแต่ส�ำหรับ นักเรียนคณะเด็กเล็ก เด็กประถม วัยที่ก�ำลังติดแม่ มิพร้อมห่างจากไออุ่นผู้ปกครองนั้น แล้วล้วนแต่สะเทือนใจใคร่ร้องไห้สุดยิ่งนัก ในอันที่จะต้องแยกจากหัวอกพ่อแม่ ห่างเหิน กันแรมร่วมเดือน


แต่กระนัน้ หาใช่มแี ต่นกั เรียนคณะเด็กเล็ก ผูจ้ �ำต้องสัมผัสความรูส้ กึ ตรึกสะเทือน เช่นว่านี้ไม่ หากยังคงมีคนอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเผลอๆ บางคนบางครั้งอาจจะต้องเผชิญความ รู้สึกดังกล่าวนี้หนักหน่วงกว่าเหล่านักเรียนคณะเด็กเล็กเองเสียอีกกลุ่มที่ว่านี้ คือ “บรรดา พ่อแม่ผู้ปกครอง” ของเด็กๆ เหล่านี้ ดังนัน้ ณ ฝัง่ เด็กเล็ก ในเช้าวันจันทร์ ช่วง ๖-๘ โมงเช้า หลังจากทีพ่ อ่ แม่ผปู้ กครอง นักเรียนคณะเด็กเล็กมาส่งลูกหลานเข้าคณะแล้ว ด้วยความรูส้ กึ อาลัยอาวรณ์ดงั ว่า ครัน้ เดิน ออกนอกประตูฝั่งเด็กเล็กจึงแทบไม่มีใครคิดรีบขึ้นรถกลับไปทันทีเลย แต่ขอเลือกที่จะใช้ เวลาที่เหลืออยู่ตรงนี้ ยืนมองดูลูกๆ หลานๆ ของตัว ให้ชื่นใจที่สุดจนถึงนาทีสุดท้าย ก่อน ที่เสียงระฆังเข้าเรียนเวลา ๘ โมงครึ่งจะตีจนสิ้นเสร็จ แล้วค่อยกลับไปจริงๆ ใช้ช่วงเวลา ที่เหลือดังกล่าว ลอดสายตาผ่านแนวรั้วฝั่งเด็กเล็กเข้าไป อีกทั้งรั้วโรงเรียนฝั่งเด็กเล็กก็ ยังเป็นใจ จากกายภาพที่เป็นแท่งเสาเหล็กเล็กๆ เรียงห่างๆ จนสามารถมองทะลุเห็นทุก สิ่งอย่างภายในได้อย่างโปร่งแจ้ง ภาพของทั้งเด็กและผู้ปกครองยืน “เกาะรั้ว” คอยเฝ้าแล ลูกหลานตนให้ชื่นจิตจนมิดใจ คลาคล�ำ่ แน่นไปจนสุดแนวรั้ว anumanavasarn.com


136

ศัพท์ โอวี

ด้ ว ยประการฉะนี้ จึ ง เป็ น ภาพที่ เ ห็ น ได้ อย่างดาษดื่นของเหล่าผู้ปกครองยืนเกาะรั้ว เฝ้าดู ตัวลูกหลานตนจนชื่นอิ่ม อีกทั้งบ่อยมากที่บรรดา เด็กนักเรียนคณะเด็กเล็กเอง ก็ตามมายืนเกาะรั้ว ร้องไห้อ้อนออดกับพ่อแม่ของตัว จากอีกฟากหนึ่ง ของรัว้ นีอ้ กี ด้วย จนถึงขนาดทีพ่ ระยาภะรตราชา ท่าน ผู้บังคับการโรงเรียนสมัยนั้น ต้องเข้ามาไล่เรียงเดิน อัญเชิญให้บรรดาเหล่าผูป้ กครองตัง้ แต่ตน้ จนสุดแนว รั้วกลับ เพื่อจะได้ให้นักเรียนคณะเด็กเล็กที่ยังงอแง ได้ยอมกลับไปตั้งแถว เดินไปเข้าห้องเรียนตามเวลาในทุกๆ วันเข้าโรงเรียน บ่อยครั้งเข้านัก พระยาภะรตฯ ก็คงจะแอบเกิดอาการร� ำคาญหมั่นเขี้ยวบ้าง (แต่กระนั้น ก็ยังแฝงไว้ด้วยความเห็นใจอยู่บ้าง... รึเปล่า) จนท่านถึงขนาดมาพูดบน หอประชุมหลังสวดมนต์ตอนเช้าเสร็จ ประมาณว่า “...จะเข้าโรงเรียนแล้ว จะอาลัยอาวรณ์ กันยังไง ก็ขอให้เอาแต่พองาม ฉันจะได้ไม่ต้องมาตามไล่เดินเชิญให้กลับไปทุกครั้งเสียที เฮ้อ... พวก ลิงเกาะรั้ว นี่...” และแล้ว ศัพท์โอวี “ลิงเกาะรั้ว” ก็เลยได้ถือก�ำเนิดขึ้น โดยบัญญัติของพระยา ภะรตราชา ท่านผู้การแป๊ะของนักเรียนวชิราวุธฯ ยุคนั้นนั่นเอง คุณพ่อ พลเรือตรี เทพรังสรรค์ ศิลปบรรเลง โอวี ๔๓ เล่าเห็นภาพ คุณลูก ศรเทพฤทธิ์ ศิลปบรรเลง โอวี ๗๖ ฉาบข้อเขียน

ปล. ในสมัยก่อน (เริ่มเมื่อใดมิทราบ พ.ศ. ที่แน่ชัด) นักเรียนวชิราวุธฯ จะได้กลับบ้าน ในบ่ายวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา ๑๓.๐๐ น. เป็นต้นไป แล้วกลับเข้าโรงเรียน ในเช้าวันจันทร์ ก่อนเวลา ๐๘.๓๐ น. จนล่วงมาถึง ประมาณกลางปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ในยุคที่ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช... ผูก้ ารปิง๋ อันเป็นทีร่ กั ของเด็กๆ เป็นผูบ้ งั คับการโรงเรียน จึงได้เปลีย่ นมาให้นกั เรียนกลับบ้าน ในบ่ายวันศุกร์ หลัง ๑๓.๓๐ น. และวันเข้าโรงเรียน เป็นวันอาทิตย์ ก่อน ๑๘.๓๐ น.


สนามหลัง ข่าวสารสมาคม

137

วันพฤหัสบดีที่ ๘ กรกฏาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคาร อัศวพาหุ สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย เป็นเจ้าภาพจัดงานเลี้ยงต้อนรับคณะครู และนักเรียนมาเลคอลเลจ

anumanavasarn.com


138

สนามหลัง

วันอาทิตย์ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๒.๐๐ น. ณ สนามกอล์ฟบางปะกงริเวอร์ไซด์ การแข่งขันกอล์ฟ OV- MCOBA ครั้งที่ ๑๘ ประจ�ำปี ๒๐๑๐ โดยมีนักเรียนเก่าฯ เข้าร่วม แข่งขันประมาณ ๘๔ คน ผลปรากฏว่าเสมอกัน


วันศุกร์ที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารอัศวพาหุ สมาคมนั ก เรี ย นเก่ า วชิราวุธวิทยาลัยฯ ได้จัดงานเลี้ ย งรั บ รองคณะกรรมการสมาคม ราชวิทยาลัยและสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ

anumanavasarn.com


140

สนามหลัง

วันพฤหัสบดีที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ หอประชุม วชิราวุธวิทยาลัย วชิราวุธวิทยาลัย จัดงานแถลงข่าว การจัดงานเฉลิมฉลองวชิราวุธ ๑๐๐ ปี โดยมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ดร.สาโรจน์ ลีสวรรค์ ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นายกสมาคมฯ


anumanavasarn.com


142

สนามหลัง

วันเสาร์ที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ หอประชุมวชิราวุธวิทยาลัย วชิราวุธวิทยาลัยได้ จัดงานวชิราวุธ ๑๐๐ ปี ในการเสวนา “๑๐๐ ปี พระเสด็จผ่านพิภพ พระคุณยังขจรจบ มิรู้หาย” เรื่อง เจ้าแผ่นดินผู้ทรงพระกรุณา ในเสวนาครั้งนี้ จะประกอบด้วยวิทยากร เช่น อาจารย์ธงทอง จันทรางศุ นายเชื้อพร รังควร และคุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ อายุ ๑๐๐ ปี บริบรู ณ์ เป็นคุณพนักงานของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ และเป็นคนสุดท้ายทีเ่ คยถวายรายงาน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ


anumanavasarn.com



คอลัมน์พิเศษ

145

อาลัยลุงองอาจ นาครทรรพ (โอวีรุ่นลายคราม)

ย้อนเวลาไปเมือ่ ๗๐ ปีมาแล้ว เด็กชายคนหนึง่ นัง่ เศร้าและเหงาหงอยอยูก่ ลางช่องลม คณะประคองวิชาสมาน (คณะดุสิต) กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงที่เขาไม่เคยอยู่ สถานศึกษา อันกว้างใหญ่แห่งนี้เป็นที่ๆ เขาไม่เคยแม้แต่จะฝันถึง จากสถานที่ๆ ไม่เคยรู้จักกลายเป็น โรงเรียนที่รักและคุ้นเคย เขามักบอกกับใครๆ เสมอว่าเส้นทางชีวิตของเขาเริ่มต้นที่นี่ เส้นทางที่น�ำเขาไปสู่การเรียนระดับอุดมศึกษาในรั้วเหลืองแดง เส้นทางของการท�ำงาน อันยาวนานในสถาบันการเงิน เส้นทางของนักรักบี้ทีมชาติและ “ครู” ผู้ใฝ่ฝันที่จะสร้าง “ศิษย์” ให้เป็นสุภาพบุรุษนักกีฬา เส้นทางของชีวิตครอบครัวอันอบอุ่น ฯลฯ ไม่ว่าจะเป็น เส้นทางใด เด็กชายไม่เคยลืมทีๆ่ เคยเป็นจุดเริม่ ต้น เขาส่งลูกและหลานชายทีม่ ที งั้ หมดกลับ ไปตั้งต้นที่จุดเดิม ที่ซึ่งครั้งหนึ่งเคยบอกว่า ชีวิตของเขาเริ่มต้นที่นี่... ที่วชิราวุธวิทยาลัย ขอไว้อาลัยต่อคุณลุงองอาจ นาครทรรพ นักเรียนเก่าฯ รุ่น ๑๒ เลขประจ�ำตัว ๗๐๖ ที่จากไปเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๓ มา ณ ที่นี้ anumanavasarn.com


146

คอลัมน์พิเศษ

ผมพบลุงอาจครัง้ แรกทีจ่ งั หวัดระยอง ตอนไปแข่งกอล์ฟ สมสนิทคัพทีส่ นามกอล์ฟ วังจันทร์ (ถ้าจ�ำไม่ผิดปีนั้นพี่หน่องได้แชมป์ สมสนิทคัพ ส่วนผมได้รองแชมป์) ครั้งแรก ที่พบยังนึกในใจว่าลุงคนนี้หน้าเหมือนพ่อ ของโอม (นครา นาครทรรพ) ตอนนั้นผม รู้แต่ว่าเป็นพ่อตาพี่หม่อม (ตอนนั้นเรียกพี่ หม่อม ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์) แต่หลัง จากทีไ่ ด้รบั การแนะน�ำอย่างเป็นทางการจาก พีห่ ยา (สัตยา เทพบันเทิง) พีเ่ กิน้ (ประกิตติ บุณยเกียรติ รุ่น ๔๗) ผมจึงถึงบางอ้อว่า ท�ำไมคุณลุงคนนีห้ น้าเหมือนลุงเหรกอย่างไร อย่างนั้น

ลุงโพล้ง (น.พ.พีรศักดิ์ ไชยนันท์) ลุงเตียบ (เตียบ สุจริตกุล) และลุงองอาจ นาครทรรพ (ยืน)

บทสนทนาแรกๆ ที่ผมคุยกับลุงอาจ คื อ “คุ ณ ลุ ง เป็ น อะไรกั บ ลุ ง เหรกครั บ ” (อารมณ์คล้ายกับที่มักมีคนถามผมว่า ผม เป็นอะไรกับพีห่ มอยุทธ โพธารามิก) ลุงอาจ ตอบว่า “ผมเป็นพีช่ ายเค้า” ด้วยกมลสันดาน เดิมของผมที่เจอใครก็มักจะพยายามเช็ค รุ่น เพื่อเป็นการลดช่องว่างในการสนทนา แต่ดูเหมือนผมจะสามารถนับรุ่นต่อไปได้ แค่ ลุงอาจเป็นพี่ชายลุงเหรกเท่านั้น เพราะ ความสามารถในการนั บ รุ ่ น ของผมนั้ น คง ไม่ ส ามารถย้ อ นอาวุ โ สไปได้ ไ กลกว่ า รุ ่ น


ใกล้เคียงกับพ่อของตัวเอง หลั ง จากที่ ไ ด้ อ ่ า นหนั ง สื อ อนุ ส รณ์ ลุงอาจ นาครทรรพ ผมจึงพอจะนึกได้ว่า ผมเคยพบลุ ง อาจมาหลายครั้งแล้ว หาก จะถามว่าพบที่ไหนหรือครับ ก็ต้องเป็นที่ที่ สมาคมฯ สิครับ แล้วลุงอาจไปท�ำอะไรที่ สมาคมนักเรียนเก่าฯ... สมั ย ก่ อ นทุ ก วั น พุ ธ เวลาตั้ ง แต่ ประมาณ ๑๑ โมงเช้ า ถึ ง ประมาณบ่ า ย สองโมง จะมีการนัดพบของเพือ่ นเก่าชาวโอวี รุน่ ลายครามเพือ่ กินข้าวสังสรรค์กนั ส่วนผม ในตอนนั้นก็เพิ่งจบจากวชิราวุธฯ ใหม่ๆ ก็ อยากจะไปสมาคมฯ เพือ่ จะได้ลมิ้ รสอารมณ์ และความรู้สึกเป็นโอวีเต็มตัวสักที ผู ้ ใ หญ่ ที่ ม ารั บ ประทานอาหาร กลางวันกันเป็นประจ�ำนี้ พวกเราจะรู้จักกัน ในชื่อ “โต๊ะผู้ใหญ่” ซึ่งจะประกอบด้วยโอวี รุ่นลายคราม ที่ผมพอจะจ�ำได้ตอนนั้นก็มี ดร.ประกอบ หุตะสิงห์ ปูเ่ จือรวี ชมเสวี (ปูข่ อง ตะวันวาด ชมเสวี รุน่ ๖๒) ลุงสหัส พุกกะมาน และอีกหลายคน ผู้ใหญ่เหล่านี้จะผลัดกัน มาร่ ว มวงกั น ทุ ก วั น พุ ธ นั บ ได้ ป ระมาณ สิ บ กว่ า คน รวมทั้ ง ครอบครั ว ของแต่ ล ะ ท่านด้วย “สิงสมาคมฯ” ทั้งหลายที่มักจะมา ฝังตัว เล่นสนุกเกอร์ หรือท�ำกิจกรรมอย่าง อื่น ซึ่งโดยปกติแล้วจะส่งเสียงดังท�ำตัวเป็น เจ้ า ถิ่ น อยู ่ ทุ ก วั น ก็ ยั ง ต้ อ งเงี ย บสงบปาก สงบค�ำในช่วงเวลาที่ผู้ใหญ่เหล่านั้นก� ำลัง สังสรรค์กัน ผมเองตอนนั้นก็ไม่รู้ว่าผู้ใหญ่

เหล่านี้เป็นใครในตอนแรก เพียงรู้แต่ว่า ป้าปุ้น (เจ้าของร้านอาหารในสมาคมฯ ใน ตอนนั้น) จะต้องจัดโต๊ะยาวเตรียมไว้ให้ ทุกวันพุธ ใหญ่แค่ไหนไม่ทราบทราบแต่ว่า เมื่อนายกสมาคมฯ เดินมาพบหรือผ่านมา ยังต้องก้มหลัง ยกมือไหว้ ย่อตัวคุกเข่านั่ง คุยด้วย อากัปกิริยาของนายกสมาคมฯ ที่มี ต่อผู้ใหญ่กลุ่มนี้ไม่ต้องบอกก็ทำ� ให้รู้ทันทีว่า ผู้ใหญ่เหล่านี้เป็นโอวีแน่นอน ในตอนนั้น พวกรุน่ พีๆ่ ทุกคนจะยกมือไหว้ และคอยลุก ขึน้ ไปเปิดประตู เลือ่ นเก้าอีใ้ ห้กบั รุน่ พีอ่ าวุโส เหล่านั้นทุกครั้ง เมื่อพี่ๆ อาวุโสเยื้องกราย เข้ามาในร้านอาหาร นัน่ เป็นภาพของช่วงสายๆ ของวันพุธ ที่สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธฯ เมื่อหลาย สิบปีก่อนที่พวกผมจะได้พานพบและจ�ำได้ แม่น ผมมักจะแอบชื่นชมความเป็นโอวีของ พี่เหล่านั้นที่ยังคงผูกพันกับสถาบันที่เป็น ทีร่ กั ของตัวเอง นัน่ คือโรงเรียนและเพือ่ น ผม มักจะเปรยกับเพื่อนผมเสมอว่า ถ้าเราอายุ ขนาดนีแ้ ล้ว จะกลับมานัง่ เจอกันอย่างนีไ้ หม ....ผมอยากไปครับ แล้วจะมีที่ให้นั่ง เสพอารมณ์โอวีเช่นนี้หรือเปล่า ไม่มีงานเลี้ยงใด ไม่มีวันเลิกรา กาลเวลาผ่ า นไป จ� ำ นวนผู ้ ร ่ ว ม สั น ทนาการทุ ก วั น พุ ธ เริ่ ม ลดน้ อ ยลง จน กระทั่ง “โต๊ะผู้ใหญ่” หายไปตามกาลเวลา เรือ่ งข้างบนนีเ้ ป็นสิง่ ทีผ่ ดุ ขึน้ มาในหัว ผมทันทีเมื่อได้อ่านหนังสืออนุสรณ์คุณลุง องอาจ นาครทรรพ และเห็นภาพของลุงอาจ anumanavasarn.com


148

คอลัมน์พิเศษ

กับเพื่อนที่สมาคมฯ จึงนึกถึงความทรงจ�ำนี้ ขึ้นมาทันที และคิดต่อไปว่าลุงอาจจะต้อง อยู่ใน “โต๊ะผู้ใหญ่” นั้นแน่ๆ และผมก็อ่าน หนังสือนั้นต่อไป จนผมมั่นใจว่าผมได้รู้จัก ลุงอาจมากขึ้นกว่าเดิมอีกเยอะ จากหนังสือ อนุสรณ์ที่ลูกสาวคุณลุง (อโนมา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา ภรรยา ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์ และแม่ของวรุฒมาศ ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา) ตั้งใจท�ำให้ และยังมีอีกเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในใจ เมื่อผมได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว นอกจาก จะได้เห็นความตั้งใจที่พี่น้องท�ำหนังสือเล่ม นีข้ นึ้ มาเพือ่ เป็นอนุสรณ์ถงึ ลุงอาจ เมือ่ ยามที่ ลุงอาจจากไปแล้ว ผมก็นึกถึงอีกความตั้งใจ หนึ่งของพี่น้องที่อยากจะท�ำให้คุณพ่อตั้งแต่ ท่านมีชีวิตอยู่

กับรุ่นน้องที่มาสัมภาษณ์เพื่อเขียนใน หนังสือ ๙๐ ปี นั่ น คื อ “มู ล นิ ธิ รั ก บี้ ” ขององอาจ นาครทรรพ ผมได้เคยคุยกับพี่น้องเรื่องนี้ บ่อยครั้งตอนที่ท�ำงานกับพี่น้อง ผมเห็นว่า ความตั้งใจนี้น่าสนใจมาก รวมทั้งแปลกใจ นิดๆ ทีเ่ ป็นเรือ่ งเกีย่ วกับรักบีท้ ผี่ ชู้ ายเล่น แต่ การริเริ่มเกิดจากผู้หญิง ผมยังคิดว่าความ ตั้งใจนี้ยังอยู่ในใจพี่น้องตลอดเวลา เพียงแต่ ยังไม่ถึงเวลาที่จะท�ำให้เป็นรูปเป็นร่างสักที ...ผมแค่ เ พี ย งอยากจะเขี ย นถึ ง ลุ ง อาจ ด้วยความเคารพรักสักครั้งเท่าที่จะ จ�ำได้ และยังจะปวารณาตัวเองสนับสนุน ทุ ก ด้ า นให้ เ กิ ด มู ล นิ ธิ รั ก บี้ ข ององอาจ นาครทรรพ ครับ วีรยุทธ โพธารามิก


บิ๊คน้องรัก เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีอ่ า่ นข้อเขียน ที่บิ๊คเขียนถึงคุณพ่อ พี่อ่านแล้วท� ำให้ นึกถึงพ่อ ถ้าบิ๊ครู้จักท่านตอนที่ยังไม่สูง อายุนักก็คงจะรัก ‘ลุงอาจ’ มากทีเดียว เพราะพ่อคุยสนุก มีอารมณ์ขัน และเป็น คนน่ารักจริงๆ นอกจากนี้แล้วคุณพ่อยังเป็นคน ที่รักโรงเรียนวชิราวุธฯ และรักการเล่น รั ก บี้ อ ย่ า งจั บ จิ ต จั บ ใจ ที่ รั ก วชิ ร าวุ ธ ฯ เพราะท่านคิดว่าโรงเรียนนีไ้ ด้ให้ความรัก ความอบอุ่นและสร้างคนให้เป็นคนดี ไม่ ทราบจะจริงสักแค่ไหน แต่ตอนที่นอน ดึกดืน่ ตีสองตีสามเพือ่ ท�ำหนังสือเล่มนีใ้ ห้ เสร็จทันเวลานั้น เป็นครั้งแรกที่ได้ค้นรูป พ่อสมัยอยู่วชิราวุธฯ มีรูปเพื่อนๆ มากมาย (รวมทั้งรูปคุณสมุทร โพธารามิก) ได้ อ่านที่แต่ละคนเขียนไว้หลังรูปแล้วก็ชื่นใจ ว่าสมัยก่อนนี้เขารักกันมากคงไม่ผิดกับ สมัยน้องๆ สักเท่าไร ทุกคนเขียนด้วยตัวบรรจง ลายมือสวย ถ้อยค�ำแม้จะไม่เพราะ แต่อ่านแล้วรู้สึกไพเราะเสียจริงๆ ที่พ่อรักการเล่นรักบี้ ไม่ใช่เพราะได้รับการชื่นชมจากผู้อื่น พ่อพูดเสมอว่า กีฬานี้สร้างสปิริตและน�้ำใจนักกีฬาให้แก่ผู้เล่น มิตรภาพที่พ่อได้รับจากการเล่น รักบี้มีมากและค่อนข้างจะยืนยาว ยาวจนตลอดชีวิตทีเดียว ในหลายๆ วันที่สวด อภิธรรมฯ มีเพื่อนๆ น้องๆ และลูกศิษย์มาจากไหนกันก็ไม่ทราบ แต่มากันมากบาง ท่านมาเกือบทุกวัน บางคนเดินไปพูดกับรูปที่ตั้งอยู่ด้านหน้า เห็นแล้วรู้สึกตื้นตัน ใจเหลือเกิน ยังจ�ำได้ที่พวกเราเคยพูดกันถึงกีฬารักบี้ว่ามีบางยุคสมัยที่มีการสร้าง ค่านิยมทีผ่ ดิ ๆ เกีย่ วกับนักกีฬารักบีน้ ขี้ นึ้ ในโรงเรียนฯ แต่สมัยก่อนหรือความคิดของ คุณตากลับไม่เป็นเช่นนั้น พ่อ Honor การเล่นรักบี้มาก ไม่ได้รู้สึกว่าตนส�ำคัญแต่ anumanavasarn.com


150

คอลัมน์พิเศษ

รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เล่น และสอนลูกศิษย์ตลอดเวลาไม่ให้ทะนงตน แต่ให้การเล่น รักบี้สอนให้เกิดความมีสปิริต รู้แพ้ รู้ชนะ และเคารพในผู้อื่น ที่เคยฝันเล่นๆ ว่าอยากตั้งกองทุน “คุณตาองอาจ เพื่อนักรักบี้รุ่นเยาว์ที่ ขาดแคลน” ก็เพือ่ ทีจ่ ะสานต่อความคิดนีข้ องพ่อ ประกอบกับเคยได้มโี อกาสพูดคุย กับเด็กๆ จากโรงเรียนต่างจังหวัดทีไ่ ด้รบั การสอนให้เล่นรักบีแ้ ล้วเกิดความรักในกีฬา นี้อย่างจริงจัง แต่ไม่อาจเล่นต่อได้ เพราะโรงเรียนไม่สนับสนุน และไม่มีทุนทรัพย์ที่ จะซื้ออุปกรณ์ ไม่มีคนเสียสละมาเป็นโค้ช จนท้ายสุดคือไม่มีสตางค์ที่จะเดินทางไป แข่งขันกับใครๆ เขา ลองคิดเล่นๆ ว่าจะดีสักแค่ไหนถ้ามีคนส่งเสริมเอื้อเฟื้อ เพื่อ เด็กๆ เหล่านี้จะได้มีความสุขกับรักบี้แทนความสุขจากวัตถุและสิ่งล่อใจในปัจจุบัน เคยคิดว่าจะตั้งกองทุนฯ นี้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่เด็กๆ ตามต่างจังหวัด แล้วให้พ่อ ไปแจกอุปกรณ์และพูดคุยให้ขอ้ คิดกับเด็กๆ เหล่านัน้ แต่คงเป็นเพราะคิดนานไปสัก หน่อย พอมาถึงวันนี้ก็ไม่มีพ่อเสียแล้ว เมื่อยังเล็กสมัยที่ยังวิ่งเล่นในสนามรักบี้ ได้รับความเอ็นดูจากอาๆ ลูกศิษย์ พ่อมากมาย ไม่ได้มีใครคิดว่าเป็นเด็กผู้หญิงเลย ในวันที่สวดฯ มีอาๆ หลายคนมา ทักว่า อ้าว... ไอ้น้องนี่นา... ค�ำเรียกอย่างนี้จะได้ยินเสมอ ไม่ว่าจะเป็นจากเพื่อนพ่อ อาๆ หรือเพื่อนๆ พี่ก็เรียกขานท�ำนองเดียวกันจนติดปาก คิดเอาเองว่าที่เขาเรียก อย่างนี้ก็เพราะรักใคร่สนิทสนมและเราเองก็รู้สึกอบอุ่น ดังนั้นจงอย่าได้แปลกใจที่ ความคิดตั้งกองทุนฯ นี้เกิดจากผู้หญิง สมัยก่อนพวกรุ่นลายครามเขาทานข้าวกันอย่างที่บิ๊คเขียนมา พ่อเล่าว่าเป็น โต๊ะยาวมียสี่ บิ กว่าคน ต่อมาล่วงลับดับหายกันไปทีละคนสองคน จนสุดท้ายมีสริ ริ วม แล้วห้าหกคน เปลีย่ นไปเป็นทานข้าวเทีย่ งกันทีส่ มาคมฯ ทุกวันเสาร์ทสี่ ามของเดือน ไม่มีใครนัดใคร เป็นที่รู้กันเองว่าเมื่อถึงเวลาก็จะมาพบกัน ในวันนี้ถ้าจ�ำไม่ผิดคงจะ เหลืออยู่สักสามคนเห็นจะได้ ขอบคุณบิ้คอีกครั้งที่เตือนความจ�ำของพี่น้อง และแบ่งปันความรู้สึกจากการ คิดถึงพ่อค่ะ พี่น้อง อโนมา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา (โปรดติดตามอ่านสัมภาษณ์สุดท้ายของรุ่นลายครามได้ในอนุมานวสารฉบับหน้า)


เมือ่ ไม่นานมานี้ ทีมงานอนุมานวสาร ได้มโี อกาสรวมกันเฉพาะกิจ หลังจากทีไ่ ด้ไป ร่วมพิธีฌาปณกิจคุณตาองอาจ นาครทรรพ โอวี ๑๒ ที่วัดธาตุทอง เมื่อเสร็จพิธี พวก เราจึงได้ไปหาอะไรใส่ท้องกันที่ร้านอาหาร ในละแวกนั้น ซึ่งโอกาสอย่างนี้มีไม่มากนัก เนื่ อ งจากที ม งานแต่ ล ะคนต่ า งมี ภ ารกิ จ เฉพาะตัว ทั้งงานราษฎร์งานหลวงที่ต้อง ปฏิบัติกัน โดยปกติแล้ว ผมเองเป็นคนทีไ่ ม่คอ่ ย ทานอะไรในมื้อเย็นนัก เนื่องจากตัวเองมี ปัญหาเรื่องปวดหลัง จึงต้องคอยระมัดระวัง เรื่องน�้ำหนักตัวไม่ให้ Overweight มากเกิน ไป แต่ในเมือ่ เหล่าทีมงาน “คิวทอง” ทัง้ หลาย เอ่ยปากชักชวนแล้ว จะปฏิเสธแล้วกลับบ้าน ไปนอนก็แลดูจะใจจืดใจด�ำกันไปหน่อย บรรยากาศในการทานอาหารเย็ น วันนั้น ผมยอมรับว่ารู้สึกแปลกๆ เล็กน้อย เพราะปกติการรวมตัวของทีมงานจะเป็นการ รวมตัวกันทานที่บ้านของครอบครัวพี่หน่อง และพี่น้อง ผู้เปรียบเสมือนหัวเรือใหญ่ของ ทีมงานอนุมานวสาร แต่ก็ไม่ใช่เรื่องใหญ่โต อะไรมากมาย เปลี่ยนบรรยากาศบ้างก็ดี เหมือนกัน หั ว ข้ อ สนทนาบนโต๊ ะ อาหารในวั น นั้ น ก็ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งอะไรที่ พิ ส ดารหรื อ แปลก ประหลาดอะไรมากมาย เรือ่ งเก่าทีถ่ กู น�ำมา เล่าใหม่ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่ายังสามารถเรียกเสียง หัวเราะและรอยยิ้มจากผองเพื่อนได้เสมอ...

วันกลับบ้าน

จากทีมงานอนุมานวสาร

151

แต่ทว่ามีทีมงานท่านหนึ่งถามมาว่า “ที่ท�ำ อนุมานวสารกันมาตัง้ นาน พวกเรา (ทีมงาน) ได้อะไรกันบ้าง?” “ประสบการณ์ ทั ศ นคติ ใ นการ ด�ำเนินชีวิต และมิตรภาพระหว่างวัย คือ สามสิ่งแรกที่ผมนึกออกในวันนั้น” ผมคง ไม่สามารถจะบรรยายมาเป็นค�ำพูดได้ กลัว ผู้อ่านจะเลี่ยนและหาว่ายกยอปอปั้นกันเอง ไปหรือเปล่า ส�ำหรับผม อนุมานวสารเป็น เหมือน “สนามเด็กเล่น” ที่เกิดขึ้นจากคน รักโรงเรียนกลุม่ หนึง่ ทีอ่ ยากจะสร้างสถานที่ ส�ำหรับให้รุ่นพี่และรุ่นน้องได้ปลีกตัวจาก ความวุ่นวายในความจริง กลับไปสู่โลกที่ ท�ำให้ความเป็นเด็กในตัวเขาได้กลับมาซุกซน อีกครั้ง จากสนามเด็กเล่นในวันนั้น วันนี้มัน ได้ “เริ่ม” ขยายกิจการ สร้างความบันเทิง ให้ผู้คนมากขึ้น มีคนกล่าวถึงมากขึ้น ผมมา รู้ตัวอีกที ก็ได้เปลี่ยนสถานภาพตัวเองจาก “ผู้เล่น” มาเป็น “ผู้จัด” คอยสร้างสรรค์ เครื่องเล่นต่างๆ คือ บทความดีๆ มาสนอง ความต้องการของผูอ้ า่ น... ไม่เคยคิดเหมือน กันนะครับ ว่าชีวิตนี้ จากเด็กบ้านนอกคน หนึ่ง จะได้มีโอกาสมานั่งสัมภาษณ์นางสาว ไทยและน�ำมาถอดเทปให้พนี่ อ้ งโอวีทงั้ หลาย ได้อ่านกัน ไม่สนใจมาเป็น “ผู้จัด” ด้วยกัน หรือครับ... ศิริชัย กาญจโนภาส โอวี รุ่น ๗๖ anumanavasarn.com


152

ห้องเบิกของ

ธุรกิจขนาดย่อมของชาวโอวี

ร้านอาหาร ร้านรับลมริมน�้ำ มีทั้งวิวริมน�้ำและนักว่ายน�ำ้ พี่โย่ง ป๊อก บุญยัง โอวี ๕๐ และพี่โจ้ โอวี ๕๔ ริมสระว่ายน�ำ้ Riverline Place คอนโดมิเนียม ถนน พิบูลสงคราม นนทบุรี ๐๒-๙๖๕-๓๒๐๐ WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

WHO

ADDRESS

ADDRESS

WHO

WHO

WHO

ADDRESS

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

WHO

WHO

WHO

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

WHO

WHO

WHO

addict cafe & thing ร้านกาแฟเล็กๆ จักรพันธุ์ บุญหล่อ โอวี ๗๒ ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร ๐๘๕-๓๒๓-๖๖๖๘, ๐๘๖-๗๗๔-๙๗๒๓

The Old Phra Arthit Pier ร้านอาหารสวยริมเจ้าพระยา ร้านครัวกะหนก ยามเย็น ส�ำหรับโอวีที่ไป โอวีรับส่วนลดค่าอาหาร ๑๐ % อุดหนุนลดทันที ๑๐% ภรรยา กุลธน ประจวบเหมาะ พงศ์ธร เพชรชาติ โอวี ๖๐ (ต้น) โอวี ๕๕ ท่ าพระอาทิตย์ ลาดพร้าว ๗๑ ๑๕๐ เมตร ถนนพระอาทิตย์ ร้าน How To จากปากซอย อยู่ซ้ายมือ ๐๒-๒๘๒-๙๒๐๒ ๐๒-๕๑๔-๑๘๑๔ ดนตรีแนว acoustic & Folk ๐๘๑-๘๒๒-๔๔๐๒ song และมีส่วนลดให้โอวี ๒๐% ร้านอาหารอิงน�้ำ ร้านอาหารชิมิ ภิญโญ โอวี ๔๔ อาหารอร่อยมาก ราคาไม่แพง ปากซอยอินทามระ ๒๖ หม้อชาบูชาบูและเตาปิ้งย่าง พี่อึ่งเป็นกันเอง ๐๘๖-๓๐๐-๕๘๔๖ ยาคิ นิคุในแบบบุฟเฟ่ต์โฮมเมด พี่อึ่ง โอวี ๓๙ วั ต ถุ ดิบชั้นเยี่ยมราคาอิ่มสบาย ถนนจรัญสนิทวงศ์ ๗๓-๗๕ OZONO PLAZA ศิ โรฒน์ สนิทวงศ์ ณ เลยโลตัส ๑๐๐ เมตร แหล่งรวมร้านค้าส�ำหรับทุกสิ่ง อยุธยา โอวี ๔๔ ทุกอย่างที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง ร้านอาหารห้องแถว ถนนประดิ พัทธ์ ซอย ๑๙ และพื้นที่ให้สัตว์เลี้ยงได้วิ่งเล่น shimi_restaurant@hotmail. ร้านอาหารเหนือล้านนาสุด คมกฤช รัตนราช โอวี ๕๙ com อร่อย เมนูขึ้นชื่อ แกงโฮะ ท้ายซอยสุขุมวิท ๓๙ ๐๒-๓๕๗-๑๓๙๐-๑ ปลาสลิดทอดฟู และแหนมผัดไข่ (พร้อมพงษ์) ทะลุออกถนน ษาเณศวร์ โกมลวณิช เพชรบุรีหลังตึกอิตัลไทย ร้าน Y 50 โอวีลด ๑๕ % (ถลอก) โอวี ๖๙ www.ozono.us วัชระ ตันธนะ โอวี ๖๔, ถนนนิมานเหมินทร์ ๐๘๑-๖๕๗-๖๑๘๒ ทมะ วัชรพุกก์ โอวี ๖๘, เชียงใหม่ ร.อ.ธัญญวิทย์ เครือสินธุ์ ๐๕๓-๒๑๘-๓๓๓ โอวี ๖๙ เอกมัย ซอยแจ่มจันทร์ WHO

WHO

WHO

ร้านอาหารบ้านประชาชื่น อาหารไทยสูตรต้นตระกูล สนิทวงศ์ และข้าวแช่ตำ� รับ ม.ล.พร้อมศรี พิบูลสงคราม เปิดตั้งแต่ ๑๐.๓๐-๑๕.๓๐ น. ไม่ขายช่วงเย็น ไม่มีวันหยุด เสาร์อาทิตย์ บวรพิตร พิบูลสงคราม (พี่บูน) โอวี ๔๖ เลขที่ ๓๗ ซอยประชาชื่น ๓๓ กรุงเทพฯ ๐๒-๕๘๕-๑๓๒๓, ๐๘๙-๖๑๙-๒๖๑๐

ADDRESS

WHO

ADDRESS

ADDRESS


โรงแรม บ้านไร่วิมานดิน ออร์แกนิคฟาร์มสเตย์ รีสอร์ทริมล�ำธารอิงขุนเขา บริการอาหารปลอดสารพิษ จากเกษตรอินทรีย์ ส�ำหรับโอวี ราคาพิเศษ พ.ต.ท.กฤชญาณ อภิกุลชา (อ�ำรุง) โอวี ๔๔ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี www.vimarndinfarmstay. com ๐๘๑-๘๔๒-๔๗๕๔ WHO

WHO

ดิ. โอวี. คันทรี รีสอร์ท เอกลักษณ์การตกแต่งและ กลิ่นอายสมัยอยู่โรงเรียน กมล นันทิยาภูษิต โอวี ๖๑ กลางเมืองจันทบุรี ขับผ่านก็ สามารถสังเกตเห็นได้ง่าย ๐๘๑-๘๓๓-๒๑๒๕ ADDRESS

WHO

โรงแรมรัตนาปาร์ค โอวีท่านใดผ่านมาโทรบอกได้ เลย ราคาห้องพิเศษ มาฆะ พุ่มสะอาด โอวี ๕๕ พิษณุโลก ๐๕๕-๒๔๔-๕๒๑ ๐๘๑-๕๙๖-๖๓๙๖

ADDRESS

ไร่ภูอุทัย ในวงล้อมธรรมชาติเขาใหญ่ สูดรับโอโซนระดับ ๗ บน ลานเนินกว้าง อ�ำนวยศิลป์ อุทัย โอวี ๗๑ และรังสรรค์ อุทัย โอวี ๗๒ ถนนพหลโยธินขาออกจาก จ.สระบุรี ซอยที่เป็นเส้นทาง ลัดไป อช.เขาใหญ่ www.phu-uthai.com ๐๘๐-๔๙๙-๙๐๒๔

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

Amphawa River View โฮมสเตย์ริมน�ำ้ กับบรรยากาศ ตลาดน�้ำ สัมผัสวิถีชีวิตดั้งเดิม ของไทย ยินดีต้อนรับโอวีทุก ท่านในราคาเบาๆ ชโนดม โชติกพนิช (ดม) โอวี ๗๐ ตลาดน�้ำอัมพวา www.amphawariverview.com ๐๓๔-๗๕๑-๒๐๒ ADDRESS

ADDRESS

ณัฐฐาวารีนำ�้ พุร้อน อาบน�้ำแร่แช่น�้ำร้อนท่ามกลาง ธรรมชาติ ทีเด็ดปลามัจฉา บ�ำบัดจากต่างประเทศ บ�ำรุงผิวพรรณ ภวิษย์พงศ์ พงษ์สมิ า โอวี ๗๖ ริมถนเพชรเกษม ระหว่าง กม.ที่ ๑๓-๑๔ (กม.ที่ ๙๙๐ กระบี่-ตรัง) บ.บางผึ้ง ต.โคกยาง อ.เหนือคลอง จังหวัดกระบี่ www.natthawaree.com ๐๗๕-๖๐๑-๖๔๒ ๐๘๙-๗๘๐-๖๔๗๖ WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

WHO

ADDRESS

ตาลคู่บีช รีสอร์ท รีสอร์ทสวยริมทะเลใส อลงกต วัชรสินธุ์ (อยากเกา) โอวี ๗๕ อ.ขนอม จังหวัด ชุมพรคาบานา นครศรีธรรมราช ใกล้ และศูนย์กีฬาด�ำน�้ำลึก เกาะสมุย ให้บริการที่พัก จัดสัมมนา และ g_got75@hotmail.com บริการด�ำน�ำ้ ลึก บริหารงานตาม ๐๘๕-๘๔๗-๗๕๗๕ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง วริสร รักษ์พันธุ์ โอวี ๖๑ หาดทุ่งวัวแล่น จังหวัดชุมพร

คีรีตา รีสอร์ท รีสอร์ทบูทีคโฮเต็ลเหมาะแก่ การพักผ่อนและจัดสัมมนา ยินดีต้อนรับโอวีทุกท่าน พร้อม ได้รับบริการในราคาพิเศษ อุรคินทร์ ไชยศิริ (กิมจิ) โอวี ๗๐ เกาะช้าง จังหวัดตราด ๐๘๙-๗๔๘-๗๕๒๘ WHO

ADDRESS

WHO

WHO

WHO

The Bihai Huahin โอวีลด ๒๐% ............................. ๘๙ หมู่ ๕ บ้านหัวดอน ต�ำบลหนองแก หัวหิน ๐๓๒-๕๒๗-๕๕๗-๖๐ WHO

WHO

ADDRESS

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

WHO

WHO

www.chumphoncabana. com ๐๗๗-๕๖๐-๒๔๕-๗ ๐๘๙-๗๒๔-๙๓๒๐

ADDRESS

ADDRESS

anumanavasarn.com


154 ห้องเบิกของ บริการ รับถ่ายรูป รับถ่ายรูปงานแฟชั่นโชว์, งาน ถ่ายภาพนิ่งเพื่อการโฆษณา ต่างๆ,งานเฉลิมฉลองและถ่าย รูปในสตูดิโอ ทั้งภาพ บุคคล,ผลิตภัณฑ์และสถานที่ ณัฏฐ์ ไกรฤกษ์ โอวี ๗๒ สตูดิโอ ในหมู่บ้านการ์เด้น โฮม สะพานใหม่ www.natphoto.com nat_vc72@hotmail.com ๐๘๗-๐๕๑-๘๖๐๕ WHO

WHO

ขวามือ ตรงข้ามเซเว่นฯ ๐๒-๒๖๐-๐๖๓๕ ร้านฟูฟู รับอาบน�้ำตัดขนสุนัข รับฝาก สัตว์เลี้ยง เจษฎา ใยมุง โอวี ๖๕ ถนนท่าแฉลบ อ.เมือง จังหวัดจันทบุรี ๐๘๑-๓๕๓-๒๘๖๕ WHO

ADDRESS

WHO

ADDRESS

WHO

WHO

ADDRESS

WHO

ADDRESS

ADDRESS

WHO

ADDRESS

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

ไอซิด รับตกแต่งภายในและรับเหมา ก่อสร้าง โดยเฉพาะบ้านและ คอนโด ภตภพ (สิทธิพงษ์) โอวี ๖๖ ซ.เจริญยิ่ง www.icidcompany.com ๐๒-๕๑๔-๐๘๓๙ ๐๘๑-๗๓๓-๗๗๐๑

WHO

ADDRESS

ADDRESS

Zyplus.com ธุรกิจอินเตอร์เนต ให้บริการเช่า พื้นที่เว็บโฮลดิ้งของเว็บไซต์และ บริการจดโดเมนเนม สิษฐวัฒน์ ตู้จินดา โอวี ๖๗ www.zyplus.com ๐๒-๘๙๑-๕๕๒๙ WHO

ADDRESS

WHO

WHO

ADDRESS

ADDRESS

ADDRESS

WHO

ADDRESS

WHO

WHO

WHO

ADDRESS

WHO

WHO

WHO

ADDRESS

ร้านขายสัตว์เลี้ยง Furrytail ร้านขายผลิตภัณฑ์ส�ำหรับสัตว์ โรงพยาบาลสัตว์ Lovely Pet เลี้ยงผ่านทางอินเตอร์เนต กอบกิจ จ�ำจด โอวี ๘๐ รับรักษาสัตว์ ฉีดวัคซีน ผ่าตัด www.weloveshopping. ท�ำหมัน เอ๊กซเรย์ ขูดหินปูน com/shop/furrytail อาบน�้ำตัดขน บริการนอกสถาน ๐๘๖-๕๒๘-๑๐๘๕ ที่และรับปรึกษาปัญหาสัตว์เลี้ยง รับฝากเลี้ยง และจ�ำหน่าย บริษทั น�ำ้ -ทอง เทรดดิง้ จ�ำกัด อุปกรณ์,อาหารต่างๆ จ�ำหน่ายน�้ำมันหล่อลื่น น.สพ.อุรินทร์ คชเสนี อุตสาหกรรมทุกชนิด โอวี ๗๑ (ปตท., บางจาก, แมกซิมา) ๓๕/๓๙-๔๐ ถ.รัตนาธิเบศร์ ภณธร ชินนิลสลับ อ.เมือง จังหวัดนนทบุรี (ซอมป่อย) โอวี ๖๘ ๐๒-๙๖๙-๘๔๘๙ ๑๘๘/๑๐๗ หมู่ ๑ ๐๘๙-๘๑๖-๘๑๓๘ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ ร้านตัดผม Sindy Lim จังหวัดสงขลา ๐๒-๑๗๕-๔๑๓๖ ร้านตัดผมส�ำหรับสุภาพบุรุษ ๐๘๕-๓๒๔-๙๙๐๑ และสุภาพสตรี หากก�ำลังมอง หาร้านท�ำผมเพื่อออกงานสุดหรู 22EQ หรือเปลี่ยนลุคแล้ว เชิญไปใช้ รับออกแบบและจัดท�ำเว็บไซต์ บริการได้ โอวีลดให้พิเศษ กอบกิจ จ�ำจด โอวี ๗๐ ทวีสิน ลิ้มธนากุล www.jate.22eq.com (สิน) โอวี ๕๕ ๐๘๖-๕๒๘-๑๐๕๘ ปากซอยสุขุมวิท ๔๙ เข้ามา จากทางถนนสุขุมวิทอยู่

AUTO X จ�ำหน่ายรถยนต์น�ำเข้าทุกยี่ห้อ และศูนย์บริการซ่อมรถยนต์ ทุกชนิด ด้วยอุปกรณ์ตรวจเช็ค ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตุลย์ ธีระอรรถ ถ.พหลโยธิน ข้างส.น.บางซื่อ ตรงข้ามอาคารชินวัตร ๒ ๐๒-๖๑๕-๕๕๓๓

ADDRESS

ADDRESS

บริษัท DML Export จ�ำกัด หลอดประหยัดไฟ LED bulb ประหยัดไฟมากกว่าธรรมดาถึง ๕ เท่า ผลิตภัณฑ์เป็นมิตรกับ ธรรมชาติ และสามารถน�ำมา รีไซเคิล ๑๐๐% นฤพนธ์ สุ่นกุล (รันตู) โอวี ๗๖ ๐๘๔-๗๖๗-๖๕๒๒ WHO

ADDRESS


บริการ NAPAT GRAND ELECTRIC รับจ�ำหน่าย ติดตั้ง ซ่อม และล้าง เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด ราคาถูกกว่าห้าง ชัวร์!!!! ณภัทร (ธันว์) ยิ้มเเย้ม โอวี ๗๖ ๐๘๙-๘๔๑-๔๑๒๔ Kevin-insurance@hotmail. com นึกถึงประกันภัย บ้าน, รถยนต์, อุบัติเหตุ, etc. นึกถึง Kevin..! Call me Bro! เขต ณ พัทลุง โอวี ๗๑ ๐๘๑-๓๕๙-๗๑๐๒ WHO

WHO

อนุมานวสาร ฉบับย้อนหลัง ฉบับปี ๒๕๕๐

ฉบับปี ๒๕๕๑

ฉบับ ๑ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๐

ฉบับ ๔ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๑

ฉบับ ๒ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๐

ฉบับ ๕ เม.ย.-พ.ค. ๒๕๕๑

ฉบับ ๓ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๐

ฉบับ ๖ มิ.ย.-ก.ค. ๒๕๕๑

ADDRESS

ADDRESS

WHO

ADDRESS

ประกาศขาย ต้องการขายโรงงาน ส�ำนักงาน พร้อมโกดัง อยู่ที่ ซ.สุขสวัสดิ์ ๘๐ ถ.สุขสวัสดิ์ (ซอยโกเบ) เนื้อที่ประมาณ ๔ ไร่ ๒๑ ตร.ว. มีถนนลาดซีเมนต์ทั้ง ๔ ด้าน พ.ต.ต.ชยเดช ไคยฤทธิ์ (จิ๊บ) โอวี ๖๗ คณะจิตรลดา ๐๘๔-๙๒๗-๐๘๐๘ WHO

ADDRESS

anumanavasarn.com


อนุมานวสาร ฉบับย้อนหลัง ฉบับปี ๒๕๕๑

ฉบับ ๗ ส.ค.-ก.ย. ๒๕๕๑

ฉบับ ๙ ฉบับ ๘ ม.ค.-ก.พ. ๒๕๕๒ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๑ ฉบับปี ๒๕๕๒

ฉบับ ๑๑ ฉบับ ๑๒ พ.ค-มิ.ย. ๒๕๕๒ ก.ค.-ส.ค. ๒๕๕๒ ฉบับปี ๒๕๕๓

ฉบับ ๑๕ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๓

ฉบับปี ๒๕๕๒

ฉบับ ๑๓ ก.ย.-ต.ค. ๒๕๕๒

ฉบับ ๑๐ มี.ค. เม.ย. ๒๕๕๒

ฉบับ ๑๔ พ.ย.-ธ.ค. ๒๕๕๒

ขอรับ อนุมานวสารฉบับย้อนหลังได้ที่ สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยฯ ๑๙๙ ถนนพิชัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๑-๓๐๕๙ โทรสาร ๐-๒๖๖๙-๓๕๑๘ (คุณวาสนา จันทอง)






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.