สูจิบัตรรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏครั้งที่ 11 ประจำปี 2557

Page 1


โครงการยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ บุ ค คลผู้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ทางการศึ ก ษา วั ฒ นธรรม และภู มิ ปั ญ ญาไทย

รางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๑ พุทธศักราช ๒๕๕๗


คำนิยม ๏ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้จัด โครงการยกย่องเชิดชูเกียรติบุ คคลผู้มีผลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย รางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ เพื่อประกาศเกียรติคุณและเชิดชูเกียรติ ให้ เป็นขวัญและก าลั ง ใจแก่ ผู้ ประกอบคุณ งามความดี ในการส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น อนุรักษ์ พัฒนาและเผยแพร่ผลงาน ด้านการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ตลอดจนทาคุณประโยชน์แก่สังคม ท้องถิ่น และประเทศชาติ นั บ ตั้ ง แต่ มี ก ารริ เ ริ่ ม โครงการครั้ ง แรกในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ จนถึ ง ปั จ จุ บั น นี้ เป็นเวลากว่า ๑ ทศวรรษแล้ว ที่ได้ดาเนินการมอบรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เป็ น การยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ บุ ค คลผู้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ทางด้ า น การศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ใน ๗ สาขา อันได้แก่ สาขาศิลปกรรม สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขากีฬาและ นันทนาการ สาขาส่ ง เสริ มศิ ลปวั ฒนธรรม สาขามนุ ษยศาสตร์ และสัง คมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งได้มีการสนับสนุน ส่งเสริมให้มีการ เผยแพร่ชีวประวัติและผลงานของท่านเหล่านี้ต่อสาธารณชนอย่างกว้างขวาง นับ เป็ นเรื่ อ งที่น่า ยิ นดี ว่ า ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๗ นี้ สถาบันอยุ ธ ยาศึ ก ษา มหาวิ ทยาลั ยราชภัฏพระนครศรีอ ยุ ธ ยา ได้มี ก ารประกาศผลการคั ดเลื อ กรางวั ล บุษราคัมมณีศรีราชภัฏทั้ง ๔ สาขา จานวน ๗ ท่าน ซึ่งแต่ละท่านนอกจากจะมี ผลงานเป็นที่ประจักษ์แล้ว ยังเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านด้านการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยให้แก่เยาวชนคนรุ่นหลัง มาอย่างยาวนาน เกียรติประวัติที่ปรากฏ ในสู จิ บั ต รเล่ ม นี้ คงจะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ จ ะท าให้ เ ราได้ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ และเกิ ด ความ ภาคภูมิใจในความสามารถของผู้ที่ได้รับรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ขอขอบพระคุณ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล บุ ษ ราคั ม มณี ศ รี ร าชภั ฏ ทุ ก ๆ ท่ า นที่ ไ ด้ มี ส่ ว นจรรโลงรั ก ษา ศิลปวัฒนธรรมของเราให้ธารงอยู่ รวมทั้งได้ช่วยพัฒนา สืบทอดสมบัติอั นล้าค่านี้ให้ ลูกหลานของเราในอนาคตสืบไป ๚๛


ควำมเป็นมำของสถำบันอยุธยำศึกษำ ๏ พุทธศักราช ๒๕๑๘ รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครูฉบับ แรก ก าหนดให้ วิ ท ยาลั ย ครู มี ห น้ า ที่ ป ระการหนึ่ ง คื อ การท านุ บ ารุ ง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๑ กองวั ฒ นธรรมกรมการศาสนา ได้ ข ยายงานตาม พระราชบัญญัติตั้งสานักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และยกฐานะศูนย์ ประชาสงเคราะห์ทางวัฒนธรรมเป็นศูนย์วัฒนธรรม ปฏิบัติงานโดยมีอธิการบดีเป็น ประธาน และมี อ าจารย์ เ ป็ น คณะกรรมการขึ้ น กั บ ส านั ก งาน คณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๒๗ อธิบดีกรมการฝึกหัดครู นายเดโช สวนานนท์ ได้ประกาศ จัดตั้งศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานประจาวิทยาลัยครูทุกแห่งสังกัดกรมการ ฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๘ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ใ ช้ ป ระกาศพระราชบั ญญัติสถาบันราชภัฏ ในมาตราที่ ๗ ให้ ส ถาบั นราชภั ฏ เป็ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น มีวัตถุประสงค์หลายประการ ประการหนึ่งคือ “ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม” พุทธศักราช ๒๕๔๒ กระทรวงศึกษาธิการประกาศแบ่งส่วนราชการของสถาบัน ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ให้ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเป็น “สำนักศิลปวัฒนธรรม” สานั กศิ ลปวัฒนธรรม สถาบั นราชภั ฏพระนครศรี อยุ ธยาตั้ง อยู่ ที่อาคาร ๓ ของสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในอาคารนี้นอกจากเป็นสถานที่ทางานแล้ว ยังใช้เป็นห้องแสดงนิทรรศการวัฒนธรรมพื้นบ้านและใช้บางห้องเป็นห้องเรียนด้วย ส า ห รั บ ง า น ห อ วั ฒ น ธ ร ร ม พื้ น บ้ า น พั ฒน า ม า จ า ก มุ ม ศิ ล ป ะ พื้ น บ้ า น ซึ่ ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ส้าง พรศรี และอาจารย์พีระศักดิ์ เทพไตรรัตน์ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ เพื่ อ เป็ นแหล่ง รวบรวมศิ ลปวั ตถุ ที่ใ ช้ เป็นอุ ป กรณ์ ก ารสอนในวิ ช าที่ มี เนื้อหาเกี่ยวข้อง และเมื่อศิลปวัตถุ มีจานวนมากขึ้น ปี พ .ศ.๒๕๒๓ จึงได้จัดเป็นนิทรรศการ ถาวรที่อ าคาร ๙ ต่ อมาอาคารเริ่ มช ารุ ดจึง ย้า ยไปอยู่ ที่อ าคาร ๓ เมื่อ วั นอั งคาร ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๒๕ จนถึงปี พ.ศ.๒๕๔๔ ได้มีการจัดเก็บศิลปวัตถุที่แสดงไว้ ใน


ห้องพั สดุ เพื่อ ปรับปรุงอาคารเป็นห้องเรีย นคอมพิวเตอร์ โดยมหาวิทยาลัย ฯ ได้ อนุมัติให้สร้างอาคารหลังใหม่เป็นอาคารสานักงานศิลปวัฒนธรรม ณ บริเวณบ้านพัก อาจารย์ริมถนนปรีดีพนมยงค์ ที่มีอาณาเขต ติดต่อกับ ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์ อยุธยา หอศิ ลปวั ฒนธรรม สถาบันราชภัฏพระนครศรีอ ยุธยาซึ่ง เป็นแหล่ งอนุ รัก ษ์ ศิ ล ป วั ต ถุ แ ล ะ จั ด นิ ท ร ร ศ ก า ร ไ ด้ รั บ พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ จ า ก ส ม เ ด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ในการเสด็ จ พระราชด าเนิ น ทรงทอดพระเนตรหอศิ ลปวั ฒนธรรม เมื่อวั นจั นทร์ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ .ศ .๒๕๒๘ และได้ทรงลงพระนามาภิไธย ไว้เป็นสิริมงคลสืบไป หอศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นแหล่งอนุรักษ์ศิลปวัตถุและจัดแสดงนิทรรศการให้ ผู้สนใจ เข้าชมในอดี ตเป็นหน่วยงานหนึ่งของสานักงานศิลปวัฒนธรรม สถาบั น ร า ช ภั ฏ พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า แ ล ะ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ข อ ง ศู น ย์ วั ฒ น ธ ร ร ม จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา โดยมีอธิการบดีเป็นประธานศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด ภาระหน้าที่ ในการด าเนิ น งานของศู น ย์ วั ฒ นธรรมจั ง หวั ด ฯ สอดคล้ อ งกั บ นโยบายของ คณะอนุกรรมการและเลขานุการศูนย์ฯ ดังนั้น จึงมอบหมายให้คณาจารย์ในสานัก ศิ ล ปวั ฒ นธรรม สถาบั น ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง มี อ ธิ ก ารบดี เป็ น หั ว หน้ า สถาบันการศึกษา เป็นคณะผู้ดาเนินงานในศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด หน่ว ยงานอนุรั กษ์สิ่งแวดล้ อมศิลปกรรมท้องถิ่น เป็ นอี กหน่ วยงานหนึ่ งซึ่ ง ดาเนิ น งานโดยได้ รั บ งบประมาณสนั บสนุ นจากสานั กนโยบายและแผนสิ่ งแวดล้ อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยมี ป ระธานศู น ย์ วั ฒ นธรรม เป็ น ประธานอนุ ก รรมการอนุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ซึ่งมีเลขานุการศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด เป็นหัวหน้าหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นของจังหวัดฯ ต่อมาในปี พ.ศ .๒๕๔๘ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สถำบันอยุธยำศึกษำ” โดยพัฒนา มาจากส านั ก ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานที่ ท าหน้ า ที่ ใ นด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ วิจัย ศิลปวัฒนธรรม จัดตั้งขึ้นตามโครงสร้างของมหาวิทยาลัย ราชภัฏพ.ศ.๒๕๔๗ ที่ได้กาหนดไว้ในมาตรา ๗ คือ “ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ นอุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ นที่ เ สริ ม สร้ า งพลั ง ปัญญาของแผ่นดินฟื้นฟูพ ลัง การเรีย นรู้ เชิดชูภู มิปั ญญาของท้อ งถิ่ น สร้ างสรรค์ ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมใน


การจัดการ การบารุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างสมดุลและยั่งยืน” นอกจากนั้ น ในพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พ .ศ.๒๕๔๗ ยั ง มี สาระสาคัญเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในมาตรา ๗ คือ “ให้ ก ารศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม วิ ช าการ และวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง ท าการสอน วิ จั ย ให้บริการวิชาการ แก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริม วิทยฐานะครู” เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.๒๕๔๗ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จึ ง ได้ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานนี้ ขึ้ น อี ก ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ฯ ได้พิ จารณาแล้ว ว่าจั งหวัดพระนครศรีอ ยุธยาเป็นจั งหวั ดที่ เคยเป็นเมื องหลวงของ ประเทศไทยและเป็นราชธานีเก่ามีอายุยาวนานถึง ๔๑๗ ปี ในอดีตเป็นมหานครที่มี เอกลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น ทั้ ง ด้ า นกายภาพ มี โ บราณสถาน โบราณวั ตถุ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า มีเอกลั กษณ์ท างสถาปั ตยกรรมที่ โดดเด่น เป็นเมื อง อู่ข้ าวอู่น้าที่ อุดมสมบู รณ์ และ มากมายไปด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ และอารยธรรม ได้รับการยกย่อง จากองค์ ก ารศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมแห่ ง สหประชาชาติ หรื อ ยู เนสโก ซึ่ ง จั ด ประชุ ม ที่ เ มื อ งคาร์ เ ทจ ประเทศตู นี เ ซี ย ได้ พิ จ ารณาตั ด สิ น ให้ ขึ้ น ทะเบี ย น อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ วั น ที่ ๑๓ ธั น วาคม พ .ศ .๒๕๓๔ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมระดับโลก ในการประชุมสมัยที่ ๑๕ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกคนควรจะได้ภาคภูมิใจและ มองเห็นคุณค่าความสาคัญ เกิดจิตสานึกในการรักชาติรักถิ่นฐานของตนเอง จากความสาคัญดังกล่าว มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา จึงเห็นสมควร จั ดตั้ งสถาบั นอยุ ธยาศึ กษาขึ้ น เพื่ อ ให้ เป็ น หน่ ว ยงานที่ ท าหน้ า ที่ ใ นด้ า นการศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย เรื่ อ งราวและสื บ ค้ น ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บประวั ติ ศ าสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการผลิต บัณฑิต การอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย สามารถใช้ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้การบริการข้อมูลเกี่ยวกับอยุธยาศึกษาศิลปวัฒนธรรมการละเล่น พื้นบ้ าน คติช นวิ ทยา ฯลฯ ของภาคกลางแก่ ผู้สนใจทั่ วไปทั้ งในระดั บท้ องถิ่นและ ระดับชาติ สถาบันอยุธยาศึกษา ได้ดาเนินการก่อสร้างเสร็จสิ้น เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๙ โดยมี รูปแบบสถาปัตยกรรม เป็นลักษณะเรือนหมู่ทรงไทยภาคกลาง โดยได้รับงบประมาณ


สนับสนุนจาก งบยุทธศาสตร์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาให้จัดตั้งเป็นศูนย์ท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่แก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ต่างประเทศ๚๛


รำยนำมผู้ทรงเกียรติ รำงวัลบุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ ครั้งที่ ๑๑ พุทธศักรำช ๒๕๕๗

พันจ่าอากาศเอกสุรเดช เดชคง สาขาศิลปกรรม

นายสุวิทย์ ชูชีพ สาขาศิลปกรรม

นายวินัย ยินดีวิทย์ สาขาศิลปกรรม

นางสาวประสงค์ อุ่นเดช สาขาภาษาและวรรณกรรม

นายดุลพิชัย โกมลวานิช สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

นายชาตรี โสวรรณตระกูล

นางกัลยา มั่งคั่ง สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


หน้า ๑

พันจ่าอากาศเอกสุรเดช เดชคง

สาขาศิลปกรรม ด้านศิลปะการแทงหยวก

ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

พันจ่าอากาศเอกสุรเดช เดชคง ๑๙ มีนาคม ๒๔๙๒ อาเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ๖๕ ปี ข้าราชการบานาญ , ช่างศิลปะแทงหยวก

ผลงานที่ปรากฏ  ๑ กันยายน ๒๕๔๕ งานแทงหยวกประกอบเมรุลอย ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายวิภาท อินสว่าง บิดานายจเด็จ อินสว่าง ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นงานที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินเป็น องค์ประธาน ทรง ทอดพระเนตรเมรุใกล้ ๆ ทรงถามกับเจ้าภาพว่า “...ช่างที่ไหนมาทา สวยงามมาก ขอพบตัว ช่างหน่อย...” ทรงรับสั่งว่า “...ดีใจที่มีอาจารย์ช่วยอนุรักษ์ ...งานแขนงนี้กาลังจะสูญหายไป ขอให้ช่วยอนุรักษ์ เผยแพร่ สืบสาน และพัฒนาต่อไปให้ถึงอนุชนรุ่นหลังด้วย...” พระองค์ทรง ทิ้งท้ายคาดารัสว่า “...ฉันก็แทงได้ แต่จะให้สวยแบบนี้ กล้วยคงหมดหลายดงเป็นแน่ ...” ทรง แย้มพระสรวล  พ.ศ.๒๕๔๗ งานแทงหยวกแสดงใน “งานมหัศจรรย์ของดี ๔ ภูมิภาค ณ ศูนย์การค้านัมเบอร์ แลนด์ กรุงเทพฯ  พ.ศ.๒๕๕๒ งานแทงหยวกประกอบ ในงานเปิดฟ้าการศึกษาอ่างทอง ณ วัดไชโยวรวิหาร อ.ไชยโย จ.อ่างทอง  พ.ศ.๒๕๕๓ งานแทงหยวกประกอบ ในงานพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดโพธิ์นางเทรา อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี  พ.ศ.๒๕๕๔ งานแทงหยวกประกอบ ในงานเทศน์มหาชาติ ณ วัดเกาะ ต.บางพลับ อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง  พ.ศ.๒๕๕๕ งานแทงหยวกประกอบ ในงานพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดป่าเลไลยก์ จ.นนทบุรี  รางวัลชนะเลิศระดับจังหวัด งานแทงหยวกประกอบ ในงานประกวดแห่เทียนพรรษาระดับ จังหวัด ของจังหวัดอ่างทอง พ.ศ.๒๕๕๕  พ.ศ.๒๕๕๕ งานแทงหยวกประกอบ ในงานพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดสวนลาไย จ.ชัยนาท  รางวัลที่ ๑ การประกวดงานแทงหยวกประกอบพวงมาลา งานวันปิยมหาราช จ.อ่างทอง ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๖


หน้า ๒

 รางวัลที่ ๑ การประกวดงานแทงหยวกประกอบพวงมาลา งานวันปิยมหาราช จ.ปทุมธานี ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๖  รางวัลที่ ๑ การประกวดงานแทงหยวกประกอบพวงมาลา งานวันปิยมหาราช จ.นนทบุรี ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๖  ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ งานแทงหยวกประกอบ ในงานพระราชทานเพลิงศพ วัดโพธิ์ทอง ต.คาหยาด อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง

สถานที่ติดต่อ  ศูนย์การเรียนรู้ครูภูมิปัญญาไทย เลขที่ ๒๔ หมู่ ๔ ตาบลบ่อแร่ อาเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง รหัสไปรษณีย์ ๑๔๑๒๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๐๘๐-๘๑๓๓


หน้า ๓

นายสุวิทย์ ชูชพี

สาขาศิลปกรรม ด้านศิลปะการแทงหยวก ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายสุวิทย์ ชูชีพ ๒๓ เมษายน ๒๔๙๓ อาเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๖๔ ปี เกษตรกรสวนผสม ,อาจารย์สอนศิลปะงานแทงหยวก

ผลงานที่ปรากฏ  ผลงานจากการแทงหยวก ที่แต่เดิมส่วนใหญ่จะใช้กันในงานศพ เพื่อประกอบเป็นบุษบก เมรุลอย จึงได้พยายามพัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานจากแนวความคิดของตนเอง แล้วนามา ประยุกต์ใช้ในงานพิธีการอื่น ๆ รวมทั้งงานประดับตกแต่ง เช่น ประกอบรถบุปผชาติแห่นาง สงกรานต์ในเทศกาลสงกรานต์ , ประดับตกแต่งเสี่ยงเทียนพรรษาฉลุลายไทย , ใช้งานแทง หยวกประกอบเป็นกระทงรูปบุษบก เป็นต้น  การสร้างสรรค์ผลงาน มุ่งเน้นประดิษฐ์โดยใช้ลายไทยเป็นพื้นฐาน นอกจากนี้ยังพัฒนาโดยใช้ งานคหกรรมศาสตร์ เข้ ามาช่ว ย เช่น บุษ บกลายจีน ที่ ต้อ งประดั บดอก ใบ และรู ปสั ตว์ ที่ แกะสลักจากฟักทองและพืชผักต่าง ๆ  ๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๓ งานแทงหยวกประกอบเมรุลอย ในงานพระราชทานเพลิงศพ โยม แม่กรุ่น อรุณเหลือง  รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับจังหวัด งานแทงหยวกประกอบเสลี่ยงเทียนทรงบุษบก ส่งเข้า ประกวดในงานแห่เทียนพรรษา จังหวัดสระบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕  สอนวิชาการแทงหยวกให้กับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดป่าโค เป็นประจาทุกวันศุกร์  เป็นที่ปรึกษาให้กับกลุ่มนักเรียนโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย  สอนวิชาการแทงหยวกให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดดุสิตาราม  ประดิ ษ ฐ์ ง านแทงหยวก ส่ ง เข้ า ประกวดในงานเทศกาลลอยกระทงประจ าจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาประจาปี ๒๕๕๓  พ.ศ.๒๕๔๕ ได้รับเกียรติบัตรจาก สานักงานเทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยา  พ.ศ.๒๕๔๖ ได้รับเกียรติบัตรจาก สานักเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต ๑  พ.ศ.๒๕๔๗ ได้รับเกียรติบัตรจาก วัดดุสิตาราม  พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณจาก โรงเรียนเทศบาลวัดป่าโค  พ.ศ.๒๕๕๔ ได้รับเกียรติบัตรจาก เทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยา


หน้า ๔

 พ.ศ.๒๕๕๕ ได้รับเกียรติบัตรจาก โรงเรียนเทศบาลวัดป่าโค  พ.ศ.๒๕๕๕ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณจาก โรงเรียนเทศบาลวัดป่าโค  นอกจากนี้ยังได้ถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญ ญาทางด้านการแทงหยวก ให้กับเยาวชน และกลุ่ม ชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง เพื่อใช้ประกอบอาชีพในฤดูที่ว่างจากการทานา

สถานที่ติดต่อ บ้านเลขที่ ๒๕/๓ หมู่ ๑ ตาบลบ้านเกาะ อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๗๓๖๘-๑๓๔๙


หน้า ๕

นายวินัย ยินดีวทิ ย์

สาขาศิลปกรรม ด้านศิลปะช่างฝีมือการตีมีด ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายวินัย ยินดีวิทย์ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๕๘ ปี ช่างตีเหล็ก , จาหน่ายผลิตภัณฑ์ฝีมือมีดอรัญญิก

ผลงานที่ปรากฏ  ผลงานที่ นายวินั ย ยินดีวิ ทย์ ได้ ผลิตตามภูมิปัญญาบรรพบุรุษ และคิดสร้ างสรรค์ขึ้นใหม่ แบ่งเป็น ๕ ประเภทดังนี้ - อุปกรณ์ใช้ในการเกษตร ได้แก่ จอบ เสียม เคียว มีดดายหญ้า มีดหวด ตะขอชักแบบ ต่างๆ กรรไกรตัดหญ้า ตัดกิ่ง มีดเล็กที่ใช้ตอนกิ่ง และมีดเหน็บที่ฟันตาข่ายได้เพราะ แข็งแกร่งมาก - อุปกรณ์ในครัวเรือน ตั้งแต่มีดสับกระดูก แล่ หั่น คว้าน แกะสลัก มากกว่า ๑๐๐ แบบ - ประเภทมีดเดินป่า มีดพก อาวุธประจากาย มีดสปาต้า มีหลายแบบ หลายขนาด พร้อมซองมีด ที่ผลิตจากหนังคุณภาพดี - มีดประดับ สวยงาม มีมากกว่า ๘๐ แบบ ใช้เทคนิคการตีทับให้เด่น ลวดลายสวยงาม ไม่เหมือนใคร - ผลิตภัณฑ์บนโต๊ะอาหาร ผลิตจากสแตนเลส มัน เงา แวววาว สะอาดตา  อาวุธแบบโบราณ นามาปรับเปลี่ยนขนาดและลวดลายประกอบตัวด้าม ตัวมีด ให้สวยงาม ใช้เป็นเครื่องประดับผนังห้อง บ้านเรือน อาคาร สถานที่ ห้องทางาน เพื่อเพิ่มอานาจบารมี ให้เจ้าของพร้อมกับร่วมมีดกับเพื่อนผลิตงานโอท็อปจากไม้สักทอง เปลือกหอยมุ ก อัญมณี ลงรั ก ปิ ด ทอง มาประกอบตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ มี เ อกลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น เป็ น การเพิ่ ม คุ ณ ค่ า ให้ ผลิตภัณฑ์แบบเดิมๆน่าสนใจมากขึ้น  อาวุธต่างชาติทั้งในเอเชียหรือยุโรป เช่น กระบี่ กริช ดาบซามูไร ไม้เท้าซ่อนดาบไว้ภายใน หรือมีดพกเล็กๆ ประดับมวยผม ก็นามาย่อส่วน แล้วจัดเข้าชุด เข้าชั้นลดหลั่นกันใช้เป็นของ ประดับอาคารบ้านเรือนได้ดีขึ้น


หน้า ๖

 ประเภทมีดเดินป่า มีดพกพา มีดสปาต้า และมีดสั้น ใช้เป็นอาวุธประจากายของนักเรียนนาย ร้อย กองทัพบก ก็เป็นผลผลิตจากมันสมอง สองมือของนายวินัย ยินดีวิทย์ เป็นที่กล่าวขวั ญ ชื่นชมกันมาก ว่าเป็นสินค้ายอดนิยม  มีดประจาห้องอาหาร ซึ่งเรียกว่า มีดเชฟ หรื อมีดชุด อเนกประสงค์ ถือว่ าเป็นผลิตภัณ ฑ์ รูปแบบสมัยใหม่ฝีมือช่างทาได้อย่างลงตัว เลือก รับ ปรับ เปลี่ยน มาใช้สแตนเลส ไม่เป็นสนิม ผลิตที่ลับมีดแบบใหม่ ไม่ต้องใช้หินลับมีดแบบเดิมๆใช้ประกอบอาหารสมัยใหม่ได้อย่างดีผ ลิต มาพร้อมๆกับที่เก็บมีดเป็นชุดสวยงาม  กรรไกรตัดหญ้าที่ใช้ได้ง่ายๆ แต่แข็งแรงกว่ากรรไกรสาเร็จรูปจากโรงงานซึ่งไม่ทนทานนัก  ผลิตภัณฑ์บนโต๊ะอาหารที่ผลิตจากสแตนเลสคุณภาพดีจากยุโรปเพราะคุณสมบัติดีกว่าของ ประเทศจีน นามาสร้างให้เป็นของใช้ที่สวยหรู ดูมีคุณค่า เช่น ช้อน,ส้อม แบบ,ขนาด ต่างๆ จานอาหาร แก้วน้า เหยือก ที่วางแก้ว วางขวด ภาชนะใส่เครื่องปรุงอาหาร มีดตัด สเต็ก ทุก ชิ้นเป็นหัตถกรรม ไม่ใช้เครื่องจักร แม้ว่าราคาจะสูงแต่ลูกค้าชื่นชอบและมียอดสั่งสูงเสมอ  ได้รับเชิญไปจัดแสดงผลิตภัณฑ์และสาธิตการตีมีดของครูเตาและช่างที่ประเทศญี่ปุ่นและ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในปีพ.ศ.๒๕๕๐ และพ.ศ.๒๕๕๑  ได้รับเชิญเข้าร่วมงานจัดแสดงผลิตภัณฑ์ OTOP ที่จัดโดยรัฐบาลเป็นประจาทุกปีตั้ง แต่ปี พ.ศ.๒๕๔๕ จนถึงปัจจุบันซึ่งได้จัดคณะช่างตีมีดและครูเตาไปร่วมสาธิตทุกปีเสมอมา  ได้รับเชิญให้ออกรายการโทรทัศน์หลายช่อง ทั้งที่รับเชิญเป็นการเฉพาะในรายการสด และ ออกรายการข่าวของแต่ละสถานีติดต่อกัน นับแต่เริ่มมีการยกให้การทามีดเป็นสินค้า OTOP มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น เช่ น รายการมื อ อาชี พ ของสถานี โ ทรทั ศ น์ ช่ อ ง๕ , รายการขวั ญ ข้ า ว ขวัญแผ่นดิน ของสถานีไทยทีวีสีช่อง ๙ เป็นต้น  เผยแพร่ผลงานในระดับท้องถิ่นนอกจากการไปสาธิตและให้ความรู้แก่โรงเรียนในชุมชนแล้ว ยังได้จัดกิจกรรมงานลาวเวียง ของอาเภอนครหลวง ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของผู้ประกอบอาชีพตี มีดส่วนใหญ่ ในแหล่งหัตถกรรมบ้านต้นโพธิ์ไผ่หนอง รวมทั้งครอบครัวนายวินัย ยินดีวิทย์ ด้วย งานดังกล่าวคืองานเปิดตานานมีดอรัญญิก ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ ๖-๘ มิถุนายน ๒๕๕๑ และ จัดต่อเนื่องเป็นประจาทุกปีต่อมาถึงปัจจุบัน ซึ่งนายวินัย ยินดีวิทย์ เป็นแกนนาในการอนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีไหว้ครูบูชาเตาของช่างตีมีดเชื้อสายชาวลาวเวียงมาแต่ต้น จึงได้ร่วมเป็น หัวแรงสาคัญในการจัดงานดังกล่าวเพื่อเผยแพร่ประวัติและพัฒนาการอาชีพช่างทาทองและ ช่างตีมีดบ้านต้นโพธิ์ และบ้านไผ่หนอง วัฒนธรรมประเพณีวิถีชีวิตชาวลาวเวียง ประเพณีไหว้ ครูบูชาเตาและการสาธิตของครูเตาและช่างตีมีด”อรัญญิก” ของบ้านต้นโพธิ์ บ้านไผ่หนอง


หน้า ๗

 นายวิ นั ย ยิ น ดีวิ ทย์ ได้ ถ่า ยทอดภูมิ ปัญ ญา”ช่า งตีมี ด” ให้ แ ก่น ายมนตรี ยิ นดี วิท ย์ และ นางสาววัลลี ยินดีวิทย์ ซึ่งเป็นทายาทโดยสายโลหิต รวมถึงการถ่ายทอดแก่บุคคลในชุมชน เพื่ออนุรักษ์ชุมชนตีมีดให้มีการสืบทอดต่อไป

สถานที่ติดต่อ สถานที่ท างานกลุ่ มตี มืดอรั ญญิก (บ้ านนายวิ นัย ) บ้ านเลขที่ ๑๖๒/๓ หมู่ที่ ๗ ต าบลท่ าช้ าง อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ ๑๓๒๖๐ โทรศัพท์ ๐-๓๕๗๖-๑๒๖๙ , ๐๘-๐๖๖๓-๘๘๙๕


หน้า ๘

นางสาวประสงค์ อุ่นเดช

สาขาภาษาและวรรณกรรม

ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นางสาวประสงค์ อุ่นเดช ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๘๓ อาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๗๓ ปี ข้าราชการบานาญ

ผลงานที่ปรากฏ  บทอาเศียรวาท เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ครบ ๖๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๙ และ พระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐  บทอาเศี ย รวาทราชสดุ ดี ลงหนั ง สื อ อนุ ส รณ์ วิ ท ยาเขตพระนครศรี อ ยุ ธ ยา ของสถาบั น เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี  บทกลอนถวายพระพร เนื่ อ งในวโรกาสวั น เฉลิ ม พระชนม์ พ รรษา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้ง พระบรมวงศานุวงศ์ พระราชวงศ์องค์อื่น ๆ ทางโทรทัศน์ ในนาม บริษัท RS. โปรโมชั่นจากัด (มหาชน)  คณะกรรมการโครงการสืบสานนาฏศิลป์ไทยภาคกลาง ประพันธ์ บทการแสดงชุดเบญจชนนี ศรีสุวรรณภูมิ ๔ ตอนคือ - บทเสภาเกริ่นความเป็นมาของ ๕ แม่ - บทการแสดงของแต่ละแม่คือ แม่เมขลา แม่ธรณี แม่คงคา แม่โพสพ และแม่สุรัสวดี - บทรวม ๕ แม่ เน้นแบบอย่างของแต่ละแม่ให้โยงเข้ากับสุวรรณภูมิ - บทเสภาสรุปความสาคัญของ ๕ แม่ที่มีต่อประเทศไทย  สุนทรพจน์ เปิดการแสดงแสง-เสียง และบทเห่เรือ ในงานยอยศยิ่งฟ้า อยุธยามรดกโลก  บทกลอนเทิดทูนมหากวีสี่แผ่นดิน  บทกลอนดอกสร้อย ข้อคิด ๔ มีคุณค่า  บทสักวา - เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนทาเสน่ห์พระไวย - เรื่องเสือโคคาฉันท์ ตอนชิงนางจันท์สุดา - เรื่องสังข์ทอง ตอนตีคลี - เรื่องสังข์ทอง ตอนเลือกคู่ - เรื่องวิถีชีวิตไทยในเรือนแพ


หน้า ๙

 เพลงเกี่ยวข้าว เพลงฉ่อย เพลงพวงมาลัย ลาตัด บทสดุดี บทการแสดง และนิราศ - เพลงเกี่ยวข้าว ประกอบขบวน “อู่ข้าว-อู่น้า” - เพลงฉ่อย “ถ้อยคาจากความทรงจาของเด็กกระต๊อบ” - บทสดุดีพี่นักกลอน - นิราศสิชล - บทการแสดงลิเกประยุกต์ ผสมเพลงเกี่ยวข้าว - เพลงฉ่อย แสดง ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร - เพลงพวงมาลัย แสดงในงานเกษียณอายุราชการของอดีตผู้อานวยการ - บทลาตัด ต้อนรับคณะอาจารย์จากวิทยาเขตต่าง ๆ  บทอวยพร - เพลง “วาสุกรีอวยพร” - ขอส่งความสุขในวันปีใหม่ - บทอวยพรมุทิตาจิตแก่ผู้เกษียณอายุราชการ  บทกลอนไว้อาลัย  บทเพลง - เพลง “มาร์ชสุวรรณภูมิ” - เพลง “มาร์ชสิบสองสถาบัน” เกี่ยวกับสถาบันเทคโนโลยี ในพระนครศรีอยุธยา  บทประพันธ์อื่น ๆ - ตุลามหาโหด - อุทกภัยไม่ปราณีปีห้าสาม - ร่วมกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมสี่จังหวัด - กุฎีลายสายสัมพันธ์ - ส.ฝ.ตามตานานผ่านอักษรา

สถานที่ติดต่อ บ้านเลขที่ ๓๓/๘ หมู่ ๒ ตาบลประตูชัย อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๑๗๕-๒๔๙๗


หน้า ๑๐

นายดุลย์พชิ ัย โกมลวานิช สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายดุลพิชัย โกมลวานิช ๑ พฤษภาคม ๒๔๙๗ อาเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๕๙ ปี นักวิชาการอิสระด้านศิลปวัฒนธรรม และการออกแบบ

ผลงานที่ปรากฏ  การถวายงานแก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - พ.ศ. ๒๕๔๖ ถวายการบรรยาย เรื่อง งานหัตถกรรมชนเผ่า - พ.ศ. ๒๕๔๗ ถวายการบรรยาย เรื่ อง ความหลากหลายทางชี วภาพและต้ นทุ น วัฒนธรรมแม่ฮ่องสอน  การถวายงานแก่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ - พ.ศ. ๒๕๔๑ ถวายบรรยายแก่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ในการเสด็จพระราช ดาเนินทอดพระเนตรนิ ทรรศการ “วิ ทยาศาสตร์ในภู มิปั ญ ญาไทย” ณ องค์ การ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)  การถวายงานแก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ - พ.ศ. ๒๕๔๑ ถวายการบรรยายแก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และบรรยายแก่ คณะนั ก เรี ย นนายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า จ านวน ๑๐๐ คน ในนิ ท รรศการ “วิ ท ยาศาสตร์ ในภู มิ ปั ญ ญาไทย” ณ องค์ ก ารพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วิ ทยาศาสตร์ แ ห่ ง ชาติ (อพวช.)  งานและการบรรยายงานด้านวัฒนธรรม - พ.ศ.๒๕๓๐ ได้ รั บเชิ ญ จากมู ลนิ ธิ JICA แลรั ฐบาลญี่ ปุ่ น เป็ นผู้ เชี่ ยวชาญด้ านการ ออกแบบนิทรรศการ และพิพิธภัณฑ์ฝ่ายไทย และร่วมทีมงานนักออกแบบนานาชาติ ในนิทรรศการศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา (Ayutthaya Historical Studies Center) - พ.ศ.๒๕๓๑ ได้รับเชิญจากกองส่งเสริมหัตถกรรมไทย ให้ไปร่วมจัดนิทรรศการ แสดง ผลงานหัตถกรรมไทย ณ ประเทศฝรั่งเศส - ผู้ทรงคุณวุฒิการสรรหาผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม - ที่ปรึกษาคณะทางานในโครงการพระราชดาริ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอุทยานการศึกษารัชมังคลาภิเษก - วิทยากรด้านภูมิทัศน์ และผู้ทรงคุณวุฒิสานักงานสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ


หน้า ๑๑

- วิทยากรให้ความรู้ด้านนิทรรศการ กรมป่าไม้ - ที่ปรึกษาสมาคมส่งเสริม และพัฒนาหัตถกรรม (ASEAN Handicrafts Promotion And Development Association-AHPADA) - ที่ปรึกษาสภาหัตถกรรมโลก World Craft Council-WCC Asia-Pacific - เป็นคณะกรรมการตัดสินคัดเลือกผลงาน UNESCO Craft Prizes - กรรมการตัดสินคัดเลือก Seal Of Excellence AHPADA - กรรมการคัดเลือก โอท็อป ๕ ดาว กระทรวงพาณิชย์ - พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับเชิญจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และสานักนโยบายและแผน สิ่ ง แวดล้ อ ม กระทรวงทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล้ อ ม ก าหนดแผนงานและจั ด ท า พิพิธภัณฑ์การเสด็จประพาสต้นรัชกาลที่ ๕ และวิถีชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อทอดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสเถลิงถวัลยราชสมบัติ ๖๐ พรรษา ในปี พ .ศ. ๒๕๔๙ และ เฉลิ มพระชนพรรษาครบ ๘๐ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - พ.ศ. ๒๕๕๑ ร่ ว มเสวนากั บ ศาสตราจารย์ พิ เ ศษดร.ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม และ รองศาสตราจารย์ จิ ร าภรณ์ สุ ว รรณ วาจกกสิ กิ จ เรื่ อ ง “ การท านุ บ ารุ ง ศิลปวัฒนธรรม” ณ มหาวิทยาลัยสุขโขทัยธรรมมาธิราช จังหวัดนนทบุรี - พ.ศ. ๒๕๕๑ บรรยายพิเศษเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปวัฒนธรรมอยุธยากับ นนทบุ รี ” และแนะน าโครงการทุ่ ง ขวั ญ แหล่ ง วั ฒนธรรมพื้ นบ้ าน แก่ อธิ การบดี รองอธิการบดี คณะผู้บริหาร และคณาจารย์จานวน ๕๒ ท่าน ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมมาธิราช - พ.ศ. ๒๕๕๒ ออกแบบนิทรรศการและการบรรยายในการประชุม และWORKSHOP ของ UNESCO และสมาคมและพัฒนาหัตถกรรมอาเซียน “ Aspada” ว่าด้วยเรื่อง เครื่องจักรสานไทยและนานาชาติ ณ อยุธยาศึกษา เพื่อการออกแบบและพัฒนา เอกลักษณ์

สถานที่ติดต่อ บ้านเลขที่ ๔๕ หมู่ ๓ ตาบลปากท่ า อ าเภอท่าเรื อ จัง หวั ดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณี ย์ ๑๓๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๙๙๐-๖๐๙๙


หน้า ๑๒

นายชาตรี โสวรรณตระกูล

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายชาตรี โสวรรณตระกูล ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๐๕ อาเภอบางกอกน้อย จังหวัดกรุงเทพมหานคร ๕๒ ปี เกษตรกร , ศิลปินจิตรกรรม

ผลงานที่ปรากฏ  แหล่งเรียนรู้พันธุ์ทุเรียนโบราณ “สวนละอองฟ้า” โดยการพัฒนาทางด้านเกษตรกรรม ด้วย วิธีอ่อนน้อมต่อธรรมชาติ เพื่อรักษาความหลากหลายของสายพันธุ์ทุเรียนตามแบบโบราณ เป็นสวนที่สะอาด ปราศจากสารเคมี และปลอดการปนเปื้อน เป็นสวนที่แทบไม่เหลือแล้วใน ปัจจุบัน สวนละอองฟ้า ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนหลายแขนง เนื่องจากเป็นสวนที่ แตกต่า งจากสวนอื่ น และมีก ารนาเรื่อ งราวเผยแพร่ ต่อสาธารณชนอย่ างต่ อเนื่อง ทั้ ง สื่ อ โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ วารสารทางวิชาการ สื่อของรัฐ รวมไปถึง สื่อใหม่ทาง Face book เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดระยะเวลา ๑ ปีที่ผ่านมา และอาจนับได้ว่า เป็นสวนทุเรียนแบบ อินทรีย์ และสวนโบราณแห่งแรกที่คนจากเมืองใหญ่รู้จักและได้ยินเรื่องราว  การจัดการสวนทุเรียนแบบเก่าให้อยู่รอดได้อย่างเข้มแข็ง ท่ามกลางยุคสมัยที่เปลี่ยนไป โดย การนาเอาธรรมชาติมาเป็นครู นับเป็นการสร้าง “นวัตกรรมการบริหารจัดการ” ที่ประยุกต์ เอาวิถีไทย วิถีของชาวพุทธ และการเห็นความงามของธรรมชาติ มาใช้อย่างได้ผล เกิดเป็น บทเรียนการบริหารที่มีนักบริหารมาถอดบทเรียนไปใช้ได้จริง  โครงการความมั่นคงด้านอาหาร ที่เกิดจากแนวคิดสมัยใหม่ที่เน้นการปลดเปลื้องให้ผู้คนรับรู้ และก้าวพ้นจากระบบอุตสาหกรรมอาหารที่ไม่ปลอดภัย เพื่อให้มีทางเลือกในการรับประทาน อาหารที่ปลอดการปนเปื้อนจากสารเคมีในทุกขั้นตอน  ทาให้ “ศาสตร์แห่งทุเรียน” เป็นที่สนใจมากขึ้นในสังคมไทย นามาซึ่งการพัฒนาสายพันธุ์ ประจาท้องถิ่น  ริเริ่มการบริโภคทุเรียน และผลไม้อื่น ๆ (เช่นเดียวกับ กาแฟ ไวน์ หรือข้าว) โดยส่งเสริมให้ ผู้บริโภค เกิดรสนิยมส่วนตัวจากประสบการณ์ที่ไ ด้ทดลองหลากหลายในการรับประทาน ผลไม้ เพื่อหากลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ รสชาติ กลิ่นรสในคอ (Aftertaste) ที่ตนเองชอบ มิใช่ ชอบเพราะ “เขาว่า” และไม่มีให้เลือก เพราะระบบอุตสาหกรรมมักปฏิเสธความหลากหลาย


หน้า ๑๓

 พัฒนา “สวนละอองฟ้า ” ให้เป็นพื้นที่หลักในการศึกษา เพื่อสร้างฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่มี ความหลากหลายของทุเรียนในระดับ DNA โดยนักวิชาการด้านพฤกษศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย  รักษาร่องรอยของถิ่นอาศัยตามธรรมชาติดั้งเดิมของพื้นที่ จากการสารวจระยะสั้นของนัก พฤกษศาสตร์จากกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช พบว่าพื้นที่นี้มีร่องรอยของป่าดิบ แล้ง และป่าเบญจพรรณ และยังเป็นแหล่งที่มีการขยายของพันธุ์ไม้หายากบางชนิดด้วย  รางวัลดีเด่นของจังหวัดนครนายกด้านการอนุรักษ์  รางวัลผู้ให้การอนุรักษ์สายพันธุ์ทุเรียนและธรรมชาติ จังหวัดนครนายก พ.ศ.๒๕๕๔

สถานที่ติดต่อ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์ทุเรียนสวนละอองฟ้า ๑๑๑ หมู่ ๘ ตาบลเขาพระ อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก รหัสไปรษณีย์ ๒๖๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๗๔๙-๑๗๓๕, ๐๙-๕๗๙๑-๘๓๕๘


หน้า ๑๔

นางกัลยา มั่งคั่ง

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นางกัลยา มั่งคั่ง ๑ กันยายน ๒๔๐๔ อาเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ๕๒ ปี รับราชการครู

ผลงานที่ปรากฏ  บทเรียนสาเร็จรูปกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดแสดงในงานเบิกฟ้ามหกรรมการศึกษา นครนายก ๒๕๔๕ ระหว่างวันที่ ๒๔-๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ.องครักษ์ จ.นครนายก  เป็ น ผู้ เ สนอผลงานการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร ะบบดู แ ลช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นในสถานศึ ก ษา วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ณ ห้องประชุมศรีนคร โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อ.เมือง จ.นครนายก  เผยแพร่ผลงานในการจัดทาผลงานวิชาการ บทเรียนสาเร็จรูปเรื่อง “ชุด ชนิด และหน้าที่ ของคา” ให้กับโรงเรียนต่าง ๆ ในสังกัด ๑๐ โรงเรียน  เผยแพร่ผลงานในงาน “ยอดผลงาน ลานแลกเปลี่ยนงานวิชาการครูนครนายก” ระหว่างวันที่ ๑๗-๑๘ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงเรียนอนุบาลนครนายก อ.เมือง จ.นครนายก  เผยแพร่ผลงานในงาน “ยอดผลงาน ลานแลกเปลี่ยนงานวิชาการครูนครนายก” ครั้งที่ ๓ ระหว่างวันที่ ๑๖-๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ อาคารอเนกประสงค์วัดประสิทธิเวช อ.องครักษ์ จ.นครนายก  เผยแพร่ผลงานในงาน “ยอดผลงาน ลานแลกเปลี่ยนงานวิชาการครูนครนายก” ระหว่างวันที่ ๑๗-๑๘ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงเรียนอนุบาลนครนายก อ.เมือง จ.นครนายก  ถ่ายทอดความรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จานวนเฉลี่ยปีละ ๕๐ คน เป็นเวลา ๑๙ ปี และนอกจากนั้นยังถ่ายทอดความรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในวัน วิชาการกลุ่มโรงเรียน อ.ปากพลี วิชาการโรงเรียน วันภาษาไทย จานวนนักเรียน ๕๕๐ คน  พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับการคัดเลือกเป็นครูผู้สอนดีเด่น ระดับอาเภอปากพลี จ.นครนายก ระดับ มัธยมศึกษา  พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับการคัดเลือกเป็นครูแนะแนวดีเด่น ลาดับที่ ๓ ระดับจังหวัด จากสานักงาน การประถมศึกษาจังหวัดนครนายก


หน้า ๑๕

 พ.ศ.๒๕๔๐ ได้ รั บ รางวั ลรองชนะเลิ ศ อั น ดั บ ๒ ในการประกวดครู แ นะแนวดี เ ด่ น จาก สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครนายก  พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รั บการคั ดเลือ กเป็น ครู ผู้ส อนระดั บมั ธยมศึ กษาดี เ ด่น จากสานัก งานการ ประถมศึกษาจังหวัดนครนายก  พ.ศ.๒๕๔๔ ได้ รับ การคั ดเลือ กเป็น ครู ต้น แบบการปฏิรู ปกระบวนการเรี ยนรู้ จากส านั ก คณะกรรมการ การประถมศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.๒๕๔๕ ได้รับการคัดเลือกเป็นครูมืออาชีพ ระดับเข็มเงิน จากสานักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครนายก  พ.ศ.๒๕๔๘ ผ่านเกณฑ์การประเมินครูดีเด่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จากสานักงาน การประถมศึกษาจังหวัดนครนายก  พ.ศ.๒๕๕๒ ได้รับรางวัลครูดีเด่นสายผู้สอน ช่วงชั้นที่ ๓ จากสานักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครนายก  พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางวิชาการศึกษาดีเด่น จากคุรุสภา เขตพื้นที่การศึกษานครนายก นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้เยาวชน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาถิ่นเช่น ไทพวน และเรียนรู้ภาษาไทยผ่าน นิทาน เพลงพื้นบ้าน รวมทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้าประกวดเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาไทย จนได้รับรางวัล เป็นจานวนมาก

สถานที่ติดต่อ บ้านเลขที่ ข๑ ๑๓๗/๔๘ ซอยเฉลิมพระเกียรติ ๖ ถนนท่าข่อย ต าบลนครนายก อาเภอเมือง นครนายก จังหวัดนครนายก รหัสไปรษณีย์ ๒๖๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๒๔๖-๓๘๕๒ สถานที่ทางาน โรงเรียนวัดเกาะกา ตาบลท่าเรือ อาเภอปากพลี จังหวัดนครนายก รหัสไปรษณีย์ ๒๖๑๓๐


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๔๗ ๑. นายสาราญ เกิดผล ๒. นางโกสี กระจ่างโชติ ๓. นายพิมพ์ เกิดทรง ๔. นางสาวเพลินตา โมสกุล ๕. นายคเณษ พาลีขา ๖. นางรุ่งนภา ชาวเรือ ๗. นางสมหมาย มีศรีเรือง ๘. นายธนกฤต มีสมบัติ ๙. นายนรินทร์ ชูผลา ๑๐. นายประสาน เสถียรพันธ์ ๑๑. นายไพฑูรย์ ขาวมาลา ๑๒. พระพิพฒ ั น์วราภรณ์ (แวว กตสาโร) ๑๓. นายพจน์ พูลสัวสดิ์ ๑๔. นายปัญญา นาเพชร ๑๕ .นายสุธรรม ชาตะสิงห์

สาขาศิลปกรรม (การดนตรี) สาขาศิลปกรรม (การละคร) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ (งานผ้าและวัสดุต่างๆ) สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ (ศิลปะประดิษฐ์) สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ (ศิลปะประดิษฐ์) สาขากีฬาและนันทนาการ สาขากีฬาและนันทนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๒ ประจำปี ๒๕๔๘ ๑. นายสมจิตต์ สุขมะโน ๒. นายชลอ สุขีลักษณ์ ๓. นายจาเนียร บุญประกอบ ๔. นางทองเปลว ม่วงหวาน ๕. นายเฉลิม ไวปรีชี ๖. นายการีม พัฒนา ๗. นางอารมณ์ สุภาพเนตร ๘. นายโกศล ขาวสาลี ๙. พระครูประโชติธรรมวิจิตร (เพิ่ม อตตฺทีโป) ๑๐. นายผดุง สุวานิช ๑๑. นายบารุง อร่ามเรือง ๑๒. นายปรีชา ประสพผล ๑๓. นายสิทธิพงษ์ พงษ์สุข

สาขาศิลปกรรม (สาขาสถาปัตยกรรมไทย) สาขาศิลปกรรม (การดนตรี) สาขาศิลปกรรม (นาฏศิลป์) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขากีฬาและนันทนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๓ ประจำปี ๒๕๔๙ ๑. นายสวง ๒. นายสวัสดิ์

ศรีผ่อง สุนิมิตร

สาขาศิลปกรรม (การดนตรีและการแสดง) สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๔ ประจำปี ๒๕๕๐ ๑. นางจิระพันธุ์ พิมพ์พันธุ์ ๒. ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ๓. พระมหาเชิดชัย กตปุญฺโญ (อุดมสิทธิโชติ) ๔. นายสวัสดิ์ สุขีสาร ๕. นายไพศาล วงษ์ศิริ ๖. นายส้าง พรศรี ๗. นางจาลอง ภาคสัญไชย ๘ .ธีรพงศ์ ทับอินทร์ ๙. นางสาวธาริณี อมรธีรเวช

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาศิลปกรรม (ทัศนศิลป์) สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๕ ประจำปี ๒๕๕๑ ๑. พระปริยัติวิธานโกศล (เกณฑ์ ชวนปญฺโญ) ๒. นายชาลี เส้นขาว ๓. นายวิเชียร เกิดผล ๔. นายสุนทร แสงสุกใส ๕. นายจาลอง เอี่ยมละเอียด ๖. นายกมล บุญเขต ๗. นายวรากร มลฑาทิพย์ ๘. นางสาวเสาวรสกิจชล

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาศิลปกรรม (ดนตรีไทย) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาศิลปกรรม (นาฏศิลป์ไทย) สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๖ ประจำปี ๒๕๕๒ ๑. นายอรุณ พุ่มไสว ๒. นายสวย สิริปริญญา ๓. นางแก้วใจ บุญประกอบ ๔. นายพิพัฒน์ รื่นสาด ๕. รองศาสตราจารย์อมรา กล่าเจริญ ๖. นายพลกุล หอมยก ๗. นายลายทองเหรียญ มีพันธุ์ ๘. นายทวีศักดิ์ รักดนตรี ๙. นายวีระยุทธ ฤกษ์เกษม ๑๐. นางสาวสุภาพร สะอาด ๑๑. นายสมบัติ ปิ่นขยัน

สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (นาฏศิลป์ไทย) สาขาศิลปกรรม (ดนตรีไทย) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๓ ๑. พระครูสุทธิปัญญาโสภณ ๒. นางสมทรง พันธ์เจริญวรกุล ๓. นางเกลียว เสร็จกิจ ๔. นางศรีนวล ขาอาจ ๕. นายล้วน ดนตรี ๖. นายกาจัด ศิริ ๗. นายประวิทย์ อรรถวิเวก ๘. นายเฉลิม อภิวาท ๙. นายเจียม แก้วเจริญ

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาศิลปกรรม (คีตศิลป์ไทย) สาขาศิลปกรรม (คีตศิลป์ไทย) สาขาศิลปกรรม (ดนตรีไทย) สาขาศิลปกรรม (สถาปัตยกรรมไทย) สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๘ ประจำปี ๒๕๕๔ ๑. นางกิ่งแก้ว ชินะกุล ๒. นายวิสิทธิ์ กระจ่างวี ๓. นางระยอง แก้วสิทธิ์ ๔. นางอวยพร สัมมาพะธะ ๕. นายกิตติ สุภิสิงห์ ๖. นายสวาท พลายแก้ว ๗. พล.ร.อ.ปรีชา เตชรัตน์ ๘. นายสุจริต บัวพิมพ์ ๙. รศ.วนิช สุธารัตน์

สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๙ ประจำปี ๒๕๕๕ ๑. หม่อมหลวงพันธ์สวัสดิ์ ศุขสวัสดิ ๒. นางราพึง ชลพลัง ๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เรี่ยม ศรีทองเพชร ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินดา นัยผ่องศรี ๕. นางจันทนา ภู่เจริญ ๖. นายธาราวุฒิ จุลวงศ์ ๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีเวียง ไตรชิละสุนทร ๘. นางอนงค์นาฏ รัตน์ศิริจันทร์ ๙. นายณรงค์ คุ้มมณี ๑๐. พระครูสังฆรักษืปญ ั ญาพล ปญฺญาพโล ๑๑. หม่อมหลวงพงษ์สวัสดิ์ ศุขสวัสดิ ๑๒. นายพานิช ศรีงาม

สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


ทำเนียบบุคคล ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงกำรศึกษำ วัฒนธรรม และภูมิปัญญำไทย ที่ได้รับรำงวัล “บุษรำคัมมณีศรีรำชภัฏ” ครั้งที่ ๑๐ ประจำปี ๒๕๕๖ ๑. ดร.วิทยา ผิวผ่อง ๒. นายเลิศ เศรษฐสิทธิ์ ๓. นายพเยาว์ เข็มนาค ๔. นางสาวเฉลียว มีแสงเพชร ๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันทิพา มาลา ๖. นางอัมรา หันตรา ๗. นายจาลอง แย้มประดิษฐ์ ๘. ว่าที่ร้อยโท สมชาย แก้วเจริญ

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาศิลปกรรม (หัตถกรรมไม้สัก) สาขาศิลปกรรม (จิตรกรรม) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.