Jas 4/2555

Page 1



วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา

ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔/๒๕๕๕ ISSN 2229-1644

ภาพปก : เจาของ :

วัตถุประสงค :

ที่ปรึกษา :

บรรณาธิการบริหาร : ผูชวยบรรณาธิการบริหาร : บรรณาธิการ : ผูชวยบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

ออกแบบปกและรูปเลม : จํานวน : พิมพที่ :

ภาพถายฝพระหัตถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค ตําบลประตูชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑๔๐๗ เว็บไซต www.ayutthayastudies.aru.ac.th ๑. เพื่อใหบริการทางวิชาการแกสังคม ๒. เพื่อเผยแพรบทความทางวิชาการ และงานวิจัยทางดานประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นสูสาธารณชน ๓. เพื่อเผยแพรกิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษาสูสาธารณชน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา รองอธิการบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ดร.ชาญวิทย เกษตรศิริ อาจารยสาวิตรี สุวรรณสถิตย ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา อาจารยกันยารัตน โกมโลทก ดร.นริสานันท เดชสุระ ดร.พรเทพ รูแผน นายพัฑร แตงพันธ นางสาวณัฐฐิญา แกวแหวน นางสาวสายรุง กล่ําเพชร นางประภาพร แตงพันธ นางสาวศรีสุวรรณ ชวยโสภา นายอายุวัฒน คาผล นายพัฑร แตงพันธ ๕๐๐ เลม เทียนวัฒนาพริ้นทติ้ง ๑๖/๗ ถนนเดชาวุธ ตําบลหอรัตนไชย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑๕๗๘ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓๓๙๖

* ทัศนะในบทความและงานวิจัยตางๆ เปนของผูเขียน และผูใหสัมภาษณแตละทาน ไมถือเปนความรับผิดชอบแตอยางใดของสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


ภาพถายฝพระหัตถ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ภาพถายฝพระหัตถของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงพระกรุณาพระราชทาน ภาพถายฝพระหัตถ วัดไชยวัฒนาราม วัดพระราม วัดราชบูรณะ และบริเวณเชิงสะพานปรีดี-ธํารง ซึ่งทรงถายจาก เฮลิคอปเตอรพระที่นั่ง เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ เพื่อนํามาจัดแสดงในนิทรรศการภาพถาย “น้ํา+ใจ ๒๕๕๔” ณ ชัน้ ๙ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร ระหวางวันที่ ๘-๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ และระหวางวันที่ ๑๑-๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ อาคารศูนยการทองเที่ยวอยุธยา ศาลากลางหลังเกา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนสวนหนึ่ง ของงาน “เฉลิมฉลอง ๒ ทศวรรษ อยุธยามรดกโลก นครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา”


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

บทบรรณาธิการ มหาอุท กภัยที่ เกิดขึ้ นเมื่อปลายป ๒๕๕๔ ได สรางความเสียหายแกโ บราณสถานที่ มีความสําคั ญ ทางประวัติศาสตรในบริเวณอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา อีกทั้งยังไดสงผลกระทบตอวิถีการดําเนินชีวิต ของประชาชนชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในวงกวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งกับเยาวชนคนรุนใหมและประชาชน ต า งจั ง หวั ด ซึ่ ง ได อ พยพย า ยถิ่ น ฐานมาตั้ ง บ า นเรื อ นอยู ใ นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาโดยที่ ไ ม เ คยผ า น ประสบการณการเกิดอุทกภัยมากอน ถึงแมนวามหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นจะสรางความเสียหายตอโบราณสถานและสงผลกระทบตอวิถีชีวิต ของประชาชนชาวจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยามากเพี ย งใด แต ก็ ไ ด ใ ห บ ทเรี ย นครั้ ง สํ า คั ญ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง กั บ ชาวจัง หวัดพระนครศรีอยุธยาและชาวไทยทั้ง ประเทศไดเรียนรูวาพระนครศรีอยุธยาคือเมืองแหง สายน้ํ า อยางแทจริง อัน เนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตรที่มีแมน้ําสําคัญ ๔ สายไหลผาน ไดแก แมน้ําเจาพระยา แมน้ําปาสัก แมน้ําลพบุรี และแมน้ํานอย ดังนั้น นับแตอดีตกาลจวบจนถึง ปจจุบันเมืองพระนครศรีอยุธยา จึงเคยผานเหตุการณอุทกภัยมาหลายครั้งหลายครา จนกลาวไดวาสายน้ําไดกลายมาเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิต ชาวอยุธยา ทั้งในดานความมั่นคง การคา การเกษตร การประมง การปลูกสรางบานเรือน และประเพณีตางๆ ที่ลวนแตไดรับอิทธิพลมาจากสายน้ํานั่นเอง วารสารอยุธยาศึกษาฉบับนี้จึงมุงเนนการรวบรวม และถายทอดเหตุการณมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นกับ นครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาในฐานะเมืองมรดกโลก เมื่อปลายป ๒๕๕๔ รวมทั้งยังไดบอกเลาเรื่องราว ความรูตางๆ ในอดีตที่มีความเชื่อมโยงกับความเปนพระนครศรีอยุธยาเมืองแหงสายน้ําเมืองนี้ โดยมุงหวังให เยาวชนคนรุนใหม ตลอดจนชาวพระนครศรีอยุธยา ไดตระหนักถึงความสําคัญ และใหความรวมมือกันในการ ทํานุบํารุงโบราณสถานทางประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น ที่บรรพบุรุษชาวจังหวัด พระนครศรีอยุธยาไดสรางไวใหกับชนรุนหลัง และไดใชเปนบทเรียนในการปรับตัว และวิถีการดําเนินชีวิตให เขากับสภาพแวดลอมของเมืองพระนครศรีอยุธยาที่ไดขึ้นชื่อวาเปนเมืองแหงสายน้ํา เพื่อใหสามารถดํารงชีวิต อยูบนแผนดินแหงนี้ไดอยางมีความสุขและยั่งยืนตลอดไป หวังเปนอยางยิ่งวาวารสารอยุธยาศึกษาฉบับนี้จะไดมีสวนเสริมสรางความตระหนักและใหความรู เกี่ยวกับประวัติศาสตร ศิลปะ และวัฒนธรรมของเมืองอยุธยา ที่เชื่อมโยงกับเหตุการณมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้น กับนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา เมื่อปลายป ๒๕๕๔ แกผูที่สนใจนําไปประยุกตใชกับการดํารงชีวิต ในเมืองแหงสายน้ําได กองบรรณาธิการ วารสารอยุธยาศึกษา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

สารบัญ วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔ /๒๕๕๕

บทบรรณาธิการ

หมายเหตุมหาอุทกภัยพระนครศรีอยุธยา ๒๕๕๔ พัฑร์ แตงพันธ์

ชีวิต ประสบการณ์ การต่อสู้และแรงบันดาลใจ..ถึงมหาอุทกภัยอยุธยา ดร. ปฤษณา ชนะวรรษ

๑๕

มรดกโลกอยุธยากับมหาอุทกภัย ภัทรพงษ์ เก่าเงิน

๒๕

พระนครศรีอยุธยา และแม่น้าเจ้าพระยา: ภูมิวัฒนธรรม ว่าด้วยการตังถิ่นฐานบ้านเมือง สุรินทร์ ศรีสังข์งาม

๓๘

เพลงเรือ อมรา กล่าเจริญ

๔๔

นาม “พระนครศรีอยุธยา” มาจากไหน อย่างไร และท้าไม กาพล จาปาพันธ์

๔๙

ความสัมพันธ์สยามกับฝรั่งเศสหลังรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภูธร ภูมะธน

๕๖

คนไทยต้องเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อป้องกันชาติล่มสลาย อนันต์ รัตนภานุศร

๖๓

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕

๗๙


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

หมายเหตุมหาอุทกภัย * พระนครศรีอยุธยา ๒๕๕๔ พัฑร แตงพันธ ** 3

สภาพภูมิประเทศบริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนที่ราบลุมชุมทางแมน้ําหลายสาย ในอดีตจึงมีชวงเวลาหนึ่งที่เรียกวา “ฤดูน้ําหลาก” ที่ชาวอยุธยาสามารถปรับวิถีชีวิตใหเขากับ สภาพธรรมชาติไดเปนอยางดี จนเมื่อเทคโนโลยีทางวิศวกรรมเจริญกาวหนาขึ้น มีการสรางเขื่อน เพื่อควบคุมธรรมชาติใหเปนไปตามความตองการ มีผลทําใหฤดูกาลของน้ําเปลี่ยนไป สงผล กระทบถึงวิถีชีวิตของชาวเมืองใหตองแปรเปลี่ยนตามไปดวย ละทิ้งวิถีชีวิตที่เคยอิงอาศัยอยูกับ กระแสน้ํา ทําใหเมื่อเกิดน้ําทวมแตละครั้งกลายเปนวิกฤติภัย โดยเฉพาะมหาวิกฤติอุทกภัย ในป ๒๕๕๔ ที่ชาวอยุธยากลาวเปนเสียงเดียวกันวา เปนวิกฤติภัยที่หนักที่สุดเทาที่เคยประสบมา ชั่วชีวิต * บทความนี้เรียบเรียง และเขียนขึ้นจากประสบการณ คําบอกเลา และขอมูลขาวสารจากหนังสือ หนังสือพิมพ และสื่ออินเตอรเน็ต เพื่อบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับมหาวิกฤติอุทกภัยที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใน พ.ศ.๒๕๕๔ ไวเปนความทรงจํารวมกันของชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ** นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

มหาอุทกภัย ในป ๒๕๕๔ เปนผลสืบเนื่อง มาจากอิทธิ พลของพายุ หลายลูก ที่เ กิดขึ้น ในชว ง กลางป ประกอบดวย พายุโซนรอนไหหมา (Haima) ในทะเล จีน ใต ต อนบน มี ผ ลกระทบทํ า ให ภ าคเหนื อ และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย มีฝนเพิ่มขึ้นในชวงปลายเดือนมิถุนายน ตามดวยพายุโซนรอนนกเตน กอตัวขึ้น ทางตะวันออกของฟลิปปนส และคอยๆ เคลื่อนตัว เขาสูประเทศไทยในชว งปลายเดือนกรกฎาคม สิ ง หาคม ทํ า ให เ กื อ บทุ ก ภาคของประเทศไทย มีฝนตกหนัก ในช ว งปลายเดื อ นกั น ยายน - ตุ ล าคม มีพายุโซนรอนไหถาง (Haitang) และพายุไตฝุน เนสาด (Nesat) เคลื่ อ นตั ว เข า สู ป ระเทศไทย ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ และ ตามมาดวยพายุโซนรอนนาลแก ในชวงตน เดือน ตุลาคม ทําใหทั่วทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกชุก และมี ฝ นตกหนั ก โดยเฉพาะบริ เ วณภาคเหนื อ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ส ง ผลให ร ะดั บ น้ํ า ในเขื่ อ นภู มิ พ ลและเขื่ อ นต า งๆ มี ป ริ ม าณมาก โดยเขื่อ นภูมิพล มีปริม าณน้ํามากถึง รอ ยละ ๙๓ สวนเขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ํารอยละ ๙๙ เขื่อนแควนอย มีปริมาณน้ํารอยละ ๙๔ และเขื่อนปาสัก มีปริมาณน้ํา รอยละ ๑๓๖ เปนตน เขื่อนเหลานี้จึง จําเปน ตอง ระบายน้ําลงสูแมน้ําสายตางๆ ซึ่งในที่สุดก็ไหลมา บรรจบกั น ที่ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา อั น เป น ชุ ม ทาง สายน้ําแหงภาคกลาง แลวคอยไหลลงสูอาวไทย หนวยงานตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงไดเตรียมการรับมือน้ําทวมไวลวงหนาหลายเดือน แตน้ําที่มีปริมาณมหาศาลไดลนตลิ่ง เขาทวมพื้นที่ ในอําเภอตางๆ ของจังหวัดตั้งแตในชวงเดือนสิงหาคม โดยน้ําจากแมน้ํานอยมีปริมาณสูง ขึ้น จนเขาทวม ตลาดบ านแพน อํา เภอเสนา ต อมาในชว งเดื อ น กั น ยายน ก็ เ ริ่ ม ท ว มพื้ น ที่ ใ นอํ า เภอบางปะหั น อําเภอบางบาล อําเภอผักไห โดยสถานการณน้ําทวม ยิ่งทวีหนักขึ้น จนทําใหประชาชนในพื้นที่อําเภอเสนา ถูก ตัด ขาดจากโลกภายนอก และเริ่ม เข าสู ภาวะ

ขาดแคลนอาหาร แต ก็ ยั ง มี ห น ว ยงานภาครั ฐ นําถุงยังชีพมาแจกใหเปนระยะๆ เทศบาลเมืองเสนา ตองสรางสะพานไมยาวกวา ๒ กิโลเมตร เชื่อมไปยัง ซอยต า งๆ ในตลาดบ า นแพน เพื่ อ ให ป ระชาชน สามารถสัญจรไป-มาไดสะดวก ในช ว งเดื อ นกั น ยายน ระดั บ น้ํ า สู ง ขึ้ น จนทวมผิวการจราจรถนนสายตางๆ ในอําเภอผักไห จนแขวงการทางตองปดเสนทางการจราจร โดยใหเลี่ยง ไปใชเสนทางสายอื่นแทน สําหรับ ที่เ กาะเมือ งพระนครศรี อยุ ธยา อันเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ การปกครองของ จัง หวัด และเปนนครประวัติศาสตรมรดกโลกนั้น เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ไดทําแนวคันดิน และกระสอบทราย เพื่อปองกันน้ําลนตลิ่งทางดาน ตะวั น ตกของเกาะเมื อ ง (ด า นเจดี ย สุ ริ โ ยทั ย ) เปนแนวยาวกวา ๒ กิโลเมตรไปตลอดถนนอูทอง โดยมี เ จ า หน า ที่ ข องเทศบาลคอยเฝ า ระวั ง สถานการณอยางใกลชิด ในขณะที่เทศบาลเมืองอโยธยา ไดดําเนินการ กอสรางระบบปองกันน้ําทวม ๒ จุด ตามแบบแปลน ของ สํ า นั ก โ ยธ าธิ ก าร และผั ง เมื อง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา คื อ ที่ ป ากคลองบ า นบาตร บริเวณทางรถไฟวัดพิชัยสงคราม และที่คลองบานมา บริ เ วณสะพานวั ด ดุ สิ ต าราม ทํ า ให ยั ง สามารถ ปองกันน้ําทวมในเขตเทศบาลไดหลายชุมชน ส ว นกรมศิ ล ปากรก็ ไ ด ทํ า พนั ง ป อ งกั น น้ํ า ท ว มโบราณสถานสํ า คั ญ ที่ อ ยู ริ ม แม น้ํ า อาทิ วัดไชยวัฒนาราม ปอมเพชร และหมูบานโปรตุเกส ในชวงตนเดือนตุลาคม ระดับน้ําในแมน้ํา เจ า พระยามี ป ริ ม าณเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง เนื่องจากมวลน้ําจากจังหวัดลพบุรี และจากพื้นที่อื่น ไหลมาสมทบที่จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเปน ชุมทางน้ํา ทําใหทางจังหวัดฯ รวมกับเทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยา และชลประทานจังหวัด ไดมีมติ ในที่ประชุม ใหเสริมแนวคันกั้นน้ําตลอดริมถนนอูทอง รอบเกาะเมื อ งเพิ่ ม ขึ้ น อี ก ประมาณ ๑ เมตร จากของเดิม ทวาในวันที่ ๒ ตุลาคม น้ําจากแมน้ําปาสัก มีระดับสูงขึ้น จนเออลนเขาทวมตลาดหัวรอ ที่ตั้ง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อยู น อกคั น กั้ น น้ํ า ของเทศบาลทางด า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของเกาะเมื อ ง ในวั น ที่ ๓ ตุลาคม ระดับน้ําที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทําใหเกิด มวลน้ํามหาศาล ทลายแนวกระสอบทรายบริเวณ ดานหนาปอมเพชร ระยะทางประมาณเกือบ ๑๐๐ เมตร น้ําจํานวนมากจึงไหลเขาทวมโบราณสถานปอมเพชร กรมศิลปากรตองระดมกําลัง เสริมกระสอบทราย และสู บ น้ํ า ออก เพื่ อ รั ก ษาโบราณสถานอย า ง รีบดวน

กรมศิลปากรระดมคนงาน กรอกกระสอบทราย ปองกันน้ําทวมโบราณสถานปอมเพชร

วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔: เขาสูสัปดาหวิกฤติ

ก อ น รุ ง ส า ง ข อ ง วั น ที่ ๔ ตุ ล า ค ม แนวกําแพงปองกันน้ําทวมที่ดานทิศตะวันตกเฉียงใต ของโบราณสถานวั ด ไชยวั ฒ นาราม ไม ส ามารถ ตานทานพลังของมวลน้ําได จึงพังทลายลง ทําให น้ําทะลักเขาทวมบริเวณวัดไชยวัฒนารามอยางรวดเร็ว จนมีระดับน้ําสูงประมาณ ๒ เมตร และยังเปนเหตุให

น้ําไหลขามถนนสายบานปอ มเขา ทวมบา นเรือ น ประชาชนที่อยูอีกดานหนึ่ง ของวัดไชยวัฒนาราม ทําใหชาวบานตองเรง อพยพสิ่ง ของหนี น้ํา โดยมี กําลังทหารจากจังหวัดทหารบกสระบุรี นํารถทหาร (ยีเอ็มซี) เขามารับชาวบาน และชวยขนสิ่งของออกมา แม ว า ทางจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และกรมศิลปากร จะมีความพยายามกูวัดไชยวัฒนาราม ดว ยการซ อมแซมคั น กั้ นน้ํ า และสู บน้ํ า ออกจาก โบราณสถานแล ว ก็ ต าม แต เ นื่ อ งจากระดั บ น้ํ า เพิ่มสูง ขึ้นอย างตอเนื่อง เจาหนาที่จึ ง ไมสามารถ ปฏิบัติงานตามแผนงานได ในขณะที่โบราณสถาน หมู บ า นโปรตุ เ กส ที่ ตั้ ง อยู ริ ม แม น้ํ า เจ า พระยา เริ่มถูกน้ําทวมพื้นที่ทั้งหมดเชนกัน วันเดียวกัน นั้น ระดับน้ําในแมน้ําลพบุรี สูงขึ้น จนไหลเขาทวมถนนสายหันตรา-บานเกาะ ชวงสวนเฉลิมพระเกียรติ ทุงหันตรา โดยเทศบาล เมื อ งอโยธยา พยายามที่ จ ะสร า งคั น ดิ น ป อ งกั น แตก็เกินความสามารถ นอกจากนั้นน้ํายังไดเออลน คันกั้นน้ําที่คลองบานมา บริเวณสะพานวัดดุสิตาราม น้ําไหลเขาไปในพื้นที่ตางๆ ของเทศบาลเมืองอโยธยา เขาทวมหมูบานการเคหะแหงชาติ ชาวบานตางขนยาย ข า วของหนี น้ํ า ขึ้ น มาอยู บ นที่ สู ง และบนถนน ขณะเดียวกันน้ํายังไดไหลเขาทวมถนนโรจนะและ ตลาดสี่แยกวัดพระญาติ ในชวงเย็นวันนั้น ระดับน้ํา ยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ตลอดทั้ง วัน มีกระแสขาวแพรสะพัดวา ทางจังหวัดไดแจงเตือนประชาชนทั้ง ๑๖ อําเภอ ใหอพยพออกไปจากพื้นที่ เพราะกําลังเกิดภาวะน้ําทวม ขึ้น อย างรุน แรง ส ง ผลให ประชาชนตื่น ตระหนก แตในที่สุดผูวาราชการจังหวัดฯ ไดออกมายืนยันวา สถานการณ ยั ง ไม รุ น แรงถึ ง ขั้ น ที่ จ ะต อ งอพยพ แตเ ตือนใหป ระชาชนระมั ดระวัง ความปลอดภั ย โดยทางจังหวัดฯ ไดมีการตั้งจุดพักพิงชั่วคราว และ ศู น ย ป ระสานงานช ว ยเหลื อ ผู ป ระสบภั ย อยู ที่ สนามกีฬากลางจังหวัด


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

น้ํ า เอ อ ล น คั น กั้ น น้ํ า ที่ ค ลองบ า นม า บริ เ วณ สะพานวัดดุสิตาราม ซึ่ง มีประชาชนในพื้นที่แวะเวียนมา เฝาสังเกตการณตลอดทั้งวัน

วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๔ เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ไดออก ประกาศเตือนประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่เทศบาล ใหอพยพออกจากพื้น ที่ตั้ง แตชวงบาย เนื่องจาก เกรงวา น้ําจากแมน้ํา ตางๆ จะเอ อลน พนัง กั้นน้ํ า เขามาในเกาะเมือง ซึ่งเทศบาลพระนครศรีอยุธยา ก็ไ ดตั้งศูนยปฏิบัติการชวยเหลือผูประสบอุทกภัย ติดตามสถานการณตลอด ๒๔ ชั่วโมง สว นทางดา นเทศบาลเมื องอโยธยานั้ น น้ําเริ่มไหลเขาทวมถนนโรจนะ ฝงขาเขาเกาะเมือง โดยระดั บ น้ํ า ได ท ว มสู ง เกื อ บถึ ง ครึ่ ง คั น รถยนต ซึ่ง มวลน้ํ า ดั ง กล า วได เ อ อ ล น มาจากบริ เ วณแยก วัดพระญาติ มาบรรจบกับกระแสน้ําที่ขามคันดิน ของเทศบาลเมื อ งอโยธยาที่ ท ว มบริ เ วณเจดี ย วั ด สามปลื้ ม ส ง ผลให ก ารจราจรเป น อั ม พาต มีเพียงรถขนาดใหญเทานั้นที่สามารถสัญจรผานไปได ขณะเดียวกันชาวบานตางนํากระสอบทรายมากั้น บริเวณหนาอาคารบานเรือน พรอมขนยายขาวของ ขึ้นที่สูง และในสวนของทางจังหวั ดพระนครศรีอยุธยา ไดจัดตั้ง ศูนยรองรับผูอพยพแหง ใหม โดยเปลี่ยน จากสนามกีฬาจังหวัด ไปตั้งบริเวณอาคารพาณิชย ริมถนนสายเอเชีย ฝงตรงขามศูนยราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา

วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๔ : อโยธยานาวานคร

วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ : อยุธยาวิกฤติ

น้ํ า ที่ เ อ อ ล น คั น กั้ น น้ํ า ที่ ค ลองบ า นม า บริเวณสะพานวัดดุสิตาราม ตั้งแตวันที่ ๔ ตุลาคม ปริม าณน้ํา เพิ่ มสู ง ขึ้ น อยางตอ เนื่ อง จนท วมที่ทํ า การเทศบาลเมืองอโยธยา ตลาดน้ําอโยธยา และยัง ขยายวงกว างเข า ท ว มชุ ม ชนวั ด พระญาติ ก าราม ชุมชนวัดกะสังข หมูบานเคหะชุมชน ถนนสายโรจนะ ฝ ง ขาออกจากเกาะเมื อ ง บริ เ วณวงเวี ย นเจดี ย วัดสามปลื้ม สูง ๕๐ ซม. ทําใหสามารถสัญจรไดเพียง ช อ งทางเดี ย ว โดยทางเทศบาลเมื อ งอโยธยา ไดระดมกําลัง เจาหน าที่เสริมคัน ดิ น วางตามแนว เพื่อปองกันไมใหน้ําเขาทวมตลาดแกรนด และวางแนว สะพานใหคนเดินเขาออกตามตรอกซอกซอยได

เวลา ๐๘.๐๐ น. กระแสน้ําได กัดเซาะ คั น ดิ น ป อ งกั น น้ํ า บริ เ วณวั ด เขี ย น ทํ า ให น้ํ า ไหล ทะลักเขามาในเกาะเมืองเปนระลอกแรก กอนที่ ทางเทศบาลจะสามารถซอมคันดินปองกันไวไดอีกครั้ง แตในเวลา ๑๕.๐๐ น. เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ได มี ป ระกาศแจ ง ว า คั น กั้ น น้ํ า ที่ เ ทศบาลทํ า ไว รอบเกาะเมือง ไม สามารถต านกระแสน้ําไดแล ว เนื่องจากมีน้ําลนในหลายจุด ทําใหน้ําเริ่มทะลักเขา ภายในเกาะเมืองอยางตอเนื่อง ประชาชนในละแวกเกาะเมือง นํารถยนต ขึ้ น ไปจอดพั ก ไว บ นสะพานนเรศวรฝ ง ขาออก จนแนนขนัด ไมสามารถใชสัญจรไดอีกตอไป และ ตลอดทั้ง วันประชาชนที่อาศัย และทํางานอยูใ น


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เกาะเมือ ง ต างก็ ทยอยออกจากเกาะเมือ งอย า ง โกลาหล ทําใหการจราจรบริเวณถนนปรีดีพนมยงคถนนโรจนะติดขัด โดยเฉพาะที่สะพานปรีดี-ธํารง และสะพานนเรศวรฝงขาเขาเกาะเมืองนั้น มีเพียง ชองทางสําหรับใหรถออกจากเกาะเมืองเทานั้น ผูวาราชการจังหวัดฯ จึงไดออกประกาศ แจ ง ทางโทรทั ศ น ใ ห ป ระชาชนในเกาะเมื อ ง เตรียมรับมือ เนื่องจากคาดการณวาน้ําจะเขาทวม เกาะเมืองในค่ําวันนั้น และก็เปนไปตามประกาศเตือน ของทางจังหวัด เมื่อคันดินบริเวณหนาวังจันทรเกษม ไดพังทลายลง เมื่อเวลา ๒๑.๐๐ น. กระแสน้ําได ทะลักเขาทวมเกาะเมืองอยางรวดเร็ว ประชาชนที่ ยั ง คงอยู ใ นเกาะเมื อ งต า ง ออกมาซื้ออาหาร และขาวของเครื่องใชที่จําเปน เตรี ย มกั ก ตุ น ไว ซึ่ ง ในค่ํ า วั น นั้ น ยั ง คงมี ร า นค า แผงลอยบางร า นขายอาหารอยู ที่ ต ลาดนั ด หน า องคการโทรศัพท ตลอดเวลามี ป ระชาชนแวะเวี ย นมา สัง เกตการณระดับน้ํ าในคลองมะขามเรียงที่เพิ่ ม ระดับสูงขึ้นอยางรวดเร็ว จนในที่สุดน้ําไดลนจากคลอง เขาทวมถนน เมื่อเวลา ๒๓.๐๐ น. ทําใหบานเรือน รานคาของประชาชน และสถานที่ราชการ ตลอดจน โบราณสถานที่ ตั้ ง อยู ใ นเกาะเมื อ งกลายเป น เมืองบาดาลโดยสมบูรณ

วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๔

ทุกพื้นที่ภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา มีแตความโกลาหล ประชาชนที่ยังคงรั้งอยูภายใน บริเวณเกาะเมืองหลายครอบครัวพยายามอพยพ ออกมา แตก็เปนไปอยางยากลําบาก เนื่องจากการ สัญจรโดยรถยนตเริ่มถูกตัดขาด แตกระนั้นก็ยัง มี ความชวยเหลืออยางแข็งขันจากกองทัพ ชวยลําเลียง ประชาชนออกจากเกาะเมืองตลอดเวลา อย า งไรก็ ต าม ยั ง มี ป ระชาชนอี ก เป น จํานวนมาก ไมยอมอพยพออกมาจากบา นเรือ น เนื่ อ งจากเป น ห ว งทรั พ ย สิ น ที่ อ าจถู ก มิ จ ฉาชี พ ลักขโมยในชวงที่ไมอยูบาน หนวยงานหลายภาคสวน ทั้ง ภาครัฐ และเอกชน จึง ไดระดมกําลัง เขาไปให

ความช ว ยเหลื อ ประชาชนในย า นตั ว เมื อ งอย า ง ตอเนื่อง ซึ่งการดําเนินการก็เปนไปอยางยากลําบาก เนื่องจากมีประชาชนจํานวนมากที่ไ มประสงคจะ อพยพออกจากบาน ประกอบกับการที่มีประชาชน นํารถยนตไปจอดปดพื้นผิวจราจรบนสะพานปรีดีฯ และสะพานนเรศวร จึง เปน อุ ปสรรคต อการเข า ชว ยเหลือ ทางจั ง หวั ดฯ จึ ง ตอ งออกประกาศให ประชาชนที่นํารถยนตไปจอดขวางชองการจราจร บนสะพานปรีดี-ธํารง และสะพานนเรศวร นํารถยนต ลงไปจอดยัง บริเวณอื่น เพื่ออํานวยความสะดวก ในการเขาไปชวยเหลือประชาชนในเกาะเมือง ประชาชนบางส ว นที่ ตั ด สิ น ใจอพยพ ออกจากเกาะเมือง บางครอบครัวไปอาศัยอยูกับ ญาติ ที่ จั ง หวั ด ต า งๆ บ า งก็ มาอาศั ย ที่ศู น ย พั ก พิ ง ชั่วคราวของทางจังหวัด ซึ่งเปนหองแถวฝงตรงขาม ศาลากลางจังหวัด ที่สามารถรองรับผูประสบภัยได ประมาณ ๓,๐๐๐ คน โดยมีการบริการรักษาพยาบาล รั ก ษาความปลอดภั ย มี อ าหาร และห อ งสุ ข า ไวอํานวยความสะดวกแกประชาชนที่ประสบภัย

วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔

รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงสาธารณสุ ข ระดมกําลังพลจากกองทัพ และหนวยกูภัยขนยายผูปวย จากโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา และประชาชน ที่ติดอยูในเกาะเมือง มาอยูที่ศูนยราชการจังหวัดฯ และศูนยอพยพชวยเหลือผูประสบภัยอยางตอเนื่อง

ตลอดชวงเวลาแหงวิกฤติอุทกภัย

เมื่ อ ผ า นพ น ช ว งสั ป ดาห วิ ก ฤติ ความ โกลาหลทั้งหลายก็ดูจะบรรเทาลง มิใชเปนเพราะ สถานการณ อุทกภัยเริ่ม ดีขึ้น แตอ ยา งใด หากแต เป น เพราะชาวอยุ ธ ยาเริ่ ม สามารถปรั บ ตั ว และ ยอมรั บ สถานการณ ไ ด แ ล ว ประกอบกั บ ได รั บ ความช ว ยเหลื อจากทุก ภาคส ว น ทั้ ง ภาครัฐ และ เอกชน ที่ ไ ด ใ ช พื้ น ที่ บ ริ เ วณหน า ศู น ย ร าชการ จัง หวัด พระนครศรี อ ยุธ ยา ตั้ ง เต็ น ทเ ป น สถานที่ จัดเตรียมอาหาร และขาวของเครื่องใช ยารักษาโรค เพื่ อ นํ า ไปแจกจ า ยแก ป ระชาชนผู ป ระสบภั ย


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ตามบ า นเรื อ นอย า งต อ เนื่ อ งเป น ประจํ า ทุ ก วั น โดยไดรับความสนับสนุนจากกองทัพ นํายานพาหนะ เขามาลําเลียงสิ่งของ รวมทั้งใหบริการรถโดยสาร แกประชาชน จากศูนยราชการจังหวัดฯ–ศูนยการคา อยุ ธยาพาร ค ไปยั ง บริ เวณเชิ ง สะพานปรี ดี -ธํ า รง เพื่อใหประชาชนสามารถเดินทางออกมารับความ ชวยเหลือ ที่ศู น ย ราชการ และจั บจ ายซื้อ สิน คา ที่ ศูนยการคาไดตลอดทั้งวัน ศูนยการคาอยุธยาพารค โลตัส และบิ๊กซี ได ทํ า หน า ที่ เ ป น ตลาดสิ น ค า ข า วของเครื่ อ งใช ที่จํ า เป น และยั ง ลดราคาสิ น ค า เป น พิ เ ศษ ให ไ ด จับจายใชสอยตลอดชวงเวลาวิกฤติ เชน อาหารสด ผักผลไม อาหารแหง น้ําดื่ม และเครื่องใชที่จําเปน เชน ถังน้ําขนาดใหญสําหรับกักเก็บน้ําสะอาดไวใช เนื่ องจากในห วงเวลานั้น สถานีจ ายน้ํา ประปาที่ อําเภอวัง นอยถูกน้ําทวม ทําใหน้ําไมไ หล จึง ตอง อาศัยรองน้ําจากรถบรรทุกน้ําของการประปา

ป ร ะ ช า ช น ที่ ม า จั บ จ า ย ซื้ อ สิ น ค า ที่ ห า งสรรพสิ น ค า มั ก นํ า รถเข็ น ของทางห า ง ที่ ใ ส สิ น ค า จนเต็ ม แล ว ยื ม เข็ น ออกไปจากห า ง ทําใหในชวงเวลานั้น สามารถพบเห็นรถเข็นของ หางสรรพสินคา กระจัดกระจายอยูตามทองถนน และชุ ม ชนต า งๆ จนกระทั่ ง รถเข็ น สิ น ค า ในห า ง ถึ ง กลั บ ขาดแคลน จนเป น เหตุ ใ ห ต อ งเรี ย กเก็ บ คืนกลับมา พื้นที่ที่น้ําไมทวม เชน หมูบานกรุงศรีซิตี้ (หลังศูนยการคาอยุธยาพารค) กลายเปนชุมชนที่มี ความคึกคั ก ผูคนจอแจ เนื่อ งจากมีพอ คา แมค า และประชาชนที่ อ พยพมาอาศั ย อยู กั บ ญาติ ในละแวกนี้เปนจํานวนมาก จึงมีตลาดขายของสด ขายผัก ขายเนื้อไก เนื้อหมู ขายอาหารปรุงสําเร็จ โดยเฉพาะเมนูปลาที่มีมากเปนพิเศษ

ประมวลภาพมหาอุทกภัยที่พระนครศรีอยุธยา โดย สถาบันอยุธยาศึกษา

เจาหนาที่ตํารวจและทหาร ลําเลียงถุงยังชีพ จากหนาศูนยราชการฯ ใสรถบรรทุกมุงหนาสูสะพานปรีด-ี ธํารง เพื่อถายใสเรือทองแบนไปแจกจายประชาชนในบริเวณตาง ๆ ของเกาะเมือง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เชิงสะพานปรีดี-ธํารง กลายเปนทาเรือรับจาง โดยสารผูค น และสิ่งของ ไปสงตามจุดตาง ๆ ในเกาะเมือง

ถนนปรีดีพนมยงคจากเชิงสะพานปรีดีฯ สู ศาลากลางจังหวัด หลังเดิม กลายเปนเสนทางคมนาคมทางน้ํา

บริเวณถนนอูทองจากเชิงสะพานปรีดีฯ สูตลาดเจาพรหม (๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๔)

บริเวณหนาโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ

โรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

บริเวณถนนปามะพราว (๒๗ ต.ค. ๒๕๕๔)

บริเวณตรอกบัวหวาน (๒๐ ต.ค. ๒๕๕๔)

ทีห่ ัวถนนตลาดเจาพรหมยังขายผักและของสดกลางน้ํา (๒๐ ต.ค. ๕๔)

ประชาชนลุยน้ํามาจับจายสินคาที่ศูนยการคาฯ

รานขายของสดมีอยูใหเห็นเปนระยะ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ในวิกฤตยังมีสุนทรียะ

ชวงที่น้ําจากคลองลํารางที่อยูดานหลั ง ศู น ย ก ารค า อยุ ธ ยาพาร ค เริ่ ม เอ อ ล น ข า มถนน ทางเข า ที่ ทํ า การองค ก ารบริ ห ารส ว นจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เขาทวมทุงกวาง จนกลายเปน ธารน้ําไหล ยิ่ง ในยามเย็น แลเห็น พระอาทิต ยต ก เมฆเป น สี ท องเหลื อ งอร า ม เป น บรรยากาศที่ สวยงาม ประชาชนในละแวกนั้ นจึง ถือโอกาสใช เปนสถานที่พักผอนยอนใจ พาลูกหลานมานั่งเลนน้ํา บางก็จับปลา กันอยางสนุกสนาน

สวนโรงเรียนสอนดนตรีแหงหนึ่งในเกาะเมือง พระนครศรีอยุธยาที่ถูกน้ําทวม ไดนําเครื่องดนตรี ออกมาแขวนลดราคา ขายอยูที่หนาราน นักดนตรี กลุมหนึ่ง ออกมาตั้ง วงเลน ดนตรี ที่หน ารานอยา ง ครื้นเครงราวกับเปนคอนเสิรตขนาดยอมๆ สะทอนถึง สุนทรียะของชาวอยุธยาที่มีแมในยามประสบภัย

สถานการณเริ่มดีขึ้น

ชวงวันที่ ๒๐ ตุลาคม สถานการณน้ําใน พื้น ที่จัง หวัดพระนครศรีอยุธยาเริ่มทรงตัว และมี แนวโน ม ลดลง โดยในเกาะเมื อ งน้ํ า ลดลง ๒-๓


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เซนติ เ มตร เป น สั ญ ญาณว า สถานการณ เ ริ่ ม จะ คลี่คลาย กระทั่งในวันที่ ๒๘ ตุลาคม ทางเทศบาล นครพระนครศรีอยุธยา ไดเริ่มนําเครื่องจักรขนาดใหญ เขาซอมแซมจุดที่น้ํากัดเซาะแนวกําแพงดิน โดยใช ทอระบายน้ําซีเมนตขนาดใหญตั้งเปนกําแพง และ เสริมดวยหินคลุก ตลอดแนวถนนอูทองรอบเกาะเมือง พระนครศรีอยุธยา แลวจึงติดตั้งเครื่องสูบน้ําขนาดใหญ เพื่ อ กู เ กาะเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยาให ก ลั บ คื น สู ภาวะปกติ

ความเสียหายจากอุทกภัย

จากการสํารวจพื้นที่ประสบภัยพิบัติของ ทางจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา พบว า มี ผู ไ ด รั บ ผลกระทบจากมหาวิ ก ฤตอุ ท กภั ย ครั้ ง นี้ ม ากถึ ง ๘๗,๕๓๔ ครั ว เรื อ น ๑๓๕,๗๐๐ คน และพื้ น ที่ การเกษตรกว า ๘ ล า นไร มี ศ าสนสถานได รั บ ผลกระทบรวมทั้ ง สิ้ น ๕๔๔ แห ง ประกอบด ว ย วัด ๔๗๒ แห ง มั ส ยิ ด ๔๙ แห ง โบสถ ๑๑ แห ง และศาลเจา ๑๒ แหง และมีโบราณสถานถูกน้ําทวม มากกว า ๑๓๐ แห ง บางแหง มีร อยปริ แยก เช น เจดี ย ท รงลั ง กาแปดเหลี่ ย มวั ด อโยธยา และที่ องคพระนอนวัดโลกยสุธาราม สวนโบราณสถาน ทั้ ง หลายในเกาะเมื อ งก็ ถู ก น้ํ า กั ด เซาะจนกร อ น อย า งเห็ น ได ชั ด นอกจากนี้ จิ ต รกรรมฝาผนั ง ในหลายๆ วัด ถูกน้ําทวมจนถึงระดับพื้ นผิวจิตรกรรม เชน วัดเชิงทา วัดชางใหญ และวัดประดูทรงธรรม เปนตน ในสวนผลกระทบดานการทองเที่ยวนั้น การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย ไดมีการประเมิน ความเสี ย หาย และรายได จ ากการท อ งเที่ ย ว ที่ ห ายไปในช ว งน้ํ า ท ว ม พบว า เฉพาะจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาเพียงจังหวัดเดียว มีการสูญเสีย รายไดจากการทองเที่ยว ๒ สวน คือ ธุรกิจทองเที่ยว ของผูประกอบการที่จะตองกลับมาซอมแซมและ ปรั บ ปรุ ง สภาพความเสี ย หาย ทั้ ง ตั ว อาคารให กลับมาเปนเหมือนเดิม อีกสวนหนึ่งคือ การสูญเสีย โอกาสรายได ใ นช ว งน้ํ า ท ว ม หายไปมากกว า ๖,๐๐๐ ลานบาท

ผลกระทบจากอุทกภัยครั้งนี้ ยังสงผลแก พนักงาน-ลูกจางของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม ตางๆ เนื่องจากหลายโรงงานตองปดกิจการ และ ประกาศเลิกจางพนักงานเปนจํานวนหลายพันคน

พฤศจิกายน : เดือนแหงการฟนฟูบูรณะ

ระดั บ น้ํ า ในแม น้ํ า สายต า งๆ ได ล ดลง อยางตอเนื่อง กระทั่งถนนหลายสายในเกาะเมือ ง พระนครศรีอยุธยา เริ่มกลับมาใชสัญจรไดอีกครั้ง ตั้งแตในชวงตนเดือนพฤศจิกายน เปนนิมิตหมาย แห ง การเริ่ ม ต น ฟ น ฟู บู ร ณะบ า นเมื อ ง ผู ค นเริ่ ม กลับเขามาเก็บกวาดบานเรือน และสถานที่ทํางาน ของตน เวลานั้น ถนนแตละสายเต็มไปดวยโคลน และขยะที่ลอยมาเมื่อครั้งน้ําทวม เมื่อน้ําลดลงจน ถนนแหง ก็กลายเปนฝุน ฟุง ไปทั่วทั้ง เมือง ตนไม บริ เ วณเกาะกลางถนนก็ ตายเหลื อ แต ซ ากแห ง ๆ สว นบ านเรื อน เสาไฟฟา รั้ วกํ าแพง ป ายจราจร และทุกแหงหนเต็มไปดวยรองรอยคราบน้ํา ทีแ่ สดงถึง ระดั บน้ํา เมื่อ ตอนที่ทว มสูง สุดเอาไวเป น อนุ สรณ วาอุทกภัยครั้งนี้แสนสาหัสเพียงใด ทางจัง หวัดพระนครศรีอยุธยาไดจัดทํ า แผนฟนฟูเยียวยาใหกับทุกภาคสวน เพื่อเสนอแก รัฐบาลพิจารณา โดยกําหนดแผนฟนฟูเปน ๓ ดาน ประกอบด ว ย โครงสร างพื้ น ฐาน โดยฟ น ฟู ด า น ถนน ไฟฟา ประปา สถานที่ราชการ โรงพยาบาล ชลประทาน และโบราณสถาน สวนดานเศรษฐกิจ คือ การฟนฟูนิคมอุตสาหกรรม SME และ OTOP การทองเที่ยว และการชําระหนี้ รวมถึงดานสังคม ได ฟ น ฟู สิ่ ง แวดล อ มบ า นเรื อ นประชาชน วั ด โรงเรี ย น การป อ งกั น อาชญากรรม และการ สงเสริมอาชีพ นอกจากงบประมาณฟนฟูจากทางราชการ ที่ เ ร ง ฟ น ฟู ถ นนหนทาง ถอนซากต น ไม แ ห ง จาก เกาะกลางถนน และทาสีขอบถนนขอบวงเวียนแลว ยังไดพลังกายและพลังน้ําใจจาก “จิตอาสา” ที่มาจาก ภาคเอกชน และนิสิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยตางๆ ทั้งในทองถิ่นและในกรุงเทพฯ ที่นําคณะเขามาแบงพื้นที่


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

รับผิดชอบดูแลเก็บกวาดบริเวณโดยรอบโบราณสถาน ตางๆ ทั้งในและรอบเกาะเมือง ในสวนของภาคเอกชน ก็มีบริษัทเอกชน หลายรายไดจัดกิจกรรมฟนฟูเมืองพระนครศรีอยุธยา พาจิตอาสามาทํากิจกรรมเก็บกวาดขยะตามถนน สายต าง ๆ ทาสี รั้ว สถานศึ ก ษา สถานที่ ราชการ อาทิ กิ จ กรรมที่ ก ารท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทย รวมกับภาคเอกชนจัดโครงการ “เที่ยวทําดีถวายพอ” เปนกิจกรรมคาราวานรถจํานวน ๘๔ คัน ประกอบดวย ผูประกอบการทองเที่ยว สื่อมวลชน นักทองเที่ยว จิตอาสา จํานวนประมาณ ๕๐๐ คน รวมเดินทาง มาทํ า กิ จ กรรม “บิ๊ ก คลี น นิ่ ง เดย ” ที่ จั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธยา ในวัน ที่ ๔ ธั น วาคม ๒๕๕๔ เปนตน ทางด า นการฟ น ฟู รั ก ษาโบราณสถาน อันเปนมรดกของชาติและของโลกนั้น ผูแทนจาก องค ก ารศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร แ ละวั ฒ นธรรมแห ง สหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก จากประเทศญี่ปุ น อิตาลี และฮอลแลนด รวมทั้งคณะอธิบดีกรมศิลปากร ไดลงพื้น ที่สํารวจความเสียหายของโบราณสถาน ตางๆ ในจั ง หวั ดพระนครศรีอยุ ธยา ในวัน ที่ ๓๐ พฤศจิ ก ายน โดยผู แ ทนขององค ก ารยู เ นสโก ได ส นั บ สนุ น งบประมาณเบื้ อ งต น จํ า นวนหนึ่ ง เพื่ อ ฟ น ฟู บู ร ณะโบราณสถาน นอกจากนั้ น กระทรวงวัฒ นธรรมยัง ไดเ สนองบประมาณจาก รัฐบาลในการบูรณะซอมแซมโบราณสถานที่ไดรับ ความเสียหายจากน้ําทวมดวย ในสว นของประชาชน ต า งออกมาเก็ บ กวาดบานเรือนและรานคา โดยนําขาวของเครื่องใช หรือสินคา ที่ถูกน้ําทวมเสียหาย เชน เสื้อผา ที่นอน ตู โตะ และเครื่องใชที่ทําจากไมอัดมากองทิ้งไว ที่ ริมถนน ทําใหถนนสายตางๆ ในเมือง เต็มไปดวย กองขยะจํานวนมาก เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จึงตองระดมกําลัง และรถขยะ ออกเก็บกวาดขยะ ทั่วทั้งเมืองอยางหนัก จนในที่สุดเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ที่เต็มไปดวยกองขยะ และฝุนก็คอยๆ ฟนตัวกลับมา สูภาวะปกติ เปนเมืองที่นาอยู และมีชีวิตชีวาดังเดิม

เมื่อน้ําเริ่มลด ประชาชนในพื้นที่ ตางออกมาทําความสะอาดบานเรือน

สภาพถนนสายตางๆ ในเกาะเมืองหลังน้ําลด เต็มไปดวยโคลน และกองขยะ

อูซอมรถจักรยานยนต เริ่มกลับมาเปดกิจการอีกครั้ง ตลอดทั้ง วันมีผูนํารถจักรยานยนตที่ไดรับความเสียหาย จากน้ําทวมมาเรียงคิวซอม ซึ่งก็มีจํานวนมากจนตองนํามา จอดรอการซอมบนทองถนนที่ยัง ไมมีการสัญจรมากนัก (ถายเมื่อ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔)


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

สงทาย

จากมหาวิ ก ฤตอุ ท กภั ย ครั้ ง นี้ ข า พเจ า ในฐานะผูเขีย น ผูสัง เกตการณ และผูประสบภั ย คนหนึ่ง ไดใชโอกาสนี้ เรียนรู และทําความเขาใจ สภาพสังคม วัฒนธรรม และสภาพภูมิศาสตรของเมือง ซึ่งเปนที่ราบลุม มีพื้นฐานความเสี่ยงตอการเกิดน้ําทวม แลวมองยอนกลับไปในประวัติศาสตร ทําใหเขาใจวา เหตุ ใ ดกรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยาจึ ง ถู กออกแบบให มีคู ค ลอง มากมายหลายสายเชื่อมโยงเปนเครือขาย และใชเรือ ที่ มี ห ลากหลายชนิ ด เป น พาหนะในการสั ญ จร พระราชวัง ศาสนสถาน และบานเรือนหันหนาออกสู ลําน้ํา บานเรือนราษฎรที่มีใตถุนยกสูงดังภาพเขียน สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่อยูอาศัยบางประเภทก็ลอยน้ํา ไดอยางเรือนแพ บางก็อาศัยอยูในเรือใหญ ขนสงสินคา และคาขายทางน้ํา สิ่งตางๆ เหลานี้ชวยสะทอนไดเปนอยางดีวา บรรพบุรุษของชาวอยุธยาไดพยายามเรียนรู และ ปรับตัวใหเขากับธรรมชาติ ในขณะที่คนรุนปจจุบัน พยายามจะควบคุมธรรมชาติใหเปนดังใจตองการ จนหลงลื ม วิ ถี ชี วิ ต “ชาวน้ํ า ” แบบที่ บ รรพบุ รุ ษ เคยเปนมา ซึ่งเมื่อใดที่ไมสามารถควบคุมธรรมชาติ ใหเปนไปตามที่ตองการได เมื่อนั้นการเกิดน้ําทวม แต ล ะครั้ ง จึ ง กลายเป น วิ ก ฤติ ภั ย อั น ใหญ ห ลวง ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ทุกป ผูเขียนไมไดมุงหวังที่จะกลับไปใชวิถีชีวิต แบบชาวน้ําอยางเต็มตัว หากแตยังมีความหวัง ว า คนรุ น เราจะสามารถเอาชนะธรรมชาติ ไดตอไป แตเมื่อในปจจุบันยังไมมีหลักประกันใดๆ ที่ มี ค วามน า เชื่ อ ถื อ เพี ย งพอจะรั บ รองได ว า จะไม เ กิ ด อุ ท กภั ย เหมื อ นเช น ใน ป ๒๕๕๔ อี ก ก็ค งจะต อ งกลั บ ไปทบทวน และพยายามปรั บ วิถีชีวิตใหสามารถอยูกั บ น้ําไดอ ยางบรรพบุรุ ษ ภายใต เ ทคโนโลยี ที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น เพื่ อ ให น้ํ า ท ว มแต ล ะครั้ ง ไม ใ ช อุ ท กภั ย แต เ ป น เพี ย ง ฤดูกาลหนึ่งเทานั้น


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ชีวิต ประสบการณ การตอสูและแรงบันดาลใจ.. ถึงมหาอุทกภัยอยุธยา ดร. ปฤษณา ชนะวรรษ * 3

บทความฉบับนี้กวาจะปรากฏแกสายตาผูอานก็ตอเมื่อวันเวลาของบันทึกแหงหนา ประวัติศาสตรอยุธยาพลิกผันไปแลวหลายหนา เหตุวาผูคนกําลังขะมักเขมนอยูกับการฟนฟู บานเมืองผานงบประมาณภาครัฐที่จัดเยี่ยวยาใหแตเรื่องราวในคราวน้ําทวมก็ยังผานหูผูคน เนื่องๆ แมวาจะไมเขมขน กดดัน...ดังเดิม วัน นี้ไ มมีเวลาที่จะนึกยอนมากนัก เพราะขาวคราวเรื่องราวของน้ําเปน ประเด็น ที่วิตกถึง รอบใหม กําลังถูกพูดถึงอยู ฉะนั้นบทความนี้จึงจะนําเสนอเรื่องราวของผูคนที่อยูในวงรอบฤดูกาลน้ําทวมที่หมุนเคลื่อน จากวาระอุทกภัยครั้งนั้น เพื่อการรองรับอุทกภัยครั้งใหม ที่ยังไมมีใครบอกไดวาจะมาหรือไมมา จะทวมหรือไมทวม เอาอยูหรือไมอยู และสุดทายจะรับมือกันอยางไรทั้งนี้เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน

* อาจารยคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

กอนจะพูดถึงการเรียนรูเพื่อเผชิญภาวะ น้ํา ทว ม ประเด็ น ที่ จะนํ าเสนอในบทความนี้มี ๕ ประเด็นสําคัญ ซึ่งผูเขียนจะไดนําเสนอไวเปนกรอบ โดยไดไลเรียงเนื้อหาดังนี้ ประเด็นแรก วิถีชีวิตของชาวอยุธยา ในยุคเกษตร อุตสาหกรรมจํายอม ประเด็นที่สอง พื้นเพและแงมุมของ บานเมืองยามสงบ และปลอดจากอุทกภัย ประเด็นที่สาม ปรากฏการณน้ําทวม และสภาวะปลาสําลักน้ํา ประเด็นที่สี่ น้ํามาปลากินหมด น้ําลด มดกินปลา ประเด็นที่ห า บทสรุป อัน เปนการ เรียนรูจากประสบการณ เพื่อสรางแรงบันดาลใจใน ฐานะที่เปนประชาชนเมืองน้ํา

ประเด็นแรก วิถีชีวิตของชาวอยุธยา ในยุคเกษตรอุตสาหกรรมจํายอม

สภาพทั่วไปของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยูบนที่ราบลุมในภาคกลางของประเทศ มีเนื้อที่ ประมาณ ๒,๕๕๖.๖๔ ตารางกิโลเมตร หางจาก กรุ ง เทพมหานครโดยทางรถยนต ประมาณ ๗๕ กิโลเมตร ทางรถไฟประมาณ ๗๒ กิโลเมตร และ ทางเรือประมาณ ๑๓๗ กิโลเมตร มีสภาพภูมิป ระเทศทั่ว ไปเปน ที่ราบลุ ม น้ําทวมถึง สวนใหญเปนทุงนา ไมมีภูเขา และปาไม มีแมน้ําสายหลักสําคัญไหลผาน ๔ สาย ประกอบดวย แมน้ําเจาพระยา แม น้ําปา สัก แม น้ําลพบุ รี และ แมน้ํานอ ย มีลําคลองใหญ นอยกวา ๘๖๐ สาย เชื่อมตอกับแมน้ําบริเวณพื้นที่ ประชากรสวนใหญ นับถือศาสนาพุทธ ประมาณ ๘๘% ศาสนาอิสลาม ๑๐% และอื่นๆ อีก ๒% จั ง หวั ด พระ นคร ศรี อ ยุ ธ ยาในอดี ต เคยทําการเกษตรปลูกขาว เปนอาชีพหลักมานาน นับร อยป ไดเปลี่ยนแปลงมาสูภ าคอุตสาหกรรม โดยตั้ง แต พ.ศ.๒๕๓๐ เปน ตน มา อุตสาหกรรม ได ข ยายตั ว อย า งรวดเร็ ว เพราะมี ก ารคมนาคม ที่สะดวก อยูไ มไ กลจากกรุง เทพมหานคร รวมทั้ง

รัฐบาลไดสงเสริมการลงทุนใหจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนเขตสงเสริมการลงทุนเขต ๒ มีโรงงานอุตสาหกรรม ในพื้นที่ จํานวน ๑,๒๕๔ แหง นิคมอุตสาหกรรม ๓ แหง ไดแก นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมบานหวา นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนคร สวนอุตสาหกรรมโรจนะ และเขตประกอบอุตสาหกรรมแฟคเตอรี่แลนด วังนอย ป จ จุ บั น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ไดเปลี่ ยนแปลงทั้ง ทางเศรษฐกิจและสัง คมอยา ง รวดเร็ว ซึ่งพัฒนาโดยการตั้ง โรงงานอุตสาหกรรม ขึ้ น ในพื้ น ที่ เ ป น จํ า นวนมาก ทํ า ให บ า นจั ด สรร บ า นพั ก อาศั ย อาคาร ร า นค า สิ่ ง ก อ สร า ง ฯลฯ เกิดขึ้นมากเปนเงาตามตัว มีผูทํางานและอพยพ เขามาอาศัยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพิ่มมากขึ้น อยางรวดเร็ว จังหวัดพระนครศรีอยุธยาประกอบกับ เปนจังหวัดที่เคยเปนเมืองหลวงเกาที่มีโบราณสถาน อั น ล้ํ า ค า มากมาย และยั ง ได รั บ การรั บ รองจาก องค ก รยู เ นสโกให เ ป น มรดกทางวั ฒ นธรรมด ว ย จึงมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางประเทศทั่วโลก เขามาทองเที่ยวเปนจํานวนมาก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เคยอยูอยางสงบถูกเปลี่ยนแปลงไปอยางสิ้นเชิง พื้น ที่จัง หวัดพระนครศรีอยุธยานั้นมีอยู ทั้งสิ้น ๑๖ อําเภอ โดยมีอําเภอพระนครศรีอยุธยา ( ห า ก เ ป น จั ง ห วั ด อื่ น คื อ อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ฯ ) เป น ศู น ย ก ลางการบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ของ จั ง หวั ด นี้ ที่ ตั้ ง ของอํ า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา เปนเกาะมีแมน้ําลอมรอบ และมีเสนทาง เขา-ออก สู อํ า เภออื่ น ๆ ได ส ะดวก โดยเฉพาะ ๔ อํ า เภอ อันไดแก อําเภออุทัย อําเภอบางปะอิน อําเภอบางไทร อําเภอวังนอย สามารถเดินทางติดตอไปมาระหวาง อํ า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยากั น ได ส ะดวกมาก เพราะเส น ทางการคมนาคมที่ ส ะดวกนี่ เ อง อําเภอบางปะอินที่มีขอบเขตพื้นที่ติดกับประตูน้ําพระอิ น ทร จึ ง ถู ก ความเจริญ ลุ ก ไล จ นกลายเป น พื้นที่ที่เบียดแนนไปดวยโรงงานอุตสาหกรรมที่ถูก ระบายออกมาจากเขตรั ง สิ ต และปทุ ม ธานี นอกจากนี้ โรงงานอุ ต สาหกรรมในเขตจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ยั ง โอบล อ มเข า ไปสู อํ า เภอบางไทร


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อําเภอเสนา ซึ่งทุกดานของอําเภอเหลานี้เชื่อมโยง ไปสูตะเข็บเขตแดนของอําเภอพระนครศรีอยุธยา เมื่อผนวกกับทางดานทิศเหนือ คือ อําเภอบางปะหัน อํ า เภอนครหลวง ที่ ถู ก ถนนสายเอเชี ย ตั ด ผ า น มีโรงงานอุตสาหกรรมเขามาอยูในพื้นที่การเกษตร ไปกว า ครึ่ ง ทํ า ให แ หล ง ผลิ ต ผลทางการเกษตร ถู ก รุ ก ไ ล ใ ห ก ล า ย เ ป น พื้ น ที่ อุ ต ส า ห ก ร ร ม นอกเหนือจากจังหวัดอื่นๆ ที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร เป น ชายทะเลแล ว ก็ ดู เ หมื อ น จะ มี จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยานี้แหละ ที่มิไดมีสวนใดสวนหนึ่ง ติ ด ทะเล แต ก ลั บ มี แ ม น้ํ า หลายสายไหลผ า น อัน เปน เสน ทางของแมน้ํ าที่จะลงสูทะเล รวมกั บ จัง หวัดนนทบุรีแ ละปทุมธานี ซึ่ ง คุณคาของพื้น ที่ ที่มีแมน้ําไหลผาน ทําใหลักษณะดิน เปนที่ราบลุม เหมาะแกการเพาะปลูก และมีชัยภูมิที่สมควรจะ ถูกเลือกใหเปนพื้นที่สรางผลผลิต อีกทั้งยังสามารถ ขนยายผลผลิตไปสูตลาดไดสะดวกอีกดวย นั บ ตั้ ง แต น โยบายของประเทศชาติ กํ า หนดที่ จ ะใช จั ง หวั ด ที่ พั ฒ นาเป น เขตพื้ น ที่ การลงทุ น ภาคอุ ต สาหกรรมด ว ยโครงสร า ง การบริหารราชการแบบรัฐราชการ การตัดสินใจ ในเรื่องตางๆ ของพื้นที่โดยใชขอกําหนด ขออางอิง ดานบริหารราชการ อํานาจ และประโยชนของรัฐ เปนที่ตั้งแลว ประชากรในพื้นที่ไดเพียงแตรับทราบ เรื่องราวการเปลี่ยนแปลงในเขตพื้นที่ของตนเอง โดยกลไกการบอกต อเป น เรื่ องเลา ผสมผสานกั บ ขาวลือในประเด็น การสรางถนน การพัฒนาพื้นที่ การเขามาของโรงงานในรูปแบบตางๆ กระแสที่ เกิดขึ้นกั บชาวบ านในระยะเริ่ม ตนของการไดรั บ ขาวสาร คือ การกวานซื้อที่ดินโดยมีจุดไลซื้อตั้งแต ถนนสายเอเชี ย ไม ว า จะเป น พื้ น ที่ ข องชาวบ า น ชาวไรชาวนาคนใดที่ทําเลที่อยูติดกับถนนสายเอเชี ย ถื อ ว า เป น ทํ า เลทอง ขายได ร าคา นั บ ว า เป น จุ ด เริ่ ม ต น ของการเปลี่ ย นแปลงด า นพื้ น ที่ ข อง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อั น เป น พื้ น ฐานการ เปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ เปลี่ ย นแปลงอย า ง รวดเร็ ว ชาวนาถู ก กระแสการโหมซื้ อ ที่ ดิ น ดวยราคาที่สู ง จากไร ละไมกี่พั น บาทสูร าคาไรล ะ

หลายแสนบาท ซึ่ง ก็หมายถึง เขตพื้น ที่รอบนอก อําเภอพระนครศรีอยุธยาถูกโอบลอม ดวยกระแส การขายที่ดินจากทั้ง นายทุนจากตางประเทศและ ในประเทศ การคุกคามจากแผนการพัฒนาประเทศ ดวยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ ๑ เปนตนมา โดยการใชนโยบายดานอุตสาหกรรมเปนตัวเรงและ ขับเคลื่อ นระบบเศรษฐกิจ ภายใต การเห็น ดีเห็ น งามกันทุกฝาย ไมวาจะเปนนักการเมือง ขาราชการ และแมแตประชาชนในพื้นที่เอง ทําใหสภาพสังคม ในพื้นที่ที่เคยเปนสังคมชนบท มีความเปนอยูแบบพื้นๆ ดวยความสมัครสมานสามัคคี ถูกทําใหแปรเปลี่ยน ไปพรอมๆ กับการตัดเฉือนที่ดินขายออกไปใหกับ นายทุ น สภาพการเปลี่ ย นแปลงในพื้ น ที่ คื อ การเปลี่ยนพื้นที่จากภาคการเกษตรใหกลายเป น พื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมด ว ยเวลาเพี ย งสองทศวรรษ เทานั้น สังคมของคนพื้นที่ภาคการเกษตรของคนอยุธยา เขาสูสภาวะแวดลอมใหม ดวยกฎของการเปลี่ยนแปลง ที่ไมอาจจะหลีกเลี่ยงได ในระยะเริ่มตน มีนอยคนนัก ที่ จะ ตร ะ ห นั ก ถึ ง พิ ษ ภั ย ขอ ง ปร าก ฏก าร ณ การเปลี่ยนแปลงนี้ ความคลุมเครือของการขับเคลื่อน นโยบายนี้ เ ข า สู เ ขตพื้ น ที่ ทํ า ให ค นในพื้ น ที่ เ อง มิ ไ ด ต ระหนั ก ถึ ง ความเปลี่ ย นแปลงที่ ซั บ ซ อ น ที่เรียกวา “ความมั่นคง” ของระบบสังคมไปไดเลย ผลที่เกิดขึ้นจากความเปลี่ยนแปลงที่เห็น ไดชัดเปนรูปธรรม คือ ผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ ลดลง เพราะขอจํากัดทางพื้นที่ทางกายภาพที่ถูก ตั ด เฉื อ น ไปสร า ง ผลิ ต ผลทาง อุ ต สาหก รร ม ผลกระทบที่ ตามมา คือ พื้น ที่ก ารเกษตรที่ ยัง คง หลงเหลื อ อยู ก็ มี ผ ลผลิ ต ที่ ต่ํ า ลงจากสาเหตุ หลายประการ คื อ ผลกระทบด า นสิ่ ง แวดล อ ม อันเปนพิษของความเปนเขตอุตสาหกรรม เมื่อมีเขตอุตสาหกรรมก็จะมีการเพิ่มขึ้น ของประชากรที่ยายเขามาอยูในชุมชน ประชากรที่ เคยอยูกันอยางกระจัดกระจายก็กลับกลายเปนแออัด การเจริญเติบโตที่เปนไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ด า นประดิ ษ ฐ ก รรม การก อ สร า ง การขนส ง การคมนาคม การคา การเงิน การธนาคาร ทศวรรษแห ง การเปลี่ ย นแปลงทํ า ให ภูมิทัศนของอยุธยาเปลี่ยนแปลงไปอยางเห็นไดชัด จากถนนหนทางสะดวกสบายมากขึ้น พื้นที่ที่เคย ปลอ ยทิ้ ง รกรุ ง รั ง ถู กหั กล างการพงให กลายเป น ที่ อ ยู อ าศั ย หอพั ก ตลาด แหล ง ชุ ม ชน หมู บ า น เจ า ของพื้ น ที่ ป รั บ เปลี่ ย นพื้ น ที่ ข องตนเองเป น หมูบานจัดสรร จากพื้นที่ที่เคยจางชาวนาทํามาหากิน ให กลายเป น หมูบ าน ซึ่ ง จะมีข นาดเล็ก หรื อใหญ ขึ้นอยูกับอํานาจของตนทุน โบราณสถานหลายแหง ถูกบดบัง ดวยตึกและอาคารสูง สายไฟฟาโยงจาก เสาไฟฟาตนสูตน เกะกะสายตาที่เคยมองความงดงาม ทางประวัติศาสตรอยางเพลิดเพลิน พื้นที่การจราจร ถู ก ขยายตั ว สุ ด ขอบเต็ ม ที่ เท า ที่ อํ า นาจของรั ฐ จะสอดแทรกเขาไปดําเนินการได ตึกอาคารพาณิชย ถู ก เบี ย ดแทรกอยู ทุ ก ริ ม ขอบถนนที่ ส ร า งขึ้ น เพื่อแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ และสรางความร่ํารวย ซึ่งตามมาดวยรานคา แผงลอย และหาบเร อันเปน โอกาสของคนที่มีตนทุนทางเศรษฐกิจต่ํา พื้นที่ทางประวัติศาสตร ซึ่งเคยเปนความ คุน ชิน ของวิ ถี ชีวิ ตของคนในชุ มชน ความงดงาม ทางประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และความเชื่อ อันเปนสิ่งที่สรางความภาคภูมิใจ รากฐานที่ฝงรากลึก ถึงสาระและความรักถิ่นฐานบานเมือง สะทอนภาพ ของโครงสรางอํานาจทางการเมืองและอารยะธรรม ของประวัติศาสตรชนชาติไทย ที่ถูกลดทอนความสําคัญลง ดวยภาพของประวัติศาสตรแบบปรุงแตง ทั้งตลาด สถานที่ทองเที่ยว รานคาและประชาชน มีระบบ ความสัมพันธในรูปแบบที่ขาดการยึดโยงดานจิตใจ แตถูกสกัดและกวาดตอนใหมาอยูกันอยางแออัด เหตุ เ พราะหลั ก การทางเศรษฐกิ จ ผลประโยชน รวมกันและการแยงชิงความไดเปรียบทางผลประโยชน สรุ ป บริ บ ทพื้ น ที่ ก ารเปลี่ ย นแปลงของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทางสั ง คม และการเปลี่ ย นแปลงที่ เ ห็ น ได อ ย า ง ชัดเจน คือ การเปลี่ยนแปลงสูความทัน สมัยหรือ การเปลี่ ย นแปลงสู ค วามเป น เมื อ งอุ ต สาหกรรม

และการขยายชนบทใหเปนเมืองหรือการขยายเมือง ใหใหญขึ้นนั่นเอง

ประเด็นที่สอง พื้นเพและแงมุมของ บานเมืองยามสงบและปลอดจากอุทกภัย

เมื่อมีภาวะกดดันจากนายทุนและนโยบาย เขาโอบล อมเต็มที่แ ลวแผนที่ ของอยุธยา ซึ่ ง ตอ ง เปลี่ ย นจากที่ เ คยตี ต ารางเป น คั น นายาวต อ กั น ระบายสีดวยความเขียวของทุง ขาวที่ผลัดเปลี่ยน กั น เมื่ อเริ่ ม จาก สี ข อง ดิ น เมื่ อ ถู ก ไ ถหว า น แลวปรับเปลี่ยนเปนสีเขียว เย็นตา รอจนตนกลา เริ่มงอกงาม กลายเปนสีเขียวเขมเมื่อตนขาวแตก โตเต็มที่ และมีสีทองงดงามดั่ง ทุง รวงทอง ยามที่ ขาวแก เต็มที่พ รอมรอรับการเก็บเกี่ ยว รากเหง า ของวิ ถี ชี วิ ต ที่ เ ริ่ ม จากต น ข า ว น้ํ า นา ธรรมชาติ บรรจงชั ด เป น บ อ เกิ ด วั ฒ นธรรมประเพณี อีก มากมาย อั นเป น สมบั ติ ข องแผ น ดิ น สื บ ทอด เปนภูมิปญญาจนถึงปจจุบัน พื้ น ที่ ก ว า งใหญ ไ พศาลที่ ก ล า วมานี้ ปจจุบันใชเปนเสนทางถนนตัดผาน แหวกพื้นที่ไรนา ผากลางพื้นที่ทํากินใหนายทุนใหญลงหลักปกฐาน แปรปรับเปนโรงงาน ณ พื้นที่ลุมทั้งที่เรามีไวอุมน้ํา ยามน้ํ าหลาก การจัดพื้ นที่ลุม อุมน้ํา ใหกลายเป น พื้นที่ลงทุนขนาดใหญ ทั้งเปนโรงงานและเปนที่อยู อาศัยนี้เอง ที่เราไมไดเฉลียวใจวา หลายสิบปตอมา ไดคําตอบวา เปนการตัดสินใจที่ไ มสอดคลองกั บ ธรรมชาติ ผิดพลาดไปเพราะการจัดสรางวัตถุถาวร ทั้ง หลายนั้นคือการเบียดทับ กดอัด ขจัดทางเดิน และที่อยูของเสนทางน้ํา เหตุเพราะวาพวกเราตาง ยินดี กัน นักหนาที่อ ยุธยาไดรับ การพั ฒนาให เป น เขตอุตสาหกรรม เนื่องจากเรามองเห็น...กองทัพ นักลงทุนหิ้วงบประมาณนับหมื่นแสนลาน มองเห็น ความเจริญของบานเมืองดานวัตถุ มองเห็นกองทัพ แรงงานที่มุงหนามาสรางตัวสรางชีวิต มองเห็นเงิน กําไรกอนโต เพื่อเปนตนทุนวิ่งไลขับความเจริญให เทียบหนาเทียบตา สิ่งที่เราอยากเห็นอยูขางหนา แคมือเอื้อม และไมยากจะไขวควา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๑๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

แต สิ่ ง ที่ อ ยู ใ กล แ ละเรามองข า มไปนี่ สิ สํา คั ญ นัก เรามองข า มความเป น เมือ งน้ํ า ที่ เ ป น สื่อกลางของอารยธรรมและความเจริ ญ อั นเป น คุณคาที่เรามีอยู ละเลยตัวตน และรากเหงาทาง ภูมิปญ ญา รื้อทิ้ง ทุกสิ่ง ที่เปน อุปสรรคตอทุนและ การลงทุน เรารุกรานสถาปตยกรรมล้ําคาเพียงเพราะ เราจะสรางเครื่องอํานวยความสะดวกใหกับนักทองเที่ยว และผูคนอยูอาศัย เรารัง แกคนจนใหหมดหนทาง เพื่อเราจะใหมีธุรกิจขามชาติเขามาตอกหมุดจับจอง และผู กขาดการค ากํ า ไร เรามองขา มสวัส ดิ ภ าพ และความสุขของผูคน เพียงเพราะเราจะทําธุรกิจ ตอบสนองความเจริ ญ กระตุ น การบริ โ ภค และ ตองการเปนเจาของธุรกิจสมัยใหม และบั ด นี้ เ ราจะเหลื อ อะไรที่ เ ป น เรา เมื่อครั้ง กรุ ง เกา ครั้ง โนน ที่เห็น คือ โบราณสถาน อันแสดงใหเห็นรองรอยของความเจริญทุกๆ ดาน ของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ที่ เ หลื อ คื อ ที่ น าผื น เล็ ก ๆ ไมสามารถจะผลิตพืชผลไดเพราะขาดน้ําและพื้นที่ เต็มไปดวยมลพิษ ที่เหลือคือ ประจักษพยานของ ความเจริ ญ รุด หน าทางวัตถุ และวิ ถีชีวิ ตสมัย ใหม นอกจากนี้สิ่งที่เรามิอาจปฏิเสธไดวา อุตสาหกรรมคือ ตน ทางที่เราตองจํายอมคือ ยอมรับสภาพปญ หา สั ง คม ความเสื่ อ ม ความรุ น แรง อั น เนื่ อ งจาก ผลกระทบของวิถี ชี วิ ต แบบอุ ต สาหกรรมดั ง ที่ ไ ด คลี่คลายใหเห็นถึงที่มาที่ไปไวแลว

ประเด็นที่สาม ปรากฏการณน้ําทวมและ สภาวะปลาสําลักน้ํา

ชาวบ า น ข า ราชการ และบุ ค คลทั่ ว ไป ที่ ดํ า รงชี วิ ต และได รั บ ผลกระทบอย า งไรนั้ น เป น สิ่ ง ที่ ค นอยุ ธ ยาเท า นั้ น ที่ ซ าบซึ้ ง และเข า ใจดี ที่เราเคยมีวิถีที่รมเย็นจากภูมิประเทศที่มีวิถีชีวิตที่ ลงตั ว และสมดุล ตลอดมา วลี ที่วา “ในน้ํา มีปลา ในนามีขาว แผนดินของเรา...” สะทอนภาพความ เป น พื้ น ที่ เก ษ ตร อั น สม บู ร ณ จึ ง เ ชื่ อ ไ ด ว า แต แ รกเริ่ ม นั้ น คงจะไม มี ใ ครในพื้ น ที่ อั น อุ ด มนี้ เพรี ยกหาโรงงาน หรือ ผลผลิต ทางอุ ตสาหกรรม หรือนโยบายการพัฒนาที่ใชทุนเงินตราเปนตัวตั้ง หวังกําไรจากการขายสินคา ที่เกิดจากการเดินเสน สายพานผานแรงงานไทยแลวนําสินคาขามชาติไป สงเสริมการผลิตทั่วโลก อยางที่เปนอยูทุกวันนี้ แต เ มื่ อ รั ฐ และนโยบายคื อ อํ า นาจและ การตัดสินใจเด็ดขาด ใหปกธงอุตสาหกรรมลงไป แลว ดวยวิสัยของความใจกวาง อดทน เปดใจ และ ยอมรับไดงายหรือเปนความใสซื่อที่รูไ มเทากันถึง ผลกระทบทั้งทางตรง และทางออม อยางที่เห็นอยู เมื่อคราอุทกภัยนี้ เราถูกรุกลอมมานาน เราหลงลืม และละเลยที่จะปองกันตนเอง เราไมฉุกคิดถึงสิ่งที่ เปนภัยธรรมชาติที่ดูโหดราย และไมใหโอกาสตั้งตัว นี้ ซึ่ง เมื่ อถามวา เรารู ตัว ก อ นหรือ ไม วา น้ํา กํา ลั ง เดินทาง ขยับใกลเขามาถึงบานเมือง คําตอบ คือ รู เรามีโอกาสที่จะรับรูขาวสารของฝายบุกที่คืบคลาน เขามาเปนระลอกเรารูวาศึก “น้ํา” ที่โอบลอเขามา ทุกดานนี้ ใหญหลวงนัก เพราะตีโอบเขามาทุกดาน การเดินทางของกองทัพน้ําที่มาทั้งภาคพื้นดินและ ใตดิน มาตามทอ มาตามคลอง มาตามถนน เขามา ที่ไรนา ปาสวน และถึงถนนหนาบาน ลอดใตถุนบาน ผานหนาตางประตูทุกซอกทุกมุม ซึ่งเมื่อเปนอยางนี้ แลวจะวาไมรู ก็คงปฏิเสธกันไมได แตทวาตองมีสักเรื่องที่เราไมรู เรื่องที่วานั้น คือ นึก กันไมถึ ง เราไมรูจัก พื้นที่ของเราต างหาก เราไมรูตัวของเราตางหาก เราอาจจะพรามัว และ หากจะถามว าหากน้ํ ามาถึ ง บ า นแล ว เราจะรั บ หรื อ เราจะกั น เราจะหนี หรื อ เราจะสู เราจะสู


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อยางไร หรือจะถอยไปตั้งรับอยางไร เราจะเตรียม ตัวตั้ง รับกับสถานการณอยางไร เราจะพึ่ง ตนเอง และชวยเหลือตัว เองกอนหรือเราจะรอคอยความ ชว ยเหลื อ เราจะเชื่อ มั่ น ในสิ่ ง ที่ เ ราเห็ น คิ ด และ ตัดสินใจเองหรือเราจะหวังในสิ่งที่เรามองไมเห็น คําถามเหลานี้ตางหาก ที่เราตองหาคําตอบอยาง รวดเร็ ว แต ต อ ไปนี้ คื อ ตั ว อย า งของคํ า ตอบที่ ไลเรียงใหเห็นเปนปรากฏการณ เหตุ เ กิ ด ที่ บ า นแม อ นงค อยู ใ นพื้ น ที่ ประวัติศาสตร แหลงมรดกโลก เปนพื้นที่ที่แสดง พิ กั ด ได ชั ด เจนว า อยู ใ นพื้ น ที่ ถู ก ประกาศว า ตองยายออก เมื่ อคราที่อ ยุธยาได รับยกยอ งจาก องค ก ารยู เ นสโก แต ไ ม รู ว า ด ว ยความขั ด ข อ ง ประการใด บานของแมอนงคจึงยัง คงอยูในพื้น ที่ ใกล โ บราณสถานมากที่ สุ ด หลั ง หนึ่ ง ได ต ลอดมา แมบอกวา มั่นใจเหลือเกินวาน้ําไมทวม ทางการ ต อ งป อ งกั น แม อ นงค อ าศั ย ใบบุ ญ ต น ทุ น ของ ความสําคัญ ของแหลง มรดกโลก และไววางใจวา เมื่อปองกันมรดกโลกแลว แมก็จะอยูรอดปลอดภัย แมจึงไมเตรียมอะไร ใชชีวิตตามสบายงายๆ และมี ความสุขตามประสาขาราชการบํานาญ เรียกภาษา วัยรุนวา ลั้ลลา ... แล ว วั น แห ง ความเชื่ อ มั่ น ของแม อ นงค ก็ถูกน้ําซัดกระเจิ้ง เมื่อกองทัพน้ําทะลวงกําแพงดิน รอบเกาะเมื อ งเข า มาได แล ว พุง สุ ด ตั ว ข า มถนน วัดวาอาราม จอหนาประตูบาน แมอนงครีบหนีขึ้น ชั้นบนบานทันที พรอมครอบครัว ๒-๓ ชีวิตของแม แมพยายามขนสมบัติและของโปรดขึ้นขางบนบาน พร อ มแล ว ก็ ขึ้ น ไปนอนหลั บ สบาย คิ ด ว า เช า วันรุงขึ้นจะลงมาเก็บขาวของและออกไปหากับขาว กินดวยการเดินลุยน้ํา เมื่อคิดเสร็จ ไดขอสรุป แมก็ นอนเลน ทั้งๆ ที่รอน เพราะขางบนไมมีแอร และ บานก็ออกจะรกเพราะไมไ ดขึ้น มานานแลว แตก็ พยายามทน แม ไ ด ยิ น เสี ย งน้ํ า ไหลเข า มาทั้ ง คื น ขา วของที่ เ คยตั้ ง ไว ค อ ยๆ ลอยตั ว ขึ้ น เอี ย งและ ตะแคงไปตามแรงของน้ํา เสียงโครม เสียงกระพือ ของน้ําซัดเขามาที่ประตูรั้วสังกะสี เสียงน้ําแหวก เขามาในบาน บุกเขาไปในหองน้ําแลว เกาอี้ตัวโปรด

ที่เคยนั่งกินขาวเปนประจําลอยมาติดกับที่เชิงบันได ตูเย็นที่เปดไวเพราะเพิ่งถอดปลั๊ก ลมนอนทอดยาว ของภายใน แกว ขวดน้ํา อาหาร และถุง พลาสติก เริ่มลอยออกมาทักทายกันขางนอก แลวก็กรูลงมา อยูใ ตซ อกบันได เพี ยงชั่วโมงเศษเทานั้ น น้ํา เลย มาถึงบันไดขั้นที่ ๔ แมอนงคลงจากชั้นบนของบาน ไมไ ดแลว รถจักรยานยนตคูใจ จักรยาน จักรเย็บ ผา ขิ ม เครื่ องดนตรีชิ้ น โปรดของหลานรัก และ เสื้อผาในตูชุ มน้ํา และจมหายไป เสี ยงไหลซัดซ า ของน้ํ าเบาลง แตที่ นากลัวคื อ น้ํา เออ ทวมขึ้นมา เรื่ อ ยๆ โชคดี ที่ บ า นสู ง มาก แม อ นงค ร อจนเช า ไฟฟ า ดั บ แล ว หุ ง ข า วไม ไ ด กั บ ข า วไม มี น้ํ า ไม มี ทําไงดี?...จะทํากับขาวก็ทําไมได จะเขาหองน้ําถายทุกข ลางหนาเหมือนเคยก็ทําไมไ ด แมอนงคลืม ลืมไป แลววา เคยมั่นใจสิ่ง ใดไวบาง สิ่ง ที่อยูในความคิด ขณะนี้ คือ อยูบานนี้ตอไปไมได คําถามตอมาคือ แล ว จะออกไปได อ ย า งไร โชคดี อี ก แล ว ที่ มี ลู ก ๆ อยูรอบนอก รูสึกผิดนิดๆ ที่ลูกๆบอกแลว แตแม อนงคไมเชื่อ แมเชื่อการประกาศใหความมั่นใจของ ผูมีหนาที่เกี่ยวของมากกวา แตแมไมไดคิดเรื่องนั้น ต อ ได น านนั ก สิ่ ง ที่ คิ ด และพยายามทํ า ก็ คื อ ขอความชวยเหลือจากรอบนอก แมเริ่มติดตอลูกๆ และหนวยราชการ เพราะไฟฟาไมมี การติดตอกับ บุ ค คลภายนอก จะขาดลงอย า งสิ้ น เชิ ง หาก แบตเตอรี่ ใ นโทรศั พ ท ห มดลง แม ร ะวั ง และ ประหยัดเปนพิเศษ ลูกๆ จากกรุงเทพเริ่มขอความ ช ว ยเหลื อ ไปยั ง รปภ.อยุ ธ ยา ตํ า รวจน้ํ า หน ว ย ชวยเหลือฉุกเฉินตางๆ เทาที่มี ผลที่ไดคือ หลังจาก รออยูที่บานหลายชั่วโมงก็ไดรับการชวยเหลือจาก ทหารเรือ และตํ ารวจน้ํา เวลาสี่โมงเช า หิว แสบ ทอง ปวดปสสาวะ แตทําไมไดเลย ออกจากบานมา ได ต อ งรอถ า ยรถของกองทั พ บก ก็ กํ า ลั ง ค อ ยๆ ลําเลียงผูคนจนเที่ยง รถจึงวนจากรอบเมืองมารับ แลววนออมเลยไปชวยเหลือคนไปเรื่อยๆ ทุกคนมี สภาพคล า ยกั น คื อ ร า งกายเป ย กน้ํ า รู สึ ก วิ ต ก กังวล หิว อยูในชุดเสื้อผาที่ไมพรอมออกจากบาน แม อ นงค แ ละครอบครั ว เดิ น ทางไปกั บ รถของ กองทัพบกที่ตองนั่งกับพื้น ไมมี หลังคาและเบียด


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

กัน แต แม ก็รูเ หมื อนกับ ที่ทุก คนหวั ง วา กํ าลั ง จะ เดิ น ทางไปสู ค วามปลอดภั ย และสบายกว า ที่ เรียกวา “ศูนยอพยพ” แตที่แมอนงคไดทํา คือ ได แค ไ ปลงรถที่นั่ น เทา นั้ น เพราะทั น ทีที่ ล งจากรถ ลูกๆ เฝารออยูตั้ง แตเชา แตเขามารับดวยตัวเอง ไมไดเพราะน้ําเออลนเต็มเมืองไปหมดแลว ระหวาง ที่นั่งรถของกองทัพบกมา ไดเห็นคนรองไหเพราะ หนีไมทัน เพราะตกใจ เพราะเสียดายของ เพราะ ผิดหวังที่ตัวเองไมระวัง เที่ยงแลวรถของกองทัพบก เคลื่ อ นฝ า กระแสน้ํ า ไปอย า งช า ๆ พวกทหารดู แข็ ง แรง มี น้ํ า ใจและน า ยกย อ ง ณ เวลานั้ น ความหวัง อยูที่พวกเขา ไมวาพวกเขาจะทําอะไร มันดูนาชื่น ชม น้ําตาพาลจะไหลดวยความซาบซึ้ง ในน้ํ า ใจและการเสี ย สละ การหยุ ด รั บ ผู ที่ ไ ด รั บ ความเดือดรอนแตละครั้ง เต็มไปดวยความจริง ใจ น า ยกย อ ง และรู สึ ก ถึ ง ความอบอุ น พึ่ ง ได จ ริ ง ๆ ดั ง นั้ น ทุ ก คน ก็ อยู บ น ร ถ จึ ง เ ชื่ อฟ ง ทห า ร ที่ ประสานงาน สั่งการแนะนําอยูบนรถ จากชวงเวลาแดดรอนเปรี้ยงยามเที่ยงวัน จนแดดออนลงเมื่อหาโมงเย็น แมอนงคและผูรวม ชะตากรรม มาถึ ง ศู น ยอ พยพทุก คนแยกย า ยหา ญาติ มิ ต ร และรั บ ความช ว ยเหลื อ รั บ ของแจก เสื้อผา และคําใหกําลังใจ คําปลอบโยน แมอนงค ได พ บกั บ ลู ก ๆ ที่ เ รี ย งแถวรออยู ที่ ศู น ย อ พยพ ดู เหมือนจะยังโชคดีที่ยังไดเดินทางเขากรุงเทพทันที แมอนงคและครบครัวหายหนาไปจากอยุธยาถึง ๑ เดื อ นเศษ จึ ง ได ก ลับ บ า นดั ง เดิ ม ที่ บ านไม เ หลื อ อะไรเลย นอกจากซากทรัพยสิน ที่ลอยน้ํา แชอยู จนน้ํา แหง และเสียหายเต็ม พื้น ที่ จะเศราหรือไม เศราก็ไมใชเวลาที่ตองมาหวนคิด แมอนงครูแตวา ตองเริ่มตน ใหม เปนรอบที่ ๓ ในชวงชีวิตของแม แตเป น ที่นา เสีย ดายที่ หลัง จากนั้ นเพีย ง ๑ เดือ น เศษ แมอนงคก็เสียชีวิต หลังจากซอมแซมบานชอง จนเสร็จเรียบรอย แมคงไมไดหนีน้ําแบบนี้อีกแลว อยากถามแมอนงควา น้ํามาคราวหนาแมเตรียมจะ ขึ้นชั้นบนหรือจะออกไปกอนที่น้ําจะมาถึง...หรือมี แผนอื่นที่จะอยูกับน้ําบางไหมหนอ...

บทเรียนของแมอนงควันวาน ทําใหเรา เรียนรูแบบหนึ่งของชะตากรรม คนธรรมดาทั่วไปที่ ปลอยใหชีวิตดําเนินไปตามสถานการณของน้ํา แต วามีอีกหลายคนสูไมถอยอยางแมตุ ผูหญิง แกรง ที่ อยูสู กับ น้ํา พรอ มลู กชาย แมตุ เล าว า น้ํา มาแล ว ชาวบา นโจษจันกัน อยางตอเนื่ อง ลู กชายลางาน มารวมทุกขรวมสุข สองแมลูกตางตกลงกันวาจะสู และจะอยูกับน้ําใหจงได ที่กลาเปนเชนนี้เพราะลูก ชายจบวิศวะฯ แข็งแรงล่ําสัน สวนแมตุเปนผูหญิง แกรง แมตุพรอมกับเพื่อนบานในซอยตางเริ่มตั้ง เครื่องสูบน้ําและเตรียมกระสอบทราย ซื้อปูนมา โบกปดกําแพงทุกดานเหมือนกําลังขังตัวเองอยูขาง ใน เตรียมตัวขนของขึ้นขางบนทันที แมตุและลูก เบริ์ ด ทํ า งานทั้ ง กลางวั น และกลางคื น ขนของ จัดการ เตรียมอาหาร น้ํา กับขาว ไมขีด ไฟแช็ค เทียนไข โชคดีที่บานแมตุมีหองน้ําขางบน ลูกชาย เตรี ย มสู บ น้ํ า ขึ้ น ไว ใ ห พ อใช ใ นถั ง เก็ บ น้ํ า เสบี ย ง อาหาร น้ําปลา น้ําตาล ไข อาหารกระปอง คิดวา คงอยูกับน้ําไดแน เตาแกสชวยไดมาก ถานไฟฉาย ต อ งมี พ อ แม ตุ ต รวจดู ค วามพร อ มสู เพื่ อ นบ า น หลายหลังตางพรอมใจจะอยูรวมชะตากรรม เมื่อ น้ํ า ซึ ม เข า บ า นลู ก ชายก็ เ ป ด เครื่ อ งสู บ น้ํ า โดยต อ ปลั๊กไฟจากชั้นบน ซึ่ง ตัดไฟชั้นลางแลวพรอมยาย หมอไฟ ใหพนน้ํา ไฟฟา จึงสามารถจายกระแสไฟ ไดตามปรกติ ถือเปนการเตรียมการที่ดีที่สุดเทาที่ แมตุเคยทํามาในชีวิต แมมีนิสัยไมตกใจอะไรงายๆ และเตรียมพรอมเมื่อภัยมา การที่แมตุตองเสียพอ ของลู ก ชายเมื่ อ หลายสิ บ ป ก อ น สอนให แ ม เตรียมพรอมและตองสูจนถึงบัดนี้ การตอสูของแม ตุชางนาชื่นชมนัก แมอยูกับน้ําตลอดเดือน ยิ่งนาน วัน ณ.ชวงเวลาที่น้ําทวม เพื่อนบานขางเคียงพากัน คอยๆ ทยอยออกจากบานไปยัง แหลง พักพิงอื่น ๆ ไมวาจะเปนบานของญาติมิตร หรือที่ศูนยอพยพ ของทางการ แต แ ม ตุ ก ลั บ คิ ด ว า การอยู ที่ ไ หนก็ ลํ า บากทั้ ง สิ้ น แม ตุ ข ออยู ลํ า บากที่ บ า นดี ก ว า แต ก ารย า ยออกของเพื่ อ บ า นก็ มิไ ด ทิ้ ง ไปเปล า ๆ พวกเขาไดยกเอาเครื่องสูบน้ํามาชวยเพิ่มกําลังการ สู กั บ น้ํ า ให แ ม ตุ เมื่ อ นั บ ดู แ ล ว เกื อ บ ๑๐ เครื่ อ ง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ถึง กระนั้น แมตุ ไ มกลัว สิ่ง ใดเลยเพราะถึง อยางไร ลู ก ชายคนดี ข องแม ก็ อ ยู เ คี ย งข า งแม ไม ต อ งไป ทํางาน อยูบานดูแลตนไม ยายใหปลอดภัยทุกวัน เก็บบาน ยายของใหเหมาะกับสภาพ ตักน้ํา ตอน้ํา ทดน้ํา ขัดบาน ซักผา เก็บขาวของทั้งวัน ไมนาเชื่อ ว า แม ตู อ ยู ไ ด ต ลอด น้ํ า ท ว มถึ ง ๔๐ วั น แล ว ก็ มองเห็ น สภาพน้ํ า ที่ ค อ ยๆ ขึ้ น มา ไหลเข า บ า น ถูกสูบออกมาขางถนน เห็นเรือพายเขาออกทุกวัน เหมื อ นมีบ า นอยูริ ม น้ํ า แต ที่ เ พลิ น เพลิน ที่ สุ ด คื อ เรือรับจาง เรือขายของ เรือของหนวยงานราชการ เรือที่มาชวยแจกของ บางทีรับ แจกจนรั บไมไ หว บางครั้งแมตุจึง เอาของแจกใหกับเรือที่ผานไปมา ดวยเชนกัน ความสุขเริ่มเกิดขึ้นเมื่อแมตุเริ่มชินกับ น้ํา บางครั้ ง ก็เ ผลอไผล ไปวา ตัว เองเกษีย ณอายุ และอยูบานริมน้ํา มีเรือแพผานไปมาไดทั้งวี่ทั้งวัน ผูคนที่นี่อยูคนอยางไมดิ้นรนสมเปนเมืองน้ําแทๆ แลวแมตูก็เริ่มชินกับสภาพที่เปนอยู จากสภาพที่มี ความสุ ข เล็ ก ๆ กลายเป น ความสนุ ก สนาน ที่ ไ ด ทักทายผูคนที่ไมเคยรูจัก ไดเพื่อนเพิ่มขึ้น ไดมีเวลา สวดมนตไหวพระมากขึ้น ไดกลับไปใชชีวิตเรียบงาย ดีจังที่แตละวันไมตองจายคาน้ํา คาไฟ คาน้ํามันรถ และอื่ น ๆจิ ป าถะที่ ต อ งจ า ย ไปๆ มาๆ แม ตุ ก็ ไ ม อยากใหน้ําลดเสียแลว ชีวิตที่เรียบงายใชจายนอย ความสงบสุขเชน นี้จะหาไมไดเลย หากน้ําไมทวม ในครั้ง นี้... แมตุ ถอนหายใจแลวก็ใจหาย หากน้ํา จะตองลดแลวตองกลับมาใชชีวิตแบบเดิม บทเรียนของแมตุ บอกอะไรบางอยางแก เราไมนอย อยางนอยที่สุด น้ํามาก็ไ มมาเปลา น้ํา นํ า บทเรี ย นสํ า คั ญ ให กั บ เรา โหยหาอดี ต ที่ เ คย งดงาม เรี ย บง า ย ที่ เ ราไม มี วั น จะได คื น หากไม ประสบอุทกภัยเชนนี้ รูปแบบการเผชิญกับน้ําที่ไดถูกบันทึกไว หลายหนาในประวัติศาสตรชีวิตของผูคน เมื่อน้ํามา เราก็ อ ยู กั บ น้ํ า หากเป น สมั ย โบราณปรั บ ตั ว ให กลมกลืนและหาประโยชนจากน้ํา ดัง นั้น พวกเรา ไพร ฟ า จึ ง ทํ า ไร ทํ า นา หากิ น หาอยู กั น ไปตาม ปรกติ แตอุทกภัยครั้งนี้ไมไดเปนเชนนี้ การมาของ น้ํามีผลกระทบตอผูคนมากมายหลายหลาก การ

สร า งแปลงเมื อ งในหลายทศวรรษที่ ผ า นมา ปรับเปลี่ยนชีวิต ผูคน การมาของน้ําจึ ง ไมใ ชสิ่ง ที่ หลายๆ ชีวิตตองการ เมื่อน้ําจากไปแลวตามวิถีของ น้ํา ทําใหนึกถึงวลีสําคัญ ที่แตกตางและแปลกแยก คื อ แยกส ว นจากธรรมชาติ “น้ํ า มาปลากิ น มด น้ําลดมดกินปลา”

ประเด็นที่สี่ น้ํามาปลากินหมด น้ําลดมดกินปลา

วากั นวา ขณะที่ น้ํา ทวมนั้น เราลํา บาก ยากเข็ญกันนัก แตน้ําลดและเหือดแหงแลว เรายิ่ง ยากเข็ ญ ยิ่ ง กว า หลายเท า ทวี คู ณ อย า งไรหรื อ ที่ กลาวเชนนั้น ? โดยสวนตัวของผูเขียนเปนผูหนึ่งที่ ไดเ ผชิญ กับสภาพน้ําท วมด วยเชนกั น ในฐานะที่ เปนคนอยุธยา ผูเขียนจําเปนตองเดินทางจากบาน เกิ ด เมื อ งนอนนานที่ สุ ด เท า ที่ เ คยเป น มาในชี วิ ต ความรักในทองถิ่นมีอยูเสมอตนเสมอปลาย ไมเคย คิดว าวา จะมี สภาวการณใ ดทํา ใหเ ราต องจากถิ่ น ฐานบานชองไดนานขนาดนี้ แตก็เกิดขึ้นในคราวนี้ เอง การจากบานไปของผูเขียนไมไดเกิดความรูสึก กดดันอะไรในชีวิตมากนัก เพราะไดปลอยวางและ ยินดีที่จะเผชิญกับสภาวการณเต็มที่ แมวาจะไมได อยูรวมทุกขรวมสุขกับพี่นองในทองถิ่นอีกจํานวน มากก็ตาม ทันทีที่ผูเขียนรูจากรายงานขาววา น้ํา ลดแล ว ก็เ ดิน ทางกลับ บา นทั นที เพื่อ ตรวจสอบ ความเสียหาย และจัดแจงวางแผนซอมแซมบานให กลับเขาสูภาวะปกติโดยเร็ว ความตั้งใจของผูเขียนกลายเปนโจทยไม มีคําตอบชั่วขณะ เมื่อเดินทางเขาถึงบานเมืองของ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ตั ว เอง ทั น ที ที่ เ ป ด กระ จกรถเพื่ อ สั ม ผั ส กั บ บรรยากาศอันคุนชินของถิ่นกําเนิด สายตาที่กวาด ไปมองบ า นเมื อ งก็ ง งงั น และเศร า ซึ ม หั ว ใจที่ เปลี่ยมพลังของการตอสู แปรเปลี่ยนเปน เย็น...ชา ลง ชั่วขณะ เพราะภาพที่ปรากฏนั้นคือ คราบการ ละลายของน้ํา อัน เป น คุ ณสมบั ติอั น สํ าคั ญ ที่เ ด็ ก นักเรียนชอบทองวา “น้ําเปนตัวละลายที่ดี” เพิ่ง เขาใจกัน แจมชัดก็คราวนี้แหละ ภาพความซกมก หมั ก หมมของวั ต ถุ ของเสี ย ของเน า ขึ้ น อื ด ที่ มี มากมายเสียจนผูเขียนอาจจะขาดความสามารถใน การใช ภ าษา และการถ า ยทอดอารมณ ที่ จ ะมา บรรยายได แตถึงอยางไร ผูเขียนก็จะพยายามให มากที่สุด เมื่ อ รถขึ้ น สะพานข า มฝ ง จากนอกตั ว เมื อ งที่ ส ามารถเดิ น รถได ช อ งทางเดี ย วเท า นั้ น เพราะน้ํา ที่อ ยู นอกเมื องยัง เจิ่ง นองไปทั่ว ดัง นั้ น ผูเขียนตองขับ รถลัด เลาะหลบหลี กรถที่จ อดตาย หนีน้ํา มานานนับเดือน ในที่สุดก็ขึ้นไปถึง จุดที่สูง ที่สุดของสะพาน สามารถมองเห็นสภาพบานเมือง ดานลางไดชัดเจนวา ภายหลังภัยพิบัติครั้งนี้ เรา ไมเหลืออะไรเลย นอกจากความเสียหายและขยะ ใครจะคิดวาวันหนึ่งถนนสายสําคัญที่สุด สายหนึ่ง ที่แอดอัดดวยรถ กลายเปนทางเดินแคบๆ ที่เ ต็ ม ไปด ว ยซากของตู เ สื้ อผ า โตะ ผสมกองดิ น ซากผลไมเนา ถุงพลาสติกเปลื้อนโคลน ติดเกรอะ กรังตามถนน เศษอาหารกลอ งโฟม กองเทาภูเขา เลากา ดําเขรอะไมเห็นสีขาวของกลองโฟม เสื้อผา ที่ทะลักออกมาจากตู หลุด เลื้อย รองแรง อยูกับไม แขวนที่เปอนโคลน ที่นอนชิ้นใหญหนาทุกขนาดที่ ยัดดวยฟองน้ํานุมชั้นดี ที่ครั้งหนึ่ง เคยนอนเหยียด ยาวสุขสบาย กลับตองมาทับถมอยูกับกิ่ ง ไมและ หมอนแบนๆ ส ง กลิ่ น เหม็ น สาบคละคลุ ง ผ า ปู ที่ นอนก็ไปพันคลุกอยูรวมกันกับกระปอง ขวดน้ํา ซึ่ง ทิ้งระเกะระกะ มองไมเห็นลายดอกดวงสดใสที่เคย มีเลย กะละมังพลาสติกแตก พัดลมราคาถูกใบพัด หั ก หม อ ข า ว จานชาม ถั ง น้ํ า หู ห ลุ ด หิ้ ว ไม ไ ด กระถางตนไมพลาสติก ที่มีดินอัดเต็ม เหลือแตตน ยึดดินไวแตไมมีใบอีกตอไป โตะ เกาอี้ ขากับตัวอยู

ดวยกัน แตตั้งไมได ไมได ถูกจัดเขาชุดอยูในสภาพ ที่เตรียมการขนยาย แตคงไมทันกับการมาของน้ํา เจาของคงหนีเอาชีวิตรอดไปกอน เลยถูกทิ้ง ถู ก กองอยูริมถนนเปนวัน เปนคืน เปนเดือน ไมเห็นวา จะมีใครอยากไดไปใชสอยเลยชิ้นเดียว ตะกร า ขยะที่มี ข องจุ ก จิ ก ตุ ก ตาหมี ตั ว มอม ปลั๊ กไฟที่ รูเ สีย บตั น ติ ดโคลน แผ นซี ดีที่ เคย บรรจุขอมูล คงเปนไดแคแผนพลาสติกไลแมงลงวัน แตก็ไมเห็นแมลงวัน กลัวแผนซีดีเหลานั้นอีกตอไป กองกระสอบทราย อิฐบล็อกที่เคยแพงสุดขีดเมื่อ เริ่มเรื่อง...ถึงคราวจบเรื่องก็กลายเปนของที่หนัก เกิ น กว า จะยกให พ น เสี ย แล ว ภาพที่ บ รรยายมา ทั้ ง หมดเหล า นี้ เป น เพี ย งบางส ว น ที่ ภ าษาของ ผูเขียนมีไมมากพอที่จะใหรายละเอียดลวงลึกไปถึง ซากที่ถูกเซาะกัดซึม เพราะเปนวัตถุที่ไมไ ดกันน้ํา มีระบายระบาดเต็มถนนหนทาง ผูเขียนเก็บภาพ ทุกซอกทุกมุมของบานเมืองไวในกลองสวนตัว เก็บ ไวในใจ แตภาพที่ไดก็ไดนอยกวาภาพที่เก็บไวในใจ ซึ่ง ตองตกคางไปกับเราจนตาย ลืมไปเลยวาตั้ง ใจ จะทํ า อะไรไว บ า งเมื่ อ กลั บ สู แ ผ น ดิ น เกิ ด เดิ น ทางเขาออกในและนอกเมืองอยู ๓ วัน เก็บภาพ คว า ม สู ญ เ สี ย เ พื่ อ เ ล า สู ลู ก ห ล า น ใ น วั น ที่ ประวัติศาสตรอยุธยาหนาหนึ่งเคยเปยกน้ํา การถูก ทํา ลายครั้ง นี้เ ปน มหาอุ ท กภั ยครั้ง ที่ส าม ที่ น้ํา ได เหยียบย่ําเขาสูตัวเมือง ครั้งนี้รุนแรงที่สุด แมไมเสีย ความเปนไทย ไมไดสั่นคลอนอธิปไตย แตก็สูญเสีย ไดมากเทียบเคียงกันกับครั้งโนนเลยทีเดียว หากผูใดไดเขามาอยูอยุธยาตอนพลบค่ํา ผูนั้นจะตองรูสึกเยือกเย็นกันความเงียบงัน ความ มืด ความรกราง ความไรสีสันของสีเขียว หรือสีไม ดอกนานาพรรณ ที่เคยตบแตงบานเมือง ที่บัดนี้ได ยืน ต น ตายกลายเป น สีโ คลนและดํ า สนิ ท เปน เงา ทะมึน อยูเปนกลุมเปนกอนเพราะจมน้ํา ไฟฟายัง ไม มี ชาวบ านยัง ไม กลั บ เข าบ าน สั ตว เลี้ ยงไม ส ง เสียง หรือวิ่งเลนเพนพลาน เสียงรองของนกหนูหมู แมวเงียบงัน อาจเปนเพราะจมน้ําตายหรือไปอยูที่ อื่นก็แลวแต ทุกอยางที่หายไป คือ ความมีชีวิตของ บานเมืองซึ่งก็หายไปดวย แลวถาไมเทียบกับเมื่อ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

คราวเสียกรุงที่ถูกเผาแลว ก็คงไมรูจะเปรียบเทียบ กับอะไร สภาพที่ วานี้มี เจาหนาที่บ านเมื องและ หน ว ยงานเอกชน ช ว ยกั น ค อ ยๆ ปรั บ สภาพอยู ประมาณ ๗ - ๑๐ วัน ก็อันตรธานหายไป ชาวบาน เริ่มมาเก็บกวาดบานเรือนของตน ประเมินความ เสี ย หาย กลั บมาพบปะพู ด คุย และใช ชี วิต เดิ ม ๆ เสียงเลาขานเพื่อแบงบันประสบการณ เพื่อชดเชย อารมณ หรือเพื่อวัตถุประสงคอะไร ก็แลวแต ตาง ก็มีรสชาติไมรูจบ เนื่องจากผูเลาเปนตัวดําเนินเรื่อง ของเรื่องเลานั้นๆ ซึ่ง ผูเขียนเชื่อวา เราคงตองฟง จนครบรอบป เพื่ อ ลุ น ว า น้ํ า มาครั้ ง ใหม จ ะเป น อยางไร สวนสภาวการณที่ตามมาคือ การประเมิน ความเสียหาย และรอความชวยเหลือจากภาครัฐ ที่จัดงบประมาณเยียวยา ลดภาษี ลดราคาสินคา แจกของใชที่จําเปน แจกคูปองซื้อเครื่องไฟฟา ให สิทธิเ งิน กู แจกข าวสารอาหารแหง ซึ่ ง ดําเนินไป พรอมๆ กับการรองเรียนโวยวายของผูคนที่ไมไ ด รับความชวยเหลือ หรือไดไ มพอกับที่เสีย หรือได ไมเทากับคนขางบาน หรือโวยวายวาไดไ มตรงกับ งบประมาณ บางก็ขาดโอกาสฟน ตัว ตกงาน เสีย โอกาสทางธุรกิจ หรืออื่นๆ ที่เปนการแสดงใหเห็น วา ตนเองมีสิทธิแตไมไดรับสิทธินั้น

ประเด็นที่หา บทสรุป

ถึงเวลาที่บทความนี้จะตองสรุปใหไ ดวา เมื่อเปนเชนนี้แลว คนที่เดือดรอนทั้งหมดนั้น ไดรับ บทเรียนอะไรในครั้งนี้ คําตอบที่งายที่สุดและตอบ ได ทั น ที คื อ ประสบการณ ชี วิ ต ที่ เ ผชิ ญ กั บ ภั ย ธรรมชาติ ที่พวกเราไมไดเตรียมพรอม ไมไดระแวง หวาดมากอน แตละคนก็มีวิถี วิธีของตนในการคิด ตัดสิ น ใจ ซึ่ ง ไมมี ใครถูก ใครผิด นอกจากแบ ง ป น ประสบการณเอาไวตอสูกันตอ เพราะหลายฝา ย เชื่อวา น้ํารอบใหมจะตองมาอีก จึงมีรูปแบบของ การตั้งโครงการ งบประมาณ แผนการจัดการ การ

ใหความรู การซอมรับมือ เพื่อรองรับปรากฏการณ ครั้งตอไป แรงบัน ดาลใจของปวงประชาชน ที่จ ะ ตอสูกับปรากฏการณอันเลวรายนี้ จะผันแปรเปน จิตสํ านึก ที่ดี ไ ดห รือ ไมนั้ น ขึ้ นอยูกับ ทัศ นคติ และ มุมมองของแตละคน วาจะตกผลึกตอปรากฏการณ นี้อยางไร หากคิดบวก มองในแงงาม ก็จะสูตอดวย หัวใจที่เปยมพลัง มีสติ รอบคอบ และชาญฉลาดที่ จะบริหารจัดการชีวิตของตน แตหากมองลบและ เห็ น แต ค วามทุ ก ข ย าก ก็ ค งจะโวยวายเรี ย กร อ ง ต อ ไป เสี ย งบ น เสี ย งร อ งของผู ค นที่ ก ระจาย ขยายตัวในมุมตางๆ นั้น จะไมมีประโยชนเลย หาก เราไมเริ่มตนจากตัวเรา และฝกหัดเรียนรูที่จะใช พลังชุมชน ใหแข็งแรงและกาวตอไปแมวา บางครั้ง การกาวตอไปนั้นอาจตองกลับหลังหันก็ตาม


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

มรดกโลกอยุธยากับมหาอุทกภัย

ภัทรพงษ เกาเงิน * 3

กรุงศรีอยุธ ยาไดรับการสถาปนาขึ้นเปนราชธานีของสยามประเทศโดยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) ตั้งแต พ.ศ.๑๘๙๓ มีพระมหากษัตริยปกครองราชอาณาจักร สืบเนื่องกันมา ๓๔ พระองคจาก ๕ ราชวงศ จนกระทั่งเสียกรุงใหแกพมาใน พ.ศ.๒๓๑๐ รวมระยะเวลา ๔๑๗ ป ในชวงเวลาแหงการดํารงสถานภาพเปนราชธานีนั้น กรุงศรีอยุธยา จัดไดวาเปนราชธานีที่มีความเจริญรุงเรืองที่สุดแหงหนึ่งในเอเชียอาคเนย ดังปรากฏรองรอย หลักฐานโบราณวัตถุสถาน เชน วัดและวังตางๆ และเอกสารทางประวัติศาสตรทั้งของไทยและ ตา งชาติเ ปน จํ านวนมาก ซึ่ งต างก็ สะทอนให เห็ น ถึง อารยธรรมความเจริ ญรุ ง เรื องรวมทั้ ง พัฒนาการในดานตางๆ ทั้งในดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจการคา การทูต การศาสนา และศิลปวัฒนธรรม เปนตน

* นักโบราณคดี สํานักงานอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

แมปจจุบันความเจริญรุงเรืองของกรุงศรี อยุ ธ ยา จะเป น เพี ย งอดี ต แต ก็ ยั ง คงปรากฏ หลักฐานตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึงรองรอยแหงความ เจริญรุงเรืองของศิลปวัฒนธรรมอันยิ่งใหญ งดงาม และทรงคุณคา สะทอนใหรําลึกถึงภาพอันโออา สงางามของปราสาทราชวัง วัด วาอาราม ปอ ม ปราการ บานเรือนที่อยูอาศัย ตลอดจนวิ ถีชีวิต ข อ ง ช า ว ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ใ น อ ดี ต อุ ท ย า น ประวัติศาสตรพ ระนครศรีอยุธยานี้เปน หลักฐาน แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความชาญฉลาดของชุ ม ชนหนึ่ ง นับตั้ง แตการเลือกที่ตั้ง ชุมชนในบริเวณที่มีแมน้ํา สามสายมาบรรจบกันเพื่อใหเปนแหลงอาหารและ แหลง เกษตรกรรมอัน อุดมสมบูรณ พรอมไปกับ เปนปราการธรรมชาติในการปองกันขาศึกศัตรูจาก ภ า ย น อ ก น อ ก จ า ก นี้ แ ล ว ผ ล ง า น ด า น สถาป ต ยกรรม ประติ ม ากรรม จิ ต รกรรม ประณี ต ศิ ล ป แ ละวรรณกรรม ยั ง เป น ประจั ก ษ พยานแสดงถึงความเจริญ รุง เรืองสูง สุดของอารย ธรรมแห ง ชุม ชนหนึ่ง ในภูมิ ภาคเอเชียตะวัน ออก เฉียงใตในชวงเวลาระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๔ อีกดวย อารยธรรมที่เปน เอกลัก ษณของกรุง ศรี อยุธยานี้

อยุธยา : สังคมชาวน้ํา

ป จ จั ย ประการสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ก รุ ง ศรี อยุธยาสามารถดํา รงสถานภาพการเปนราชธานี ของสยามประเทศได อ ย า งต อ เนื่ อ งยาวนานถึ ง ๔๑๗ ป ก็คือการมีที่ตั้งที่อยูในสภาพภูมิประเทศที่ เหมาะสม โดยศูนยกลางของราชอาณาจักรกรุงศรี อยุ ธ ยานั้ น ตั้ ง อยู บ นเกาะที่ มี แ ม น้ํ า ๓ สาย อั น ประกอบดวย แมน้ําเจาพระยา แมน้ําปาสัก และ แม น้ํา ลพบุรี ลอ มรอบ ซึ่ง ลัก ษณะภู มิป ระเทศ ดั ง กล า วนั้ น ส ง ผลดี ใ ห กั บ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาใน ๓ ประเด็นหลัก ๆ ประกอบดวย ๑. ความมั่นคง การที่ศูนยกลางของ ราชอาณาจักรเปนเกาะมีแมน้ําลอมรอบ เสมือนมี ปราการธรรมชาติทําใหขาศึกศัตรูจะเขาโจมตีไ ด ยาก และผู ปกครองเมื อ งยั ง ได มีก ารก อกํ า แพง

ลอมรอบเมืองเพื่อปองกันขาศึกศัตรูอีกชั้นหนึ่งดวย นอกจากนี้ พื้น ที่ บริ เ วณโดยรอบเกาะเมื อ งทั้ ง ๔ ดาน ยังเปนที่ราบลุมที่เรียกวาทุงตาง ๆ อาทิเชน ทุงลุมพลี ทุงมะขามหยอง ทุงภูเขาทอง เปนตน ซึ่ง ในฤดูน้ําหลาก น้ําในแมน้ําจะไหลหลากขึ้น มา ทวมทุง ทําใหขาศึกศัตรูที่ตั้งคายประชิดลอมกรุง ศรีอยุธยาไว ไมสามารถเอาชนะกรุงศรีอยุธยาได และตองถอยทัพกลับไป ๒. ความอุ ด มสมบู ร ณ แม น้ํ า ที่ ล อ มรอบอยุ ธ ยาทั้ ง ๓ สาย สร า งความอุ ด ม สมบูรณใหกับกรุงศรีอยุธยาอยางมาก ทําใหชาว อยุ ธ ยามี น้ํ า เพื่ อ ใช ใ นการอุ ป โภคบริ โ ภคอย า ง เพี ย งพอ เป น แหล ง เพาะพั น ธ สั ต ว น้ํ า ซึ่ ง เป น อาหารหลั ก ของชาวอยุ ธ ยา มี น้ํ า ใช ใ นการทํ า การเกษตรอย า งพอเพี ย ง นอกจากนี้ น้ํ า ที่ ไ หล หลากทวมทุงบริเวณโดยรอบเกาะเมืองอยุธยานั้น ยังทําใหเกิดความอุดมสมบูรณแกพื้นดิน สงผลให การเพาะปลูกไดผลดี ผลิตพืชพันธุธัญญาหารเลี้ยง ผูคนไดเปนจํานวนมาก และยังมีผลผลิตสวนเหลือ สามารถสงขายนํารายไดเขาประเทศไดอีกดวย ๓. ความมั่ง คั่ง จากตํ าแหน ง ที่ตั้ ง ของ กรุงศรีอยุธยาที่มีจุดควบคุมเสนทางการคาระหวาง ดินแดนที่อยูลึกไปในแผนดิน (อาทิเชน พิษณุโลก สุ โ ขทั ย เชี ย งใหม เป น ต น ) และดิ น แดนที่ อ ยู หางไกลออกไป (อาทิเชน จีน ญี่ปุน อินเดีย ยุโรป เป น ต น ) ทํ า ให อ ยุ ธ ยามี ร ายได จ ากทั้ ง การเป น ตัวกลางในการแลกเปลี่ยนสินคา และมีรายไดจาก การเก็บภาษีตาง ๆ และจากสภาพภูมิประเทศดังกลาว ทํา ใหอยุธยามีสถานะเปน “เมืองน้ํา” ซึ่งวิถีชีวิตของ ผูคน การดํ ารงชี วิต การประกอบอาชีพ การกิ น การอยู ที่ อ ยู อ าศั ย ฯลฯ จะผู ก พั น กั บ สายน้ํ า นอกจากสายน้ําและแหลง น้ําตามธรรมชาติ แล ว ผูปกครองเมืองในชวงเวลานั้นยังมีการขุดคูคลอง ตาง ๆ ทั้งในเกาะเมืองและนอกเกาะเมืองเพิ่มขึ้น อีกเปนจํานวนมาก (จนอยุธยาไดรับการขนานนาม จากชาวตะวันตกวาเปน “เวนิสตะวันออก” ) การ ขุดคูคลองตาง ๆ นั้นกระทําขึ้น เพื่อประโยชนใ น


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ดานตาง ๆ อาทิเชน เพื่อใชในการอุปโภค บริโภค การคมนาคม การควบคุมและระบายน้ํา เปนตน มุมมองของคนในชวงเวลานั้นกับน้ําจึงเปนมุมมอง

ในเชิ ง บวก โดยมองว า น้ํ า เป น สิ่ ง สํ า คั ญ และมี ประโยชนกับตนเอง

แผนผัง เกาะเมืองอยุ ธยาโดยพระยาโบราณราชธานิน ทร (พร เดชคุ ปต) เมื่อพ.ศ.๒๔๖๙ ที่แ สดงให เห็ นถึ ง ศูนยกลางของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาซึ่งมีสภาพเปนเกาะมีแมน้ําสามสายประกอบดวย แมน้ําเจาพระยา แมน้ําลพบุรี และ แมน้ําปาสัก ลอมรอบ และพื้นที่บริเวณโดยรอบเกาะเมืองทั้ง ๔ ดาน ซึ่งเปนที่ราบลุมที่เรียกวาทุง อาทิเชน ทุงประเชต ทุง แกว ทุงขวัญและทุงภูเขาทอง เปนตน ซึ่งทุงตางๆ เหลานี้จะเปนพื้นที่รองรับน้ําในฤดูน้ําหลาก

ภาพถายทางอากาศบริเวณเกาะเมืองอยุธยาเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๙ แสดงใหเห็นถึงสภาพภูมิประเทศของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาและบริเวณโดยรอบ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อยุ ธ ยาถู ก ออกแบบให เ ป น เมื อ งน้ํ า ผังเมืองที่สมบูรณและสวยงามเกิดจากความรูและ ประสบการณที่ไดเรียนรูจากธรรมชาติอยางลึกซึ้ง เพราะแมน้ําหลัก ๓ สาย นอกจากจะนําความอุดม บูรณมาสูเมืองอยุธยาแลวเมื่อถึงฤดูฝนปริมาณน้ํา จะมี ม ากและไหลลงมามากเกิ น ความจํ า เป น ดัง นั้ น การสร า งเมื องของชาวอยุ ธ ยาจึง ได รั ก ษา แม น้ํา ลํา คลองของเดิม เอาไว และขุด คูเ พิ่ม เติ ม โดยเฉพาะอยางยิ่งในแนวเหนือ – ใต ใหเปนแนว ตรงเชื่อมตอกับแมน้ําลําคลองเดิมทําใหกระแสน้ํา ไมไหลเขาปะทะทําลายเมืองไดโดยตรง แตกลับ ระบายออกจากตั ว เมื อ งได ส ะดวกรวดเร็ ว จึ ง พบวาเมืองอยุธยามีแมน้ําลําคลองจํานวนมากเปน เครือขายโยงใยกันทั้งนอกเมืองและในเมือง ในตัวเมืองนั้นมีคูคลองสายหลักมากกวา ๑๐ สาย ถูกขุดขึ้นใหมทั้งในแนวเหนือ – ใต และ

ตะวั น ออก – ตะวัน ตก แบง พื้น ที่ออกเปนแปลง สี่เหลี่ยมขนาดเล็กจํานวนมาก แตละแปลงใชเปน เขตวัด เขตวังและที่อยูอาศัยอยางเปนระเบียบ ขนานไปกับแนวคูคลองก็คือถนน สราง เปนถนนดินและถนนอิฐ โดยมีสะพานจํานวนมาก สรางขามคลองเหลานี้ มีทั้งสะพานไม สะพานกอ อิฐ สะพานกอศิลาแลง และสะพานสายโซซึ่งเปน สะพานยกได อี ก แบบหนึ่ ง รวมทั้ ง สิ้ น กว า ๓๐ สะพาน นอกตัวเมืองเปนที่ลุมต่ํา(ทุง) เปนพื้น ที่ สําหรับทําการเกษตรกรรม มีแมน้ําลําคลองนําน้ํา เขาไปหลอเลี้ยงอยางทั่วถึง สองฝงน้ําเหลานั้นเปน ที่อยูอาศัยของชาวอยุธยาซึ่งจะปลูกสรางบานเรือน อยูเปนกลุมๆ สลับไปกับวัดวาอาราม เบื้องหลัง ของหมูบานคือทุงกวางสําหรับทําเกษตรกรรม

แผนผังระบบคูคลองในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดย ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา แสดงใหเห็นถึงระบบคู คลองของอยุธยาทั้งภายในเกาะเมืองและนอกเกาะเมือง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๒๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

แผนที่ เ กาะเมื อ งอยุ ธ ยาโดยช า งแผนที่ ช าว ฮอลันดาที่เดินทางเขามาในกรุงศรีอยุธยาราว พ.ศ.๒๒๐๓ แสดงใหเห็นถึงกําแพงเมือง ปอมประตูตางๆ ทั้งประตูบก และประตูน้ํา ซึ่ง ระบบปองกันน้ําทวมพื้นที่ภ ายในเกาะ เมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้นจะใชกําแพงเมืองเปนกําแพง กันน้ําโดยมีประตูปดเปดควบคุมระดับน้ํา

บานเรือนของชาวอยุธยาจากจดหมายเหตุลาลู แบร ที่มีการปรับตัวใหเขากับเมืองน้ํา โดยจะปลูกบาน ใตถุนสูงและมีเรือไวใชสัญจรในฤดูน้ําหลาก

จากสภาพแวดลอมที่เปนที่ลุมน้ําทวมถึง ทํ า ให อ ยุ ธ ยาเป น สั ง คมชาวน้ํ า วิ ถี ชี วิ ต ความ เปนอยูของผูคนมีความผูกพันและมีการปรับตัวเขา หาสายน้ํา แตในขณะเดียวกันศูนยกลางการเมือง การปกครองของกรุงศรีอยุธยาที่ตั้งอยูบนเกาะก็มี ระบบปองกันเมืองจากอุทกภัย โดยการใชกําแพง เมื อ งที่ ใ ช สํ า หรั บ การป อ งกั น ศั ต รู ข า ศึ ก มาเป น กําแพงปองกันน้ํา

ภายหลังการเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้ง ที่ ๒ ในป พ.ศ. ๒๓๑๐ กรุงศรีอยุธยาถูกทิ้ง รางไป มี การสถาปนาราชธานีแหงใหม ของสยามประเทศ ที่ก รุง ธนบุรี และกรุ ง เทพฯตามลํ าดั บ ซึ่ ง ในช ว ง ระยะเวลาดังกลาวนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ อยางขึ้นในสังคมไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเทคโนโลยีใน ดานตาง ๆ การคมนาคมขนสง ซึ่งแตกอนใชการ คมนาคมขนสงทางน้ําเปนหลัก เปลี่ยนมาเปนการ ใชการคมนาคมขนสง ทางบกเปนหลัก มีการตั ด ถนนเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก แมน้ําลําคลองที่เคย เป น เส น ทางคมนาคมและมี ค วามสํ า คั ญ มากแต อดีตถูกปลอยปละละเลยใหตื้นเขิน บางแหงมีการ ถมเพื่อใชประโยชนในดานอื่น ซึ่งการกระทําเชนนี้ ไดสงผลกระทบที่กอใหเกิดความเสียหายเปนอยาง มาก โดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดขึ้นจากอุทกภัย เนื่องจากแมน้ํา ลําคลองที่เปนเสนทางระบายน้ํ า หลายสายตื้น เขิ นและถู ก ถม ดั ง จะเห็ น ไดว า ใน พื้ น ที่ ภ าคกลางของประเทศไทยตั้ ง แต ป พ.ศ. ๒๕๓๘ เปนตนมา ไดเกิดปญหาอุทกภัยขึ้นอยาง ตอเนื่อง และมีความถี่มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง มหาอุท กภั ย ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ ผ า นมา ได กอใหเกิดความเสียหายขึ้นอยางใหญหลวง ทั้งตอ ชีวิตและทรัพยสิน ปญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคกลาง ขอ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยานั้น นอกจากจะสงผลกระทบ ต อ ชี วิ ต ท รั พ ย สิ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ร ะ บ บ สาธารณู ป โภคสาธารณู ป ระการต า งๆ ทํ า ให ประชาชนไร ที่ อ ยู อ าศั ย นั บ แสนคนบ า นเรื อ น ราษฎรไดรับความเสียหายหลายหมื่นหลังคาเรือน แลว ยังสงผลกระทบตอโบราณสถานที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรมอันสําคัญของชาติ และยังไดรับการ ประกาศใหเปนมรดกโลกอีกดวย ในมหาอุทกภัย ครั้ งใหญ เ มื่ อ ป พ .ศ. ๒ ๕๕ ๔ ที่ ผ า น มานั้ น โบราณสถานในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาและ บริเวณโดยรอบเกาะเมืองซึ่งเปนพื้นที่รับผิดชอบ ของอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาไดรับ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ความเสี ย หายกว า ๑๐๐ แห ง โดยเฉพาะพื้ น ที่ ภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธ ยาซึ่ ง มีโ บราณ สถานที่ มีค วามสํา คั ญ ตั้ ง อยู เป น จํา นวนมาก ซึ่ ง ปกติจ ะไมไ ดรั บผลกระทบจากน้ํ าท วมเนื่ องจาก ทางเทศบาลนครพระนครศรี อ ยุ ธ ยาจะร ว มกั บ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาป อ งกั น รั ก ษาพื้ น ที่ ภายในเกาะเมืองไว แตเนื่องจากปริมาณน้ําในป พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ผานมามีปริมาณมากแนวปองกันที่ ทําไวไ มสามารถปองกัน น้ําไดสง ผลใหน้ําไหลเขา ทว มพื้ น ที่ ภ ายในเกาะเมื อ ง (เมื่อ ป พ.ศ.๒๕๓๘ น้ํ า เ ค ย เ ข า ท ว ม พื้ น ที่ ภ า ย ใ น เ ก า ะ เ มื อ ง พระนครศรีอยุธยาครั้งหนึ่ง แตระดับน้ําที่ทวมครั้ง นั้ น ต่ํ า กว า ระดั บ น้ํ า ที่ ท ว มในป พ.ศ.๒๕๕๔ ประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ทําใหน้ําทวมในป พ.ศ. ๒๕๕๔ ก อใหเกิ ดความเสีย หายตอ โบราณสถาน และดานอื่นๆ มากกวา) สรางความเสียหายทั้งใน ดานสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมเปนอยางมาก

กํ า แพงเมื อ งเดิ ม ) ร ว มกั บ คั น ดิ น ป อ งกั น น้ํ า ของทางเทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยาเปนแนวปองกัน น้ํา  โบราณสถานที่ อ ยู น อกแนวถนนอู ทอง ๒ แหง - ป อมเพชรใชก ระสอบทราย ปองกันน้ําและติดตั้งเครื่องสูบน้ําสูบ น้ําออก - บ ริ เ ว ณท า ย พ ร ะ ร า ช วั ง โบราณตั้ง กระสอบทรายและติดตั้ง เครื่องสูบน้ําสูบน้ําออก

การเสริมคันดินบริเวณถนนอูทอง เพื่อใชเปนคันกั้นน้ําไมใหเขาทวมภายในเกาะเมือง

เหตุการณน้ําทวมภายในเกาะเมืองอยุธยา เมื่อป พ.ศ.๒๕๓๘ บริเวณหนาพระราชวังจันทรเกษม

แนวทางปองกันน้ําทวมโบราณสถานใน พื้นที่อุทยานประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา (กอนมหาอุทกภัยในป พ.ศ.๒๕๕๔)

ภายในเกาะเมือง  โบราณสถานที่อยูภายในแนวถนนอู ทอง ใชแนวถนนอูทองซึ่งเปนถนน รอบเกาะเมือง (ทับซอนอยูบนแนว

โบราณสถานปอมเพชร ซึ่งตั้งอยูภายใน เกาะเมื อ งอยุ ธ ยาแต อ ยู น อกแนวถนนอู ท องใช กระสอบทรายปองกันน้ําและติดตั้งเครื่องสูบน้ําสูบ น้ําออก


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

นอกเกาะเมือง  โบราณสถานที่ มี ก ารจั ด ทํ า ระบบ ป อ งกั น น้ํ า (เป น ระบบป อ งกั น น้ํ า แบบกึ่งถาวรเพื่อลดผลกระทบดาน ภูมิ ทั ศ น ที่ จ ะเกิ ด กับ โบราณสถาน) ใชระบบปองกันน้ําที่จัดทําไวในการ ปองกันน้ํา มีโบราณสถาน ๓ แหงที่ จัดทําระบบปองกันน้ําประกอบดวย - วัดไชยวัฒนาราม - วัดธรรมาราม - หมูบานโปรตุเกส

 โบราณสถานที่ไมมีการจัดทําระบบ ปองกันน้ําใชกําแพงวัด เปนกําแพง กั น น้ํ า โดยใช ก ระสอบทรายป ด บริเวณชองประตูเพื่อปองกันน้ําเขา สู โ บราณสถาน หรื อ วางแนว กระสอบทรายปองกันน้ําและติดตั้ง เ ค รื่ อ ง สู บ น้ํ า สู บ น้ํ า อ อ ก จ า ก โบราณสถาน

กําแพงกันน้ํากึ่งถาวรที่วัดไชยวัฒนาราม ซึ่งจะมีการติดตั้งเครื่องสูบน้ําเพื่อสูบน้ําที่รั่วเขามาออกจากโบราณสถาน

กําแพงกันน้ํากึ่งถาวรที่วัดธรรมาราม


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ผลกระทบ/ความเสียหายตอโบราณสถาน

กําแพงกันน้ํากึ่งถาวรที่หมูบานโปรตุเกส

โบราณสถานที่ไมมีการจัดสรางระบบปองกันน้ําทวมจะใช กระสอบทรายเสริมบนแนวกําแพงวัดเพื่อเปนแนวกันน้ํา และติดตั้งเครื่องสูบน้ําสูบน้ําออกจากโบราณสถาน

มหาอุทกภัย พ.ศ.๒๕๕๔

ในปลายป พ.ศ.๒๕๕๔ที่ผานมาปริมาณ น้ําที่ไหลลงมาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีปริมาณ มากจนทําใหน้ําทวมโบราณสถานรอบเกาะเมื อง เกื อ บทั้ ง หมด (ยกเว น วั ด พนั ญ เชิ ง และวั ด พุ ท ไธ สวรรย ที่ ท างวั ด สามารถป อ งกั น น้ํ า ได ) ส ว น โบราณสถานอื่นรวมทั้ง วัดไชยวัฒนาราม วัดธรร มารามและหมูบ านโปรตุเ กสที่มี การจัดทํา ระบบ ปองกัน น้ํานั้น ไมสามารถปองกัน น้ําไดทําใหน้ํ า ทวมโบราณสถาน นอกจากนี้แลวคันดิน ปองกัน น้ํารอบเกาะเมืองอยุธยาก็ไมสามารถปองกันน้ําได ทําใหน้ําไหลเขาทวมพื้นที่ภายในเกาะเมืองอยุธยา สงผลใหโบราณสถานทั้งภายในเกาะเมืองและรอบ เกาะเมืองไดรับผลกระทบจากน้ําทวมกวา ๑๐๐ แหง

จากมหาอุทกภัยที่ทําใหโบราณสถานใน อุท ยานประวั ติ ศ าสตร พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยาถู ก น้ํ า ทวมเปนระยะเวลา ๑-๒ เดือน (หรือมากกวานั้น ตามแต ล ะพื้ น ที่ ) ซึ่ ง น้ํ า มี ก ารท ว มขั ง เป น ระยะ เวลานานและมีระดับสูงทําใหมีการคาดการณวา ภายหลังน้ําลดโบราณสถานตางๆ นาจะไดรับความ เสียหายเปนอยางมาก แตจากการสํารวจภายหลัง น้ําลดปรากฏวาโบราณสถานไดรับความเสียหายไม มากนัก โครงสรางหลักสวนใหญของโบราณสถาน ยัง คงสภาพดีอยู โบราณสถานสวนใหญไ มมีการ ทรุ ดเอีย งหรื อยุ บตั ว ความเสี ยหายส วนใหญ ก็ เปนความเสียหายในดานกายภาพ เชน วัสดุในการ ก อ สร า ง (อิ ฐ และปู น ต า งๆ) ชํ า รุ ด เสี ย หาย สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกในโบราณสถาน เช น ป า ย บรรยายโบราณสถาน มา นั่ ง ฯลฯ ระบบไฟฟ า ส อ ง ส ว า ง แ ล ะ ภู มิ ทั ศ น ต า ง ๆ เ สี ย ห า ย (โบราณสถานที่ถูกน้ําทวมถาเปนโบราณสถานที่อยู ในบริเวณที่มีกระแสน้ําไหลแรงหรือในบริเวณใกล ทางสั ญ จรที่ มี เ รื อ วิ่ ง และมี ค ลื่ น น้ํ า จะมี ค วาม เสียหายมากกวาโบราณสถานที่อยูในบริเวณน้ํานิ่ง ซึ่ง ในเรื่องนี้ทางอุทยานฯ ไดมีการจัดทําแพไมไ ผ เปนแนวปองกัน/ลดแรงคลื่นและกระแสน้ําที่จะมี ตอโบราณสถาน)

การผูกแพไมไผเปนแนวปองกัน/ลดแรงคลื่นและ กระแสน้ําที่จะมีตอโบราณสถาน


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

โบราณสถานภายในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาที่ถูกน้ําทวม

อิฐโบราณสถานที่เปอยยุยจากการถูกน้ําทวม

แนวกําแพงโบราณสถานที่เสียหายยุบตัว จากการถูกน้ําทวม


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ในภัยพิบัติยังมีความงดงาม

จากมหาอุทกภัยครั้งใหญที่ผานมา ทําให เราได เ ห็ น ถึ ง น้ํ า ใจของพี่ น อ งชาวไทยที่ มี ต อ ผู ประสบอุ ท กภั ย รวมทั้ ง โบราณสถานซึ่ ง ภาย หลั ง จากน้ํ า ลดแล ว ได มี ก ลุ ม จิ ต อาสาต า งๆ ทั้ ง นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา พนั ก งานบริ ษั ท พ อ ค า ประชาชนต า งๆ จํ า นวนมากมาช ว ยกั น ฟ น ฟู โบราณสถานจากอุทกภัยเปนจํานวนมาก กลุมจิตอาสาตางๆ ชวยกันฟนฟูโบราณสถานจากอุทกภัย

การบูรณะฟนฟูโบราณสถาน

จากมหาอุทกภัยครั้งที่ผานมา รัฐบาลได จัดสรรงบประมาณเพื่อการบูรณะโบราณสถานใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจํานวน ๑๒๘ แหง ใน วงเงินงบประมาณราว ๔๐๐ ลาน บาท โดยการ บูรณะโบราณสถานจะแบงเปน ๑.การบูร ณะซ อมแซมส วนที่ ชํา รุด จาก การถูกน้ําทวม เชน การสกัดเปลี่ยนอิฐที่เปอยยุย ผุกรอน การซอมแซมสิ่ง อํานวยความสะดวกใน โบราณสถาน ระบบไฟฟาสองสวางโบราณสถาน และปรับปรุงภูมิทัศน เปนตน ๒. การปองกันน้ําทวม เชน การสราง ระบบปอ งกันน้ํา หรือการกอเสริมกําแพงวัดให สูงขึ้นเพื่อใชกําแพงวัดเปนกําแพงกันน้ํา ๓. การบูรณะโบราณสถานใหสามารถ รับมือหรือทนตอการถูกน้ําทวมได เนื่องจากไมมี ใครสามารถที่จะบอกไดวาเหตุการณน้ําทวมใหญ เช น นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น อี ก หรื อ ไม และเราจะสามารถ ปองกันไมใหน้ําทวมโบราณสถานไดหรือไม ดังนั้น วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด ในขณะนี้ คื อ การเสริ ม ความมั่ น คง โบราณสถาน เชน เสริมคานคอนกรีตเสริมเหล็ ก อัด ฉีด น้ํา ปูน เพื่อ ให โ บราณสถานมี ความคงทน แข็ง แรงมากขึ้น สามารถทนตอน้ํ าทวมได (แมว า โบราณสถานจะมีความเสียหายบางก็จะเปนเพียง วัสดุกอสรางและสิ่งอํานวยความสะดวก แตจะไม ทํ าให โ คร ง สร าง โ บร าณสถ าน เสี ย หาย จ น โบราณสถานพังถลมลงมา)


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

แนวทางการปรับปรุงแกไขระบบปองกันน้าํ จากอุทกภัยป ๒๕๕๔

การสกัดเปลี่ยนที่เปอยยุยผุกรอน

การกอเสริมกําแพงวัดใหสูงขึ้น เพื่อใชกําแพงวัดเปน กําแพงกันน้ํา

อัดฉีดน้ําปูน เพื่อเสริมความมั่นคงโบราณสถาน

การเจาะใสเหล็กเสริมความมั่นคงโบราณสถาน

เนื่องจากในป ๒๕๕๔ ที่ผานมาระดับน้ํา ในแมน้ําไดสูงจนทลายคันกั้นน้ําเขาสูภายในเกาะ เมืองทําใหโบราณสถานภายในเกาะเมืองทั้งหมด ถูกน้ําทวม นอกจากนี้ระบบปองกันน้ํานอกเกาะ เมื อ ง ที่ วั ด ไชยวั ฒ นาราม วั ด ธรรมารามและ หมูบานโปรตุเกส บางสวนพังทลายบางสวนต่ํากวา ระดับน้ํา ทําใหน้ําเขาทวมโบราณสถานทั้ง หมด ซึ่งจะมีแนวทางแกไขดังนี้ โบราณสถานภายในเกาะเมือง  โบราณสถานภายในแนวถนนอูทอง จะมีการเสริมแนวถนนอูทอง (ถนน รอบเกาะเมื อ ง) ให สู ง ขึ้ น เพื่ อ เป น การลดความสูงของคันดินปองกันน้ํา โดยเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา เป น ผู ดํ า เนิ น การ (การยกถนน จะตองพิจารณาไมใหเกิดผลกระทบ ตอโบราณสถาน)  โบราณสถานนอกแนวถนนอู ท อง (ป อ มเพชรและท า ยพระราชวั ง โบราณ) ใชวิธีก ารปองกันแบบเดิ ม โดยมี ก ารบู ร ณะเสริ ม ความมั่ น คง โ บร า ณสถ าน ใ ห มี ค ว าม มั่ น ค ง แข็งแรงมากขึ้น โบราณสถานนอกเกาะเมือง โบราณสถานที่มีระบบปองกันน้ําทําการ ซอมแซมระบบ ดังนี้  วัดไชยวัฒนาราม - เสริม แผงกัน น้ํา ดานหน าวั ด ( ด า น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ติ ด แ ม น้ํ า เจาพระยา) ใหสูงขึ้น - ซ อ มแซมและเสริ ม ความ มั่น คงกํา แพงวัด ดา นทิ ศ ใต (ดา นที่ พังทลายลงมา) - เ ส ริ ม ค ว า ม สู ง กํ า แ พ ง คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ด า นหลั ง วั ด (ดานทิศตะวันตก)


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

 วัดธรรมาราม - เสริมความสูง ของแผงกันน้ํา และกําแพงรอบวัด  หมูบานโปรตุเกส - เปลี่ ย นแผงกั น น้ํ า ด า นหน า หมูบาน - ซ อ มแซมและเสริ ม ความ มั่นคงกําแพงกันน้ําดานขาง โบราณสถานที่ ไ ม มี ก ารจั ด ทํ า ระบบ ปองกันน้ํา (ใชระบบเดิม)  ใชกําแพงวัดเปนกําแพงกันน้ํา โดย การเสริมความสูงของกําแพงและฉีด อัด น้ํ าปู น ป องกั น การรั่ว ซึ ม ของน้ํ า จากนั้นใชกระสอบทรายปดบริเวณ ช อ งประตู เ พื่ อ ป อ งกั น น้ํ า เข า สู โบราณสถานและติดตั้งเครื่องสูบน้ํา สูบน้ําออกจากโบราณสถาน  ในสวนของโบราณสถานที่ไมมีแนว กําแพงหรือมีแตความสูงไมเพียงพอ ตอการกันน้ํา จะเสริมความมั่นคง ของตัวโบราณสถานใหมีความมั่นคง แข็ ง แรง โดยเฉพาะฐานรากนั้ น สามารถปองกันการกัดเซาะของน้ํา ไดดี เพื่อใหโบราณสถานทนตอน้ํา ทวมได

แนวทาง/วิธีปฏิบัติในการรับมืออุทกภัยของ อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา  ในเดื อ นระหว า งเดื อ นสิ ง หาคม – กัน ยายน ของทุ ก ๆ ป ระดั บน้ํ า ใน แ ม น้ํ า ส า ย ห ลั ก ข อ ง จั ง ห วั ด พระนครศรี อยุ ธยา (ประกอบด ว ย แม น้ํ า เจ า พระยา แม น้ํ า ป า สั ก แมน้ําลพบุรี และแมน้ํานอย) จะมี ร ะ ดั บ สู ง ขึ้ น ซึ่ ง อุ ท ย า น ประวั ติ ศ าสตร พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา จะตองประสานกับหนวยงานตางๆ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง อ า ทิ เ ช น สํ า นั ก

ชลประทาน ปองกันและบรรเทาสา ธารณภั ยจั ง หวั ด ฯลฯ เพื่อ ติด ตาม สถานการณ น้ํา เมื่ อพิ จารณาแล ว เห็นวาปริมาณน้ําที่ไ หลผานจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจะก อ ให เ กิ ด อุ ทก ภั ย อุ ทย าน ฯ จะ มี ก าร เตรี ย มการในการรั บ มื อ /ป อ งกั น อุทกภัย ดังนี้  กอนน้ํามา - ป ร ะ ชุ ม เ จ า ห น า ที่ ว า ง แผนการดํ า เนิ น งาน แบ ง หน า ที่ ความรับผิดชอบซักซอมความเขาใน ในการเตรี ย มการรั บ มื อ /ป อ งกั น อุทกภัย - ต ร ว จ ส อ บ บํ า รุ ง รั ก ษ า อุ ป กรณ เ ครื่ อ งมื อ ต า งๆ อาทิ เ ช น เครื่องสูบน้ํา สายยาง ผาใบกันน้ํา แผงกันน้ํา ค้ํายัน ฯลฯ ใหพรอมใช งาน - จั ด หาวั ส ดุ ต า งๆ ในการ ป อ งกั น น้ํ า เช น ทราย กระสอบ ทราย ใหพรอม - ประสานขอความรวมมือกับ หนวยงานตางๆ เชน กรมศิลปากร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา องคการ บริ ห ารส ว นจั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธ ยาเทศบาลนครพระนครศรี อยุธยา ในการปองกันน้ําทวม  ขณะน้ํามา - จั ด แบ ง คนงานในการติ ด ตั้ ง ระบบปอ งกันน้ํา และตั้ง กระสอบ ทรายปองกันน้ํา - จัดเวรยามเฝาระวังระดับน้ํา ตลอด ๒๔ ชั่วโมง - หากระดั บ น้ํ าท ว มสูง จนพ น แนวป อ งกั น (โบราณสถานถู ก น้ํ า ทวม) เฝาติดตามผลกระทบ/ความ เสียหายที่จะเกิดกับโบราณสถาน


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

- หากโบราณสถานที่ ถู ก น้ํ า ทวมอยูใกลเสนทางคมนาคมทางน้ํา หรื อ อยู ใ นจุ ด ที่ ก ระแสน้ํ า ไหลแรง ใ ห ทํ า แ น ว ป อ ง กั น ค ลื่ น ห รื อ ก ร ะ แ ส น้ํ า ที่ จ ะ เ ข า ก ร ะ ท บ โบราณสถาน  หลังน้ําลด - ตรวจสอบสภาพความ เสี ย หายของโบราณสถาน (โดย เร ง ด ว น) จั ด ทํ า งบประมาณเพื่ อ บูรณะฟนฟู - หากพบโบราณสถานที่ชํารุด และมี แ นวโน ม ที่ จะพั ง ทลายให รี บ บูรณะเสริมความมั่นคงเบื้องตนโดย ดวน - ทําความสะอาดโบราณสถาน เก็บขยะขัดลางคราบตางๆ - บูรณะฟนฟูโบราณสถาน - ติ ด ตามความเสี ย หายหรื อ ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต อ โบราณ หลั ง น้ํ า ท ว มเป น ระยะ (เช น ดู ก าร ทรุดเอียง การแตกราว ฯลฯ)


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

พระนครศรีอยุธยา และแมน้ําเจาพระยา : ภูมิวัฒนธรรม วาดวยการตัง้ ถิ่นฐานบานเมือง

สุรินทร ศรีสังขงาม * 3

แผนที่แมน้ําเจาพระยาสมัยกรุงศรีอยุธยาของ เดอ ลา ลูแบร (ซาย) และ ฌาคส นิโกลาส เบแล็ง (ขวา) ที่มา: ธวัชชัย ตั้งศิริวานิช. กรุงศรีอยุธยาในแผนที่ฝรั่ง. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๙.

ความนํา

เมืองพระนครศรีอยุธยาตั้งอยูบนบริเวณที่เรียกวา “สามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยา” อันเปนพื้นที่ ที่มีศักยภาพและสามารถเกื้อหนุนตอการตั้ง “บานเมือง” หรือ “อาณาจักร” ไมวาจะเปนความเหมาะสมของ สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณของพื้นดิน ลําน้ํา หรือแหลงน้ําเพื่อการดํารงชีพและการเพาะปลูก จึงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหพระนครศรีอยุธยามีความเจริญรุงเรืองจนสามารถพัฒนาบานเมืองขึ้นเปนราชธานี หรือเมืองหลวงของอาณาจักรสยามไดยาวนานกวา ๔๑๗ ป แตก็มิไดหมายความวาความสําเร็จดังกลาว จะมาจาก ความสามารถในการเลื อ กสถานที่ ตั้ ง หรื อ ภู มิ ป ระเทศได อ ย า งเหมาะสมเท า นั้ น เพราะจากหลั ก ฐาน ทางประวัติศาสตรและโบราณคดีทําใหทราบวากรุง ศรีอยุธยาไดมีความพยายามในการปรับเปลี่ยนสภาพ ทางกายภาพของ “เมือง” และ “ลําน้ํา” ที่มีอยูแลวตามธรรมชาติใหมีความสอดคลองกับสภาพทางสังคม วัฒนธรรมและความจําเปนจากบริบททั้งภายในและภายนอกอาณาจักร ณ ชวงเวลาตางๆ ไดอยางเหมาะสม และชาญฉลาด

* อาจารยประจําสาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๓๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

การปรับเปลี่ ยนลักษณะทางภูมิศาสตร และภูมิสถานของพระนครโดยเฉพาะพื้นที่และลําน้ํา ซึ่งไดแสดงใหเห็นถึงความสําเร็จในการปรับสภาพเมือง พร อ มกั บ สั ง คมวั ฒ นธรรมจนสามารถพั ฒ นา พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจาก “รั ฐ เกษตรกรรม” ภายในภูมิภาคสู “เมืองทาการคา” ที่สําคัญ ที่สุด แหงหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

จากสามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยา ถึงราชธานีอยุธยา

“ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ํา (DELTA)” คือ แผ น ดิ น ที่ ร าบต่ํ าซึ่ ง เกิ ด ขึ้น บริ เ วณปากแม น้ํ า ทั้ง สายใหญ และสายเล็ ก ในบริเ วณปลายสุ ดของ ลําน้ํากอนที่จะไหลลงสูทะเล จึงทําใหเกิดเปนพื้นที่ ที่มีการสะสมของโคลนตะกอนซึ่ง ถูกลําน้ําพัดพา จนเกิ ด เป น พื้ น ที่ แ ละแผ น ดิ น อั น อุ ด มสมบู ร ณ ลั ก ษณะทางกายภาพของดิ น ดอนสามเหลี่ ย ม ปากแม น้ํ า จึง มี ลั กษณะพื้น ที่ คล า ยพัด เปน พื้ น ที่ ซึ่ง พรอ มไปด วยแหล ง น้ํ าและความอุ ดมสมบูร ณ จึ ง มั ก กลายเป น แหล ง กํ า เนิ ด ของอารยธรรม ที่ สํ า คั ญ ของโลกตั้ ง อยู เ กื อ บทุ ก แห ง ในเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใตตรงบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ํา สําคัญๆ จึงมักจะเปนที่ตั้งของบานเมืองสําคัญและ มีพัฒนาการที่คลายคลึง และรวมสมัยกัน อยูเสมอ ไมมากก็นอย ไดแก บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําโขง ในประเทศเวีย ดนาม สามเหลี่ ยมปากแมน้ํา แดง ในเวี ย ดนามเหนื อ สามเหลี่ ย มปากแม น้ํ า อิ ร วดี ในประเทศพม า รวมไปถึ ง บริ เ วณสามเหลี่ ย ม ปากแมน้ํ าเจาพระยาซึ่ ง เป น แหล ง กํา เนิ ดของรั ฐ สําคัญ เชน “ทวารวดี ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๖ และ “พระนครศรีอยุธยา” ในพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๓ โดยเฉพาะโครงสรางทางกายภาพของ สามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยา ซึ่งประกอบดวย บริเวณพื้นที่ลักษณะตางๆ คือ ๑. ชายฝงทะเล หมายถึงพื้นที่ชายขอบสุด ของปลายแมน้ําที่เชื่อมตอกับทะเล และพื้นที่ปาไม ที่เรียกวา “ปาชายเลน” สวนใหญมักเปนบริเวณ

น้ํากรอย เนื่องจากน้ําทะเลหนุนเขามาในแผนดิน ตามอิทธิพลของน้ําทะเล ๒. สามเหลี่ยมปากแมน้ําใหม หมายถึง สภาพภูมิประเทศที่เชื่อมตอกับบริเวณชายฝงทะเล มีพื้นที่กวางราว ๑๐๐ กิโลเมตร เปนที่ราบกวางใหญ มีความสูงเฉลี่ยเพียง ๒.๕ เมตร เหนือระดับน้ําทะเล ๓. สามเหลี่ยมปากแมน้ําเกา เปนบริเวณ เชื่ อ มตอ ระหว า งสามเหลี่ ย มปากแมน้ํ า ใหม แ ละ เขตเชิง เขาเปนพื้นที่ที่จะไดรับอิทธิพลจากน้ําจื ด โดยไมไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเล ทําใหพื้นที่สวนใหญ มีความอุดมสมบูรณสูงเหมาะกับการทําเกษตรกรรม และเป น บริ เ วณที่ เ ป น ที่ ตั้ ง ของ “เกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา” ๔. ที่ราบน้ําทวมถึง คือ บริเวณพื้นที่ราบ ระหวางเชิง เขาซึ่ง มีแมน้ําใหญไ หลผานพื้นที่ราบ น้ําทวมถึงเหลานี้จะอยูขนาบทั้งสองขางของลําน้ํา มีขนาดความกวางราว ๑๐ – ๒๐ กิโลเมตร จากฝง ลําน้ํา จึงมักเปนที่ตั้งของชุมชน ที่อาศัย และพื้นที่ เกษตรกรรม ๕. ภูเขาและแนวเชิง เขา เปนสวนขอบ ปก ทั้ ง สองข า งของสามเหลี่ย มปากแม น้ํ า แม จ ะ ไม ใ ช บ ริ เ วณของสามเหลี่ ย มปากแม น้ํ า โดยตรง แต ก็ เ ป น แหล ง กํ า เนิ ด ของกระแสน้ํ า และความ อุ ด มสมบู ร ณ เป น แหล ง ของตะกอนที่ ถู ก ลํ า น้ํ า พัดมาทับถมรวมกันดังกลาว การปรั บ เปลี่ ย นสภาพทางภู มิ ศ าสตร ในเขตสามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยาคงเกิดขึ้น เมื่ อ เริ่ ม มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานของมนุ ษ ย ใ นบริ เ วณนี้ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง นั บ ตั้ ง แต ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เป น ต น มา เช น การขุ ด คลองลั ด คลองเชื่ อ ม ระหว า งลํ า น้ํ า การขุ ด คูค ลองขนาดเล็ ก ทั้ ง เพื่ อ ประโยชนในการอุปโภคบริโภค เพื่อเกษตรกรรม รวมไปถึงเพื่อการคมนาคมสัญจร เมื่อกรุงศรีอยุธยาสามารถเลือกทําเลที่ตั้ง ไดอ ยา งเหมาะสม โดยตั้ง อยูใ นพื้ น ที่ สามเหลี่ย ม ปากแม น้ํ า ตรงบริ เวณที่ กล า ว ได ว า มี ค วาม อุดมสมบูรณที่สุด เปนแหลงรวมของลําน้ําสายตางๆ ไหลเขาสูกลางพื้นที่และอยูไกลชายฝง เกินกวาจะ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ไดรั บอิ ทธิ พลจากน้ํา ทะเล จึง เป น พื้น ฐานสํ าคั ญ ของการสร า งบ า นแปลงเมื อ งภายในบริ เ วณที่ มี ความพร อ มเชิ ง พื้ น ที่ ม ากที่ สุ ด แต ค วามพร อ ม ดัง กล าว เปน ความพร อมในเชิ ง พื้ น ฐานของการ ดํารงชีวิต แบบเกื้อหนุน กั บธรรมชาติ เพราะเมื่ อ ชวงเวลาเปลี่ยนไปบทบาทของพระนครศรีอยุธยา จากการเปน “รัฐ” ไดพัฒนาสูการเปน “ราชธานี” ซึ่งประกอบดวยองคประกอบทั้งทางดานเกษตรกรรม และการค า ทั้ง จากภายในและภายนอกราชธานี จึง นําไปสูความจําเปน และความพยายามในการ ปรับเปลี่ยนสภาพภูมิประเทศใหมีความสอดคลอง กั บ วิ ถี ชี วิ ต และบริ บ ททางสั ง คมวั ฒ น ธรร ม ที่เปลี่ยนแปลงไป การปรั บ เปลี่ ย นสภาพทางภู มิ ศ าสตร ในระยะแรกอาจกล าวได วา ยั ง คงเปน เพี ยงการ ปรั บ ตั ว เพื่ อ ให ส ะดวกแก ก ารทํ า มาหากิ น และ ดํารงชีวิตแบบยังชีพโดยพยายามอยางยิ่งที่จะใหมี ความกลมกลืนไปกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ที่ มี อ ยู จ ริ ง แต ต อ มาเมื่ อ มี ก ารค า ทางทะเล และสภาพบ า นเมื อ งถู ก พั ฒ นาจนกลายเป น ศูนยกลางที่ดึงดูดผูคนใหเขามาตั้งถิ่นฐาน รวมไปถึง การเปนศูน ยกลางของรัฐในชิงการปกครองที่ตอง รองรั บ การค า และเกษตรกรรมในเวลาเดี ย วกั น จึงเกิดการขุดคลองเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูกทั้งสอง ฝงของแมน้ําเจาพระยา มีการขยายโครงขายของ ระบบชลประทานอยางเต็มพื้นที่ เพื่อรองรับการ ปลู ก “ข า ว” อั น เป น พื ช ที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ การเพาะปลูกในบริเวณที่ราบน้ําทวมถึง ซึ่งมีระดับ น้ํ า ขั ง และขึ้ น น้ํ า ลงที่ ชั ด เจน อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก าร เปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ใหเปน “นา” ซึ่ง มีความ เหมาะสมกั บ การปลู ก ข า ว โดยเฉพาะมี ก าร สร า งสรรค สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า แบบแผนประเพณี วั ฒ นธ ร รม และ วิ ถี ชี วิ ต ของ สั ง คมที่ มี ค ว าม สอดคลองไปกับสภาพแวดล อมที่ตองประสบกั บ สภาพน้ําทวม น้ําหลาก หรือพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง ของระดับน้ําในเขตมรสุมอยูเสมอ ในขณะเดี ย วกั น พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ยั ง ต อ งปรั บ สภาพของลํ า น้ํ า เจ า พระยาตั้ ง แต

ปากแมน้ําชายฝงทะเลจนถึงพระนครเพื่อใหพรอม กับการปรับตัวเพื่อเปน “เมืองทาการคา” ที่ตองมี การติ ด ต อ ค า ขายกั บ ผู ค นจากภายนอกภู มิ ภ าค ดังนั้น กรุงศรีอยุธยาจึงเปนจุดบรรจบสําคัญที่เปน ทั้ง จุด “เชื่อ มตอ ” และ “กันชน” ระหวางพื้น ที่ เพี่ อ การเกษตรทางด า นเหนื อ ของพระนคร กับเสนทางตลอดลําน้ําเจาพระยา ที่ใชเปนเสนทาง สัญ จรเพื่อ ติด ตอ ทางการคา กับ ภายนอกภูมิ ภาค ทางฝงทิศใตของพระนคร

สถาปนากรุงศรีอยุธยา : สรางบาน แปงเมือง

ในป จ จุ บั น นั ก วิ ช าการฯ มี ค วามเห็ น ตรงกันวา พระนครศรีอยุธยาคงเปนรัฐที่มีความเจริญ และพั ฒ นาอย า งสื บ เนื่ อ งมาโดยลํ า ดั บ ภาคใน ภู มิ ภ าค แต อ ย า งน อ ยนั บ ตั้ ง แต ส มเด็ จ พระรามาธิ บดีที่ ๑ หรื อพระเจาอูท อง (พ.ศ.๑๘๙๓๑๙๑๒) ทรงสถาปนาพระนครศรีอยุธยาขึ้น ในป พุ ท ธศั ก ราช ๑๘๙๓ ก็ ถื อ ว า เป น การประกาศ รูปของรัฐที่มีความชัดเจนและปรากฏบทบาททั้ง ในทางประวั ติ ศ าสตร แ ละสั ง คมวั ฒ นธรรมใน ภูมิภาคอยางเดนชัด โดยลักษณะภูมิประเทศของ พระนคร ศรี อ ยุ ธ ยามี ลั ก ษ ณะเด น ที่ มี ค วาม สอดคลอ งของแม น้ํา ลํา คลองและท องทุง ด วยมี แมน้ําใหญหลายสายที่ไหลมาบรรจบกันในบริเวณ พื้ น ที่ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา แม น้ํ า เหล า นั้ น ได เ ป น เครื่องแบงพื้นที่ของทุงราบออกเปนทุงตางๆ ไมวา จะเป น ทุ ง ลุ ม พลี ทุ ง หั น ตรา ทุ ง แก ว ทุ ง ขวั ญ ทุงประเชต และทุงภูเขาทอง เปนตน แมลักษณะ ของตัวเมืองอยุธยาจึง เปนเมืองที่อยูกับน้ํา แมน้ํา ทุ ก สายไหลเข า สู อ ยุ ธ ยา แต ใ น “ฤดู น้ํ า หลาก” น้ําเหลานี้จะถูกกระจายไปตามทุงกวางรอบๆ เกาะเมือง ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ต่ํ า กว า รวมไปถึ ง ตามลํ า คลองต า งๆ จึงเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหในฤดูน้ําหลากระดับน้ํา ในตัวเมืองอยุธยาจะไมสูงนัก รวมทั้งความนาสนใจ ในการวางผั ง เมื อ งโดยเฉพาะเมื่ อมี ช าวตา งชาติ เข า มามี ส ว นร ว มในการสร า งกํ า แพงเมื อ งสู ง แบบตะวันตก และการขุดคลองผานในแนวทิศเหนือใต และแนวทิศตะวันออกตะวันตก จึงทําใหลักษณะ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ทางกายภาพของเกาะเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยา มีลักษณะอยางที่เปนอยูในปจจุบัน และดวยเหตุของการเปนเมืองที่รับภาวะ น้ําหลากนี่เองทําใหพื้นที่บริเวณชานเมือง ถัดจาก กําแพงเปนพื้นที่ที่น้ําทวมเปนสวนใหญ จึงเปนที่มา ของแบบพัฒนารูปแบบสถาปตยกรรม “เรือนไทย เสาสูง” และ “เรือนแพ” จํานวนมากมาย และ กลายเป น เอกลั ก ษณ ข องเรื อ นพั ก อาศั ย แบบ ไทยภาคกลางที่ อ ยู อ ย า งสอดคล อ งกั บ สภาวะ ทางธรรมชาตินั่นเอง

แมน้ําเจาพระยา : ชื่อ และการเปลี่ยนแปลง

แม น้ํ า เจ า พระยาเป น แม น้ํ า สายหลั ก ที่เกิดจากการรวมตัวของแมน้ําจากทางภาคเหนือ (แมน้ํ าปง วัง ยม และนา น) ไหลมาบรรจบกัน ที่ ตําบลปากน้ําโพธิ์ จังหวัดนครสวรรค และไหลลงสู ทิ ศ ใต ผ า นจั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ชั ย นาท สิ ง บุ รี อา งทอง พระนครศรี อ ยุธ ยา ปทุ ม ธานี นนทบุ รี กรุ ง เทพมหานคร ก อ นออกสู อ า วไทยที่ ป ากน้ํ า บริเวณตําบลทายบาน ตําบลบางปูใหม และตําบล แหลมฟ า ผ า จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ มี ค วามยาว ทั้งสิ้นประมาณ ๓๗๒ กิโลเมตร ชื่อแมน้ําเจาพระยาไมปรากฏหลักฐาน อยางชัดเจนวาเริ่มตนใชครั้งแรกเมื่อใด แตอยาง น อ ยที่ สุ ด ก็ ป รากฏการใช คํ า ว า “เจ า พระยา” ในสมั ยกรุง ศรีอ ยุธยา ดัง ปรากฏในจดหมายเหตุ ระยะทางพระอุบาลีไปลังกา ในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๙๕) ความว า “ถึ ง เมื อ ง พระประแดงรุงขึ้นวันพุธ เดือนยี่ ขึ้น ๑๓ คํา เพลาเชา กรมการก็มานิมนตพระสงฆไปฉัน ณ ศาลากลาง แลวเวียนเทียนสมโภชพระราชสาสนแลวออกไปถึง น้ําเขียว ปากน้ําบางเจาพระยา” สมเด็ จ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ ทรงพระนิพนธไวในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหั ถ เลขาว า “ที่ เ ราเรี ย กกั น ว า ปากน้ํ า เจาพระยา ทุกวันนี้ แตโบราณเรียกว า ปากน้ํ า พระประแดง ภายหลังเมื่อแผนดินงอกหางออกไป ไกลเมืองพระแดง จึงเรียกวา ปากน้ําบางเจาพระยา”

ม.ร.ว.คึ ก ฤทธิ์ ปราโมทย เขี ย นไว ใ น คอลั ม น “ข า วปลายนา” หนั ง สื อ พิ ม พ ส ยามรั ฐ ฉบับวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๐ วา “แมน้ํา เจ า พระยาเริ่ ม ต น ที่ จุ ด รวมของแม น้ํ า น า น และ แมน้ําปง ที่ปากน้ําโพ จังหวัดนครสวรรค ไปสิ้นสุด ไหลออกทะเลที่ปากน้ําเมืองสมุทรปราการ ตรงที่ แม น้ํ า นี้ ไ หลออกทะเลนั้ น เคยมี ชื่ อ ว า เจ า พระ ชื่ อ ตํ า บลนั้ น ก็ เ ลยใช เ รี ย กชื่ อ แม น้ํ า ทั้ ง สายว า แมน้ําเจาพระยา เชนเดียวกับเอาชื่อตําบลที่แมน้ํา สายอื่ น ๆ ไหลออกสู ท ะเลไปเป น ชื่ อ แม น้ํ า เช น แม น้ํ า บางประกง แม น้ํ า ท า จี น แม น้ํ า แม ก ลอง เปนตน” หลักฐานการใชชื่อแมน้ําเจาพระยาเริ่มมี ความชัดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร สมัยรัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ โดยปรากฏในพระราชสาสน ที่ รั ช กาลที่ ๔ ทรงมี ไ ปยั ง ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ปรากฏคําวา “ปากน้ําเจาพระยา” สวนการเรียกชื่อ “แมน้ําเจาพระยา” นั้น มาปรากฏเปนหลักฐานอยางจริงจังในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่ อ ทรงมี พ ระราชดํ า ริ จ ะจั ด การปกครองแบบ มณฑลเทศาภิบาล โดยจัดรวมหัวเมืองใกลเคียงไว ด ว ยกั น แล ว กํ า หนดเป น อาณาเขตแต ล ะมณฑล ความวา “ทรงกําหนดใหหัวเมืองตน ลําน้ําเจาพระยา คื อ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เมื อ งลพบุ รี เมื อ งสระบุ รี เมื องอ าง ทอง เมื องสิ ง ห บุ รี เมื อง พร ม บุ รี เมืองอินทบุรี รวม ๗ เมืองตั้ง ที่วาการมณฑล ๑ ตั้งที่วาการมณฑล ณ พระนครศรีอยุธยา เรียกวา มณฑลกรุงเกา ” ดัง นั้ น จึง มีค วามเป น ไปไดอ ยา งยิ่ง ที่ชื่ อ “แม น้ํ า เจ า พระยา” หรื อ “ลํ า น้ํ า เจ า พระยา” คงกร อ นมาจากคํ าว า “ปากน้ํา บางเจ าพระยา” ซึ่ ง ปรากฏในหลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร ตั้ ง แต สมัยกรุงศรีอยุธยา จนถึงการเริ่มใชคําวา “แมน้ํา เจาพระยา” หรือ “ลําน้ําเจาพระยา” อยางชัดเจน ตั้ ง แต ส มั ย รั ช กาลที่ ๕ นั่ น เอง โดยที่ แ ม น้ํ า เจา พระยาที่เห็ นอยู ในทุกวั นนี้ไ มใ ชลัก ษณะของ แมน้ําเจาพระยาซึ่งปรากฏขึ้งเองตามธรรมชาติแต เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงโดยเฉพาะการขุ ด


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

“คลองลัด ” ในบริ เวณตา งๆ โดยเฉพาะการขุ ด คลองลั ด ในบริ เ วณที่ ลํ า น้ํ า มี ค วามคดโค ง และ อ อ มเป น ระยะทางไกลเพื่ อ ประโยชน ใ นการ คมนาคมโดยเฉพาะ ในสมั ย อยุ ธ ยาปรากฏ หลักฐานการเปลี่ยนแปลงลําน้ําดังนี้ ๑. คลอง สํ า โรง และคลอง ทั บ นาง ปรากฏหลักฐานวามีการขุดซอมในรัชการสมเด็จ พระรามาธิ บ ดี ที่ ๒ ราวพุ ท ธศั ก ราช ๒๐๔๑ โดยคลองสํา โรง เปน การขุดซ อมเพื่ อใหเ รือใหญ สามารถใชสั ญ จรไดส ะดวกเพราะเปน เส นทางที่ สามารถเดินทางสูเขตชายฝงทะเลฟากตะวันออก รวมไปถึ ง ประเทศเขมรได ส ว นคลองทั บ นาง เป น คลองที่ขุ ด แยกออกจากคลองสํ าโรงไปออก อาวไทย ที่อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ๒. ราว พ.ศ.๒๐๗๗–๒๐๘๐ สมัยสมเด็จ พระไชยราชาธิร าช ทรงโปรดขุดคลองลัดตั้ง แต ปากคลองบางกอกนอยในปจจุบันไปจนถึงบริเวณ หน า วั ด อรุ ณ ราชวราราม เป น ระยะทางราว ๓ กิโลเมตร ซึ่งหลังจากการขุดคลองลัดสายนี้สําเร็จ ไดไมนาน ไดทําใหแมน้ําเจาพระยาเปลี่ยนเสนทาง การไหลเขาสูคลองลัดโดยตรงทําใหคลองลัดสายนี้ กลายเปน แมน้ําสายใหญ คือแมน้ําเจาพระยาใน ปจ จุ บั น ช วงที่ อ ยู ห นา มหาวิ ทยาลั ย ธรรมศาสตร สวนแมน้ําเจาพระยาสายเดิมไดกลายเปนคลองที่มี ขนาดแคบลงและมี ชื่ อเรี ยกต า งๆ ตามบริเ วณที่ ไหลผาน ไดแก คลองบางกอกนอย คลองชักพระ คลองบางขุนศรี คลองบางเชือกหนัง คลองวัดประดู และคลองบางกอกใหญในปจจุบัน ๓. ราวพุ ท ธศั ก ราช ๒๐๘๑ ในรั ช กาล สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ทรงโปรดใหขุดคลองลัด บางกรวยโดยขุดตั้งแตวัดชะลอมาจนถึงวัดขี้เหล็ก ซึ่ง อยู แ ถบคลองบางกอกน อยในป จจุ บัน เพื่อ ย น ระยะทางการอ อ มของแม น้ํ า โดยมี ร ะยะทาง ประมาณ ๓ กิโลเมตร ๔. ราว พ.ศ. ๒๑๓๓ โดยสมเด็ จพระนเรศวรเมื่อครั้งยังดํารงพระยศเปนพระมหาอุปราช ทรงโปรดใหขุ ดคลองบางปลากด เพื่ อเป นคลอง เชื่อมแมน้ําเจาพระยาและแมน้ํานอยตรงบริเวณ

ปาโมก จังหวัดอางทองเปนระยะทางประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เพื่อรับศึกพมาอีกทั้งเพื่อความสะดวกใน การเดินทัพไปยังสุพรรณบุรีและกาญจนบุรี ๕. ชวง พ.ศ. ๒๑๕๐ – ๒๑๕๑ ในรัชกาล สมเด็จพระเจาทรงธรรม ทรงโปรดใหขุดคลองลัด เกร็ดใหญบริเวณสามโคกที่ทุงพระยาเมือง ตั้งแต ปากคลองบา นพร า ว จนถึง ปากคลองบางหลวง เชียงราช ระยะทางประมาณ ๕ กิโลเมตร ๖. ราว พ.ศ.๒๑๗๘ หรื อ พ.ศ.๒๑๗๙ ในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง ทรงโปรดใหขุด คลองลั ด เมื อ งนนท ร ะยะทางราว ๕ กิ โ ลเมตร ซึ่ ง ป จ จุ บั น กลายเป น แม น้ํ า เจ า พระยาสายหลั ก ที่ไหลผานบริเวณเมืองนนทบุรีในปจจุบัน ๗. ราว พ.ศ. ๒๑๘๘ ในสมั ย พระเจ า ปราสาททอง ทรงเกณฑไพรพลราว ๓๐,๐๐๐ คน เพื่อ ขุดคลองเชื่ อมระหว างแมน้ํ าเจ าพระยาและ แม น้ํ า ท า จี น จากธนบุ รี ถึง สมุ ท รสาคร แต ขุ ด ได ส ว นหนึ่ ง ก็ เ สด็ จ สวรรคต มาเริ่ ม ขุ ด อี ก ครั้ ง ใน รัชกาลสมเด็จพระเจาเสือจนมาแลวเสร็จในรัชกาล สมเด็ จ พระเจ า ท า ยสระในช ว งพ.ศ. ๒๒๔๘ – ๒๒๖๕ รวมระยะทางประมาณ ๓๐ กิโลเมตร ๘. ในราว พ.ศ.๒๒๖๕ รัชกาลพระเจา ทายสระ ทรงโปรดใหขุดคลองลัดโพธิ์ ระยะทาง ประมาณ ๑ กิโลเมตร เพื่อเปนการยนระยะทาง จ า ก ป า ก น้ํ า บ ริ เ ว ณ โ ค ง แ ม น้ํ า เ จ า พ ร ะ ย า ที่พระประแดงในปจจุบั น แตตอ มาคลองลัดโพธิ์ ถู ก ปล อ ยให ตื่ น เขิ น เนื่ อ งจากก อ ให เ กิ ด ป ญ หา น้ําเค็มทะลักเขามาในพื้นที่มากเกินไปในชวงที่มีน้ํา ทะเลหนุน (ซึ่งเปนคลองลัดที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบันทรงริเริ่ม “โครงการคลอง ลัดโพธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดําริ” เพื่อแกปญหา ระบบและการจั ด การน้ํ า ของกรุ ง เทพฯ และ ปริมณฑลในปจจุบัน) ๙. ราว พ.ศ. ๒๒๖๕ ในรัชกาลพระเจาทา ยสระทรงโปรดให ขุ ด คลองลั ดเกร็ ด นอ ยหรื อ คลองปากเกร็ดโดยขุดลัดบริเวณคุงน้ําเจาพระยา ในบริ เ วณที่ ต รงกั บ อํ า เภอปากเกร็ ด ในป จ จุ บั น ระยะทางประมาณ ๒ กิโลเมตร


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

๑๐. คลองโยง ไม ป รากฏหลั ก ฐานว า ขุดขึ้น เมื่อใดแต คลองเสน นี้ ขุดเพื่อเชื่ อมระหวา ง แมน้ําเจาพระยาและแมน้ําสุพรรณบุรี การขุ ด คลองลั ด ต า งๆ นั้ น เป น การ ปรับเปลี่ยนเพื่อใหการเดินทางโดยทางเรือไดเร็วขึ้น โดยขุดคลองตัดคุงน้ําที่คดโคงใหลัดตรง เนื่องจาก โดยธรรมชาติของแมน้ําที่เมื่อเขาใกลชายฝงทะเล และมีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางจนถึงไม มากนั ก มัก จะเกิดกระแสน้ํ าที่เ ดิน ทางไหลเฉื่อ ย จนทํ า ให ลํ า น้ํ า มี ค วามคดโค ง มากกว า ลํ า น้ํ า ที่ ไหลผานจากที่สูงหรือใกลภูเขา เมื่อตัดคลองลัดลํา น้ําก็ทําใหเกิดเกาะกลางแมน้ํา และลําน้ําที่ถูกขุด ขึ้ น นั้ น ภายหลั ง ส ว นใหญ ก็ ก ลายเป น ลํ า น้ํ า สายหลัก แทนลํ า น้ํ าเดิ ม ที่ก ลายเป น ลํา คลองโค ง และจะขนาดเล็กลงกวาเดิมมาก การขุดคลองลัด มักปรากฏในพงศาวดารตางๆ เนื่องจากเปนการ ระดมผูคนและแรงงานจํานวนมาก อีกทั้ง ใชเวลา ยาวนานจึง มักจะเป น เหตุก ารณ สํา คัญ ในรัช กาล นั้นๆ กลาวไดวาการขุดคลองลัดนี้ก็เพื่อความ สะดวกและลดเวลาในการเดิน ทางจากพระนคร หลวงไปสูปากแมน้ําเจาพระยา เพื่อที่จะสามารถ เดิน เรือเลียบชายฝง อัน เนื่องมาจากความรุงเรือง

บรรณานุกรม

ของยุ ค แห ง การค า ทางทะเล ตั้ งแต ใ นช ว ง พุ ท ธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๓ แล ว อี ก ทั้ ง ยั ง เพื่ อ เปด เสน ทางการติ ดตอ กับ บานเมื องชายฝง ทะเล ทั้ ง ทางตะวั น ตกและทางตะวั น ออก ตลอดจน หัวเมืองปกใตทางคาบสมุทรสยาม-มาลายูอีกดวย

บทสรุป

สิ่ ง เหล า นี้ ส ามารถเรี ย กได ว า เป น “ภูมิวัฒนธรรม” อันเปนปญญาหรือองคความรู ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร สั่ ง ส ม แ ล ะ เ รี ย น รู ภ า ย ใ ต กระบวนการทางสังคมวัฒนธรรม และสิ่งนี้เอง คือเครื่องยืนยันคุณคาของ “วัฒนธรรมอยุธยา” ไม ว า จะอยู ใ นบทบาทของความเป น “มรดก โลก” หรือไมก็ตาม แตคุณคาเชิงประจักษเหลานี้ จะมี คุ ณ ค า และเด น ชั ด พอหรื อ ไม ที่ จ ะทํ า ให “ภาครั ฐ ฯ” กํ า หนดนโยบายในการพั ฒ นา พระนครศรีอ ยุธยา ที่จะนําไปสูป ระโยชนสูงสุด พร อ มๆ กั บ การดํ า รงอยู ไ ด ข อง “ภู มิ แ ห ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม พระนครศรี อ ยุ ธ ยา” เพื่ อ เป น การสงวนรั ก ษา มรดกทางวัฒนธรรมเหลานี้ไวเปนสมบัติของชาติ และของโลกอยางยั่งยืน

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับ หลวงประเสริฐ , คํ าให การชาวกรุงเกา, คําใหการขุนหลวงหาวั ด. กรุง เทพฯ: สํา นักพิ มพศ รี ปญญา. ๒๕๕๓. มานิต วัลลิโภดม. ศิลปะอูทอง. พระนคร: กรมศิลปากร. ๒๕๑๐. มูลนิธิเล็ก – ประไพ วิริยะพันธุ. “พัฒนาการของการปรับเปลี่ยนสภาพภูมิศาสตรในเขตสามเหลี่ยมปาก แมน้ําเจาพระยา” วลัยลักษณ ทรงศิริ. www.lek-prapai.org (คนเมื่อ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕) วินัย ผูนําพล. วัฒนธรรมผสมในศิลปกรรมสยาม. กรุงเทพฯ: บริษัทรุงศิลปการพิมพ (๑๙๗๗) จํากัด. ๒๕๕๒. ศรีศักร วัลลิโภดม. สยามประเทศ. พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๔๗.


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เพลงเรือ

อมรา กล่ําเจริญ * 3

เพลงเรือ เปนเพลงพื้นบานชนิดหนึ่งของไทย ผูเลนโดยทั่วไปเปนชาวบานในชนบท ที่อาศัยอยูในที่ลุมใกลแมน้ําลําคลองใชเรือพายเปนพาหนะติดตอสัญจรไปมา เรือพายจึงเปน พาหนะที่ใหความสะดวกสบายผูกพันกับวิถีชีวิตความเปนอยูของชาวชนบท การละเลนเพลงเรือ จึงเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตเลนกันอยางแพรหลายและเลนกันมากในภาคกลาง แถวจังหวัด สุพรรณบุรี สิงหบุรี อางทอง และอยุธยา การเลนเพลงเรือจะมีการเลนลักษณะเฉพาะถิ่น และ เล น เฉพาะในเทศกาล มีผูเ ขี ยนถึ ง การเลน เพลงเรื อทางภาคอี ส าน จะเล น ในช ว งเทศกาล ลอยกระทง และการเลนเพลงเรือทางภาคใต จะเลนกันในฤดูน้ําหลากเดือน ๑๑ ในงานชักพระ ทางเรือ เมื่อวิเคราะหแลวเห็นวา เทศกาลที่เลนนาจะเปนเทศกาลเดียวกัน แตมีความแตกตาง ในเรื่องวิธีแสดงและบทกลอนเปนไปตามประเพณีของทองถิ่น

* รองศาสตราจารย ระดับ ๙ ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

การเล น เพลงเรื อ มี ม าตั้ ง แต ค รั้ ง สมั ย กรุงศรีอยุธยา ซึ่งปรากฏในกฎมณเฑียรบาลที่ตราขึ้น ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ไดกลาวถึง การเลน เพลงเรื อ ห า มมาเล น ใกล พ ระราชฐาน ซึ่ ง ได กําหนดไวมีความวา “แตประตูแสดงรามถึง สระแกว ไอยรา การหมื่น โทวาริก ผี้วผูชายหญิงเจราจาดวยกันก็ดี นั่งในที่สงัดก็ดี อนึ่ง ทอดแหแลตกเบดสุมสอนชอน ชนาง แลรองเรือเปาขลุย เปาปตีทับขับรําโหรอง นี่นัน ไอยการหมื่นโทวาริก ถาจับไดโทษ ๓ ประการ ประการหนึ่ ง ให ส ง มหาดไท ประการหนึ่ ง ให ส ง องครักษประการหนึ่ง ใหสักลงหญาชาง” และอีก ความหนึ่งวา “อนึ่ง ในทอน้ําสระแกว ผูใดขี่เรือคฤ เรื อปทุน เรือ กูบ แลเรือ มีส าตราวุธ แลใสห มวก คลุมหัวนอนมา ชายหญิงนั่งมาดวยกัน อนึ่งชเลาะ ตีดากัน รองเพลงเรือเปาป เปาขลุย สีซอ ดีดจเข กระจับป ตีโทนทับ โหรองนี่นัน อนึ่ง พิริยหมูแขก ขอมลาวพมาเมงมอญมสุมแสงจีน จามชวานานา ประเทษทังปวง และเขามาเดิรในทายสนมก็ดี ทังนี้ ไอยการขุนสนมหาม ถามิไดหามปราบเกาะกุมเอา มาถึงศาลาใหแกเจาน้ําทา แลใหนานาประเทษไป มาในท า ยสนมได โทษเจ า พนั ก งานถึ ง ตาย (กรมศิลปากร, ๒๕๒๑: ๒๗-๓๘) จากกฎมณเฑี ย รบาล แสดงให เ ห็ น ว า เพลงเรือมีการเลน มาตั้ง แตสมัยอยุธยา และยัง มี ปรากฏในเพลงยาวสมัยกรุง ศรีอยุธยา (ประสิทธิ์ กาพยกลอน, ๒๕๒๗ : ๑๓๑) ไดกลาวไวตอนหนึ่งวา “พวกผูชายกรุมกริ่มยิ้มยอง หมดองสองไหลเขาไพลหลัง หัดดอกไมกรายกรีดดีดนิ้วดัง บางก็ตั้งทานักรองเพลงเรือ” โดยเหตุ ผ ลทางภู มิ ศ าสตร ข องอยุ ธ ยา ในอดี ต ตั้ ง อยู ใ นทํ า เลที่ ดี ทั้ ง ด า นยุ ท ธศาสตร เศรษฐกิจและการเมือง อยุธยาจึงมีความสมบูรณ ได ชื่ อ ว า “อู ข า ว อู น้ํ า ” มี อ ายุ ข องความเป น ราชธานีอันยาวนาน (๔๑๗ ป) วิถีชีวิตของชาวอยุธยา

ผู ก พั น อยู กั บ สายน้ํ า มี ที่ พํ า นั ก อาศั ย อยู ต าม ริมแมน้ําลําคลองการไปมาหาสูโดยทางเรือ ดังนั้น จึงมีการละเลนที่มีความสัมพันธกับสายน้ํา ดังเชน การเลนดอกสรอยสักวาของชนชั้นเจาขุนมูลนาย และการเล นเพลงเรือ ของชาวบา นมาตั้ ง แตส มั ย ครั้งกรุงเกา การเลนเพลงเรืออยุธยา จะเลนเฉพาะ เทศกาล คือ ในเทศกาลไหวพระที่วั ด หรือเรี ย ก สั้น ๆ วา “งานไหว วัด” เทศกาลกฐิน และผาป า งานไหววัดจะเริ่มที่งานนมัสการพระพุทธไสยาสน วัดปาโมกจังหวัดอางทอง เปนวัดแรก ตรงกับวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ เมื่อเสร็จจากไหวพระ พอเพลง แมเพลงจะจับคูเลนเพลงกันในชวงตอนกลางวัน เรื่อยไปจนเปนที่พอใจ การเลนเพลงเรือในเทศกาล ไหว วั ด จะเล น ต อ ๆ กั น ไปตลอดทั้ ง เดื อ น ๑๑ แลวแตวัดใดจะจัดขึ้นกอนหลัง พอถึงวันแรม ๘ ค่ํา เดือน ๑๒ พอเพลง แมเพลงจะไปรวมกันอีกครั้งที่ วัดสุธาดล จัง หวัดอางทอง เพื่อนมัสการไหวพระ หลวงพอ ทอง เป นการไหววั ด และเลนเพลงเรื อ เปนวัดสุดทายของเทศกาลไหววัด สวนเพลงเรือที่ เลนรับเทศกาลกฐินผาปา จะเลนตั้งแตชวงออกพรรษา ในเดือน ๑๒ บางทองที่จะเลนเลยไปถึงวันขึ้น ๓ ค่ํา เดือนอาย ตามแตจะมีเจาภาพมาจับจองทอดกฐิน ผาปา เพลงเรือจึงไดชื่ออีกอยางหนึ่งวา “เพลงปา” หรือบางครั้ง เรียกวา “เพลงทองน้ํา” เพราะเลน ในฤดูน้ํา การเลนในเทศกาลนี้ และรวมทั้งการเลน ในวันลอยกระทง นิยมเลนในตอนกลางวัน มนตรี ตราโมท (๒๔๙๗ : ๕๔) ไดเขียน ถึงฤดูกาลเลนเพลงเรือไววา “ฤดูที่จะเลนเพลงเรือ กันใหสนุกคือ ฤดูน้ํา ในการทอดกฐินบาง ผาปาบาง แต ที่ ข า พเจ า พบเห็ น มา งานกฐิ น ผ า ป า ก็ ยั ง สู งานนมัสการพระประจําป ณ วัดที่มีบริเวณอยูใกล แมน้ําไมได นักรองเพลงเรือที่เคยมีชื่อและเลนกัน อยางจริง จังก็เห็นอยูเพียงจัง หวัดอยุธยา อางทอง และสุพรรณบุรี นักรองเพลงเรือของ ๓ จัง หวัดนี้ ติดตามไปประฝปากกันในงานนมัสการพระประจําป อยางไมยอมแพกัน เชน งานนมัสการพระวัดปาโมก วัดไชโยและวัดปาเลไลยก (เฉพาะฤดูน้ํา) พวกนักเพลง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ทั้ง ๓ จังหวัด ก็ลงเรือมาแจว มีเสบียงพรอมพากัน ไปยั ง บริ เ วณวั ด นั้ น ๆ และแล ว ก็ ว า แก กั น อย า ง สนุ ก สนานถึ ง พริ ก ถึ ง ขิ ง ถื อ เอางานวั ด เป น ที่ เลน เพลงกัน และรองแกกัน ไปจนรุงสวาง นับวา เปนประเพณีที่ครึกครื้นมาก” เ พ ล ง เ รื อ ที่ ช า ว บ า น เ ล น กั น จ ะ มี สวนประกอบที่สําคัญคือ เรือ พาย พอเพลง แมเพลง ลู ก คู ช ายของพ อ เพลง และลู ก คู ส าวสวยของ แมเ พลงฝายละ ๖ ถึ ง ๘ คน ที่ เปน ทั้ง ผู พายเรื อ จั บ คู เ ล น เพลงกั น และมี ฉิ่ ง กรั บ เป น อุ ป กรณ ประกอบจั ง หวะ เมื่ อ ถึ ง คราวเล น เพลงเรื อ ใน เทศกาลไหววัด นักเพลงก็จะนัดหมายกัน เตรียมตัว แตงหนาแตงกายใหสวยงามบางครั้ง อาจจะมีการ กําหนดรูป แบบสีเสื้อ สวมใส ผาคลองไหลใหเป น สี เ ดี ย วกั น หรื อ บางครั้ ง หากจะต อ งว า เพลงกั น ยาวนานก็ จ ะต อ งเตรี ย มเสบี ย งไปให พ ร อ ม ออกจากบานลงเรือไปเลนเพลง ซึ่งก็หวังไววาจะได พบกับเรือเพลงที่ถูกใจ

วิธีจับคูเลนเพลง เพลงเรือจะมีขนบของ การจับคูวาเพลงในเทศกาลไหววัดพอเพลง แมเพลง แต ล ะท อ งถิ่ น จะไปหาคู เ รื อ เพลงในงานไหว วั ด บางครั้งอาจจะพบเห็นกันกอนระหวางทางไปไหววัด หรืออยูในบริเวณวัด ก็จะหาโอกาสพูดจาหมายตา กันไว เมื่อไหวพระกันแลว เรือพอเพลง เรือแมเพลง ก็จะพายมาเทีย บเคียงกั น พอเพลงก็จะขึ้นเพลง “ปลอบ” เป น การเชิ ญ ชวนให เ ล น เพลงด ว ยกั น การว า เพลงปลอบนี้ ตามกระบวนการว า เพลง ตองวาใหครบสามบท ถาแมเพลงฝายหญิงไมเต็มใจ จะเลนดวย แมเพลงก็จะนิ่งเฉยปลอยใหฝายชาย ว า เพลงไปเรื่ อ ยๆ เมื่ อ เห็ น ว า แม เ พลงไม มี ท า ที จะตอบเพลง ฝายชายก็จะพายเรือแยกไปปลอบ สาวลําเรืออื่นตอไป ดังบทรองที่วา

กรับพวง – ฉิ่ง เครื่องดนตรีประกอบจังหวะในการเลนเพลงเรือ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ใจนางชางหมิ่น จริงเชียวเอง ผิดกับแมละเวงวัลลา ดอกฟาถึงหาทายวาถึงหก คราวสัตวตาตกเวทนา ติดขัดอะไรนะพี่ชายอยากแจง หรือแมคุณขัดแขงขัดขา ขัดอกขัดใจพี่ชายเสียจริง ฉันแลดูผูหญิงแมนั่งกมแตหนา นองไมปราณีหรือเคืองพี่ขัดคอ คูเกาของเจารอใหเขามา บอกพี่ตรงๆ ไมเจาะจงจิตจอ ฉันไมรวมสวมตอก็พารา ....................................... ...................................... ไมมีแตเองหรอกแมละเวงวัลลา พี่ตองเสาะหาใหมเอย ถ า แม เ พลงต อ งการจะเล น เพลงด ว ย เมื่อผูชายรอง “ปลอบ” มา แมเพลงก็จะตอบเพลง “ประ” (ประตอบครั้งแรกเรียกวา “ประ” หนาเพลง) กลับไป ดังบทรองที่วา พอเพลง...พอถวนกําหนดสามบทเพลงปลอบ แมสาวนอยจงตอบวาจา แมดงสรอยแมหอยดาวหาง แมอยาทําเปนนางลอยหนา ขอเชิญเจาเนื้อเย็นใหเจาเจรจา เมื่อจวนเวลาพูมเอย ฝายหญิง...ใหเชิญเนื้อเย็น เนื้อเย็นแมเจรจา พอชายเรียกเอยก็ขาน จะเชิญใหนองวานก็วา จึงนบนอบตอบคําไปดวยน้ําวาจา เชียวหนอเมื่อเวลานี้เลย เมื่ อ ฝ า ยหญิ ง ตอบรั บ ที่ จ ะเล น เพลง ตอจากนั้น พอเพลง และแมเพลง ก็จะใชไหวพริบ

ปฏิภาณโตตอบเพลงกัน เนื้อหาในบทเพลงจะเปน การเกี้ยวพาราสีกันตามประสาหนุมสาวเปนสวนใหญ แตจะไมทิ้งความสําคัญของการวาเพลงใหเปนไป ตามลํ า ดั บ ขั้ น ตอนการร อง ที่ เ ป น “เพลงหลั ก ” ของเพลงเรือที่มีอยู ๖ ขั้นตอน คือ ๑. เพลงปลอบ ๒. เพลงประ ๓. เพลงผูกรัก (ชุดสูขอ หรือ ลักหาพาหนี) ๔. ชิงชู (หึงหวงฝายชาย) ๕. ตีหมากผัว หรือ ตีหมากขัว (หึงหวงฝายหญิง) ๖. เพลงจาก หากพอเพลง แมเพลง ไมยึดถือหลักการวา เพลงตามขั้ น ตอนดั ง กล า ว ก็ จ ะทํ า ให คู เ พลง ไมอยากจะวาเพลงดวย เปรียบเหมือนคนวาเพลงไมเปน ถา เป น ที่ ถู ก ใจและพอใจก็ จ ะจั บ คู ว าเพลงกั น ไป และนัด หมายว าเพลงกันตอ ไปตามสถานที่ตางๆ ที่จะขึ้นตลอดฤดูการวาเพลง และอาจมีการแลก สิ่ง ของซึ่ง กันและกัน และเพื่อเปนการผูกมัดที่จะ ไมใหเปลี่ยนใจไปวาเพลงกับเรือเพลงลําอื่นๆ เชน แลกผ าสไบกั บผ า ขาวม า แลกพายต อ พาย หรื อ เครื่องประดับอื่นๆ ก็มีการแลกสิ่งของแสดงใหเห็น ถึงความซื่อสัตย และความไววางใจซึ่ง กันและกัน ถือเปน “ขนบ” สําคัญยิ่งของการเลนเพลงเรือ การจากคูเพลง เมื่อใกลจะหมดฤดูการ เล น เพลงเรื อ ในแต ล ะปนั้ น ๆ พ อ เพลง แม เ พลง ลูกคูของทั้งสองฝายก็จะนัดหมายกันมาวาเพลงกัน อีกครั้ง การเลนเพลงเรือมายาวนานตลอดฤดูกาล ยอมมีความสนุกสนานซาบซึ้ง ในสํานวนปฏิภาณ ไหวพริบการวาเพลงของคูเพลง ดังนั้น ในวันสุดทาย ของการวาเพลงในฤดูไหววัด โดยขนบธรรมเนียม ฝายหญิง จะนําขาวปลาอาหารหวานคาวมาเลี้ยง สวนฝา ยชายก็ จะนําขนม ผลไม ใสเ รือฝ ายหญิ ง เปนการตอบแทนกลับไป และแลกเปลี่ยนสิ่งของคืน กอนสงรอง “เพลงจาก” อําลาจากกันในวันสุดทาย ของฤดูกาล การเลนเพลงเรือ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ตัวอยางบทรอง “เพลงจาก” พร่ําวิบากตองจากลา คิดแลวก็นาใจหาย เรามารักกันยังไมทัน แลวก็ตองมาพลันจากไป ทั้งนองทั้งพี่นานทีจะไดพบ นานนักจะไดประสบกันใหม เหลียวดูนองหันหนามา แลดูน้ําตานองไหล ก็ตางคนตางแลเสียแตนี้ ก็นับวาเปนปที่จากไป เรามารักกันเอยแตปาก ประเดี๋ยวหนึ่งเราก็จากกันไป ลาแลวลาลับก็มิไดกลับคืนมา สักเมื่อไหรจะไดเห็นหนานางใน ก็ตางคนตางลาเลนเอาน้ําตาพี่ไหล ถึงจะรักเสียจริงก็ตองทิ้งกันไป มีกรรมแลวตองไกลนางเอย

การเล น เพลงเรื อ ในเทศกาลทอดกฐิ น ผาปา และลอยกระทง สวนใหญเปนการวาเพลง ในทองถิ่น หลักของการวาเพลงก็จะใชในรูปแบบ ในลักษณะเดียวกัน ถาเปนเพลงหา หรือ เปนการ วาจางไปเลนเพลงก็จะเพิ่มบทรองไหวครู กอนรอง เพลงปลอบ และจบลงด ว ยเพลงให พ รเจ า ภาพ กอนวาเพลงจาก ปจจุบันการเลนเพลงเรือ ในฤดูไหววัด เทศกาลทอดกฐิน ผาปา แมแ ตงานลอยกระทง คงจะหาดูหาฟงไมไดอีกแลว นอกจากจะเปนการ จัดการแสดงในรูป แบบของการสาธิต เพื่อ การ อนุ รั ก ษ โ ดยหน ว ยงานและสถาบั น การศึ ก ษา จึ ง เห็ น ควรให มี ก ารฟ น ฟู เพื่ อ ให ก ารละเล น พื้นบาน “เพลงเรือ” ยังคงอยูเปนเอกลักษณของ ทองถิ่นสืบไป

เหลืองเอยใบยอ หอมชอสมเกลี้ยง กลับไปถึงเขาดา อยาผินหนามาเถียง แขกไปใครมา อยาแกงปลาทั้งเงี่ยง เอ็งอยาเอาลูกได มันเขาใกลตะเกียง บุญนอยซะเพียงนี้เอย

อางอิง

ประสิทธิ์ กาพยกลอน. (๒๕๒๗). ภาษากับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจํากัด. มนตรี ตราโมท. (๒๔๙๗). การละเลนของไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ศิลปากร,กรม. (๒๕๒๑). กฎหมายตราสามดวง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. อมรา กล่ําเจริญ. (๒๕๒๘). การศึกษา-รวบรวมเพลงพื้นบาน “เพลงเรืออยุธยา” พระนครศรีอยุธยา: วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา.


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๔๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

นาม “พระนครศรีอยุธยา” มาจากไหน อยางไร และทําไม กําพล จําปาพันธ * 3

จารีตสําคัญหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในการใหชื่อสถานที่ บุคคล และสรรพสิ่ง ที่อยูรอบตัว ไดแก การนําเอาชื่อที่ปรากฏในวรรณคดีสําคัญมาเปนชื่อในโลกความเปนจริง เพราะความสําคัญของตัวบทวรรณคดีในยุคกอนสมัยใหมนั้น เปนจุดอางอิงของคติความเชื่อ ที่ใ ชอธิบ ายโลกและสัง คม หาใช แค เรื่ องบัน เทิง เริ งรมย แต อย างใดไม กล าวคือวรรณคดี บางเรื่องไดสรางกรอบจินตนาการขึ้นมาใหแกสิ่งตางๆ ที่ปรากฏในชีวิตจริง ในทางกลับกันก็มี การนําเอาสภาพภูมิศาสตรและเรื่องราวของบุคคล สถานที่ ไปใหความหมายเชื่อมโยงอางอิง กับบุคคลและสถานที่ในวรรณคดี (หรือก็คืออางอิงกับจินตนาการที่มีอยูกอนแลวนั่นเอง) “อโยธยา” (ชื่อเดิมที่ใชมาตั้งแตกอน พ.ศ.๑๘๙๓ และใชมาตลอดชวงอยุธยาตอนตน) เปนชื่อที่มา จากรามายณะ มหากาพยของอินเดียโบราณ อโยธยาคือเมืองของพระราม ตัวเอกของเรื่อง ทั้ง นี้ในชวงที่ วัฒ นธรรมฮิ น ดูแ พรห ลายในเอเชีย ตะวั น ออกเฉียงใตภ าคพื้นทวีป โดยมี ศูนย กลางอยูที่เ มือ งยโสธรปุร ะ (นครธมของเขมร) เมืองในแถบลุมแมน้ําเจาพระยาก็ไดแขงขันทางวัฒ นธรรมกับเขมรนครธม โดยการเปน ศูนยกลางการแพรหลายของคติพราหมณแบบไวษณพนิกาย ที่ถือพระนารายณเปนใหญกวาเทพเจาทั้งมวล และพระมหากษัตริยตามคติความเชื่อนี้ก็คือองคอวตารของพระนารายณ ขณะที่เขมรนครธมจะเนนคติไศวนิกาย เชื่อวาพระอิศวรเปนเทพสูงสุด เปนเจาแหงภูตผี และเปนใหญสถิตอยูเหนือยอดเขา สิ่งปลูกสรางเพื่อสักการะ จึงตั้งอยูบนภูเขาสูง และเปนศูนยกลางที่ตั้งของเมืองไปในตัว ขณะที่แถบลุมแมน้ําเจาพระยานั้น สถานที่ตั้งเมืองสําคัญอยูริมฝงแมน้ํา จึงโนมเอียงที่จะรับนับถือ พระนารายณ ซึ่งตามเรื่องราวในวรรณคดีมีฤทธิ์อํานาจอยูเหนือผืนน้ํา โดยเฉพาะการกวนเกษียรสมุทรจนไดน้ําอมฤต และดูเหมือนวาวิถีความเชื่อที่แตกตางกันนี้ จะเปนที่รับรูของเขมรนครธมดวยชื่อ “อโยธยาศรีรามเทพนคร” ที่ปรากฏในจารึกเขากบ นครสวรรค ก็ปรากฏในจารึกเขมรดวยชื่อที่คลายกันวา “อโยชชปุระ” และเมื่อมี “อโยธยา” ก็จึงตองมี “ลพบุรี” เมืองของพระลพ โอรสของพระราม “ละโว” ถูกเปลี่ยนชื่อ มีบทบาทเปนเมืองลูกหลวงก็ดวยเหตุอันนี้ ขณะเดียวกันเขมรนครธมก็ถูกใหความหมายโดยฝายอโยธยาวา เปนเมืองยักษ “ขอมแปรพักตร” ที่อโยธยาใชเปนเหตุผลของสงครามตอนครธมนั้น ก็มาจากลักษณะอาการ ของยัก ษทศกัณ ฐที่มี หลายพั กตร เปลี่ ยนกลับ ไปกลับ มา สว นหนึ่ ง เพราะพระเจา อูทองทรงไมพ อพระทั ย พระเจากรุงกัมพูชาที่ใหความสนับสนุนฟางอม (พระเจาฟางุม กษัตริยลานซางหลวงพะบาง)๑

* อาจารยคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

แมจะรับอิทธิพลความเชื่อฝายพราหมณ มาดว ยกัน กั บเขมรนครธม แตก็เป นคนละนิกาย และพราหมณ ใ นอโยธยา ก็ มั ก ไม ป รากฏว า มี บทบาทโดดเดนมากนัก เมื่อเทียบกับบทบาทของ พราหมณ ที่ เ ขมร ตรงข า มหลั ก ฐานพื้ น เมื อ ง กลับปรากฏบทบาทของฤษีอยูมากแหง ถึงขนาด เป น ผู เ นรมิ ต หรื อ สร า งเมื อ งขึ้ น ด ว ยซ้ํ า ขณะที่ พราหมณกลั บเปน ฝายถู กฆาตกรรมสัง เวยใหกั บ การสรางเมือง ดังเรื่องของพระเจาอูทองเมื่อคราว ยายมาตั้งที่หนองโสน (บึงพระรามในปจจุบัน) สําหรับเรื่องพระเจาอูทองฆาพราหมณนี้ มีการตีความวาบริเวณหนองโสน (โดยเฉพาะพื้นที่ บริเวณวัดมหาธาตุในปจจุบัน) ชะรอยจะเปนที่ตั้ง ชุมชนเกาของคนกลุมหนึ่งที่นับถือพราหมณอยาง มั่น คง และใชห นองโสนสํ าหรับ ทํา พิ ธีก รรมตาม ความเชื่อแบบไวษณพ เมื่อพระเจาอูทองมีพระราชดําริ ที่ จ ะสร า งศู น ย ก ลางเมื อ งขึ้ น ในบริ เ วณดั ง กล า ว คนกลุ ม นี้ ไ ม นา จะเห็ น ด วย และในคติ ค วามเชื่ อ ฝ า ยพราหมณ นั้ น พราหมณ คื อ วรรณะชั้ น สู ง ที่สามารถจะคานพระราชดําริของพระมหากษัตริยได เมื่อการเปนเชนนี้ก็จึงเปนไปไดวา ฝายที่เห็น ควร สรางตามพระราชดําริ คงจะมีปฏิบัติการ “ไลที่ทําวัง” เกิดขึ้นเปนแน และกลุมคนที่ปฏิบัติงาน “ไลที่ทําวัง” ในครั้ง กระโนน ก็นาจะเปน กลุ มที่มีคติความเชื่ อ แตกตางไปจากฝายพราหมณ และคติความเชื่อที่ กําลัง “มาแรง” อยูในชวงเวลานั้นก็คือ พุทธศาสนา เถรวาท จึง สรุ ปไดว า “ฝ ายพุท ธ” ขั บไล “ฝา ย พราหมณ” ไปจากบริเวณนั้นนั่นเอง อยางไรก็ต ามข อความสว นนี้มีลั กษณะ ของ “ตํานาน” ที่คงตองการนําเสนอการเปลี่ยน คติความเชื่อจากพราหมณมาเปนพุทธ พราหมณที่ ถูกฆาตกรรมสัง เวยแกก ารสรา งวัง นั้ น อาจไมใ ช พราหมณในแงที่เปนตัวบุคคลหรือกลุมคนแตอยางใด หากเป น ไปได ว า จะเป น พราหมณ ใ นแง ข อง คติ ค วามเชื่ อ และสถาบั น ทางอํ า นาจอย า งหนึ่ ง ที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนคติความเชื่อของ คนในยุ ค สมั ย หนึ่ ง ต อ อี ก ยุ ค สมั ย หนึ่ ง ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น

พรอ มกั บย ายพระราชวัง เขตพระราชฐาน และ แนวกําแพงเมืองใหม ในแงนี้ พ.ศ.๑๘๙๓ อันเปนปที่พระเจาอูทอง ยายมาตั้งอยูหนองโสนอยางถาวรนั้น จึงเปนปเริ่ม ศั ก ราชของความเชื่ อ หลั ก ใหม ใ นสั ง คมอโยธยา ภายหลัง จากที่ มี ค วามวุ น วายเกิ ด ขึ้ น มาไดร ะยะ หนึ่งแลว “โรคหา” ที่พระเจาอูทองทรงพาไพรพล หลบหนี ม านั้ น อาจไม ใ ชโ รคในความหมายของ การเจ็ บ ป ว ยทางกายดั ง ที่ เ ข า ใจกั น ในป จ จุ บั น หากแตเปนไปไดวา “โรคหา” ดัง กลาว จะไดแก ความปนปวนวุนวาย อันเนื่องมาจากความขัดแยง ทางคติความเชื่อของผูคน โดยมี “ฝายพุทธ” กับ “ฝายพราหมณ” เปนแกนหลักที่ตอสูชวงชิงกันอยู คํ า ถ า ม ที่ สื บ เ นื่ อ ง ต า ม ม า ก็ คื อ ว า “ฝายพุทธ” มีชัยเหนือ “ฝายพราหมณ” และยุติ ความขัดแยงของยุคสมัยนั้นไดอยางไร? พุ ท ธศาสนาเถรวาทลั ง กาวงศ ที่ เ น น คํ า สอนเรื่ อ งความสมถะ วิ ถี ชี วิ ต แบบเรี ย บง า ย ไมสะสม (คนละความหมายกับพอเพียงที่ลนเกิน ) ตอบสนองอารมณความรูสึกในยุคสมัยที่เหลาไพรทาส ตางเหนื่อยลากับการสรางปราสาทศิลาสูงใหญของ กษัตริยกัมพูชา ดังนั้น เมื่ออโยธยายกทัพไปตีนครธม ในรัชสมัยพระเจาอูทอง เหลาไพรทาสที่เคยเปน กําลัง แกบานเมืองของเขมร ไมเพีย งไมช วยสูศึ ก สงครามอย างเต็ม ความสามารถเทา นั้ น หากแต กลับเอาใจออกหางและหันมารับนับถือพุทธเถรวาท ไปอีกดวย ชัยชนะของอโยธยาตอนครธม ศูนยกลาง เกาแกของลัทธิพราหมณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลายเปนสิ่งยืนยันความเหนือกวาของคติความเชื่อใหม ที่จะมีผลเปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับรัฐและสถาบันกษัตริย ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปดศักราชเขาสูอีก ยุคสมัย ขณะเดียวกันทางดานภายในของเขมรเอง ฝายพราหมณก็ถูกตอตานจากการขึ้นสูอํานาจของ พระเจาชัยวรมันที่ ๗ ผูนับถือพุทธนิกายมหายาน และมั ก แสดงพระองค เ ป น พระโพธิ สั ต ว อ ย า ง เขมขน ผานพิธีกรรมและการสรางสถาปตยกรรมประติ มากรรม ซึ่ง ทํ าใหเ หล า ไพรท าสที่ ไ ม พอใจ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ฝายพราหมณจากการบังคับแรงงานสรางสิ่งตางๆ ตอบสนองลัทธิความเชื่อสูงสง ยิ่งไมพอใจมากขึ้น เมื่อการเปลี่ยนตัวผูปกครองและคติความเชื่อหลัก จากพราหมณเปนพุทธมหายาน ไมเพียงไมไดมีผล ยกเลิกการบังคับแรงงาน แตกลับทวีความรุนแรง มากขึ้นกวาเดิม พุทธเถรวาทจึงกลายเปนคําตอบ ของชาวกัมพูชาในสมัยนั้นดวย ก อ ป ร กั บ พั ฒ น า ก า ร รั ฐ นั บ แ ต คริสตศตวรรษที่ ๑๒ เปนตนมา จักรวรรดิขนาดใหญ ที่มีศูนยกลางตั้ง อยูแถบที่ราบสูง เริ่มเสื่อมอํานาจ และแตกสลายลง เมือ งที่ ตั้ง อยูริ มฝง แม น้ําเริ่ม มี เสถี ย รภาพและอํ า นาจมั่ น คงมากขึ้ น เรื่ อ ยๆ เนื่องจากการคาขยายตัวและเทคโนโลยีการตอเรือ พัฒนาขึ้น ทําใหการคมนาคมทางน้ํามีประสิทธิภาพ กว า การคมนาคมทางบก ในบรรดาเมื อ งริ ม ฝ ง แมน้ํานี้ ตอมาไดรวมตัวกันเปนแวนแควนหรือกลุม บานเมือง ภายใตระบบเครือญาติของกลุมชนตางๆ ขึ้น แยกตัวเปนอิสระจากศูนยอํานาจเดิม และภายใน แว น แคว น ดั ง กล า วก็ ยั ง ถื อ อํ า นาจอิ ส ระต อ กั น ผูค รองนครมี ฐ านะเป น กษั ต ริ ยป ระจํ านครนั้ น ๆ ก ษั ต ริ ย ที่ ส ว น ก ล า ง มี อํ า น า จ ก็ ใ น ฐ า น ะ พญาจักรพรรดิราช ราชาเหนือราชาทั้ง หลาย คือ รูปแบบสถาบันกษัตริยตามจารีตทางพุทธเถรวาท ปรากฏอางอิงในหลักไตรภูมิ ถือวาพญาจักรพรรดิราช เปนผูปกครองเหลามวลมนุษยในยุคที่ไมมีพระพุทธเจา และพระปจเจกพุทธเจา ถึ ง ตอนนี้ พุ ท ธเถรวาทก็ ไ ด มี บ ทบาท เสริ ม สร า งสถานะ ของ สถาบั น ก ษั ต ริ ย ใ ห มี ความชอบธรรมและมั่นคงยิ่ง โดยมิจําตองมุงเปน แตเพียงองคอวตารเหมือนดังกอน หากแตสถานะ ของพระองคไดใหความหมายโดยอรรถกถาจารยวา เกิดจากบุญญาธิการของพระองคเอง คําอธิบายใน ลั ก ษณะนี้ ย อ มเป น ที่ ถู ก อกถู ก ใจแก ช นชั้ น นํ า ในยุ ค สมั ย ที่ กํ า ลั ง แสวงหาสถานะอย า งอื่ น มา ทดแทนสถานะ เดิ ม ที่ ฝ า ยพ ราหมณ เ คย ให อรรถาธิบายไว สมเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าชที่ ๑ (พงั่ ว ) ผู ค รองเมื อ งสุ พ รรณบุ รี มี ฐ านะเป น กษั ต ริ ย ม า

ตั้งแตกอนครองราชยที่อโยธยา เชนเดียวกันสมเด็จ พระราเมศวร ผู ค รองเมื อ งลพบุ รี ก็ มี ฐ านะเป น กษัตริยอยูกอนแลว การเขามาครองอโยธยาโดย กษัตริยจากทั้งสองเมือง รวมทั้งที่มาจากเมืองอื่น (เช น พิ ษ ณุ โลก) ในเวลาต อ มาด ว ย ถื อ เป น การ ยกระดั บ ฐานะความเป น กษั ต ริ ย จากกษั ต ริ ย อธิ ร าชหั ว เมื อ งมาเป น กษั ต ริ ย จั ก รพรรดิ ร าช การแยงชิงราชสมบัติระหวางฝายราชวงศสุพรรณภูมิ ที่มีอํานาจอยูทางฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา กั บ ฝ า ยราชวงศ อู ท อง ที่ มี อํ า นาจอยู ท างฝ ง ตะวัน ออกของแมน้ําเจาพระยา จึง มีความหมาย เปนการแยง ชิงกันขึ้นเปนพญาจักรพรรดิราชดวย ซึ่งนั่นเปนหลักฐานทําใหเราทราบวา เวลานั้นอโยธยา เปนที่ยอมรับในฐานะเมืองของพญาจักรพรรดิราชแลว ดั ง นั้ น กษั ต ริ ย พ ระองค ใ ดปรารถนาจะเป น พญาจักรพรรดิราชในแถบลุมแมน้ําเจาพระยาแลวไซร จะตองเขามาเปนผูปกครองกรุงอโยธยา ลักษณะอํานาจของพญาจักรพรรดิราช ในทางวิชาการไดมีการสรางคําอธิบายเปรียบเทียบวา เป น เหมื อ นดั่ ง แสงจากดวงเที ย น ที่ จ ะสว า งจ า เมื่ออยูใกล แตจะเจือจางลงไป เมื่ออยูหางไกลขึ้น ในแตละชวง และจะทวีความเขมขน เมื่อขยายไป ปะทะกั บ แสงจากอี ก ดวงเที ย นหนึ่ ง ที่ อ ยู ติ ด กั น ออกไป เพราะพุทธเถรวาทมิไ ดแพรห ลายอยูแ ต เฉพาะอโยธยา และกษั ต ริ ย ที่ ป รารถนาถึ ง พญาจั ก รพรรดิ ร าชก็ มี ใ นแถบอื่ น ที่ ใ กล เ คี ย งกั น โดยเฉพาะแถบลุมแมน้ําอิระวดี พมาเดิมตั้ง อยู ตอนในของภูมิภาคแถบตองอู แตเมื่อการคาทาง ทะเลขยายตั ว มาสร า งความมั่ ง คั่ ง ให แ ก แ ถบ เมาะตะมะ-มัณฑะเลย กดดันใหพมาตองยึดครอง หงสาวดีแลวใชเปนศูนยกลางอํานาจทางทหารและ การค า ผนวกรวมหั ว เมื อ งต า งๆ เข า ด ว ยกั น จั ก รพรรดิ ร าชเป น คํ า ตอบของกษั ต ริ ย พ ม า สําหรับการยึดครองเมืองตางชาติพันธุ อยางไรก็ตามดวยลักษณะอํานาจแบบนี้ ก็มีผลทําใหเมืองที่อยูหางไกลมีอิสระ ขณะเดียวกับ ที่ จ ะตกอยู กึ่ ง กลางของความขั ด แย ง ระหว า ง ศูนยกลางอํานาจ สงครามอโยธยา vs. หงสาวดี


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

บอยครั้ง มีจุดเริ่มจากปญ หาความขัดแยง ในเรื่อง ความไมแนชัดของอํานาจศูนยกลางทั้งสองที่มีตอ หัวเมืองชายพระราชอาณาเขต เชน หัวเมืองทาง ทิ ศ ตะวั น ตกอย า งเมื อ งทวาย ตะนาวศรี ภู เ ก็ ต ราชบุรี กาญจนบุรี ฯลฯ ทิศเหนือก็เชน เชียงใหม นาน แพร ฯลฯ และในกรณีความขัดแยงระหวาง สยามกับกัมพูชา หัวเมืองสําคัญทางทิศตะวันออก เชน นครนายก ปราจีนบุรี เสียมเรียบ พระตะบอง ฯลฯ ก็เผชิญสถานการณเชนเดียวกับหัวเมืองทาง ทิ ศ ตะวั น ตกและทิ ศ เหนื อ ที่ อ ยู กึ่ ง กลางระหว า ง ความขัดแยงอโยธยา-หงสาวดี แต ขณะเดี ยวกั น สภาพดัง กล า วก็ ทํา ให หัวเมืองเหลานี้ มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เนื่ อ งจากการติ ด ต อ แลกเปลี่ ย นทางการค า และ ศาสนา ในหลายกรณี หั ว เมื อ งเหล า นี้ ก็ มี อั ต รา ประชากร ตั้ ง แต ร ะดั บ ไพร ท าสจนถึ ง ชนชั้ น ปกครอง มีความสัมพันธทางเครือญาติกับหัวเมือง ชายขอบที่ อ ยู ติ ด กั น ออกไป ก อ นที่ รั ฐ ชาติ ที่ ถื อ กํ า เนิ ด ภายหลั ง จะมากํ า หนดเส น เขตแดน ระหว างประเทศ ทํา ให ก ลุม ชาติพั น ธุ ถู กตั ด ขาด ทางเครือญาติกับเพื่อนบาน การควบคุ ม หั ว เมื อ งเหล า นี้ เ ป น ป ญ หา สําคัญทางดานการปกครองของอโยธยาและศูน ย อํานาจรวมสมัยเดียวกันอยูเสมอ แตสวนใหญแลว เมื่อสงครามระหวางศูนยอํานาจจบลงในแตละครั้ง ก็ จ ะมี ก ารจั ด ระเบี ย บอํ า นาจกั น ขึ้ น ใหม เพราะ หัวเมืองเหลานี้ จะเปน ดานแรกของการเผชิญ ศึ ก จากภายนอก ปรากฏวาในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวร ไดมีการแตงตั้งขุนศึกที่ทรงไววางพระราชหฤทัยให คุ ม หั ว เมื อ งเหล า นี้ อ ย า งใกล ชิ ด ซึ่ ง ถื อ เป น จุ ด เปลี่ ย นสํ า คั ญ ของการจั ด ระบบการปกครอง หั ว เมื อ งของอโยธยา เพราะเป น การเปลี่ ย น ผูปกครองหัวเมืองจากพระญาติวงศมาเปนขุนนาง ทั้ ง นี้ เ มื่ อ ถึ ง ส มั ย ต อ น ก ล า ง ข อ ง ประวั ติ ศ าสตร อ ยุ ธ ยา สถานะความเป น พญา จั ก รพรรดิ ร าช มิ ไ ด พิ สู จ น ผ า นการเป น ราชา เหนือ ราชาในหัวเมื องภายในพระราชอาณาจัก ร เทานั้น หากแตกษัตริยผูปรารถนาอํานาจบารมีใน

ระดับดังกลาว ยังตองพิสูจนพระองคผานสงคราม กับภายนอกอีกดวย สงครามระหวางอโยธยากับ หงสาวดี จึ ง เปน สงครามเพื่อ พิสู จน บุญ ญาธิก าร ของกษัตริยจากทั้ง สองศูนยอํานาจ วาเหมาะสม คูควรกับสถานะพญาจัก รพรรดิราชหรือไม และ ใครเปนตัวจริง? ในแงนี้สงครามครั้งสําคัญ ที่ถือเปนฉาก การพิสูจ นพระองคก็ไ ดแก “สงครามชา งเผื อก” ระหวางพระเจาบุเรงนองกับสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เริ่ ม จากพระเจ า บุ เ รงนองทรงส ง พระราชสาส น มาขอช า งเผื อ กจากสมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ พระราชพงศาวดารบันทึกวา ฝายสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หลังจากประชุมเหลาขุนนางมุขมนตรีแลว ก็ทรงมีมติไ มยินยอมมอบชางเผือกใหแกพระเจา บุเรงนอง เปนเหตุใหเกิดสงครามจนเสียกรุง ครั้ง พ.ศ.๒๑๑๒ มองจากสายตาคนในยุคหลัง ซึ่ง มีวิธีคิด และการมองโลกแตกตางกันอยางสิ้นเชิง สงคราม ครั้ ง นั้ น อาจเป น เรื่ อ งเหลวไหลไร ส าระ เพราะ ผู ป กครองนํ า พาคนเป น จํ า นวนมาก ให ต อ งมา บาดเจ็ บ ล ม ตาย เพี ย งเพื่ อ ช า ง แต ห ากมองจาก ลักษณะวิธีคิ ดของคนในยุค นั้นแล ว จะเห็น ไดว า ชางเผือกเปนสิ่งมีคาสําหรับสถานะความเปนพญา จักรพรรดิราช กษัตริยในอุดมคติของพุทธศาสนา พระเจ า บุ เ รงนองกั บ สมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ ต า งมี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะต อ งรั ก ษาพระเกี ย รติ ใ น ฐานะพญาจักรพรรดิราชดวยกันทั้ง สองฝาย และ เหตุหนึ่งที่พระมหาธรรมราชา ผูครองเมืองพิษณุโลก ขณะนั้น ตัดสินพระทัยเขาขางฝายพระเจาบุเรงนอง ก็เนื่องจากทรงพิจารณาแลววาพระเจาบุเรงนองมี กําลังไพรพลมาก สมพระเกียรติพญาจักรพรรดิราช ได รั บ สมญาน ามว า “พระเจ า ชนะ สิ บ ทิ ศ ” ขณะเดียวกันการปราชัยของฝายสมเด็จพระมหาจั ก รพรรดิ ก็ เ ป น โอกาสให พ ระมหาธรรมราชา ได เ ข า มาเป น ใหญ ใ นอโยธยา เมื อ งคู บุ ญ ของ พญาจักรพรรดิราชแหงลุมแมน้ําเจาพระยา ในสงครามที่มีนัยสําคัญเชนนี้ ความพายแพ ย อ มนํ า มาซึ่ ง ความรู สึ ก อั ป ยศได ไ ม น อ ย ดั ง นั้ น


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เมื่ อสมเด็จ พระนเรศวรนํ าพาอโยธยาสู ศึก หงสา จึ ง ไ ด มี กุ ศโ ลบายเพื่ อปลอบขวั ญ เรี ยก ฟ น ความเชื่ อ มั่ น ให กั บ ชาวเมื อ ง ข ม ขวั ญ ศั ต รู ไ ปใน ขณะเดี ย วกั น โดยการเปลี่ ย นชื่ อ เรี ย กเมื อ ง ศู น ย ก ลางแห ง นี้ ใ หม จาก “อโยธยา” มาเป น “อยุทธยา” (ภายหลัง มีการตัด ท. ออกไป เหลือ “อยุธยา” สืบมา) ซึ่งมีความหมายวา “รบไมแพ” หรือ “เมืองที่รบไมแพ” นั่นเอง เดิมนาจะเริ่มจาก สํ า นวนปากของไพร ที่ ถู ก เกณฑ ไ ปสู ศึ ก ต อ มา แพรหลายจนกลายเปนชื่อที่เปนทางการ กุ ศ โ ลบ าย นี้ แ ม จ ะ ส ง ผล สํ า เร็ จใ น สถานการณสูรบ แตขณะเดียวกันยอมสงผลทําให สถานะศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องสถาบั น กษั ต ริ ย ถ า ยโอนไป ใหกับชาวเมือง แทจริงแลวแนวทางการสูศึกหงสา ของสมเด็ จ พระนเรศวรมิ ใ ช แต ก ารสร า งอํ า นาจ บารมีเฉพาะพระองคเทานั้น เพราะมีการเรียกฟน ศรัทธาของชาวเมืองโดยรวมขึ้นมาดวย และมรดก สําคัญของเรื่องนี้ก็คือชื่อของเมืองที่ถูกเปลี่ยนและ ใชกันเรื่อยมา๒ “อยุ ท ธยา” กลายเป น ชื่ อ มงคลหรื อ นามศักดิ์สิทธิ์ แทนชื่อที่ไดจากวรรณคดีในยุคตน แมเปลี่ยนเมืองหลวงเปนกรุงเทพฯ แลว ในชวง ๓ รัชกาลแรก (ของตนรัตนโกสินทร) ก็ยัง นิยมเรียก “อยุทธยา” และ/หรือ “กรุง ศรีอยุธยา” สําหรับ เมืองหลวงแหงใหมนี้อยูเสมอ ทั้งนี้ เพราะกรุงใหม ที่ เ พิ่ ง สถาปนาขึ้ น ไม น านในช ว งเวลานั้ น ยั ง คง เผชิญศึกสงครามกับพมารามัญ ลาว และเวียดนาม ตามลํ า ดั บ “อยุ ท ธยา” เป น ชื่ อ มงคลสํ า หรั บ สถานการณ สู ร บเรื่ อ ยมา จนกระทั่ ง รั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงดําเนิน นโยบายเปนมิตรกับชาวตางประเทศ สงครามและ การตอบโต อ ย า งแข็ ง กร า วตามแบบฉบั บ ที่ เ คย กระทํากันมา เมื่อคราวเผชิญศึกพมารามัญในอดีตนั้น ไมอาจเปนคําตอบของยุคสมัยที่ตองเผชิญหนากับ ชาติตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ในชวงเวลานั้น ความพายแพของเพื่อนบาน ที่เคยเปนศัตรูคูแขงกันมาเปนเวลานาน อยางพมา อย า งเวี ย ดนาม ที่ มี ต อ มหาอํ า นาจตะวั น ตก

จนตกเปนอาณานิคมของชาติตะวันตกในชั่วเวลา เพียงไมนาน กอผลสะเทือนทําใหชนชั้นนําสยาม ปรับเปลี่ยนทาทีและวิธีคิดในการรับมือตอการเขามา ของชาติตะวันตก ความกังวลถึงเรื่องนี้ของชนชั้นนํา ปรากฏกระทั่งในพระราชดํารัสกอนสวรรคตของ รัชกาลที่ ๓ ในการทําสนธิสัญ ญาเบาริงและเอกสาร อื่ น ที่ เ กี่ ย วกั บ ต า งประเทศในสมั ย รั ช กาลที่ ๔ เปนลําดับมา ไมไดใช “อยุทธยา” หรือ “กรุงศรีอยุธยา” สําหรับเรียกพระราชอาณาจักรโดยรวม อี ก ต อ ไป ชื่ อ นี้ ถ อยกลั บ ไปเป น ชื่ อ ของเมื อ งๆ หนึ่งอีกครั้ง เรียกวา “กรุง เกา” (กรุงศรีอยุธยา) คูกับ “กรุง ใหม” (ซึ่ง ก็คือกรุง เทพฯ) รัชกาลที่ ๔ ทรงนิยมใช “สยาม” สําหรับเรียกพระราชอาณาจักร และเรี ย กพระองค เ องว า “พระเจ า กรุ ง สยาม” ตอมารัชกาลที่ ๕ ก็ทรงนิยมลงพระปรมาภิไธยยอวา “สยามินทร” อ ยุ ธ ย า เ ผ ชิ ญ ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ครั้ ง สํ า คั ญ อี ก ครา เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจ าอยูหัวทรงดําเนินนโยบายปฏิรู ป การปกครองมณฑลเทศาภิบาล ในปพ.ศ.๒๔๓๘ โปรดเกลาฯ ตั้ง “มณฑลกรุงเกา” ขึ้น โดยรวมหัว เมื อ งต า งๆ คื อ กรุ ง เก า หรื อ อยุ ธ ยา, อ า งทอง, สระบุ รี , พระ พุ ท ธบาท, ลพ บุ รี , พร หมบุ รี , อินทรบุรี และสิงหบุรี เปนตน (๒ ปตอมาทรงให รวมเมืองพระพุทธบาทเขาเปนสวนหนึ่งของเมือง สระบุรี และรวมเมืองพรหมบุรีกับอินทรบุรีเขาเปน สวนหนึ่งของเมืองสิงหบุรี) ถึ ง ป พ.ศ.๒๔๖๑ สมั ย รั ช กาลที่ ๖ ทรงให เ ปลี่ ย นชื่ อ จาก “มณฑลกรุ ง เก า ” เป น “มณฑลอยุ ธ ยา” และเรี ย กเมื อ งที่ ตั้ ง ที่ ว า การ ม ณ ฑ ล ว า “จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า ” โดยบุคคลสําคัญที่ถวายขอราชการนี้แดรัชกาลที่ ๖ ก็คือ พระยาโบราณราชธานินทร (พร เดชะคุปต ) อดี ต สมุ ห เทศาภิ บ าลมณฑลกรุ ง เก า ที่ เ คยมี บทบาทสําคัญในราชการเกี่ยวกับอยุธยามาแตครั้ง รัชกาลที่ ๕ ทรงปฏิรูปการปกครองมณฑลเทศาภิบาล ดังปรากฏหลักฐานจากหนังสือทูลเกลาฯ ที่พระยา-


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

โบราณฯ ถวายรายงานประวั ติค วามเป น มาของ ป อ มเพชร ป ญ หาราคาข า วเปลื อ ก การจั ด เก็ บ ภาษี อ ากร วิ ธี ป อ งกั น น้ํ า ท ว ม การป อ งกั น ตลิ่ ง วัดพนัญ เชิง ลงท ายพระยาโบราณฯ ยั ง ได แสดง ความเห็นเกี่ยวกับชื่อจังหวัดและนามมณฑล ดังนี้ : “อนึ่ง นามจังหวัดนี้ แตเดิมในราชการก็ ใชเรียกวากรุงเกาอยางเดียว แตพวกชาวตางประเทศ ยัง คงเรี ยกว า อยุ ธ ยาตามเดิม ครั้ น มาในบั ด นี้ ใ น ราชการแผนกรถไฟเปลี่ย นชื่ อ สถานีกรุ ง เก าเป น สถานีอยุธยา แตสวนนามจังหวัดยังคงเรียกกรุงเกาอยู จึงเปนอันวาจังหวัดนี้มีนามในราชการเปน ๒ อยาง เพราะฉะนั้น ขาพระพุทธเจาขอพระราชทานเรียน พระราชปฏิบัติ การจะควรประการใดแลวแตจะ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ”๓ ต อ มาราชเลขานุ ก ารในพระองค ไ ด มี หนังสือแจงมายังพระยาโบราณฯ ความวา : “เรื่ อ งนามกรุ ง เก า นั้ น ทรงพระราชดําริวาควรใชนาม มณฑลว า มณฑลอยุ ธยา และ นามจังหวัดควรใชวา “จังหวัด พระนครศรีอยุธยา”๔ พรอมกัน นั้น เพื่อใหการปฏิบัติราชการ เปนไปตามพระราชดําริ ราชเลขานุการในพระองค ยังไดมีหนังสือแจงไปยังเจาพระยาสุรสีหวิศิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิต ร) เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ขณะนั้น ความวา :

“มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหเรียนมาวานาม กรุง เกากั บอยุ ธยา เปน นามที่ ใชในราชการทั้งสองนาม ทรง พระราชดํ า ริ ว า ควรจะใช ใ ห เป น อย า งเดี ย ว คื อ ใช น าม มณฑลว า “มณฑลอยุ ธ ยา” และนามจังหวัดใชวา “จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา” โปรด เกล าฯ ใหเ จาคุ ณประกาศแก นามตามพระราชดํารินี้”๕ ภายหลั ง เปลี่ ย นแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ ได ย กเลิ ก มณฑลเทศาภิ บ าล โดยออก พระราชบั ญ ญั ติก ารบริห ารราชการส ว นภู มิภ าค พ.ศ.๒๔๗๖ มาบั ง คั บ ใช ๖ ทํ า ให “จั ง หวั ด ” เปนเขตการปกครองสวนภูมิภาคที่มีระดับสูงที่สุด กระจายทั่วไปตามทองถิ่นตางๆ ทั่วประเทศ ทั้ง นี้ คณะราษฎรผูกอการเปลี่ยนระบอบการปกครองได พิ จ ารณาเห็ น ชอบร ว มกั น ว า การปกครองแบบ มณฑลเทศาภิบาลมีลักษณะรวมศูนยอํานาจมาก เกินไป สงผลทําใหการปฏิบัติราชการลาชา ไมอาจ ตอบสนองความตองการของราษฎรไดทั นทวงที และที่ สํ า คั ญ คื อ ไม เ หมาะสมกั บ การบริ ห ารงาน ในยุคการปกครองระบอบประชาธิปไตย จึง ไดทํา การเปลี่ยนรูปแบบการปกครองดังกลาว สรุปคือ “มณฑลอยุธยา” ถูกยกเลิกไป พรอ มกั บมณฑลอื่นๆ แต “พระนครศรี อยุธ ยา” ก็ยัง คงอยูและใชเปนชื่อจัง หวัดหนึ่งของประเทศ ไทยในอาณาบริเวณที่เคยเป นศูนยอํา นาจสําคั ญ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีตสืบมา.


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เชิงอรรถ ๑

สะกดตามเสียงในภาษาลาว สวน “นาวานคร” หรือ “เมืองน้ํา” ที่ปรากฏในหลักฐานเปอรเซีย และ “เวนิสตะวันออก” ในบันทึกของชาวตะวันตกนั้น เปนแตเพียงสมญานามยกยอง เพราะสภาพภูมิศาสตรที่มีแมน้ําลอมรอบและเต็มไปดวยคูคลอง ผูคนสัญจรทางเรือ ตอเมื่อ ตองการบงนามเรียกอาณาจักรโดยรวมชาวตางชาติมักนิยมเรียก “สยาม” (Siam). ๓ คําถวายรายงานแดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เรื่อง “ตํานานปอมเพชร” (ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๑). ๔ หนังสือราชเลขานุการในพระองคแจงความมายังพระยาโบราณราชธานินทร มหาเสวกโท อุปราชมณฑลกรุงเกา (ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๑) เนนขอความโดยผูอาง. ๕ หนังสือราชเลขานุการในพระองคถึงเจาพระยาสุรสีหวิศษิ ฐศักดิ์ ที่ ๑๓๗/๑๖๒๐ (ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๑) เนนขอความโดยผูอาง. ๖ สามารถสืบคนรายละเอียดของพระราชบัญญัตินี้ไดใน www.ratchakitcha.soc.go.th/ RKJ/ announce/ search.jsp ๒


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ความสัมพันธสยามกับฝรั่งเศส หลังรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช * 7

ภูธร ภูมะธน* * 3

ภาพพิมพสมเด็จพระนารายณมหาราช โดยจิตรกรชาวฝรัง่ เศส พิมพที่กรุงปารีส ราว พ.ศ. ๒๒๓๐ ที่มา: ธวัชชัย ตั้งศิริวานิช. กรุงศรีอยุธยาในแผนที่ฝรั่ง. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๙.

ตอนที่ ๑ บทเรียนจากฝรั่งเศสครั้งปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช-ตนรัชสมัยสมเด็จ พระเพทราชา

เปนที่แนชัดวา ความสัมพันธสยาม-ฝรั่งเศสที่เกิดขึ้นในปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ประมาณ ๓ ป ในปลายรั ช กาล คื อ ตั้ ง แต พ.ศ. ๒๒๒๘-๒๒๓๑ พั ฒ นาพลิ ก ผั น อย า งคาดไม ถึ ง เริ่ ม จาก ฝายฝรั่งเศสมุงสถาปนาความสัมพันธเพื่อใหคริสตคาทอลิกเปนศาสนาประจําชาติสยาม และฝายสยามก็หวัง เพียงอยากมีหนามีตาที่มีมหาอํานาจอยางฝรั่งเศสเปนมิตรและคาขายไดกําไรบาง แตเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น ความสัมพันธระหวางสยามกับฝรั่งเศสถูกจัดแถวใหม โดยแผนทะเยอทะยานของออกญาวิไชเยนทร(คอนแสตนติน ฟอลคอน)และบาทหลวงเจซูอิตนําโดยบาทหลวงตาชารด ชวยกันแปลงรางโนมนาวใหฝรั่งเศสคิดครอบครอง อาณาจักรสยาม ฝายฝรั่งเศสก็ยินดีกับแผนการใหมนี้ * บทความประกอบการสัมมนาวิชาการเรื่องสังคมนานาชาติ : กรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ หองประชุม ๓๑๗ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา * ขาราชการบํานาญ รักษาการประธานชมรมอนุรักษโบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดลอม จังหวัดลพบุรี


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

นักเขียนชาวฝรั่งเศสคือมอรกาน สปอรเตส เรียกเหตุการณนี้วา “รุกสยามในนามของพระเจา”

ชาวสยามรูตัวหรือรูสึกกับเรื่องนี้หรือไม ?

สมเด็จพระนารายณมหาราชนาจะทรง ระแคะระคายในเรื่ อ งนี้ ใ นป สุ ด ท า ยๆ ก อ นจะ เสด็จสวรรคต เนื้อหาจากพงศาวดารอยุธยาในชวง ระยะเวลาที่สมเด็จพระนารายณทรงพระประชวร ใกลจะเสด็จสวรรคตนั้นชวนใหสรุปวา ออกญาวิไชเยนทร มิใชคนโปรด (ที่สุด) ของพระองคอีกตอไป เช น เมื่ อ สมเด็ จ พระนารายณ ม หาราชเสด็ จ ออก วาราชการไมได ทรงมอบหมายใหออกพระเพทราชา ขุ น นางที่ เ ป น ศั ต รู กั บ ออกญาวิ ไ ชเยนทร แ ละ ชาวฝรั่ง เศสวาราชการแทน เรื่องนี้นาจะเปนการ สง สัญ ญาณวาสมเด็จพระนารายณมหาราชคงจะ ทรงรับรูถึง ความเปลี่ยนแปลงใหมที่ เกิดขึ้น และ คงจะทรงเห็นวาตองไดรับการแกไข แต สํ า หรั บ ชาวสยาม (น า จะเรี ย กว า ชาวพระนครศรีอยุธยามากกวา) คงสังเกตและรับรู ปญหาเรื่องการที่ชาวตางชาติเขามามีบทบาทและ มีอิทธิพลในสยามมานาน และคงอึดอัดใจ แตไ ม กลาแสดงออกนอกจากซุบซิบนินทา จากข อ มู ล จากประชุ ม พระราชปุ จ ฉา ที่กรมศิลปากรพิมพเผยแพรเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐ ระบุวา สมเด็จพระนารายณมหาราชทรงมีพระราชปุจฉา ถึ ง พระภิ ก ษุ ผู เ ป น พระอาจารย ข องท า นคื อ พระพรหม ๒ ครั้ง ครั้งแรกเมื่อ ศักราช ๑๐๔๓ (พ.ศ. ๒๒๒๔) เรื่องพระภิกษุนินทาพระเจาแผนดิน ความวา มี พ ระราชโองการให อํ า มาตย ไ ปถาม พระพรหม ณ วั ด ปากน้ํ า ประสบว า “พระสงฆ วั ด วั ง ไชยนิ น ทาพระเจ า (อยู หั ว /แผ น ดิ น -ภู ธ ร) ว า พระเจ า รั ก แขกเมื อ งยิ่ ง กว า ข า แผ น ดิ น แล พระเจาใหขับ(พระสงฆ-ภูธร) ชอบฤามิชอบ พระพรหมตอบวา “ซึ่งสงฆนินทาพระเจา นั้นมิชอบหนักหนา”

แลวพระพรหมก็ถามอํามาตยวา “พระเจา ไดยินเอง ฤาผูใดไดยิน” อํามาตยตอบวา “ขาหลวงไดยินจึงเอามา กราบทูล” พระพรหมจึงวา “ถาขาหลวงไดยินนั้นกู วาด วยมิ ไ ด เกลื อกมั นจะใคร ไ ดย ศฐานันดรศัก ดิ์ เจียดเงินพานทอง และมันเอาเท็จมาทูล มันจะทํา ใหพระเจาไดบาป ทั้งกูผูหลงนี้ก็จะไดบาป พระเจา ก็ มิ ไ ด ยิ น กู ก็ มิ ไ ด ยิ น และกู จ ะว า ด ว ยมิ ไ ด และ กฎหมาย(จดหมาย?)เอาคํ ากูไ ปกราบทูล แกพระ เจาวากูวากระนี้เถิด” อํ า ม า ต ย ก ฎ ห ม า ย ( จ ด ห ม า ย ? ) เอาถ อ ยคํ าพระพรหมมากราบทู ล พระนารายณ “พระเจาทรงพระสรวล แลตรัสวามหาพรหมองคนี้ เธอตรงจริง ๆ ครั้งที่ ๒ จุลศักราช ๑๐๔๗ (พ.ศ. ๒๒๒๘) เรื่องแขกเมือง มี พ ระราชโองการตรั ส ใช ใ ห น ายสิ ท ธิ์ มาถามพระพรหมวาบัดนี้แขกเมืองเขามาเปนอันมาก พระพรหมจะเห็นเปนประการใด พระพรหมตอบวา “บุญสมภารพระเจา มากนั ก แขกเมื อ งจึ ง เข า มาดั ง นี้ แต อ ายุ กู นี้ ไ ด สามพระยาแล ว (น า จะหมายถึ ง ผ า นมาถึ ง ๓ รัชกาลแลว อาจจะตั้งแตรัชกาลพระเจาเอกาทศรถภูธร) กูหอนไดยินวาแขกเมืองเขามาเปนอันมาก ดั ง นี้ แลซึ่ ง แขกเมื อ งเข า มามากดั ง นี้ ด ว ยเดชะ โพธิสมภารพระเจาแล” นายสิทธิ์ถามตอไปอีก “วาบัดนี้แขกเมือง ใหกราบทูลวา แขกเมืองจะเขามาอีกมากกวานี้เลา แลพระเจาใหมาถามวา ซึ่งแขกเมืองจะเขามาอีก มากกวานี้นั้น เห็นยังจะเปนประการใด” พระพรหมตอบวา “แขกเมืองจะเขามา อีกนั้น ยอมทราบอยูในพระทัยพระเจาทุกประการ แลกูมิวาเลย แลกฎหมายเอาคํ ากูนี้ไ ปทูลใหพระ เจาทราบ” นายสิ ท ธิ์ ก ฎหมายเอาคํ า พระพรหม มากราบทูลพระนารายณ “ทรงพระสรวลแลวตรัสวา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

มหาพรหมนี้ เ จรจาหลั ก แหลมแลรู ห ลั ก ด ว ย เสียดายเธอแกนักแลว แมนยังหนุมเราจะไดไตถาม กิจทั้งปวงไปในภายหนาฯ”๑ หลั ก ฐานจากเอกสารโบราณดั ง กล า ว น า จะสรุ ป ได ว า ครั้ ง ปลายรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนารายณ ม หาราชมี ช าวต า งชาติ เ ข า มามาก แขกเมื อ งในที่ นี้ อ าจจะหมายถึ ง ชาติ ต า งๆ ที่ มี ความสั ม พัน ธ กับ อยุธ ยาได ทั้ ง หมด เชน อิห ร า น อิ น เดี ย -โมกุ ล โปรตุ เ กส อั ง กฤษ ดั ต ช ฝรั่ ง เศส แต ห ากอนุ โ ลมถึ ง ประเด็ น ของ “แขกเมื อ ง” ที่ “พระเจ า ” โปรดปรานมากเป น พิ เ ศษและ มีจํานวนเขามามากเปนพิเศษเชนกันก็นาจะไดแก ชาติ ฝ รั่ ง เศสโดยการชั ก นํ า ของ “แขกเมื อ ง” คนโปรดคือออกญาวิไชเยนทรชาวกรีก จุ ด วิ ก ฤติ ที่ น า จะเป น สาเหตุ แ ห ง ความ บาดหมางระหว า งสยามกั บ ฝรั่ ง เศสชั ด เจนคื อ เมื่อ กองทหารฝรั่ง เศสจํ านวน ๖๓๖ นายภายใต การควบคุ ม ของนายพลเดส ฟาร จ เดิ น ทางมา ประจําการที่สยาม โดยออกเดินทางจากฝรั่ง เศส เมื่ อ เดื อ นมี น าคม พ.ศ. ๒๒๓๐ และมาถึ ง สยาม เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๒๓๐ เหลือทหารรอดชีวิต ๔๙๒ นาย ทหารจํานวนนี้สวนหนึ่ง นั้น ใหประจํา อยู ที่ป อ มเมื องบางกอก อี กส ว นไปประจํ า การที่ ปอมเมืองมะริด ทั้งสองเมืองเปนเมืองยุทธศาสตร สําคัญของสยาม กองทหารฝรั่งเศสนี้ฝายสยามนํา โดยออกญาวิไชเยนทรขอตอสมเด็จพระเจาหลุยส ที่ ๑๔ ออกญาวิ ไ ชเยนทร เ ห็ น ประโยชน จ าก กองกําลังนี้ดวยการใชเปนเครื่องมือขจัดศัตรูตนคือ พระเพทราชา และใชเปนเครื่องมือสนับสนุนใหตน มีอํานาจ แตบางครั้ง ฝายทหารฝรั่ง เศสซึ่ง มาใหม ยั ง สั บ สนกั บ บทบาทที่ แ ท จ ริ ง ของตน เมื่ อ ได รั บ คําแนะนําบางประการจากชาวฝรั่งเศสที่พํานักอยู ในสยามมากอนวาใหเปนกลาง ไมควรยุงเกี่ยวกับ การเมืองภายในของสยาม รวมทั้งไดรับการย้ําเตือน จากทางสยามว าภารกิ จ ของทหารชุ ด นี้ที่ ส มเด็ จ พระเจาหลุยสทรงมอบหมายมา(ที่เปดเผย)คือมา

ช ว ยราชการสยาม บางครั้ ง กองทหารฝรั่ ง เศส จึงลังเลที่จะรวมมือกับออกญาวิไชเยนทร ทหารฝรั่งเศสที่เขามาประจําการในสยาม คงไมมีอะไรจะทํา ไดกอเหตุความเดือดรอนใหกับ ชาวสยาม เช น ลั ก ไก ไ ปกิ น เมาเหล า อาละวาด ข ม ขื น ผู ห ญิ ง เรื่ อ งนี้ ทํ า ให ช าวสยามซึ่ ง บั น ทึ ก ฝรั่งเศส ระบุวาคือ ผูรักสงบเอือมระอา เดื อ นมิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๒๓๑ เกิ ด การ วิ ว าทระหว า งสยามกั บ ฝรั่ ง เศสอย า งเป ด เผย ทหารฝรั่ ง เศสที่ เ มื อ งมะริ ด และที่ เ มื อ งบางกอก เริ่มทํารายชาวมะริดและชาวสยาม ฝายสยามโจมตี กองทหารฝรั่ง เศสที่เมืองมะริด สวนที่บางกอกได สงคนไปปดลอมปอมที่พักกองทหารฝรั่งเศส ฝา ยสยามระบุ ว า การต อสู แ ละป ด ล อ ม กองทหารฝรั่งเศสเปนความชอบธรรม เพราะกําลัง ทหารฝรั่ ง เศสได ค บคิ ด กั บ ออกญาวิ ไ ชยเยนทร ซึ่งเปนคนไมดี เปนผูยักยอกเงินหลวงและคิดเปนใหญ ผูบัง คั บการทหารฝรั่ง เศสตอ ตานคําสั่ ง ราชการสยาม เมื่อขอความรวมมือจากกองทหาร ฝรั่ง เศสใหชวยทําสงครามกับลาวแตฝายฝรั่ง เศส บิดพลิ้ว กองทหารฝรั่ ง เศสโจมตี ต อ สู แ ละฆ า คนสยามกอน เหตุ ก ารณ คุ ก รุ น ผ า นไปหลายเดื อ น ในที่ สุ ด ได มี ก ารเจรจาต อ รองกั น เพื่ อ ให มี ก าร ถอนทหารฝรั่ ง เศสออกไปจากแผ น ดิ น สยาม เจาพระยาพระคลั ง หรื อโกษาปานคือ ผูทํา หนา ที่ เจรจาและสามารถตกลงกั น ได ใ นเดื อ นตุ ล าคม พ.ศ. ๒๒๓๑ โดยกองทหารฝรั่ง เศสยอมถอนตั ว ออกไป ช ว งนี้ เ ป น เวลาที่ ส มเด็ จ พระเพทราชา ขึ้นครองราชยแลว ดวยสมเด็จพระนารายณมหาราช สวรรคตที่พระราชวังเมืองลพบุรีไปแลวตั้งแตวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๒๓๑ อย า งไรก็ ต าม เมื่ อ กองกํ า ลั ง ทหาร ฝรั่ ง เศสถอนตั ว ไปตั้ ง หลั ก ที่ เ มื อ งป อ งดิ เ ชอรี ในอิ น เดี ย ใต แ ล ว ยั ง ส ง กํ า ลั ง มาก อ กวนดิ น แดน สยามทางตอนใต ที่ เ กาะถลางอี ก เหตุ ก ารณ นี้


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๕๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เกิ ด ขึ้ น เกื อ บตลอดป พ.ศ. ๒๒๓๒ จากนั้ น เหตุ ก ารณ ส งบด ว ยกองกํ า ลั ง ทหารฝรั่ ง เศสที่ หลบภั ย จากสยามที่ เ มื อ งป อ งดิ เ ชอรีถู ก เรี ย กตั ว กลับฝรั่งเศส ออกพระเพทราชามีมิตรคูคิดคนสําคัญ คือออกเจาพระยาพระคลังหรือโกษาปาน ซึ่ง เคย เดิน ทางไปรูไ ปเห็น ความยิ่ง ใหญของมหาอํานาจ ฝรั่งเศสเปนอยางดี เปนผูนําเพื่อการหยุดยั้งอํานาจ ฝรั่ ง เศสในสยาม ทั้ ง ๒ ท า นได ใ ช น โยบายที่ หลี ก เลี่ ย งไม ใ ห ส ยามได รั บ ผลกระทบที่ รุ น แรง ด ว ยการใช แ ผนเจรจา กดดั น รอมชอม และ ออกอุบายตางๆ ลวนแตเปนเรื่องสันติวิธี เพื่อบีบ บั ง คั บ ให ฝ รั่ ง เศสถอนตั ว ออกไปจากสยาม และ สามารถทําไดสําเร็จ อยางไรก็ตาม ฝน รายในคราวนั้น ทําให ชาวสยามระมั ด ระวั ง เป น อย า งยิ่ ง ในการสร า ง ความสัมพันธกับชาติมหาอํานาจในเวลาตอๆ มา

ตอนที่ ๒ นโยบายการทูตสยามที่สืบเนื่อง จากการวิวาทกับกองทหารฝรั่งเศส

ภายหลัง เหตุ การณวิวาทระหวางสยาม กับฝรั่งเศสที่เมืองมะริดและเมืองบางกอก รวมทั้ง การเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณมหาราชแลว พระมหากษัตริยพระองคใหมคือสมเด็จพระเพทราชา ครองราชยไดทรงกําหนดนโยบายเรื่องความสัมพันธ กับฝรั่งเศสวา ประการแรก จะต อ งอธิ บ ายให ฝ า ย ฝรั่งเศสเขาใจวาเหตุการณที่ผานมานั้นคือความผิด ของฝายฝรั่งเศส จดหมายของเจาพระยาศรีธรรมโศกราช (อีกราชทินนามหนึ่งของโกษาปานในรัชสมัยสมเด็จ พระเพทราชา)หลายฉบั บ ในฐานะผู รั บ ผิ ด ชอบ กิจการการตางประเทศสยามในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา ที่เขียนถึงบุคคลสําคัญของฝรั่งเศสหลายคน เช น บาทหลวงเดอ ลาแชส บาทหลวงประจํ า พระองคสมเด็จพระเจาหลุยสที่ ๑๔ เมอซิเออรเดอปองชาแตร็ง เสนาบดีฝรั่ง เศส มีเนื้อหาที่ออกตัว และอธิบายถึงสาเหตุแหงความบาดหมางระหวาง

ฝ า ยฝรั่ ง เศสกั บ สยามว า ฝ า ยฝรั่ ง เศสคื อ ผู ผิ ด ส ว นฝ า ยสยามนั้ น อดทนและทํ า ดี ที่ สุ ด แล ว สยามไม ใ ช ต น เหตุ แ ห ง ป ญ หา และฝ า ยฝรั่ ง เศส ตุกติกไมยึดมั่นคําสัญญาที่ใหไวกับชาวสยาม๒ ประการที่ ส อง สยามยื น ยั น ว า จะมี ความสัมพันธกับฝรั่งเศสอีกตอไปเปนปกติ แตตอง เปนความสัมพันธระหวางมิตรกับมิตร เรื่องนี้พิสูจนไดจากหลักฐานของฝรั่งเศส วา ชวงที่เกิดวิวาทกับฝรั่งเศสนั้น วัดนักบุญยอเซฟ ที่ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยายั ง ก อ สร า งไม เ สร็ จ และถู ก บุกรุกทําลาย สมเด็จพระเพทราชาพระราชทานเงิน มาชว ยกอ สร า งจนแล วเสร็ จ เมื่อ พ.ศ.๒๒๓๘ ๓ สยามยั ง ยื น ยั น นโยบายเป น มิ ต รกั บ ฝรั่ ง เศส พงศาวดารอยุ ธ ยาหลายฉบั บ เช น ฉบับพันจันทนุมาศ ฉบับหมอบรัดเล ระบุถึง การ สงทูตไปยังฝรั่งเศสในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชาวา “ศักราช ๑๐๕๒ (พ.ศ. ๒๒๓๓) ราชทูต อุปทูต ตรีทูต จําทูลพระราชสาสนเครื่องมงคลราช บรรณาการไปจํ า เริ ญ ทางพระราชไมตรี ณ กรุง ฝรั่ง เศส กลั บมาถึง แลวขึ้ นกราบถวายบัง คม พระบาทสมเด็จบรมนาถบรมบพิตรพระเจาอยูหัว กราบทู ลพระกรุ ณาถวายเครื่ องราชบรรณาการ ซึ่ ง พระเจ า กรุ ง ฝรั่ ง เศสตอบแทนมานั้ น แล ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกลา โปรดกระหม อ มสั่ ง ให ตั้งราชทูตเปนพระยาพระคลัง”๔ หรือ “ทรงพระกรุณ าใหตอ กํา ปน ใหญ ลําหนึ่ง แลใหทูตานุทูตคุมเครื่องราชบรรณาการ ออกไปเจริ ญ ทางพระราชไมตรี ณ กรุ ง ฝรั่ ง เศส เหมือนเมื่อเจาพระยาโกษาปานออกไปครั้งแผนดิน สมเด็จพระนารายณเปนเจากอน”๕ ยัง มีเนื้อหาในจดหมายที่เจาพระยาศรี ธรรมโศกราชถึ ง เมอซิ เ ออร เ ดอ ป อ งชาร แ ตรง ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๒๓๗ ความตอนหนึ่ง ระบุ วา “ไมค วรใหค วามผิ ดหมองระหวา งทหาร ฝรั่ ง เศสกั บ ชาวไทยครั้ ง นั้ น เป น อุ ป สรรค อี ก ทั้ ง สมเด็จพระมหากษัตราธิ ราชเจา กรุง ไทย(สมเด็ จ พระเพทราชา)ก็ ท รงโสมนั ส ยิ น ดี ใ นการฟ น ฟู ความสัมพันธ และควรบํารุงพระราชไมตรีระหวาง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

สยามกั บ ฝรั่ ง เศสให วั ฒ นารุ ง เรื อ งมากกว า กาล กอน”๖ พ.ศ. ๒๒๔๒ สมเด็ จ พระเพทราชามี พระบรมราชานุญาตใหบาทหลวงตาชารดทูลเกลาฯ ถว า ยพ ร ะ ร าช สาส น พ ร ะ เ จ า หลุ ย ส ที่ ๑ ๔ ที่ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป น พระราชสาส น เก า แก ที่ทรงมีมาตั้งแต พ.ศ. ๒๒๓๐ แตไมมีโอกาสนําขึ้น ทู ล เกล า ฯ ถวายสมเด็ จ พระเพทราชาได ท รงมี พระราชสาส น ตอบโดยมอบหมายให บ าทหลวง ตาชาร ด จํ า ทู ล ไปถวายพระเจ า หลุ ย ส ที่ ๑๔ ๗ พระราชสาส น ฉบั บ นี้ ไ ม มี เ นื้ อ หาใดๆ พิ เ ศษ นอกจากการสรรเสริญสมเด็จพระเจาหลุยสที่ ๑๔ และแสดงเจตนาทํานุบํารุงไมตรีใหดีตอกัน ประการที่สาม ฝรั่ง เศสมิใชชาติที่ไ ดรั บ การปฏิบัติจากสยามเปน พิเศษเพียงชาติเดียวอีก ตอไป สมเด็ จ พระเพทราชาทรงผู ก มิ ต รกั บ บริ ษั ท การค า ของดั ต ช และอั ง กฤษ มี ห ลั ก ฐาน บางชิ้นถึงกับระบุวาดัตชคือผูสนับสนุนสมเด็จพระเพทราชาในการผลักดันฝรั่งเศสออกไปจากสยาม ปร ะ ก าร ที่ สี่ สยามยื น ยั น ว า จะ สู หากไดรับการโจมตีจากฝรั่งเศส หลั ก ฐานนี้ ป รากฏในจดหมายของ เจ า พระยาพระคลั ง (โกษาปาน)ตอบจดหมาย บาทหลวงตาชารด เมื่ อ พ.ศ. ๒๒๓๗ ว า “ท า น กล า วว า เวลานี้ มี ส งครามในประเทศยุ โ รปอยู ถ า เลิ ก สงครามเมื่ อ ใด เมื อ งไทยจะได รั บ ความ รํ า คาญมาก....เพราะพระเจ า กรุ ง ฝรั่ ง เศสจะ ทรงพระพิโรธในการที่ไทยไดทํากับฝรั่งเศส แตถา หากวาพวกเราไดจัดการใหเรียบรอยไดแลว ไทยคง จ ะ ไ ด พ น จ า ก ค ว า ม ลํ า บ า ก เ ป น อั น ม า ก ” เจาพระยาพระคลัง(โกษาปาน) ตอบวา “เปนการ นานมาแลว ปรากฏทั่วไปวา ถาผูใ ดจะฝ าฝนขื น เอาเรือขามสันดอนเขามายังเมืองไทย เรือนั้นก็ตอง แตกทุกลํา คนชนิดนี้พวกไทยหากลัวไม เพราะไม ตองทําอะไรหมดนอกจากรักษาปากน้ําใหมั่น และ คอยปองกัน อยาใหเรือใหญเขามาไดเทานั้นก็พอ ถาแมวาขาศึกจะเขามาเมืองไทยดวยใชเรือเล็กแลว

ก็เทากับนําเหยื่อมาใหแกคนไทย ถาเรือใหญจะพัก อยูที่ทาจอดเรือในเมืองไทยก็ดี เมืองมะริดก็ดี ก็จะ อยูไ มไ ด เพราะขาดเสบี ยงและคนเรือจะตองล ม เจ็บมาก ถาเรือใหญจะจัดใหเรือเล็กเขามาหาน้ําหาฟน ไทยก็ จะจัด การป องกัน ไม ให มาเอาน้ํ าเอาฟน ได เพราะฉะนั้นผูใดคิดการเชนนี้ก็จะเหนื่อยเปลา”๘ นาสังเกตวาการดําเนินงานของราชการ สยามตอเหตุการณความบาดหมางระหวางสยาม กั บ ฝรั่ ง เศสนั้ น ทํ าไ ด ทั น เหตุ ก ารณ ชั ด เจน กล า หาญ และนี่ คื อเหตุผ ลหนึ่ ง ที่ไ ม ทํา ใหป ญ หา ต อ งบานปลายเป น สงคราม ฝ า ยสยามระบุ ว า สมเด็จพระเจาหลุยสที่ ๑๔ ทรงตระหนักถึงสาเหตุ แห ง ความขั ด แย ง ระหว า งสยามกั บ ฝรั่ ง เศสเป น อยางดีแลว จึงไมทรงสั่งใหทําการใดๆ๙ เมื่ อ สิ้ น สุ ด การวิ ว าทกั น ใหม ๆ ฝ า ย ฝรั่ง เศสยัง แสดงทา ทีจะสานตอความสัม พันธกั บ สยามอีกตอไป ดวยเห็นวาจะมีผลประโยชนจาก การค า กิ จ กรรมที่ ฝ รั่ ง เศสเพ ง เล็ ง มากที่ สุ ด คื อ ตองการเมืองมะริดซึ่ง เปนดินแดนของสยามเปน สถานีการคาในภูมิภาค แตฝายสยามไมตอบสนอง ในเรื่องนี้ดวยยังระแวงฝรั่งเศส

ตอนที่ ๓ สยามยังคงตองการรื้อฟน ความสัมพันธกับฝรั่งเศสเพื่อประโยชนทาง การคา และฝรัง่ เศสตองการเมืองมะริดเพื่อ เปนสถานีการคา

พ.ศ. ๒๒๔๒ ฝรั่ ง เศสได ส ง สั ง ฆราช เกเมอเน (Quemener) มาที่ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา เพื่อขออนุญาตครอบครองทาเรือเมืองมะริด จะได ใช เ ป น สถานี ก ารค า สร า งและซ อ มแซมเรื อ ท า นต อ งรอที่ เ มื อ งมะริ ด นานกระทั่ ง ถึ ง วั น ที่ ๑๗ พฤศจิก ายน พ.ศ. ๒๒๔๓ จึง ได มีโ อกาสนํ า เรื่องนี้แจงแกเจาพระยาพระคลัง แตไดรับคําตอบ วา ไมอนุญาต๑๐ เหตุก ารณข องการวิ วาทระหวา งสยาม กับฝรั่งเศสผานไปนานกวาหนึ่งทศวรรษ เรือสินคา จากฝรั่ง เศสขาดการติดตอกับสยาม เรื่องนี้นาจะ ทําใหสยามคิดเปลี่ยนนโยบายยอมใหมีการคาขาย


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

กั บ บริ ษั ท ฝรั่ ง เศสเหมื อ นเดิ ม แต ไ ม ใ ห สิ ท ธิ ใ ดๆ พิเศษมากกวาบริษัทตางชาติอื่นๆ เมื่ อ สมเด็ จ พระเพทราชาสวรรคต ใน พ . ศ. ๒ ๒ ๔ ๖ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช ฝรั่ ง เ ศ ส ที่ พระนครศรี อ ยุ ธ ยาคื อ พระสั ง ฆราชเดอซาบู ล า ไดเขาเฝาพระมหากษัตริยพระองคใหมคือขุนหลวง สรศักดิ์ สัง ฆราชองคนี้ไ ดมีจดหมายถึง เมอซิเออร มารแต็ง ผูอํานวยการสถานีการคาฝรั่งเศสที่เมือง ปอ งดิเ ชอรี ลงวั น ที่ ๒๖ กัน ยายน พ.ศ. ๒๒๔๖ วา “เมื่อ พระเจา แผ น ดิน พระองค ใหม นี้ไ ด เสด็ จ เถลิง ถวัลยราชสมบัติแล ว และพระอนุชายัง คงมี พระชนมอยู ขาพเจาจึง ไดทําตามแบบอยางของ บรรดาหัว หนาชาวต างประเทศซึ่ง อยูใ นประเทศ สยาม คื อไดไ ปเฝ าแสดงความยิ น ดีที่ พระองคไ ด เสด็จผานพิภพ พระเจาแผนดินพระองคใหมไดทรง รับรองขาพเจาอยางดี ไดรับสั่ง สรรเสริญชมเชย ประเทศฝรั่งเศสและรับสั่งวา มีพระราชประสงคจะ ไดทําไมตรีติดตอกับฝรั่งเศสอีก เพื่อจะไดใหพอคา ฝรั่งเศสไดเขามาทําการคาขายในพระราชอาณาจักร อยางเดิม และจะไดโปรดพระราชทานที่ใหตั้งหาง และโรงงาน ทั้งจะไดพระราชทานสิทธิตางๆ ใหแก ฝรั่ ง เศสเหมื อ นกั บ ที่ ไ ด พ ระราชทานให แ ก พ วก ฮอลันดาอยูแลว”๑๑ ฝรั่ ง เศสไม ส นองตอบต อ ท า ที นี้ ใ ดๆ ดว ยกํา ลั ง มี ภ าระสงครามติ ดพั น ในยุ โรป บริ ษั ท การคา ฝรั่ง เศสคาขาดทุน อีกทั้ง ยั ง ตองเผชิญ กั บ การต อ ต า นจากอั ง กฤษและดั ต ช ทั่ ว ย า นน้ํ า ที่ กองเรือฝรั่งเศสออกไปคาขาย

เฉพาะบาทหลวงชาวฝรั่ง เศสเทานั้นที่มี บทบาทในสั ง คมชาว สยามด วยการ เผยแผ คริ ส ต ศาสนา รั ก ษาผูป ว ย ดํ า เนิ นการเพื่อ เรี ย น การสอนของโรงเรียนสามเณราลัย ความสัมพัน ธ ระหว า งสยามกั บ ฝรั่ ง เศสดํ า รงอยู ใ นระดั บ นี้ จวบกระทั่ง ถึง รัช สมั ยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล า เจ า อยูหั ว (พ.ศ. ๒๓๙๓-๒๔๑๑) จึง ได ฟ น ความสัมพันธทางการทูตกับฝรั่งเศส เปนโอกาสให ฝรั่งเศสเริ่มรุกรานการเมืองสยามอีกครั้ง สรุปไดวา ความสัมพันธระหวางสยามกับ ฝรั่ ง เศสหลั ง รั ช สมั ย สมเด็ จ พระนารายณ นั้ น ใน ระยะแรกๆ ฝายสยามคงตระหนักดีวาการคบหา กับ ฝรั่ ง เศสนั้น เปน เรื่ องที่ต องระวั ง แต ก็ยิ น ดี ใ ห ความสัมพันธตอกันไมสะดุด ฝรั่ง เศสยัง ตองการ ตั้ ง ฐานการค า ใหม ที่ มั่ น คงในดิ น แดนสยามคื อ ที่ เมืองมะริด แตดวยปจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นใหมคือ ฝายฝรั่งเศสตองทําสงครามในทวีปยุโรปและบริษัท การคาของฝรั่ง เศสที่ดําเนินงานผิดพลาดขาดทุน ทําใหการสถาปนาความสัมพั นธใกลชิ ดกับสยาม นั้ น ลดความเข ม ข น ลง ส ว นฝ า ยสยามเองก็ มี ชาวดั ต ช เ ข า มาช ว ยเสริ ม ความแข็ ง แกร ง ทาง เศรษฐกิจอีกครั้ง การพึ่ง พาฝรั่ง เศสจึง ไมใชเรื่อ ง จําเปนมาก บทเรียนจากฝรั่ง เศสครั้ง รัชสมัยสมเด็จ พระนารายณ ม หาราชเป น ประโยชน สํ า หรั บ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวซึ่ง ไดทรง นํามาศึกษาและปรับใชสําหรับการกําหนดนโยบาย การต า งประเทศกั บ มหาอํ า นาจในรั ช สมั ย ของ พระองคเพื่อหลีกเลี่ยงมิใหสยามตองเพลี่ยงพล้ํา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อางอิง ๑

ประชุมพระราชปุจฉา เลม ๑ ,(กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๕๐), หนา ๔, ๑๓-๑๔. ภูธร ภูมะธน, โกษาปาน ราชทูตผูกูแผนดิน, (กรุงเทพฯ : สถาบันการเรียนรูและสรางสรรค, ๒๕๕๐), หนา ๑๗๙-๑๘๐. ๓ ประวัติพระศาสนจักรคาทอลิกไทย, (กรุงเทพฯ : วิทยาลัยแสงธรรม, ๒๕๓๓), หนา ๑๐๑. ๔ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ(เจิม) พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๔๓), หนา ๒๒๕-๒๒๖. ๕ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหมอบรัดเล พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโฆษิต, ๒๕๔๙), หนา ๓๕๑๓๕๒. ๖ ภูธร ภูมะธน, เรื่องเดิม, หนา ๑๓๘. ๗ สันต ท.โกมลบุตร แปล, เอกสารสําคัญทางประวัติศาสตรแหงชาติของกระทรวงทหารเรือ(ฝรั่งเศส)เกี่ยวกับประเทศ สยาม เลม ๒ ค.ศ. ๑๖๘๔-๑๗๐๐, (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๗), หนา ๑๓๐. ๘ ภูธร ภูมะธน, เรื่องเดิม, หนา ๑๔๐-๑๔๑. ๙ เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๔๐. ๑๐ ประวัติพระศาสนจักรคาทอลิกไทย, เรื่องเดิม, หนา ๑๐๕ . ๑๑ ประชุมพงศาวดารฉบับหอสมุดแหงชาติ เลม ๗, (พระนคร : กาวหนา, ๒๕๐๗), หนา ๒๗๗.ฃ ๒


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

คนไทยตองเรียนรูประวัติศาสตร เพื่อปองกันชาติลมสลาย

อนันต รัตนภานุศร * 3

บทนํา

สมเด็ จ พระนางเจ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ทรงมี พ ระราชเสาวนี ย แ ก พ สกนิ ก รที่ เ ข า เฝ า เพื่อถวายพระพร เนื่องในวโรกาสคลายวันพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ ดังความตอนหนึ่งวา

“...แตนาเสียดายตอนนี้ทานนายกเขามิใหเรียนประวัติศาสตรแลวนะ ฉันไมเขาใจ เพราะตอนที่ฉัน เรียนอยูสวิสเซอรแลนด สวิสเซอรแลนดก็แสนไมมีประวัติศาสตรอะไร เทาไหร เราก็ตองเรียนประวัติศาสตร ของสวิ ส แต เมื องไทยนี่ โอ โห...บรรพบุ รุษ เลื อดทาแผน ดิน กว าจะมาถึ ง ใหพวกเราอยู นั่ ง อยูกั นสบาย ในประเทศนี้ เรากลับไมใหเรียนประวัติศาสตร ไมใหรูวาใครมาจากไหน เอะ ! เปนความคิดที่แปลกประหลาด ที่อเมริกาถามหนอย เขาก็สอนประวัติศาสตรบานเมืองเขา ที่ไหนประเทศไหน เขาก็สอนไง แตประเทศไทยไมมี ไมทราบวาแผนดินนี้ มันรอดมาอยูจนบัดนี้เพราะใครหรือ วายังไงกัน โอโห...อันนี้นาตกใจ ชาวตางประเทศ ยังไมคอยทราบวา นักเรียนไทยนี่ไมมีการเรียนการสอนประวัติศาสตรเลย...” (เดลินิวส ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๑) นายอัมรินทร คอมันตร๑ ไดกลาวอางคําพูดของเซอรวินสตัน เชอรชิล๒ ที่กลาววา “ชนชาติใดก็ตาม ถาไมคิดคํานึง นึกถึงประวัติศาสตร ชนชาตินั้นไมมีอนาคต”

* ผูชวยศาสตราจารย ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ศาสตราจารยนายแพทยเกษม วัฒนชัย๓ ไดเขียนคํานิยามยกยองหนังสือ “มหาอาณาจักรฮั่น” ไววา “รูประวัติศาสตรไดบทเรียนเตือนใจและ เขาใจปจจุบันไดดีขึ้น” จากพระราชเสาวนี ย ข องสมเด็ จ ฯ และคําพูดของบุคคลสําคัญ ของโลกและของไทย ทํ า ใ ห เ กิ ด คว า มรู สึ ก ไ ด ว า ปร ะ วั ติ ศา สต ร มี ค วามสํ า คั ญ และมี ค วามหมายยิ่ ง ใหญ เ พี ย งใด ถ า คนไทยไม ส นใจเรี ย นรู ป ระวั ติ ศ าสตร อ าจ สายเกิน แก แตเปน ที่นา เสียดายและนาเสียใจว า คนไทยสวนใหญไมใสใจ ไมสนใจที่รับรูหรือเรียนรู ประวั ติ ศ าสตร ช าติ ไ ทย โดยเฉพาะรั ฐ บาลและ กระทรวงศึกษาธิการไมเปน ผูนําใหคนไทยสนใจ เรี ย นรู ป ระวั ติ ศ าสตร ให ค นไทยรั ก ชาติ แ ละ หวงแหนแผ น ดิ น ที่ บ รรพบุ รุ ษ ได เ อาเลื อ ดเนื้ อ เอาชี วิ ต เข า แลก คนไทยจึ ง รั ก ชาติ เ ฉพาะเวลา รองเพลงชาติ หรือเวลาที่กําลัง เชีย รนักกีฬาไทย แขงขันเทานั้น ประเทศไทยมีประวัติศาสตรอันยาวนาน ประมาณ ๘๐๐ ป เริ่ ม จากกรุ ง สุ โ ขทั ย มาสู กรุงศรีอยุธยา แลวยายมากรุงธนบุรี จากกรุงธนบุรี ก็มาหยุดที่กรุงรัตนโกสินทร การเสียกรุงศรีอยุธยาใหแกพมา ๒ ครั้ง คือ กรุง แตกเปนการลมสลายของชนชาติไ ทยใน ครั้งนั้น กรุงแตกครั้ง แรกคนไทยตองเจ็บปวดรวด ร า วระทมทุ ก ข เ ป น เวลานาน เป น เวลา ๑๕ ป จนกระทั่ ง สมเด็ จพระนเรศวรทรงกอบกู เอกราช กลับคืนมาได เมื่อเสียกรุงครั้งที่ ๒ สมเด็จพระเจาตากสินทรงกอบกูเอกราชกลับคืนมาได การเสี ย ดิ น แดนให แ ก ฝ รั่ ง นั ก ล า อาณา นิคมเปนจํานวนมาก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร คือ เสียใหแกอังกฤษและฝรั่งเศส จึงทําใหประเทศไทย มีผืนแผนดินลดนอยลงประมาณครึ่งหนึ่ง เหตุ ก ารณ ใ นประวั ติ ศ าสตร ที่ ค นไทย ต อ งสู ญ เสี ย เอกราช เสี ย กรุ ง ๒ ครั้ ง และ เสียดินแดนหลายครั้งใหฝรั่ง นับวาเปนการสูญเสีย ที่ยิ่ง ใหญ เปนความเจ็บ ปวดรวดราวของคนไทย

ทั้ ง ชาติ เมื่ อ เหตุ ก ารณ เ หล า นั้ น ได ผ า นไปแล ว และไมมีทางที่เหตุการณอยางเดียวกันเหมือนกัน จะเกิ ด ขึ้ น อี ก เพราะว า ในป จ จุ บั น ไทยกั บ พม า ก็ไมไดเปนศัตรูกันอีกแลว ชนชาติพมาปจจุบันเปน คนที่นาสงสาร นาเห็นใจ ชาวพมาพลัดบานเมือง มาทํ า มาหากิ น ขายแรงงานในประเทศไทย ประมาณ ๒ ลานคน คนไทยก็ไ มรัง เกียจชาวพมา พรอมยินดีตอนรับในฐานะผูหนีรอนมาพึ่งเย็น ส ว นอั ง กฤษและฝรั่ ง เศสที่ ม าเฉื อ น ดินแดนไทยไปหลายครั้ง ทําใหไทยตองเสียแผนดิน ไปประมาณเท ากั บ พื้น ที่ ป ระเทศไทยในปจ จุ บั น ทุก วัน นี้อั ง กฤษและฝรั่ง เศสก็ไ ม มีค วามสามารถ จะมารุกรานใครไดอีก คนไทยก็ไมควรจะไปเกลียดชัง ชนทั้ง ๒ ชาติ เพราะวา เหตุ ก ารณใ นอดี ต ที่ช าติ ทั้งสองกระทําตอคนไทยไมสามารถเกิดขึ้นอีก ดังนั้น คนไทยตองเรียนรูประวัติศาสตร เพื่ อ ให เ กิ ด ความรั ก ชาติ แ ละชาติ นิ ย ม ชาติ ไ ทย จึงจะไมลมสลาย แตในยุคปจจุบัน ชนชาติไทยมิใชวาจะไม มี ภั ย หรื อ ศั ต รู จ ากต า งชาติ อี ก ภั ย หรื อ ศั ต รู จ าก ต า งชาติ ไ ด เ ปลี่ ย นรู ป แบบไปจนหมดสิ้ น แล ว ภั ย ในรู ป แบบใหม ข องคนไทย คื อ ภั ย จากระบบ “ทุนนิยม” ที่มาพรอมกับยุค “โลกาภิวัตน” ก า ร เ รี ย น รู ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร แ ล ะ ถอดบทเรียนเพื่อใหไดประโยชนจากประวัติศาสตร จํา เป นอยา งยิ่ ง เพื่อ มิใ หค นไทยต องถลํ าตั วและ ตกเปนเหยื่อ พลาดพลั้งเสียที “ทุนนิยม” ที่กําลัง ครอบครองโลก และความคลั่งไคลเทคโนโลยีที่ทําให คนไทยจนลงในที่ สุ ด ชาติ ไ ทยอาจต อ งลม สลาย ไมใ หวิ ญ ญาณปูม าร องกอ งหู ลูก หลานคนไทยว า “วิญญาณปูจะรองวาไอลูกหลานจัญไร” พวกเราที่ เป น ลู ก หลานก็ ต อ งเฝ า ระวั ง รั กษาแผ น ดิ น “แผ น ดิ น ไทย แผ น ดิ น ทอง” ไว ใ ห ค งอยู ชั่ ว ฟ า ดินสลาย โดยบอกกับตนเองวา “แผนดินนี้พอกูอยู ปู กู ต าย ใครจะเอาไปไม ไ ด จะรั ก ษาไว เ พื่ อ ให ลูกหลานไทย” การจะรั ก ษาแผน ดิ น ไทย แผ น ดิน ทอง เอาไวใหลูกหลานไดอยูอาศัย ไดอยูทํากินกันตอๆ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ไปอยางไมรูจบ อยาใหชนตางชาติเขามาครอบครอง แผน ดิน ไทย โดยอาศั ยคนไทยบางคนที่ข ายชาติ ขายแผน ดิน เพื่ อประโยชนเฉพาะตน เครือญาติ และพวกพอง อยาใหชาวตางชาติที่มีทุนที่มากกวา และการจัดการที่ ดีกว า เขามาแย ง อาชีพคนไทย แย ง แผ น ดิ น ไทย จนกระทั่ ง คนไทยต อ งสู ญ เสี ย แผ น ดิ น หมดอาชี พ หมดความสามารถเลี้ ย งดู ตนเองและครอบครัว ถาคนไทยตองเสียแผนดิน ให ต า งชาติ เสี ย อาชี พ ที่ ค วรสงวนไว ใ ห ค นไทย ความเป น ชาติ ก็ ล ม สลายแล ว จะเหลื อ คนไทย รองเพลงชาติไ ทยสัก กี่คน และจะมีใ ครอยากฟ ง เพลงชาติ ไ ทยอี ก ดั ง นั้ น เพื่ อ ป อ งกั น ชาติ ไ ทย ลมสลาย คนไทยตอ งเรียนรู ประวัติศาสตรตั้ง แต บัดนี้

ประวัติศาสตรไทย : จากสุโขทัย ถึง รัตนโกสินทร

ประวัติศาสตรไ ทย เริ่มตนที่กรุง สุโขทัย เป น ราชธานี ราชธานี แ ห ง แรกของไทยคื อ กรุงสุโขทัย ผูเขียนขอสรุปเรื่องราวและเหตุการณ สํ า คั ญ จากเอกสารประกอบการบรรยายของ ไชยวัฒน วรเชฐวราวัตร ดังนี้ ...อันที่จริงแลว คําวา “สุโขทัย” คงไมได หมายความถึง เฉพาะเมืองสุโขทัยเทานั้น แตรวม ความถึ ง กลุ ม เมื อ งสุ โ ขทั ย ทั้ ง หมด เรี ย กว า อาณาจักรสุโขทัย เมืองสําคัญในกลุมเมืองสุโขทัยมี มากมาย ยกตัวอยางเชน เมืองสุโขทัย ที่ถือวาเปน เมืองหลวง ศรีสัชนาลัย ที่ถือวาเปนเมืองลูกหลวง และเมื องกํา แพงเพชร ทั้ง สามเมืองนี้จึง ถู กเรีย ก รวมกันวา “สุโขทัยและเมืองบริวาร”... เมือ งสุโ ขทัย และเมื องบริว ารไดรับ การ ยกย อ งจากองค ก ารศึ ก ษาและวิ ท ยาศาสตร แห ง สหประชาชาติ (UNESCO) ให ขึ้ น ทะเบี ย น เปนมรดกโลก เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๔ อ า ณ า จั ก ร สุ โ ข ทั ย เ ริ่ ม ต น เ มื่ อ ป พ.ศ. ๑๗๖๒ และล ม สลายเมื่ อ ป พ.ศ. ๑๙๘๑ โดยถู ก ราชอาณาจั ก รกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยายึ ด ครอง กรุงสุโขทัยมีกษัตริยปกครอง รวมทั้งสิ้น ๙ พระองค

กษั ต ริ ย พ ระองค แ รกคื อ พ อ ขุ น ศรี อิ น ทราทิ ต ย กษั ต ริย อ งค ที่ ๓ คือ พ อขุ น รามคํา แหงมหาราช (ครองราชย ๑๘๒๒ – ๑๘๔๑) พระองคทรงเปน กษัตริยที่ทรงพระปรีชาสามารถอยางสูง ไดขยาย ดินแดนออกไปไดอีกเปนจํานวนมาก ที่สําคัญที่สุด ที่ ค นไทยไม ส ามารถลื ม พระองค ไ ด คื อ ทรง ประดิษฐอักษรไทยขึ้นมา เพื่อใหคนไทยไดใช ผู เขี ย น ขอแทร ก เก ร็ ดคว าม รู แล ะ ค ว า ม คิ ด เ พื่ อ ใ ห ค น ไ ท ย ไ ด ภ า ค ภู มิ ใ จ พ อ ขุ น ร า ม คํ า แ ห ง ก ษั ต ริ ย ผู ยิ่ ง ใ ห ญ ข อ ง บรรพกษัตริยไทย มิใหเลือนหายไปจากคนไทย ป จ จุ บั น อั ก ษ ร ไ ท ย ป ร ะ ก อ บ ด ว ย พยัญชนะ ๔๔ ตัว สระ ๒๑ ตัวใน ๒๑ ตัวสามารถ ผสมได ๓๒ เสียง และวรรณยุกตอีก ๔ ตัวผัน ได ๕ เสี ย ง เมื่ อ จะสร า งคํ า ขึ้ น มา ก็ ส ามารถนํ า พยัญชนะ สระ หรือเพิ่มวรรณยุกตมาผสมสรางคํา ไดมากมายเหลือคณานับไมจํากัดจํานวนคํา ผูเขียนขอเปรียบเทียบกับภาษาอังกฤษ ภาษาเกาหลี และภาษาจี น ที่ ไ ด ศึ ก ษามาบ า ง เพื่อเปรียบกับภาษาแม (ภาษาไทย) เมื่อศึกษาแลว ก็เกิดภาคภูมิใจในภาษาไทยที่พอขุนรามคําแหงมหาราชไดประดิษฐขึ้น ภาษาอังกฤษ มีตัวอักษรทั้งหมด ๒๖ ตัว เป น เป น พยั ญชนะ ๒๑ ตั ว และสระ ๕ ตั ว ภาษาอั ง กฤษไม มี ว รรณยุ ก ต คนไทยเมื่ อ เรี ย น ภาษาอัง กฤษ สามารถเรียนรูไ ดโดยไมมีอุปสรรค ที่ เ ป น อุ ป สรรคเพราะว า มี ก ารสอนที่ ไ ม ถู ก ต อ ง ตางหาก เพราะวาพยัญชนะภาษาไทย และสระไทย มีมากกวาในภาษาอังกฤษและครอบคลุมทั้งการฟง การพูด การอานและการเขียนอังกฤษ แตถาคนที่มี ภาษาแม เ ป น ภาษาอั ง กฤษมาเรี ย นภาษาไทย จะพบอุปสรรคในเรื่องคําที่มีเสียงวรรณยุกตและ สระบางตัวที่ภาษาอังกฤษไมมี เพราะวาคนที่พูด ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาแม ไ ม เ คยรู จั ก เสี ย ง วรรณยุ ก ต จึ ง ออกเสี ย งไม ชั ด เช น ให ฝ รั่ ง พู ด ว า “ใครค า ขายไข ค ะ ”ก็ จ ะออกเสี ย งฟ ง ไม รู เ รื่ อ ง ฝรั่งบางคนชอบฟง คนไทยพูด เขาบอกวาคนไทย พูดเหมือนฟงดนตรี (คงจะเปนเพราะวาเรามีเสียง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

วรรณยุ ก ต เ อก โท ตรี จั ต วา และมี เ สี ย งสามั ญ ซึ่งเปนเสียงสูง ต่ําคลายโนตดนตรี) ภาษาไทยเปน ภาษาที่มีเสนห ตางชาติใหความสนใจ ยกตัวอยาง เชน นักรองชายชาวสวีเดนที่ชื่อ โจนัส แอนเดอรสัน และนักรองหญิงชาวเนเธอรแลนดที่ชื่อ คริสตี้ กิ๊บสัน ทั้งสองเปนนักรองลูกทุงไทยหัวใจไทย โดยเฉพาะ คริ ส ตี้ ได รั บ รางวั ล ชาวต า งชาติ ที่ พู ด และร อ ง ภาษาไทยไดถูกตอง นอกจากนี้ยังมี แอนดรูว บิ๊กส และ ทอดด ทองดี แอนดรู ว บิ๊ ก ส เป น ฝรั่ ง ชาวออสเตรเลียที่เขามาเรียนหลักสูตรภาษาไทย ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย รามคํ า แหงจนจบปริ ญ ญาตรี สวน ทอดด ทองดี เปนชาวอเมริกัน พูดภาษาไทย ได ค อ นข า งดี จากตั ว อยา งเล็ ก ๆ นอ ยๆ นี้ ทํ า ให ผู เ ขี ย นรู สึ ก เป น หนี้ บุ ญ คุ ณ พ อ ขุ น รามคํ า แหงมหาราช ที่ท รงประดิษฐ อักษรไทย ใหคนไทยใช นับวาเปนพระคุณอันยิ่งใหญที่คนไทยไมเคยลืมเลือน

แอนดรูว บิ๊กส

คริสตี้ กิ๊บสัน

ตอไปขอเทีย บภาษาไทยกั บเกาหลีบา ง ที่ นํ า มาเที ย บกั บ เกาหลี เ พราะว า เวลานี้ ค นทั้ ง ทั่ว โลกกํ า ลั ง เห อ วั ฒ นธรรมเกาหลี ไม ว าจะเป น ดารา นักรอง ละครและภาพยนตร วัฒนธรรมเกาหลี กําลัง ขายดีทั่วโลกโดยเฉพาะวัยรุนไทยที่คลั่งไคล นักรองนักแสดงเกาหลีอยางมาก คนไทยจํานวนมาก ชอบทัว รเ กาหลี ถ าจะทั วร ให ไ ด ประโยชนสู ง สุ ด ก็ควรจะทําการบานกอนไปทัวรเกาหลี ศึกษาให รูลึกเกี่ยวกับสถานที่ที่จะทองเที่ยว ศึกษาวิถีชีวิต คนเกาหลี ศึกษาวาคนเกาหลีกินอาหารอะไรบาง ถ า จะให ไ ด ป ระโยชน สู ง สุ ด ควรรู ภ าษาเกาหลี ที่

จํ า เป น จะต อ งใช เช น การสั่ ง อาหาร การซื้ อ ของฝากที่ ร ะลึ ก การถามหาห อ งน้ํ า ฯลฯ ถ า รู ภาษาเกาหลี อ าจจะซื้ อ ของหรื อ จ า ยค า อาหาร ถูกลงบาง ภาษาเกาหลี อักษรเกาหลีประกอบดวย พยั ญ ชนะ ๑๙ ตั ว สระ ๒๑ ตั ว เกาหลี ไ ม มี วรรณยุ ก ต ใ ช (แต ใ ช เ สี ย งหนั ก กั บ เสี ย งเบา) เมื่อคนไทย เรียนภาษาเกาหลี สามารถเรียนไดโดย ไม มี อุ ป สรรค เพราะว า เรามี พ ยั ญ ชนะและสระ มากกวาเกาหลี และครอบคลุมการอานการเขียน ไดหมด สวนคนเกาหลีถ ามาเรียนภาษาไทยจะมี อุ ป สรรคเรื่ อ งพยั ญ ชนะบางคํ า เช น เสี ย ง ฝ,ฟ เกาหลีไมมี เสียงสระบางตัวเชนเสียง เอีย เกาหลี ไม มี ส ว นวรรณยุ ก ต ยิ่ ง เป น อุ ป สรรคอย า งมาก เพราะวาเกาหลีไมมีวรรณยุกต ถาลองใหคนเกาหลี พูดคํ าไทยวา “ใครคาขายไขค ะ ” เสียงพูดคงจะ ผิดเพี้ยนอยางมาก สุดทายขอเทียบภาษาไทยกับภาษาจีนบาง ที่นํามาเทียบเพราะวาจีนเปนประเทศที่มีพลเมือง มากที่ สุ ด ในโลก มี ป ระมาณ ๑,๓๕๐ ล า นคน จีนเปนมหาอํานาจทางเศรษฐกิจอันดับ ๒ ของโลก คาดเดากันวาอีก ๒๐ ป จีนจะมีเศรษฐกิจที่ใหญ ที่ สุ ด ในโลก แซงอเมริ ก า ทํ า ให ค นอเมริ กั น จํ า นวนมาก เริ่ ม มาเรี ย นภาษาจี น เพราะว า โลกอนาคตคือโลกของจีน รัฐบาลไทยกําลังสงเสริม ใหคนไทยเรียนภาษาจีนกันมากขึ้น ภาษาจี น ตั ว เขี ย นใช สั ญ ลั ก ษณ ห รื อ ภาพแทนความหมายในแตละคํา ภาษาจีนจึงไมมี พยัญชนะ สระและวรรณยุกต ภาพหรือสัญลักษณ จีนแตละตัวมีความหมายทุกตัว ความหมายบางคํา ต อ งใช สั ญ ลั ก ษณ ๒ ตั ว ๓ ตั ว หรื อ มากกว า นั้ น คนจีนเรียนภาษาจีนจะไมเกิดอุปสรรคแตอยางใด เพราะวาจําภาพความหมายของคําและออกเสียง ได ตั้ ง แต เ ด็ ก แล ว แต ค นต า งชาติ ถ า จะเรี ย นรู ภาษาจีน จะทํา อย างไร? รัฐ บาลจี น จึ ง มี การอ า น และการเขียนแบบ”พินอิน ”โดยใชตัวอักษรโรมัน มาเขี ย นและอ า นคํ า อั ก ษรจี น และเพิ่ ม เสี ย ง วรรณยุกตอีก ๔ เสียง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

จี น นํ า ตั ว อั ก ษรโรมั น มาใช โ ดยหยิ บ พยัญ ชนะมาใช ๑๙ ตัว สระ ๙ ตัว และเพิ่มเสียง วรรณยุกตอีก ๔ เสียง เมื่อคนไทยเรียนภาษาจีน จึงเรียนไดโดยไมมีอุปสรรคโดยผานการเขียนอาน แบบพินอิน เรามีพยัญชนะและสระมากกวาพินอิน ส ว นว รรณยุ ก ต ข องไทยก็ เ ที ย บได กั บ เสี ย ง วรรณยุกตจีนไดครบและยังมีมากกวาอีก ๑ เสียง แตถาคนจีนมาเรียนภาษาไทย จะพบอุปสรรคมาก เพราะว า คํ า ในภาษาจี น ไม มี เ สี ย งพยั ญ ชนะ หรื อ สระครบทุ ก คํ า ในภาษาไทยเช น คํ า จี น ไม มี เสี ย ง ด จึ ง ออกเสี ย ง ด ไม ไ ด ถ า ให ค นจี น พู ด ประโยคว า “เด็ ก ชายแดงเป น เด็ ก ดี ” ก็ จ ะพู ด ผิดเพี้ยนเปนอยางมาก ที นี้ ถ า ลองเปรี ย บเที ย บชาวต า งชาติ ระหวางจีนกับอังกฤษหรืออเมริกัน คนจีนเมื่อเรียน ภาษาอั ง กฤษจะมี อุ ป สรรคหรื อ มี ป ญ หา เช น คนจีน ไมมีเสียง d(ด),b(บ) การฝกออกเสี ยงจึง มี ความยากลํ า บาก ส ว นคนอเมริ กั น เมื่ อ มาเรี ย น ภาษาจี น ก็ จ ะเกิด อุ ปสรรคหรื อ ปญ หา เพราะว า ภาษาของตนที่ ใ ช อ ยู ไ ม มี เ สี ย ง วร รณยุ ก ต การฝกออกเสียงวรรณยุกตจึง ยากลําบาก ดังเชน ใหคนอเมริกันพูดคําวา หนีหาว (สวัสดี) ก็ตองฝก กันอีกนานกวาจะออกเสียงถูกตอง ผูเขียนเมื่อมีเวลาวางจึงหัดเรียนภาษาจีน และภาษาเกาหลี ด ว ยความอยากรู แ ละจะได ประโยชนเมื่อ ไปทัวร จีนและเกาหลี จึง ได สัง เกต และพอจะเปรียบเทียบไดวาภาษาจีน เรียนยากกวา ภาษาเกาหลี ภาษาเกาหลี ค ล า ยกั บ ภาษาไทย เพราะวาคําแตละคํา จะประกอบดวย พยัญ ชนะ สระ เหมื อ นกั น แต ภ าษาเกาหลี ไ ม มี ว รรณยุ ก ต ภาษาเกาหลี เ มื่อ จะพู ด หรื อ สื่ อ สารเป น ประโยค จะเรียงลําดับดังนี้ ประธาน กรรม กริยา จะเห็นวา เรียงคําในประโยคตางจากภาษาไทยคือตองเรียง ประธาน กริยา กรรม สวนภาษาจีน แตละคําจะประกอบดวย เสนมากบางนอยบาง จํานวนเสนที่เทากันแตภาพ ไมเหมือนกัน ความหมายก็ตางกัน ดังนั้นอักษรจีน จํ า ยาก ส ว นการเรี ย งประโยคถ า มี คํ า ใดเป น

คําขยาย คําขยายจะอยูดานหนาไมเหมือนกับไทย คําขยายจะอยูดานหลัง เ มื่ อ ผู เ ขี ย น ทํ า ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ภาษาไทยกั บ ภาษาอั ง กฤษ ภาษาจี น และภาษา เกาหลีแลว ก็เกิดความรูสึกตื้นตันใจและภาคภูมิใจ ใน ภ าษาไ ทย ที่ พ อขุ น ร าม คํ าแหง ม หาร า ช ทรงประดิษฐตัวอักษรไทยใหคนไทยใชจนสืบทอด ม าอ ยู ทุ ก วั น นี้ ก าร ตั้ ง ชื่ อ ม ห าวิ ท ย าลั ย ว า มหาวิ ท ยาลั ย ร าม คํ า แหง จะทํ าให คน ไทย ไมสามารถจะลืมพอขุนรามคําแหงมหาราชได ผู เ ขี ย นขอยกย อ งและเทิ ด ทู น พ อ ขุ น รามคําแหงวาผลงานของพระองคทานนั้นมีคุณคา อเนกอนั น ต และขอนํ าบทกวี ที่ ผู เ ขี ย นยั ง จํ า ได เมื่อยังเปนนักเรียนอยูวา พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง โททนดเสนงคง สําคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย สถิตยทั่วแตชั่วดี ประดับไวในโลกา ภาษาไทยแสดงความเป น ชาติ ไ ทย คน ไ ทยจะ ต อง รั ก ษาภาษาไ ทยเอ าไว และ ใช ภ าษาไทยให ถู ก ต อ ง ไม ว า จะเป น การเขี ย น การอานและการพูด การไมรักษาภาษาไทยเอาไว ก็เหมือนเปนการไมรักษาชาติไทยนั่นเอง

จากสุโขทัยสูราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา

สมเด็จพระรามาธิบดีที่1(พระเจาอูทอง) ทรงสถาปนากรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น ราชธานี ในป พ.ศ. ๑๘๙๓ กรุง ศรีอยุธยาเปนราชธานีของไทย อยู น าน ๔๑๗ ป ตั้ ง แต พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐ มีกษัตริยปกครองทั้งสิ้น ๓๓ พระองค กษัตริยองค สุดทาย คือ พระเจาเอกทัศ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ในสมัยกรุง ศรีอยุธยาไทยไดทําสงคราม กับพมา รวมทั้งสิ้น ๒๔ ครั้ง ไทยไดสูญเสียเอกราช ใหแกพมา ๒ ครั้ง การเสียเอกราชครั้งที่ ๒ ทําให กรุงศรีอยุธยาลมสลายหรือเรียกวา กรุงแตก

การเสียกรุงครัง้ แรก

เกิ ด ในป พ.ศ. ๒๑๑๒ ในรั ช สมั ย ของ สมเด็จพระมหินทราธิราช คนไทยตองเสียเอกราช ตกเปนทาสพมาอยูเปนเวลานานถึง ๑๕ ป การเสี ย กรุ ง ครั้ ง แรกเกิ ด จากคนไทย เปนไสศึกใหแกพมา พมาลอมกรุงอยูเปนเวลานาน เปน แรมเดือน ก็ไ ม สามารถเขายึดกรุง ศรีอยุธยา ได พม า จึง ใช อุ บ ายโดยให พระยาจั ก รีเ ป น ไส ศึ ก เปดประตูเมื องใหทหารพมาเขาตี พมาจึง เขายึ ด กรุงเอาไวได ไทยตองเสียกรุงใหแกพมา เพราะวามี คนไทยที่หวัง อามิสสินจางจากคนพมา เปดประตู เมื อ งให พ ม า ยึ ด ครอง ผู เ ขี ย นรู สึ ก เศร า สลดใจ เมื่อไดดูการแสดงในงานแสง สี เสียง “ยอยศยิ่งฟา อยุ ธ ยามรดกโลก” เป น ละครอิ ง ประวั ติ ศ าสตร จัดขึ้นเปนประจําทุกปในงาน “อยุธยามรดกโลก” ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่ อ การแสดงมาถึ ง ตอนที่ ก รุ ง แตก ครั้งแรก การแสดงของตัวละครเรียกอารมณของ คนดู ทํ า ให ผู ช มเศร า สลด เสี ย งผู ช มเงี ย บกริ บ เพราะไดเห็นพมาตอนคนไทยอยางฝูงสัตว โดยผูกมือ ทุกคนแลวใชเชือกโยงกันเปนพรวน คนไหนขัดขืน ก็ถูกเฆี่ยนตี สวนสตรีสาวๆ ก็ถูกลวนลาม คนไทย ถูกตอนไปพมาเพื่อใชเปนทาสใชงาน ทั น ใดนั้ น ผู เ ขี ย นได นึ ก ถึ ง บทกลอน พระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ดังกลาววา ใครมาเปนเจาเขาครอง คงจะตองบังคับขับไส เคี่ยวเข็ญเย็นค่ํากรําไป ตามวิสัยเชิงเชนผูเปนนาย เขาจะเห็นแกหนาคาชื่อ จะนับถือพงศพันธุนั้นอยาหมาย

ไหนจะตองเหนื่อยยากลําบากกาย ไหนจะอายทั่วทั้งโลกา เมื่ อ การแสดงมาถึ ง ตอนพระนเรศวร ประกาศอิสรภาพในป พ.ศ. ๒๑๑๗ ภาพสมเด็จพระนเรศวรทรงหลั่งน้ําสิโณทก ประกาศเอกราช ไม ขึ้ น ต อ พม า ว า “ตั้ ง แต บั ด นี้ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยากั บ หงสาวดีขาดไมตรีตอกัน” ผูชมการแสดงปรบมือ กันเกรียวกราว เก็บกลั้นอารมณไมอยู ไมไดนึกวา ที่ เ ห็ น อยู นั้ น เป น การแสดง เลื อ ดรั ก ชาติ เ กิ ด ขึ้ น กับผูเขาชมการแสดงทุกคน ผูเขียนก็เกิดอารมณ เหมื อ นกั บ ผู ช มคนอื่ น ๆ ที่ พิ เ ศษคื อ เกิ ด อาการ ขนลุกขึ้นมา แสดงวาคนไทยทุกคนมีเลือดรักชาติ ดวยกันทั้งนั้น

การเสียกรุงครัง้ ที่ ๒

คนไทยต อ งเสี ย เอกราชให แ ก พ ม า เปนครั้งที่ ๒ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาเอกทัศ ในป พ.ศ. ๒๓๑๐ ครั้ ง นี้ เ ป น การสู ญ เสี ย ที่ เ สี ย หาย อยางถึ ง ที่สุด พมา ตีกรุง ศรีอยุ ธยาแตกราบเรีย บ เปนหนากลอง พมาไดขโมยทองและทรัพยที่มีคา กลับไปยังประเทศพมา และยังไดเผากรุงศรีอยุธยา จนเหลือแตซากกรุง เกา (กลาวกันวาเจดียชเวดา กองที่มียอดปราสาททําดวยทองคําเปนทองที่นําไป จากกรุง ศรีอยุธยา) ผูชมการแสดงเศราโศกเสียใจ อีกเป น ครั้ ง ที่ ๒ เมื่ อเห็ นภาพการสูญ เสียอี กครั้ ง แตครั้งนี้หนักหนาสาหัสกวา เพราะวากรุงศรีอยุธยา ถูกเผาไฟลุกทวมพระราชวังอยางโชคโชน คนไทย แตกตื่นหนีตายอยางจาละหวั่น ผูชมเงียบกริบ การสู ญ เสี ย ครั้ ง ที่ ๒ เป น การล ม สลาย ของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาจนไม มี โ อกาสจะฟ น ให เ ป น เมื อ งหลวงอี ก การสู ญ เสี ย ครั้ ง นี้ เ ป น เพราะว า กรุงศรีอยุธยามีกษัตริยที่อ อนแอ ไมมีความสามารถ ในการรบ ทหารจะยิงปนแตละนัดจะตองขออนุญาต ทหารจึงไมมีจิตใจสูรบ ในที่สุดพระเจาตากสินไดทรงกอบกูเอกราช ของชาติไ ทยกลับคื นมาไดจากพมา สมเด็ จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็ จ พระเจ า ตากสิ น -


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๖๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

มหาราช ไดทรงกอบกูเอกราชของชาติกลับคืนมา ไดในการสูญเสียครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ตามลําดับ ทั้งสองพระองคทรงสรางคุณูปการอันยิ่งใหญใหแก ชนชาติไทย ชนชาติไทยจึงไมลมสลายมาจนกระทั่ง ทุกวันนี้

ชนชาติไทยในยุคกรุงธนบุรี

พระเจ า ตากสิ น มหาราชทรงสถาปนา กรุ ง ธนบุ รี เ ป น ราชธานี ต อ จากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา กรุ ง ธนบุ รี เ ป น เมื อ งหลวงของไทยอยู ๑๕ ป (พ.ศ. ๒๓๑๐ – ๒๓๒๕)

ชนชาติไทยในยุครัตนโกสินทร

ในยุ ค กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร เ ป น ราชธานี ของไทย ตั้ ง แต ป พ.ศ. ๒๓๒๕ ถึ ง ป จ จุ บั น มีเหตุการณสําคัญที่หมิ่นเหมตอการสูญเสียเอกราช อาจถึงการลมสลายถึง ๔ ครั้ง ดังนี้ ๑. สงครามพมาเกาทัพ ๒. ฝรั่งลาอาณานิคม ๓. สงครามโลกครั้งที่ ๒ ๔. ภัยจากลัทธิคอมมิวนิสต

สงครามเกาทัพ

เปนสงครามระหวางไทยกับพมาในสมัย รัชกาลที่ ๑ คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พมาไดยกกองทัพอันเกรียงไกร มีไพรพลนับแสน จัดกําลังถึง ๙ กองทัพหวังยึดกรุง ดวยพระปรีชาสามารถของรัชกาลที่ ๑ ทําใหไพร พลของพมาตองพายแพถอยทัพกลับไป เพื่อนอม รํ า ลึ ก ถึ ง พ ระ คุ ณ อั น ใหญ ห ลว งที่ ท ร งสร าง กรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานีและพระปรีชาสามารถ รั ฐ บาลจึ ง จั ด ให วั น ที่ ๖ เมษายน ของทุ ก ๆ ป เปนวันจักรีและเปนวันหยุดราชการ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

ฝรั่งลาอาณานิคม

ในสมั ย รั ช กาลที่ ๔ และที่ ๕ ไทยต อ ง เผชิ ญ ภั ย จากฝรั่ ง ล า เมื อ งขึ้ น คื อ อั ง กฤษและ ฝรั่ ง เศส ไทยต อ งยอมสู ญ เสี ย ดิ น แดนบางส ว น ทางตะวั น ตก เช น ทะวาย ตะนาวศรี มะริ ด และ ทางใต เชน ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู ปะลิส เกาะหมาก ใหอัง กฤษ และเสียดินแดน เสียมราช พระตะบอง ศรีโ สภณ เกาะกง ฝง ซายแมน้ําโขง ทั้งหมด และหลวงพระบาง ใหกับฝรั่งเศส การที่ ไ ทยต อ งจํ า ใจยอมเสี ย ดิ น แดน ให แ ก อั ง กฤษและฝรั่ ง เศสก็ เ พื่ อ รั ก ษาเอกราช โดยไมใชการตอสู แตใชวิธีการเจรจา โดยยอมเสีย ดินแดนบางสวนเพื่อรักษาเอกราช ถาไทยไมยอม เสี ย ดิ น แดน ก็ ต อ งรบกั บ อั ง กฤษและฝรั่ ง เศส แน น อนไทยต อ งพ า ยแพ แ ละเสี ย เอกราชหรื อ สิ้น ชาติก็ ไ ด เพราะว าอั ง กฤษและฝรั่ง เศสมี อาวุ ธ ที่เหนือกวา รบไปก็แพ มีตัวอยางใหเห็นเพื่อนบาน ตกเปนเมืองขึ้นของฝรั่งหมดสิ้น ดวยพระปรีชาสามารถของรัช กาลที่ ๔ และที่ ๕ ไทยจึงไมเสียเอกราชตกเปนเมืองขึ้นของ ตางชาติ รัชกาลที่ ๔ ทรงพระนามวา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคยังทรงมี ความสามารถพิเศษคือ ทํานายการเกิดสุริยุปราคา ได อ ย า งแม น ยํ า จึ ง ได รั บ การถวายพระนามว า “พระบิดาแหงวิทยาศาสตรไทย”


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

รั ช ก า ล ที่ ๕ ท ร ง มี พ ร ะ น า ม ว า พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ที่ ป ระชาชนถวายนามว า “พระป ย ะมหาราช” พระองค ท รงพ ระปรี ช าสามารถในหลาย ๆ ด า น และทรงสร า งคุ ณู ป การอย า งใหญ ห ลวง คื อ “ประกาศเลิ ก ทาส” ทรงริ เ ริ่ ม กิ จ การรถไฟ ไปรษณี ย ฯลฯ ในวั น ที่ ๒๓ ตุ ล าคมของทุ ก ป คือ วันปยะมหาราช เปนวันหยุดราชการเพื่อใหคนไทย ไดรําลึกถึงพระคุณของพระองค

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

สงครามโลกครัง้ ที่ ๒

เมื่ อ วั น ที่ ๘ ธั น วาคม ๒๔๘๔ กองทั พ ญี่ปุนบุกเขาประเทศไทยเพื่อใชเปนฐานไปยึดครอง พม า และมลายู ทั น ที ที่ ก องทั พ ญี่ ปุ น บุ ก เข า ประเทศไทย นายปรีดี พนมยงค ในฐานะผูสําเร็จ ราชการแทนพระองค (รัชกาลที่ ๘) ไมยอมรับการ ประกาศการเขา ร วมสงครามกับ ญี่ ปุน นายปรี ดี ได แสดงจุ ดยื นของเขาให ปรากฏ โดยเปน ผูที่ นํ า การก อ ตั้ ง องค ก ารใต ดิ น ต อ ต า นญี่ ปุ น ผู รุ ก ราน ในขณะที่ผูนํารัฐบาลคือ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีข ณะนั้น เขารวมกับญี่ปุน ประกาศ สงครามกับฝายพันธมิตรสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ นายปรี ดี ได ทํ า งานกู ช าติ บ า นเมื อ ง ในนามขบวนการ “เสรี ไ ทย” เพื่ อ ร ว มมื อ กั บ พันธมิตรในการยุติสงคราม จนกระทั่ง สหรัฐอเมริกา ไดรับรองวา นายปรีดี เปนตัวแทนแหง การสืบตอ

ของรัฐบาลแหงประเทศไทย และยังถือวาประเทศไทย เป น รั ฐ เอกราชที่ ต กอยู ภ ายใต ก ารยึ ด ครองด ว ย กําลังทหารญี่ปุน ขบวนการเสรีไทยมีอยู ๓ สาย คือ สายที่ อยู ใ น ปร ะ เ ท ศไ ท ย มี น า ย ปรี ดี พ น ม ย ง ค เป น หั ว หน า สาย สายที่ อ ยู ป ระเทศอั ง กฤษมี ดร. ปวย อึ๊งภากรณ เปนหัวหนาสาย และสายที่อยู ในสหรั ฐอเม ริ ก า มี ม.ร .ว.เสนี ย ปราโม ช เปนหัวหนาสาย เ มื่ อ ญี่ ปุ น แ พ ส ง ค ร า ม น า ย ป รี ดี ไดประกาศสันติภาพ ณ วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๔๘๘ โดยถือว าการประกาศสงครามต อสหรัฐ อเมริก า และอัง กฤษของรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม “เปนโมฆะ” ภายหลั ง นายปรี ดี พยมยงค ได รั บ พระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว อานั น ทมหิ ด ล ให เ ป น “รัฐบุรุษอาวุโส” ถ า คนไทยได รํ า ลึ ก ย อ นคิ ด สั ก นิ ด ว า ถาประเทศไทยไมมีขบวนการเสรีไ ทยในเวลานั้น ประเทศไทยต อ งตกเป น ประเทศแพ ส งคราม เสียเอกราชใหอัง กฤษและสหรัฐอเมริกา อัง กฤษ และอเมริ ก าคงยึ ด ครองประเทศไทยในฐานะ ผู แ พ ส งครามร ว มกั บ ญี่ ปุ น จะต อ งถู ก ชดใช ค า ปฏิ ก รรมสงครามและจะต อ งมี รั ฐ ธรรมนู ญ ที่ อ เมริ ก าหรื อ อั ง กฤษร า งให ใ ช แ น เหมื อ นกั บ ที่อเมริการางรัฐธรรมนูญใหญี่ปุนใช

นายปรีดี พนมยงค


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ภัยจากลัทธิคอมมิวนิสต

เมื่ อสงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ ไดยุ ติล งในป พ.ศ. ๒๔๘๘ ภายหลัง สงครามโลก โลกเขา สูยุ ค สงครามเย็น ประเทศต างๆ ในโลกแบง ออกเป น ๒ คาย คือ “คายโลกเสรี” ที่มีสหรัฐอเมริกาเปน ผูนําโลก และ “คายคอมมิวนิสต” ที่มีสหภาพโซเวียต เป น ผู นํ า ค า ยคอมมิ ว นิ ส ต มี อุ ด มการณ ที่ จ ะ ครอบครองโลก สวนคายโลกเสรีเปนฝายตอตาน ลัทธิคอมมิวนิสต รัฐบาลสหรัฐอเมริกาชักชวนไทย ใหรวม ตอตานคอมมิวนิสต รัฐบาลไทยไดออกกฎหมาย ต อ ต า นคอมมิ ว นิ ส ต รั ฐ บาลได ผ า นร า ง พ.ร.บ. ป อ งกั น การ กระทํ า อั น เป น คอมมิ ว นิ ส ต ขึ้ น เมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๔๙๕ ผลสะเทื อ นจาก พ.ร.บ. ฉบั บ นี้ ก็ คื อ ขบวนการคอมมิว นิ สต ก ลั บขยายตั ว จนสามารถ เป น กองทั พ เพราะว าเกิด ความผิ ด พลาดในการ ปราบปรามคอมมิวนิสต มีการจับกุมแบบเหวี่ยงแห มี ก าร ก ลั่ น แก ล ง จาก เจ า หน า ที่ ที่ ยั ด ข อห า คอมมิวนิสต ยิ่งปราบก็ยิ่งมาก คอมมิ ว นิส ตไ ทยสามารถจัด ตั้ ง มวลชน ซึ่ ง เป น ชาวไร ชาวนา ให ติ ด อาวุ ธ นํ า ไปสู เ สี ย ง ปนแตก ในเดือน สิงหาคม ๒๕๐๗ และขยายเปน สงครามประชาชนในขอบเขตทั่วประเทศ ป พ.ศ. ๒๕๑๘ เวียดนามใต ลาว และ กั ม พู ช าอยู ภ ายใต ก ารยึ ด ครองของคอมมิ ว นิ ส ต ประเทศไทยจึงมีอันตรายมากขึ้น ในป พ.ศ.๒๕๑๘ ม.ร.ว.ศึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ไดไปเยือน ประเทศจี น ภายหลั ง ประธานาธิ บ ดี นิ ก สั น ของอเมริกาไปเยือนจีนไมนาน เพื่อสรางสัมพันธไมตรี เพื่อลดอิทธิพลของคอมมิวนิสต เพื่อขอคําแนะนํา จาก เหมา เจอ ตง เหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เวลาใกลรุง ได มี ค ณะบุ ค คลจํ า นวนหนึ่ ง ติ ด อาวุ ธ เข า ไปล อ ม ปราบจับกุมนิสิตนักศึกษาและประชาชนที่ชุมนุม กั น อยู ภ ายในมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร จ นเกิ ด จลาจล พอตกเวลาเย็ น คณะปฏิรู ปการปกครอง นําโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยูไดทําการยึดอํานาจ

รัฐ ที่มี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี และไ ด แต ง ตั้ ง นาย ธานิ นทร ก รั ย วิ เชี ยร เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลไดทําการกวาดลางพวกที่สงสัยวา ฝกใฝคอมมิวนิสตไดคุมขังนักศึกษาและประชาชน จํานวนนับพัน โดยอางวาฝกใฝ ลัทธิคอมมิวนิสต ผูนํานิสิต นักศึกษา และประชาชน ไหวตัวกลัวตาย กลัวถูกจับกุมหลายคนหนีเขาปา จับอาวุธมาตอสู กับรัฐบาล บา งก็หลบหนีไ ปศึกษาหรือไปทํางาน ตางประเทศ การปราบปรามผูที่ไมเห็นดวยกับรัฐบาล จึง เหมือนกับใสเชื้อไฟเขากองเพลิง คอมมิวนิสต จึ ง ไม ล ดลง คนไทยต อ งจั บ อาวุ ธ มาต อ สู กั น เอง เลือดไทยตองนองแผนดิน ชาวตางชาติจํานวนมาก ไม เ ชื่ อ ว า ประเทศไทยจะเอาตั ว รอดจากการ ยึดครองของคอมมิวนิสต เพราะวาเพื่อนบานอินโด จีนเปนคอมมิวนิสตหมดแลว พ ล เ อ ก เ ป ร ม ติ ณ สู ล า น น ท เ ป น นายกรั ฐ มนตรี (พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๓๑) ในเดื อ น มิถุนายน ๒๕๒๓ ไดออกคําสั่ง ๖๖/๒๕๒๓ ไมให เอ าค ว า ม ผิ ด กั บ ค น ไ ทย ที่ เข าป า ไ ป อยู กั บ ฝายคอมมิวนิสต เพื่อใหคนเหลานั้นกลับใจไมมา สู ร บกั น เอง รั ฐ บาลได เ รี ย กผู ก ลั บ ใจว า “ผู ร ว ม พั ฒ นาชาติ ไ ทย” หลั ง จากนั้ น ไม น านเมื อ งไทย ก็สงบจากคอมมิวนิสต

พลเอกเปรม ติณสูลานนท


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เรียนรูประวัติศาสตรไทยยังไมพอ ตองรูเหตุการณโลกดวย

รั ฐ บาลไทยหลั ง จากยุ ค พลเอกเปรม แลว อิทธิพ ลของชาวอเมริ กาไดสง ผลกระทบไป ทั่วโลก รวมทั้ง ไทยดวย ตั้งแตยุคพลเอกชาติชาย ชุ ณ หะวั ณ เป น เป น นายกรั ฐ มนตรี (๒๕๓๑๒๕๓๔) รั ฐ บาลพลเอกชาติ ช ายต อ งการเปลี่ ย น สนามรบใหเปนสนามการคา จึงไดเปดเสรีทางการเงิน ในป พ.ศ.๒๕๓๓ ในเวลาที่ใกลกัน สหรัฐอเมริกา ได ป ระกาศฉั น ทามติ ว อชิง ตั น ในป พ.ศ.๒๕๓๔ ในสมั ย ประธานาธิ บ ดี บิ ล ล คลิ น ตั น บั ง คั บ ให ทุก ประเทศเป ด เสรี ท างการค า เสรี ท างการเงิ น การแปรรูป รัฐ วิ สาหกิ จใหเ ปน ของเอกชน ทํา ให สหรัฐอเมริกาสามารถไปทําธุรกรรมไดทั่วโลก

เศรษฐกิจไทยใกลลมสลาย เพราะการเปดเสรีทางการเงิน

พลเอกชาติ ช ายเป ด เสรี ท างการเงิ น ป พ.ศ.๒๕๓๓ พอถึงป พ.ศ.๒๕๔๐ ในยุคที่พลเอก ชวลิตเปนนายกรัฐมนตรี ประเทศไทยก็เกิดวิกฤต เศรษฐกิจที่เรียกวา “ตมยํากุง” เกิดความเสียหาย ทางเศรษฐกิจ อย างใหญ หลวง รัฐ บาลขาดความ น า เชื่ อ ถื อ ทํ า ให ป ระเทศไทยต อ งเข า กองทุ น “ไอเอ็มเอฟ” หลังจากเกิดวิกฤตคนไทยสวนใหญ ตองยากจนลงมีหนี้สินเพิ่มขึ้น หลายคนตองตกงาน หลายคนไม มี ค วามสามารถผ อ นหนี้ หลายคน หาทางออกโดยการฆ า ตั ว ตาย วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ป ๒๕๔๐ ถื อ เป น บทเรี ย นที่ มี ร าคาแพงมาก เปนความเจ็บปวดของคนไทยทั้งประเทศ

ไอเอ็มเอฟ คือ นักบุญ หรือ คนบาป

รั ฐ บาลพลเอกชวลิ ต ประกาศลอยตั ว คาเงินบาท เมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ทําให เงิ น บาทลอยตั ว สู ง ขึ้ น จาก ๑ ดอลล า ร เ ท า กั บ ๒๕ บาท บางวั น ลอยตั ว ๑ ดอลล า ร เ ท า กั บ ๕๐ บาท เศรษฐกิจ ไทยคงไปไมร อดแน พลเอก ชวลิ ต จึ ง นํ า ประเทศไทยเข า กองทุ น ไอเอ็ ม เอฟ

เมื่ อ วั น ที่ ๑๔ สิ ง หาคม ๒๕๔๐ โดยไอเอ็ ม เอฟ ใหไ ทยกูเงิน ๑.๗ หมื่น ลานดอลลาร เพื่อบริหาร เศรษฐกิจภายใตคําแนะนําของ ไอ เอ็ม เอฟ ไอ เอ็ ม เอฟ จะปล อ ยให ไ ทยกู เ งิ น เปน งวดๆ ภายในรายการที่กํ าหนด เงิ นที่ป ลอ ย แตละงวด ไอเอ็มเอฟ จะระบุในสัญญากูเงินโดยให ทําตามใบสั่ง เรียกวา หนังสือแสดง “เจตจํานง” หนั ง สื อ แสดงเจตจํ า นงบางฉบั บ ของ ไอเอ็มเอฟ แนะนําใหไทยตองขายทรัพยสินเพื่อใช หนี้ตางประเทศ ไทยต องขายทรัพยที่มี มูลคาหนี้ ๘ แสนลานบาทใหตางชาติในราคา ๒ แสนลานบาท ในป พ.ศ. ๒๕๔๒ ในรัฐบาล ชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรีไทยตองออกกฏหมาย ๑๑ ฉบับ ที่ เ รี ย กว า กฏหมายขายชาติ เช น การแปรรู ป รั ฐ วิ ส าหกิ จ ออกกฏหมายให ต า งชาติ มี สิ ท ธิ ครอบครองที่ ดิ น และทรั พ ย สิ น ตามกํ า หนด ระยะเวลา ออกกฎหมายให เ ป ด เสรี ท างการค า ตามคําแนะนําของไอเอ็มเอฟ จากกฎหมายขายชาติ ๑๑ ฉบั บ ทํ า ให ป พ.ศ.๒๕๔๔ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดแปรรูปการปโตรเลียมแหง ประเทศไทย ทําให คนไทยตองซื้อน้ํามันแพงขึ้น การใหตางชาติมีสิทธิ์ ครอบครองที่ ดิ น ทํ า ให ที่ ดิ น ชายทะเลตกอยู ใ น มื อ ต า งชาติ รวมทั้ ง ที่ ดิ น เกษตรก็ ถู ก ต า งชาติ เข า ครอบครอง การเป ด เสรี ท างการค า ทํ า ให การคาปลีกรายใหญอยูในมือตางชาติ เชน อยูในมือ เทสโก โ ลตั ส คาร ฟู ร กว า ๕๐% (ข อ มู ล จาก ณรงค เพ็ชรประเสริฐ)

ธนาคารก็ไมรอดจากทุนขามชาติ

หลั ง จากเกิ ด วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ป ๒๕๔๐ ธนาคารพาณิชยขนาดใหญของไทย เชน ธนาคาร กรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย หุ นสว นใหญ เปน ของกองทุ น เหมาเส็ก ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจของสิงคโปร


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ผืนแผนดินไทยก็ไมรอดจากทุนขามชาติ

นายศรีราชา เจริญ พาณิชย ผูตรวจการ แผ น ดิ น ไดเ ป ดเผยว าป จจุ บั น ตา งชาติยึ ด ครอง แผ น ดิ น ไทยไปประมาณ ๑๐๐ ล านไร (๑ ใน ๓ ของพื้น ที่ทั้ง หมด)โดยเฉพาะพื้นที่ชายทะเล เช น พื้น ที่แถบริม ทะเลระยองถูกตางชาติครอบครอง ประมาณ ๙๐% โดยใชคนไทยเปนนอมินี

เศรษฐกิจไทยใกลลมสลาย คนไทยก็ยังไมรูตัว

การที่ตางชาติยึดครองธนาคาร ยึดครอง ที่ดินและทรัพยสินถึง ๑ ใน ๓ ของประเทศ และ ยั ง ยึ ด ครองการค า ปลี ก กว า ๕๐% แนวโน ม ว า คนไทยได สู ญ เสี ย เอกราชทางเศรษฐกิ จ ไปกว า ครึ่งแลว และก็ยังสูญเสียเอกราชทางเศรษฐกิจไป เรื่อยๆ คนไทยก็ยังไมรูตัว ทุกวันนี้คนไทยสวนใหญ มี อ าชี พ รั บ จ า งคื อ เป น ลู ก จ า งแรงงานโรงงาน อุ ต สาหกร ร มที่ มี ช าว ต า งชาติ เ ป น เจ า ขอ ง เปน เกษตรกรที่ รับจางทํ านา หรือเชาที่ ดินทํานา ในที่ ข องนายทุ น เป น แรงงานรั บ จ า งรายวั น มีงานทําบางไมมีบาง คนไทยสวนใหญจึงมีชีวิตอยู แบบวันตอวันหรืออยูไปวันๆ จะตกงาน ไมมีงานทํา เมื่อไหรก็ไมรู งานที่ทําก็มีรายไดไมพอกับรายจาย ปจจุบัน ครอบครัวไทยมีประมาณ ๘๐% มีหนี้สิน คอนขางสูง ส ว นเจ า หนี้ ก็ คื อ นายทุ น ข า มชาติ แ ละ นายทุน คนไทยที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ไดเปรียบ เพราะว านายทุ น เป น ผู ที่กํ า หนดคา แรง กํา หนด ราคาสิน คา คาใชบริการที่เอาเปรียบผูใชแรงงาน และผูบริโภคที่กําหนดราคาเองไมได เมื่อประชาชนสวนใหญยากจนมีหนี้สิน เพิ่มขึ้ น เศรษฐกิ จตกอยูในมื อนายทุนทั้ง ทุน ไทย และทุน ตางชาติ ประเทศชาติกําลัง เดินเขาสูการ ลมสลายทางเศรษฐกิจ ดัง มีตัวอยางใหเห็น เช น อารเจนตินา

เศรษฐกิจไทยเขาใกลโคมา

ถา เปรี ย บประเทศไทยเหมื อ นร า งกาย รา งกายนี้ กํา ลั ง เกิ ดอาการเจ็บ ป วยเรื้อ รัง เขา ขั้ น

โคม า ด ว ยเหตุ ที่ ว า ประเทศไทยมี ห นี้ ป ระเทศ ๔ ลา นลา นบาท และมี ห นี้สิ น เฉลี่ ยต อ ครั ว เรื อ น ๑ ๓ ๐ , ๐ ๐ ๐ บ า ท มี ห นี้ ทั้ ง ร ะ ดั บ ม ห ภ า ค (หนี้ประเทศ) และหนี้ระดับจุลภาค (หนี้ครัวเรือน) คนไทย ๘๐% มีหนี้สิน หนี้จากการใชจายเกินตัว เมื่อสรางหนี้ก็ตองใชหนี้ รัฐบาลตองตั้งงบประมาณ ร าย จ าย ป ร ะ จํ าป เพื่ อใช หนี้ ร ะ ดั บม หภา ค ครอบครั ว ต อ งใช ห นี้ ร ะดั บ จุ ล ภาค ทุ ก ๆ เดื อ น ครอบครั วจึ ง เหลื อรายได ที่ล ดลอง เปน ผลทํา ให กํา ลัง ซื้อ นอ ยลงด วย ครอบครัว แต ละครอบครั ว ต อ งประหยั ด รั ด เข็ ม ขั ด มากขึ้ น ต อ งประหยั ด ลด ก าร บ ริ โ ภ ค ทํ า ใ ห คร อ บ ครั ว กิ น ไ ม อิ่ ม ขาดสารอาหารที่ จํ า เป นจึ ง ขาดภู มิ ต า นทานโรค คนไทยจึ ง เจ็ บ ป ว ยมากขึ้ น บางรายถึ ง จะป ว ยก็ ไมไปหาหมอ เพราะวาเสียดายเงินคารักษา คายา ฯลฯ คนไทยและรัฐบาลจะอยูอยางไร ถาไมทําการ แกไขวิกฤตเศรษฐกิจ ชาติไทยลมสลายแน

คนไทยตองถอดบทเรียนจากชาติ ที่ประสบผลสําเร็จทางเศรษฐกิจ

ป จจุ บั น โ ล ก มี ปร ะ ชา ก ร ปร ะ ม า ณ ๗,๐๐๐ ลานคน คนสวนใหญในโลกมีปญ หาทาง เศรษฐกิจ มีบางประเทศที่ผูเขียนเห็นวานาจะเปน แบบอยางของความมีเอกราช มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิ จ สมควรจะเป น ตั ว อย า งให ค นไทย ไดศึกษา เชน เกาหลี ญี่ปุน อิสราเอล อินเดีย ประเทศเกาหลี ประเทศอิสเอล ประเทศ ทั้ ง สองมี พ ลเมื อ งที่ รั ก ชาติ มี ค วามเป น ชาติ นิ ย ม จะไมยอมใหมีรานคาปลีกขามชาติเขาไปตั้งรานคา ในประเทศของตน เพื่อ คุมครองการทํามาหากิ น ของคนในชาติ คนที่ไปเที่ยวเกาหลี จะเห็นแตรถยนตที่ ผลิ ต ในเกาหลี รถยนต ญี่ ปุ น ที่ ข ายดี ทั่ ว โลก ไม ส ามารถเจาะตลาดเกาหลี ไ ด เพราะเกาหลี มี ความรั ก ชาติ และมี ค วามเป น ชาติ นิ ย มสู ง มาก คนเกาหลีจะกินจะใชและรับบริการจากคนเกาหลี เศรษฐกิจเกาหลีจึงไมมีปญหาและเติบใหญมากขึ้น ตลอดเวลา ในอดีตเกาหลีเคยถูกจีนยึดครองเปน


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

เวลานับรอยป เคยถูกญี่ปุนยึดครอง ๓๐ ป เมื่อคน เกาหลี ไ ด รั บ เอกราช จึ ง อาศั ย ประวั ติ ศ าสตร เปนบทเรียนในการสรางชาติ คนเกาหลีจึงรักชาติ และมีความเปนชาตินิยมสูง ความรักชาติและความเปนชาตินิยมของ คนเกาหลี ทํ า ให เ ศรษฐกิ จ ของเกาหลี ดี วั น ดี คื น ทั้งๆ ที่เกาหลีมีพื้นที่ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ตาราง กิ โ ลเมตร (ไทยมี ป ระมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ตาราง กิโลเมตร) เกาหลีมีพลเมืองประมาณ ๔๙ ลานคน (ไทยประมาณ ๖๕ ล า นคน) เกาหลี จึ ง จั ด อยู ใ น กลุม G20 (ไทยไมติดอันดับ ๑ ใน ๒๐) เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ได มี อ งค ก รระดั บ โลก จัด แข ง ขั น ความสามารถของเด็ ก ทั่ ว โลกแข ง ขั น ใ น ร ะ ดั บ มั ธ ย ม โ ด ย แ ข ง ขั น ๓ วิ ช า คื อ คณิ ต ศาสตร วิ ท ยาศาสตร และความสามารถ ในการอ า นจั บ ใจความ แต ล ะวิ ช ามี ค ะแนนเต็ ม ๑,๐๐๐ รวม ๓ วิชา ๓,๐๐๐ คะแนน เด็กชาติใด ไดคะแนนเฉลี่ยต่ํา กวา ๕๐๐ ในแต ละวิช าถือว า สอบตก ปรากฏวาเด็กเกาหลีสอบผานทุกวิชาและ ได ค ะแนนเกิ น ๖๐๐ ทุ ก วิ ช า เมื่ อ รวมคะแนน ทั้ง ๓ วิชาแล วเด็ กเกาหลีไ ดค ะแนนสู ง สุด จึ ง ได อั น ดั บ ๑ ส ว น อั น ดั บ ๒ คื อ เด็ ก ฟ น แลน ด สวนเด็ก ไทยเฉลี่ย แลว สอบไม ผา นทุก วิช า คื อได คะแนนต่ํากวา ๕๐๐ ทุกวิชา ทําใหผูเขียนนึกถึง โทรศัพทยี่หอ ซัมซุง ซึ่ง จํา หนา ยได มากที่สุด ในโลก และโทรศั พท LG ซึ่งเปน ของเกาหลีและนึกถึง โทรศัพทยี่หอ โนเกีย ซึ่งเปนของฟนแลนดมียอดขายเปนอันดับที่ ๒ ไม อ ยาก เชื่ อ เลยว า บริ ษั ท ซั ม ซุ ง สร า งตึ ง ที่ สู ง ที่ สุ ด ในโลก คื อ ตึ ก บู ร จ คาลิ ฟ า (Burj Khalifa Tower)ที่เมืองดูไบ น อ ก จ า ก นี้ เ ก า ห ลี กํ า ลั ง เ ผ ย แ พ ร วัฒ นธรรมไปทั่วโลก ทําใหวันรุนไทยจํานวนหนึ่ง คลั่งไคลดารานักแสดงเกาหลี ก า ร ที่ ค น เ ก า ห ลี เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู ประวัติศ าสตร ทํา ใหเ กิด ความรั กชาติแ ละความ เปน ชาตินิยม ทําใหเกาหลีสรางชาติขึ้น มาใหมไ ด อย างมั่ง คง กา วหนา กว า ชาติใ ดในโลก สงคราม

ระหวางเกาหลีเหนือกับเกาหลีใตทําใหบานเมือง ถู ก ทํ า ลายอย า งย อ ยยั บ ไม มี สิ้ น ดี ช ว งสงคราม เกาหลีไทยยังสงทหารไปชวยเกาหลีใตรบกับขาศึก แตวันนี้เกาหลีใตสามารถจัดมหกรรมโลกไดหลาย อยางเชน เปนเจาภาพจัดกีฬาโอลิมปก จัดฟุตบอลโลก ที่เปนเกียรติสูงสุดคือ นาย บัน คี มูน ชาวเกาหลีใต ไดรับเลือกใหเปนเลขาธิการสหประชาชาติ ญี่ปุน เปนอีกประเทศหนึ่ง ที่ประชาชน มีความรักชาติและมีความเปนชาตินิยมสูง รานคา ปลีกยักษขามชาติ อยางคารฟูรและเทสโก ไปเปด รานคาที่ญี่ปุนอยูไดไมนาน เกิดการขาดทุน ก็ตอง เลิ ก กิจ การ เพราะว า คนญี่ ปุน ไมอุ ด หนุ น รา นค า ปลีกขามชาติ อินเดีย เปนประเทศที่มีพลเมืองมากถึง ๑,๑๐๐ ลานคน เมื่อไมนานมานี้ รานคาปลีกยักษ ขา มชาติ “วอลมารท ” ของอเมริก าขออนุญ าต รั ฐ บาลอิ น เดี ย เพื่ อ เข า ไปเป ด ร า นค า ขายปลี ก ประชาชนชาวอินเดียทราบเรื่องเขา ก็ตอตานไมใหเขา เพราะวาไมตองการใหรานคาปลีกตางชาติเขาไป แย ง การทํ า มากิ น ของพวกตน รั ฐ บาลอิ น เดี ย จึงไมยอมใหเปดตามเสียงเรียกรองของชาวบาน เมื่ อ เหลี ย วมาดู ร า นค า ปลี ก ต า งชาติ ในไทยมีอยูกระจัดกระจายทั่วประเทศไทย มิใยที่ ร า นค า ย อ ย (โชว ห ว ย) ของไทยจะรี ย กร อ งให รัฐ บาลอย า เปด โอกาสให รา นค า ตา งชาติม าแย ง อาชี พ คนไทย แต รั ฐ บาลไทยทุ ก รั ฐ บาลไม ส นใจ รานคายอยของไทย จนถึง ปจจุบันเศรษฐกิจของ ไทยกวาครึ่งก็ถูกบริษัทขามชาติเขายึดครอง วัน นี้ คนไทยกําลั ง เสีย เอกราชทางเศรษฐกิ จไปเรื่อยๆ เศรษฐกิจไทยกําลังลมสลาย

ทําอยางไร เศรษฐกิจไทยจะฟนตัว

รั ฐ บาลและประชาชนจะต อ งช ว ยกั น สร า งจิ ต สํ า นึ ก ของความรั ก ชาติ แ ละความเป น ชาติ นิ ยม หยุ ดการรุก รานทางเศรษฐกิ จของทุ น ขามชาติ รัฐบาลตองแกกฏหมายไมใหทุนขามชาติ มาทํ า ลายร า นค า ปลี ก ของคนไทย เข ม งวดการ ยึดครองที่ดินของชาวตางชาติ ไมใหชาวตางชาติ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อาศัยชื่อคนไทยเปนเจาของที่ดินแตผูใชประโยชน บนที่ดินคือชาวตางชาติ รั ฐ บาลต อ งสนั บ สนุ น กิ จ การสหกรณ เศรษฐกิจพอเพียง และสนับสนุนคนไทย ใชของไทย กินของไทย เที่ยวเมืองไทย รวมใจประหยัด แตถา ถูกตางประเทศคัดคาน รัฐบาลตองพูดความจริ ง กั บ ต า งชาติ ว า ทํ า ไมคุ ณ ไม ไ ปต อ ต า นเกาหลี อิน เดี ย อิ สราเอล บา งละ เรากําลั ง จะสรา งบา น สรางเมือง คุณตองเห็นใจเราบาง เรากําลังลมสลาย การต อต านจากตา งชาติ จะลดน อยลง เพราะว า คนไทยมี เ หตุ ผ ลในการกระทํ า รั ฐ บาลของ ประชาชน จะกล าไหมล ะ จะร ว มกั บประชาชน กูบานกูเมืองไหมละ อันที่จริงประเทศไทยที่ไมเจริญกาวหนา และยั ง ล าหลั ง ประเทศเพื่ อ นบ า น เช น สิ ง คโปร และมาเลเซีย ก็ เ ป น เพราะนั ก การเมื อ งทั้ ง นั้ น ที่ อาสาจะเขามาบริหารประเทศ อยากเปนแตทํางาน ไมเปน และยังคอรัปชั่นเกงอีก

ถาไทยตองเสียเอกราช ก็ไมรูวาจะเรียนประวัติศาสตรไปทําไม

ความจริงการเรียนรูประวัติศาสตรทําให คนรักชาติและมีความเปนชาตินิยม แตทําไมคนไทย จึ ง รั ก ชาติ เ ฉพาะเวลาได ยิ น เสี ย งเพลงชาติ และเวลาเชี ย ร นั ก กี ฬ าไทยแข ง ขั น กั บ ต า งชาติ สวนความเปนชาติเกือบไมมีเลยเมื่อไมมีความเปน ชาตินิยม ก็ไมนิยมของไทย ไปใชของนอกอุดหนุน รานคาตางชาติ เหอของนอก เมื่อเหตุเปนอยางนี้ ผลจะเปน อยางไร? ผลก็คือเมืองไทยเสียเอกราช ทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจก็ตองลมสลาย เพราะวา เศรษฐกิจอยูในมือตางชาติ แลวใครอยากรองเพลง ชาติไทย แลวใครอยากจะฟง และจะไมมีครูคนใด อยากสอนประวัติศาสตร แลวนักเรียนก็ไ มอยาก เรี ย น ป ร ะ วั ติ ศ า สต ร ไ ท ย ไ ม รู ว าจ ะ เ รี ย น ประวัติศาสตรไทยไปทําไม?

บทสรุป

เมื่อยอนเวลาหาอดีตครั้งที่ผูเขียนยังเปน นักเรียนอยูไดเรียนประวัติศาสตรไทยและไดศึกษา เพิ่มเติมเมื่อผูเขียนจําเปนจะตองนําขอมูลในอดีต มาเขียน เพื่อใชประกอบบทความ จากการศึกษา ประวัติศาสตรไ ทยเพิ่มเติม เมื่อผูเขียนเปนผูใหญ และมี วั ย วุ ฒิ สู ง ขึ้ น ทํ า ให ส ามารถวิ เ คราะห ประวัติศาสตรไทยไดมากยิ่ง ขึ้น จึงรูสึกภาคภูมิใจ วี ร บุ รุ ษ และวี ร สตรี ไ ทยที่ ไ ด ต อ สู เ พื่ อ ปกป อ ง ผืนแผนดินไทยใหลูกหลาน เหลน โหลน ไดอาศัย อยูกินทุกวันนี้ รูสึกเสียใจที่ไ ทยเสียกรุง ถึง ๒ ครั้ง และไทยตองเสียดินแดนไปเปนจํานวนมาก ประวัติศาสตรไทยที่บันทึกไวมีทั้งสําเร็จ และลมเหลว (รอยยิ้มและน้ําตา) ที่สําเร็จสมควร เป น ต น แบบหรื อ แบบอย า งให ค นไทยรุ น หลั ง ได ศึ ก ษา และที่ ล ม เหลวก็ ค วรเป น อนุ ส ติ ส อน คนไทยอยาอยูอยางประมาท ระวังประวัติศาสตร จะซ้ํา รอย ถ าพลาดพลั้ ง ไทยจะเสีย เอกราชหรื อ ชาติลมสลาย ประวัติ ศาสตร ไ ทยแบ ง ออกเปน ๔ ยุ ค คือ ยุคกรุง สุโขทัย เปนราชธานี ตอมาเปนยุคกรุง ศรีอยุธยา ยุคกรุง ธนบุรี และยุคกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งเปนยุคปจจุบัน เมื่ อ กล า วถึ ง ยุ ค สุ โ ขทั ย ผู เ ขี ย นเกิ ด ความคิ ด ผุด ขึ้ น มานึ กถึ ง พ อขุ น รามคํ าแหงที่ ท รง ประดิ ษ ฐ ตั ว อั ก ษรไทย ให ค นไทยได ใ ช จ นมาถึ ง ปจจุบัน แลวผูเขียนก็เกิดความปติ ความภาคภูมิใจ ตั ว อั ก ษรไทยที่ พ อ ขุ น รามคํ า แหงประดิ ษ ฐ ขึ้ น เพื่อระลึกถึง ภาษาไทย คนไทยจึง กําหนดใหวัน ที่ ๒๙ กรกฎาคม เปนวันภาษาไทยแหงชาติ มีนักรอง คนหนึ่ง ชื่อ คริสตี้ เปนชาวตางชาติที่ไดรับรางวัล การใช ภ าษาไทยดี เ ด น ได ก ล า วว า ตนเองเรี ย น ภาษาไทยมาเปนเวลา ๑๐ ป เพราะความอยากรู เมื่ อ ใช ภ าษาไทยได ถู ก ต อ งแล ว จึ ง กล า วว า “เรียนภาษาไทยเท” แสดงวาภาษาไทยเทสมใจ ชาวตางชาติ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ตัว อย า งต อ มาคื อ มี ทู ต ต า งประเทศจี น ประจําประเทศไทย ชื่อ กวาน มู พูดภาษาไทยเกงมาก ถึงขนาดบรรยายทางวิชาการเกี่ยวกับประเทศจีน ดวยภาษาไทย ใหผูนําทางการเมืองและเศรษฐกิจ ของไทยฟง น อ ก จ า ก นี้ พ อ ขุ น ร า ม คํ า แ ห ง ทรงปกครองบ า นเมื อ ง แบบพ อ ปกครองลู ก คราวใดที่ ป ระชาชน ทุ ก ข ร อ นก็ ส ามารถไ ป สั่น กระดิ่ ง ที่ หน าประตูพ ระราชวั ง พระองค ก็จ ะ เสด็จมาชวยบรรเทาทุกข ทุกขของประชาชนคือ ทุกขของผูปกครองแผนดิน เมื่ อ กล า วถึ ง ยุ ค กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น ราชธานี ผูเขียนจึง นึกถึง กษัตริยที่ทรงกอบกูชาติ เมื่ อ คราวที่ ไ ทยต อ งเสี ย กรุ ง นึ ก ถึ ง สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช นึ ก ถึ ง สมเด็ จ พระเจ า ตากสิ น มหาราช และนึกถึง สมเด็จพระศรีสุริโยทัย ที่ทรง สละชีพเพื่อปกปองพระสวามี เปนการเสียสละที่ ยิ่งใหญยากที่ใครจะสละได

พระเจาตากสินมหาราช

เมื่ อ นึ ก ถึ ง การเสี ย กรุ ง ไทยเสี ย กรุ ง ครั้งแรก มิใชวาไทยรบไมเกง แตมีคนไทยขายชาติ ชื่ อ พระยาจั ก รี ที่ จั ด ทั พ ไทยให อ อ นแอ เพื่ อ ให ขาศึกชนะ แถมยังเปดประตูเมืองใหพมาเขายึดกรุง ทําใหนึกถึงคนไทยบางคนที่ทําตัวคลายพระยาจักรี ขายชาติ ขายแผ น ดิ น ปล น ชาติ ปล น แผ น ดิ น เพื่อตนเองและพวกพอง สว นการเสี ยกรุง ครั้ง ที่ ๒ เกิ ดจากไทย มีก ษั ตริ ย ที่อ อ นแอ รบทั พ จับ ศึ กไม เ ปน กษั ต ริ ย พระองคนี้ทรงพระนามวา พระเจาเอกทัศ ทําให

ผู เ ขี ย นนึ ก ถึ ง รั ฐ บาลที่ ทํ า งานไม เ ป น ทํ า ให ต อ ง เสี ย เอกราชทางเศรษฐกิ จ จนใกล ล ม สลายและ ไมคิดจะแกไขปญหา เมื่อกลาวถึงกรุงธนบุรีก็นึกถึงพระยาตาก ที่ ร วบรวมไพร พ ลได ๕๐๐ คน ตี ฝ า พม า ล อ ม กรุงศรีอยุธยา แลวไปตั้งหลักที่เมืองจันทบุรี กอนที่ จะยึดเมืองจันทบุรี ก็บอกกับไพรพลวา คืนนี้เราจะ ตี เ มื อ งจั น ทบุ รี ใ ห ไ ด พวกเราไปกิ น อาหารเช า ในเมือง ขอใหทุบหมอขาวทิ้งเสีย ในคืนนั้นกองทัพ ของพระยาตากก็ยึดเมืองจันทบุรีได ทําใหผูเขียน เกิ ด จิ น ตนาการว า จะมี รั ฐ บาลใดมากอบกู เศรษฐกิจของชาติใหเปนอิสระจากทุนตางชาติไ ด เหมือนพระเจาตากกอบกูแผนดิน เมื่ อ กล า วถึ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ผู เ ขี ย น นึ ก ถึ ง พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลกมหาราชที่ ท รง ทํ า สงครามเก า ทั พ จนได รั บ ชั ย ชนะ นึ ก ถึ ง พระป ย ะมหาราช รั ช กาลที่ ๕ ที่ ท รงเลิ ก ทาส ทรงเริ่ ม การไปรษณี ย โทรเลข ประปา รถไฟ ผู เ ขี ย นรู สึ ก สงสารพระองค ต อนที่ ไ ทยต อ งเสี ย ดิ น แดนให แ ก ฝ รั่ ง ล า เมื อ งขึ้ น โดยไม มี ท างต อ สู เพราะฝรั่งมีอาวุธที่เหนือกวา เมื่อกลาวถึงพระปยะ เลิกทาสทําใหนึกถึงปจจุบันคนไทยกําลังเปนทาส ทางเศรษฐกิ จ ให แ ก ช าวต า งชาติ จ นชาติ ใ กล ลมสลายแลว ผู เ ขี ย นนึ ก ถึ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ที่ทรงปกครอง แผ น ดิ น โดยธรรม เพื่อ ประโยชนสุ ขแห ง มหาชน ชาวสยาม นึ กถึ ง โครงการพระราชดําริ ประมาณ ๓,๐๐๐ โครงการ เพื่อประโยชนตอพสกนิกรของ พระองค โครงการพระราชดําริที่มีประโยชนสูงสุด คื อ “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” สามารถนํ า ไปใช แก ป ญ หาเศรษฐกิ จ ในครอบครั ว และเศรษฐกิ จ ระดับชาติไ ด รวมทั้ง เศรษฐกิจระดับโลกได ดัง ที่ นายโคฟ อั น นั น อดี ต เลขาธิ ก ารสหประชาชาติ ได ข ออนุ ญ าตนํ า โครงการเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไปแกปญหาเศรษฐกิจโลก เป น ที่ น า เสี ย ดายที่ รั ฐ บาลทุ ก รั ฐ บาล ไม ส นใจแก ป ญ หาเศรษฐกิ จ ของครอบครั ว และ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ประเทศด ว ยเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไม ป กป ก รั ก ษา คุ ม ครองผื น แผ น ดิ น ไทย ไม รั ก ษาทรั พ ยากร ของไทย ไมคุม ครองสิ ทธิ ของประชาชนผู ยากไร ปลอยใหน ายทุน ตางชาติ นายทุน ไทยเอาเปรีย บ ประชาชนผู ย ากไร ป จ จุ บั น นี้ ค นไทยส ว นใหญ ยากจน มี ส วนน อ ยที่มั่ ง มี มี ลั ก ษณะรวยกระจุ ก จนกระจาย ประวั ติ ศ าสตร ไ ทยยุ ค กรุ ง สุ โ ขทั ย และ กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี คราวใดที่มีขาศึกยกทัพ มาตีราชธานี พระมหากษัตริยและทหารจะชวยกัน ออกรบเพื่ อ รั ก ษาแผ น ดิ น (ทหารก็ คื อ ลู ก หลาน ประชนนี่ เ อง) แต วั น นี้ ท หารที่ มี ห น า ที่ ป กป อ ง ผืนแผนดิน สวนใหญก็ไมมีที่ดิน สวนเจาของที่ดิน ที่มี ที่ เ ป น ร อ ยไร พั น ไร หมื่ น ไร ล ว นเป น พ อ ค า นายทุน เศรษฐีที่ดินรวมถึงนายทุนชาวตางชาติดวย มัน ยุติ ธรรมแล วหรือ ที่ คนสว นใหญ ไ ม มีที่ ทํา กิ น แตคนหยิบมือมีที่ดินมหาศาล รวมทั้งชาวตางชาติ ที่ ม าถื อ ครองที่ ดิ น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต อดีตนายกรัฐมนตรีไดยกเลิกกฎหมายการถือครอง ที่ดิน กอนหนานั้น คนไทยทุกคนจะถือครองที่ดิน เกิน ๕๐ ไรไมได เหตุผลที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ยกเลิกกฎหมายการถือครองที่ดินไมเกิน ๕๐ ไร เพราะวาหลังจากยกเลิกกฎหมายจํากัดสิทธิการถือ ครองที่ดินแลว ตอภายในภายหลัง จอมพลสฤษดิ์ มีที่ดินนับพันไร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต เมื่ อ ดํ า รง ตํ า แหน ง ทางการเมื อ ง เป น ผู นํ า รั ฐ บาลก็ ห า ประโยชนใสตน เหมือนกับรัฐบาลที่อางวา มาจาก การเลือกตั้งของประชาชน โดยบอกประชาชนวา ประเทศที่เปนประชาธิปไตยรัฐบาลตองมาจากการ เลือกตั้ง เพราะวาเปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่ อ ประชาชน ผู เ ขี ย นขอ โต เ ถี ย งว า ประชาธิ ป ไตยเป น ของประชาชน โดยประชาชน แตไมใชเพื่อประชาชน แลวเพื่อใครละ ก็เพื่อนายทุนเจาของพรรคนั่นเอง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ที่ ล ม เ ห ล ว ทั่ ว โ ล ก ก็ เ พราะว า รั ฐ บาลที่ ไ ด รั บ ฉั น ทานุ มั ติ จ ากการ เลื อ กตั้ ง ของประชาชน ไม ไ ด ทํ า เพื่ อ ประชาชน

แต ทํ า เพื่ อ เจ า ของพรรค นายทุ น พรรค แม แ ต สหรั ฐอเมริก าที่ ถือ วา เป นเจา ลัท ธิป ระชาธิป ไตย ก็เถอะ ตัวแทนพรรคใหญทั้ง ๒ พรรค คือพรรค เดโมแครต และพรรครี พั บ ลิ กั น ที่ แ ข ง กั น เป น ประธานาธิ บ ดี ก็ ล ว นอยู ใ ต อิ ท ธิ พ ลของบริ ษั ท ยั ก ษ ใ หญ ข า มชาติ บริ ษั ท ยั ก ษ ใ หญ ที่ ใ ห ทุ น สนับ สนุน การหาเสีย งผู สมัค รเป นประธานาธิบ ดี ทั้ ง ๒ พ ร ร ค ล อ ง คิ ด ดู ว า ถ า บ ริ ษั ท ไ ม ใ ห เงินทุนอุดหนุน ผูสมัครจะเอาเงินที่ไหนไปหาเสียง ลําพั ง ผู สมั ครเป น สมาชิก สภาผู แทนและวุฒิ สภา ข อ ง ส ห รั ฐ ช ว ย กั น ล ง ขั น ใ ห เ งิ น ผู ส มั ค ร ประธานาธิ บ ดี ไ ว ห าเสี ย งจะได เ งิ น เท า ไหร เมื่ อ เหตุ ผ ลเป น เช น นี้ ป ระชาธิ ป ไตยที่ ใ ช เ งิ น จํานวนมาก จะเปนประชาธิปไตยเพื่อประชาชน ไดอยางไร นอกจากประชาธิปไตยเพื่อนายทุนพรรค เพื่อบริษัทที่อุดหนุนพรรค ประชาธิปไตยแบบอเมริกาและแบบไทย จึง เปนประชาธิปไตยที่ทุนควบคุมพรรค เมื่อเปน เชนนี้ ประชาชนทั้ง ในอเมริกาและไทยก็อยาหวัง เลยวา รัฐบาลจะเห็นแกประโยชนของประชาชน การเกิดกระบวนการ “ออคคิวพาย” ในอเมริกา ก็คือการตอตานทุนนั่นเอง ส ว นประเทศจี น ซึ่ ง เป น ประเทศที่ เศรษฐกิ จเติ บโตเร็ ว มาก เติ บโตมากที่สุ ด ในโลก กลับทิศทางกับอเมริกาคือพรรคควบคุมทุน ไมให นายทุ น เอาเปรี ย บประชาชน ในอดี ต พรรค คอมมิวนิสตกับประชาชนชั้นกรรมาชีพไดรวมกัน ต อ สู เ อาชนะเจี ย งไคเช็ ค เมื่ อ ป พ.ศ. ๒๔๙๒ พรรคจึ ง ดู แ ลประชาชนเป น อย า งดี ไม ท อดทิ้ ง ประชาชน ประเทศจีนไมใชประเทศประชาธิปไตย ที่มีตัวชี้วัดวาประชาธิปไตย “เปนการปกครองของ ประชาชน โดยประชาชน และเพื่ อ ประชาชน” แต พ รรคคอมมิ ว นิ ส ต จี น “ทํ า เพื่ อ ประชาชน” ผู อ า นจะเลื อ กการปกครองแบบไหน ทํ า เพื่ อ นายทุนพรรค หรือทําเพื่อประชาชน ประเทศไทยยืนหยัดมาไดเกือบ ๘๐๐ ป เพราะมีวีรกษัตริย ทหารและประชาชนที่กลาหาญ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๘ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

คราใดที่มีศัตรูมารุกรานไทย พระมหากษัตริยและ ทหารจะชวยกันตอสู และมีประชาชนอยูแนวหลัง คอยสนั บสนุ น แตเ มื่อ ประเทศไทยเปลี่ย นแปลง การปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ (ปจจุบันประชาธิปไตยไทย ครบรอบ ๘๐ ปแลว) ผูนําของประเทศก็เปลี่ยนจากกษัตริยมา เปน นายกรัฐมนตรีซึ่ง เปนหัวหนารัฐบาล ๘๐ ปที่ ผานมารัฐบาลที่เขามาบริหารประเทศ สรางปญหา

ให กั บ ประเทศมาทุ ก รั ฐ บาล (ยกเว น รั ฐ บาลที่ มี พลเอกเปรม ติ ณ สู ล านนท เป น นายกรั ฐ มนตรี ) ป ญ หาของประเทศที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ ป ญ หา เศรษฐกิจ เปนปญหาปากทองที่รัฐบาลก็เปนผูกอ ขึ้น เอง จนชาติไ ทยใกล ลม สลาย คนไทยจะต อ ง ชว ยกั น กอบกูเ ศรษฐกิ จ โดยเร็ว ช าอี ก ไมไ ด แ ล ว การเรียนรูประวัติศาสตรจะชวยปองกันไมใหชาติ ล ม สลาย ถ า ขื น ชั ก ช า จนชาติ ล ม สลายแล ว การเรียนประวัติศาสตรไทยก็ไรประโยชน.

-----------------------------

เชิงอรรถ ๑

นักธุรกิจระหวางประเทศ พูดในรายการ “มองเทศ มองไทย” ชองสุวรรณภูมิ คืนวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๑ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ชวงสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ รัฐบุรุษของโลก ๓ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม อดีตปลัดทบวง ปจจุบันเปนองคมนตรี ๒

ภาคผนวก ตัวอยางภาษาตางประเทศ คําวา “ฉันรักเธอ” I ไอ ฉัน

English language love เลิฟ รัก

you ยู คุณ

ฉัน

ทัง ซี นึล ซา รัง แฮ โย

เธอ

ภาษาเขียน ภาษาอาน ความหมาย

ภาษาเกาหลี

한국어

ซอ นึน

ภาษาอังกฤษ

รัก

ภาษาเขียน ภาษาอาน ความหมาย

ภาษาจีน

汉语

ài

หวอ ฉัน

อาย รัก

หนี่ เธอ

ภาษาเขียน ภาษาอาน (แบบ พิน อิน) ภาษาอาน ความหมาย


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๗๙ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕ ตุลาคม ๒๕๕๔

มหาวิกฤตอุทกภัย

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนจังหวัดที่ ประสบอุทกภัยทั่วทั้ง ๑๖ อําเภอ ทําใหมีผูไ ดรับ ผลกระทบมากถึง ๘๗,๕๓๔ ครัวเรือน ๑๓๕,๗๐๐ คน พื้ น ที่ก ารเกษตรกว า ๘ ล า นไร ศาสนสถาน ได รั บ ผลกระทบรวมทั้ ง สิ้ น ๕๔๔ แห ง โบราณสถานจํานวน ๑๓๐ แหง ดานการทองเที่ยวไดรับ ผลกระทบ เสียหายมากกวา ๖,๐๐๐ ลานบาท

พฤศจิกายน ๒๕๕๔

กระทรวงวัฒนธรรม ลงพื้นที่ตรวจสอบ แหลงโบราณสถาน

นางสุ กุ ม ล คุ ณ ปลื้ ม รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงวั ฒ นธรรม ลงพื้ น ที่ ต รวจสอบแหล ง โบราณสถานในพื้ น ที่ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยเฉพาะวั ด มหาธาตุ วั ด พระศรีสรรเพชญ ปอมเพชร และวัดไชยวัฒนาราม โดยที่วัดไชยวัฒนาราม พบรอยแยกแตกราวและ เอี ยงในบางจุ ด สว นวิ ห ารพระป าเลไลยก ในวั ด พระศรีสรรเพชญ เอียงออกจากแนวเดิม และเกิด

รอยแตกราวบริเวณฐานเจดียราย และกําแพงแกว ชั้นใน

กิจกรรมฟนฟูเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา

หลังจากอุทกภัยครั้งใหญในเดือนตุลาคม ไดทําใหถนนหนทาง บานเรือน และสถานที่ตาง ๆ ได รั บ ความเสี ย หายอย า งหนั ก ซึ่ ง ภายหลั ง จาก น้ําทวม ไดมีกิจกรรมฟนฟูเกาะเมืองพระนครศรี อ ยุ ธ ย าจาก จิ ตอ าสา ทั้ ง ภาคเอ ก ชน แล ะ สถานศึ กษาต างๆ หลายโครงการ ที่จั ดขึ้ นอยา ง ต อ เนื่ อ งตลอดทั้ ง เดื อ นพฤศจิ ก ายน และเดื อ น ธันวาคม อาทิ กิ จ กรรม We care Ayutthaya จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา การท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทย (ททท.) และชมรมจิ ต อาสา ได จั ด กิ จ กรรม We care Ayutthaya เมื่ อ วั น ที่ ๑๒ พฤศจิกายน เพื่อ รวมทําความสะอาด ฟน ฟู แหล ง ท อ งเที่ ย วและโบราณสถาน ที่ วั ด ใหญ ชัยมงคล โดยไดรับ เกี ยรติจ ากแขกผูมี เกี ยรติที่ มี จิ ต อ าสาจาก หลาย หน ว ย งาน อาทิ ททท. พ ร ะ น ค ร ศรี อยุ ธ ย า ก ร ะ ท ร ว ง วั ฒ น ธ ร ร ม สถานเอกอั ค รราชทู ต จี น ประจํ า ประเทศไทย สํ า นั ก น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ส ภ า ผู แ ท น ร า ษ ฎ ร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี สมาคมธุ ร กิ จ ท อ งเที่ ย วภายในประเทศ (สทน.) สมาคมผูประกอบการนําเที่ยวไทย (สนท.) สมาคม ส ง เสริ ม ธุ ร กิ จ ท อ งเที่ ย วไทย (สธทท.) สมาคม มั ค คุ เ ท ศ ก ข ส ม ก . บิ๊ ก ซี แ ล ะ มู ล นิ ธิ บิ๊ ก ซี Black&Decker เปนตน


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๐ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

กิ จ กรรม “ผนึ ก พลั ง บวก ร ว มซ อ ม รวมสราง จ.พระนครศรีอยุธยา กรุงเกา ใจใหม กลุมธุรกิจ โคคา-โคลา ระดมกําลังพนักงานในกลุม ธุรกิจ ศิลปนดารา อาสาสมัครในโครงการ “ผนึก พลังบวก กับโคคา-โคลา” ทั้งจากกรุงเทพฯ และ ทองถิ่นอยุธยา รวมทั้งสิ้นกวา ๑,๕๐๐ คน รวมทํา ความสะอาด และฟ น ฟู บ ริ เ วณพื้ น ที่ สํ า คั ญ ทาง ประวัติศาสตร ณ พระบรมราชานุสาวรียพระเจาอูทอง ภายในเกาะในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร กิจกรรมบิ๊ก คลีนนิ่งเดย การทองเที่ยว แหงประเทศไทยรวมกับภาคเอกชน จัดโครงการ “เที่ยวทําดีถวายพอ” ปลอยคาราวานรถจํานวน ๘๔ คั น ร ว มเดิ น ทางทํ า กิ จ กรรม “บิ๊ ก คลี น นิ่ ง เดย ” ที่ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ วั น ที่ ๔ ธั น วาคม โดยผนึ ก กํ า ลั ง จากทุ ก ภาคส ว นใน อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ประมาณ ๕๐๐ คนเขา รวมกิจกรรมทําความสะอาด อาทิ ผูประกอบการ ทองเที่ยว แอตตา สื่อมวลชน นักทองเที่ยวที่เปน จิ ต อาสา และหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง โดยเริ่ ม กิจกรรมที่ วัดพระศรีสรรเพชญ ศาลากลางจังหวัด และ ททท. สํานักงานพระนครศรีอยุธยา

ธันวาคม ๒๕๕๔

งาน ๒ ทศวรรษ อยุธยามรดกโลก

การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย รวมกับ จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา และกรมศิลปากร จัด งานเฉลิ มฉลอง ๒ ทศวรรษ อยุธ ยามรดกโลก ระหวางวันที่ ๙ - ๑๓ ธันวาคม เพื่อเฉลิมฉลองการ ครบรอบ ๒๐ ป ในการเป น มรดกโลกของนคร ประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา และโปรโมทการ ทองเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลังน้ําทวม ภายในงานมี กิ จ กรรมต า งๆ เช น การ แสดงทางวั ฒ นธรรมไทยร วมสมัย การแสดงทาง วั ฒ น ธร รมจากคณะน าฏศิ ล ป สาธ าร ณรั ฐ ประชาชนจีน การจําหนายเครื่องอุปโภค บริโภค รวมทั้ง อาหารคาว-หวาน และกวยเตี๋ยวอยุธยา ที่ ขึ้นชื่อใหประชาชน และนักทองเที่ยวไดเลือกชิมใน

ตลาดโบราณ และมีการแสดงจากศิลปนชื่อดัง เชน ไชยา มิตรชัย เปนตน นอกจากนี้ ยั ง มี นิ ท รรศการภาพถ า ย ประวัติศาสตรชวงมหาอุทกภัย โดยการจัดแสดง ของกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งมีภาพถายฝพระหัตถ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุ ม ารี ที่ พ ร ะ อง ค ทร ง ถ า ย ไ ว ขณ ะ ปร ะ ทั บ เฮลิ ค อปเตอรพ ระที่นั่ ง ผ า นจั ง หวัด พระนครศรี อยุ ธ ยา ในช ว งสถานการณ น้ํ า ท ว มเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา ที่เห็นสภาพรถยนตจํานวนมาก จอดเรียงรายอยูบนสะพานนเรศวร และสะพาน ปรี ดีธํ ารวงค และสภาพน้ํ าท วมโบราณสถานวั ด พระศรีสรรเพชญ ถูกนํามาจัดแสดงใหประชาชน ทั่ว ไปได ช มที่ บริ เ วณศูน ย ทอ งเที่ ยวพระนครศรี อยุ ธ ย า ภ ายใต หั ว ข อนิ ท ร รศก ารภาพถ า ย ประวัติศาสตรชวงมหาอุทกภัย

ทําบุญแผนดิน ฟนฟูศาสนสถาน

เ มื่ อ วั น ที่ ๒ ๕ ธั น ว า ค ม จั ง ห วั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ด ทํ า บุ ญ แผ น ดิ น ฟ น ฟู ศาสนสถานทุ ก แห ง ซึ่ ง ได เ ชิ ญ ชวนประชาชน เอกชน และหน ว ยงานราชการ ร ว มกั น ฟ น ฟู ศาสนสถาน โดยจั ด พิ ธี ส งฆ แ ละทํ า บุ ญ ตั ก บาตร พ ร ะ ส ง ฆ ๙ ๙ ๙ รู ป ที่ ศ า ล า ก ล า ง จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยาหลังเกา และถนนศรีสรรเพชญ

มกราคม ๒๕๕๕ เทศกาลตรุษจีน

วัน ที่ ๒๔ มกราคม นายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผู ว า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า เป น ประธานเป ด งาน เทศกาลตรุ ษ จี น -กรุ ง เก า มหามงคล ที่หนาเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา โดยความร ว มมื อ ของสมาคมวั ฒ นธรรมไทยจี น และการท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทยสํ า นั ก งาน พระนครศรีอยุธยา ที่กํ าหนดจัดขึ้นระหวางวัน ที่ ๒๔-๒๖ มกราคมเพื่ อ กระตุ น และฟ น ฟู แ หล ง ทองเที่ยวภายในจังหวัดฯ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๑ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

โดยตลอดถนนทั้ ง สาย ตั้ ง แต ถ น น นเรศวร ตลาดเจาพรหม ถึง เจดียเจาอายเจายี่ มี การจั ด ซุ ม ร า นอาหาร ไทยจี น อย า งสวยงาม ตระการตา โดยมีขบวนแหเจากวา ๑๐๐ ศาลเจา และการตกแตง ถนนตลอดทั้ง สาย เสมือนจําลอง จากเมืองจีน ซึ่ง มีนักทองเที่ยวสนใจเขาชม และ จับจายซื้อสินคาไทยจีนหลายพันคน

กําแพงวัดมหาธาตุทรุด

กําแพงโบราณสถานวัดมหาธาตุ ภายใน อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได พังทลายลงมา ความยาวกวา ๑๐ เมตร เนื่องจาก การบูรณะกําแพงโบราณวัดมหาธาตุเมื่อ ๓๐ ปที่ ผานมา ไดกออิฐคลุมวัสดุเกา ทําใหดานในกําแพง เปนโพรง และไมมีความแข็งแรง ประกอบกับไดรับ ผลกระทบจากอุทกภัยจนเปนเหตุใหกําแพงทรุด

กุมภาพันธ ๒๕๕๕

งาน “ยอยศยิ่งฟาอยุธยามรดกโลก” ประจําป ๒๕๕๔

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดงาน “ยอ ยศยิ่ ง ฟ า อยุ ธ ยามรดกโลก และงานกาชาด ปร ะ จํ าป ๒ ๕ ๕ ๔ ” ร ะ หว า ง วั น ที่ ๑ ๐ -๑ ๙ กุ ม ภ า พั น ธ ที่ อุ ท ย า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร พระนครศรีอยุธยา จากที่เคยจัดในเดือนธันวาคม ของทุกป เนื่องจากประสบอุทกภัย โดยปนี้การแสดงแสงเสียงไดเปลี่ยนแนว การนําเสนอความเป นอยุ ธยามรดกโลกจากการ เป น เมื อ งราชธานี เ ก า มี ก ารนํ า ประวั ติ เ กี่ ย วกั บ ความสัมพัน ธกับ นานาชาติ มานํา เสนอวาอยุธยา เคยเปนศูนยกลางการคา การคมนาคม การศาสนา และวั ฒ นธรรมมาตั้ ง แต ใ นอดี ต จนได รั บ ขึ้ น ทะเบียนเปนมรดกโลก สําหรับ ภายในงาน นอกจากการแสดง แสงเสี ย งแล ว ยั ง มี ก ารจํ า ลองบรรยากาศตลาด และชุมชนโบราณ มีนิทรรศการใหความรูเกี่ยวกับ หมู บ า นชาวต า งชาติ ใ นสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และ

สาธิ ต การทํ า อาหาร การทํ า หั ต ถกรรมพื้ น เมื อ ง การ ประ กวดคุ ณ ย ายคุ ณย า จู ง หลาน น า รั ก การประกวดเพลงลู ก ทุง เสีย งทอง การจํ า หน า ย สินคาพื้นบาน งานกาชาด ฯลฯ โดยในวั น ที่ ๑๖ กุ ม ภาพั น ธ นางสาว ยิ่ ง ลั ก ษณ ชิ น วั ต ร นายกรั ฐ มนตรี พร อ มด ว ย รั ฐ มนตรี ไ ด เ ดิ น ทางร ว มงานยอยศยิ่ ง ฟ า อยุ ธ ยา มรดกโลก ที่ วั ด หลั ง คาขาว บริ เ วณบึ ง พระราม โดยนายกรั ฐมนตรี ไ ด เ ดิน เยี่ ย มชมสิน ค า ที่ มี ก าร นํ า มาออกร า นภายในงานก อ นร ว มรั บ ประทาน อาหาร และชมการแสดงแสงเสียงในชุดวิถีอารยะ อยุธยา

มีนาคม ๒๕๕๕

ทาเรือขามฟากตรอกบัวหวาน-สถานีรถไฟ ปดกิจการ

นายอดุลยเดช ศะรีวงศ เจาของทาเรือ ขามฟากตรอกบั วหวาน ซึ่ง เป น ๑ ใน ๒ ท าเรื อ ข า มจากฝ ง เกาะเมื อ งไปยั ง สถานี ร ถไฟอยุ ธ ยา ซึ่ ง เป ด กิ จ การสื บ ทอดมาจากบรรพบุ รุ ษ มากว า ๑๐๐ ป ไดหยุดกิจการลงเนื่องจากประสบปญหา น้ํา มัน ขึ้น ราคา ป ญ หาอุ ทกภัย ทํา ให เรื อเสีย หาย ประกอบกับการที่ชาวอยุธยาเปลี่ยนไปใชบริการรถ รอบเมือง ทําใหรายไดตกต่ํา และขาดทุน จนตอง ปดกิจการลง จึง เหลือทาเรือขามฟากบริเวณหนา ตลาดเจาพรหม ที่ยังเปดบริการตอไป

มหกรรมมวยไทยโลก - บวงสรวงนายขนมตม เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๗ มี น า ค ม จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา จัดพิธีบวงสรวงนายขนมตมใน งานมหกรรมมวยไทยโลก โดยมีนักมวยไทยและ ชาวตางชาติ ที่เรียนมวยไทย ๔๘ ประเทศเขารวม กวา ๒,๐๐๐ คน ซึ่ ง งานนี้ จั ด โดยความร ว มมื อ ระหว า ง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา การท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทย การท อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด ฯ สมาคมสถาบันศิลปะการตอสูปองกันตัวแบบไทย


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๒ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

และสมาคมกีฬามวยอาชีพแหงประเทศไทย จัดขึ้น ภายใตง าน “ไหวครูมวยไทยโลก และมหัศจรรย มวยไทยมรดกโลก” ที่จัดขึ้นเปนประจําทุกป โดยป นี้จัดระหวางวันที่ ๑๗-๒๒ มีนาคม เพื่อเปนการยก ยองและสงเสริมศิลปะปองกันตัวของไทย สํา หรั บ กิจ กรรมในช วงค่ํ า มี พิธี ไ หว ค รู มวยไทยโลก ที่ บ ริ เ วณวั ด มหาธาตุ อุ ท ยาน ประวั ติ ศ าสตร พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา ชมการสาธิ ต ศิ ล ปหั ต ถกรรมการสั ก ยั น ต การตี ด าบอรั ญ ญิ ก การแสดงศิ ล ปะการต อ สู ป อ งกั น ตั ว ส ว นวั น ที่ ๑๙-๒๒ มีนาคม บริเวณอนุสาวรียน ายขนมตม สนามกี ฬ ากลางจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา มี ม หรสพสมโภชฉายภาพยนตร ดนตรี ลู ก ทุ ง การแสดงศิลปะแมไมมวยไทย การจําหนายสินคา ผลิตภัณฑชุมชน และการแขงขันชกมวยนานาชาติ เปนตน

พบภาพจิตรกรรมผนังเจดียวัดสิงหาราม

จากการที่ ก รมศิ ล ปากร ได ดํ า เนิ น งาน บูรณะเจดียประธานวัดสิงหาราม ตามโครงการขุด แต ง ออกแบบบู ร ณะ และปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศน โบราณสถานวัดสิงหาราม บริเวณมหาวิทยาลัยราช ภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ทํ า ให พ บภาพจิ ต รกรรม ประดับผนังคูหาปรากฏอยูภายในกรุเจดียประธาน ด า นทิ ศ ตะวั น ออก มี ลั ก ษณะเป น ห อ งสี่ เ หลี่ ย ม จั ตุ รั ส ขนาด ๑.๕ เมตร สภาพภายในกรุ ถู ก ขุ ด ทําลายทําใหไมพบรองรอยหลักฐานอื่น สันนิษฐาน วาเดิมภายในกรุนาจะประดิษฐานพระสถูปบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุอยู แตป จจุบัน ได สูญ หายไป คาดว า ภาพดั ง กล า ว น า จะมี อ ายุ อ ยู ใ นช ว งสมั ย อยุธยาตอนตน-ตอนกลาง ราวปลายพุทธศตวรรษ ที่ ๑๙ – ๒๒ หรือ ประมาณ ๕๐๐ ป มาแล ว ในเบื้ อ งต น กรมศิ ล ปากรได ทํ า การป ด กรุ เ จดี ย ดังกลาวเพื่อรักษาภาพจิตรกรรมโบราณนี้ไว

เมษายน ๒๕๕๕

กระทรวงวัฒนธรรมจัดโครงการวัฒนธรรม สัญจรแหงมรดกโลก

กระทรวงวั ฒ นธรรมได จั ด โครงการ วัฒนธรรมสัญจรแหงมรดกโลก โดยเชิญทูตานุทูต จาก ๒๓ ประเทศ รวมถึง สื่อ มวลชน ทั้ ง ใน และ ต า งประเทศ เยี่ ย มชมโบราณสถานต า ง ๆ ในจัง หวั ดพระนครศรี อ ยุธ ยา ที่ ไ ด รั บผลกระทบ จากอุ ท กภั ย ๒๕๕๔ อาทิ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน แหงชาติเจาสามพระยา วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ เพื่ อ สร า งความเชื่ อ มั่ น ให แ ก นั ก ท อ งเที่ ย วได รั บ ทร าบ ข อ เ ท็ จ จริ ง แ ละ แ น ว ทา ง ก า ร ฟ น ฟู โ บ ร า ณ ส ถ า น ข อ ง ไ ท ย ซึ่ ง ค ณ ะ ทู ต า นุ ทู ต ตางเชื่อ มั่นกั บการฟน ฟูแหลง มรดกโลกของไทย และพรอมใหการชวยเหลือในดานตาง ๆ

สงกรานตกรุงเกา

จั ง หวั ด พระ นครศรี อยุ ธยาจั ด งาน “อยุธยามหาสงกรานต แผนดินมรดกโลก ๒๕๕๕” อย า งยิ่ ง ใหญ ระหว า งวั น ที่ ๑๒-๑๕ เมษายน ณ สวนสาธารณะเฉลิ ม พระเกี ย รติ ๘๔ พรรษา ทุง หัน ตรา ภายในงานมีก ารอัญ เชิญ รูปหล อของ พระเกจิ อ าจารย ม าประดิ ษ ฐานโดยรอบ ๘ ทิ ศ เพื่อใหประชาชนสรงน้ําเปนสิริมงคล อาทิ หลวงปู ทิ ม วั ด พระขาว, หลวงพ อ ปาน วั ด บางโพธิ์ , ห ล ว ง พ อ ดู วั ด ส ร ะ แ อ , ห ล ว ง พ อ ส ว ร ร ค วั ด ศาลาปู น ฯลฯ และมี ก ารจั ด ลานน้ํ า พุ ด นตรี มีการแสดงและกิจกรรมตาง ๆ จํานวนมาก อาทิ ก า ร แ ส ด ง ชุ ด “ เ ถ ลิ ง ศ ก ม ห า ส ง ก ร า น ต ” การ ปร ะก วดก อ พร ะเจดี ย ท ร าย ประ กว ด คู รั ก อมตะ ประกวดหนู น อ ยสงกรานต เป น ต น โดยมี ก ารตกแต ง บรรยากาศเป น อุ ท ยานน้ํ า พุ กลางป า หิ ม พานต โซนน้ํ า พุ ป ระกอบแสงเสี ย ง “มหาสงกรานตนาคาธิบดี” และ จําลองตลาดน้ํา โบราณ ขายสินคา และอาหาร ที่ขึ้นชื่อวาเปนของ ดีของอําเภอตางๆ


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๓ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

ในป นี้มี การแสดงที่จั ดขึ้ น เป น พิ เศษคื อ การจําลองพระราชพิธี “สัมพัจฉรฉิน ท” ซึ่ง เป น พระราชพิธีในเดือน ๔ ที่สืบมาตั้ง แตสมัยกรุง ศรี อยุธยา โดยการประกอบพิธีทั้งพุทธ และพราหมณ เสด็ จ ออกทรงธรรม และทรงยิ ง ป น ทั่ ว พระนคร เป น การแผ บุ ญ แก ผี ยั ก ษ ป ศ าจ และอมมนุ ษ ย เพื่ อ ขอพรให บ านเมื องอยูเ ย็ น เป น สุข ก อ นถึ ง วั น สงกรานต โดยจัดแสดงเพียงรอบเดียวในค่ําวันที่ ๑๒ เมษายน สํ า หรั บ สถานที่ เ ล น น้ํ า สงกรานต ข อง ประชาชนนั้น ทางจัง หวัดไดเตรียมพื้นที่ไว ๔ จุด ประกอบด ว ย บริ เ วณสวนสาธารณะเฉลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ๘ ๔ พ ร ร ษ า ทุ ง หั น ต ร า , บริ เ วณพระราชานุ ส าวรี ย ส มเด็ จ พระสุ ริ โ ยไท ทุ ง มะขามหย อ ง, บริ เ วณพระราชานุ ส าวรี ย สมเด็จพระนเรศวร ทุงภูเขาทอง และในเทศบาล นครพระนครศรีอยุธยา สวนพื้นที่ในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา นั้น ทางจังหวัดไดขอความรวมมือประชาชน มิให นํารถบรรทุกน้ําเขาไปเลนในพื้นที่ เนื่องจากทําให การจราจรติ ด ขั ด เป น อุ ป สรรคแก ผู ที่ ต อ งการ เดินทางมาไหวพระในชวงเทศกาลสงกรานต

สมทรง-สมทรง เปนนายกฯ อีกสมัย

ผลการเลือกตั้งนายกองคการบริหารสวน จัง หวัดพระนครศรีอ ยุธยา เมื่อ วันที่ ๘ เมษายน นางสมทรง พั น ธ เ จริ ญ วรกุ ล อดี ต นายก อบจ. ลงสมัครเพียงคนเดียว โดยไมมีคูแขง สงผลใหนาง ส ม ท ร ง ไ ด รั บ เ ลื อ ก ตั้ ง เ ป น น า ย ก อ บ จ . พระนครศรีอยุธยา เพราะมีผูมาใชสิทธิเลือกนาง สมทรง เกินกวารอยละ ๑๐ ตามกฎหมาย ส ว นผลการเลื อ กตั้ ง นายกเทศมนตรี เทศบาลนครพระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ วั น ที่ ๒๒ เมษายน ปรากฏวา วาที่ รอยตรี สมทรง สรรพโกศลกุล อดีตนายกเทศมนตรี ไดคะแนน ๗,๒๗๔ คะแนน เป น นายกเทศมนตรี เทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยาอีกสมัยเชนเดียวกัน

ไฟไหมหองสมุดวัดพนัญเชิงวรวิหาร

วั น ที่ ๒๔ เมษายน เกิ ด เหตุ เ พลิ ง ไหม ภายในหองสมุดของวัดพนัญ เชิง วรวิหาร ซึ่ง เป น อาคารจัตุรมุขทรงไทยสองชั้น ครึ่งตึกครึ่งไม ตั้งอยู ในบริเวณกุฏิเจาอาวาสดานหลังวิหารหลวงพอโต ภายในอาคารซึ่งมีการตกแตงดวยไมสักทองทั้งหลัง ไดถูกใชเปนที่เก็บตูพระธรรม พระไตรปฎกโบราณ และหนังสือเกาจํานวนมาก เจาหนาที่ดับ เพลิง ใชเวลาควบคุมเพลิ ง ประมาณ ๑ ชั่วโมง จึงสามารถควบคุมเพลิงเอาไว ได โดยคาดว า สาเหตุ เ พลิ ง ไหม ใ นครั้ ง นี้ มาจาก ไฟฟ า ลั ด วงจร มี ก ารประเมิ น ค า เสี ย หายไว ประมาณ ๓๐ - ๔๐ ลานบาท ห ลั ง จ า ก ก า ร ต ร ว จ ส อ บ พ บ ว า ตู พระไตรปฎกบางสวนที่เก็บไวที่ชั้นบนถูกเพลิงไหม เสี ย หาย สว นพระไตรป ฎกที่ มี อายุ กว า ๔๐๐ ป สมัยกรุงศรีอยุธยา จํานวน ๑๒ ตู ๕,๐๐๐ คัมภีร ไมไดรับความเสียหายจากเพลิงไหม เพียงแตเปยก ชื้ น จากการดั บ เพลิ ง ซึ่ ง กระทรวงวั ฒ นธรรมได มอบหมายให ก รมศิ ล ปากร ส ง เจ า หน า ที่ เ ข า มา ดําเนินการอนุรักษ ซอมแซม

พฤษภาคม ๒๕๕๕

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินทุงมะขามหยอง

วันที่ ๒๕ พฤษภาคม เวลา ๑๖.๔๕ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนาง เจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินโดย รถยนต พ ระที่ นั่ ง พร อ มด ว ยสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสักการะ พระราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย ทุง มะขาม หย อ ง และทอดพระเนตรการแสดงสื่ อ ผสม "ทุ ง มะขามหย อ ง ผื น แผ น ดิ น แห ง พระมหา กรุณาธิคุณ" ตําบลบานใหม อําเภอพระนครศรี อยุธยา เปนการสวนพระองค


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๔ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงฉลอง พระองคชุดเครื่องแบบนายทหาร สวนสมเด็จพระ นางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงฉลองพระองค โทนสีมวง ตลอดเส น ทางเสด็ จ พระราชดํ า เนิ น มี ป ระชาชน นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา ทั้ ง ในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และจั ง หวั ด ใกล เ คี ย ง ต า ง เดินทางมารอเฝาทูลละอองธุลีพระบาท พรอมทั้ง เปลงเสียงถวายพระพร "ทรงพระเจริญ" หลายคน ไมสามารถกลั้นน้ําตาแหงความปลื้มปติไ วได ที่ไ ด เห็นพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เวลา ๑๗.๕๕ น. รถยนต พ ระที่ นั่ ง ถึ ง พระราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย เมื่อรถยนต พร ะ ที่ นั่ ง เที ย บที่ ห น า พ ร ะ ร าชานุ ส าว รี ย ฯ เจาพนั กงานพระราชพิธี เชิญ พวงมาลัยเข าถวาย แลว พระราชทานไปถวายสั กการะที่โต ะ หมู หน า พระราชานุ ส าวรี ย ฯ จากนั้ น ประทั บ รถยนต พ ร ะ ที่ นั่ ง ท อด พ ร ะ เน ตร บ ริ เ ว ณโ ดย ร อ บ พระราชานุสาวรียฯ แลวเสด็จพระราชดําเนินไปยัง ศูน ย แสดงและจํ าหนา ยสิน คา ผลิ ตภั ณฑ พื้น บา น และผลิตผลการเกษตร ในการนี้ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให นางสาวยิ่ ง ลั ก ษณ ชิ น วั ต ร นายกรั ฐ มนตรี เฝ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท ทู ล เกล า ทูลกระหมอมถวายโฉนดที่ดิน เลขที่ ๕๐๐๙ เนื้อที่ ๗ ไร ๒ งาน ๑๔ ตารางวา ตั้งอยูที่ตําบลบานใหม อํ า เ ภ อ พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า เ ป น พื้ น ที่ ที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนาง เจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จลงไปทรงเกี่ยวขาว เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๓๙ และพระราชทาน พระบรมราชวโรกาสให นายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผูว า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เฝ า ทู ล ละอองธุลีพระบาท ทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเงิน โดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุนมูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ จากนั้น เสด็จพระราชดําเนินไปยังศาลา กลางน้ํ า ทอดพระเนตร "การแสดงสื่ อ ผสม ทุ ง มะ ขามหย อ ง ผื น แผ น ดิ น แห ง พร ะม หา

กรุณาธิคุณ" ประกอบดวยการแสดงชุดตางๆ อาทิ ๑๖ ป แ ห ง คว าม หลั ง ณ ทุ งม ะขาม หย อง , การจําลองการเคลื่อนทัพของสมเด็จพระสุริโยทัย ที่แสดงใหเห็นถึง ความเสียสละของบรรพกษัตริย ที่ ท รงยอมแลกชี วิ ต และเลื อ ดเนื้ อ เพื่ อ ปกป อ ง ผืน แผนดิน , น้ําพระทัยขับไลน้ําตา, การขับบท กลอนเฉลิม พระเกี ยรติ ใ นพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ ทรงบรรเทาความทุกขใหแกประชาชน, พระปรีชา สามารถและความเสียสละของพระบาทสมเด็จพระ เจ า อยู หั ว , ล อ งนาวากลางกระแสพระกรุ ณ า, ระบํ าสายน้ํ า ลํ านํา แห ง แผ นดิ น ทอง, และการ ขับรองเพลงเทิดพระเกียรติ ผูปดทองหลังพระ เมื่ อ สมควรแก เ วลา จึ ง ประทั บ รถยนต พระที่นั่ง เสด็จพระราชดําเนินไปเสวยพระกระยาหารค่ํา ตามพระราชอัธยาศัย ณ พระตําหนักสิริยาลัย อํ า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยตลอดสองข า งที่ รถยนตพระที่นั่งแลนผาน มีประชาชนทุกหมูเหลา จากทั่ ว สารทิ ศ ไปเฝ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท อย า งเนื อ งแน น พร อ มเปล ง เสี ย งถวายพระพร "ทรงพระเจริญ"

มิถุนายน ๒๕๕๕

เทศกาลความสัมพันธอยุธยา – อิหราน

จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ร ว มกั บ สถานเอกอั ค รราชทู ต สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห ง อิหรานประจํากรุงเทพฯ ไดจัดงาน “อยุธยามรดกโลก เทศก าลคว าม สั ม พั น ธ อยุ ธ ย า – อิ หร าน ” (เปอร เ ซี ย ) ระหว า งวั น ที่ ๒๒ – ๒๔ มิ ถุ น ายน ณ ลานดา นหน าศาลากลางจั ง หวั ด พระนครศรี อยุธยาหลังเกา เปนกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยว การเรี ย นรู ป ระวั ติ ศ าสตร และศิ ล ปวั ฒ นธรรม ตลอดจนสืบสานการความสัมพันธอันดีที่มีตอกัน มาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงปจจุบัน ใ น ง า น มี นิ ท ร ร ศ ก า ร ก า ร แ ส ด ง ศิลปวัฒนธรรม ๒ ประเทศ สาธิตงานหัตถกรรมที่ ขึ้ น ชื่ อ เทศกาลอาหาร และร า นจํ า หน า ยสิ น ค า พื้ น เมื อ ง-ของที่ ระ ลึ ก โ ดย ศู น ย วั ฒ น ธร ร ม สถานเอกอั ค รราชทู ต สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห ง


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๕ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

อิหรานประจํากรุง เทพฯ เตรียมจัดกิจกรรมครั้ง นี้ อยางยิ่งใหญเปนพิเศษ ดวยการนําคณะนักแสดง และผูเ ชี่ ยวชาญด า นศิ ล ปวัฒ นธรรมจากอิห ร า น มารวมกวา ๖๐ คน

มกุฎราชกุมารแหงญี่ปุน เสด็จพระราช ดําเนินเยือนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เจ า ชายนารุ ฮิ โ ตะ มกุ ฎ ราชกุ ม ารแห ง ญี่ ปุ น เส ด็ จ พ ร ะ ร า ชดํ า เ นิ น เ ยื อ น จั ง ห วั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ วั น ที่ ๒๖ มิ ถุ น ายน ทรงเยี่ ยมศู น ย ศึก ษาประวั ติ ศ าสตร วั ดมหาธาตุ และหมู บ า นญี่ ปุ น โดยมี น ายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรอมดวย หัวหนาสวนราชการในพื้นที่รับเสด็จฯ

กรกฎาคม ๒๕๕๕

พิธีหลอเทียนพรรษาประจําป

วัน ที่ ๑๒ กรกฎาคม นายวิทยา ผิวผอง ผู ว า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และ วาที่ ร.ต.สมทรง สรรพโกศลกุล นายกเทศมนตรี นครพระนครศรีอยุธยา ดวยหัวหนาสวนราชการ ประชาชน นัก เรี ยนนั ก ศึก ษา และนัก ท อ งเที่ ย ว จํา นวนมากกวา ๑,๐๐๐ คน ร วมกั น หล อเที ย น จํานํ าพรรษา ๙ ตน เพื่ อใช ในประเพณี แหเ ทีย น พรรษากรุ ง เก าอยุ ธ ยามหาคล ประจํ า ป ๒๕๕๕ ซึ่ ง จั ด โดยเทศบาลน ครพระนครศรี อ ยุ ธ ย า ที่ห น าวิ ห ารพระมงคลบพิต ร ในการหล อเที ย น มี พ ระสงฆ เ กจิ ชื่ อ ดั ง เมื อ งกรุ ง เก า จํ า นวน ๙ รู ป โดย พระเทพรั ต นากร เจ า อาวาสวั ด พนั ญ เชิ ง วรวิหาร เปนประธานหลอเทียนพรรษา และเจริญ พระพุ ท ธมนต ป ลุ ก เสกเที ย นมหามงคลจํ า นวน ๙ ตน ซึ่ง มีนั กทองเที่ยวชาวตางชาติจํานวนมาก ให ค วามสนใจในกิ จ กรรม และร ว มหล อ เที ย น พรรษาดวย

สิงหาคม

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทาน เทียนพรรษา

พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรง พระราชทาน ใหผูวาราชการจัง หวัดพระนครศรี อยุ ธ ยา เป นผู แ ทน พระ อง ค พ ระ ราชทาน เทียนพรรษา ประจําป ๒๕๕๕ ณ พระอารามหลวง ในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๗ พระอารามหลวง ในวั น ศุ ก ร ที่ ๓ สิ ง หาคม ประกอบด ว ย วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร วัดพนัญ เชิงวรวิหาร วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร วัดบรมวงศอิศรวรารามวรวิหาร และวัดศาลาปูน วรวิหาร

ประเพณีแหเทียนพรรษาทางน้ําที่อําเภอผักไห

วั น ที่ ๒ สิ ง หาคม นายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผู ว า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า เป นประธานในพิธี แห เ ทีย นจํ านํ าพรรษาทางน้ํ า ที่ตลาดลาดชะโด อ.ผักไห พรอมดวยนายสุจิน ต วาจาสิท ธ นายอํ า เภอผั ก ไห โดยมี ข บวนเรื อ แห เที ย นจํ า นํ า พรรษาจํ า นวน ๑๐๐ ลํ า ล อ งตาม คลองลาดชะโด เพื่อนําเทียนจํานําพรรษาไปถวาย ที่วัดลาดชะโด ซึ่ ง ทางเทศบาลตํ า บลลาดชะโด ได จั ด ประเพณีการแหเทียนทางน้ํา เพื่อนําเทียนไปถวาย พระทางน้ํา เปนการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณี ของชาวพุ ท ธศาสนา ไว เ ป น มรดกให ลู ก หลาน


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๖ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕

และเปนการสง เสริมการทองเที่ยวที่มีการแหเรือ เปนขบวนยาวตามลําน้ําอยางงดงาม

เทศกาลความสัมพันธอยุธยา – ศรีลังกา

ระหว า งวั น ที่ ๒-๔ สิ ง หาคม จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา รวมกับ สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มประชาธิ ป ไตยศรี ลั ง กา ประจํ า ประเทศไทย จั ด งาน “ความสั ม พั น ธ อยุธยา-ศรีลังกา” ณ ลานหนาศาลากลางจัง หวัด หลังเกา เพื่อรวมเฉลิมฉลองพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป แห ง การตรั ส รู ข องพระพุ ท ธเจ า โดยอั ญ เชิ ญ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คู บ า น คู เ มื อ ง ข อง ศ รี ลั ง ก าคื อ “พระเขี้ ย วแก ว ” (องค จํ า ลอง) จากเมื อ งแคนดี้ ให พุ ท ธศาสนิ ก ชนได สั ก การะบู ช า ขบวนแห “เอสาละ เปราเหรา” นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารร า ยรํ า กั บ กลอง น าน าชนิ ด ก าร แสด ง หุ น สา ยแบ บดั้ ง เดิ ม การฉายภาพยนตร การสาธิตงานศิลปหัตถกรรม ต า งๆ อาทิ การแกะสลั ก ไม การทํ า เครื่ อ ง ทองเหลือง เปนตน พรอมทั้งการออกรานจําหนาย สินคาที่ขึ้นชื่อ เชน ชาซีลอน ซึ่ง เปนหนึ่งในชาที่ดี ที่ สุ ด ของโลก อั ญ มณี เครื่ อ งปร ะดั บ ฯลฯ ตลอดจนอาหารคาวหวานจานเดนของศรีลังกา ในส ว นของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา นํ า การแสดงนาฏศิ ล ป ร ว มสมั ย แนวพุ ท ธธรรม โดย คณะโกมลกู ณ ฑ ที่ ไ ด รั บ รางวั ล ระดั บ โลก ซึ่งถายทอดความงามผานองคประกอบตางๆ ของ การแสดง ดวยเทคนิคสื่อผสมที่ ง ดงาม แปลกตา การบรรเลงดนตรีแนวพื้นบานไทยผสมผสานกับ

‘ซีตาร’ ที่เปนเครื่องดนตรีตะวันออกของอินเดียศรีลังกา และการแสดงหุนสายเรื่อง ‘ศรัทธามหา บุ รุ ษ’ โ ดย คณะหุ นสาย เสมา เป น ต น


วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ๘๗ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ / ๒๕๕๕


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.