I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๑
วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา ปที่ ๕ ฉบับประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๖ ภาพปก : เจาของ :
ขอมูลทั่วไป : ที่ปรึกษา :
บรรณาธิการบริหาร : ผูชวยบรรณาธิการบริหาร : บรรณาธิการ : ผูชวยบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :
ออกแบบปกและรูปเลม : จํานวน : พิมพที่ :
ISSN 2229-1644
ทศกัณฐ: ปรับปรุงจาก โขน. (๒๕๕๓). วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. th.wikipedia.org/wiki/โขน สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค ตําบลประตูชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑๔๐๗ เว็บไซต www.ayutthayastudies.aru.ac.th วารสารทางวิชาการ อยุธยาศึกษา กําหนดออกปละ ๑ ฉบับ มีวัตถุประสงค เพื่อ ใหบริการทางวิชาการแกสงั คม เผยแพรบทความทางวิชาการ และงานวิจัยทางดาน ประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นสูสาธารณชน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา รองอธิการบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ดร.ชาญวิทย เกษตรศิริ อาจารยสาวิตรี สุวรรณสถิตย ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา อาจารยกันยารัตน โกมโลทก ดร.นริสานันท เดชสุระ ดร.ปฤษณา ชนะวรรษ นายพัฑร แตงพันธ นายปทพงษ ชื่นบุญ นางสาวณัฐฐิญา แกวแหวน นางสาวสายรุง กล่ําเพชร นางประภาพร แตงพันธ นางสาวศรีสุวรรณ ชวยโสภา นายอายุวัฒน คาผล นายพัฑร แตงพันธ นายอายุวัฒน คาผล ๕๐๐ เลม เทียนวัฒนาพริ้นทติ้ง ๑๖/๗ ถนนเดชาวุธ ตําบลหอรัตนไชย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑๕๗๘ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓๓๙๖
* ทัศนะในบทความและงานวิจัยตางๆ เปนของผูเขียนแตละทาน ไมถือเปนความรับผิดชอบแตอยางใดของสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
รามเกียรติ์ - รามายณะ สายใยทางศิลปวัฒนธรรมแหงอาเซียน
วรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์ มีที่มาจากเรื่องรามายณะของอินเดีย โดยเฉพาะฉบับที่เชื่อกันวาเปนแมแบบและ สําคัญ ที่ สุดคือ รามายณะฉบับภาษาสันสกฤตของฤาษี วาลมิกี ซึ่ง นั บวาเป นมหากาพยที่ สง อิท ธิพลอย างกว างไกล มาสูดินแดนในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต ไดแก ไทย พมา ลาว กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย แมใน ฟลิปปนส ซึ่งไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียนอยมาก ก็ยังปรากฏในรูปแบบนิทานทองถิ่น สําหรับใน เวียดนาม นั้นแมวาปจจุบันนี้จะถูกกลืนโดยวัฒนธรรมจีนทั้งหมด แตก็ยัง ปรากฏหลักฐานเปนภาพสลักเลาเรื่องรามเกียรติ์จาก เมื องโบราณหมี่ เซิ น ซึ่ ง ในอดี ตเคยเป น อาณาจัก รอัน ยิ่ง ใหญ ของชนชาติจ าม เป นสิ่ ง ยื นยั น ถึง การรั บ รูม หากาพย รามายณะจากอินเดียแตครั้งโบราณ จะเห็นไดวาแตละชนชาติในอาเซียนลวนมี รามายณะฉบับตาง ๆ ที่นํามาดัดแปลง เรื่องราวและถายทอดในภาษาของตนเอง รวมทั้งนํามาเปนตนแบบในดานการแสดงทางนาฏลักษณ ศิลปกรรม และ วรรณกรรมปลีกยอยอีกมากมาย มหากาพยรามายณะหรือรามเกียรติ์ จึงเปนเสมือนสายใยเชื่อมโยงทางดานวัฒ นธรรมในภูมิภาคอาเซียน นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และจะเปนสายใยผูกพันทําใหเกิดความรวมใจเปนหนึ่งเดียวทางดานศิลปวัฒนธรรมในกลุม ประชาคมอาเซียนตอไปในอนาคต.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๓
บทบรรณาธิการ
การอนุรักษสืบสานศิลปวัฒนธรรม
กับการเปดประตูสูประชาคมอาเซียน
วัฒนธรรม คือ วิถีแหงการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคม (The way of life) นับเนื่องแตวิธีการกิน การทํางาน การแตงกาย วิถีแหงการอยูรวมกัน การสรางที่อยูอาศัย ตลอดจนคติ ความเชื่อ และพิธีกรรมตาง ๆ อันมีลักษณะเดน แตกตางไปตามแตละถิ่นฐาน โดยธรรมชาติของวัฒนธรรมนั้น ยอมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขและกาลเวลา เมื่อมี การประดิษฐหรือคนพบสิ่งแปลกใหม ที่สามารถตอบสนองความตองการของสังคมไดดีกวา ซึ่ง อาจทําใหสมาชิกของ สังคมเกิดความนิยม และอาจเลิกใชวัฒนธรรมเดิมในที่สุด ดัง นั้ น ในโอกาสที่ บรรดาประเทศในภูมิ ภาคเอเชีย ตะวั นออกเฉี ยงใต จะรวมกั นเปน ประชาคมอาเซีย น (ASEAN) ในพุทธศักราช ๒๕๕๘ ภายใตคําขวัญรวมกันวา “One Vision One Identity One Community” หรือ “หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม” ที่จะนํามาซึ่งเสรีภาพในการติดตอสื่อสารของผูคน ใหสามารถเดินทาง ไปมาหาสูกัน ได อยา งสะดวกขึ้น เสมือนเป น การเป ดประตู ใหผู คนที่ มี ลั กษณะทางสั ง คมและวัฒนธรรมที่ แตกตา ง หลากหลาย ไดมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน จึงอาจกอใหเกิดการปะทะหรือสังสรรค อันเนื่องมาจากความแตกตาง หรือ คลา ยคลึง กั นทางดานศิล ปวั ฒ นธรรมของแตล ะชนชาติกั น บา ง รวมไปถึง การถา ยทอด และประสมกลมกลืน ทาง วัฒนธรรม ที่อาจเปนโอกาส หรือไมก็วิกฤติทางวัฒนธรรมสําหรับบางชนชาติในอาเซียนก็เปนได การเขาสูประชาคมอาเซียน ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงเปนวาระที่สัง คมไทย ควรตระหนักและเพิ่มความใสใจถึง ปญหาทางดานวัฒนธรรมที่อาจเกิดขึ้น กับคําถามวา สังคมไทย มีความพรอมมากนอยเพียงใด ที่จะเฝาจับตาและรับมือ ตอความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่อาจเกิดขึ้น สังคมไทยมีทิศทางในการอนุรักษ สืบสาน และเผยแพร เพื่อการธํารง รักษาวัฒนธรรมไทยอยางไร และคนไทยในทองถิ่นตาง ๆ จะไดรับประโยชนอะไรในการเขาสูประชาคมอาเซียน ดวยคําถามเหลานี้ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในฐานะที่เปนหนวยงานที่ทํา หนาที่ในการสงเสริมการอนุรักษและสืบสานศิลปวัฒนธรรมประจําทองถิ่นพระนครศรีอยุธยา จึงรังสรรควารสารฉบับนี้ ดวยความมุง หมายที่จะใหสัง คมมีความเขาใจ และรวมเรียนรูในความคลายคลึง และความแตกตางทางวัฒ นธรรม รวมทั้ ง มี ค วามพร อ มรั บ ความเปลี่ ย นแปลงต า ง ๆ ในการเข า สู ป ระชาคมอาเซี ย นที่ จ ะมาถึ ง ในอนาคตอั น ใกล ดวยความหวังที่จะใหสังคมไทย กาวไปสูสังคมแหงประชาคมอาเซียน ดวยสันติภาพและความเสมอภาค
กองบรรณาธิการ วารสารอยุธยาศึกษา
๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
สารบัญ วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ปที่ ๕ ฉบับประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๖
บทบรรณาธิการ ๑ อัตลักษณและวัฒนธรรมแหงประชาคมอาเซียน ๕ สาวิตรี สุวรรณสถิตย ๒๐ เรื่องควรรูเกี่ยวกับอาเซียน ๑๘ วิราวรรณ สมพงษเจริญ การทองเที่ยวของไทย...ในประชาคมอาเซียน ๓๑ กันยารัตน โกมโลทก “อยุธยา”กับการโหยหาอดีต ๔๐ ปญจวัลย ชาวดง ฐาน ในพุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย: ๔๖ บทวิเคราะหรูปแบบ สภาพแวดลอม และเอกลักษณไทย สุรินทร ศรีสังขงาม วาดวยเรื่องพรหมพักตร ๕๖ กีรติ ศุภมานพ เสนทางทองเที่ยวในทุงพระอุทัย ๗๑ อัมรา หันตรา ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา : ชีวิต และแบบอยางการทํางานดานวัฒนธรรม ๗๖ พัฑร แตงพันธ และคณะ จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา ๘๓ ตุลาคม ๒๕๕๕- มกราคม ๒๕๕๖
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๕
อัตลักษณและวัฒนธรรม
แหงประชาคมอาเซียน สาวิตรี สุวรรณสถิตย * 0
ความนํา อาเซียน เปนหนึ่งในการเตรียมการที่จะใหประเทศในภูมิภาคอาเซียนรวมกันเปนประชาคม หนึ่งเดียวนั้น ไดสรางคําขวัญ หรือ Motto ของอาเซียนไววา “One Vision One Identity One Community” (หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม) การจะมีวิสัยทัศนรวมกันทั้งอาเซียนวาเปนประชาคมหนึ่งเดียวกันนั้นอาจไมยากในระดับผูนํา ที่มองวาอาเซียนมีอนาคตรวมกัน ตองพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อความอยูรอด แตในระดับประชาชน อาจมี วิสัยทัศนที่แตกตางหลากหลายออกไป การจะมีอัตลักษณรวมกันนั้น ตองมีความตระหนักรับรูรวมกันวาเปนคนในประชาคมเดียวกัน เปนหนึ่งเดียวกัน รักที่จะอยูรวมกัน มันเปนความเชื่อมโยงทางจิตใจ จิตสํานึกและวัฒนธรรม ตางกับ การเชื่อมโยงทางกายภาพหรือภูมิศาสตร
* ผูทรงคุณวุฒิของสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
การรับรูและเปนเจาของรวมกันในประชาคม อาเซี ย น ถื อ เป น ส ว นหนึ่ ง ของงานด า นสร า งสรรค อัตลักษณอาเซียน อันเปนเปาหมายสําคัญ และปรากฏ คํ า ขวั ญ ของอาเซี ย นที่ ร ะบุ ไ ว ใ นกฎบั ต รอาเซี ย น และปรากฏอยู ใ นเอกสารพิ ม พ เ ขี ย วของประชาคม อาเซียนดานสังคมวัฒนธรรม การสรางความเชื่อมโยงกัน ในทางคมนาคม ด า นกายภาพเพื่ อ ให เ ป น ประชาคมทางเศรษฐกิ จ อาเซี ย นเดี ย วกั น นั้ น มุ ง หมายที่ จ ะให เ ศรษฐกิ จ ด า น ต า ง ๆ ลื่ น ไหลอย า งเสรี จึ ง มี แ นวความคิ ด เกี่ ย วกั บ การสรางถนน และเสนทางใหติดตอเชื่อมโยงกันหมด ในอาเซียน การสรางทางรถไฟเชื่อมตั้งแตสิงคโปรไปถึง คุนหมิง การสรางเครือขายการขนสงทางน้ํา การสราง ระบบขนส ง ทางทะเล การสรางระบบขนส ง ตอ เนื่อ ง หลายรูปแบบ และยัง มีการเชื่อมโยงโทรคมนาคมและ อินเตอรเน็ตอีกดวย แตการเชื่อมโยงความรูสึกผูกพัน ทางวัฒ นธรรมนั้น ใชวิธีตัดถนนเชื่อมเขาหากัน อยาง เดียวไมเพียงพอ หลายคนสงสัยวา อัตลักษณความผูกพัน กัน เป น อาเซี ย น จะสร า งได ห รื อ ไม ? จะขั ด แย ง กั บ อั ต ลั ก ษณ แ ห ง ชาติ ข อง แต ล ะประเทศหรื อ ไม ? ความจริง วิสัยทัศนในเรื่องการสรางอัตลักษณอาเซียน นั้น เปน อุดมคติที่ สวยงาม แตจะทํ าใหเปน ความจริ ง ตามที่วาดหวั ง ไว ไ ดห รือไม ต องอาศัย ความพยายาม รวมกันหลายฝายและอาจใชเวลานานกวาตัดถนน การสรางอัตลักษณนั้น เปนเรื่องของจิตสํานึก ที่ จ ะรู สึ ก ว า เราเป น เจ า ของวั ฒ นธรรมเดี ย วกั น หรื อ เป น คนในครอบครั ว อาเซี ย นร ว มกั น รู จั ก วั ฒ นธรรมของกั น และกั น รู จั ก ความเหมื อ นและ ความแตกต า งของกั น และกั น และยิ น ดี ย อมรั บ ใน ความเหมือนหรือความแตกตางนั้น ๆ อัตลักษณอาเซียนที่จะมีรวมกัน อาจหมายถึง การยึ ด ถื อ ค า นิ ย มที่ ดี ง ามในการอยู ร ว มกั น เช น การพึ่ ง พาอาศั ย กั น ได การแบ ง ป น ช ว ยเหลื อ กั น การไววางใจและซื่อสัตยตอกัน ซึ่งในประเพณีเดิมของ ผูคนในอาเซียนสวนใหญ ก็เปนเชนนั้นอยูแลว ยกเวน เมื่ อ มี เ รื่ อ งทรั พ ย สิ น ผลประโยชน และการเอารั ด
เอาเปรียบมาเกี่ยวของ หรือแมแตการที่มุงแขงขันชิงดี ชิงเดนกัน ก็ทําใหเราเคยรบรากันมาแลวในอดีต การปรับตัวเพื่อใชชีวิตรวมกันจึง อาจตองใช เวลานานที่จะเกิดขึ้นไดจริง แตทั้งนี้คนในอาเซียนตอง ไมจมอยูในปลักโคลนของอดีตที่เคยขัดแยง แตตองมอง อนาคตรวมกัน อีก ประเด็ น หนึ่ ง ที่ส ร า งความท า ทายให กั บ เรื่ อ งอั ต ลั ก ษณ อ าเซี ย นก็ คื อ คนในแต ล ะชาติ ย อ มมี อัตลักษณรวมกับคนในชาตินั้น ๆ แตในขณะเดียวกันก็ อาจมีคนกลุม นอ ยในชาติ หนึ่ง ที่มี อัตลั กษณ แยกยอ ย ออกมารวมกับคนในหมูบานเดียวกัน ที่มีเชื้อสายชาติ พันธุเดียวกัน หรือมีความเชื่อทางศาสนารวมกัน และ คนกลุมนั้นอาจมีเอกลักษณรวมกับคนกลุมใหญในชาติ อื่นที่เปนเพื่อนบานใกลเคียงกันได ในประเทศหนึ่ง ๆ จึง อาจจะมีอัตลักษณของ ชนกลุม น อยหลาย ๆ กลุ ม อยูใ นประเทศเดี ย วกั น ได เป น ความแตกต า งที่ ต อ งยอมรั บ และให เ กี ย รติ ว า มี ศักดิ์ศรีเสมอกัน นี่คือหลัก การสําคัญ อีกประการหนึ่ง ของอาเซี ย น... คื อ ความเป น หนึ่ ง เดี ย วกั น ในความ หลากหลายกันทั้งในแตละประเทศ และเมื่อมารวมกัน เปนอาเซียนหนึ่งเดียว ดั ง นั้ น ผู ค นในอาเซี ย นจะต อ งคํ า นึ ง ว า อั ต ลั ก ษณ ข องผู ค นในอาเซี ย น มี ทั้ ง ความแตกต า ง หลากหลายกั น และมี ทั้ ง ความเหมื อ นกั น หรื อ มี ลั ก ษณะร ว มกั น ในหลายด า น เพราะอย า งน อ ยๆ ก็ตั้งอยูในเขตภูมิศาสตรที่มีสภาพแวดลอม ธรรมชาติ และดิ น ฟา อากาศในโซนเดี ย วกั น ได รับ อิ ทธิ พ ลจาก ลมมรสุ ม เดีย วกัน อยูใ นเสน ทางการค า ผา ไหม และ เครื่องเทศทั้งทางบกและทางทะเลดวยกัน อีกทั้งตางก็ มีประสบการณทางประวัติศาสตรในชวงที่ยุโรปเขามา ติดตอคาขายดวยแตกตางกันไป จึงมีทั้งความคลายคลึง และความแตกตาง ทั้ง ทางดานเชื้อชาติหรือชาติพัน ธุ ภาษา ศาสนา วิ ถี ชี วิ ต และวั ฒ นธรรม หรื อ ทั้ ง ใน แนวปฏิ บั ติ ท างการเมื อ งการปกครองและกฎหมาย มีความเหมือนและความตางกันทั้ง ในนิสัยการทํางาน และกฎระเบียบในการทํางาน การใชชีวิต การพักผอน หย อ นใจ นี่ ก็ เ ป น อี ก ประเด็ น หนึ่ ง ที่ อ าเซี ย นจะต อ ง ยอมรับซึ่งกันและกันใหได และหาจุดรวมกันใหได
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๗
๑. การหาจุดรวมในดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ในอาเซียน
การหาจุดรวมในดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ในอาเซียนดานมรดกวัฒนธรรม ที่ตองปกปองคุมครอง และปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาให เ ป น มรดกร ว มของอาเซี ย น สืบตอไปในอนาคต ๑.๑ มรดกวั ฒ นธรรมที่ จั บ ต อ งได เช น โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ สวนมากเปน พยานหลักฐานทางวัตถุ และสถานที่ที่เปนตัวแทนของ อารยธรรมโบราณ และวิถีชีวิตที่เสื่อมสลายไปแลว ๑.๒ มรดกวั ฒนธรรมที่ จับ ตอ งไมไ ด หรื อ เปนมรดกวิถีชีวิตและประเพณีที่ยังสืบทอดจากอดีตมา จนถึ ง ป จ จุ บั น ไม ต าย ไม ห ยุ ด อยู นิ่ ง แต มี ชี วิ ต มีลมหายใจ จึงเปลี่ยนแปลงและเติบโตได แบง ไดเปน ประเภทตาง ๆ อยางนอย ๕ ประเภท เชนความเชื่อ วรรณกรรมและภาษา ความรู ดั้ง เดิมที่สื บทอดกันมา ผ า นการบอกเล า หรื อ การปฏิ บั ติ สื บ กั น มา ศิ ล ปะ พื้น บาน งานชางหัตกรรม ศิลปะการแสดงและดนตรี ธรรมเนียมปฏิบัติและประเพณี ตาง ๆ ที่สืบทอดสงตอ กัน มาตั้ง แตโบราณ และยั ง มีชีวิตอยูในสัง คมปจจุบั น ในที่นี้จะยกตัวอยางมรดกวัฒ นธรรมที่จับตองไมไ ดที่ สําคัญในอาเซียนสัก ๒ - ๓ ดานดังนี้ ๑.๒.๑ มรดกวั ฒ นธรรมด า นภาษา ภาษาเป น อั ต ลั ก ษณ ท างวั ฒ นธร รมที่ สํ าคั ญ ยิ่ ง กอใหเกิดความเขาใจกันความผูกพันซึ่งกันและกัน และ ความใกลชิดสนิทสนมกันงายขึ้น คนไทยมีภาษาไทยเปนภาษาของเราเอง แต ป จ จุ บั น คน ใน สั ง คมไ ท ยส ว น ใหญ กํ าลั ง ใ ห ความสําคัญตอวัฒนธรรมดานภาษา และวรรณกรรมลง ไปมาก อาจจะเปนเพราะเนื่องจากคนไทยอาน และ เขียนหนัง สือโดยเฉลี่ยนอยมาก ใชเวลาบริโภคสาระ และความบั น เทิ ง ผ า นสื่ อ วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น ที่ ไ ม เ น น วัฒ นธรรมดานภาษา ภาษาไทยที่ประณีตบรรจงก็ใช นอยลงในชีวิตประจําวัน วิถีชีวิตคนไทยในสมัยใหมเรง รีบ และการสื่อสารก็ตองการความรวดเร็ว คลองตัว
ภาษาถิ่นตาง ๆ ของไทยซึ่งแสดงถึงความ มั่ง คั่ง ทางวัฒนธรรม เปรียบเหมือนมีทรัพยเก็บสะสม อยู ใ นคลั ง ภู มิ ภ าคท อ งถิ่ น ก็ ยั ง ไม ไ ด รั บ การส ง เสริ ม สืบทอดที่เหมาะสม จึงลดบทบาทหนาที่ความสําคัญใน การอบรมบ ม เพาะจิ ต ใจและศี ล ธรรม และสื บ ทอด ประเพณีวัฒนธรรมในครอบครัว ในวัด ในภูมิภาคลงไป กวาในอดีต โดยเฉพาะสําหรับคนรุนใหม ในการสร า งอั ต ลั ก ษณ ร ว มอาเซี ย น ไดเลือกใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ และใชเปน เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารอย า งเป น ทางการในการประชุ ม การพบปะแลกเปลี่ยนอยางเปนทางการทุกระดับ ทั้งนี้ เพราะเราไมสามารถเลือกภาษาของประเทศใดประเทศ หนึ่งมาใชเปนภาษากลางได แตนี่ก็เปนสิ่งที่ทาทายมาก เพราะคนจากหลายประเทศเช น ไทย ลาว เขมร เวียดนาม อินโดนีเซียโดยเฉลี่ย และในบางระดับ ก็ไ ม สันทัดคลองแคลวในภาษาอังกฤษมากนัก เพราะไมได ใกลชิดกับชาวอังกฤษ หรือคนที่พูดอังกฤษมากมากอน ดังนั้น การแสดงความคิด หรือการแสดงออกดานอื่นๆ ผานภาษาอังกฤษที่ตนไมถนัด ก็คงไมคลองแคลวเทา คนจากประเทศบรู ไ น สิ ง คโปร มาเลเซี ย เมี ย นมาร และฟลิปปนส การใชภาษาอัง กฤษเปนภาษาราชการ อาเซียนจะทําใหคนไทย จะตองเรงเรียนภาษาอังกฤษ ใหใชไดดีมากขึ้น เปนการสรางวัฒนธรรมทางภาษาใน มิติใหม เราจะสู ช าติ อื่ น ได ไ หมในเรื่ อ งการใช ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาราชการของอาเซี ย น ? ตัว อย างเชน กระทรวงวั ฒ นธรรมโดยการเสนอของ สมาคมกวี ไ ทย ได เสนอใหมี การใหร างวัล กวี สุน ทรภู เปนรางวัลที่จะใหทุกปแกกวีเอกจากทุกประเทศที่แต ละประเทศเลื อ กเสนอมาเอง ผลงานเขี ย นต อ งมี ยาวนานพอสมควรในภาษาของชาตินั้นและแปลเปน ภาษาอังกฤษมาดวย สิงคโปรตอบมาเปนประเทศแรก เสนอชื่อ เอ็ดวิน ทัมโบ ซึ่งมีเชื้อสายทมิฬและจีน เปน กวีแหงชาติที่เคยไดรับรางวัลซีไ รทในปแรก และยัง มี งานเขี ย นต อ มาจนวั น นี้ เป น อาจารย ส อนวรรณคดี อั ง กฤษในมหาวิ ท ยาลั ย สิ ง คโปร ด ว ย ที่ สํ า คั ญ คื อ มี ผลงานกวีนิพนธและงานเขียนอื่นๆ เปนภาษาอังกฤษ
๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
จํานวนมาก ซึ่งเปนเรื่องที่รูจักกันกวางขวางในหมูกวี ทั่วโลก สํ า หรั บ คนอาเซี ย นจากประเทศบรู ไ น มาเลเซีย อินโดนีเซียและบางสวนของฟลิปปนส เขามี มรดกภาษาดั้ง เดิม เขาพูดภาษาเดียวกัน และนับถื อ ศาสนาอิ ส ลามเหมื อ นกั น จึ ง มี อั ต ลั ก ษณ แ ละสํ า นึ ก ร ว มกั น ได ง า ย ในขณะที่ ไ ทย ลาว กั ม พู ช า และ เมียนมาร นับถือศาสนาพุทธ แตไ มพูดภาษาเดียวกัน หมด คนลาวกั บ คนไทยยั ง มี ม รดกร ว มทางภาษา โดยเฉพาะคนไทยในภาคอีสาน ภาคเหนือ และแมแต คนภาคใตก็ส ามารถสื่อสารเขาใจภาษากัน ได แตค น ไทยที่อยูในภาคกลางก็ยังไมสามารถพูด ฟง อานหรือ เขี ย นภาษาลาวได เ ลย สํ า หรั บ คนไทยในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ก็ มีอั ต ลัก ษณท างภาษา และศาสนา ใกลเคียง หรือรวมกับคนในมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย แต กั บ คนในภาคอื่ น ๆ ก็ ยั ง มี ป ญ หาอยู ใ นการสร า ง อัตลักษณรวมกัน ในอนาคตเมื่อรวมกันเปนประชาคม อาเซีย นแล ว จะมี การเลื่ อ นไหลทางการลงทุ น และ แรงงานในอาเซียนเสรียิ่งขึ้น ทําใหคนอาเซียนทุกชาติ ตองพยายามเรียนรูภาษาของกันและกันใหมากขึ้นดวย กรณีอั ตลั ก ษณ วัฒ นธรรมในด านภาษา ของไทยเองนั้ น คนไทยส ว นใหญ จ ากทุ ก ภู มิ ภ าค สามารถพู ด ภาษาไทยกลางที่ ใ ช เ ป น ทางการได ดี ภาษาไทยกลางที่ใชกันทั้งประเทศจึงเปนอัตลักษณรวม ของคนไทยทั้งประเทศ แตในทางกลับกันไมใชคนไทย ทุกคนที่รูภาษาถิ่นภาคอื่นๆ ของไทย ดังนั้นภาษาถิ่นจึง เปนอัตลักษณของคนในทองถิ่นนั้นๆ โดยเฉพาะ ส ว นภาษาของประเทศเพื่ อ นบ า นนั้ น คนไทยสวนใหญในปจจุบันยังเรียนรูกันนอย แมวาจะมี การเป ด สอนในสถาบั น การศึ ก ษาหลายแห ง แล ว คนไทยส ว นใหญ น อกจากจะพู ด ภาษาของประเทศ อาเซียนอื่น ๆ ไมไดแลว ก็ยังไมระมัดระวังคําพูดเวลา เดิน ทางไปประเทศเพื่อนบาน หรือเวลาใหสัมภาษณ ทางสื่อมวลชนของไทย ก็ไมระวังไมตระหนักวาคําพูด ในเชิงดูหมิ่นเหยียดหยามเพื่อนบานนั้น คนในประเทศ เพื่อนบานเขารับสื่อไทยและฟงรูเรื่อง การแสดงความดู หมิ่ น วั ฒ นธรรมหรื อ คนของประเทศอื่ น ผ า นทางสื่ อ ก็จะสรางความโกรธแคนในจิตใจของคนเพื่อนบาน
ทั้งหมดนี้จึงเปนขอทาทายทางอัตลักษณ อาเซียนในดานภาษา ที่จะชวยใหเราอยูรวมกันอยางมี ความสุขมากขึ้น ๑.๒.๒ มรดกวัฒนธรรมดานอาหาร อาหาร ถื อ กั น ว า เ ป น วั ฒ น ธ ร ร ม สํ า คั ญ ยิ่ ง อ ย า ง ห นึ่ ง ภาษาอังกฤษใชคําวา Food culture และมีนักวิชาการ เขียนบทความและหนังสือในหัวขอนี้ไวจํานวนมาก ความจริงอาหารเปนเรื่องของกระทรวง เกษตร มีการจัดวันอาหารโลกอยูเปนประจํา แตความ จริงอีกเหมือนกันวา เกษตรและวัฒนธรรมเปนเรื่องที่ ใกล กั น มาก ภาษาอั ง กฤษจะใช คํา ว า culture คื อ วัฒนธรรม และ agriculture คือเกษตร แปลวาตอง เจริญเติบโตทั้งนั้น มีคนเขียนบทความวิชาการในหัวขอ นี้ไวหลายคน และเคยมี โครงการของยูเนสโกรวมกับ FAO และ WFP ในหัวขอนี้ดวย และมีคนเขียนหนังสือ เรื่อง The Unsettling of America: Culture & Agriculture [Paperback] ผู เ ขี ย น ชื่ อ Wendell Berry (Author) น า สนใจมาก ถื อ ว า เป น หนั ง สื อ คลาสสิกเลมหนึ่ง ของอเมริกาทีเดียว และพิมพหลาย ครั้งแลว Wendell Berry เขามีขอเสนอมุมมองวา การทําการเกษตรนั้น เปนการพัฒ นาวัฒนธรรมและ เป น กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกั บ จิ ต วิ ญ ญาณ แต ป จ จุ บั น การเกษตรกลายเป นธุ ร กิจ ที่ แ ยกห างจากครอบครั ว และบริบททางวัฒนธรรม คนอเมริกันก็มีชีวิตที่แยกหาง จากที่ดินอีก และชาติอเมริกาทั้งชาติมีชีวิตหางไกลจาก ที่ดิน หางไกลจากความรูทางเกษตร และหางไกลจาก ความรั ก ความผู ก พั น กั บ การเพาะปลู ก และพากั น ทําลายธรรมชาติ ยูเนสโกไดประกาศขึ้น บัญ ชีอาหารของ บางประเทศ เชน อาหารฝรั่งเศสใหเปนมรดกที่จับตอง ไม ไ ด ข องมนุ ษ ย เพราะอาหารฝรั่ ง เศสสะท อ นถึ ง ความสัมพันธระหวางสังคมมนุษยกับการใชประโยชน จากความรูเกี่ยวกับธรรมชาติ นอกจากนี้ประเทศญี่ปุน ก็ กํ า ลั ง เตรี ย มจะเสนออาหารญี่ ปุ น เพื่ อ ขึ้ น ทะเบี ย น มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของยูเนสโกดวย สําหรับประเทศในอาเซียน เปนสังคมที่มี รากเหงามาจากการเกษตรทั้งสิ้น คนอาเซียนเหมือนกัน
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๙
ในเรื่อง “การกินขาวกินปลา” ถือไดวาเปนวัฒนธรรมที่ สําคัญ ที่สืบทอดมาแตโบราณ มีคนศึกษาไววา คนใน ภูมิภาคนี้จะทักทายเมื่อพบกันดวยการถามหรือเชิญให กิ น ข า วกิ น ปลาเสมอ วั ฒ นธรรมอาหารจึ ง น า จะ เชื่อมโยงคนในอาเซียนใหรูสึกวามีอัตลักษณรวมกันได งายขึ้น วัฒนธรรมขาว ประเทศทั้ง สิบประเทศ ในอาเซียนลวนเปนคนในวัฒนธรรมขาวดวยกัน กินขาว เปนอาหารหลัก และรูจักปลูก หุง ตม และแปรรูปขาว เป น อาหารจานต า งๆ เป น จํ า นวนมากมาแต โ บราณ การกินขาวจึงเปนวัฒนธรรมรวมของคนในอาเซียน คนอาเซีย นส ว นใหญ ทํ านาข า ว เพราะ ธรรมชาติและดินฟาอากาศในเขตมรสุมเขตรอนเหมาะ กั บ การทํ า นาและการปลู ก ข า วมาตั้ ง แต บ รรพกาล โดยวิธี ไถ หว าน และปล อยใหน้ํ าทว ม ( wet rice cultivation) สื บ เนื่ อ งกั น มาหลายร อ ยหลายพั น ป ปจจุบัน นี้ประเทศในอาเซียนที่ไมทํานาก็มีแตสิงคโปร กับบรูไนเทานั้น นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมทํานาบนเขา ซึ่งฟลิปปนสเอาไปขึ้นบัญชีมรดกโลกไปแลว และยังขึ้น บัญ ชีการรองเพลงระหวางทํานาบนภูเขาของชนกลุม หนึ่งนั้นไปขึ้นทะเบียนมรดกที่จับตองไมไดดวย ทํ า นาเสร็ จ เกี่ ย วข า วเสร็ จ ก็ ถึ ง หน า น้ํ า น้ําทวมทุกปในบางพื้นที่ ผักบุงผักกะเฉดก็ขึ้นเต็มทุงนา น้ํา ท ว มจึ ง เป น ส ว นหนึ่ง ของวิถี ชี วิ ต ของคนในแถบนี้ ซึ่งมีวิถีครึ่งบกครึ่งน้ํา อยูเรืออยูแพกันมานาน น้ําทวม ก็มีประโยชนในการทํานา เพราะน้ําทวมนําสารอาหาร มาเปนปุยธรรมชาติ และยังทําใหปลาชุกชุมดวย คนใน อาเซียนจึงอยูกับน้ํามาตลอด คนอาเซียนคาข าวมานานแลว มี หลั ก ฐาน โบราณที่ ร ะบุ ว า พม า ชวา ไทย ฟ ลิ ป ป น ส เป น แหล ง ปลู ก และส ง ออกข า วที่ สําคัญไปคาขายตางประเทศปละเปนหมื่นตันขึ้น ไป (ดู Anthony Reid, 1988, Southeast Asia in the Age of Commerce, p 19-24) ใน ป จ จุ บั น นี้ ปร ะ เทศใน อาเซี ย นส ว น ใหญ ก็ยังทํานากันอยูอยางเปนล่ําเปนสันและสงออก ด ว ย ยกเว น บรู ไ นดารุ ส ซาลามและสิ ง คโปร ที่ตองซื้อขาวกินเปนหลัก
คนอาเซียนนับถือเทพแหงขาว เชน ไทย นั บ ถื อ เทพที่ เ รี ย กว า แม โ พสพ อิ น โดนี เ ซี ย เรี ย กว า เดวี ศรี เป น ต น มี ก ารทํ า พิ ธี ไ หว บู ช า หรื อ สมโภช เพราะนั บถือขาววามีความศักดิ์สิท ธิ์ และสรางสรรค ชีวิ ต จึ ง มี พิธี ก รรม ประเพณี เ กี่ย วกับ ข า วในขั้น ตอน ตางๆ เปนจํานวนมาก เชน ในอินโดนีเซียมีการทําพิธี แตงงานใหเทพแหงขาว ไทยมีการทําขวัญ ขาว และมี การละเลน ตลอดจนเพลงร อง และศิล ปะการแสดง เกี่ยวขาว มีสํานวนเกี่ยวกับขาวอยูมากมาย คนอาเซียนสรางสรรคตํา ราอาหารจาก ข า วไว ม าก เฉพาะของไทยเรานั้ น มี ทั้ ง สํ า หรั บ คาว หวาน และเครื่ อ งดื่ ม ที่ ทํ า จากข า วที่ น า สนใจและ ไมเหมือนใคร เชน ขาวแช ขาวเหนียวมะมวง นี่ยังไม เห็นชาติไหนประดิดประดอยกินกันเทาเรา ซึ่งไทยเราก็ ยังสํารวจและเก็บรวบรวมกันไมครบถวน และไมเปน ระบบสากล และพันธุขาวทั้งพันธุมีอยูเดิมในพื้น บาน พื้นเมืองและพัฒนาใหมก็มีอยูมากมาย วั ฒ นธรรมข า ว จึ ง เป น จุ ด ร ว มทาง อั ต ลั ก ษณ วั ฒ นธรรมที่ สํ า คั ญ ในอาเซี ย น เป น ทั้ ง ภูมิปญ ญาที่สืบทอดมาชานาน เปนทั้ง วัฒนธรรมทาง ความเชื่อ พิธี กรรม เปน การสร างสรรคต อยอด เช น ตํารับตําราอาหารทั้งคาวหวาน และเครื่องดื่มจากขาว พันธุขาวพื้นเมืองในอาเซียนก็มีมาก และ มี ผ ลวิ จั ย ออกมาว า ข า วมี ส ารบางอย า งที่ กิ น แล ว มี ความสุ ข คนในอาเซี ย นจึ ง ยิ้ ม ง า ย หั ว เราะง า ย มีความสุข งาย ในป จจุบัน การพัฒนาทางพัน ธุ กรรม และเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหมก็กาวหนามากขึ้น
๑๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ไม ท ราบว า พั น ธ ข า วพื้ น เมื อ งเดิ ม ๆ ยั ง เก็ บ ไว บ า ง หรือไม? วัฒนธรรมขาว ยังเปนวัฒนธรรมรวมใน จีน ญี่ปุน เกาหลี (อาเซียน+ ๓) ดวย นอกจากนี้ยัง มี ขอสังเกตที่สําคัญคือ ประเทศคูเจรจาเชนสหรัฐอเมริกา ก็เปนประเทศที่ผลิตขาวโดยสืบทอดวัฒนธรรมนี้มาจาก ชนเผาอินเดียนดั้งเดิม และไดรับอิทธิพลจากการเขายึด ครองฟลิปปนสและญี่ปุน และปจจุบันอเมริกาผลิตขาว สง ออกแขง กับอาเซียน และแปรรูปขาวและขาวโพด เปนอาหารสําเร็จไปขายทั่วโลกดวย วัฒนธรรมขาวจึงเปนวัฒนธรรมที่คนไทย ควรต อ งสนใจให ม ากขึ้ น ในทุ ก ๆ ด า น จะต อ งศึ ก ษา สํา รวจและทํ า ประวั ติ ทํ า ทะเบี ย น จดสิ ท ธิ บั ต รข า ว และอาหาร ไววาเปนวัฒนธรรมไทยกอนที่จะไปรวมกัน เปนวัฒนธรรมในอาเซียนดวย วั ฒ นธรรมปลา ดิ น แดนในภู มิ ภ าค อาเซียนมีแมน้ําลําธารที่อุดมสมบูรณ ดังนั้น ปลาเปน อาหารสําคัญที่มีความอุดมในภูมิภาคนี้ มีอาหารที่ทํา จากปลามากมายเชนกัน คนในแถบนี้กินปลาทั้งปลาสด ที่นํามาปรุงเปนอาหาร และปลาที่หมักดองเก็บไวเปน อาหารไดนานๆ จากบันทึกคนเดินทางตะวันตกจะเห็น วาเดิมคนในอาเซียนไมนิยมกินเนื้อสัตวใหญ ยกเวนใน พิธีก รรม เช น การฆ าควายในการกิ นฮี ดของคนบาง กลุมชาติพันธ ( ดู Christoforo Borri, 1633, CochinChina ( III) อางใน ใน Reid 1988) คนในอาเซียน เกือบทุกประเทศรูจักและมีเทคนิคการจับปลางายๆ มา แตโบราณโดยการพายเรือออกไปทอดแห และวางลอบ หรือใชกับดักงาย ๆ เชนการยกยอ หรือ กูอีจู การจับ ปลาในแถบนี้ ทํากันจนเรียกวาเปนอุตสาหกรรมอยางที่ สองรองจากขาวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (ดู John Crawford, 1820 History of Indian Archipelago และ Antonio de Morga 1598, Conditions in The Philippines อางในReid เรื่องเดิม) การกินสัตวตางๆ เกิดขึ้นเมื่อมีชนชาติอื่นเขามาอยูในดินแดนนี้ ข า วกั บ ปลาเป น สั ญ ลั ก ษณ ข องความ อุดมสมบูรณ การวาดรูปปลาและทําเครื่องเลน เครื่อง ตบแตงที่เปนตัวปลาจึงเปนอัตลักษณรวมอีกอยางหนึ่ง ในอาเซียน
นอกจากนี้ ยั ง มี วั ฒ นธ รรมร ว มกั น เกี่ยวกับการหมักดองปลาโดยใชเกลือเพื่อถนอมอาหาร และแปรรูปอาหาร เชน การทํากะป (มาเลเซีย เรียกวา เบลาคาน พมา เรียก งาป เวียตนาม เรียก ย็อกนาม) ทําปลารา น้ําปลา ปลาเค็ม เปนตน จึ ง เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม เ ก ลื อ มีรายงานของนักสํารวจโบราณวา ดินแดนในอาเซียน เปนแหลงเกลือที่สําคัญ คนที่อยูชายฝงทะเล รูจักการ ทําเกลือมาชานานแลว ( Antoni Galvao, 1545, Treatise on Molluccus อางใน Reid เรื่องเดิม ) ชวาตะวั นออกก็เ ปนแหลง สง ออกเกลือ เช นเดียวกั บ บริเวณ อาวไทยและจัง หวัดเพชรบุรี ก็เปนแหลง ผลิต เกลื อ ป อ นกรุ ง สยามและแหลมมาลายู (ดู บั น ทึ ก บ า ท ห ล ว ง Pallegoix, 1 8 5 4 Description du Royaume Thai ou Siam, 98, 117) ประเทศในแถบ นี้จึงมีวัฒนธรรมเกลือดวย และยั ง เกี่ ย วข อ งกั บ วั ฒ นธรรม ด า น น้ํ า ตาล ที่ ทํ า จากอ อ ย น้ํ า ตาลโตนด มะพร า ว และ น้ําผึ้ง จากเอกสารศตวรรษที่ ๑๗ ของญี่ปุน ( ดู Ishii Yoneo ๑๙๗๑, Seventeenth Century Japanese Documents about Siam) อยุธยามีการปลูกออย และสง ไปขายญี่ปุนเปนสิน คาที่สําคัญ โดยขนไปทาง เรื อ สํ า เภาจี น ในยุ ค นั้ น ชวาตะวั น ตกก็ เ ลิ ก ปลู ก พริกไทย หันมาปลูกออยสงไปขายจีนแทน (reid เรื่อง เดิม) นอกจากออย ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็ยังทํา น้ําตาลแดงจากตาลโตนด หรือปาลมน้ําตาล และยังหา น้ําผึ้งปาที่มีอยูมากดวย ดังนั้น วัฒนธรรมการทําขนม หวานจากน้ํ า ตาลอ อ ย น้ํ า ตาลโตนด และมะพร า ว จึงเปนวัฒนธรรมรวมอีกอยางหนึ่งในดินแดนแถบนี้ วัฒนธรรมอาหารไทยที่มีขาวปลา อาหาร ต า งๆ นั้ น มี ก ารผสมผสานกั บ อาหารของหลาย วัฒนธรรมแตมีการปรับปรุงใหมจนเปนอัตลักษณไทย เกี่ ย วกั บ อาหารนี้ คนไทย จะมี ว รรณกรรม และกวี นิ พ นธ เ กี่ ย วกั บ สํ า รั บ คาวหวาน เช น กาพย เ ห เ รื อ เจาฟากุง และกาพยเหเรือพระราชนิพนธรัชกาลที่ ๒ เปนตน แสดงวา อาหารไดถูกยกระดับจากความจําเปน พื้ น ฐานในชี วิ ต ประจํ า วั น ขึ้ น มาเป น วรรณศิ ล ป ใ น ลักษณะที่เรียกไดวา วรรณกรรมคลาสสิก
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๑๑
๑.๒.๓ วัฒนธรรมเกี่ยวการดูแลสุขภาพ การดั ดตน นวด ประคบ หลี กเลี่ย งการกินของแสลง การกิ น สมุน ไพรตามฤดูก าล การปรุง ยาบํ ารุ ง ต าง ๆ เป น มรดกภู มิ ป ญ ญาไทย และภู มิ ป ญ ญาในภู มิ ภ าค อาเซี ย น บางตั ว อาจมี ร วมกั น บางตั ว อาจเป น ภูมิปญญาเฉพาะของแตละชาติ ๑.๒.๔ วั ฒนธรรมการย อ มและทอผ า ทั้ง ผาฝาย ผาไหม ดวยเทคนิควิธีการมัดยอมและเพิ่ม เส น ด า ยเพื่ อสรา งลวดลายสั ญ ลัก ษณต าง ๆ นั บเป น มรดกวัฒนธรรมที่สําคัญตอผูคนทุกระดับทุกเพศทุกวัย ในทุกประเทศในอาเซียน แมแตบรูไ นก็สง เสริมฟนฟู การทอผ า ยกสํ า หรั บ ใช ใ นพิ ธี ก าร ผ า เป น การแสดง อัตลักษณของกลุมชน ผานลวดลายและสีสัน ตลอดจน การออกแบบการแตง กายในพิธีการตางๆ การทอผ า เปน การสรางสรรคที่กลายเปนอุตสาหกรรมทั้ง ขนาด เล็ก และขนาดใหญเกือบทุกประเทศในอาเซียน ฝาย และไหมเปน ผลผลิตทางเกษตร สียอมตามแบบเดิมก็ มาจากความรูเกี่ยวกับธรรมชาติ คนในภู มิภ าคนี้ มีก ารแต ง กายตามแบบ ตะวันตกเปนที่นิยมในยุคหนึ่ง แตปจจุบัน เมื่ออาเซียน มารวมกั น เป น ครอบครั ว เดี ย วกั น แล ว ก็ ค งจะสร า ง รูปแบบในการแตง กายที่เ ปน อัตลักษณอ าเซียนไดใ น อนาคต ๑.๒.๕ วั ฒ นธรรมด า นความเชื่ อ และ ศาสนา คนในทุกประเทศในอาเซียน มีวัฒนธรรมการ นับถือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์และภูตผีมากอนที่ศาสนาใหญของ โลก คือฮินดู พุทธ อิสลามและคริสต จะเผยแพรเขามา ความหลากหลายทางความเชื่อและศาสนานั้น ก็เปนสิ่ง ที่คนในอาเซียนจะตองยอมรับ เคารพในความแตกตาง และพยายามอยูรวมกันใหไดอยางดีดวย ในด า นประวั ติ ศ าสตร การสอนและ การเรี ย นประวั ติ ศ าสตร ข องประเทศในอาเซี ย นก็ สามารถสร า งอั ต ลั ก ษณ ท างวั ฒ นธรรมให กั บ คนใน อาเซียนได หากการสอนประวัติศาสตรตอกย้ําแตใ น เรื่ อ งการทํ า สงครามอยู อ ย า งเดี ย ว ไม ไ ด ส อนให วิเคราะหบริบททางสังคม ความเชื่อและทางการเมือง ในภาพรวมดวย ก็จะสง เสริมความคิดในดานการเปน ศัตรูคูแคนกันมาตั้งแตอดีตดานเดียว ซึ่งจะทําใหคนใน
ปจจุบันมีความเกลียดชัง และไมไววางใจกันในปจจุบัน และในอนาคต ในอดีตนั้นประเทศไทยก็เคยทําสงคราม กับประเทศเพื่อนบานมาโดยรอบทิศ เขาก็เครียดแคน เรา เราก็เครียดแคนเขา ในการจะสรางสัน ติภาพและ ประชาคมอาเซีย นรวมกัน ในอนาคต คงจะตองสรา ง ความรูสึกยอมรับนับถือกันและกัน ความเขาใจที่ดีตอ กัน และหาจุดรวมในประวัติศาสตรที่มีไมตรีตอกันมา สนับสนุน
๒.วัฒนธรรมที่หลากหลาย กับการสรางสรรค ทางวัฒนธรรม
ความหมายของคําวาวัฒนธรรมที่หลากหลาย แมแตภายในแตละประเทศ ก็อาจเขาใจวัฒ นธรรมใน มุมมองที่ตางกัน ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเปน ความมั่งคั่งทางทุนเดิมที่มีอยูในสังคมมาแตโบราณ และ เปนบอเกิดของการสรางสรรคใหมเพื่อเพิ่มคุณคา และ มูลคาใหกับสังคมเศรษฐกิจอาเซียนไดในอนาคต ในประ เทศไทยและในหลายประ เทศ ในอาเซียน อาจมองว า วัฒนธรรมจําแนกแยกออกได เป นหลายประเภทหลายระดั บ เช น ในประเทศไทย อาจจะมี
๑๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ก. วัฒนธรรมที่อาจเรียกไดวามีลักษณะไทย คลาสสิก คือ มีคุณคาสูง มีความงามเปนที่ยกยองเชิดชู อยางกวางขวางในหมูคนที่มีสถานะทางสังคม และผาน พัฒนาปรับปรุงจนสมบูรณแบบในชวงกาลเวลาที่ผาน มา เปนที่ยอมรับของคนที่มีความรูสวนใหญ หรือชนชั้น ปกครองในสังคมมานาน ไดรับคัดเลือกและยกยองวา เปนวัฒ นธรรมระดับชาติ เปนศิลปะหรืองานชางฝมือ ระดับสูง มักจะนําไปจัดแสดงในงานพระราชพิธี รัฐพิธี ในโรงละครแหง ชาติ พิ พิธ ภัณ ฑสถานแห ง ชาติ หรื อ หอศิ ล ป แ ห ง ชาติ เป น ต น วั ฒ นธรรมในระดั บ นี้ ตอ งรั ก ษาสื บ ทอดและเผยแพร มิ ให สู ญ หายไป แต ก็ สามารถปรับปรุงสรางสรรคเพิ่มเติมใหมีคุณคาโดดเดน มากขึ้ น ได ไม ใ ชเ พี ย งอนุรั ก ษ โ ดยเก็ บ เข าพิ พิ ธ ภั ณ ฑ เท า นั้ น นอกจากนี้ ในอนาคตก อ นที่ จ ะเป ด เสรี เ ป น สั ง คมเดี ย วกั น อาจต อ งคํ า นึ ง ถึ ง การสงวนสิ ท ธ ห รื อ กําหนดขอสงวนสําหรับการแสดงในโอกาสที่เหมาะสม ในสถานที่ที่สมควร หรือการจัดแสดงโดยผูที่ผานการ ถายทอดที่ยอมรับเทานั้น ไวดวย ข. วั ฒ นธรรมของกลุ ม ชนย อ ยในท อ งถิ่ น ตางๆ สวนใหญจะเปนชุมชนที่มีวิถีชีวิตอยูใกลชิดกับ ธรรมชาติ มีความเปนอยู การแสดงออกทางประเพณี และวัฒนธรรม และการสรางสรรคเฉพาะของกลุมชน มาแต ดั้ ง เดิ ม มี ทั้ ง ภาษาตํ า นานบอกเล า พิ ธี ก รรม ดนตรี การฟ อ น การเข า ทรง การสร า งสรรค ท าง สถาปตยกรรมและศิล ปะเฉพาะที่ เปน อัตลั กษณ ของ กลุมชน ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิต ความเชื่อ และ ภูมิปญญาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษของกลุมชน ที่ได ถือปฏิบัติสืบตอกันมา อาจมีการปรับเปลี่ยนพัฒนาไป ตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปบาง แตยังมีการปฏิบัติ และยอมรับกันในกลุมชนอยู มีหัตถกรรมพื้นบานที่นํา วัตถุดิบจากธรรมชาติมาสรางสรรคเพื่อเปนของใช แตมี ความสวยงามอยู ใ นตั ว วั ฒ นธรรมของกลุ ม ชนใน ลั ก ษณะเช น นี้ ค วรส ง เสริ ม ให ชุ ม ชนท อ งถิ่ น เจ า ของ วัฒนธรรมเปนผูปกปองรักษาและพัฒนาเอง ค. วั ฒ นธรรมที่ แ พร ห ลายเป น ที่ นิ ย มของ ประชาชนหมูมาก ที่เปนชนชั้นกลางถึงระดับแรงงานใน สั ง คมอุ ต สาหกรรมสมั ย ใหม สั ง คมประเภทนี้ อ าจ ประกอบดวย คนหนุมสาวที่ยายถิ่นที่อยูเพื่อการศึกษา
หรือผูที่อพยพมาจากชุมชนตางๆ ทั้งในประเทศ และ จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ใ ก ล เ คี ย ง ที่ เ ข า ม า ทํ า ง า น ใ น ภาคอุตสาหกรรม ชนในกลุมนี้อาจแบงเปนหลายกลุม ยอยและหลายระดับ ตางกลุมก็ตองการเสพศิลปะและ สิ่งสรรคสรางวัฒ นธรรมที่บันเทิงอารมณ ที่ตอบสนอง วิ ถี ชี วิ ตแ บบใ หม ขอ ง เขา ที่ ต อ ง จาก บ าน เกิ ด จากรากเหงา วัฒ นธรรมเดิม มา และแสวงหาวิถี ชีวิ ต และอัตลักษณใหม ทําใหเกิดการผลิตศิลปวัฒนธรรมใน ปริ ม าณมาก ในลั ก ษณะสิ น ค า หรื อ อุ ต สาหกรรม ตอบสนองกระแสนิ ย มทางวั ฒ นธรรมอย า งรวดเร็ ว นิ ย มในระยะสั้ น ๆ แล ว ก็ มี ก ารผลิ ต ระลอกใหม ๆ มาแทน การผลิ ตสิ น ค าและอุ ต สาหกรรมวั ฒ นธรรม แบบนี้ ออกมาตอบสนองความนิยมของคนกลุมนี้เปน จํ า นวนมาก และสามารถแพร ก ระจายกลั บ ไปยั ง ทองถิ่นของชุมชน หรือชนบทเดิมของชนกลุมเหลานี้ ผานการโฆษณาเพื่อสง เสริมการตลาด มีการเผยแพร ผลผลิตทางวัฒนธรรมผานเวทีขนาดใหญในสังคม หรือ ผานสื่อสิ่งพิมพ สื่อวิทยุ และโทรทัศนที่มีการผลิตเปน เทปจํานวนมาก ง. การนําเนื้อหาวัฒนธรรมเกามาปรับเปลี่ยน หรือปรุงแตงใหม ในยุคปจจุบัน การบริโภควัฒนธรรม ของไทยเปลี่ยนไป ดังนั้น วัฒนธรรมรูปแบบเดิมอาจถูก นํามาปรับเปลี่ยนสรางสรรคใหมสําหรับคนรุนใหมและ สําหรับ คนนอกวัฒนธรรมที่ไ ม รูจั กวัฒ นธรรมดั้ง เดิ ม เมื่ อ วั ฒ นธรรมกลายเป น การค า และผลิ ต ตาม กระบวนการอุตสาหกรรม มีการแสวงหาวัตถุดิบ มีการ นํ า เข า สู ก ระบวนการผลิ ต ที่ ใ ช ทั้ ง คนและเทคโนโลยี ก็ เ กิ ด มี ป ระเด็ น เรื่ อ งการแบ ง ป น ผลประโยชน เช น ค า เขี ย นบท ค า วั ต ถุ ดิ บ ค า ตอบแทนนั ก แสดง และ ศิลปน และคาจางผูผลิตดานเทคนิคและการตลาดที่เขา มาเกี่ยวของ จึงมีประเด็นเรื่องทรัพยสินทางปญญาทาง วัฒนธรรมเขามาเปนประเด็นโตแยงในเวทีการคาโลก ดวย จ. วัฒ นธรรมใหมที่มีการสรางสรรคผานสื่อ แบบใหม (new media) โดยใชคอมพิว เตอรและ เทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศสมัยใหมในการผลิต และการเผยแพรผานสื่ออินเตอรเน็ต และผานเครือขาย สั ง คมสมั ย ใหม นิ ย มแพร ห ลายม าก ใน หมู ผู ใ ช
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๑๓
คอมพิวเตอรทั่วโลกทุกเพศทุกวัย ซึ่งกําลังเพิ่มจํานวน อยางรวดเร็วในปจจุบัน นิยมมากที่สุดในหมูเด็กและ เยาวชนรุนใหม และกลุมชนที่เชื่อมโยงกันเปนเครือขาย สัง คมออนไลน ทุก คนอาจสร างสรรคและแสดงออก รวมทั้ ง แบ ง ป น การบริ โ ภคได อ ย า งรวดเร็ ว และเสรี แต มี ป ระเด็ น เรื่ อ งลิ ข สิ ท ธิ์ แ ละป ญ หาการละเมิ ด การหลอกลวง ตลอดจนอาชญากรรมอื่ น ๆ เข า มา เกี่ยวของดวยมาก ทั้ง หมดนี้ ก็เ ป น กรอบกว า ง ๆ สํ าหรั บการ ดําเนิน การสรางสรรคท างวั ฒนธรรมของอาเซีย นใน อนาคต
๓.เพลงชาติอาเซียน: อัตลักษณอาเซียนที่เพิ่ง สรางขึ้นใหม
แม ยั ง ไม เ ป น ที่ เ ข า ใจชั ด เจนว า อั ต ลั ก ษณ อาเซี ย นคื อ อะไร และจะสร า งขึ้ น ได อ ย า งไร แต ที่ ผานมา อาเซียนก็ไดเริ่มตนโดยสรางความรูสึกรวมกัน ในอาเซียนผานโครงการทางวัฒนธรรมที่ดําเนินไปใน COCI เช น ในโครงการเกี่ ย วกั บ โบราณสถานและ พิพิ ธ ภั ณฑ โครงการด า นดนตรี และศิ ลปะการแสดง หรือโครงการเกี่ยวกับสิ่งทอตามประเพณีเดิม ซึ่ง ลวน เสนอจุดรวมทางดานอัตลักษณวัฒนธรรมทั้งสิ้น ดังจะ ไดกลาวในรายละเอียดเกี่ยวกับ COCI ในชวงตอไป นอกจากนี้ ยังไดมีการสรางเพลงชาติอาเซียน ขึ้น ใช ร วมกั น ในงานพิ ธีต า งๆ ของอาเซี ย น เพื่ อ เป น อั ต ลั ก ษณ ร ว มกั น ของอาเซี ย น เพลงชาติ อ าเซี ย นนี้ ประเทศไทยโดยกระทรวงวัฒนธรรมไดคัดเลือกผลงาน ของนักแตงเพลงชาวไทยที่ไดสงบทนิพนธทั้งดนตรีและ คํารอ งมาเขา ประกวด เพื่ อคัด เลือ กให เปน เพลงชาติ อาเซี ย น และในที่ สุ ด คณะกรรมการนานาชาติ ไ ด คัดเลือกผลงานของคนไทย หนึ่งรายการ จากบทเพลง ที่ทุกประเทศสงมา ๙๙ รายการ ใหเปนเพลงชาติของ อาเซียน ( ASEAN Anthem) ไปแลว โดยใชบรรเลงใน งานพิ ธี ต า งๆ ของอาเซี ย น เพื่อ แสดงอั ตลั ก ษณ ข อง อาเซียน เพลงชาติอ าเซีย นที่ ไ ดรั บเลือ กนี้ ชื่ อ เพลง The ASEAN Way ประพันธ บทรอง ทํานอง และ เรียบเรียง โดย นายกิตติคุณ สดประเสริฐ นายสําเภา
ไตรอุดม และนางพยอม วลัยพัชรา เริ่มใชบรรเลงอยาง เป น ทางการครั้ ง แรกในพิ ธี เ ป ด การประชุ ม สุ ด ยอด อาเซี ยน ครั้ง ที่ ๑๔ ในวัน ที่ ๒๘ กุม ภาพัน ธ ๒๕๕๒ ที่ อํ า เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ มี เ นื้ อ ร อ ง ภาษาอังกฤษดังนี้ Raise our flag high, sky high Embrace the pride in our heart ASEAN we are bonded as one Look-in out-ward to the world. For peace, our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream we care to share. Together for ASEAN we dare to dream, we care to share for it's the way of ASEAN. เนื้อรอง ภาษาไทย พลิ้วลูลม โบกสะบัด ใตหมูธงปลิวไสว สัญญาณแหง สัญญาทางใจ วันที่เรามาพบกัน อาเซียน เปนหนึ่ง ดังที่เราปรารถนา เราพรอมหนาเดินไปตรงนั้น หลอหลอมจิตใจ ใหเปนหนึ่งเดียว อาเซียนยึดเหนี่ยวสัมพันธ ใหสังคมนี้ มีแตแบงปน เศรษฐกิจ มั่นคง กาวไกล เพลงชาติอาเซียนนี้ ไดมีการนํามาเรียบเรียง เปนทางแจสบาง ปอปบาง และเปดในงานของอาเซียน ตามโอกาส แมว าในขณะนี้ ยั ง ไมติ ด ตลาดจนถื อเป น เพลงฮิตของอาเซียน ไมเหมือนเพลงลอยกระทงของครู เอื้อที่รอง และเลนกันในทุกงานอาเซียนมานานป หรือ แมแตเพลงของพี่เบิรด ธงไชย เชนสบายๆ ที่นักแสดง ชาติตางๆ ของอาเซียนได ฟง แลวตางรูจักและรองได ในยุคหนึ่ง เชน เพลง "สบายๆ" เพราะเปน ความชอบ ความนิยม ความรูสึกใกลตัวใกลใจกัน จากความรูสึก
๑๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
และจิตใจของผูคน แตเพลงชาติก็ถือเปนสัญลักษณทาง ราชการของอาเซียนที่มุง จะใหเกิดความรับรูถึงความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกันของอาเซียนตอไปในอนาคต
๔.โครงการความรวมมือดานวัฒนธรรมใน ระหวางประเทศสมาชิกทั้ง ๑๐ ของ อาเซียนที่ผานมา
จากการศึกษาเปรียบเทียบขอมูลการบริหาร จั ด การ การส ง เสริ ม ทํ า นุ บํ า รุ ง และการเผยแพร วัฒนธรรมของประเทศสมาชิกในอาเซียน จะเห็นไดวา ประเทศส ว นใหญ เ ห็ น ว า วั ฒ นธรรมเป น เรื่ อ งที่ มี ความสําคัญ สูง ในนโยบายของประเทศ และต างเห็ น พองตองกันวา การปกปองคุมครอง การจัดแสดงและ การส ง เสริ ม กิ จ กรรมทางวั ฒ นธรรม เช น การแสดง ดนตรี การฟอนรํา การแสดงออกทางศิลปหัตถกรรม และวรรณกรรม งานประเพณี ตลอดจนมรดกทาง โบราณสถาน สถานที่จัดแสดงต าง ๆ เชน พิ พิธภัณ ฑ หอศิ ล ปะ โรงละคร และลานการแสดงกลางแจ ง เปน ตน จะเป น การประชาสั มพั น ธภ าพลักษณดี มาก ใหกับอาเซียน ในระยะแรก ๆ ของการก อ ตั้ ง อาเซี ย น ฟลิปปน สไ ดเสนอจะใหมีศูน ยวัฒ นธรรมอาเซียนเปน ศู น ย ร ะดั บ ภู มิ ภ าคแต ใ ห ตั้ ง เป น การ ถาว รอยู ที่ กรุงมะนิลา แตประเทศสมาชิกไมสนับสนุน และตอมา เมื่อมีการตั้ง กองทุน วัฒ นธรรมอาเซียนโดยญี่ปุน และ ประเทศสมาชิกรวมกันบริจาคนั้น อาเซียนจึงไดตกลงที่ จะใหมีโ ครงการรว มมือ แลกเปลี่ ยนระหวางประเทศ อาเซียนดวยกันในดานวัฒนธรรม เปนโครงการแตละ ปไ ป โดยมีคณะกรรมการดานวัฒ นธรรมและสื่อสาร ของอาเซี ย น (committee on Culture and Information) เปนกลไกประสานความรวมมือในการ คั ด เลื อ กกิ จ กรรมความร ว มมื อ ทางวั ฒ นธรรม และ การสื่อสารระหวางประเทศดานตางๆ ปละประมาณ ๕ - ๑๐ โครงการและประเทศทุกประเทศในอาเซียน หมุนเวียนกันเปนเจาภาพ โดยสํานักเลขาธิการอาเซียน จัดสรรงบประมาณจากกองทุนอาเซียนมาเปนคาใชจาย คณะกรรมการดา นวัฒนธรรมและสื่ อ สาร (Committee on Culture and Information หรือ
COCI) นี้ ตั้ง ขึ้ น มาตั้ ง แต ป ค.ศ. ๑๙๗๘ และได ทํ า หน าที่ เ ป น ก ล ไ ก สํ า คั ญ ใน ก าร กํ าหน ด ทิ ศทา ง การดํ า เนิ น งาน และคั ด เลื อ กโครงการที่ เ หมาะสม ด า นวั ฒ นธรรม และสื่ อ สารที่ ป ระเทศสมาชิ ก ของ อาเซียนสนใจรวมกันมากวา ๓๐ ปแลว โดยมุงสงเสริม ความเขาใจอันดี และความใกลชิดระหวางประชาชน และสร า งสรรค ก ารพั ฒ นาในภู มิ ภ าคให เ พิ่ ม ขึ้ น โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนวัฒนธรรม ของอาเซียน ( ASEAN Cultural Fund) ซึ่ง ไดรับ บริจาคจากญี่ปุนและประเทศอื่นๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการด า นวั ฒ นธรรม และสื่อสารของอาเซียนหรือ COCI ยังไดเปดรับที่จะมี ความร ว มมื อ กั บ คู เ จรจาต า งๆ เช น อาเซี ย นกั บ ออสเตรเลีย อาเซียนกับแคนาดา อาเซียนกับเกาหลี อาเซียนกับสหรัฐอเมริกา อาเซียนกับ อี ซี อาเซียนกับ UNDP เปนตน โครงการตางๆ ของ COCI ที่ไ ดดําเนินมา ตั้งแตป ค.ศ.๑๙๘๐ ถึง ๒๐๑๒ มีดังนี้ ก ในด า นวรรณกรรมและอาเซี ย นศึ ก ษา (Literary and ASEAN Studies) อาทิ ๑. Exchange of Persons and Fellowships (In South-East Asian Studies) ๒. Anthology on ASEAN Literatures ๓. Conference on ASEAN Literatures (Traditional and Modern) ๔. Literary Resource Materials for Drama Presentations ข ในดานจดหมายเหตุและหลักฐานเอกสาร Archives and Documentation อาทิ ๑. Shipping Meritime and Waterways ๒. ASEAN Colloquium on Oral History ๓. Exchange of ASEAN Archivists ๔. Joint ASEAN Oral History Project to Interview Senior ASEAN Statesmen
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๑๕
ค ในดานหองสมุดและทรัพยากรในหอสมุด Libraries and Library Resources อาทิ ๑. Exchange of ASEAN Librarians ๒. Library Networking and Interchange of Materials among ASEAN Libraries ๓. Study on the Promotion of Reading Habits by ASEAN Libraries “Reading for All” ๔. Quality Service for All: Management Training Programme for ASEAN Senior Librarians ๕. Conference on ASEAN Book Development “Books for All” ง ในดานมรดกวัฒนธรรม Cultural Heritage อาทิ ๑. Intra-ASEAN Archaeological Excavation and Conservation ๒. Exploration of Historical and Cultural Sites of ASEAN ๓. Exchange of Curators of Ethnography on the Material Culture of Peoples of Southeast Asia ๔. Exchange of Curators of Art, Museum/Galleries ๕. Seminar on Museology from ASEAN Perspectives: Planning and Display of History Museum Exhibits in An ASEAN Setting Archives and Documentation จ ในด า นสิ่ ง พิ ม พ แ ละการทํ า หลั ก ฐาน เอกสาร Publication / Documentary อาทิ ๑. Publication of Directory of ASEAN Museums ๒. Children’s Book and Source Materials on ASEAN Cultures ๓. Publication on ASEAN Comparative Librarianship
Heritage
๔. Publication on ASEAN Cultural
ฉ ในดานทัศนศิลป Visual Arts อาทิ ๑. ASEAN Sculpture Symposium ๒. ASEAN Youth Painting Workshop and Exhibition ๓. ASEAN Youth Sculpture Workshop and Exhibition ๔. Photographic Folio on the ASEAN Sculptures ๕. ASEAN Visual Arts Education Symposium and Workshop ช ในดานศิลปะและชางหัตถกรรม Arts and Crafts อาทิ ๑. Comparative Study of Folk Arts and Indigenous Architecture in ASEAN Countries ๒. ASEAN Traditional Folk Arts and Craft Workshop ๓. People-to-People Exchange Programme: ASEAN Cultural Interaction at the Grassroots (๒๐๐๐-๒๐๑๐) ๔. Bamboo: The Staff of Life, ASEAN Bamboo Cultural Resources Development Programme (FY ๒๐๐๒/๒๐๐๓) ซ. ใ น ด า น กา รฟ อ น รํ า ล ะคร แ ล ะ ศิลปะการแสดง Dance / Drama / Performing arts อาทิ ๑. Study of Basic Traditional Dance, Music, Choreography and Visual Arts ๒. Artistes-in-Residence ๓. ASEAN Artistes Creative Interaction ๔. ASEAN Festival of Performing Arts
๑๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ฌ ในดานดนตรี Music อาทิ ๑. Preservation of Traditional Technology (Workshop on the Manufacture of Brass Musical Instruments) ๒. ASEAN Youth Music Workshop ๓. ASEAN Composers Forum on Traditional Music อาทิ
ญ ในดาน การจัดนิทรรศการ Exhibition
๑. Exhibition of Photographs on ASEAN Cultural Heritage ๒. ASEAN Exhibition of Children’s Art ๓. Travelling Exhibition of Paintings and Photographs ๔. ASEAN Travelling Exhibition of Paintings, Photography and Children’s Arts ฎ ในดานคายเยาวชน. Youth Camp อาทิ ๑. ASEAN Youth Friendship Camp ๑๙๙๘: Nature Hug (Philippines) ๒. ASEAN Youth Friendship Camp ๑๙๙๙: The Study of Cultural Heritage (Thailand) ๓. ASEAN Youth Camp 2001: Trail of Unit (Malaysia) ๔. ASEAN Youth Camp 2002: Honouring Kindness Through the Arts (Myanmar) ฏ ในดาน อุตสาหกรรมสรางสรรค Creative Industries ๑. Towards a Regional Cultural Enterprise : A Forum on the ASEAN SMCEs (๒๐๑๐) ๒. Arts Management Series in the Creative Industries (2010)
นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่อาเซียนรวมจัดกัน กับคูเจรจา (ASEAN-Dialogues) ดังนี้ ASEAN-Australia ๑. Art Museum Professional Workshop and Study Tour ๒. A Regional ASEAN Policy and Strategy for Cultural Heritage ๓. Developing an ASEAN Model for Cultural Mapping ASEAN-China ๑.Joint Experts Meeting for the Establishment of a Programme Framework on ASEAN-China Cultural Cooperation (FY2003/2004) ๒.ASEAN-China Cultural Performance and Symphony Orchestra ๓.ASEAN-China Youth Camp (Thailand, Myanmar, China; 2010)
Mission (2003)
ASEAN-Japan ๑.ASEAN-Japan Multinational Cultural ๒.ASEAN-Japan Symphony Orchestra
๓.ASEAN-Japan Children’s Kindness Installation Project ASEAN-Republic of Korea ๑.ASEAN-ROK Study Tour of Korean Libraries by Senior Librarians ๒.ASEAN-ROK Cultural Leadership Exchange Programme ๓.Korea-ASEAN Artists Exchange Fellowship Programme
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๑๗
ASEAN-New Zealand ๑. ASEAN-New Zealand InterInstitution Linkages Programme: Sharing of Library Resources on Ethnobotany ASEAN+3 ๑.The Networking of East Asian Culture Heritage (NEACH) (Thailand, China, Myanmar, Malaysia, Japan; 2005/ 2006/ 2007/ 2008/ 2009) ๒.The 10+3 Training Program on Cooperation for Cultural Human Resource Development (China, 2006/2007/2008/2009) ๓.ASEAN+3 Workshop on Risk Preparedness for the Preservation of Cultural Heritage (Thailand, 2009) ๔.ASEAN+3 Workshop on the Role of Movies in Promoting East Asia (Thailand, 2009) (ข อ มู ล จาก งานร ว มมื อ อาเซี ย น สตสป กระทรวงวัฒนธรรม ) จาก โครงการของ COCI ที่นํามาสรุปหัวขอ เปนภาษาอังกฤษเสนอไวขางตน จะเห็นวามีครอบคลุม ทุกดาน กิจกรรมเหลานี้ชวยกระชับมิตรภาพในระดับ ศิลปนและผูปฏิบัติงานวัฒนธรรม และสรางภาพลักษณ ของประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น ที่ ห ลากหลายกั น แตมารวมกัน ไดในระดับศิลปน กับศิลปน ชางฝมือกับ ชางฝมือ ประชาชนคนดูกับศิลปน เปนตน ชวยใหเกิด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู เ พื่ อ เสริ ม สร า งความคิ ด สร า งสรรค ใ หม ๆ ให ม ากขึ้ น และยั ง ส ง เสริ ม ให ภาพลักษณของอาเซียน มีความโดดเดนชัดเจนขึ้นใน สายตาของประชาชนอาเซี ย นเอง ผ า นสื่ อ มวลชน อาเซี ย น และออกปรากฏสู ส ายตาชาวโลกด ว ย นอกจากนี้ผลของกิจกรรมหลายด านที่ ไ ดตี พิมพ เป น รู ป เล ม หรื อ ผลิ ต ออกเป น วี ดี ทั ศ น เทป ซึ่ ง เป น ทรัพยากรสําหรับการศึกษาคน ควา และใชประโยชน ตอ ไปในอนาคต อย า งไรก็ ต ามหนั ง สือ สิ่ ง พิม พ แ ละ วี ดี โ อเหล า นี้ ล ว นใช ภ าษาอั ง กฤษเป น สื่ อ ทํ า ให
ประชาชนชาวอาเซียนจํานวนมาก รวมทั้งคนไทย ที่ไม เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษรับรูไดไมมากเทาที่ควร.
สรุป
ในปจจุบันในประเทศไทย มีการพูดคุยและ สร า งความรู ค วามเข า ใจในเรื่ อ งการเตรี ย มตั ว เข า สู ประชาคมอาเซียนกันมาก อยางไรก็ตามการพูดคุยและ สรางความเขาใจเหลานั้นยัง เนนในเรื่อง “ประชาคม เศรษฐกิจ” แตดานเดียว ทั้ง ๆ ที่ เปาหมายของการ สรางประชาคมอาเซียนเปนหนึ่งนั้น ตั้งอยูบนเสาหลัก ๓ ดา น คื อ ๑.เสาหลั กประชาคมอาเซีย นดา นความ มั่นคง ๒.เสาหลักประชาคมอาเซียนดานเศรษฐกิจ และ ๓.เสาหลักประชาคมอาเซียนดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งดานที่ ๓ นี้ มีรายละเอียดมากมาย เพราะครอบคลุม งานที่ เ กี่ ย วกั บ ประชาชนในระดั บ ต า ง ๆ ทั้ ง ด า น สวัส ดิก ารสัง คม ดา นการศึก ษา ดา นสุ ขภาพอนามั ย และดานวัฒนธรรม ซึ่งดานวัฒนธรรมเพียงเรื่องเดียว นั้น ก็มีประเด็นที่สลับซับซอนที่ตองชวยกันคิดชวยกัน สรางสรรค ดัง ไดวิเคราะหไวขางตนแลว มิฉะนั้นการ รวมกั น เป น ประชาคมหนึ่ ง เดี ย วกั น ก็ ค งจะแบ ง แยก แบ ง ส วน แบง กลุ มกั น ตามแต วั ฒ นธรรมของกลุ ม ใด สวนใด จะเชื่ อมถึง กันไดเ ปนสวน ๆ โดยไมร วมกลุ ม ตาง ๆ ใหยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน และอยูรวมกัน ดว ยสํ านึ ก ร วมกั น ว าพวกเราเปน ประชาคมเดี ย วกั น และต อ งอยู ร ว มกัน อย า งเป น สุ ข ชว ยกั น สรา งความ ไพบูลยพัฒนาใหแกประชาคมอาเซียนโดยรวมใหได
บัญชีภาพประกอบ
ประชุมอาเซียนภูเก็ต. (๒๕๕๒, กรกฎาคม ๑๗). คนเมื่อ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๖ จาก www. chaoprayanews. com ไหมไทย. (๒๕๕๔, มีนาคม ๒) คนเมื่อ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๖ จาก www.homeheangsilk.com “โอฬาร” ชี้สรางแบรนดขาวหอมมะลิไทยเพื่อการจดจํา . (๒๕๕๕, พฤศจิกายน ๑๓). คนเมื่อ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๖ จาก www.mcot.net
๑๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
๒๐ เรื่องควรรูเกี่ยวกับอาเซียน วิราวรรณ สมพงษเจริญ * 1
สัญลักษณของอาเซียน
เมื่อพูดถึงคําว า “อาเซียน” มักจะนึกถึงการรวมตัวของ ๑๐ ประเทศในภูมิภาคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใตเพื่อผลประโยชนทางเศรษฐกิจ อาเซียนไมใชเรื่องใหมสําหรับสังคมไทย ดังเห็นได จากการสืบคนคําวา อาเซียน ในหองสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร พบวามีรายการเกี่ยวกับอาเซียนถึง ๔๕๐ รายการ พบทั้ง วิทยานิพนธ หนังสือ บทความ รายงานการ วิจัย รายงานการสัมมนา ภาพถาย เกี่ยวกับอาเซียนมากมาย เรื่องราวที่มีการศึกษาเกี่ยวกับอาเซียน มีทั้งการเมือง การปกครอง สงคราม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วรรณกรรม ภาพถาย หนังสือเลม แรกที่กลาวเกี่ยวกับความเปนมาของอาเซียน (สังเกตจากปที่พิมพ) ไดแก หนังสือนิทรรศการศิลปะ และภาพถ ายของประเทศสมาชิกอาเซี ยน ณ ศูน ยแสดงสิน คาอาเซี ยน ๗ สิง หาคม - ๖ กัน ยายน พ.ศ. ๒๕๑๘ ตีพิมพเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ ดังนั้น เรื่องราวเกี่ยวกับอาเซียนเปนสิ่งที่ผูคนรับรูมาโดยตลอด สิ่งที่นาสังเกต คือ ผูคนใหความสนใจอาเซียนอยางมากเนื่องจากการเขาใกลสูความเปนประชาคม อาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ สงผลใหผูคนตื่นตัวและมีความพยายามเตรียมความพรอมหลายอยางใน การเขาสูประชาคมดังกลาว ผูเขียนขอเสนอเรื่องควรรูเกี่ยวกับอาเซียนดังนี้ * อาจารยประจํากลุมวิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๑๙
๑. กําเนิดและวัตถุประสงคของการอาเซียน สมาคมประชาชาติ แ ห ง เอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต“ หรือ “อาเซียน” (ASEAN) กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๘ สิง หาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ ณ วัง สราญรมย (ที่ ตั้ง ของ ก ร ะ ทร ว ง ก า ร ต า ง ป ร ะ เ ท ศไ ท ย ใ น ข ณ ะ นั้ น ) รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงการต า งประเทศของ ๕ ประเทศในภูมิภ าคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต ไดแ ก อิน โดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปน ส สิง คโปร และไทยลง นามใน “ปฏิญญากรุงเทพ” (Bangkok Declaration) เพื่ อ จั ด ตั้ ง สมาคมความร ว มมื อ ในระดั บ ภู มิ ภ าคของ ประเทศตาง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตภายใตชื่อ “สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต“ หรือ “อาเซียน” (ASEAN) ซึ่งเปนตัวยอของ Association of Southeast Asia ปฏิ ญ ญากรุ ง เทพ ได ร ะบุ วัตถุประสงคสําคัญ ๗ ประการของการจัดตั้งอาเซียน ไดแก (๑) สงเสริมความรวมมือและความชวยเหลือ ซึ่ ง กั น และกั น ในทางเศรษฐกิ จ สั ง คม วั ฒ นธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร และการบริหาร (๒) ส ง เสริ ม สัน ติ ภาพและความมั่น คงส ว น ภูมิภาค (๓) เสริ ม สร า งความเจริ ญ รุ ง เรื อ งทาง เศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค (๔) สง เสริมใหประชาชนในอาเซียนมีความ เปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดี (๕) ให ความชว ยเหลือซึ่ ง กัน และกัน ในรู ป ของการฝกอบรมและการวิจัย และสงเสริมการศึกษา ดานเอเชียตะวันออกเฉียงใต (๖) เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของการเกษตรและ อุตสาหกรรม การขยายการคา ตลอดจนการปรับปรุง การขนสงและการคมนาคม (๗) เสริ ม สร า งความร ว มมื อ อาเซี ย นกั บ ประเทศภายนอก องคการ ความรวมมือแหงภูมิภาค อื่นๆ และองคการระหวางประเทศ ๒. สัญลักษณของอาเซียน สัญ ลักษณของอาเซียน คือ ตนขาวสีเหลือง ๑๐ ตนมัดรวมกันไว หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตทั้ง ๑๐ ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพ และความเป น น้ํ า หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น สี ที่ ป รากฏใน สัญ ลั กษณของอาเซี ยนเป นสีที่ สํา คัญ ของธงชาติ ของ แตละประเทศสมาชิกอาเซียน ไดแก สีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความกลา หาญและความกาวหนา สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุงเรือง๒
๓. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
กฎบั ตรอาเซี ยน (ASEAN Charter) คื อ ธรรมนูญ อาเซียนที่จะมีการวางกรอบของกฎหมาย และโครงสร า งองค ก รเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของ อาเซี ย นในการขั บ เคลื่ อ นเพื่ อ การเป น ประชาคม อาเซียนภายในป ค.ศ. ๒๐๑๕ (พ.ศ.๒๕๕๘) เพื่อให อาเซี ย นเป น องค ก รระหว า งรั ฐ บาลในภู มิ ภ าคที่ มี ประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเคารพใน กติกาการทํางานระหวางกันมากยิ่งขึ้น ๓
๔. สํานักเลขาธิการอาเซียน สํานักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ทําหนาที่เปนศูนยประสานงานใน การดํ า เนิ น ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศสมาชิ ก มีเ ลขาธิ ก ารอาเซี ย นเป น หั ว หน า ผู บ ริ ห ารสํ า นั ก งาน เลขาธิการอาเซียนจะไดรับการเสนอชื่อและแตงตั้งโดย ประเทศสมาชิก (ตามลําดับตัวอักษรภาษาอังกฤษของ ชื่อประเทศสมาชิก) และมีรองเลขาธิการอาเซียน ๔ คน โดย ๒ คนมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน เรียงลําดับ ตามตั ว อั ก ษรชื่ อ ภาษาอั ง กฤษของประเทศ และอี ก ๒ คน มาจากการคั ด เลื อ กในระบบเป ด สํ า นั ก เลขาธิการอาเซียนจะมีหนวยงานเฉพาะดานที่ดําเนิน ความรวมมือในดานตาง ๆ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สั ง คมและวั ฒ นธรรม ในขณะที่ ก รมอาเซี ย นของ ประเทศสมาชิ ก จะทํ า หน า ที่ เ ป น สํ า นั ก เลขาธิ ก าร แหงชาติของแตละประเทศ ประสานงานกับหนวยงาน ตา ง ๆ ของประเทศตนในการดํา เนิ นกิ จ กรรมความ รวมมือในสาขาตางๆ นโยบายหลักในการดําเนิน งาน ของอาเซียนเปนผลมาจากการประชุมหารือในระดับ หั ว หน ารั ฐ บาล รั ฐ ม นตรี ว าการกระ ทรว งการ
๒๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ตางประเทศ รัฐมนตรีเศรษฐกิจ และรัฐมนตรีในสาขา ความรวมมือตาง ๆ ของประเทศสมาชิก อยางไรก็ตาม โครงสรางของอาเซียนรวมทั้งสํานักเลขาธิการอาเซียน ตามที่ ก ล า วมาข า วต น ถู ก ปรั บ เปลี่ ย นตามกฎบั ต ร อาเซี ย นที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช ตั้ ง แต วั น ที่ ๑๕ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
Services) อาชีพทันตแพทย (Dental Practitioners) แ ล ะ อ า ชี พ แ พ ท ย ( Medical Practitioners) ก า ร เคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรีในกลุม ๗ อาชีพนั้นมีผลดี ตอประเทศไทยเพราะในภาพรวม สถาบันการศึกษา ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาในไทยมี ศั ก ยภาพในด า นการผลิ ต บุคลากรในสายวิชาชีพทั้ง ๗ ไดอยางมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งทําใหผูจบการศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง ๗ ตั้งแตระดับ ปริญ ญาตรี จนถึง ปริ ญ ญาเอกมี ตลาดงานที่ เป ดกวา ง มากขึ้น
๖. เพลงประจําอาเซียน
สํานักเลขาธิการอาเซียน ตั้งอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย
๕. ๗ วิชาชีพที่สามารถยายแรงงานฝมืออยาง เสรีในประชาคมอาเซียน
ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๙ ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ไดกําหนดใหจัดทํา ข อ ตกลงยอมรั บ ร ว มกั น (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด านคุณสมบัติในสาขา วิชาชีพหลักเพื่ออํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยาย นั ก วิ ช า ชี พ ห รื อ แ ร ง ง า น เ ชี่ ย ว ช า ญ ห รื อ ผู มี คว าม สามาร ถพิ เ ศษของ อาเซี ย น ไ ด อ ย า ง เสรี ด า น คุ ณสมบั ติ ใน สาขาอาชี พ หลั ก เพื่ อ อํ า น ว ย ความสะดวกในการเคลื่อ นยา ย นั กวิ ชาชีพ แรงงาน เชี่ ย วชาญ หรื อ ผู มี ค วามสามารถพิ เ ศษได อ ย า งเสรี ขอตกลงเรื่องการเคลื่อนยายแรงงานฝมือไปทํางานใน ประเทศกลุ ม อาเซี ย นทั้ ง ๑๐ ประเทศได อ ย า งเสรี ไดกําหนดครอบคลุม ๗ อาชีพที่มีขอตกลงกัน แลวให สามารถเคลื่อนยายไปทํางานไดอยางเสรี ไดแก อาชีพ วิ ศ วกร (Engineering Services) อาชี พ พยาบาล (Nursing Services) อาชีพสถาปนิก (Architectural Services) อ า ชี พ ก า ร สํ า ร ว จ ( Surveying Qualifications) อ า ชี พ นั ก บั ญ ชี ( Accountancy
เพลงประจําอาเซียนคือ เพลง “The ASEAN Way” ประพั น ธ โ ดย นายกิ ต ติ คุ ณ สดประเสริ ฐ (ทํานองและเรียบเรีย ง) เปน เพลงที่ชนะเลิศจากการ แขงขันระดับภูมิภาคอาเซียน และเริ่มใชบรรเลงอยาง เป น ทางการครั้ ง แรกในพิ ธี เ ป ด การประชุ ม สุ ด ยอด อาเ ซี ย น ครั้ ง ที่ ๑ ๔ ใน วั น ที่ ๒ ๘ กุ ม ภ าพั น ธ พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เพลง “The ASEAN Way” Raise our flag high, sky high ( พลิ้วลูลม โบกสะบัด ใตหมูธงปลิวไสว ) Embrace the pride in our heart ( สัญญาณแหง สัญญาทางใจ ) ASEAN we are bonded as one ( วันที่เรามาพบกัน ) Look-in out-ward to the world. ( อาเซียน เปนหนึ่ง ดังที่เราปรารถนา ) For peace, our goal from the very start
ASEAN
( เราพรอมเดินหนาไปตรงนั้น ) And prosperity to last. ( หลอหลวมจิตใจ ใหเปนหนึ่งเดียว ) WE dare to dream we care to share. ( ใหสังคมนี้ มีแตแบงปน ) Together for ASEAN ( เศรษฐกิจ มั่นคง กาวไกล๕) We dare to dream, We care to share for it's the way of
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๒๑
๗. อาหารยอดนิยมในอาเซียน อาหารยอดนิ ย มในอาเซี ย นน า จะเกิ ด จาก การทําผลสํารวจของแตละประเทศวานิยมหรือนึกถึง อาหารชนิ ด ใดเป น อย า งแรก อาหารยอดนิ ย มของ ๑๐ ประเทศในอาเซียนมีดังนี้ “อั ม บู ยั ต ”(Ambuyat) อาหารยอดนิ ย ม ของประเทศบรูไนดารุสซาลาม ลักษณะเดนคือ เหนียว ขน คล ายข าวต มหรือ โจก ไม มีรสชาติ มีแป ง สาคูเป น สวนผสมหลัก วิธีทานจะใชแทง ไมไผ ๒ ขาซึ่งเรียกวา chandas มวนแปงรอบๆ แลวจุมในซอสผลไมเปรี้ยวที่ เรียกวา cacah หรือซอสที่เรียกวา cencalu ซึ่งทําจาก กะป ทานคูกับเครื่องเคียงอีก ๒-๓ ชนิด เชน เนื้อหอ ใบตองยาง เนื้อทอด เปนตน การรับประทานอัมบูยัต ใหไดรสชาติ ตองทานรอนๆและกลืนโดยไมตองเคี้ยว “อาม็ อ ก”(Amok) อาหารยอดนิ ย มของ ประเทศกัมพูชา มีลักษณะคลายหอหมกของไทย นิยม ใชเนื้อปลาปรุงดวยน้ําพริก เครื่องแกงและกะทิ ทําให สุกโดยการนําไปนึ่ง อาจใชเนื้อไกหรือหอยแทนได แตที่ นิยมใชเนื้อปลาเพราะหาไดงาย “กาโด กาโด”(Gado Gado) อาหาร ยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย เปนอาหารสําหรับผูที่ รักสุขภาพ ประกอบไปดวยผักและธัญพืช เชน มันฝรั่ง กะหล่ําปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว เสริมโปรตีนดวยเตาหูและ ไขตม รับประทานคูกับซอสถั่วที่คลายกับซอสสะเตะ ซึ่งใกลเคียงกับสลัดแขกของประเทศไทย “ซุปไก”(Chicken Soup) อาหารยอดนิยม ของประเทศลาว แกงรสชาติหวานอรอยกลมกลอม ที่มี สวนผสมสําคัญ ไดแก ตะไคร ใบสะระแหน กระเทียม หอมแดง รวมถึง รสชาติ เปรี้ย ว เผ็ ด จากมะนาวและ พริก รับประทานรอน ๆ กับขาวเหนียว ไดคุณคาทาง โภชนาการอาหารและความอรอยไปพรอม ๆ กัน๖ “นาซิ เลอมัก” (Nasi Lemak) อาหารยอด นิยมของประเทศมาเลเซีย เปนใชขาวสวยที่หุงกับกะทิ ทานกับแกงกระหรี่ไก ไมก็แกงกะหรี่ปลาหมึก ไขดาว ไขตม ปลาทอด ถั่วทอด น้ําพริ กรสเผ็ดเค็มและนิย ม ทานกันเปนมื้อเชา “Nem” เปาะเปยะเวียดนาม อาหารยอด นิยมของประเทศเวียดนาม เปนหนึ่งในอาหารพื้นเมือง
ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากที่ สุ ด ในเวี ย ดนาม แผ น เปาะเป ย ะ ทํ า จากแผ น แป ง ที่ ทํ า จากข า วเจ า โดยไส เ ปาะเป ย ะ อาจเปนไก หมู กุง หอรวมกับผักตาง ๆ นับเปนอาหาร ยอดนิยมที่สามารถรับประทานไดทั่วไปในเวียดนาม “อโดโบ” (Adobo) อาหารยอดนิ ย มของ ประเทศฟ ลิ ป ป น ส เป น อาหารที่ มี ต น กํ า เนิ ด มาจาก ภาคเหนือของฟลิปปนสและเปนที่นิยมของนักเดินทาง หรือนักเดินเขา อโดโบทําจากหมูหรือไกที่ผานกรรมวิธี หมั ก และปรุ ง รสโดยจะใส ซี อิ๊ ว ขาว น้ํ า ส ม สายชู กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดํา นําไป ทําใหสุก โดยใสในเตาอบหรือทอด และรับประทานกับขาว “ลั ก สา” (Laksa) เป น ก ว ยเตี๋ ย วต ม ยํ า (ใส ก ะทิ ) อาหารยอดนิ ย มของประเทศสิ ง คโปร เปนกวยเตี๋ยวตมยํา (ใสกะทิ) มีลักษณะคลายขาวซอย ของไทย โดยเส น ก ว ยเตี๋ ย วจะมี ลั ก ษณะคล า ย vermicelli ซึ่งเปนหนึ่งในเสนสปาเกตตีของอิตาลี “หลาเพ็ด” (Lahpet) อาหารยอดนิยมของ ประเทศพมา เปนอาหารยอดนิยมของพมา โดยการนํา ใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เชน กระเทียมเจียว ถั่วชนิดตาง ๆ งาคั่ว กุงแหง ขิง มะพราวคั่ว เรียกไดวา มีลั กษณะคล ายคลึง กั บเมี่ ยงคํ าของประเทศไทย ซึ่ ง หลาเพ็ดนี้ จะเปนเมนูอาหารที่ขาดไมไดในโอกาสพิเศษ หรือเทศกาลสําคัญ ๆ ของประเทศพมา โดยกลาวกัน วา หากงานเลี้ยง หรืองานเฉลิมฉลองใด ไมมีหลาเพ็ด จะถือวาการนั้นเปนงานที่ขาดสมบูรณไปเลยทีเดียว “ตมยํากุง” (Tom Yam Goong) อาหาร ยอดนิ ย มของประเทศไทย การปรุ ง ต ม ยํ า กุ ง จะเน น รสชาติเปรี้ยวและเผ็ดเปนหลัก จะออกเค็มและหวาน เล็ ก น อ ย มี เ ครื่ อ งเทศที่ ใ ส ใ นน้ํ า แกงที่ สํ า คั ญ คื อ ใบมะกรู ด ตะไคร ส ว นผั ก ที่ นิ ย มใส ใ นต ม ยํ า ได แ ก มะเขือเทศ เห็ดฟาง เห็ดนางฟา ใบผักชี สวนเครื่องปรุง ที่ จํ า เป น ต อ งใส คื อ มะนาว น้ํ า ปลา น้ํ า ตาล และ น้ําพริกเผา
๒๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
อัมบูยัต (Ambuyat) อาหารยอดนิยมของประเทศบรูไนดารุสซาลาม
อโดโบ (Adobo) อาหารยอดนิยมของประเทศฟลิปปนส
หลาเพ็ด (Lahpet) อาหารยอดนิยมของประเทศพมา อาม็อก (Amok) อาหารยอดนิยมของประเทศกัมพูชา
กาโด กาโด (Gado Gado) อาหารยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๒๓
๘. รูจักภาษาอาเซียน
เ มื่ อ ผู ค น เ ข า สู ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น การติดตอสื่อสารเปน สิ่ง สําคัญ ที่จะทําใหเราสามารถ ปฎิสัมพันธกับผูคนหลากหลายชาติพันธุได สังเกตไดวา มี ก ารสอนภาษาต า งๆ ของอาเซี ย นทั้ ง คํ า ทั ก ทาย คําขอบคุณ คําบอกรัก ฯลฯ ตารางที่ ๑ ผูเขียนสัง เกตวาเปน การสอนภาษาอาเซียน ในเบื้ อ งต น เท า นั้น ซึ่ง ไมส ามารถทํ าให เราสื่อ สารได
การทักทาย ภาษาพมา
ภาษา เวียดนาม
ภาษาลาว
ภาษา อินโดนีเซีย
ภาษา มาเลย
ภาษาเขมร
-
-
ซัวซะไดย
สวัสดี
มิงกาลาบา
ชินจาว
สะบายดี
สวัสดีตอนเชา
”
”
”
สวัสดี ตอนบาย
”
”
”
สวัสดีตอนเย็น
”
”
”
ราตรีสวัสดิ
”
”
”
ลากอน
ตุย บา โอง แม
ตั่ม เบียด
ลากอน
ขอบคุณ
เจ ชู ติน บา เด
กาม เอิน
ขอบใจ
สบายดีไหม
สบายดี
เน เกา บา ตะลา ?
เน เกา บา เด
อยางแทจริงเพราะเราไมไ ดเรียนลงไปถึงไวยกรณของ ภาษานั้น ๆ จึง ไมสามารถสรางประโยคเพื่อสื่อสารได อีก ทั้ง เราไมมี ความนิย มในการเรี ยนภาษาเหลา นี้ม า ตั้งแตแรก ดังเห็นไดจากภาษาที่เรามักถูกบังคับใหเรียน คือ ภาษาอัง กฤษ ภาษาจีน เปนตน ดังนั้นการสื่อสาร กับผูคนในอาเซียนจึงขึ้นอยูกับความสามารถของแตละ บุคคล
แอง กอ แขว คง ? (สําหรับผูชาย) จิ กอ แคว สะบายดี บ ? คง ? แอม กอ แขว คง ? (สําหรับผูหญิง)
แขว
สะบายดี
เซอลามัต เซอลามัต อรุณ ปาก ปาก ซัวซะไดย เซอลามัต เซอลามัต ทิเวียร เชียง เปอตัง ซัวซะไดย เซอลามัต ” ” โซเร เซอลามัต มา เซอลามัต มา เรีย เตร็ย ซัว ลาม ลาม ซะไดย เซอมามัต เซอมามัต ติงกาล ติงกาล เลีย เซ็น ไฮย เซอลามัต เซอลามัต จาลัน จาลัน เตอริมา กา เตอริมา กา ออ กุน สีห สีห
อาปา กา บาร
อาปา กา บาร
โก ซับบัย เต (เสียงสูง)
กาบาร บาอิก/ บาอิก บาอิก ซาจา
กาบาร บา อิก
โซก ซับบัย เต
(เสียงกลาง)
ตาราง ๑ : ที่มา : www.triphathara.com/news.php?readmore=๖๑
ภาษา ตากาล็อก กุมุสตา/ มาบูเฮย มากันดัง อูมากา มากันดัง ฮาปอน มากันดัง กาบี ” ปาลาม ซาลามัต
กุมุสตา กา
มาบูตี นา มาน
๒๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
๙. รายการทีวีเกี่ยวอาเซียน
การสร างความเขา ใจเกี่ ยว ๑๐ ประเทศใน อาเซียนสวนหนึ่งเกิดจากคานิยมของสังคมไทยมีความ สนใจในการเรียนรูและศึกษาเกี่ยวประเทศเพื่อนบาน น อ ย ม า ก ดั ง เห็ น ไ ด จ าก ร าย ก าร ที วี เ กี่ ยว กั บ การท อ งเที่ ย วเน น ไปที่ ยุ โ รป จี น เกาหลี และญี่ ปุ น แตภายหลังเมื่ออาเซียนไดรับความสนใจมากขึ้น ทําให เกิดรายการเกี่ยวกับอาเซียนเพื่ออิงกระแสสังคม อาทิ รายการอาเซี ยนที วี รายการอาเซี ย นโฟกั ส รายการ ASEAN Beyond 2015 รายการ ASEAN JOURNEY รายการเรียลลิตี้ที่ ๙ ดารา ๙ ครู ตองไปทําภารกิจใน ๙ ประเทศอาเซียน (ไมใ ช ๑๐ ประเทศเพราะดารา เหลานี้มาจากเมืองไทย) รวมทั้งคลิปวิดีโอตางๆในยูทูป อาทิ คลิปมองโลกแบบวิกรม ตอนที่ ๑ ๐๒/๐๗/๕๕ ตอน เหตุใดจึงเกิดอาเซียน คลิปมองโลกแบบวิกรม คือ รายการที่จะทําใหผูชมเขาใจถึง ความสําคัญ ของคําวา "ประชาคมอาเซียน" คลิปอาเซียน : เรียนรูประเทศ เวียดนาม เรียนรูขอมูลเกี่ยวกับประเทศเวียดนาม หรือ คลิ ป การแสดงชุ ด นี้ ชื่ อ "การเตรี ย มเข า สู ป ระชาคม อาเซียน" ของโรงเรียนชุมชนบานเขาแกว ไดจัดทําขึ้น เพื่ อ ส ง เข า ประกวด "การแข ง ขั น เวที ส ร า งสรรค สู ประชาคมอาเซียน" รายการเหลานี้เปนสวนหนึ่ง ของ ความพยายามในการทํ าความรูจักกับ อาเซีย น ทําให ผูคนเกิดความรูและความเขาใจในระดับหนึ่งขึ้นอยูกับ วาจะสามารถนําความรูเหลานั้นไปประโยชนในดานใด
๑๐. คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคม อาเซียน
สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐานไดมีการจัดประชุมและประชาพิจารณบุคลากร ที่เกี่ยวของโดยตรง ผูมีสวนเกี่ยวของกับการเตรียมการ และดํ า เนิ น การก า วสู ป ระชาคมอาเซี ย น ทั้ ง ด า น ก า ร เ มื อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ของมหาวิทยาลัยและหนวยงานตาง ๆ ทั้งดานความรู ทั ก ษะ/กระบวนการ และเจตคติ เช น สถานทู ต มหาวิท ยาลัย ภาครั ฐ และเอกชน ในการรว มกํา หนด คุ ณ ลั ก ษณะเด็ ก ไทยในประชาคมอาเซี ย นเพื่ อ เป น การเตรียมความพรอมสูการเขาเปนประชาคมอาเซียน
ดั ง ต อ ไปนี้ คุ ณ ลั ก ษณะของเด็ ก ไทยในประชาคม อาเซียน กําหนดคุณลักษณะ ๓ ดาน ดังนี้ ๑) ดานความรู ประกอบดวย ความรูเกี่ยวกับ ประเทศอาเซียนในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม ความรูเกี่ยวกับ อาเซียน ไดแก จุดกําเนิ ด อาเซี ย น กฎบั ต รอาเซี ย น ประชาคมอาเซี ย น และ ความสัมพันธกับภายนอกอาเซียน ๒) ดานทักษะ/กระบวนการ ประกอบดว ย ทั ก ษะพื้ น ฐาน : สื่ อ สารได อ ย า งน อ ย ๒ ภาษา (ภาษาอัง กฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบานอีก อยาง นอย ๑ ภาษา) มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ อยางสรางสรรค มีความสามารถในการแกปญหาอยาง สัน ติวิ ธี และมี ความสามารถในการทํ างานและอยู รวมกับผูอื่น สวนทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทาง สังคม ไดแก เคารพและยอมรับความหลากหลายทาง วัฒนธรรม มีภาวะผูนํา และเห็นปญหาสังคมและลงมือ ทําเพื่อนนําไปสูการเปลี่ยนแปลง ทักษะการเรียนรูและ พัฒนาตน ไดแก เห็นคุณคาความเปนมนุษยเทาเทียม กัน มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน เรี ย นรู มี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห อ ย า งมี เหตุ ผ ล มี วิ ธี คิ ด อย า งถู ก ต อ งและมี ค วามสามารถใน การจัดการ/ควบคุมตนเอง ๓) ดานเจตคติ ประกอบดวย มีความภูมิใจใน ความเปนไทย/ ความเปนอาเซียน รวมกันรับผิดชอบ ตอ ประชาคมอาเซีย น มี ความตระหนัก ในความเป น อาเซี ย น มี วิ ถี ชี วิ ต ประชาธิ ป ไตย ยึ ด มั่ น ในหลั ก ธรรมาภิ บ าล สั น ติ วิ ธี /สั น ติ ธ รรม ยอมรั บ ความ แตกตางในการนับถือศาสนา และดําเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๗ สวนตัวชี้วัดความสําเร็จนั้นดูจากการกําหนด ว า นั ก เรี ย นสามารถอธิ บ าย จํ า แนก และวิ เ คราะห ความรูตางๆเกี่ยวกับ อาเซียนได แตในความเปนจริ ง นั ก เรี ย นไม กี่ ค นเท า นั้ น ที่ ส ามารถทํ า ได เนื่ อ งจาก การสอนในระบบการศึกษาของไทยเนนการทองจําเปน สวนใหญ ประกอบกับการวัดผลเป นแบบปรนัย และ การเขียนตอบดวยคําถามปลายปด เมื่อทองจําไมไดก็ เทากับวาลืม หรือพอสอบเสร็จก็ไมสามารถจดจําอะไร ดั ง นั้ น การสร า งความเข า ใจอย า งแท จ ริ ง ต อ งอาศั ย
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๒๕
การเรียนรูตลอดชีวิตพรอมกับสรางองคความรูเปนของ ตนเอง
๑๑. เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน
เครื อ ข า ยมหาวิ ท ยาลั ย อาเซี ย น (อั ง กฤษ: ASEAN University Network; AUN) เปนความ รวมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหวางประเทศสมาชิก สมาคมประชาชาติ แ ห ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต หรืออาเซีย น กอ ตั้ง ขึ้น เมื่อพฤศจิก ายน ค.ศ. ๑๙๙๕ รวม ๑๓ สถาบัน ตอมาไดขยายความรวมมือระหวาง อาเซี ย นเพิ่ ม มากขึ้ น ทํ า ให ส มาชิ ก ของเครื อ ข า ย มหาวิ ท ยาลั ย อาเซี ย นเพิ่ ม จํ า นวนเป น ๒๖ สถาบั น จุ ด ประสงค คื อ การแลกเปลี่ ย นองค ค วามรู แ ละ บุคคลากรทางการศึกษาเพื่อทําใหสรางความสัมพันธ ระหวางกันใหแนนแฟนมากขึ้น เครือขายมหาวิทยาลัย อาเซี ย นสํ า หรั บ ประเทศไทย ได แ ก จุ ฬ าลงกรณ มหาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา และมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ข อ สั ง เกตหนึ่ ง ของ มหาวิทยาลัยเหลานี้ คือ ความพรอมทางดานบุคลากร ความเชี่ยวชาญในศาสตรตาง ๆ และความกาวหนาทาง เทคโนโลยี ในทางกลับกันยังมีมหาวิทยาลัยอีกจํานวน มากที่ ไ ม ส ามารถเป น หนึ่ ง ในเครื อ ข า ยของอาเซี ย น ทําใหการแลกเปลี่ยนองคความรูตางถูกจํากัดในวงแคบ ๑๒. ดอกไมประจําชาติอาเซียน แตละประเทศในอาเซียนมีวิ ธีคิดและความ เชื่อตอดอกไมประจํา ชาติไ มเหมือนกัน ทํ าใหดอกไม ประจําชาติอาเซียนแตกตางกันไปดังนี้ ลักษณะรวมกัน ของดอกไมเหลา นี้คือ เป นดอกไม พื้นถิ่น มี สรรพคุ ณ ทางยา ถู ก ใช ใ นงานพิ ธี ต า งๆ มี ค วามเชื่ อ เกี่ ย วกั บ ดอกไม และถู กใช เปน สัญ ลัก ษณ ดอกไมป ระจํ าชาติ อาเซียนมีดังตอไปนี้ (๑) บรูไนดารุสซาลาม : ดอกซิมปอร ดอกซิมปอร (Simpor) หรือที่รูจักกันในชื่อ ดอกสานชะวา (Dillenia) ดอกไมประจําทองถิ่นบรูไน ที่มี ก ลีบ ขนาดใหญ สี เหลื อ ง หากบานเต็ มที่ แ ลว กลี บ ดอกจะมีลักษณะคลายรม พบเห็นไดตามแมน้ําทั่วไป ของบรูไน มีสรรพคุณชวยรักษาบาดแผล หากใครแวะ
ไปเยื อ นบรู ไ น จะพบเห็ น ได จ ากธนบั ต รใบละ ๑ ดอลลาร (๒) ราชอาณาจักรกัมพูชา : ดอกลําดวน ดอกลํ า ดวน (Rumdul) ดอกไม สี ข าวปน เหลืองนวล กลีบดอกหนาทึบและแข็งเล็กนอย มีกลิ่น หอมเย็นแบบกรุน ๆ ถูกจัดเปนไมมงคลชนิดหนึ่งเพราะ มีความหมายถึง ความสดชื่นหอมกรุน และเปน ตน ไม สําหรับสุภาพสตรี วิธีปลูกที่ถูกตอง ตองปลูกไวในทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของตัวบาน ที่สําคัญตองปลูกในวัน พุธ (๓) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย : ดอกกลวยไม ราตรี ดอกกลวยไมราตรี (Moon Orchid) ซึ่งเปน หนึ่งในดอกกลวยไมที่บานอยูไดนานที่สุด โดยชอดอก นั้นสามารถแตกกิ่งและอยูไดนาน ๒-๖ เดือน โดยดอก จะบานแค ป ล ะ ๒-๓ ครั้ ง เท า นั้ น ทั้ ง นี้ ด อกกล ว ยไม ราตรีสามารถเจริญเติบโตไดดีในอากาศชื้น จึงพบเห็น ไดงายในพื้นที่ราบต่ําของประเทศอินโดนีเซีย (๔) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว : ดอกจําปาลาว ดอกจําปาลาว (Dok Champa) คนไทยรูจัก กั น ดี ใ นชื่ อ ดอกลี ล าวดี หรื อ ดอกลั่ น ทม โดยดอก จําปาลาวมักมีสีสันหลากหลาย ไมเฉพาะเจาะจงวาตอง เปนเพียงสีขาวเทานั้น เชน สีชมพู สีเหลือง สีแดง หรือ สีโทนออนตาง ๆ โดยดอกจําปาลาวนั้นเปนตัวแทนของ ความสุขและความจริงใจ จึงนิยมใชกันอยางแพรหลาย เพื่ อ ประดั บ ประดาในงานพิ ธี ต า ง ๆ รวมทั้ ง ใช เ ป น พวงมาลัยเพื่อรับแขกอีกดวย (๕) ประเทศมาเลเซีย : ดอกพูระหง ดอกพูระหง (Bunga Raya) ในภาษาทองถิ่น เรี ย กกั น ว า บุ ห งารายอ หรื อ ที่ รู จั ก กั น ทั่ ว ไปในชื่ อ ดอกชบาสีแดง ลักษณะกลีบดอกเปนสีแดง มีเกสรยื่น ยาวออกมาเหนือดอก ซึ่งถูกจัดใหเปนสัญ ลักษณของ ประเทศมาเลเซีย เพื่อเสริมสรางความเปนปกแผนและ ความอดทนในชาติ โดยเชื่อวาจะชวยสง เสริมใหสูงสง และสง า งาม รวมทั้ ง ยั ง สามารถนํ า ไปใช ใ นทาง การแพทยและความงามไดอีกดวย
๒๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
(๖) สาธารณรัฐฟลปิ ปนส : ดอกพุดแกว ดอกพุดแกว (Sampaguita Jasmine) ดอก มีสีขาวกลีบดอกเปนรูปดาว มีกลิ่นหอม บานสงกลิ่นใน ตอนกลางคืน ถือเปนสัญลักษณของความบริสุทธิ์ เรียบ งาย ออนนอมถอมตน รวมถึงความเขมแข็งอีกดวย เคย ถูก นํ ามาใชเ ฉลิม ฉลองในตํา นานเรื่ องเลา รวมทั้ ง บท เพลงของฟลิปปนสดวย เชนกัน (๗) สาธารณรัฐสิงคโปร : ดอกกลวยไม แวนดา ด อ ก ก ล ว ย ไ ม แ ว น ด า ( Vanda Miss Joaquim) เปน ดอกไมประจําชาติ โดยดอกกลวยไม แวนด า ตั้ ง ชื่ อ ตามผู ผ สมพั น ธุ คื อ Miss Agnes Joaquim จัดเปนดอกกลวยไมที่เปนที่รูจักมากที่สุดใน ประเทศสิง คโปร มีสีม วงสดสวยงามและเบ ง บานอยู ตลอดทั้งป โดยถูกจัดใหเปนดอกไมประจําชาติสิงคโปร ตั้งแตป ค.ศ.๑๙๘๑ (พ.ศ.๒๕๒๔) (๘) ราชอาณาจักรไทย : ดอกราชพฤกษ ดอกราชพฤกษ (Ratchaphruek) ที่ มี สี เหลืองสวยสงางาม เมื่อเบงบานแลวใหความรูสึกอบอุน ถือเปนสัญลักษณของความมีเกียรติยศศักดิ์ศรี ซึ่งผูคน รูจักกันดีในนามของ ดอกคูน โดยมีความเชื่อวาสีเหลือง อรามของดอกราชพฤกษคือสีแหงพระพุทธศาสนา และ ความ รุ ง โรจน รวมทั้ ง ยั ง เป น สั ญ ลั ก ษณ แ ห ง ความ สามัคคีปรองดองของคนในชาติ อีกดวย โดยดอกราช พฤกษจะเบงบานในชวงเดือนกุมภาพันธ – พฤษภาคม มีจุด เด น เวลาเบง บานคือ การผลั ดใบออกจนหมดต น เหลื อ ไว เ พี ย งแค สี เ หลื อ งอร า มของดอกราชพฤกษ เทานั้น (๙) สาธารณรัฐสังคมนิยม : ดอกบัว ดอกบั ว (Lotus) เป น ดอกไม ป ระจํ า ชาติ โดยดอกบัวเปนที่รูจักกันในนาม “ดอกไมแหงรุงอรุณ” เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องความบริ สุ ท ธิ์ ความผู ก พั น และ การมองโลกในแง ดี ดอกบั ว จึ ง มั ก ถู ก กล า วถึ ง ใน บทกลอนและเพลงพื้ น เมื อ งของชาวเวี ย ดนามอยู บอยครั้ง (๑๐) สหภาพพมา : ดอกประดู ดอกประดู (Paduak) เปนดอกไมที่พบมาก ในประเทศพมา มีสีเหลืองทอง ผลิดอกและสงกลิ่นหอม
ในฤดู ฝ นแรก ช ว งเดื อ นเมษายนซึ่ ง เป น ช ว งเวลา เดี ย วกั บ ที่ ป ระเทศพม า มี ก ารเฉลิ ม ฉลองป ใ หม ขึ้ น ชาวพม า เชื่ อ ว า ดอกประดู คื อ สั ญ ลั ก ษณ ข องความ แข็งแรง ความทนทาน และเปนดอกไมที่ขาดไมไดใน พิธีทางศาสนาของชาวพมา๘
๑๓. ธงชาติอาเซียน
ธงชาติ อ าเซี ย น เป น ภาพต น ข า วสี เ หลื อ ง ๑๐ ตน มั ด รวมกั น อยู ภายในวงกลมสี แดงบนพื้ น ธง สีน้ําเงินตนขาวสีเหลือง ๑๐ ตนมัดรวมกันไว หมายถึง ประเทศสมาชิ ก รวมกั น เพื่ อ มิ ต รภาพและความเป น น้ํ า หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น ส ว นสี ต า งๆมี ค วามหมายดั ง นี้ สี น้ํ า เงิ น หมายถึ ง สั น ติ ภ าพและความมั่ น คง สี แ ดง หมายถึ ง ความกล า หาญและความก า วหน า สี ข าว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีเหลือง หมายถึง ความ เจริญรุงเรือง
ธงชาติอาเซียน
๑๔. ชุดแตงกายประจํา ๑๐ ชาติอาเซียน
ชุ ด แต ง กายประจํ า ชาติ อ าเซี ย นมี ค วาม แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับวัฒนธรรมของประเทศนั้น ๆ แสดงใหเห็นความหลากหลายของแนวคิด เห็นไดจาก ผู ห ญิ ง บรู ไ นจะแต ง กายด ว ยเสื้ อ ผ า ที่ มี สี สั น สดใส โดยมากมั ก จะเป น เสื้ อผ า ที่ ค ลุม ร า งกายตั้ ง แต ศี ร ษะ จรดเท า ส ว นผู ช ายจะแต ง กายด ว ยเสื้ อ แขนยาว ตั ว เสื้ อ ยาวถึ ง เข า นุ ง กางเกงขายาวแล ว นุ ง โสร ง เป น การสะท อ นวั ฒ นธรรมสั ง คมแบบอนุ รั ก ษ นิ ย ม เพราะบรู ไ นเป นประเทศมุส ลิม ความเชื่ อเกี่ย วกั บ ชาติ พั น ธุ เห็ น ได จ ากประเทศสิ ง คโปร แ บ ง ออกเป น ๔ เชื้ อ ชาติ ห ลั ก ๆ ได แ ก จี น มาเลย อิ น เดี ย และ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๒๗
ชาวยุโรป ซึ่ง แตละเชื้อชาติก็มีชุดประจําชาติเปนของ ตนเอง ทําใหประเทศสิง คโปรไ มมีชุดประจําชาติเพื่อ ปองกันความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้น และวิธีการใหสัยยะ จากการแตงกายนั้นๆ เห็นไดจากสวนผูชายเวียดนาม จะสวมใส ชุ ด อ า วหญ า ยในพิ ธี แ ต ง งาน หรื อ พิ ธี ศ พ เปนตน ชุดแตงกายประจําชาติอาเซียนมีดังตอไปนี้ (๑) ชุ ด ประจํ า ชาติ ข องประเทศมาเลเซี ย : สําหรับชุดประจําชาติมาเลเซียของผูชาย เรียกวา บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบดวยเสื้อแขนยาวและ กางเกงขายาวที่ ทํ า จากผ า ไหม ผ า ฝ า ย หรื อ โพลี เ อ สเตอร ที่ มี ส ว นผสมของผ า ฝ า ย ส ว นชุ ด ของผู ห ญิ ง เรียกวา บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบดวยเสื้อ คลุมแขนยาว และกระโปรงยาว (๒) ชุดประจําชาติของประเทศเวียดนาม : อาวหญาย (Ao dai) เปนชุดประจําชาติของประเทศ เวียดนามที่ประกอบไปดวยชุดผาไหมที่พอดีตัวสวมทับ กางเกงขายาวซึ่งเปนชุดที่มักสวมใสในงานแตงงานและ พิธีการสําคัญของประเทศ มีลักษณะคลายชุดกี่เพาของ จี น ในป จ จุ บั น เป น ชุ ด ที่ ไ ด รั บ ความนิ ย มจากผู ห ญิ ง เวียดนาม สวนผูชายเวียดนามจะสวมใสชุดอาวหญาย ในพิธีแตงงาน หรือพิธีศพ (๓) ชุ ด ประจํ า ชาติ ข องประเทศพม า : ชุด ประจํา ชาติ ของชาวพม า เรี ยกว า ลองยี (Longyi) เปนผาโสรงที่นุงทั้งผูชายและผูหญิง ในวาระพิเศษตาง ๆ ผูชายจะใสเสื้อเชิ้ตคอปกจีนแมนดารินและเสื้อคลุม ไมมีปก บางครั้งจะใสผาโพกศีรษะที่เรียกวา กอง บอง (Guang Baung) ดวย สวนผูหญิง พมาจะใสเสื้อติด กระดุมหนาเรียกวา ยินซี (Yinzi) หรือเสื้อติดกระดุม ขางเรียกวา ยินบอน (Yinbon) และใสผาคลุมไหลทับ (๔) ชุด ประจํ าชาติ ข องประเทศบรู ไ น : ชุดประจํ าชาติข องบรูไ นคล ายกั บชุด ประจํา ชาติ ของ ผู ช าย ปร ะ เทศมาเลเซี ย เรี ย ก ว า บาจู ม ลายู (Baju Melayu) สวนชุดของผูหญิงเรียกวา บาจูกุรุง (Baju Kurung) แตผูหญิงบรูไนจะแตงกายดวยเสื้อผาที่ มีสีสัน สดใส โดยมากมักจะเปน เสื้อผ าที่ค ลุมรา งกาย ตั้งแตศีรษะจรดเทา สวนผูชายจะแตงกายดวยเสื้อแขน ยาว ตัวเสื้อยาวถึง เขา นุง กางเกงขายาวแลวนุง โสร ง เป น การสะท อ นวั ฒ นธรรมสั ง คมแบบอนุ รั ก ษ นิ ย ม
เพราะบรูไนเปนประเทศมุสลิม จึงตองแตง กายมิดชิด และสุภาพเรียบรอย (๕) ชุดประจําชาติของประเทศลาว : ผูหญิง ลาวนุงผาซิ่น และใสเสื้อแขนยาวทรงกระบอก สําหรับ ผูชายมักแตงกายแบบสากล หรือนุงโจงกระเบน สวม เสื้อชั้นนอกกระดุมเจ็ดเม็ด คลายเสื้อพระราชทานของ ไทย (๖) ชุดประจําชาติของประเทศอินโดนีเซีย : เกบายา (Kebaya) เป นชุดประจําชาติของประเทศ อินโดนีเซียสําหรับผูหญิง มีลักษณะเปนเสื้อแขนยาว ผาหนา กลัดกระดุม ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปกฉลุเปน ลายลูกไม สวนผาถุง ที่ใชจะเปนผาถุงแบบบาติก สวน การแตงกายของผูชายมักจะสวมใสเสื้อแบบบาติกและ นุงกางเกงขายาวหรือเตลุก เบสคาพ (Teluk Beskap) ซึ่งเปนการแตงกายแบบผสมผสานระหวางเสื้อคลุมสั้น แบบชวาและโสร ง และนุ ง โสร ง เมื่ อ อยู บ า นหรื อ ประกอบพิธีละหมาดที่มัสยิด (๗) ชุดประจําชาติของประเทศฟลิปปน ส : ผูชายจะนุงกางเกงขายาวและสวมเสื้อที่เรียกวา บารอง ตากาล็อก (barong Tagalog) ซึ่ง ตัดเย็บดวยผาใย สัปปะรด มีบา คอตั้ง แขนยาว ที่ปลายแขนเสื้อที่ขอมือ จะปกลวดลาย สวนผูหญิงนุงกระโปรงยาว ใสเสื้อสีครีม แขนสั้นจับจีบยกตั้งขึ้นเหนือไหลคลายปกผีเสื้อ เรียกวา บาลินตาวัก (balintawak) (๘) ชุ ด ประจํ า ชาติ ข องประเทศไทย : ชุดประจําชาติอยางเปนทางการของไทยรูจักกันในนาม วา "ชุดไทยพระราชนิยม" โดยชุดประจําชาติสําหรั บ สุภาพบุรุษ จะเรียกวา "เสื้อ พระราชทาน" สํ าหรั บ สุภาพสตรีจะเปนชุดไทยที่ประกอบดวยสไบเฉียง ใชผา ยกมีเชิงหรือยกทั้งตัว ซิ่นมีจีบยกขางหนา มีชายพกใช เข็มขัดไทยคาด สวนทอนบนเปนสไบ จะเย็บใหติดกับ ซิ่นเปนทอนเดียวกันหรือ จะมีผาสไบหมตางหากก็ไ ด เปดบาขางหนึ่ง ชายสไบคลุมไหล ทิ้งชายดานหลังยาว ตามที่ เห็น สมควร ความสวยงามอยูที่เ นื้อผ าการเย็ บ และรูปทรงของผูที่สวม ใชเครื่องประดับไดงดงามสม โอกาสในเวลาค่ําคืน (๙) ชุดประจําชาติของประเทศกัมพูชา : ชุดประจําชาติของกัมพูชาคือ ซัมปอต (Sampot) หรือ
๒๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ผานุงกัมพูชา ทอดวยมือ มีทั้งแบบหลวมและแบบพอดี คาดทับเสื้อบริเวณเอว ผาที่ใชมักทําจากไหมหรือฝาย หรือทั้งสองอยางรวมกัน ซัมปอตสําหรับผูหญิงมีความ คลายคลึงกับผานุงของประเทศลาวและไทย ทั้งนี้ ซัม ปอดมีหลายแบบซึ่ ง จะแตกตา งกัน ไปตามชนชั้น ทาง สังคมของชาวกัมพูชา ถาใชในชีวิตประจําวันจะใชวัสดุ ราคาไม สู ง ซึ่ ง จะส ง มาจากประเทศญี่ ปุ น นิ ย มทํ า ลวดลายตามขวาง ถ าเป นชนิด หรูหราจะทอดา ยเงิ น และดายทอง (๑๐) ชุ ดประจํา ชาติป ระเทศสิ ง คโปร : สิง คโปรไ มมีชุ ดประจําชาติ เปนของตนเอง เนื่องจาก ประเทศสิงคโปรแบงออกเปน ๔ เชื้อชาติหลัก ๆ ไดแก จีน มาเลย อินเดีย และชาวยุโรป ซึ่งแตละเชื้อชาติก็มี ชุ ด ประจํ า ชาติ เ ป น ของตนเอง เช น ผู ห ญิ ง มลายู ใ น สิงคโปร จะใสชุดเกบายา (Kebaya) ตัวเสื้อจะมีสีสัน สดใส ปกฉลุเปน ลายลูกไม หากเปน ชาวจีน ก็จะสวม เสื้ อ แข น ยาว คอจี น เสื้ อ ผ า หน า ซ อ น ก ร ะ ดุ ม สวมกางเกงขายาว โดยเสื้อจะใชผาสีเรียบหรือผาแพร จีนก็ได๙ ๑๕. ระบําอาเซียน หนึ่ ง ในวิ ธี ก ารเรี ย นรู ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของ ประเทศอาเซีย น คื อ การศึ ก ษานาฏศิ ลป เนื่ อ งจาก นาฏศิลปเปนศิลปะการแสดงประกอบดนตรี นาฏศิลป ของแต ล ะประเทศมี ค วามแตกต า งกั น เนื่ อ งจากภู มิ ประเทศ ภูมิอากาศ ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจ คอของผูคน ชีวิตความเปนอยู ตั ว อย า งเช น นาฏศิ ล ป กั ม พู ช ามี ห ลั ก ฐาน ปรากฏตั้งแตสมัยกอนพระนคร (ค.ศ. ๕๔๐-๘๐๐) แลว เชน รูปปนดินเหนียวสมัยนครบุรี (Angkorborei) เปน รูปบุคคลรายรํา และจารึกที่กลาวถึง "คนรํา" เปนภาษา เขมร ใน จารึ ก สมั ย พระนคร (ค.ศ. ๘๒๕-ราว คริ ส ต ศ ตวรรษที่ ๑๔) พบคํ า สั น สกฤต "ภาณิ " ซึ่ ง หมายถึงการแสดงเลาเรื่อง และหากดูภาพสลักจํานวน มากในปราสาทหิ น ทั้ ง หลายแหล ง ของขอม หรื อ นาฎศิล ปของอิน โดนีเซีย ที่เรี ยกวา “วายัง ” เปนคํ า ที่มาจากคําเกาของชวาวา “วาหโย” แปลวา การเผย ใหเห็นซึ่งการดลใจทางวิญญาณ หรือแปลวา เงา วายัง
เปนการแสดงทางศาสนาซึ่งหัวหนาครอบครัวจัดใหมี ขึ้นเพื่อเชิญวิญญาณของบรรพบุรุษ เพื่อนํามาใชในพิธี ตางๆ เช น การแตง งาน ชมโดยสมาชิ กในครอบครั ว และวิญญาณเหลานี้ปรากฏในรูปเงา โดยวิธีการฉายเงา ของตัวหุนหนัง ไปบนจอ จึงจําเปนตองมีแหลง กําเนิด แสงอยางใดอยางหนึ่ง และตองแสดงในเวลากลางคืน ฉะนั้นการแสดงวายังจึงประกอบดวยองค ๓ คือ ตัวหุน จอ และแหลงกําเนิดแสง ตัวหุนจะมีชีวิตจิตใจขึ้นมาได ดวยการเชิดและการพากยของนายหนัง (ดาลัง) โดยมี ดนตรี เ ป น เครื่ อ งประกอบที่ สํ า คั ญ ต อ มาเกิ ด ความ ตองการที่จะดูวายังในเวลากลางวัน จึงเอาตัวหุนมาเชิด เฉยๆ การแสดงแบบนี้เรียกวา วายัง โกเล็ก การแสดง แบบนี้ ไ มจํ า เป น ตอ งใช จ อหรื อ แหลง กํ า เนิ ดแสงใดๆ ตอมาเกิดการเลียนแบบการเคลื่อนไหวของตัวหุนขึ้น โดยนําคนจริงๆ มาแสดงแทน เกิดเปนละครเขียนหนา (ใหเหมือนหุน) แบบหนึ่ง และวายังโอรัง (หนังคน) อีก แบบหนึ่ง โดยใชคนแตงหนาเหมือนคนแตแตงกายและ เคลื่อนไหวอยางตัวหนัง ฉะนั้นในที่สุดคําวา วายัง จึงมี ความหมายเปลี่ยนไปจากความหมายดั้งเดิมบาง คือ มี ความหมายครอบคลุม ทั้ง หุน หนัง และละคร แม ว า นาฎศิ ลปข องแต ละประเทศจะมีลัก ษณะร วมกั น คื อ ความพยายามในการสร า งสรรค ก ารแสดงผ า นลี ล า ทาทางและเครื่องดนตรี ทําใหผูคนเกิดสุนทรียภาพใน การดํ ารงชี วิ ต ถื อ เป น การแสวงหาความสุ ข ทางโลก อยางหนึ่ง ๑๖ . คุณลักษณะบัณฑิตไทยที่พึงประสงคใน
ประชาคมอาเซียน
เมื่ อ อนาคตของบั ณฑิ ต ใน ๑๐ ประเทศจะ กลายเปนผูมีงานทําในประเทศอาเซียน ทําใหคนกลุมนี้ จําตองปรับตัวเพื่อความอยูรอดในสังคมและสามารถหา งานทํ า แข ง กั บ คนชาติ อื่ น ได คุ ณ ลั ก ษณะดั ง กล า วมี ดั ง ต อ ไ ปนี้ ๑ . มี ทั ก ษ ะ แ ละ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ ช ภาษาอั ง กฤษ-ภาษาประเทศเพื่ อ นบ า นในอาเซี ย น ๒. มีความรูเกี่ยวกับ เพื่อนบาน ทั้ง ในดา นวัฒ นธรรม และประวัติศาสตร ๓. ติดตามขาวสารเกี่ยวกับอาเซียน และเรี ย นรู เ กี่ ย วกั บ กฎระเบี ย บต า ง ๆ ของอาเซี ย น ๔. พั ฒ นาทั ก ษะฝ มื อ ให ส ามารถปรั บ ตั ว เข า กั บ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๒๙
มาตร ฐาน ก าร ทํ า ง า น ที่ เ ป น ส าก ล ๕ . พั ฒ น า ความสามารถในการใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ๖. ปรับกระบวนทัศนการเรียนรูในการพัฒนาศักยภาพ รอบด า น และ๗. สร า งความสามารถในการทํ า งาน ร ว มกั บ ผู อื่ น โดยเฉพาะการทํ า งานกั บ ผู ค นต า ง วัฒนธรรม ๑๗. หนังสือเกี่ยวกับอาเซียน หากเราตองการแสวงหาความรูเกี่ยวอาเซียน เพี ยงไปที่ รา นหนั ง สื อ ห องสมุด หรื อสื บค น ผา นโลก ออนไลน พบว า ช ว งเวลานี้ มี ห นั ง สื อ ว า ด ว ยเรื่ อ ง อาเซี ย นเป น จํ า นวนมาก ทั้ ง หนั ง สื อ สํ าหรั บ เยาวชน อยางหนังสืออาเซียน ๓๖๐ องศา หรือ หนังสือเรื่องฉัน และเธอ เราคือ อาเซียน บทความเกี่ยวกับประชาคา อาเซียน หนังสือชุดประชาคมอาเซียน รายงานการวิจัย ต า งๆ สื่ อ การสอนอาเซี ย น หนั ง สื อ การ ตู น อาเซี ย น นิท านอาเซี ย น ฯลฯ ทํา ใหเ ราสามารถค น หาความรู เกี่ ย วอาเซี ย นได ง า ยขึ้ น ข อ สั ง เกตเกี่ ย วกั บ หนั ง สื อ เหลานี้ คือ การนําเสนอเรื่องราวของอาเซียนผานสื่อ หลากหลาย คล ายกับเหลาเกา ในขวดใหม เนื่องจาก เนื้ อ หาอาเซี ย นมี ก ารเปลี่ ย นแปลงน อ ยมาก ยกเว น หนัง สือเกี่ยวกับบัน ทึกการประชุมของอาเซียน พอมี ความสดใหมของเนื้อหาอยูบาง
๑๘. เวบไซดเกี่ยวกับการเตรียมความพรอมสู อาเซียน
www.mfa.go.th/asean/ www.thai-aec.com/ www.education.dusit.ac.th/ASIAN/ asian.html www.aseanthailand.org/ เวบไซด เ หล า นี้ เป น เวบไซด ที่ ใ ห ข อ มู ล เกี่ยวกับการเตรียมความพรอมสูประตูอาเซียนทั้ง ขาว ประชาสัมพันธ บทความเกี่ยวกับอาเซียน หนวยงานที่ มีเครือขายเกี่ยวกับอาเซียน แมแตกิจกรรมของอาเซียน ฯลฯ ถื อ ว า เป น เวบไซด ที่ ใ ห ค วามรู ไ ด ใ นระดั บ หนึ่ ง แตเวบไซดนี้มิไดเจาะลึกในรายละเอียดในเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง
๑๙. สถานีโทรทัศนแหงอาเซียน ( ASEAN
Television)
สถานีโทรทัศนแหงอาเซียน (อังกฤษ: ASEAN Television) หรือ อาเซียนทีวี เปนชองรายการที่ผลิต โ ดย บ ริ ษั ท อสม ท จํ า กั ด ( ม หา ชน ) ใน น า ม สถานีโทรทัศนผานดาวเทียมเอ็มคอท เปนอีกชองทาง หนึ่งในการเรียนรูเกี่ยวกับอาเซียน ๒๐. หลักสูตรอาเซียนศึกษา การเปดวิชา “อาเซียนศึกษา” เปนวิชาหรือ ห ลั ก สู ต ร ที่ มี ก า ร ส อ น ใ น ร ะ ดั บ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา แมแตศูนยการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฯลฯ จุดประสงคของ การเปด สอน ไดแก การเรียนรูเรื่องราวของอาเซีย น เพื่ อ ให ก า วทั น โลกเพื่ อ ต อ นรั บ การเข า สู ป ระชาคม อาเซียน การสอนรายวิชานี้เพื่อสนองความตองการ ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารดั ง เห็ น ได จ ากการบรรจุ หลักสูตรเกี่ยวกับอาเซียนไวในแบบเรียน หรือการเปด วิชาเพื่อใหอิงกับกระแสของสังคมโดยที่ไมรูวาจะเรียน หรือสอนอยางไร ความนาสนใจของอาเซียนศึกษา คือ การเรียนรูเกี่ยวกับอาเซียนทั้งภูมิศาสตร ประวัติศาสตร การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม วรรณกรรม และสถานการณในปจจุบัน แตปญหาคือ การกําหนดขอบเขตของการศึกษาวาเริ่มตนและจุดจบ ตรงไหน ที่ สํ า คั ญ คื อ เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ อาเซี ย นมิ ไ ด เปลี่ยนแปลงมากนักและในปจจุบันอาเซียนไมไดแสดง บทบาทในเวทีโลกอยางโดดเดนนัก สรุป การเรียนรูเรื่องราวเกี่ยวกับอาเซียนมี เนื้ อหาใหเ ราศึ กษาไดห ลายรูป แบบ ขึ้ นอยูกั บว าเรา ตองการเนื้อหาประเภทไหน แตที่สําคัญคือ การเรียนรู เนื้ อ หาเหล า นี้ทํ า ให เ ข า ใจและพร อ มเขา สู ค วามเป น ประชาชนอาเซียนจริงหรือไม ความสงสัยเหลานี้จึงเปน คําถามที่ตองแสวงหาคําตอบตอไป
๓๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
เชิงอรรถ ๑
สืบคนจาก www.opac.lib.su.ac.th สัญลักษณของอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก www. education. dusit.ac.th /ASIAN/asian.html ๓ ธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายที่จัดระเบียบองคกร ๔ ๗ วิชาชีพที่สามารถยายแรงงานฝมืออยางเสรีในประชาคม อาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก volunteerconnex.com/ 2012/ asean-free-career ๕ สืบคนจาก www.nfe.go.th/ en/ index.php?option=com_content&view=article&id=133&It emid=67 ๖ อาหารยอดนิยมในอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก www.nfe.go.th ๗ คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก school.esanpt1.go.th/nites/ asean/re_asean/ ASEAN%20section2.pdf ๘ ดอกไมประจําชาติอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก human.aru.ac.th ๙ ชุดแตงกายประจํา ๑๐ ชาติอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึง เมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก hilight. kapook. com/view/73561 ๑๐ คุณลักษณะบัณฑิตไทยที่พึงประสงคในประชาคมอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก th.jobsdb.com/ TH/EN/ Resources/ JobSeekerArticle/ asean-survivor?ID=6499 ๒
บรรณานุกรม คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึง เมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก school.esanpt1.go.th/ nites/ asean/ re _asean/ ASEAN% 20 section2 .pdf คุณลักษณะบัณฑิตไทยที่พึงประสงคในประชาคมอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก th.jobsdb.com/ TH/ EN/ Resources/JobSeekerArticle/asean-survivor ?ID=6499 ชุดแตงกายประจํา ๑๐ ชาติอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก hilight .kapook.com /view /73561 ดอกไมประจําชาติอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก human .aru.ac.th
อาหารยอดนิยมในอาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก www.nfe.go.th สัญลั กษณข องอาเซี ยน . [ออนไลน ] . เข า ถึ งเมื่ อ ๑๒ ธั นวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เข า ถึ งจาก www. education. Dusit .ac.th /ASIAN /asian.html ๗ วิ ช าชี พ ที่ ส ามารถย า ยแรงงานฝ มื อ อย า งเสรี ใ นประชาคม อาเซียน . [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ . เขาถึงจาก volunteerconnex.com/2 ภาพประกอบ อาหารประเทศอาเซียน อาหารเด็ดในกลุม ๑๐ ประเทศอาเซียน AEC. [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๘ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖. เขาถึงจาก www. tlcthai. com/ education /uncategorized/25350.html Cambodian Fish Amok. [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖. เขาถึงจาก mawanusa. blogspot.com/ 2011/05/cambodian-fishamok.html Filipino Chicken Adobo. [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๘ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๖. เขาถึงจาก 30aeats. com/ recipes/filipino-chicken-adobo-my-birthday/ Gado-gado. [ออนไลน ] . เข า ถึ ง เมื่ อ ๑๙ กุ ม ภาพั น ธ พ.ศ. ๒๕๕๖. เขาถึ งจาก www.riobali.com/gado-gadojava-jakarta.htm Nasi Lemak With Dried Anchovies Sambal. [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖. www. seasaltwithfood .com/ 2010/ 04/nasi-lemak with-dried-anchovies-sambal.html National Dishes of ASEAN อาหารยอดนิยมของประเทศ สมาชิกอาเซียน. [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๘ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๖. เขาถึงจาก aseancorner. blogspot.com/ 2011/11/national-dishes-ofasean.html Salam. [ออนไลน] . เขาถึงเมื่อ ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖. เขาถึงจาก aminaharif.com.bn/
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๓๑
การทองเที่ยวของไทย... ในประชาคมอาเซียน กันยารัตน โกมโลทก * 2
อาเซียน (ASEAN) หรือสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asia Nations) เปนองคกรที่กอตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ โดยมีสมาชิกผูกอตั้ง ๕ ประเทศ ไดแก สาธารณรัฐอินโดนีเซีย มาเลเซีย สาธารณรัฐฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร และราชอาณาจักรไทย ซึ่งในเวลาตอมามีประเทศสมาชิก เพิ่มเติม ไดแก บรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม รวมทั้งหมด ๑๐ ประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต อาเซียนกอตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคในการสรางเสถียรภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเปนสําคัญ ตอมาจึง ไดหันมาใหความสําคัญกับความรวมมือในดานเศรษฐกิจ เพื่อยกระดับมาตรฐานความเปนอยูของประชาชนในภูมิภาค ใหดียิ่งขึ้น ถึงแมวาความตกลงดานเศรษฐกิจในระยะแรกไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร จนกระทั่งมีการประกาศจัดตั้ง เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ในป พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งถือไดวาเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญของ ความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนและเปนรูปธรรมตอเนื่องมาจนปจจุบัน นอกจากนั้นยังไดจัดทํากรอบความตกลง ดา นเศรษฐกิจ ที่สํ าคั ญ อื่น ๆ ไมว าจะเป น กรอบความตกลงอาเซี ยนวา ดว ยการค าบริก าร (ASEAN Framework Agreement on Service: AFAS) ในป พ.ศ. ๒๕๓๘ และกรอบความตกลงวาดวยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on ASEAN Investment Area: AIA) ในป พ.ศ. ๒๕๔๑ * รองผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษาฝายศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม
๓๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ผูนําอาเซียนไดลงนามปฏิญญาวาดวยความ รวมมือในอาเซียนฉบับที่ ๒ (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพื่อประกาศจัดตั้ง ประชาคมอาเซี ย นภายในป พ.ศ. ๒๕๖๓ หรื อ ค.ศ. ๒๐๒๐ โดยสนั บ สนุ น การรวมตั ว และความ รว มมือ อยา งรอบดา น โดยในดา นการเมื อ งให จัด ตั้ ง “ประชาคมการเมื อ งความมั่ น คงอาเซี ย น” หรื อ ASEAN Political Security Community (APSC) ด า นเศรษฐกิ จ ให จั ด ตั้ ง “ประชาคมการเมื อ งความ มั่ น ค ง อ าเ ซี ย น ” หรื อ ASEAN Economic Community (AEC) และดานสังคมและวัฒนธรรมให จั ด ตั้ ง “ประชาสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น หรื อ ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) โดยมี กฎบัตรอาเซียนเปนกรอบพื้นฐานทางกฎหมายรองรับ ซึ่งจะสรางกฎเกณฑสําหรับองคกรอาเซียนใหสมาชิกมี พั น กิ จ ที่ จ ะต อ งปฏิ บั ติ ต าม ต อ มาผู นํ า อาเซี ย นได เห็ น ชอบให เ รง รั ด การเป น ประชาคมอาเซี ย นเร็ ว ขึ้ น กวาเดิมอีก ๕ ป เปน ป พ.ศ. ๒๕๕๘ ภายใตแนวคิด “One Vision, One Identity, One Community วิ สั ย ทั ศ น เ ดี ย ว อั ต ลั ก ษณ เ ดี ย ว ประชมคมเดี ย ว” สอดคลอ งกั บสัญ ลักษณข องอาเซียนคือรู ปรวงข าวสี เหลืองบนพื้นสีแดงลอมรอบดวยวงกลมสีขาวและสีน้ํา เงิ น ซึ่ ง รวงข า ว ๑๐ ต น หมายถึ ง ประเทศสมาชิ ก ๑๐ ประเทศ สีเ หลือ งหมายถึ ง ความเจริ ญ รุ ง เรื อ ง
สีแดงหมายถึง ความกลาหาญและการมีพลวัต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีน้ําเงินหมายถึง สันติภาพ และความมั่นคง โดยอาเซี ย นได กํ า หนดยุ ท ธศาสตร ก าร กาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ใน ๔ ดาน คือ ๑. การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน โดยจะมี ก ารเคลื่ อ นย า ยสิ น ค า บริ ก าร การลงทุ น แรงงานมีฝมือ และเงินทุนอยางมีเสรีมากขึ้น ซึ่งถือได วาเปนยุทธศาสตรที่สําคัญ และสง ผลตออุตสาหกรรม การทองเที่ยวโดยตรงและทันที ไดแก ยุทธศาสตรการ เปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ซึ่งมีองคประกอบ หลักไดแก การเคลื่อนยายสินคาเสรี การเคลื่อนยา ย บ ริ ก า ร เ ส รี ก า ร เ ค ลื่ อ น ย า ย ก า ร ล ง ทุ น เ ส รี การเคลื่อนยายเงินทุนเสรี และการเคลื่อนยายแรงงาน ฝมืออยางเสรี ทั้ ง นี้ อาเซี ย นได กํ า หนด ๑๒ สาขา อุตสาหกรรมสําคัญ ไดแก เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ ย า ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ไ ม สิ่ ง ท อ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง นุ ง ห ม อิเล็กทรอนิคส ยานยนต การขนสงทางอากาศ สุขภาพ e-ASEAN ทองเที่ยว และ โลจิสติกส โดยกําหนดเรงรัด การดํ า เนิ น การใน ๔ กลุ ม อุ ต สาหกรรม ได แ ก e-ASEAN สุขภาพ การบิน และการทองเที่ยว
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๓๓
ทั้งนี้ไดแบงใหประเทศสมาชิกรับผิดชอบ ในการจัดทํา Road map ไดแก ไทย รั บผิดชอบดา นการท องเที่ ยวและ การบิน เมียนมาร รับผิดชอบดานสินคาเกษตร และสินคาประมง อินโดนีเซีย รับผิดชอบดานยานยนตและ ผลิตภัณฑไม มาเลเซีย รับผิดชอบดานยางและ สิ่งทอ ฟลิปปนส รับผิดชอบดานอิเล็คทรอนิคส สิ ง คโปร รั บ ผิ ด ชอบด า นเทคโนโลยี สารสนเทศ รวมทั้งผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ และการ บริการดานสุขภาพ นอกจากนี้ เพื่ อรองรั บยุ ทธศาสตร การ เปนตลาดและฐานผลิตเดียว และเพื่อสรางคุณภาพ การใหบริการดานการทองเที่ยวในภูมิภาค อาเซียน ไดจัดทํา ขอตกลงรวมวาดวยการยอมรับคุณสมบัติ บุ ค ลากรวิ ช าชี พ ด า นการท อ งเที่ ย วอาเซี ย น (Mutual Recognition Arrangement – MRA) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ อํ า นวย ความสะดวก การเคลื่ อ นย า ยการจ า งงานผู เ ชี่ ย วชาญด า น การทองเที่ยวในภูมิภาค และเพิ่มความเทาเทียม กั น ของบุ ค ลากรด า นการท อ งเที่ ย วในภู มิ ภ าค โดยให ม าตรฐานสมรรถนะขั้ น ต่ํ า ในสาขาการ โรงแรมและสาขาธุ รกิจ นําเที่ ยว โดยบุ คลากรใน วิ ช าชี พ ท อ งเที่ ย วอาจมี สิ ท ธิ ป ระกอบวิ ช าชี พ ทองเที่ยวในประเทศผูรับ หากมีวุฒิบัตรที่ออกโดย TPCB ๒. การเปนภูมิภาคที่มีขีดความสามารถ ในการแขง ขันสู ง โดยมีอ งคป ระกอบหลั ก ไดแ ก นโยบายการแขงขัน การคุมครองผูบริโภค สิทธิใน ทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิ น การขนส ง เทคโนโลยี ส ารสนเทศ และพลั ง งาน) มาตรการด า นภาษี และพาณิ ช ย อิเล็กทรอนิคส ๓. ก ารเป น ภู มิ ภ าคที่ มี ก าร พั ฒ น า เศรษฐกิ จ ที่ เ ท า เที ย มกั น ให มี ก ารเสริ ม สร า ง ขีดความสามารถในการแขงขันของวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดยอม (SMEs) และเพื่อลดชองวาง จากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เพื่อใหทุก ประเทศ ไดรับประโยชนรวมกัน ๔. การเปนภูมิภาคที่มีการบูรณาการเขา กั บ เศรษฐกิ จ โลก โดยเน น การดํ า เนิ น มาตรการ จัดทําเขตการคาเสรี (FTA) และหุนสวนเศรษฐกิจ (CEP) กับประเทศนอกภูมิภาค ปจจุบันอาเซียนมี การจัดทําเขตการคาเสรีกับ ๔ ประเทศ ไดแก จีน, เกาหลี , อิ น เดี ย อาเซี ย น – ออสเตรเลี ย / นิ ว ซี แ ลนด และการจั ด ทํ า หุ น ส ว นเศรษฐกิ จ ๑ ประเทศ คือ ญี่ปุน ซึ่ง อุตสาหกรรมทองเที่ยวถือเปนปจจัย หลัก ที่สํา คัญ ในการผลัก ดันเศรษฐกิ จ และความ เจริ ญ ทางสั ง คม ที่ จ ะส ง ผลต อ ความสํ า เร็ จ ใน การรวมเป น ประชาคมอาเซี ย น เนื่ อ งจากหาก การทองเที่ยวประสบความสําเร็จ เศรษฐกิจก็จะดี ขึ้ น ห รื อ อี ก นั ย ห นึ่ ง ก็ คื อ ถ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ดี การทองเที่ยวก็จะดีตามไปดวย ดังจะเห็นไดจาก สภาวะทางเศรษฐกิจของโลก โดยเฉพาะในภูมิภาค ยุโรป ราคาน้ํามัน ปญหาการเมือง ก็สงผลกระทบ ต อ ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว ทั้ ง ใ น ภู มิ ภ า ค อ า เ ซี ย น และประเทศตา ง ๆ ทั่ว โลก แตถึ ง อย างไรก็ต าม การท อ งเที่ ย วของอาเซี ย นยั ง เป น ที่ ดึ ง ดู ด ของ นักทองเที่ยวจากทั่วโลกตลอดมา เนื่องจากมีความ หลากหลายทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตความเปนอยู รวมถึงการเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพระดับสากล มีราคายอมเยา ศูนยวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพ โพลล ) ได ดํ า เนิ น การสํ า รวจความคิ ด เห็ น เรื่ อ ง “ความพรอ มของประเทศไทยหากมีการเป ดเสรี อาเซี ย นในสายตานั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ”ขึ้ น โดยเก็บขอมูลเมื่อวันที่ ๑๑-๑๓ มกราคม ๒๕๕๖ ที่ผ านมา เพื่อ เป น ขอ มู ลใหกั บ หน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนที่เกี่ยวของ รวมถึง เพื่อเตรียมความ พร อ มให กั บ ประเทศไทยในการเป ด เสรี ก าร ท อ งเที่ ย ว โดยเฉพาะในมิ ติ ค วามคิ ด เห็ น ของ นักทองเที่ยวตางชาติพบวา
๓๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
นั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ร ะบุ ว า จุ ด เด น สํา คั ญ ที่ทํ า ใหส นใจมาท อ งเที่ ย ว ประเทศไทย อั น ดั บ แรกคื อ โบราณสถานและโบราณวั ต ถุ (รอยละ ๒๘.๑) รองลงมาคือ วัฒนธรรมประเพณี และศิลปะพื้นบาน (รอยละ ๒๐.๔) และชายหาด ทะเล (รอยละ ๑๔.๓) ทั้งนี้เมื่อถามตอวาเชื่อมั่นตอ การให ค วามปลอดภั ย นั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ที่ ม าท อ งเที่ ย วในประเทศไทยมากน อ ยเพี ย งใด รอยละ ๙๗.๖ เชื่อมั่น คอนขางมากถึง มากที่สุ ด มีเพียงรอยละ ๒.๔ เทานั้นที่เชื่อมั่นคอนขางนอย ถึงนอยที่สุด ส ว นความเห็ น ต อ ป จ จั ย ที่ อ าจทํ า ให บรรยากาศการท อ งเที่ ย วในประเทศไทยแย ล ง อัน ดับแรกคือ การจราจรติ ดขัด (รอยละ ๓๗.๒) รองลงมาคื อ การเอาเปรี ย บขึ้ น ค า โดยสารของ แท็กซี่ ตุกตุก (รอยละ ๒๓.๒) และการโกงราคา สินคา ขายของแพง (รอยละ ๒๐.๗) เมื่ อ สอบถามถึ ง ความต อ งการที่ จ ะ กลั บ มาเที่ ย วประเทศไทยอี ก ในครั้ ง ถั ด ไปพบ วา รอยละ ๘๕.๐ จะกลับมาอีก ขณะที่รอยละ ๑.๐ จะไมกลับมาอีก และรอยละ ๑๔.๐ ยัง ไม แนใจ ทั้งนี้เมื่อถามตอวายินดีที่จะแนะนําหรือบอก ตอใหผูอื่น มาเที่ยวประเทศ ไทยหรือไม รอยละ ๙๖.๓ จะแนะนํา ขณะที่รอยละ ๓.๗ ยังไมแนใจ ด า นความรู สึ ก ต อ การมาท อ งเที่ ย ว ประเทศไทย โดยเปรียบเทียบระหวางกอนเดินทาง มากั บ เมื่ อ ได ม าเที่ ย วแล ว พบว า นั ก ท อ งเที่ ย ว ตา งชาติ รอ ยละ ๖๐.๕ รูสึ กดี กว าที่ คาดหวัง ไว และร อ ยละ ๓๗.๖ รู สึก พอๆ กั บ ที่ ค าดหวั ง ไว มีเพียงรอยละ ๑.๙ รูสึกแยกวาที่คาดหวังไว สํ า หรั บ ความเห็ น “หากมี ก ารเป ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยมีความ พรอมในการรองรับนักทองเที่ยวตางชาติมากนอย เพียงใด” รอยละ ๘๓.๙ เห็นวาพรอมคอนขางมาก ถึง มากที่สุด ขณะที่รอยละ ๑๖.๑ เห็น วาพรอม คอนขางนอยถึงนอยที่สุด สุ ด ท า ยเมื่ อ ถามว า “ประเทศที่ น า ท อ งเที่ ย วมากที่ สุ ด ในอาเซี ย นคื อ ประเทศใด”
พบวาอันดับแรกคือ ประเทศไทย (รอยละ๕๘.๐) รองลงมาคือ ประเทศเวียดนาม (รอยละ ๓๔.๑) ประเทศกั มพู ชา (รอ ยละ ๓๐.๖) ประเทศลาว (รอยละ ๓๐.๓) และประเทศสิง คโปร (รอยละ ๒๖.๑) จากการประชุ ม ASEAN Tourism Forum (ATF) เมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่เมืองมานาโด เกาะสุ ล าเวสี ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ได รั บ ทราบ และเห็นชอบรายงานแผนการตลาด ซึ่งจัดเปนแผน กลยุ ท ธ เ พื่ อ การท อ งเที่ ย วอาเซี ย น (ASEAN Tourism Strategic Plan: ATSP) สําหรับป พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยมีเปาหมายในการ ดําเนินงานดังนี้ คือ ในป พ.ศ. ๒๕๕๕ ตั้งเปากลุม นักทองเที่ยวจากจีนและอินเดีย เนื่องจากมีอัตรา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ป พ.ศ. ๒๕๕๖ ส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วใหม ๓ กลุ ม หลั ก คื อ การทองเที่ยวเพื่อการเสริมสรางประสบการณชีวิต การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค และการทองเที่ยวเชิง ผจญภัย ป พ.ศ. ๒๕๕๗ เจาะตลาดนักทองเที่ยว เชิงธุรกิจ (Business Travel) และป พ.ศ. ๒๕๕๘ เจาะตลาดนักทองเที่ยวผูสูงอายุ (Senior Travel) และยั ง ได แ บ ง การท อ งเที่ ย วหลั ก ในอาเซี ย น ออกเปน ๔ กลุม คือ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และมรดกโลก การท อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ แหลง ทองเที่ยวชุมชน และการทองเที่ยวทางเรือ โ ด ย ไ ด ตั้ ง เป า ห ม า ย ว า ใ น ป พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๘ จะมี นั ก ท องเที่ ย วจากภู มิ ภ าคอื่ น เดิ น ทางเข า มา ท อ งเที่ ย วจํ า นวน ๑๐๗ ล า นคน เพิ่ ม จากป พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่มีจํานวน ๗๕ ลานคนในอัตราเฉลี่ย รอยละ ๗-๘ ตอป ซึ่ง นายสุรพล เศวตเศรนี ผูวาการการ ทอ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทย ( ททท.) ยอมรั บ ว า หากอัตราการขยายตัวของอุตสาหกรรมทองเที่ยว เพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัวธุรกิจการคาของประชาคม อาเซี ย นโดยรวม ตรงนี้ จ ะเป น จุ ด สนใจของ นักลงทุนตางชาติที่จะพากันเดินทางเขามาแขงขัน ในดา นการลงทุน อาจสง ผลตอ ผูป ระกอบการ ทองถิ่นที่ขาดทักษะ ประสบการณ และที่ตองระวัง
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๓๕
เปนอยางยิ่งก็คือ การแยงกันใชทรัพยากร อีกทั้ง ระบบสาธารณูปโภคที่เรามีอยู จําเปนอยางยิ่ง ที่ จะตองเรงหามาตรการรับมือกับปรากฏการณนี้ใน อีกสามปขางหนา จึงจําเปนตองรีบสรางภูมิคุมกัน โดยเฉพาะกลุมผูประกอบการซึ่ง กวารอยละ ๗๐ เป น ผู ป ระกอบการรายย อ ยที่ ต อ งเผชิ ญ กั บ การ แขงขันที่รุนแรง แตขณะเดียวกันเราตองเรงแยงชิง ความไดเปรี ยบเสียกอน ดวยการชู จุดแข็ง เรื่อ ง ธรรมชาติที่สวยงาม คนไทยใจดี มีวัฒนธรรมที่เปน เอกลักษณ มีประวัติศาสตรนาสนใจ นับรวมไปถึง อ า ห า ร ไ ท ย ที่ ช า ว โ ล ก กํ า ลั ง นิ ย ม ช ม ช อ บ ดังนั้น เมืองไทยจึงตองเตรียมเลือกเสนอขายการ ทองเที่ยวแบบอนุรักษสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม มากกวาอยางอื่น และจากการประชุม World Economic Forum on East Asia เมื่อเดือนพฤษภาคม
๒๕๕๕ ที่ ผ า นมาในประเทศไทย ได ก ล า วถึ ง ประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว ดังนี้ - จากสถิ ติ ป พ.ศ. ๒๕๕๔ อาเซี ย นมี นัก ทอ งเที่ ยวเดิ นทางเขา มาท องเที่ ยว ประมาณ ๗๙ ลานคนในจํานวนนี้มีนักทองเที่ยวจากอาเซียน ดวยกัน รอยละ ๔๓ - จากการวิเคราะหในดานศักยภาพดาน การแข ง ขั น ด า นการท อ งเที่ ย วของประเทศใน อาเซียน ซึ่งสิง คโปรมีศักยภาพดานการแขง ขันสูง ที่ สุ ด ในอาเซี ย น รองลงมาคื อ มาเลเซี ย ไทย กัมพูชา และฟลิปปนส โดยพิจารณาจากจุดแข็ง เรื่ อ งทรั พ ยากรธรรมชาติ วั ฒ นธรรม ความ ปลอดภั ย การสนับ สนุ น ของรั ฐบาล ความคุ มค า และปจจัยอื่นที่สนับสนุนดานการทองเที่ยว
ดัชนีขีดความสามารถในการแขงขันของภูมิภาคอาเซียน ภูมิภาค อาเซียน
อันดับดัชนีขีด ความสามารถ ในการแขงขัน
๑.สิงคโปร ๒.มาเลเซีย ๓.ไทย ๔.บรูไน ๕.อินโดนีเซีย ๖.เวียดนาม ๗.ฟลิปปนส ๘.กัมพูชา ๙.ลาว ๑๐.พมา
๑๐ ๓๕ ๔๑ ๖๗ ๗๔ ๘๐ ๙๔ ๑๐๙ -
ดัชนีความพรอม ของภาครัฐ อันดับ ๖ ๖๐ ๗๗ ๙๖ ๙๔ ๘๙ ๙๘ ๑๑๐ -
ระดับ คะแนน ๕.๗๒ ๔.๗๑ ๔.๔๕ ๔.๒๐ ๔.๒๑ ๔.๒๘ ๔.๑๘ ๓.๙๒ -
ดัชนีความพรอม ของภาคธุรกิจ อันดับ ๔ ๔๐ ๔๓ ๕๐ ๘๖ ๘๙ ๙๕ ๑๑๘ -
ระดับ คะแนน ๕.๓๙ ๔.๓๕ ๔.๓๒ ๔.๑๔ ๓.๓๓ ๓.๓๑ ๓.๑๘ ๒.๗๓ -
ดัชนีความพรอม ของทรัพยากร การทองเที่ยว ระดับ อันดับ คะแนน ๒๓ ๔.๕๙ ๑๘ ๔.๗๒ ๒๑ ๔.๖๔ ๖๓ ๓.๘๗ ๔๐ ๔.๓๕ ๔๖ ๔.๑๒ ๗๕ ๓.๖๙ ๘๑ ๓.๖๗ -
คาเฉลี่ย ระดับ คะแนน ๕.๒ ๔.๖ ๔.๕ ๔.๑ ๔.๐ ๓.๙ ๓.๗ ๓.๔ -
๓๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
บรูไน
และจากแผนกลยุ ท ธ ก ารท อ งเที่ ย ว อาเซียน ป พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ ประเทศสมาชิก ในอาเซี ย นมี ค วามเห็ น ร ว มกั น ที่ จ ะส ง เสริ ม การ ทอ งเที่ย วในภูมิ ภ าคอาเซี ยนให กับ นั ก ท องเที่ ย ว ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ ได รู จั ก มากยิ่ ง ขึ้ น โดยตั้ ง เป า เพิ่ ม นั ก ท อ งเที่ ย วเป น ๑๐๐ ล า นคน โดยในแต ล ะ ประเทศไดจัดทําคําขวัญเชิญ ชวนใหนักทองเที่ยว เดินทางเขาไปเที่ยวชม ไมวาจะเปน กัมพูชา เวียดนาม
อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส พมา ไทย
Kingdom of Wonder A Different Orient
A Kingdom of Unexpected Treasures Wonder Indonesia Simply Beautiful Malaysia Truly Asia Your Singapore Pilipinas Kay Ganda Mystical Myanmar Amazing Thailand Always Amazes You
๑๐ อันดับนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาในแตละประเทศอาเซียน ไทย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
มาเลเซีย จีน ญี่ปุน รัสเซีย เกาหลี อินเดีย ลาว ออสเตรเลีย อังกฤษ
สหรัฐอเมริกา
ลาว ๒,๔๗๐๖๘๖ ๑,๗๖๐,๕๖๔ ๑,๑๒๖,๒๒๑ ๑,๐๑๔,๔๙๓ ๑,๐๑๔,๒๙๒ ๙๑๖,๗๘๗ ๘๘๗,๖๗๗ ๘๕๔,๐๖๔ ๘๔๔,๒๒๔ ๖๘๔,๐๗๓
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
ฟลิปปนส ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
เกาหลี
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุน จีน ออสเตรเลีย ฮองกง สิงคโปร แคนาดา มาเลเซีย อังกฤษ
๗๔๐,๖๒๒ ๖๐๐,๑๖๕ ๓๕๘,๗๔๔ ๑๘๗,๔๔๖ ๑๔๗,๔๖๙ ๑๓๓,๗๔๖ ๑๒๑,๐๘๓ ๑๐๖,๓๔๕ ๗๙,๖๙๔ ๙๖,๙๒๕
ไทย เวียดนาม จีน
๑,๕๗๙,๙๔๒ ๕๖๑,๕๘๕ ๑๕๐,๗๙๑ สหรัฐอเมริกา ๕๐,๐๙๒ ญี่ปุน ๓๗,๘๘๓ อังกฤษ ๓๕,๖๒๒ เกาหลี ๓๔,๗๐๗ เยอรมัน ๓๑,๘๗๔ ออสเตรเลีย ๒๑,๒๘๐ มาเลเซีย ๑๗,๗๐๒
พมา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
สิงคโปร ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
อินโดนีเซีย จีน มาเลเซีย ออสเตรเลีย อินเดีย ญี่ปุน ฟลิปปนส ฮองกง อังกฤษ
๒,๕๘๙,๐๘๑ ๑,๕๗๖,๗๐๒ ๑,๑๓๗,๗๖๖ ๙๕๕,๔๓๔ ๘๖๗,๗๘๗ ๖๕๕,๗๔๓ ๖๗๖,๖๐๐ ๔๖๔,๐๕๙ ๔๔๒,๒๔๓ สหรัฐอเมริกา ๔๓๙,๙๒๓
จีน ไทย มาเลเซีย เกาหลี
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุน ฝรั่งเศส สิงคโปร เยอรมัน อินเดีย
๖๒,๐๑๘ ๖๑,๖๙๖ ๒๓,๒๘๗ ๒๒,๕๒๔ ๒๑,๖๘๐ ๒๑,๓๒๑ ๑๙,๔๑๔ ๑๕,๓๙๑ ๑๔,๐๐๖ ๑๒,๓๑๘
เวียดนาม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
จีน เกาหลี ญี่ปุน
๑,๔๑๖,๘๐๔ ๕๓๖,๔๐๘ ๔๘๑,๕๑๙ สหรัฐอเมริกา ๔๓๙,๘๗๒ กัมพูชา ๔๒๓,๔๔๐ ออสเตรเลีย ๒๘๙,๗๖๒ มาเลเซีย ๒๓๓,๑๓๒ ฝรั่งเศส ๒๑๑,๔๔๔
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๓๗
๑๐ อันดับนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามา ในแต ล ะประเทศอาเซี ย น เฉพาะที่ มี ข อ มู ล จาก UNWTO ๖ ประเทศ จะเห็นไดวามีการเดินทาง ของนักทองเที่ยวภายในภูมิภาคอาเซียนมากเปน อัน ดับ แรก ตามด วยกลุ ม ตลาดเอเชีย ตะวั น ออก กลุ ม ตลาดยุ โ รป กลุ ม อเมริ ก า และโอเชี ย เนี ย จากตัวเลขขางตน จะเห็นไดวาประเทศไทยไดรับ นักทองเที่ยวจากตลาดระยะไกลมากกวาประเทศ คูแขงในอาเซียน ในขณะที่ สิ ง คโปร ไ ด รั บ นั ก ท อ งเที่ ย ว ภายในภู มิ ภ าคอาเซี ย นและจากตลาดเอเชี ย ตะวั น ออกเปน หลัก โดยมี อัง กฤษและสหรัฐ เป น ตลาด Long Haul ที่สําคัญ ป จ จั ย สนั บ สนุ น ให เ กิ ด การเติ บ โตของ อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วภายในภู มิ ภ าคอาเซี ย น ไดแก - การจัดทํา ASEAN Single Visa ซึ่งอยู ในระหวา งการพิจารณาศึกษาวิธีก ารดํ าเนิ น การ และการกําหนดแนวทางและกรอบระยะเวลาใน การจัดทํา อยางไรก็ตามขณะนี้กลุม CLMV หรือ กัมพูชา ลาว เมียนมาร เวียดนาม กําลังจะใชระบบ Single Visa ในการเดินทางทองเที่ยวระหวาง ๔ ประเทศดัง กลาว ซึ่งถือเปนการเคลื่อนไหวของ คูแขงขันของประเทศไทย - การขยายตั ว ของเส น ทางบิ น ภายใน ภูมิภ าค โดยอาเซีย นไดจั ดทํา ความรวมมือ ดา น การขนสง ทางอากาศในดา นการขนส ง ผูโ ดยสาร ทางอากาศ โดยตั้ ง เป า หมายที่ จ ะบรรลุ การเป น ตลาดการบิน รวมอาเซีย นภายในป พ.ศ. ๒๕๕๘ เฉพาะสายการบินไทย สิงคโปรแอรไลน มาเลเซีย แอร ไ ลน ซึ่ ง เป น สายการบิ น หลั ก ของภู มิ ภ าค ขณะนี้มีเสนทางบิน International Destination ๓๖๒ แห ง (ไม ร วมอาเซี ย น) และเส น ทางบิ น ภายในอาเซียน ๓๔ จุดบิน สายการบินตนทุนต่ําใน เอเชี ย ขยายตั ว จาก ๑๗ Destinations ในป ๒๕๔๔ เปน ๖๓ Destination ในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ตั ว เลขในป พ.ศ. ๒๕๕๒ สายการบิ น ต น ทุ น ต่ํ า ครองสวนแบงที่นั่งเพิ่มเปน ๑๕ % (LCC ๑๐๐
ลานที่นั่ง และ Full Service Airlines ๕๔๓ ลาน ที่ นั่ ง ) ซึ่ ง ส ง ผลให ก ารเดิ น ทางภายในภู มิ ภ าคมี ความถี่ เ พิ่ ม มากขึ้ น และขยายไปสู ก ลุ ม ตลาด ระ ดั บก ลาง ม าก ยิ่ ง ขึ้ น ร ว ม ทั้ ง มี โ อก าสใน การสง เสริม Weekend Destination ภายใน ภูมิภาคเดียวกันเพิ่มขึ้นดวย - การพัฒนาเสนทางคมนาคมทางบกที่ เชื่อ มโยงภายในภูมิ ภาค ทั้ง ๓ ส วนหลัก ไดแ ก North South Corridor / East West Corridor / Southern Economic Corridor รวมทั้งโครงการ รถไฟความเร็ ว สู ง เมื่ อ เสร็ จ สมบู ร ณ จ ะทํ า ให การเดินทางเชื่อมโยง โดย Overland ภายใน ภูมิภาคขยายตัวอยางสูง สําหรับ โอกาสจากการขยายการลงทุ น หรือการรวมทุนในกลุมประเทศอาเซียนนั้น ขอมูล จากการเจรจาในข อ ผู ก พั น ด า นการเป ด เสรี ก าร ท อ งเที่ ย วนั้ น การลงทุ น ในสาขาธุ ร กิ จ Travel Agency และ Tour Operator ยังคงใหตางชาติ ถื อ หุ น ได ไ ม เ กิ น ร อ ยละ ๔๙ และกึ่ ง หนึ่ ง ของ กรรมการบริหารตองมีสัญชาติไทย สวนการลงทุน ในสาขาธุรกิจโรงแรม จะมีการผลักดันใหมีการเพิ่ม สัดสวนการลงทุนของนักลงทุนอาเซียนถึงรอยละ ๗๐ ในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ขอบเขตของการลงทุ น ดังกลาวจะเปดใหเฉพาะโรงแรมระดับหรู หกดาว ขึ้ น ไป ดั ง นั้ น ตลาดจะแข ง ขั น เฉพาะในตลาด ระดั บ บน ดั ง นั้ น กลุ ม ตลาดระดั บ กลางลงมา ยั ง คงได รั บการปกป องต อ ไปอี กระยะหนึ่ ง ซึ่งผูประกอบการโรงแรมควรใชระยะเวลาดังกลาว ในการพัฒนาและเรงเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ จั ด การภายในองค ก รเพื่ อ รองรั บ การแข ง ขั น ใน ระดั บตอ ไป นอกจากนี้ ประเทศไทยยัง มีโอกาส จากการรองรั บ การลงทุ น ของ Mega Project เพิ่ ม มากขึ้ น ด ว ย ไม ว า จะเป น ห า งสรรพสิ น ค า Yacht Marina หรือศูนยการประชุม เปนตน สวนอุปสรรคและขอจํากัดในการเตรียม ความพร อ มของประเทศไทยที่ จ ะรองรั บ การ ขยายตั ว จากกลุ ม ตลาดอาเซี ย นยั ง มี ไ ม ม ากนั ก เนื่องจากที่ผานมาการเติบโตของธุรกิจทองเที่ยว
๓๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ไทย อาศัยการขยายตัวของนักทองเที่ยวจากนอก ภูมิภาคเปนหลัก ที่ผานมาผูประกอบการสวนใหญ จึงใหความสนใจตอกลุมตลาดอาเซียนในลักษณะ กลุ มลู กค าเสริ มมากกว า กลุ มลู กค าหลัก แมจ ะมี ผูประกอบการบางรายที่เริ่มขยายตลาดกาวสูพื้นที่ ตลาดใหม เชน อินโดนีเซีย ฟลิ ปปนส เวียดนาม แตมีจํานวนไมมากนัก ดังนั้น ไทยจึงตองมีการปรับบริการเพื่อ รองรั บ การขยายตั ว ของกลุ ม ตลาดอาเซี ย น ให สอดคลองกับพฤติกรรมของนักทองเที่ยวแตละชาติ แตกตางกัน ทั้ง ในแงวัฒนธรรม ศาสนา อาหาร การกิ น อาทิ เ ช น ภาษา (บาฮาซา) อาหาร (ฮาลาล) ซึ่งยังมีไมเพียงพอ อีกประเด็น ที่ ควรใหความสนใจในอี ก ด า นหนึ่ ง คื อ การหลั่ ง ไหลเข า มาของแรงงาน ประเทศเพื่อนบาน ซึ่งสวนหนึ่งของแรงงานไดไหล เขาสูภาคบริการของประเทศไทยและดวยประเพณี และพฤติ ก รรมที่ ต า งกั น กั บ คนไทย อาจมี ผ ลให อัต ลั กษณ ข องไทยในด านการต อ นรับ และความ เป น มิ ต รไมตรี ซึ่ ง เป น จุ ด แข็ ง ของประเทศไทย อาจจะลดลงซึ่ ง อาจจะส ง ผลต อการแข ง ขั น ของ ธุรกิจทองเที่ยวไทยในระยะยาว สําหรับแนวทางในการเตรียมความพรอม หรือการรับมือของอุตสาหกรรมการทองเทียวของ ไทย ในการเขาสูประชาคมอาเซียน - การพัฒนาสิน คาและบริการ โดยการ สราง Brand เพื่อยกระดับภาพลักษณและสราง ความแตกตา งของ Brand บริ การ ของไทยให ขยายไปสูความเปน Regional Brand อาทิเชน เครื อ โรงแรมของไทย เครื อ ร า นอาหารไทย สปาไทย เปนตน - การสร า ง Value Creation / Innovation สร าง ส ร ร ค มู ล ค า เ พิ่ ม ให สิ น ค า ทั้ ง คุ ณ ค า ทางเศรษฐกิ จ Economical Value ความคุมคาเงิน และราคาที่ลูกคาสามารถเขาถึงได รวมถึงคุณคาที่เปน Functional Value นําเสนอ บริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน และที่สําคัญคือ Emotional Value คุณคาทางจิตใจที่ลูกคาพึง
ไ ด รั บ จ า ก ค ว า ม มี อั ธ ย า ศั ย ไ ม ต รี แ ล ะ ความประทับใจในความเปนมิตรไมตรีของคนไทย ซึ่ ง เป น อั ต ลั ก ษณ ซึ่ ง เป น จุ ด แข็ ง ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ของไทย - การสรางมาตรฐานสิน คา และบริ การ ซึ่งตอบสนองกลุมลูกคาภายในภูมิภาคซึ่ งมีความ แตกตางกันในแตละประเทศ และมีความตองการ บริ ก าร เฉพาะ ไม ว า จะเป น ด า นมาตรฐาน ร า นอาหาร ฮาลาล หรื อ ปรั บ ปรุ ง การบริ ห าร จัดการในภาพรวม ความสะอาด และสุขอนามั ย เปนตน ที่สําคัญคือการมุงเนนการรักษาทรัพยากร สิ่ ง แวดล อ มทางธรรมชาติ แ ละรั ก ษาเอกลั ก ษณ วัฒนธรรม - การเพิ่มทักษะภาษา โดยเฉพาะภาษา ที่ สํ า คั ญ ในกลุ ม อาเซี ย น อาทิ ภาษาบาฮาซา สําหรับตลาดอินโดนีเซีย มาเลเซีย ภาษาเวียดนาม รวมถึงเพิ่มพูนความสามารถดานภาษาอังกฤษและ ภาษาจี น โดย เฉพ าะภาษาอั ง กฤษ ที่ เป น ภาษากลางในการสื่ อ สารระหว า งกั น และเป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ในก ารสื่ อ สาร ขณะทํ า งาน ตามกฎบั ต รอาเซี ย นข อ ๓๔ บั ญ ญั ติ ว า “The working language of ASEAN shall be English” กล า วคื อ ให ภ าษาอั ง กฤษเป น ภาษากลางในการติดตอสื่อสารระหวางกัน สงผล ใหการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษโดยไม อาจหลี กเลี่ ย งได แต จากผลการวิ จั ย ขอ ง Education First สถาบันสอนภาษาตางประเทศ ชั้ น นํ า ได เ ปรี ย บเที ย บความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษจากกลุมประชากรจํานวน ๒ ลานคน ใน ๔๔ ประเทศทั่ว โลกที่ ไ ม ใช ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาแรก โดยให ทํ า แบบทดสอบออนไลน ท่ี ไ ด มาตรฐาน ผลปรากฏวาประเทศไทยอยูในลําดับที่ ๔๒ ซึ่งมีผลคะแนนที่ต่ํากวาหลายประเทศในเอเชีย ไม ว า จะเป น กั ม พู ช าที่ ไ ด ลํ า ดั บ ที่ ๔๑ เวี ย ดนาม ลําดับที่ ๓๙ มาเลเซีย ลําดับที่ ๙ เกาหลีใต ลําดับ ที่ ๑๓ ไต ห วั น ลํ า ดั บ ที่ ๒๕ จี น ลํ า ดั บ ที่ ๒๙ อินเดีย ลําดับที่ ๓๐ และอินโดนีเซีย ลําดับที่ ๓๔ ซึ่ง จากผลดัง กลาวสะทอนให เห็นวาประเทศไทย
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๓๙
ต อ งปรั บ ปรุ ง ระดั บ ภาษาอั ง กฤษของคนในชาติ เพื่อใหไ ทยกลับมาเปนผูนําดานภาษาอัง กฤษของ อาเซียน - มาตรฐานบุคลากร ซึ่ง ตองเปนไปตาม มาตรฐาน MRA หรื อ ข อ ตกลงร ว มว า ด ว ยการ ยอมรั บ คุ ณ สมบั ติ บุ ค ลากรวิ ช าชี พ ด า นการ ท อ งเที่ ย วอาเซี ย น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให ก ารจ า งงาน ผู เ ชี่ ย วชาญและแรงงานด า นการท อ งเที่ ย วของ ประเทศไทยสามารถแขงขันไดภายในภูมิภาค จากที่ไดอรรถาธิบายมาจนถึงบรรทัดนี้ ท า นผู อ า นก็ ค งพอจะเห็ น ภาพของการเข า สู ประชาคมอาเซี ยนของประเทศไทยว า จะหนั ก หนาสาหั ส หรื อ ไม อ ย า งไร แต โ ดยส ว นตั ว ของ ผู เ ขี ย นเองมี ค วามเชื่ อ ว า การเข า สู ป ระชาคม อาเซียนคือโอกาสหนึ่งที่จะทําใหผูประกอบการ ตลอดจนบุคลากรวิชาชีพดานการทองเที่ยวของ ไทยไดมีสถานที่ในการประกอบอาชีพหรือมีที่ยืน มากขึ้น หากเพียงแตเราเตรียมความพรอ มของ ตั ว เราเองเป น อย า งดี ใ นระยะเวลาที่ ยั ง คง เหลืออยูกอนจะถึงเดือนธันวาคม ๒๕๕๘
อางอิง
พงศธร เกษสําลี. (๒๕๕๕). เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ทองเที่ยวไทยพรอมเขาสู AEC หรือยัง . สื บ ค น เมื่ อ ๙ กุ ม ภาพั นธ ๒๕๕๖. จาก www.eTATjournal.com วัชรกฤต แยมโอฐ. (๒๕๕๕). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ตอนที่ ๑. สืบคนเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๖. จาก www.eTATjournal.com วัชรกฤต แยมโอฐ. (๒๕๕๖). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ตอนที่ ๒. สืบคนเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๖. จาก www.eTATjournal.com สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แหงชาติ. (๒๕๕๔). การเตรียมความพรอมเขา สูประชาคมอาเซียน ป ๒๕๕๘. สืบคนเมื่อ ๑๐ กุ ม ภ าพั น ธ ๒๕๕๖. จาก www. nesdb. go.th UNWTO (๒๕๕๔). สถิตินักทองเที่ยวเดือนมกราคมธันวาคม ป ๒๕๕๔. สืบคนเมื่อ สืบคนเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๖. จาก www.unwto.org
ภาพประกอบ
Familyweekend Magazine. (๒๕๕๖). สืบคนเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖. จาก www. facebook. com/ pages/ Familyweekend- Magazine /291074160915954
๔๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
“อยุธยา”กับการโหยหาอดีต ปญจวัลย ชาวดง * 3
เมื่ อ กล า วถึ ง “อยุ ธ ยา” มโนทั ศ น ข องคนไทยโดยส ว นใหญ จ ะนึ ก ถึ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ราชอาณาจักรอันยิ่งใหญของชนชาติไทยที่มีความเจริญรุงเรืองทั้งทางดานการปกครอง เศรษฐกิจ การคา รวมถึงการติดตอกับตางประเทศ “อยุธยา” คือความทรงจํารวมทางประวัติศาสตรของคนใน สังคมไทยที่สืบเนื่องมาตั้งแตยุคตนกรุงรัตนโกสินทรจนถึงปจจุบัน มโนทัศนเกี่ยวกับอยุธยามีการเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคม กลาวคือในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนชวง รัช กาลพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟา จุ ฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) จนถึ ง รั ชสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗) อยุธยาคือตนแบบของความเจริญใหกับกรุงเทพมหานคร อันเปนที่มาของ สํานวน “ครั้งบานเมืองยังดี” อันหมายถึงการสรางพระนครแหงใหมใหรุงเรืองเหมือนในสมัยกรุงศรีอยุธยา มโนทัศน ดังกลาวไดรับการเนนย้ําตลอด ๓ รัชกาลแรกแหงกรุงรัตนโกสินทร เมื่อลวงถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว (พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) หลังการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. ๒๔๓๕ ตามมาดวยการจัดตั้งการปกครองแบบ มณฑลเทศาภิบาลเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘ มโนทัศนของอยุธยาหรือกรุง เกาคอย ๆ ปรับเปลี่ยนไปสูความเปนทองถิ่นของ กรุงเทพฯ กระทั่งไดรับจัดตั้งเปนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง “อยุธยา” จึงมีฐานะสําคัญใน ๒ บทบาท บทบาทแรกคืออดีตราชอาณาจักรอันยิ่งใหญในประวัติศาสตรชาติไทย และบทบาทใหม คือเปนจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย
* นิสิตปริญญาโท ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๔๑
“อยุธยา” ในฐานะของ “กรุงศรีอยุธยา”
กรุงศรีอยุธยาเปนอาณาจักรที่รุงเรืองทั้งดาน การเมื อ งการปกครอง เศรษฐกิ จ การค า สั ง คม วัฒนธรรม รวมถึงการตางประเทศแมวากรุงศรีอยุธยา จะรุ ง เรื อ งจนกลายเป น อาณาจั ก รยิ่ ง ใหญ แต ก็ ต อ ง สิ้นสุดลงใน พ.ศ. ๒๓๑๐ จากสาเหตุปญหาภายในและ ภายนอก ที่สงผลกระทบตอความมั่นคงของอาณาจักร อยุ ธ ยา โดยเฉพาะป ญ หาภายในจากการที่ ร ะบบ การป อ งกั น ตนเองของอาณาจั ก รอยุ ธ ยาพั ง ทลาย ความไรประสิทธิภาพของการจัดการปกครองหัวเมือง และกําลังคน๑ กอนหนาเสียกรุงผูคนภายในอาณาจักร โดยเฉพาะเหลาขุนนางเกิดการแตกแยก ทําใหระบบ การปอ งกั น ของอาณาจั ก รไม ทํ างาน ส ง ผลต อความ มั่นคงและการปกปองอาณาจักร และเมื่อรวมกับปจจัย ภายนอกอย า งการรุ ก รานป ด ล อ มของพม า และ ยุท ธศาสตร การรบใหม ของข าศึ กส ง ผลใหอ าณาจั ก ร อยุธยาลมสลายในที่สุด แม ว า กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาราชธานี ข องไทยจะ ล ม สลายลงไปแล ว แต รู ป แบบการปกครอง สั ง คม วัฒนธรรม และแบบแผนตาง ๆ ของกรุงศรีอยุธยามิได สูญสลายลงไปดวย อดีตอันรุงเรืองของราชธานีเกายัง ได รั บ ก าร ปลุ ก ฟ น คื น กลั บ มาตามบริ บ ทคว าม เปลี่ยนแปลงของบานเมืองในฐานะ “อดีตอันรุงเรือง” เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงเทพพระมหานคร ทรงพยายามสราง ราชธานีแหงใหมตามแบบแผนของกรุงศรีอยุธยา โดย สร า งเมื องใหมี ลํ าน้ํ า ลอ มรอบ กํา หนดองค ป ระกอบ สํ า คั ญ ของเมื อ งในตํ า แหน ง และแบบแผนเหมื อ น กรุ ง ศรี อ ยุธ ยาได แก พระบรมมหาราชวัง (วั ง หลวง) พระบวรราชวัง (วัง หนา) วังหลัง และวัดสําคัญ เชน การสร า งวั ด พระศรี รั ต นศาสดารามเช น เดี ย วกั บ วั ด พระศรี ส รรเพชญ การสร า งวิ ห ารพระโต หรื อวิ ห าร พระศรีศากยมุนี วัดสุทัศนเทพวรารามใหเหมือนกับ วิหารวัดพนัญเชิง ๒ สําหรับวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในเขตพระบรมมหาราชวั ง สร า งขึ้ น เพื่ อ ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาแบบเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ๓ ไม มี พ ระสงฆ จํ า พรรษา นอ ก จาก นี้ ยั ง ทร ง ให อั ญ เชิ ญ ชิ้ น ส ว น แก น ของ
พระศรีสรรเพชญที่ถูกทําลายไปเมื่อคราวเสียกรุง จาก วัดพระศรีสรรเพชญที่กรุงศรีอยุธยามาบรรจุไวในเจดีย องค ใ หญ ที่ วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลาราม (วั ด โพธิ์ ) พระราชทานนามวา “พระเจดียศรีสรรเพชญดาญาณ” เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๓๗ ๔ อั น เป น ความพยายามสร า ง ความชอบธรรมและความสืบเนื่องจากกรุง ศรีอยุธยา เพราะพระศรี ส รรเพชญ คื อ พระพุ ท ธรู ป สํ า คั ญ ที่ สุ ด องคหนึ่งในสมัยอยุธยา นอกจากการสรางพระบรมมหาราชวังที่ถอด แบบจากกรุงศรีอยุธยาแลว ยังมีการนําอิฐจากกําแพง กรุงเกามาสรางกําแพงพระนคร และปอมปราการดวย๕ เพื่อเปนที่มั่นใหแลวเสร็จกอนมีศึกพมา๖ โปรดฯ ใหขุด คลองรอบกรุงตั้งแตวัดสังเวชบางลําพูบนมาออกแมน้ํา เจาพระยาเหนือวัดสามปลื้ม ยาวถึง ๘๕ เสน ๑๓ วา กวาง ๑๐ วา ลึก ๕ ศอก และใหขุดคลองหลอดเป น คลองเชื่ อ มคลองคู เ มื อ งเดิ ม กั บ คลองรอบกรุ ง อี ก ๒ คลอง แล ว ขุ ด คลองใหญ แ ยกจากคลองรอบกรุ ง ขึ้ น ใหม เหนื อ วั ด สระแกหรื อ วั ด สระเกศในป จ จุ บั น พระราชทานนามว า “คลองมหานาค” เพื่ อ ให ประชาชนชาวพระนครไดลงเรื อไปประชุ มเล น เพลง และสักวาในเทศกาลฤดูน้ําเหมือนครั้งกรุงศรีอยุธยา๗ ความพยายามสร า งกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ใ ห มี ลั ก ษณะคล า ยคลึ ง กั บ ภู มิ ส ถานของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ยัง ปรากฏอี กหลายด าน เช น การวางผัง พระที่ นั่ง ใน พระบรมมหาราชวัง เชนหมูพระมหามณเฑียรใหสราง ตามแผนผังพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา ตัวอยาง พ ร ะ ที่ นั่ ง ดุ สิ ต ม ห า ป ร า ส า ท ต ร ง กั บ พ ร ะ ที่ นั่ ง สุริ ย าสนอ มริ น ทร หรื อซุ ม ประตู พ ระราชวั ง ให ส ร า ง เครื่ อ งยอดไม ท รงมณฑปประกอบลายรู ป ป น และ บานประตู ท าสี แ ดงเช น เดี ย วกั บ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ๘ สวนภู มิสถานของกรุง รั ตนโกสินทรก็ไ มแตกตา งจาก กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยานั ก มี ก ารจั ด ตั้ ง สถานที่ สํ า คั ญ โดยใช ชื่อเดียวกัน เชน ภูเขาทอง เทวสถาน เสาชิง ชากลาง พระนคร ป อ มคู ประตู ห อรบ และวั ด สํ า คั ญ ๆ ที่ปรากฏในกรุง ศรีอยุธยา๙ โดยเปลี่ยนนามวัดในเขต กรุ ง เทพ ฯ ให เหมื อน วั ดใน ก รุ ง ศรี อยุ ธย าเช น วัดบางหวาใหญ เปนวัดระฆังโฆษิตาราม วัดบางหวา นอยเปลี่ยนเปนวัดอมรินทราราม, วัดตองปุเปนวัดชนะ
๔๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
สงคราม วั ด เลี ย บเป น วั ด ราชบู ร ณราชวรวิ ห าร ๑๐ และยั ง ปรากฏชื่ อ วั ด มหาธาตุ วั ด ราชบู ร ณะ วั ด พลับพลาไชย วัดดุสิต วัดทอง วัดเงิน๑๑ เชนเดียวกับวัด ในกรุงศรีอยุธยาดวย ท า ง ด า น ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง กรุ ง รั ต น โกสิ น ทร ต อ นต น ได ถ อดแบบมาจาก สมัยอยุธยาตอนปลายที่มี การปรับปรุง แบบแผนการ ปกครองมาตั้ง แตสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ๑๒ รวมทั้งการฟนฟูขนบธรรมเนียม ประเพณีที่มีมาตั้งแต สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาสู ก รุ ง รั ต นโกสิ น ทร ด ว ย เช น กฎหมายที่ ใ ช ใ นต น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ก็ ชํ า ระหรื อ รวบรวมมาจากกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งเริ่มใชมา ตั้ ง แต รั ช สมั ย สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงใหชําระ กฎหมายเมื่ อ พ.ศ. ๒๓๔๗ เรี ย กว า “กฎหมาย ตราสามดวง”๑๓นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชยัง ทรงฟนฟูขนบธรรมเนียม และโบราณราชประเพณีหลายสิ่งดวยกัน เชนพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีแหสระสนาน ใหญ หรือที่เรียกกันวา พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีตรียัมปวาย (โลชิง ชา) พระราชพิธีโสกันต ประเพณีเทศนมหาชาติ ประเพณีเสด็จพระราชทานผาพระกฐิน ฯลฯ ซึ่งลวนเปนประเพณีที่เคยประพฤติ ปฏิบัติกันแตครั้งกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีของไทย๑๔ จากที่ ก ล า วมาข า งต น แสดงให เ ห็ น ว า แม “กรุ ง ศรี อยุ ธ ยา” จะล ม สลายไปใน พ.ศ. ๒๓๑๐ แต ใ นอี ก ๑๕ ป ห ลั ง จากนั้ น แบบแผนต า งๆของอยุ ธ ยาได นํ า กลับมาใชอีกครั้งโดยชนชั้นนําของกรุงรัตนโกสินทร
“อยุธยา” ในฐานะ “จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”
หลั ง เสี ยกรุ ง ครั้ง ที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐ อยุธ ยา กลายเปนเมืองที่ถูกทําลายอยางยอยยับ ตอมาในสมัย กรุงธนบุรีอยุธยาเปน เพียงเมืองรางมีฐานะเพียงเมือง จั ต ว า เ รี ย ก ว า “ เ มื อ ง ก รุ ง เ ก า ” ใ น ช ว ง ต น กรุงรัตนโกสินทรอยุธยายังคงดํารงฐานะหัวเมืองจัตวา เช น เดี ย วกั บ สมั ย กรุ ง ธนบุ รี จนกระทั่ ง รั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงจัดตั้ง ให อ ยุ ธ ยาเป น ศู น ย ก ลางของมณฑลกรุ ง เก า เมื่ อ
พ.ศ. ๒๔๓๘ ประกอบดวย อยุธยา อางทอง สระบุ รี พระพุทธบาท ลพบุรี พรหมบุรี อินทรบุรี และสิงหบุรี ตอมาใน พ.ศ. ๒๔๖๑ ไดเปลี่ยนชื่อจาก มณฑลกรุงเกา เป นมณฑลอยุธ ยา และเปลี่ ยนชื่อ เมื องกรุ ง เกา เป น “จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” ในสมั ย จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม เป น นายกรัฐมนตรี มีนโยบายใหบูรณะโบราณสถานภายใน เมืองอยุธยาหลายแหลง ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๙๙ ไดเริ่มการ ขุ ด แต ง และบู ร ณะพระราชวั ง หลวง พระวิ ห าร พระมงคลบพิ ต ร วั ด พระศรี ส รรเพชญ วั ด พระราม วัด มหาธาตุ และวั ด ราชบูร ณะ ๑๕ แต การบูร ณะต อ ง หยุ ด ชะงั ก ใน พ.ศ. ๒๕๐๐ เนื่ อ งจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต ก อ การปฏิ วั ติ รั ฐ บาลของจอมพล ป. พิ บู ล สงคราม ต อ มาใน พ.ศ. ๒๕๐๔ กรมศิ ล ปากร ดําเนิน การขึ้ น ทะเบีย นโบราณสถานต าง ๆ ทั่ วเมือ ง อยุ ธ ย า ก ร ะ ทั่ ง พ . ศ. ๒ ๕ ๑ ๐ จึ ง ปร ะ ก าศใ ห โบราณสถานภายในพื้น ที่ ๑,๘๑๐ ไรของอยุธยาเปน เมืองประวัติศาสตร และดําเนินการการขุดแตง บูรณะ ใหมีสภาพที่แข็ง แรง มั่นคง และถูกตองตามหลักฐาน ทางประวัติศาสตร จนกระทั่งขยายเมืองประวัติศาสตร ให ก ว า งออกไปครอบคลุ ม เกาะเมื อ งทั้ ง หมดใน พ.ศ. ๒๕๓๐ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาเป น ที่ ตั้ ง ของ อุ ทย าน ปร ะ วั ติ ศาสตร พ ร ะ น คร ศ รี อยุ ธ ย าที่ มี โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สําคัญตอเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร และการไดขึ้นทะเบียนเปน มรดกโลก จา ก อ ง ค ก า ร ยู เน ส โ ก เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๓ ธั น ว า ค ม พ.ศ. ๒๕๓๔๑๖ พื้นที่ครอบคลุมแหลงโบราณสถานของ เกาะเมืองของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยาในปจจุบันนอกจากจะเปน สถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตรเพื่อการเรียนรูแลว ยังเปนสถานที่ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมอีกดวย จากการ เกิดขึ้นของหมูบานโบราณ ตลาดโบราณตาง ๆ ภายใน จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ส ง ผลให มี นั ก ท อ งเที่ ย ว เดินทางมาทองเที่ยวอยุธยาเพิ่มขึ้น ซึ่งแหลงทองเที่ยว ทางวัฒนธรรมเหลานี้มีทั้ง แหลงทองเที่ยวที่มีมาตั้งแต ครั้ ง อดี ต และแหล ง ท อ งเที่ ย วที่ ส ร า งขึ้ น ใหม เช น ตลาดน้ําอโยธยา ตลาดน้ําอยุธยาคลองสระบัว ตลาด-
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๔๓
น้ํากรุงเกาวัดทาการอง ตลาดโกงโคง ตลาดลาดชะโด ตลาดหั ว รอ หมู บ า นญี่ ปุ น เป น ต น การสร า งแหล ง ทองเที่ยวดังกลาวก็เพื่อตอบสนองความตองการของคน ในสังคมที่ตองการเขาไปสัมผัส หรือ ยอนอดีตเขาไปสู วิถีชีวิต การดําเนินชีวิตของชาวอยุธยาในอดีต
“อยุธยา” กับการโหยหาอดีต
ก า ร โ ห ย ห า อ ดี ต ห รื อ ถ วิ ล ห า อ ดี ต (nostalgia) คื อ วิ ธี ก ารมองโลก หรื อ วิ ถี ก ารให ความหมายแกประสบการณชีวิตของมนุษย โดยเนน ความสําคัญของจิตนาการ และอารมณความรูสึกของ ผูคนใน “ปจจุ บัน ขณะ” ที่มี อดี ตที่ ผา นพน ไปแล ว ๑๗ วิลเลียม เคลลี่ (William Kelly) ใหความหมายของการ โหยหาอยางกระชับวา เปนการ ”จินตนาการถึงโลกที่ เราไดสูญเสียไปแลว” (imagination of a world we have lost) โลกที่ เ ราซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของสั ง คม วัฒ นธรรมตา งเคยมี ป ระสบการณร ว มกัน มาในอดี ต โลกที่เคยเปนจริงในอดีต แตเวลานี้เหลือเพียงแคความ ทรงจํา และประสบการณที่เราไดระลึกถึง สําหรับชีวิต และประสบการณ ท างวั ฒ นธรรมที่ ส ามารถสั ม ผั ส จั บ ต อ ง มองเห็ น โลกที่ สู ญ เสี ย ไปแล ว ได อี ก ครั้ ง ถ า สามารถสร า งภาพตั ว แทนด ว ยการย อ นกลั บ ไป จําลองประสบการณในอดีตขึ้นใหมอีกครั้ง การโหยหา ลักษณะนี้เรียกวา “การโหยหาอดีตที่เลือนหายไปแลว ใหคืนกลับ” (to call up a vanished past)๑๘ โดยสวนลึกของจิตใตสํานึกมนุษยมักมีสํานึก ความทรงจําในอดีตที่สวยงาม ซึ่งเปนสิ่งที่มนุษยโหยหา หลั ง จากที่ ผ า นการดํ า เนิ น ชี วิ ต ในอดี ต แบบนั้ น มา ณ เวลาหนึ่ง และมีความตองการกลับไปสัมผัส จับตอง มองเห็น และดื่มด่ํากับอดีตนั้น ซึ่งการนึกถึงอดีตทําให เกิดความอิ่มเอมใจและมีความสุข หากพิจารณากรอบ ความคิดดังกลาว “อยุธยา” จึงเปนตัวแทนรวมของการ สํ า นึ ก โหยหาอดี ต ที่ ค นในสั ง คมไทยรู สึ ก ร ว มกั น โดยเฉพาะอยุธยาในฐานะของ “กรุง ศรีอยุธยา” อดีต ราชธานีของชนชาติไทย ชนชั้นนําในสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรพยายาม สรางราชธานี แหง ใหมใ หคล ายคลึง กับ กรุง ศรีอ ยุธยา หลายดาน อันเปนผลมาจากประสบการณ และความ
ผูกพันกับอดีต เมื่อสรางราชธานีแหงใหมจะยึดเอาแบบ แผนเดิ ม ของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามาใช ทั้ ง ยั ง สร า งความ ต อ เนื่ อ ง และยาวนานของประวั ติ ศ าสตร ไ ทยของ ๒ ราชธานี ให เป นเหมื อนความสื บเนื่อ งหรือ สง ผา น ความรุ ง เรื อ งของอดี ตสะท อ นอยู ใ นการอธิ บายและ สํานึกเกี่ยวกับอดีต แนวคิดการโหยหาอดีตยังแสดงให เห็นถึง บทบาทใหมของอยุธยาในฐานะของ “จัง หวัด พระนครศรีอยุธยา” ที่สงเสริมใหเกิดการรับรูของคนใน สั ง คมไทยผ า นความทรงจํ า ทางประวั ติ ศ าสตร แ ละ การสรางภาพลักษณดานความเปนแหลงทองเที่ยวทาง ประวัติศาสตรที่สําคัญ สําหรับคนไทยและชาวตางชาติ การโหยหาอดีตของคนในยุคปจจุบันไดนําไปสู กิจกรรมการสรางสรรคตาง ๆ ดานวัฒนธรรม ชุมชน การยอนอดีตวิถีชีวิตของคนไทยในอยุธยามีทั้งอดีตเมื่อ ครั้ ง เปน กรุ ง ศรีอ ยุธ ยา และอดี ตของการเปน วิถี ของ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยสะท อ นสภาพสั ง คม และผู ค นในสั ง คม การปรากฏของแหล ง ท อ งเที่ ย ว เพื่อการเรียนรูทางวัฒนธรรมของคนอยุธยา นําไปสูการ พั ฒ น า แ ห ล ง ท อ ง เ ที่ ย ว ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ประวัติศาสตร อยางไรก็ตามดวยปญหาการเติบโตของสังคม เมืองที่ถึงขีดสุดทางดานอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ สงผล ต อ ผู ค นในสั ง คม และความเสื่ อ มโทรมของสภาพ สิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ งมี ผ ลกระทบม าจากการพั ฒ น า อุตสาหกรรมในประเทศ๑๙ อีกทั้งในชวง พ.ศ. ๒๕๔๐ สังคมไทยประสบวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ ทําใหเกิด ความไม มั่ น ใจในตั ว เองและอนาคตของสั ง คมไทย วิกฤติเศรษฐกิจไดฉุดรั้งใหสังคมไทยตองเผชิญหนากับ ความเปนจริงในเรื่องของการพัฒนาประเทศดวยระบบ ทุ น นิ ย มที่ ล ม เหลว เป น ผลให ค นไทยจํ า นวนมาก ตองการหวนกลับไปสูความเปนไทย วัฒนธรรม และ สถาบัน ดั้งเดิม๒๐ กอใหเกิดการรื้อฟนเมืองในอุดมคติ เพื่อเปลี่ยนภาพลักษณจากเมืองที่เสื่อมโทรมสูเมืองที่ สวยงามน า อยู เชิ ด ชู อั ต ลั ก ษณ ท างประวั ติ ศ าสตร สะทอนรากเหงาทางอารยธรรม การรื้อฟนวัฒนธรรม เก า แก ไ ปพร อ มกั บ การสร า งความเข ม แข็ง แก ชุ ม ชน ถนน ย าน ตลาดให ก ลายเป น เมื อง ที่ น าอ ยู ๒ ๑ ซึ่งลักษณะของการหวนนึกถึงอดีต และการโหยหาอดีต
๔๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ภายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ทําใหผูคนหวนนึกถึง วิถีชีวิตในอดีตของคนในอยุธยาที่นาอยู และการหยุด พักจากสภาพสังคมปจจุบัน เขาสูวิถีชีวิตในอดีต ยอม สง ผลตอความรูสึกของผูที่ ไ ดกลับไปสูสั ง คมในอดีต ที่ โหยหามาตลอด ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ป ที่ รุ ง เรื อ งของ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาในฐานะของราชธานี สะท อ นถึ ง พัฒนาการของกรุงศรีอยุธยาจากเมืองเล็ก ๆ พัฒนาจน กลายเปน อาณาจักรอันยิ่ง ใหญ เมื่อกรุง ศรีอยุธยาลม สลายลงใน พ.ศ. ๒๓๑๐ สิ่งที่ยังปรากฏอยูและตกทอด สูชนรุน หลัง คือ ความทรงจํา รวมทางประวั ติศาสตร ของชาติ ไ ทย ซึ่ ง สง ผลตอ การสร า งบ านเมื อ งขึ้ น ใหม ภายหลังจากการลมสลายลงของกรุงศรีอยุธยา ชนชั้น ปกครองของกรุงรัตนโกสินทรนําแบบแผนบางประการ ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามาประยุ ก ต ใ ช ทั้ ง ภู มิ ส ถาน รู ป แบบการปกครอง ขนบธรรมเนี ย มประเพณี กฎหมายตาง ๆ สะทอนภาพของอยุธยาในฐานะของ ราชธานีอันยิ่งใหญของไทย จนกระทั่งอยุธยากลายมา เปน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน อยุธยาใน ปจจุบันกลายเปนสถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตร เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ ชาวไทยและชาวต า งชาติ เปลี่ยนจากอดีตราชธานีสูความเปนแหลงทองเที่ยวเชิง ประวั ติ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรม ซึ่ ง ได ส ร า งความ เปลี่ ย นแปลงให เ กิ ด กั บ นครโบราณแห ง นี้ ต ลอด ๒ ศตวรรษที่อยุธยาไดกลายเปนอดีตที่ไมมีวันหวนคืน ของกรุง รัตนโกสิน ทรและประวั ติศาสตรของชนชาติ ไทย
เชิงอรรถ ๑
นิธิ เอียวศรีวงศ. การเมืองไทยสมัยพระเจากรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๒๙. หนา ๒๐. ๒ ๒๒๕ ป กรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๒. หนา ๗๐. ๓ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (อุดม เชยกีวงศ. พระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทร (รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๙). กรุงเทพฯ: แสงดาว, ๒๕๕๒. หนา ๒๗.) ๔ อุดม เชยกีวงศ. พระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทร (รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๙). กรุงเทพฯ: แสงดาว, ๒๕๕๒. หนา ๒๗-๒๘.
วัลลภา รุงศิริแสงรัตน. บรรพบุรุษไทย: สมัยธนบุรี และรัตนโกสินทรตอนตน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖. หนา ๓๖. ๖ อุดม เชยกีวงศ. เลมเดิม. ๒๕๕๒. หนา ๒๑. ๗ ทองตอ กลวยไม ณ อยุธยา. พระบรมราชจักรีวงศ กับกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ ๑๙๙๑, ๒๕๕๔. หนา ๒๒. ๘ พลาดิศัย สิทธิชัญกิจ. ประวัติศาสตรไทย ๒ ราชวงศ จักรี. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๕๑ หนา ๘๕-๘๖. ๙ พลาดิศัย สิทธิชัญกิจ. เลมเดิม. ๕๕๑ หนา ๘๙. ๑๐ ๒๒๕ ป กรุงรัตนโกสินทร. ๒๕๕๒. หนา ๗๑. ๑๑ พลาดิศัย สิทธิชัญกิจ. เลมเดิม. ๒๕๕๑ หนา ๘๙. ๑๒ ๒๒๕ ป กรุงรัตนโกสินทร. ๒๕๕๒. หนา ๙๐. ๑๓ อุดม เชยกีวงศ. เลมเดิม. ๒๕๕๒. หนา ๒๕-๒๗. ๑๔ วัลลภา รุงศิริแสงรัตน. บรรพบุรุษไทย: สมัยธนบุรี และรั ต นโกสิ น ทร ต อนต น . กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ แ ห ง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖. หนา ๓๗-๓๘. ๑๕ มานพ ถนอมศรี. อยุธยา เมืองประวัติศาสตร มรดก โลก. กรุงเทพฯ: พี พี เวิลดมีเดีย, ๒๕๔๗. หนา ๒๐๙. ๑๖ มานพ ถนอมศรี. เลมเดิม. ๒๕๔๗. หนา ๒๐๙. ๑๗ พัฒนา กิติอาษา (บรรณาธิการ). มานุษ ยวิทยากับ การศึ ก ษาปรากฏการณ โ หยหาอดี ต ในสัง คมไทยร ว มสมั ย . กรุ ง เทพฯ: ศูน ย ม านุษ ยวิ ท ยาสิ ริ น ธร (องค ก ารมหาชน), ๒๕๔๖. หนา ๓. ๑๘ พัฒนา กิติอาษา (บรรณาธิการ). เลมเดิม ๒๕๔๖. หนา ๕. ๑๙ พัฒนา กิติอาษา (บรรณาธิการ). เลมเดิม ๒๕๔๖. หนา ๕๑. ๒๐ พัฒนา กิติอาษา (บรรณาธิการ). เลมเดิม ๒๕๔๖. หนา ๔๐. ๒๑ พัฒนา กิติอาษา (บรรณาธิการ). เลมเดิม ๒๕๔๖. หนา ๕๑-๖๑. ๕
บรรณานุกรม
๒๒๕ ป กรุ ง รัต นโกสิ นทร . กรุง เทพฯ: กรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๒.
สํ า นัก ผั ง เมื อ ง
เกริกฤทธิ์ เชื้อมงคล. แรกสรางพระมหานคร. กรุง เทพฯ: สยามความรู, ๒๕๕๒. จรรยา ประชิตโรมรัน, พลตรี. พระบาทสมเด็จพระพุท ธ ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช. ครั้งที่๒.กรุงเทพฯ: โรง พิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๔๕
ทองตอ กล วยไม ณ อยุ ธยา. พระบรมราชจั กรี ว งศกั บ กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ ๑๙๙๑, ๒๕๕๔. เทพชู ทับทอง. กรุงเทพฯ ในอดีต. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๔๐.
พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ า โลกมหาราช. กรุงเทพฯ: กรุงเทพมหานคร, ๒๕๒๕. มานพ ถนอมศรี. อยุธยา เมืองประวัติศาสตร มรดกโลก. กรุงเทพฯ: พี พี เวิลดมีเดีย, ๒๕๔๗.
นิธิ เอี ย วศรี ว งศ . การเมื อ งไทยสมั ย พระเจ า กรุ ง ธนบุ รี . กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๒๙. หนา ๒๐.
วัลลภา รุง ศิริแสงรัตน. บรรพบุรุษไทย: สมัยธนบุรี และ รัตนโกสินทรตอนตน. กรุง เทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
ประชิด สกุลณะพัฒน. ประวัติศาสตรชาติไทย. กรุงเทพฯ: แสงดาว, ๒๕๔๘
ศันสนีย วีระศิลปชัย. ชื่อบานนามเมืองในกรุงเทพฯ. ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๖.
ประทุมพร วัชรเสถียร. ฉันตักกรุงเทพฯ ตอนสูกรุงเทพฯ เมืองเกา. กรุงเทพฯ: แพรวสํานักพิมพ, ๒๕๕๐.
ศันสนีย วีระศิลปชัย. บานการคา “ตะวันตก” แหงแรก ของกรุงเทพ. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๗.
พลาดิศัย สิทธิชัญกิจ. ประวัติศาสตรไทย ๒ ราชวงศจักรี. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๕๑
อุด ม เชยกี ว งศ . พระมหากษั ต ริ ย แ ห ง กรุง รั ต นโกสิ น ทร (รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๙). กรุงเทพฯ: แสงดาว, ๒๕๕๒.
พั ฒ นา กิ ติ อ าษา (บรรณาธิ ก าร). มานุ ษ ยวิ ท ยากั บ การศึกษาปรากฏการณโหยหาอดีตในสังคมไทย รว มสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษ ยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน), ๒๕๔๖.
๔๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ฐาน ในพุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย: บทวิเคราะหรูปแบบ สภาพแวดลอม และเอกลักษณไทย สุรินทร ศรีสังขงาม * 4
ภาพที่ ๑ ภาพจําลอง “ไตรภูมิ” ตามอุดมคติอยางไทย
ความนํา
ในการสรางสรรคและพัฒนารูปแบบทางสถาปตยกรรมยอมตองประกอบขึ้นจากบริบทตางๆ ทางสั ง คมวั ฒ นธรรม ซึ่ ง เป น พลวั ตรสํ า คั ญ ในการกํ า หนด “สุ น ทรี ย ลั ก ษณ ” ร ว มกั น ทั้ ง การ สร า งสรรค รู ป แบบที่ ไ ด แ นวคิ ดมาจากคติ ค วามเชื่ อ ในทางศาสนาและการปกครอง อี ก ทั้ ง การ สรางสรรคนั้นจะตองสามารถเกื้อหนุน ยอมรับ และดํารงอยูได ภายใต “สภาพแวดลอม” ของแตละ ทองถิ่นไดอยางทรงประสิทธิภาพดวย * อาจารยประจําสาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๔๗
การสรางสรรครูปแบบใน “พุทธเจดีย” ของ สยามก็มีพัฒนาการภายใตกฎเกณฑเชนนี้ โดยเฉพาะ ในวั ฒ นธรรมลุ ม น้ํ า เจ า พระยา พุ ท ธเจดี ย ไ ด เ ป น สถาปตยกรรมสําคัญ ที่เปนเครื่องสะทอนและแสดงให เห็นถึง “รูปลักษณ” ที่สนองตอบตอคติสัญลักษณและ สภาพแวดลอมไดอยางนาสนใจ ประเด็ น สํ า คั ญ จึ ง อยู ที่ ว า ในรู ป ลั ก ษณ ข อง พุทธเจดียในวัฒ นธรรมอยุธยาเหลานี้ไ ดมีรูปแบบที่มี การปรับเปลี่ยนสรางสรรคและพัฒนาการอยางไร ที่ ทําใหรู ปแบบเหลานั้ นไดรั บการยอมรับ ในเชิ ง คุ ณค า และความงาม อีกทั้งยังเกิดการหลอมรวมลักษณะรวม อัน นําไปสูรูปแบบแหง ความพึง พอใจรวมกัน หรือการ สรางเอกลักษณในเชิง รูปแบบ ที่ปจจุบัน เราเรียกว า “เอกลักษณไทย” บทความนี้เจาะจงเฉพาะกรณีศึกษา “ฐาน” ในพุท ธเจดีย สมั ยอยุ ธยาตอนปลายราวครึ่ง หลั ง ของ พุทธศตวรรษที่ ๒๒ ถึงสิ้น สุดพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ที่ มุง แสดงใหเห็นถึ ง วิธีการในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ และองค ป ระกอบของฐานพุ ท ธเจดี ย ว า ได มี ก าร เปลี่ ย นแปลงภายใต บริ บ ททางสั ง คมวั ฒ นธรรมและ สภาพแวดลอมของอยุธยาอยางไร เพื่อเปนตัวอยาง และนําไปสูการขยายขอบเขตทางการศึกษาตอไป
พุทธเจดียสมัยอยุธยา
สถาปตยกรรมประเภท “สถูป” หรือที่เรียก รวมกัน วา “สถูป เจดีย” มีตนกําเนิดมาจากประเทศ อิ น เดี ย ตั้ ง แต ส มั ย โบราณ ซึ่ ง มี ม าก อ นการก อ ตั้ ง พระพุทธศาสนา เพื่อใชเปนที่บรรจุศพดังมีหลักฐาน ปรากฏในคัมภีรของศาสนาพราหมณและศาสนาเชน สวนการสรางเจดียในพุทธศาสนามีหลักฐานปรากฏครั้ง แรกในคัม ภีรอ รรถกถาธรรมบท โดยพุ ทธานุญ าติ ที่ พระพุทธเจาโปรดใหสรางพระเจดียสําหรับพระพาหิยะ พุทธสาวก และภายหลังเมื่อพระพุทธองคไ ดเสด็จดับ ขัน ธปรินิพานแลวนั้นจึง ไดปรากฏพุทธเจดียขึ้นอยาง แทจริง อันเปนแบบอยางทีใ่ ชในพระพุทธศาสนา โดย กําหนดเปน ๔ ประเภทตามมูลเหตุของการกําเนิดดังนี้ ๑. พระธาตุเจดีย เกิดขึ้นภายหลังจากการ ถวายพระเพลิง พระพุ ทธสรีระ องค พระพุทธเจา ณ
เมืองกุสินารา ไดมีการแบง พระบรมธาตุและทําการ แจกจายไปยังที่ตางๆ ๘ แหง จึงไดเริ่มมีการสรางพระ เจดียเพื่อบรรจุพระบรมธาตุขึ้น ๒. บริโภคเจดีย พระพุทธเจาทรงอธิบาย และประทานนุญาติแดพระอานนทเถระขณะที่ทรงพระ ประชวรใกลจะเสด็จสูพระนิพพาน เปนบริเวณสังเวช นียสถาน ๔ แหง และจากเรื่องตํานานในหนังสือปฐม สมโพธิ กลาวถึงบริโภคเจดียเพิ่มขึ้นอีก ๒ อยาง คือ พระอัง คาร และพระทะนานโลหะที่ใชตวงพระบรม ธาตุ เพิ่มเปนลําดับตอจากสังเวชนียสถาน ๓. ธรรมเจดีย เปนสิ่งแสดงบอกถึงแนวทาง พุท ธบรรหารของพระพุ ทธเจา โดยเขีย นจารึ กพระ ธรรมตัวอักษรและประดิษฐานไวเปนที่บูชา ตอมาจึง เปนประเพณีสรางพระธรรมเจดียขึ้น เชนนําเอาพระ ธรรมที่ เป นหั วใจในพระพุท ธศาสนาคาถาแสดงพระ อริย สัจ วา “เยธมมา เหตุปปภวา เตสี เหตํ ตถาคโต (อาห) เตสญจโย นิโรโธ จเอวํ วาที มหาสมโณ” และ เมื่อมีการเขียนพระธรรมวินัยเปนตัวอักษรแลวก็ถือได วา คัมภีรพระไตรปฎก เปนธรรมเจดียดวย ๔. อุเทสิกะเจดีย เปนเจดียที่สรางขึ้น โดย เจตนาอุทิศตอพระพุทธเจาเปนพุทธบูชา ในตอนแรก มักจะทําเปนพุทธบัลลังก สักการะแทนพระพุทธองค ซึ่งเปนลักษณะประเพณีแตครั้งพุทธกาล ครั้งเมื่อพระ พุทธองคเสด็จปรินิพานแลว จึงมีการสรางพุทธบัลลังก เพื่ อ การรํ า ลึ ก ถึ ง ภายหลั ง จึ ง สร า งขึ้ น เป น ที่ บ รรจุ พระพุทธรูป องคพระพุทธรูป พระพิมพ หรือรอย พระพุทธบาท เมื่อศาสนาและวัฒนธรรมอินเดียไดแพรเขาสู ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดเปนจุดเริ่มตนของ การวางรากฐานของพุทธศาสนาพรอมๆ กับการกอรูป ของพุทธเจดียขึ้น ในภูมิภาคนี้เปนตนมา ผานกระแส ทางสังคมวัฒนธรรมเกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทั้ง ในเชิ ง คติ ค วามเชื่ อ รู ป แบบ วั ส ดุ เทคนิ ค วิ ธี ก าร กอสร าง และป จจัยทางสภาพแวดลอม หลอมรวม เกิดเปนรูปลักษณของพุทธเจดียในภูมิภาคนี้ขึ้น เมื่อถึง สมัยราชอาณาจักรอยุธยานครรั ฐในบริ เวณที่ ราบลุ ม แมน้ําเจาพระยา ซึ่งเปนราชธานีที่นับถือพุทธศาสนา
๔๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
นิก ายเถรวาท ก็ไ ดมี การพัฒ นาการและสร างสรรค รูปแบบของพุทธเจดียจนมีความหลากหลายไดแก พุทธเจดียท รงปรางค ตัวอยางเชน พุท ธ ปรางคประธานวัดมหาธาตุ ปรางคประธานวัดพระราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตน พุทธเจดียทรงกลม ซึ่ง ยัง สามารถจําแนก ลักษณะออกไดเปน อีกหลายกลุม เชน พระเจดียทรง กลมแบบลั ง กา พระเจดี ย ทรงกลมฐานแปดเหลี่ ย ม ตัวอยางเชน เจดียประธานวัดพระศรีสรรเพชญ เจดีย ประธานวั ด ใหญ ชัย มงคล เจดี ย ประธานวั ด กุ ฎี ด าว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตน พุทธเจดียทรงเหลี่ยมยอ มุม ตัวอย างเช น พระเจดียบ ริว ารคู หน าพระอุ โบสถวั ดไชยวั ฒ นาราม เจดียประธานวัดใหมประชุมพล เจดียประธานวัดโปรด สัตว เจดียประธานวัดอุโบสถ เจดียประธานวัดญาน เสน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตน พุทธเจดียทรงปราสาท ตัวอยางเชน เจดีย บริวารทรงปราสาทวัดวรเชษเทพบํารุง เจดียบริวาร ท ร ง ป ร า ส า ท ภ า ย ใ น วั ด ร า ช บู ร ณ ะ จั ง ห วั ด พระนครศรี อยุธ ยา เปนต น (การแบ ง กลุ มพุทธเจดี ย ขางตนนี้เปนการแบงเฉพาะในบทความนี้เทานั้น ซึ่งยัง มีการแบงกลุมพุทธเจดียสมัยอยุธยาที่มีความแตกตาง จากนี้อีกหลายแบบ)
คติสัญลักษณ “ไตรภูมิ” ในพุทธเจดียสมัย อยุธยา
เป น ที่ ย อมรั บ ในทางวิ ช าการแล ว ว า “ไตร ภูมิ” เปนคติความเชื่อในพุทธศาสนา ที่มีอิทธิพลเปน อย า งยิ่ ง ต อ การสร า งสรรค แ ละอธิ บ ายแนวคิ ด เชิ ง สัญลักษณ ไมเพียงแตในพุทธเจดียเทานั้นแตงยังใชใน การอธิบายความหมายเชิงรูปลักษณของสถาปตยกรรม ทั้งในพุทธสถาปตยกรรมและสถาปตยกรรมในสถาบัน กษั ต ริย ทุ ก ประเภท เพราะนอกจากคติ ไ ตรภูมิ จ ะมี เนื้ อ หาว า ด ว ยเรื่ อ งของ “โลกศาสตร ” ที่ อ ธิ บ าย ลักษณะภพภูมิของโลกและจักรวาลทั้ง ในเชิง รูปธรรม และนามธรรมแล ว เนื้ อ หาในไตรภู มิ ที่ ป รากฏใน วัฒนธรรมลุมน้ําเจาพระยายังแสดงใหเห็นถึงความเชื่อ
เรื่อง เวรกรรม ภพชาติ และการสรางสมบารมี ซึ่ง เปนแนวคิดที่สามารถอธิบายสถานะของผูมีบุญที่สราง สมบารมีเพื่อดํารงสถานะของผูปกครอง กษัตริย ทั้ง ในสภาวะแหง “ธรรมราชา”และ “จักรพรรดิราช” จึ ง แสดงให เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของคติ ไ ตรภู มิ ที่ มี ทั้ ง ใน อาณาจักรและศาสนจักร จากหลักฐานใน “โองการ แชงน้ํา” ซึ่งเชื่อวาเปนวรรณกรรมที่แตงขึ้นตั้งแตสมัย สม เด็ จพ ร ะ ร า ม า ธิ บ ดี ที่ ๑ ห รื อ ก อ น ห น า นั้ น โดยเฉพาะมีเนื้อหาในสวนที่กลาวถึง การ “สรางโลก” ตามคติที่ปรากฏในไตรภูมิ ซึ่งอาจเปนสาเหตุที่ทําใหใน ปจจุบันไมมีการคนพบนิทานหรือตํานานที่เกี่ยวของกับ การกํ า เนิ ด มนุ ษ ย ที่ เ ป น ความเชื่ อ ของทอ งถิ่ น เลยใน วัฒ นธรรมลุ ม น้ํ า เจ า พระยา จึ ง อาจเป น ส ว นหนึ่ ง ที่ แสดงใหเห็นถึงความทรงอิทธิพลของคติไตรภูมิในพุทธ ศาสนาที่มีตอวัฒนธรรมลุมน้ําเจาพระยาได อีกทั้ ง เมื่อ วิเ คราะห หลั กฐานการสร างพุท ธ เจดียทรงปรางคในชวงกอนจนถึงตนกรุงศรีอยุธยา เชน ปรางคประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี ปรางคป ระธานวั ดพุ ทไธสวรรค ปรางค ประธานวั ด มหาธาตุ จั ง หวัดพระนครศรีอ ยุธ ยา ซึ่ ง เชื่อ วา เป น รูปแบบที่ไดรับอิทธิพลมาจากศิลปะขอมหรือศิลปะรวม แบบเขมรในประเทศไทย โดยจากหลั ก ฐานจารึ ก ขอความฉันทบทที่ ๒๙ ในจารึกที่กรอบประตูปราสาท ปกษีจํากรง (K. ๒๘๖) ซึ่งจารึกในป ม.ศ.๘๖๙ ตรงกับ พ.ศ.๑๔๙๐ รัชกาลพระเจาราเชนทรวรรมันกลาววา ปฺจาทริกูเฎษฺวิว ปฺจเมรุ กูเฎษุ จ ทวีธโตเล มหาพฺเธะ ศตาธิกนฺ เทวมติษฺฐิปทฺ โย ยโศธรํ สฺถานมปาฺ จ ขาน แปลวา พระองค (พระเจายโศวรรมันที่ ๑) ไดประดิษฐานเทวรูปจํานวนมากกวารอยบนยอดเขาทั้ง หาของเขาพระสุเมรุ เหมือนกับที่ไดทําบนยอดเขาทั้ง หา และในเกาะกลางมหาสมุทรใหญพระองค ไดขุด สระยโศธรดวย
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๔๙
ภาพที่ ๒ พุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย (เริ่มจากซาย) พระปรางคมุมวัดมัยรัฒนาราม พระเจดียทรงกลมภายในคูหาวัดใหมประชุมพล เจดียเหลี่ยมยอมุมคูหนาพระอุโบสถ วัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาพที่ ๓ พุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย (เริ่มจากซาย) เจดียเหลี่ยมยอมุมหนาพระอุโบสถวัดตองปุ เจดียเหลี่ยมยอมุมวัดเสาธงทอง จังหวัดลพบุรี เจดียประธานวัดอุโบสถ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๕๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ภาพที่ ๔ พุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย (เริ่มจากซาย) พระปรางคดานหนาพระอุโบสถ วัดบรมพุทธาราม พระปรางควัดพระยาแมน เจดียเหลี่ยมยอมุม วัดพระยาแมน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาพที่ ๕ พุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย (เริ่มจากซาย) พระปรางค วัดโพธิ์ประทับชาง เจดียเหลี่ยมยอมุมวัดโพธิ์ประทับชาง จังหวัดพิจิตร ฐานพุทธเจดีย (?) วัดกุฎีดาว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๕๑
ภาพที่ ๖ พุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย (เริ่มจากซาย) พระปรางควัดโลกยสุทธา เจดียเหลี่ยมยอมุมวัดภูเขาทอง เจดียเหลี่ยมยอมุม วัดสามวิห าร และพระเจดียทรง ปราสาท วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แม ว า ปราสาทป ก ษี จํ า กรงจะสร า งขึ้ น ใน ศาสนาฮินดูลัทธิไศวนิกาย แตการกลาวถึงนาม “เขา พระสุเมรุ” ที่ปรากฏในจารึกดังกลาว ก็เปนตัวอยาง ของหลักฐานทางประวัติศาสตรที่มีความเปนไปไดวาใน การรับรูปแบบของปรางคปราสาทของขอมมาใชในลุม น้ํ า เจ า พระยานั้ น นอกจากจะได มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น จากศาสนสถานในศาสนาพราหมณฮินดูหรือพุทธสถาน ลัทธิมหายานมาสูความเปน “มหาธาตุ” อันเปน พระ ธาตุ เจดี ยแ ละอุ เทสิกเจดี ยในพุทธศาสนานิก ายเถระ วาทแล ว นั้ น ก็ ยั ง สามารถใช เ ป น ข อ มู ล ที่ เ ชื่ อ มโยง แนวคิ ดในเรื่อ งสั ญ ลั กษณข องพระปรางค กับ สถานะ แหงเขาพระสุเมรุนั้นดวย
สภาพแวดลอมกับพุทธเจดียสมัยอยุธยา
ดวยกรุงศรีอยุธยาสามารถเลือกทําเลที่ตั้งได อย า งเหมาะสม โดยตั้ ง อยู ใ นพื้ น ที่ ส ามเหลี่ ย มปาก แมน้ําตรงบริเวณที่กลาวไดวามีความอุดมสมบูรณที่สุด เปนแหลงรวมของลําน้ําสายตางๆ ไหลเขาสูกลางพื้นที่ และอยูไกลชายฝงเกินกวาจะไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเล จึงเปนพื้นฐานสําคัญทางทรัพยากรและสภาพแวดลอม ของการสรางบานแปลงเมืองภายในบริเวณที่มีความ พรอมเชิงพื้นที่มากที่สุด และด วยลัก ษณะสํ าคัญ ทางสภาพแวดลอ ม ของพระนครศรีอยุธยาที่เปนจุดบรรจบของแมน้ําใหญ
หลายสาย จึงเปนเหตุผลสําคัญ ที่ทําใหน้ําจํานวนมาก ไหลเขาสูพื้นที่ รวมทั้งในฤดูน้ําหลากแมวาน้ําเหลานั้น จะสามารถกระจายออกไปตามทุงราบรอบเกาะเมืองซึ่ง มีพื้นที่ต่ํากวา รวมไปถึงตามลําคลองสายตางๆ จึงเปน เหตุ ที่ ทํ า ให ร ะดั บ น้ํ า ในตั ว เมื อ ง หรื อ เกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยาจะไมสูงมากนัก อย า งไรก็ ต ามลั ก ษณะทางกายภาพของ เกาะเมืองก็ยังแสดงใหเห็นถึงการยอมรับสภาพน้ําทวม หรือ อาจจะยอมใหน้ํา ทว มได ซึ่ง คงเปน สิ่ง ที่ เกิ ดขึ้ น ผลั ด เปลี่ ย นอยู เ ป น ประจํ า ตามสภาพฤดู ก าลของ พระนครศรีอยุธยา ดัง นั้นสภาพน้ําหลากและสภาพ น้ําทวมนี้เ อง คงเปนลักษณะทางสภาพแวดลอมที่ มี อิทธิพลเปนอยางยิ่งในการสรางสรรคและปรับตัวของ งาน ศิ ล ปก รรม และสถาป ต ยกร รมของ อยุ ธย า อันนําไปสูการสรางสรรครูปแบบไมวาจะเปน “เรือ น ไทยเสาสู ง ” หรื อ “เรื อ นแพ” จํ า นวนมากมายจน กลายเปนรูปลักษณของสถาปตยกรรมที่พักอาศัยแบบ วัฒนธรรมภาคกลาง ที่มีการปรับตัวอยางสอดคลอง กับสภาพแวดลอมนั้นเอง
ความสอดคลองของคติและสภาพแวดลอม
เมื่ อ รู ป สั ญ ลั ก ษณ ข อง ไตรภู มิ (ในส ว นที่ แพร ห ลายในงานศิ ล ปกรรมไทยมั ก จะเน น แต เ พี ย ง “ฉากภาพจั ก รวาล” หรื อ ภู มิ ชั้ น แรกที่ เ รี ย กว า
๕๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
“ฉกามาพจรภูมิ ” เปน หลั ก) ไดพรรณาลักษณะของ โลกสันฐานและศูนยกลางจักรวาลที่มี “เขาพระสุเมรุ” เปนศูนยกลาง แวดลอมดวย “เขาสัตตบริภัณฑ” อยู เหนือ “มหานทีสีทันดร” อันเปนมหาสมุทรกวางใหญ ลักษณะทางกายภาพที่บรรยายขั้นตนนี้อาจกลาวไดวา มี ค วามสอดคล อ งกั บ ลั ก ษณะทางกายภาพของ พระนครศรีอยุธยาอยูไมนอย เนื่องดวยในคติไตรภูมิก็ มีศูนยกลางอยูเหนือผืนน้ําเชนเดียวกับที่กรุงศรีอยุธยา ดํารงอยู ความสอดคลองกัน ของคติดัง กลาวมีความ ชั ด เจนขึ้ น เมื่ อ พบว า ในสมุ ด ภาพแผนที่ ไ ตรภู มิ ไ ด กําหนดใหอยุธยาปรากฎอยูใน “ชมพูทวีป” นั่นยอม แสดงความหมายถึ ง อยุ ธ ยาว า เป น ดิ น แดนสํ า คั ญ ใน “มงคลจักรวาล” นั้นเอง เมื่ อ คติ ค วามเชื่ อ สามารถผสานเข า กั บ ลักษณะทางสภาพแวดลอมไดอยางใกลเคียงกัน จึงได เป น ส ว นหนึ่ ง ของพลั ง สํ า คั ญ ที่ มี ผ ลสื บ เนื่ อ งต อ การ กําหนดรูปแบบ โดยเฉพาะกับพุทธเจดียที่สรางขึ้นใน สมัยอยุธยาอยางชัดเจน แมในชวงตนอยุธยาจะรับรูปแบบของปรางค ปราสาทและคติ ค วามเชื่ อ บางประการมาจาก วัฒนธรรมขอมก็ตาม แตอยุธยาก็ไดสรางพัฒนาการที่ สํ า คั ญ ขึ้ น ในการสร า งสรรค รู ป แบบเฉพาะที่ เ ป น เอกลักษณของพุทธเจดียในสมัยอยุธยาขึ้นเอง ในขณะ ที่ปรางคปราสาทอยางขอมใหความสําคัญ กับ “สว น ยอด” โดยมีการสลักหินเปนวิมานและที่สถิตแหงเทพ องคตางๆ อยางจริงจัง แตเมื่อรูปแบบไดรับการปรับ เขาสูวัฒ นธรรมอยุธยา บทบาทของสวนยอดกลับถูก ลดลง แทนที่ดวยการใหความสําคัญกับ “สวนฐาน” มีการเพิ่ม “ฐานซอนชั้น” ใหพระปรางคสูง ขึ้นอยาง ชัดเจน เปนเหตุใหพุทธปรางคหรือมหาธาตุที่สรางขึ้น ในสมัยอยุธยาจึงมีความโดดเดนในเชิงความสูงที่เพิ่มขึ้น สวนหนึ่ง อาจอธิบ ายได ดวยเหตุผ ลทางคติสัญ ลักษณ ด ว ยต อ งการให พ ระปรางค ม หาธาตุ นั้ น มี ส ถานะ เชนเดียวกับเขาพระสุเมรุศูนยกลางแหงมงคลจักรวาล แตอยางนอยก็ยังสามารถอธิบายไดเชนกันวาเหตุที่พระ ปรางคตองมีความสูงเพิ่มขึ้นนั้น เนื่องจากจะตองสราง พระปรางคขึ้นบนพื้นที่ลุมและมีระดับน้ําทวมถึงได จึง จําเปนตองสรางหรือเพิ่มความสําคัญของสวนฐาน ซึ่ง
มีผ ลในการเพิ่ มความแข็ง แรงของ “รากฐาน” และ “โครงสราง” รวมไปถึงการปกปององคพุทธเจดียใหมี ความสูงพนจากระดับน้ํานั้นเอง ดัง นั้นเมื่อการประสานที่เกื้อหนุนกันไดของ คติ ค วามเชื่ อ และสภาพแวดล อ ม จึ ง นํ า ไปสู ก ารให ความสําคัญหรือเนนกับ “จักรวาลแนวดิ่ง” กลาวคือ การใหความสําคัญกับองคประกอบของสถาปตยกรรม ในแนวดิ่งเปนสําคัญรวมไปถึงการพัฒ นา “ความสูง” ไปพร อ มๆ กั น และด ว ยเหตุ นี้ จึ ง กลายเป น แนวคิ ด สําคัญ ที่มีผ ลตอพัฒนาการรูปลั กษณของพุ ทธเจดีย ที่ เนนใหมีความสูงและทรงชะลูดมากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิด โครงสร างของรูป ทรงภายนอกที่เ รีย กวา “จองแห” เปนปริมาตรรวมของพุทธเจดียเกือบทุกประเภทในสมัย อยุธยาตอนปลาย
ฐานในพุทธเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย
จากเหตุดังกลาวขางตนทําใหวิวัฒนาการของ พุ ท ธเจดี ย เ กื อ บทุ ก ประเภทในสมั ย อยุ ธ ยา ได เ กิ ด ทิศทางและแนวโนมในการสร างสรรคใหมีรู ปทรงสู ง และมี โ ครงภายนอกแบบจองแหมากยิ่ ง ขึ้ น ไม เ ว น แม แ ต พุ ท ธเจดี ย ท รงปรางค ซึ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลง สัดสวนและรูปทรงอยางเห็นไดชัดในสมัยอยุธยาตอน ปลาย ดังนั้นองคประกอบทางสถาปตยกรรมของพุทธ เจดียที่ทําหนาหลักและสําคัญ ที่สุดในการปรับเปลี่ยน รูปทรงของพุทธเจดียคือ “สวนฐาน” ลักษณะเดนประการหนึ่งของพุทธเจดียสมัย อยุธยาตอนปลายคือ การเนนสัดสวนของสวนฐานใหมี ความสําคัญมากขึ้นอยางชัดเจน เห็นไดจากเมื่อมีการ เปรียบเทียบสัดสวนระหวาง “สวนฐาน” “องคเจดีย หรือ เรือ นธาตุ” และ “สวนยอด” ซึ่งพบวาในพุทธ เจดียสมัยอยุธยาตอนปลายบางองคมีสัดสวนของสวน ฐานมากกวาครึ่งหนึ่งของความสูงองคเจดียทั้งหมดเชน เจดี ย เ หลี่ ย มย อ มุ ม ไม ยี่ สิ บ วั ด สามวิ ห าร จั ง หวั ด พระนครศรีอ ยุธ ยาเปนต น ดัง นั้นความสํา คัญ จึ ง อยู ที่วาในการขยายสัดสวนหรือความสูง ของสวนฐานนั้น ส ว น ฐาน ไ ด มี ก าร พั ฒ น ารู ป แบบหรื อ มี ก าร จั ด องคประกอบใหมอยางไร จึงนําไปสูรูปลักษณที่ปรากฏ ในสมัยปลายสุดของอยุธยาได
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๕๓
ฐานของพุทธเจดียสมัยพระเจาปราสาททอง (พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๙๙) จากการตรวจสอบลวดลาย ประดับชั้นฐานที่ปรากฏในพุทธเจดียที่มีหลักฐานทาง ประวัติศาสตรวาสรางขึ้นในชวงเวลาดังกลาวพบวา - ลวดลายประดั บชั้ น ฐานที่ นิย มใชใ นสมั ย พระเจาปราสาททองคือ “ฐานบัว” หรือ “ฐานปทม” โดยนิ ย มขั้ น กลางระหว า งบั ว คว่ํ า และบั ว หงายด ว ย “ลูกแกวอกไก” มีประกอบอยูทั้งในสวนฐานของเจดีย ทรงปรางค เจดีย ทรงกลม และเจดีย เหลี่ย มย อมุ ม ถือวาเปนรูปแบบลวดลายประดับชั้นฐานที่มีความนิยม มากที่สุดในชวงระยะเวลาดังกลาว - ลวดลายประดับชั้นฐานของพุทธเจดียแต ละประเภทยังคงมีลักษณะแตกตางกัน กลาวคือ พุทธ เจดียทรงปรางค จะใชฐานแบบฐานปทมลูกแกวอกไก ซอนสามชั้นรองรับเรือนธาตุ พุทธเจดียทรงกลม จะใชฐานแบบฐานปทม ลูกแกวอกไกรองรับมาลัยเถาสามชั้นและบัวปากระฆัง รองรับองคระฆัง พุ ท ธเจดี ย ท รงเหลี่ ย มย อ มุ ม จะมี ฐ าน ใกลเ คีย งกั บ พุท ธเจดี ยท รงกลม ต า งกั น ที่ มีแ ผนผั ง แบบย อ มุ ม โดยจะย อ มุ ม ตั้ ง แต ส ว นฐานจนถึ ง ส ว น บัลลังก พุทธเจดียทรงปราสาท จะมีฐานใกลเคียงกับ พุทธเจดียทรงปรางค ซึ่งสามารถวิเคราะหวิธีการในการปรับรูปทรง ของพุทธเจดียออกเปนแนวทางตางๆดังนี้ ๑. สราง “ฐานทักษิณ” หรือ ฐานสูง แบบ ฐานป ท ม ลู ก แก ว อกไก (ลู ก แก ว อกไก ซ อ นสองชั้ น ) รองรับองคเจดียทั้งองค เชน เจดียเหลี่ยมยอมุมคูหนา วัด ไชยวัฒ นาราม เจดี ย คู ห ลัง พระอุโ บสถวัด ชุ ม พล นิ ก ายราม เจดี ย ป ระธานวั ด ใหม ป ระชุ ม พล เจดี ย ประธานวัดโปรดสัตว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปน ต น แม ก ารวิ เ คราะห ใ นเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ จ ะยั ง หา คําอธิบายในการสรางเจดียบนฐานสูงไดไ มชัดเจนนัก แตอยางนอยฐานทักษิณหรือฐานสูง ก็มีผลตอการปรับ โครงสรางและความสูงของพุทธเจดียอยางชัดเจน
๒. ในพุทธเจดียทรงปรางคนิยมใชลวดลาย ประดับชั้นฐานแบบฐานบัวแบบฐานปทมลูกแกวอกไก ซอนเปนชั้นๆ ประกอบเปนความสูงของพระปรางคเชน พระปรางคประจํามุมวัดไชยวัฒนาราม ใชฐานปทม ลูกแกวอกไกซอนสามชั้นรองรับสวนเรือนธาตุและสวน ยอด สวนปรางคประธานใชฐานป ทมแบบฐานปท ม ซอนสามชั้นแตมีการขยายความกวางของทองไมฐาน ปท ม โดยมี ก ารเปลี่ ยนจากการใช ลูก แกว อกไกเ ป น แบบลูกแกวเหลี่ยมแทน ฐานของพุทธเจดียสมัยสมเด็จพระนารายณ (พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๓) โดยส ว นใหญ ไ ม ป รากฏ หลักฐานที่เกี่ยวของกับการสรางพุทธเจดียมากนัก ซึ่ง ในสมัยรัชกาลสมเด็จพระนารายณ โดยสวนใหญงาน สถาปตยกรรมที่สรางขึ้นมักเปนสิ่งกอสรางที่เกี่ยวเนื่อง กั บ สถาบั น กษั ต ริ ย เช น พระนารายณ ร าชนิ เ วศน จังหวัดลพบุรี อยางไรก็ตามจากการตรวจสอบรูปแบบ และงานสถาป ตยกรรม ได พบพุ ทธเจดี ยก ลุมหนึ่ง ที่ ปรากฏอยูทั่ วไปในจั ง หวัด ลพบุรี อย างมีนั ยยะสํ าคั ญ คือเจดียเหลี่ยมยอมุมไมสิบสองที่มีลวดลายประดับชั้น ฐานแบบฐานป ทม ลูก แก วอกไกซ อนสามชั้ น โดยไม มี มาลัยเถา รองรับดวยฐานเขียงสี่เหลี่ยมขนาดคอนขาง สูง เจดียในกลุมนี้สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยสมเด็จ พระนารายณ อีกทั้งยังเปนรูปแบบของพุทธเจดียที่ไม ปรากฏมากนักในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลักษณะ เดนของเจดียกลุมดังกลาวคือ เปนเจดียมีขนาดเล็กลง และมี ความสูง เปรียวขึ้นอย างเห็ นได ชัดเช น เจดีย คู ดานข างพระอุโบสถวั ดเสาธงทอง กลุมเจดียบ ริวาร บางองคในวัดตองปุ จังหวัดลพบุรี ซึ่งไดแสดงใหเห็น แนวโนมรูปทรงของพุทธเจดียที่เริ่มเล็กและสูงชะลูดขึ้น อันเปนรูปทรงที่มีการสงตอใหกับสมัยตอมา ความนาสนใจของลวดลายประดับชั้นฐานที่ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ปรากฏขึ้ น ในสถาป ต ยกรรมพระ นารายณราชนิเวชคือ ปรากฏการใชลวดลายประดับ ชั้น “ฐานสิงห” เปนองคประกอบในตัวสถาปตยกรรม อยางแทจริง เชน ลวดลายประดับชั้นฐานสิงหในพระ ที่ นั่ ง ดุ สิ ต สวรรค ธั ญ ญมหาปราสาท จั ง หวั ด ลพบุ รี และการใชฐาน “เชิง บาตร” เปนฐานรองรั บอาคาร เชน ฐานเชิงบาตรในพระที่นั่งสีหไกรสร จังหวัดลพบุรี
๕๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
เปนตน ซึ่งฐานทั้งสองประเภทนี้จะมีบทบาทสําคัญใน การพัฒนารูปแบบของพุทธเจดียในสมัยตอมาเปนอยาง มาก ฐานของพุทธเจดียในสมัยพระเพทราชา ถึง พระเจ า ท า ยสระ (พ.ศ.๒๒๓๑ - ๒๒๗๕) เช น พุ ท ธเจดี ย ท รงปรางค ที่ ป รากฏในวั ด บรมพุ ท ธาราม (พ.ศ.๒๒๓๒) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รูปทรงของ พระปรางค ด า นหน า พระอุ โ บสถมี ก ารเปลี่ ย นแปลง อยางชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับรูปทรงและสัดสวนของ ปรางค ป ระจํ า มุ ม ในวั ด ไชยวั ฒ นาราม แต ที่ มี ค วาม โดดเดนมากกวานั้นคือการพัฒนาลวดลายประดับชั้ น ฐาน จากการใชฐานปทมลูกแกวอกไกซอนสามชั้น ที่ ปรากฏในพระปรางควัดไชยวัฒนาราม เปลี่ยนเปนการ ใชฐานเชิงบาตรซอนชั้นเหนือฐานสิงหชั้นเดียว รองรับ ดว ยฐานทัก ษิ ณ แบบฐานป ท ม ลูก แก ว อกไก ไ ม สู ง นั ก กลาวไดวาเปน ครั้ง แรกที่มีการใชลวดลายประดับชั้น ฐานในลั กษณะดัง กล าว โดยมี การใชฐ านลัก ษณะนี้ สื บ เนื่ อ งต อ มาในสมั ย หลั ง ด ว ยเช น พระปรางค วั ด พระยาแมนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ปฏิสังขรณสมัย พระเพทราชา พ.ศ.๒๒๓๗) พระปรางควัดโพธิ์ประทับ ช า ง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร (สร า งในรั ช กาลพระเจ า เสื อ พ.ศ.๒๒๔๔) และพระปรางค วั ด กุ ฎี ด าว จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา (ปฏิสังขรณในรัชกาลพระเจาทาย สระ พ.ศ.๒๒๕๔) การพัฒนาลวดลายประดับชั้นฐานที่สําคัญอีก ครั้งหนึ่ง ปรากฏในกลุมพุทธเจดียทรงเหลี่ยมยอมุมคือ มีการพัฒ นาจากฐานเจดียเหลี่ยมยอมุมแบบฐานปทม ลู ก แ ก ว อ ก ไ ก ซ อน ส า มชั้ น ที่ ใช ใ น ส มั ย สม เ ด็ จ พระนารายณ มาเปนฐานสิงหซอนสามชั้นรองรับองค ระฆั ง แทน ซึ่ ง มี ผ ลทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงของ สั ด ส ว นของพระเจดี ย ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ สั ด ส ว น ชั้นฐานเปนอยางยิ่ง ดวยลักษณะของฐานสิงหเปนฐาน ที่สามารถ “ปรับสัดสวน” และ ตกแตงดวยปูนปนได อย า งเต็ มที่ เช น เจดี ยท รงเหลี่ย มยอ มุ มไม สิบ สอง วัดพระยาแมน (สรางสมัยพระเพทราชา พ.ศ.๒๒๓๗) เจดี ย เ หลี่ ย มย อ มุ ม ไม สิ บ สองวั ด โพธิ์ ป ระทั บ ช า ง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร (สร า งสมั ย พระเจ า เสื อ พ.ศ.๒๒๔๔) เปนตน
ฐานของพุ ท ธเจดี ย ส มัย พระเจ า อยู หั ว บรม โกศ ถึ ง เสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา (พ.ศ.๒๒๗๕ – ๒๓๐๑) นับไดวาเปนสมัยสุดทายของกรุง ศรีอยุธยา ลวดลาย ประดั บ ชั้ น ฐานที่ ป รากฏในยุ ค นี้ มี ลั ก ษณะสํ า คั ญ คื อ ไม ว า จะเป น พุ ท ธเจดี ย ท รงปรางค เจดี ย ท รงกลม เจดียเหลี่ยมยอมุม และเจดียทรงปราสาท จะสรางใน รูปแบบที่มีความสูงชะลูดมากที่สุดและนิยมใชลวดลาย ประดั บ ชั้ น ฐานแบบ “ฐานสิ ง ห ซ อ นสามชั้ น ”และ เพิ่มชั้น “บัวโถ” จึง กลาวไดวารูปแบบ “ฐาน” ของ พุทธเจดียทุกประเภทเปนแบบเดียวกันหรือใกลเคียง กันทั้งหมด เชน ฐานของกลุมเจดียรายในวัดภูเขาทอง เจดียเหลี่ยมยอมุมในวัดสามวิหาร หรือเจดียรายทรง ปราสาทภายในวั ด ราชบู ร ณะ จั ง หวั ด พระนครศรี อยุธยา เปนตน
บทสรุป
ดวยลักษณะรวมที่เกิดขึ้นนี้เองไดนําไปสูการ สรางสรรครูปแบบของพุทธเจดียที่วิเศษยิ่ง ผานการ เลือกสรร ปรับปรุง และพัฒนาจนเกิดรูปแบบที่ไดรับ การยอมรับในเชิง “ความพึงพอใจรวมกัน” อยางคอย เป นค อ ยไป ภายใต การอุ ป ถัม ภจ ากสถาบั นกษัต ริ ย และศาสนา ส ง ผ า นสู ส มั ย รั ต นโกสิ น ทร ที่ ส ามารถ สรางสรรคพุทธเจดียที่มีความงดงามเชน พุทธปรางค วั ด อรุ ณ ราชวรารามที่ ส ามารถแสดงลั ก ษณะแห ง “เอกลักษณไทย” ไดอยางชัดเจน จะเห็ น ได ว า ในแนวทางการสร า งสรรค รูปแบบทางสถาปตยกรรมของพุทธเจดียสมัยอยุธยา นั้น ตั้งแตอดีตที่ผานมามิใชเปนเพียงการเพิ่มความสูง หรือปรับรูปทรงเทานั้น แตชางในอดีตไดแสดงใหเห็น ถึงการออกแบบ การกําหนดระเบียบแบบแผน และ การพั ฒ นาแนวคิ ด ร ว มกั น จนเกิ ด ลั ก ษณะร ว มที่ กลมกลืนและพัฒนาไปพรอ มๆ กัน อาจดวยเหตุผ ล จากคติ สั ญ ลั กษณ ใ นความสูง ตระหง า นของเขาพระ สุเมรุทามกลางจักรวาลที่กวางใหญไพศาล เหนือผืนน้ํา แห ง นทีสี ทั นดร ซึ่ ง เปรีย บได กับ พระนครศรีอ ยุธ ยา นครอั น ห อ มล อ มด ว ยผื น น้ํ า และศาสนสถานอั น ศักดิ์สิทธิ์ พุทธเจดียที่สรางขึ้นดวยพลังแหงศรัทธา จึง คงมี จุดมุ ง หมายที่ จะใหสูง ขึ้นไปถึง ฟากฟาหรือสรวง สวรรคอันกวางใหญ เชนเดียวกับเขาพระสุเมรุนั่นเอง
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๕๕
บรรณานุกรม
ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม. ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรม สยามประเทศ. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เมือง โบราณ, ๒๕๓๙.
นนทชัย ทองพุมพฤกษา. “บทบาทหนาที่และการออกแบบ พระปรางค ใ นสมั ย อยุ ธ ยา.” วิ ท ยานิ พ นธ ศิ ล ป ศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าประวั ติ ศ าสตร สถาป ต ยกรรม บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร, ๒๕๔๕.
สมคิด จิระทัศนกุล. วัด : พุทธสถาปตยกรรมไทย. พิมพครั้ง ที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร , ๒๕๔๕.
ดํารงราชานุภ าพ, สมเด็จ ฯ กรมพระยา. ตํานานพุท ธเจดีย. พระนคร : ศิลปาบรรณาการ, ๒๕๑๓.
รุงโรจน ภิรมยอนุกูล. “การศึกษาเชิงวิเคราะหที่มาของสมุด ภาพไตรภู มิ. ” วิท ยานิพ นธป รั ญ ญาดุ ษ ฎีบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าโบราณคดี ส มั ย ประวั ติ ศ าสตร บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๒. มณีปน พรหมสุทธิรักษ, “บทสดุดีในจารึกภาษาสันสกฤตของ คําบูช า” ใน ภาษาจารึ ก ฉบับที่ ๖ : คุรุบูช า คุรุรําลึก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาตะวันออก คณะ โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๒.
สุ ริ น ทร ศรี สั ง ข ง าม. “เจดี ย เ หลี่ ย มย อ มุ ม สมั ย อยุ ธ ยา” วิ ท ยานิ พ นธ ศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า ประวั ติ ศ าสตร ส ถาป ต ยกรรม บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๘. สํานักนายกรัฐมนตรี. สมุดภาพไตรภูมิบุราณ ฉบับกรุงธนบุรี. กรุง เทพฯ : คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ เอกสารทางประวัติศาสตร, ๒๕๒๕. เสนอ นิลเดช. ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๔.
๕๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
วาดวยเรื่องพรหมพักตร กีรติ ศุภมานพ * 5
รูปที่ ๑ (ซาย) รูปหนาบุคคลสี่หนาประดับที่ยอดปราสาทเฟอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง รูปที่ ๒ (ขวา) รูปบุคคลสี่หนาหรือที่เรียกวาพรหมพักตร พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา
การทํ า รู ป ประติ ม ากรรมหน า บุ ค คลสี่ หน า ประดั บ ที่ ส ว นยอดของปราสาทหรื ออาคารนั้ น มีหลักฐานปรากฏมาตั้งแตในศิลปะขอมสมัยบายน โดยมีการทํารูปหนาบุคคลสี่หนาหันประจําทั้งสี่ทิศ หลักหรือทั้งสี่ดาน ดังตัวอยางที่ยอดปราสาทของปราสาทบายนและที่ซุมประตูเมืองนครธมเปนตน การประดับรูปแบบดังกลาวพบในงานศิลปกรรมในดินแดนประเทศไทย เชื่อวาการประดับดังกลาวคง ไดรับแบบอยางหรือแรงบัลดาลใจมาจากที่เมืองนครธม และยังคงปรากฏการประดับหนาบุคคลสี่หนา เรื่อยมาจนถึงสมัยปจจุบัน
* นิสิตปริญญาโท ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๕๗
๑.การประดับรูปหนาบุคคลในงานศิลปกรรม ที่พบในดินแดนประเทศไทยกอนสมัย รัตนโกสินทร
ในดิน แดนประเทศไทยพบหลัก ฐานการทํ า รู ป ปร ะ ติ มา ก ร ร ม บุ ค คล สี่ ห น า ที่ เ ก า ที่ สุ ด คื อ ประติมากรรมที่ประดับเหนือซุมประตูของวัดพระศรี รัตนมหาธาตุเชลียง จังหวัดสุโขทัย (รูปที่ ๑) ที่เรียกวา ปราสาทเฟองมีลักษณะเปนโกลนยอดปรางค พอกปูน ป น เป น รู ป ประติ ม ากรรมหน า บุ ค คลประจํ า สี่ ทิ ศ เนื่องจากรูปแบบทางศิลปกรรมแสดงใหเห็นถึงอิทธิพล ศิลปะขอม จึง มีการกําหนดอายุวาอยูในชวงครึ่ง แรก ของพุทธศตวรรษที่ ๑๙๑ เปนไปไดอยางมากวาการทํา รูปหนาบุคคลประดับดังกลาว คงมีที่มาจากศิลปะขอม สมั ย บายน เนื่ อ งจากหลัก ทางด า นศิ ลปกรรมอื่ น ๆ ที่ถือเปนงานรุนแรก ๆ ของสุโขทัยนั้น มีอิทธิพลของ ศิลปะสมัยบายนอยู อย างมาก รวมถึ ง ประวั ติศาสตร ความสั มพั น ธ ร ะหว างเครื อญาติ ข องกษัต ริย ดิ นแดน สุโขทัยกับดินแดนกัมพูชา๒ ในราชสํ านั กอยุธ ยาการประดั บหนา บุค คล สี่หนาที่ปรากฏตามงานสถาปตยกรรม และศิลปกรรม แขนงอื่ น ๆ มีห ลัก ฐานที่ ปรากฏอยา งชั ดเจนในสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย โดยมี ก ารกล า วถึ ง ในคํ า ให ก าร ขุนหลวงวัดประดูทรงธรรมไดกลาวถึงรายละเอียดของ พระเมรุมาศ และพระเมรุ อันแบงตามฐานานุศักดิ์เปน พระเมรุ เ อก โท ตรี โดยเฉพาะพระเมรุ เ อก หรื อ พระเมรุมาศสําหรับพระมหากษัตริย ที่สําคัญพระเมรุ เอกเท า นั้ น ที่ มี ก ารประดั บ ยอดเป น พรหมพั ก ตร ๓ แตเ นื่องจากพระเมรุ เปน งานสถาปตยกรรมชั่ว คราว จึงไมหลงเหลือหลักฐานที่จะนํามาทําการศึกษาได และ ในคํา ให การชาวกรุง เก า ที่ก ลา วถึ ง พระมหาปราสาท และพระที่นั่ง บรรยงกรัตนาสนที่มียอดประดับพรหม พั ก ตร รวมถึ ง การประดั บ พรหมพั ก ตร ที่ พ ระบั ญ ชร ภายในพระที่นั่งตางๆ อีกดวย๔ อี ก ทั้ ง ยั ง ปรากฏหลั ก ฐานโบราณวั ต ถุ ที่ หลงเหลือมาจนถึง ในปจจุบั น อยูจํ านวนหนึ่ง โดยมี โบราณวัตถุชิ้นสําคัญที่จัดแสดงอยู ณ พิพิธภัณฑสถาน แหง ชาติเจาสามพระยา ที่เปน ประติมากรรมรูปหนา บุ ค คลสี่ ห น า สั น นิ ษ ฐานว า เป น ส ว นยอดของประตู
พระราชวัง ๕ (รูปที่ ๒) และพบโบราณวัตถุ ลักษณะ เดียวกันอีกสองชิ้น ที่เปนรูปหนาบุคคลสี่หนาแกะไม และปูนปน ที่สันนิษฐานวาอาจเปนยอดของบุษบกและ ประตูในสมัยอยุธยา จัดแสดงอยู ณ พิพิธภัณฑสถาน แห ง ชาติ จั น ทร เก ษม (รู ปที่ ๓ ) ร ว มถึ ง บุ ษบ ก ธรรมมาสน ที่ มี ก ารประดั บ หน า บุ ค คลจากวั ด มณี ชลขัณฑ มีจารึกการสรางชัดเจนตรงกับสมั ยสมเด็จ พระนารายณ จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ นารายณราชนิเวศน จังหวัดลพบุรีอีกดวย๖ (รูปที่ ๔) ยังมีหลักฐานสําคัญที่เปนเครื่องชวยยืนยันวา การประดั บ พรหมพั ก ตร ใ นสมั ย อยุ ธ ยานั้ น มี อ ย า ง แพร ห ลาย ดั ง เช น เจดี ย ร ายสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย ที่มีการประดับหนาบุคคลที่วัดชมภูเวก จังหวัดนนทบุรี เป น ต น (รู ป ที่ ๕) เช น เดี ย วกั บ ในงานจิ ต รกรรม ที่ ป รากฏภาพสถาป ต ยกรรมที่ มี ก ารประดั บ พรหม พัก ตร ใ นจิ ต รกรรมลายรดน้ํ า สมั ยอยุ ธ ยาตอนปลาย ภายในหอเขี ย นวัง สวนผั ก กาดอยูห ลายภาพดว ยกั น แมวาภาพจิตรกรรมดังกลาวจะไดรับการซอมมาบาง แลว แต เป นไปได วามิ ไ ด เปลี่ ยนแปลงรูป แบบเดิ มไป มากนัก (รูปที่ ๖) จะเห็นไดวาจากหลักฐานที่ปรากฏ การประดับหนาบุคคลสี่หนาหรือพรหมพักตรในสมัย อยุธยานั้น มีการนํามาใชประดับอยางหลากหลายมิได จํ า กั ด อยู เ พี ย งงานสถาป ต ยกรรมแต ยั ง รวมถึ ง งาน ศิ ล ปกรรมอย า งอื่ น ซึ่ ง สะท อ นถึ ง ความนิ ย มในการ ประดับหนาบุคคลสี่หนาไดเปนอยางดี ลวงเขาสูสมัยรัตนโกสินทรการประดับหนา บุ ค คลสี่ ห น า ดั ง กล า วยั ง คงปรากฏอยู สื บ มา ตั้ ง แต สมั ย ต น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ในโคลงถวายพระเพลิ ง พระบรมอั ฐิ พ ระเจ า หลวง กรมหมื่ น ศรี สุ เ รนทร ท รง ประพั น ธ เป น ทํ า นองจดหมายเหตุ ๗ งานถวาย พระเพลิ ง และฉลองพระอั ฐิ พ ระราชบิ ด า ของ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลก มี ก าร กลาวถึงการทําพรหมพักตรประดับที่ยอดพระเมรุมาศ ดวย๘ เมื่อพิจารณาจากโคลงขางตนแลว รูปแบบของ พระเมรุ ม าศคงได รั บการสืบ ทอดมาจากสมั ยอยุธ ยา และการทําพระเมรุมาศยอดปรางคมีการประดับหนา บุคคลหรือที่เรียกวาพรหมพักตรประดับ ถือไดวาเปน พระเมรุที่มีฐานันดรศักดิ์สูงที่สุด
๕๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
รูปที ๓.๑ พรหมพักตร แกะไม ยอดบุษบก พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม
รูปที่ ๕ เจดียร ายยอดประดั บ พรหมพักตร วัดชมพูเวก นนทบุรี
รูปที่ ๗ บุษบกที่เรียกวาปราสาท ทอง เปนที่ประดิษ ฐานพระอัฐิของ กรมพระราชวังบวรสามพระองค สร า งขึ้ น ในส มั ย รั ช กาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร
รูปที ๓.๒ พรหมพั กตรปู นป น พิพิธภัณฑสถานแหงชาติจันทรเกษม รูปที่ ๖.๑ พรหมพักตรประดับ ยอดซุ ม ประตู จิ ต รกรรมลายรดน้ํ า ภายในหอเขียนวังสวนผักกาด
รูป ที่ ๘ บุษ บกยอดปรางค ประดับพรหมพักตร วัดไพชยนตพล เสพยราชวรวิหาร สมุทรปราการ
รูปที่ ๔ บุษบกธรรมาสนจากวัด มณีชลขัณฑ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สมเด็จพระนารายณ ที่มา : เจตน เพชรรัตน
รูปที่ ๖.๒ พรหมพักตรประดับ ยอดซุมประตู จิตรกรรมลายรดน้ําภายใน หอเขียนวังสวนผักกาด
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๕๙
โบราณวั ต ถุ ห ลายชิ้ น ที่ อ ยู พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน แห ง ชาติ พระนครในป จจุ บั น ที่มี การประดั บรู ปหน า บุ ค คลดั ง กล า ว ซึ่ ง โดยส ว นใหญ เ ป น การประดั บ ที่ สวนยอดของบุษบกอันไดแก บุษบกที่เรียกวาปราสาท ทอง เป น ที่ป ระดิ ษ ฐานพระอั ฐิ ของกรมพระราชวั ง บวรสามพระองค ๙ สร า งขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ ๔ ๑๐ จั ด แสดงอยู ใ นพระที่ นั่ ง วายุ ส ถานอมเรศ (รู ป ที่ ๗) และบุษบกจําลองไมทราบที่มาจัดแสดงอยูในพระที่นั่ง ปฤษฎางคภิมุข และบุษบกยอดปรางคที่วัดไพชยนต พลเสพย (รูปที่ ๘) เชื่อวาเปนบุษบกที่เคยประดิษฐาน พระพุทธสิง หิง ค สรางขึ้น ในสมัยสมเด็จพระบวรราช เจ ามหาสุร สิ ง หนาท๑๑ โดยตอ มาในสมัย รัช กาลที่ ๓ สมเด็ จ พระบวรราชเจ า มหาศั ก ดิ พ ลเสพโปรดให ย ก บุษบกยอดปรางคองคนี้ ถวายเปนพุทธบูชาประดิษฐาน พระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถวัดไพชยนตพลเสพย พระอารามที่ทรงสรางขึ้น ไมเพียงแตหลักฐานที่หลงเหลืออยูในปจจุบัน เทานั้น เอกสารประวัติศาสตรก็มีการกลาวถึงพระที่นั่ง มี ชื่ อ ว า พระที่ นั่ ง พรหมพั ก ตร ตั้ ง อยู ใ นพระราชวั ง บวรสถานมงคล ที่ มี ม าตั้ ง แต ส มั ย สมเด็ จ พระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท สันนิษฐานวาตั้งอยูตรงบริเวณ มุขดานหลังของพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย ซึ่งพื้นที่ดังกลาว แตเดิมในสมัยสมเด็ จพระบวรราชเจามหาสุรสิง หนาท คงเปนสวนที่เปนทองพระโรงมีพระที่นั่งพรหมพักตร ๑๒ และมีผูสัน นิษฐานวาพระที่นั่งดังกลาวอาจเปนบุษบก มาลาในพระที่ นั่ง อิศ ราวิ นิจ ฉัย แต มีก ารซอมแซมใน สมัยตอๆมาจึง ไมมียอดพรหมพักตรปรากฏ๑๓ จะเห็น ได ว า ในช ว งเวลาดั ง กล า วภายในพระราชวั ง บวรสถานมงคล มี ก ารสร า งบุ ษ บกที่ มี ก ารประดั บ หน า บุคคลสี่หนาประดับอยูหลายองคดวยกัน คงเปนการสืบ ทอดรู ป แบบที่ มี ม าแต เ ดิ ม ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย เนื่ อ งจากในสมั ย ต น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร พระบรมวงศานุวงศลวนมาจากราชสํานักอยุธยาทั้งสิ้น รูปแบบ การประดั บ หน า บุ ค คลรวมถึ ง รู ป แบบของบุ ษ บก ดังกลาวยอมเปนงานที่ทําสืบทอดมาจากชางอยุธยา ในพระที่ นั่ ง พุ ท ไธสวรรย มี ภ าพจิ ต รกรรม แสดงเรื่ องราวพุ ทธประวั ติ เขีย นขึ้ น ตั้ ง แตค ราวแรก สรางพระที่นั่งราวป พ.ศ.๒๓๓๘ - ๒๓๔๐๑๔ ปรากฏ
ภาพปราสาทและซุมประตูที่มีการประดับหนาบุคคลใน ภาพพุทธประวัติสามตอน๑๕ (รูปที่ ๙) แมวาจิตรกรรม ในพระที่นั่งพุทไธสวรรยนั้นผานการซอมแซมมาตั้งแต ในสมัยสมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพแลวก็ ตาม๑๖ แตมีผูศึกษาไววาภาพจิตรกรรมที่อยูทางดาน ขวามือและดานหลังของพระประธานยังคงเปนฝมือชาง สมัยรัชกาลที่ ๑ คือคราวแรกสรางที่คอนขางสมบูรณ เนื่องจากถูกซอมแซมนอยที่สุด๑๗ บริเวณดังกลาวก็คือ บริเวณที่ปรากฏภาพปราสาทที่ประดับรูปหนาบุคคลที่ ส ว นยอด และยั ง มี ผู แ สดงความเห็ น ว า รู ป แบบของ ปราสาทที่ประดับรูปหนาบุคคลดัง กลาว เปน รูปแบบ ของปราสาทที่มีอายุอยูในชวงตนกรุงรัตนโกสินทรอีก ดวย๑๘ จิตรกรรมในชวงรัตนโกสินทรตอนตนอีกแหง หนึ่งที่มีภาพปราสาทและซุมประตูประดับหนาบุคคล ปรากฏอยู คื อ จิ ต รกรรมรามเกี ย รติ์ ร อบระเบี ย งคด วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (รูปที่ ๑๐) ซึ่งมีปรากฏอยูใน หลายภาพดว ยกั น ถึ ง แม ว าภาพจิต รกรรมที่ นี่จ ะถู ก ซอมแซมหลายครั้ ง แตก็เปนไปได วาชางผูซอมคงจะ ซอมตามเคาโครงเดิม มิไดเปลี่ยนแปลงภาพไปเสียหมด อนึ่งภายในวังหนาหรือพระราชวังบวรสถาน มงคลในช ว งแรกสร า งนั้ น มี ชื่ อ ประตู พ รหมพั ก ตร ปรากฏอยูดวย๑๙ เปนไปไดอยางมากวาประตูดังกลาว คงจะมี ก ารประดั บ ยอดซุ ม ประตู ด ว ยหน า บุ ค คล เชนเดียวกันกับที่ปรากฏในงานจิตรกรรม โดยรูปแบบ การประดับหนาบุคคลที่ยอดปราสาทหรือยอดซุมประตู คงเป น ไปในกรณี เ ดี ย วกั น กั บ กลุ ม บุ ษ บกที่ ส ร า งขึ้ น ในชวงเดียวกันดังที่กลาวถึงไปแลวขางตน วาเปนงาน ศิลปกรรมและงานสถาปตยกรรมที่สืบทอดรูปแบบมา จากราชสํานักอยุธยา ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ มีการใหนําเอารูป หนาบุคคลหรือที่เรียกวาพรหมพักตรมาประดับที่ยอด เครื่ องสู ง ๒๐ โดยสมเด็จ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ สันนิษฐานวาการประดับพรหมพักตรนั้นมีมาตั้งแตใน พระที่นั่ ง พรหมพักตร ในพระราชวัง บวรสถานมงคล สมัยรัชกาลที่ ๑ แลว ตอมารัชกาลที่ ๔ ชอบพระราช ฤทัยจึงโปรดใหนําเอาพรหมพักตรมาใสที่ยอดเครื่องสูง ใหมีความแตกตางจากกลดของเจานาย๒๑ ในชวงเวลานี้ การประดับหนาบุคคลหรือที่เรียกวาพรหมพักตร คงจะ
๖๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ป ร า ก ฏ อ ยู ที่ ย อ ด เ ค รื่ อ ง สู ง คื อ พ ร ะ ก ล ด ข อ ง พระมหากษัต ริ ยตั้ ง แตส มั ยรั ช กาลที่ ๔ เป นต น มา เนื่ อ งจากในป จ จุ บั น พระกลดที่ มี ย อดเป น รู ป พรหม พักตรยังคงมีการใชอยูสืบมาจนถึง สมัยรัชกาลปจจุบัน (รู ป ที่ ๑๑) อี ก ทั้ ง ยั ง คงจํ า กั ด อยู เ พี ย งพระกลดของ พระมหากษัตริย คือของพระเจ าอยูหั วเพี ยงพระองค เดียวเทานั้น๒๒
รูปที่ ๑๐ ยอดซุมประตูประดับพรหมพักตรกรุง ลงกา จิตรกรรมรามเกียรติ์รอบระเบียงคดวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
รูปที่ ๑๑.๑ พระกลดยอดพรหมพักตร ปจจุบันเลิก ใชงานแลว ที่ ม า : ลั ก ษณ สุ ด า ศรี รั ต นวิ ท ย , เครื่ อ งสู ง สมั ย รัตนโกสินทรแ ละความสัม พันธใ นงานจิตรกรรมฝาผนัง , การศึ ก ษาเฉพาะบุ ค คลในประวั ติ ศ าสตร ศิ ล ปะ ภาควิ ช า ประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร , ๒๕๕๓. รู ป ที่ ๙.๑และ ๙.๒ อาคารทรงปราสาทมี เ ครื่ อ งยอด ประดับพรหมพักตร จิตรกรรมพุทธประวัติภายในพระที่นั่งพุท ไธสวรรย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๖๑
รูปที่ ๑๑.๒ พระกลดยอดพรหมพักตร ที่ ม า : ลั ก ษณ สุ ด า ศรี รั ต นวิ ย , เครื่ อ งสู ง สมั ย รัตนโกสิ นทร แ ละความสัม พันธ ใ นงานจิ ตรกรรมฝาผนัง , การศึ ก ษาเฉพาะบุ ค คลในประวั ติ ศ าสตร ศิ ล ปะ ภาควิ ช า ประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร , ๒๕๕๓.
อยางไรก็ตามในงานสถาปตยกรรมก็ยังคงพบ หลั ก ฐานเช น เดี ย วกั น ว า มี ก ารทํ า หน า บุ ค คลหรื อ พ ร ห ม พั ก ต ร ป ร ะ ดั บ สื บ ท อ ด ม า จ า ก ส มั ย ต น กรุงรัตนโกสินทร โดยพบในกลุมของยอดปราสาทและ ยอดซุ ม ประตู ข องเขตพระราชฐานชั้ น กลางใน พระบรมมหาราชวัง มีประตูที่ประดับพรหมพักตรอยู หลายประตูไดแกประตูดุสิตศาสดา ประตูสนามราชกิจ ประตูพรหมโสภา และประตูพรหมศรีสวัสดิ์ (รูปที่ ๑๒) รวมถึง ยอดซุมประตูทั้ง สองของมุขดานหนาพระที่นั่ง อมรินทรวินิจฉัยฯ อีกดวย ทั้งหมดสันนิษฐานวาสราง ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔๒๓ (รูปที่ ๑๓) มีเพียงประตูดุสิต ศาสดาเท า นั้ น ที่ มี เ อกสารว า พระพรหมพิ จิ ต รเป น ผู อ อกแบบ ๒๔ ในช ว งรั ช กาลที่ ๖ มี ก ารสร า งหอ พระจอมขึ้น ภายในวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม หอดั ง กล า วนี้ เ ป น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมรู ป ของ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว มี รู ป แบบ สถาป ต ยกรรมเป น ปราสาทแบบขอมที่ ป ระดั บ พรหมพักตรอยางชัดเจน (รูปที่ ๑๔) จะเห็นไดวาใน สมัยรัช กาลที่ ๔ มีห ลักฐานการนําเอาพรหมพักตร
กลับมาใชประดับในงานศิลปกรรมคอนขางมาก เปนไป ไดหรือไมวาอาจเกี่ยวของกับการที่รัชกาลที่ ๔ เคยมี พระราชดําริใหรื้อเอาปราสาทในเขมรมาไวในพระนคร ก็เปนได๒๕ ที่ สํ า คั ญ ใ น พ ร ะ เ ม รุ ม า ศ ถื อ เ ป น ง า น สถาปตยกรรมชั่วคราว ที่พบในสมัยรัตนโกสินทรดัง ที่ ไดกลาวไปแลววาในสมัยรัชกาลที่ ๑ นั้นระเบียบในการ ประดั บ พรหมพั ก ตร ที่ ย อดพระเมรุ ยั ง คงปรากฏอยู แตตอมาอยางนอยในสมัยรัชกาลที่ ๔ หลักฐานที่เปน ภาพถ า ยพระเมรุ ม าศไม มี ก ารประดั บ พรหมพั ก ตร ปรากฏอยูแลว การประดับพรหมพักตรที่ยอดพระเมรุ มาศกลับมาปรากฏอีกครั้ง โดยมีพระเมรุมาศในกลุมที่ สมเด็ จ เจ า ฟ า กรมพระยานริ ศ รานุ วั ด ติ ว งศ เ ป น ผูออกแบบ ตั้งแตพระเมรุมาศของพระศรีพัชริน ทราบรมราชิ นี น าถ พระเมรุ ม าศของรั ช กาลที่ ๖ และ สืบทอดโดยชางผูออกแบบพระเมรุในสายของสมเด็จ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดแก พระเมรุมาศ ของรัชกาลที่ ๘ ชางผูออกแบบคือพระพรหมพิจิตร ถือแบบอยางพระเมรุที่สมเด็จเจาฟากรมพระยานริศฯ เคยออกแบบไว พระเมรุม าศสุ ดท า ยที่ มีก ารประดั บ พรหมพักตร คือพระเมรุมาศของสมเด็จพระนางเจารํ า ไพพรรณี พ ระบรมราชิ นี น าถ ออกแบบโดยนาย ประเวศ ลิมปรังษี (รูปที่ ๑๕) ที่กลา วมาทั้ ง หมดเปนหลักฐานการประดั บ หนาบุคคลหรือที่เรียกวาพรหมพักตรที่ปรากฏมาตั้งแต สมั ย สุ โ ขทั ย และมี ห ลั ก ฐานปรากฏมากที่ สุ ด ในสมั ย รัตนโกสิน ทร การประดับรูป แบบดัง กลาวปรากฏใน งานศิลปกรรมที่คอนขางหลากหลาย ความหลากหลาย นี้อ าจขึ้น อยู กับ คติ ค วามหมาย รวมถึ ง ความเข า ใจที่ นําเอารูปแบบการประดับรูปหนาบุคคลมาใช เพื่อให สอดคลองไปกับการใชงานนั้น ๆ ๓.ความเขาใจเกี่ยวกับการประดับรูปบุคคล สี่หนาในศิลปะไทยที่เรียกวาพรหมพักตร ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วไปแล ว ว า การประดั บ รู ป หน า บุคคลสี่หนาในศิลปะไทยมีชื่อเรียกวาหนาพรหมหรือ พรหมพั ก ตร นั้ น ปรากฏหลั ก ฐานที่ เ ป น ลายลั ก ษณ อั ก ษร ใน สมั ย อยุ ธ ย าตอ น ปลา ย และ สมั ย ต น
๖๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
กรุงรัตนโกสินทร จากหลักฐานดัง กลาวทําใหทราบวา การประดับรูปใบหนาบุคคลสี่หนา มีชื่อเรียกวาพรหม พั ก ตร หรื อ พรหมภั ก ตร คํ า ว า พรหมพั ก ตร ตาม ความหมายในพจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน หมายถึง ยอดเครื่องสูง หรือยอดสิ่ง กอสรางที่เปน หนา พรหมสี่ดาน๒๖ พรหมในที่นี้มีความหมายถึงพรหมองค ใด กล า วคื อ พรหมในศาสนาพราหมณ ห รือ พรหมใน พุ ท ธศาสนา พรหมแรกคื อ พระพรหมของศาสนา พราหมณ ที่มี ลัก ษณะทางประติ มานวิ ทยาที่ มีสี่ หน า สวนพรหมของพุทธคือหนึ่ง พระพรหม ในฐานะที่เปน บุ ค คลที่ อ าราธนาพระพุ ท ธเจ า ให โ ปรดแสดงธรรม และมั ก ปรากฏเป น บริ ว ารขนาบข า งพระพุ ท ธเจ า ดังเชนที่ปรากฏในพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากสวรรค ชั้นดาวดึง ส สองพรหมที่อาศัยอยูในสวรรคชั้น พรหม ดั ง ที่ มี ป รากฏอยู ใ นไตรภู มิ ก ถา ความหมายของ พรหมพั ก ตร ที่ มี หลั ก ฐานในสมั ยอยุ ธยา อาจมีค วาม เชื่อมโยงกับพรหมทั้ง ในศาสนาพราหมณและศาสนา พุทธ เนื่องจากการเรียกวาพรหมพักตรนั้น คงเกิดจาก ความเข า ใจว า การทํ า หน า บุ ค คลสี่ ห น า ดั ง กล า ว คือพระพรหมเนื่องจากพระพรหมมีสี่หนา อนึ่ ง วรรณคดีใ นสมัย อยุ ธยา มีอิ ทธิ พลของ พรหมปรากฏอยูโดยทั่วไป ทั้งพรหมในพุทธศาสนาและ พรหมของศาสนาพราหมณ ปะปนกัน ไป ๒๗ ในลิลิ ต โองการแชงน้ําวรรณคดีที่เชื่อกันวาแตงในสมัยอยุธยา ตอนตน มีกลาวถึงพระพรหมในตอนตน ที่แสดงใหเห็น ถึ ง ความเป น พระพรหมในศาสนาพราหมณ เช น มี สี่ ห น า มี ด อกบั ว เป น อาสนะ ขี่ ห งส เป น ต น แต ใ น ขอความตอจากนั้น กลาววาเปนผูเผยใหชาวโลกรูจัก สวรรคทั้งสิบหกชั้นของพรหม ซึ่งเรื่องสวรรคสิบหกชั้น ฟ า เป น ความเชื่ อ ทางพุ ท ธศาสนา ๒๘ ดั ง นั้ น แสดงว า ตั้ง แต ส มัย อยุ ธ ยาตอนตน ได เกิ ด มี ค วามสั บ สนเรื่ อ ง พรหมของพุทธและพระพรหมของพราหมณแลว เหตุที่ ตองกลาวถึงวรรณคดีไทยก็เนื่องจากตั้งแตสมัยสุโขทัย พรหมที่ ป รากฏในไตรภู มิ พ ระร ว งเป น พรหมใน พุทธศาสนา และในไตรภูมิพระรวงไมเคยระบุวาพรหม มีสี่หนา โดยรุงโรจน ธรรมรุงเรือง ไดใหความเห็นไว วา พระพรหมสี่หนาที่ปรากฏตามพุทธสถานตาง ๆ ไม
ว า จะรู ป เคารพหรื อ งานจิ ต รกรรมฝาผนั ง ย อ มเป น อิทธิพลจากลั กษณะของพระพรหมในศาสนาฮินดู ๒๙ แสดงให เ ห็ น ว า มี ก ารนํ า รู ป แบบพระพรหมของ พราหมณ มาใชในการแสดงภาพพรหมของพุทธศาสนา ในดานศิลปกรรมพรหมของพุทธที่มีรูปแบบเปนสี่หนา เหมื อ นพรหมของฮิ น ดู นั้ น เริ่ ม มี ป รากฏมาตั้ ง แต ใ น ศิลปะสมัยปาละ โดยในชวงสมัยกอนหนานี้พรหมหรือ พระพรหมในพุทธศาสนา ที่เรียกวาพระพรหมนั้น ไม ปรากฏการทําสี่หนาแตอยางใด การเรียกวาพรหมพักตรนั้น คงเกิดจากความ เขาใจวาการทําหนาบุคคลสี่หนาดังกลาว คือพระพรหม เนื่ อ งจากพระพรหมมี สี่ ห น า เป น เทพเจ า ในศาสนา พราหมณ แตหลักฐานเอกสารขางตนไดแสดงใหเห็นถึง ความเขาใจที่ปะปนกัน เห็นไดจากหลักฐานศิลปกรรม ของพรหมในพุทธศาสนาตั้งแตในสมัยสุโขทัย ที่มีการ ทํารูปพรหมมีสี่หนาเชนในภาพปูนปนตอนพระพุทธเจา เสด็ จลงจากสวรรคชั้ นดาวดึ ง ส จนถึง ภาพพรหมที่ ปรากฏในภาพจิตรกรรมสมัยอยุธยา (รูปที่ ๑๖) แสดง ใหเห็นวาพระพรหมทั้ง ของพุทธและพราหมณลวนมี สี่หนาเหมือนกันนั่นเอง ๔.วิเคราะหความหมายของการทํารูปหนา บุคคลประดับงานศิลปกรรมในดินแดนประเทศไทย พรหมพั ก ตร ที่ ป รากฏในงานศิ ล ปกรรมที่ กล า วไปแล ว คงมี รู ป แบบแต ล ะยุ ค สมั ย ในด า น รายละเอี ย ดของการประดั บ หน า บุ ค คลที่ เ รี ย กว า พรหมพัก ตร ที่ไ ม ต างกั น มากนั ก กล า วคื อ มั กทํ า เป น ประติมากรรมใบหนาบุคคล ลักษณะคลายกับใบหนา ของเทวดา สวมเครื่องทรงเปนมงกุฎหรือชฎา หากแต ความแตกต างนั้ น คงเป น ที่ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ คติ ที่ รั บ มาใช ม ากกว า เนื่ อ งจากรู ป หน า บุ ค คลสี่ ห น า ที่ ปรากฏที่ ป ราสาทบายนและซุม ประตูที่ เมื อ งนครธม รวมถึงปราสาทสมัยบายนแหงอื่น ๆ ยังไมสามารถระบุ ได ว า เป นใบหน า ขอ งบุ คคลใดไ ด อ ย า งชั ดเจน (รูปที่ ๑๗) เมื่ อ พิ จ ารณาจากประเด็ น ความสื บ เนื่ อ งที่ เกี่ย วข องกัน ของศิ ลปะเขมร ในสมั ยบายนกั บศิ ลปะ สุ โ ขทั ย และศิ ล ปะอยุ ธ ยา อย า งแรกรู ป หน า บุ ค คลที่
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๖๓
ประดับที่ปราสาทเฟอง วัดมหาธาตุเชลียงนั้น มีความ เปนไปไดมากวาอาจรับมาทั้งรูปแบบ และคติความเชื่อ เดิ ม ที่ มี ม าตั้ ง แต ส มั ย บายนหรื อ หลั ง สมั ย บายน เนื่องจากดังที่ไดกลาวไปแลววาสุโขทัยมีความสัมพันธ ทางเครือญาติกับราชสํานักเขมร๓๐ การรับเอารูปแบบ มาใชอาจสอดคลอง กับคติความเชื่อที่วารูปหนาบุคคล ดั ง กล า วอาจเป น ท า วจตุ โ ลกบาลหรื อ พระโพธิ สั ต ว อวโลกิเตศวรอยางใดอยางหนึ่งก็เปนได เนื่องจากการ ประดั บ ที่ ย อดปราสาทซึ่ ง เป น ซุ ม ประตู ท างเข า เชนเดียวกันกับที่พบในสมัยบายน แตเมื่อมาปรากฏใน สมัยอยุธยาดวยระยะหางของระยะเวลายอมมีผลตอ การรับรู และเขาใจในเรื่องคติความหมายที่แฝงอยูใน การประดับหนาบุคคล เพราะฉะนั้นการรับรูปแบบมา ใชอาจเปน เพียงการเลียนแบบ หรือเอาแบบอยางทาง รูปแบบมา แลว นํามาปรับ ใชกั บคติค วามเชื่อในแบบ ของตนเอง ๔.๑ เสมื อ นเป น สั ญ ลั ก ษณ แ สดงถึ ง ที่ ประทับ ของพระมหากษัตริย แ ละแสดงฐานานุศัก ดิ์ เนื่องจากจุดเริ่มตนหรือที่มาของการประดับ หน า บุ ค คลที่ เ รี ย กว า พรหมพั ก ตร นั้ น คงเกิ ด ขึ้ น ใน รัชกาลของสมเด็จพระเจา ปราสาททอง ดัง ที่สมเด็จ พระเจ า บรมวงศ เ ธอกรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ ทรงวินิจฉัยวาการทําหนาบุคคลหรือหนาพรหมดังกลาว ที่ยอดประตูพรหมในสมัยอยุธยา เปนการเลียนแบบมา จากขอม ตั้ ง แต เ มื่ อ ครั้ ง พระเจ า ปราสาททอง ๓ ๑ คงเกี่ยวของกับที่ในสมัยดังกลาวมีการไปถายแบบเมือง พระนครหลวงมาสรางไวที่กรุงศรีอยุธยา ประตูที่มีการ ประดับพรหมพักตรในสมัยอยุธยาตามความเห็นของ พระยาโบราณราชธานิน ทรมีอ ยูสองประตูดวยกัน ๓๒ การใช พ รหมพั ก ตร เ พื่ อ แสดงฐานานุ ศั ก ดิ์ จ ะปรากฏ เชน เดียวกัน ในงานจิตรกรรมที่พระที่นั่ง พุทไธสวรรย กล า วคื อ ปราสาทที่ มี ย อดพรหมพั ก ตร นั้ น จะเป น ปราสาทที่ประทับของพระมหากษัตริย เชนเดียวกันกับ จิ ต รกรรมรามเกี ย รติ์ ที่ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม ปร าสาทที่ มี พ ร หมพั ก ตร จ ะ เป น ที่ ป ร ะทั บของ พระมหากษั ต ริ ย เ ช น ทศกั ณ ฐ เ ป น ต น ๓๓ เหล า นี้ ย อ ม สะท อ นถึ ง ความหมายของพรหมพั ก ตร ที่ เ ป น
สัญลักษณหรือตัวแทนเพื่อสื่อถึงการเปนที่ประทับของ พระมหากษัตริยไดอยางดี อีกทั้ง ยัง เกี่ยวของกับพรหมพักตรที่ประดับ พระเมรุ ซึ่ ง จํ า กั ด อยู ใ นพระเมรุ เ อกซึ่ ง เป น พระเมรุ สําหรับพระมหากษัตริยเทานั้น ดังที่ไดกลาวไปแลววา เอกสารประวัติศาสตรที่กลาวถึง งานพระเมรุ ในสมัย อยุ ธ ยาตอนปลายและสมัย รั ต นโกสิ นทร ต อนต น นั้ น พรหมพักตรจะประดับอยูเฉพาะพระเมรุเอก ที่ถือเปน พระเมรุที่มีฐานานุศักดิ์สูง สุดเทานั้น กฎหรือระเบียบ ของงานพระเมรุ ดั ง กล า ว แสดงให เ ห็ น ถึ ง การให ความสําคัญกับพระเมรุโดยใชการประดับพรหมพักตร เปนสัญลักษณสื่อความหมายแสดงถึงพระมหากษัตริย หรือบุคคลสูง สุด ดัง นั้นเองการประดับพรหมพักตรใน ชว งเวลาดั ง กล า ว ย อ มเปน ไปได อ ย า งมากว า พรหม พักตรค งทําหนาที่แ สดงสถานะภาพหรื อฐานานุศัก ดิ์ สูงสุด เช น เดี ย วกั น กั บ กรณี ข องการทํ า พระที่ นั่ ง พรหมพั ก ตร ในสมั ย ของสมเด็ จ พระบวรเจ า มหาสุ ร สิงหนาทหรือวังหนาในสมัยรัชกาลที่ ๑ การนําพรหม พั ก ตร ม าใส บ นยอดพระที่ นั่ ง ย อ มแสดงให เ ห็ น ถึ ง ความหมายแฝงบางอย าง เนื่อ งจากพรหมพัก ตร นั้ น ตั้งแตสมัยอยุธยาตอนปลายเอกสารระบุวาจะใชไดกับ พระเมรุเอกคือเมรุของพระมหากษัตริย และแมวาจะมี หลั ก ฐานว า มี ก ารนํ า พรหมพั ก ตร ม าประดั บ ที่ ย อด บุษบกธรรมาสนแลวก็ตาม แตการประดับพรหมพักตร ที่พระที่นั่ ง ดัง กล าวอาจเกี่ย วขอ งกับ ความนิ ยมอยา ง หนึ่ ง ของสกุ ลช างวัง หน า ที่ป รากฏการทํ าบุ ษบกยอด พรหมพั ก ตร มาตั้ ง แต ส มั ยรั ช กาลที่ ๑ และเป น ได หรือไมวาอาจตองการสื่อความหมายวาผูที่ไดประทับนั่ง ณ พระที่ นั่ ง พรหมพั ก ตร นี้ คื อ บุ ค คลที่ จ ะได เ ป น พระมหากษัตริยพระองคตอไป ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อทรงโปรดให นําเอาพรหมพักตรมาประดับที่ยอดพระกลด เปนการ แสดงฐานานุศักดิ์ที่ชัดเจน เพื่อแบงแยกยอดเครื่องสูง ของพระมหากษัตริยกับเจานายองคอื่น ๆ ทําใหพรหม พั ก ต ร ก ล า ย เ ป น สั ญ ลั ก ษ ณ แ ส ด ง ค ว า ม เ ป น พระมหากษัตริยที่มีฐานานุศักดิ์สูงสุด
๖๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
๔.๒ เสมื อ นเป น สั ญ ลั ก ษณ บ ง บอก ทิพยภาวะและสวรรคชั้นพรหม เมื่อพิจารณาถึงที่มาและความเขาใจที่เกิดขึ้น ในสมั ย อยุ ธ ยาเกี่ ย วกั บ การประดั บ พรหมพั ก ตร อาจกลาวไดวาคงมิไดมีความสัมพันธดานคติความเชื่อ ที่ม าจากเมือ งพระนครหลวงโดยตรง เนื่อ งจากช ว ง ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ซึ่งขณะนั้นอาณาจักรกัมพูชา ก็ไ ด นับถื อพุท ธศาสนาเถรวาทเปนศาสนาหลัก ยอ ม เปนไปไดวาคติความเชื่อที่เกี่ยวของกับใบหนาบุคคล ดัง กล าวย อมเปลี่ยนแปลง เนื่ องจากเดิมการประดั บ หนาบุคคลที่ปราสาทบายนและที่ซุมประตูเมืองนครธม นั้น อาจมีความเกี่ยวของกับคติความเชื่อในศาสนาพุทธ แบบมหายาน ด ว ยระยะเวลาและความเชื่ อ ทาง พุทธศาสนาราชสํานักอยุธยานาจะรับเอาเพียงลักษณะ ทางรูปแบบมาใช แตไมไดรับเอาคติความเชื่อเดิมติดมา ดวย อนึ่ ง สมั ย อยุ ธ ยาตอนต น ในราวปลาย พุทธศตวรรษที่ ๒๐ คือชวงที่สมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่สอง (เจาสามพระยา) เสด็จไปตีเมืองพระนครหลวง และไดนําเอารูปเคารพตลอดจนพราหมณและขุนนาง ราชสํานักกัมพูชาเขามาที่อยุธยาดวย๓๔ และมีหลักฐาน ดานศิลปกรรมในสมัยอยุธยาตอนตนที่สะทอนใหเห็น ถึงอิทธิพลเขมรที่ปรากฏอยูในอยุธยา เชนการประดับ ฐานเจดียดวยสิงหเปนตน๓๕ อีกทั้ง มีการคนพบเครื่อง ทองในกรุข องวัดราชบูรณะที่ หนึ่ง ในนั้น คือ พระเต า ทักษิโณทกรูปเทวดาสี่หนาหรือที่เรียกวาพรหมพักตร ปรากฏอยูดวย ก็อาจจะเปน ไปไดวา อาจมีก ารทํารู ป ใบหนาบุคคลแบบสี่หนา ประดับสิ่งของตาง ๆ มาแลว อย า งน อ ยก็ ใ นช ว งกลางพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๐ ๓ ๖ (รูปที่ ๑๘) แตก็ไ มสามารถระบุไ ดอยางแนน อนวารับ เอารูปแบบมาจากการทําหนาบุคคลที่พบในสมัยบายน โดยตรงหรือไม ผูเ ขีย นมี ความเห็น วา เนื่ องจากการประดั บ หน าบุ ค คลที่ เ มื อ ง พ ร ะน คร หลว ง นั้ น จะ พ บใน สถาปตยกรรม การที่พระเตาดังกลาวเปนงานประณีต ศิลปจึงมีความเปนไปไดวา การประดับใบหนาดังกลาว อาจมีคติความหมายที่แตกตางออกไป ดังที่ไดกลาวไป แลวขางตนวาสมัยอยุธยาตอนตน ก็มีความสับสนเรื่อง
พรหมสะทอนผานวรรณกรรม อีกทั้งเมื่อพิจารณาจาก รูปแบบของหนาบุคคลสี่หนาที่ประดับที่ยอดพระเตา แลวพบวา มีลักษณะที่ใกลเคียงกันกับเทวรูป ที่รับเอา อิทธิพลดานรูปแบบมาจากเทวรูปสุโขทัย ผูเขียนจึง มี ความเห็ น ว า อาจเป น ไปได ที่ มี ก ารทํ า รู ป หน า บุ ค คล สี่ ห น า ประดั บ งานศิ ล ปกรรมมาตั้ ง แต ส มั ย อยุ ธ ยา ตอนตนแลว โดยบุคคลประดับดัง กลาวอาจเปนหน า ของพระพรหมหรื อ เทวดาองค อื่ น ๆที่ ทํ า เป น สี่ ห น า เนื่องจากวาเมื่อพิจารณาถึงความหมายแลว การนําเอา หนาเทวดามาประดับสิ่งของอาจเกี่ยวของกับการแสดง ความเปนสิ่ ง ของเครื่ องใชที่เปน ของสูง หรือเปนของ ทิพยโดยเฉพาะกรณีของพระเตาดังกลาวอาจสื่อความ หมายถึงน้ําที่เปนน้ําศักดิ์สิทธิ์จากสรวงสวรรคก็เปนได อนึ่ ง บุ ษ บกสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลายที่ มี ก าร ประดับพรหมพักตร ที่สวนยอดของบุษบกธรรมาสน วั ด มณี ช ลขั ณ ฑ และในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร ต อนต น ก็ ปรากฏบุ ษบกที่ป ระดั บ พรหมพั ก ตร ที่ ใช ใ นงานพุ ท ธ ศาสนาเชนเดียวกันคือบุษบกยอดปรางคที่ปจจุบันอยูที่ วัดไพชยนตพลเสพย การปรากฏของพรหมพักตรใน บุ ษ บกดั ง กล า ว น า จะมี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ คติ ห รื อ ความหมายทางพุทธศาสนา กลาวคือถาพรหมพักตร ดังกลาวเปนความเชื่อเกี่ยวกับพรหมจริง ยอมแสดงให เห็ น ว า การประดั บ พรหมพั ก ตร ใ นที่ นี้ อาจแสดงถึ ง สวรรคในชั้นพรหม พรหมพักตรที่มีความหมายเกี่ยวกับ การแสดงสวรรคชั้นพรหม อาจจะชัดเจนในกรณีของ การประดั บ ที่ พ ระเมรุ เ อกนอกเหนื อ จากการแสดง ฐานานุศักดิ์สูงสุด แนวคิดพื้นฐานในการสรางพระเมรุ มาศตั้ ง แต ส มั ย อยุ ธ ยา น า จะนํ า มาจากคติ ก ารสร า ง ปราสาทขอม๓๗ และมีวิวัฒนาการดานรูปแบบเปนของ ตนเอ งใน สมั ย ต อ ๆ ม า ด วยคติ ค ว ามเชื่ อ ว า พระมหากษัตริยทรงเปนสมมุติเทพ การถวายพระเพลิง พระบรมศพ ณ พระเมรุ ม าศ ย อ มเป น การสื่ อ ความหมายว า กษั ต ริ ย ผู ส วรรคตนั้ น ได เ สด็ จ ไปสู เทวพิภพ ณ ดินแดนเขาพระสุเมรุ สวนองคพระเมรุที่มี ลักษณะเชนเดียวกัน กับปราสาทราชวังก็มีความหมาย วา กษัตริยที่ประทับอยูที่นั่นคือเทพนั่นเอง๓๘ ดังนั้น พระเมรุ ก็ คื อ เขาพระสุ เ มรุ เ ป น จั ก รวาลจํ า ลอง ที่ถายทอดออกมาเปนมณฑลพิธี
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๖๕
การสรางพระเมรุมาศใหเปนเขาพระสุเมรุนั้น เกี่ยวของกับคติความเชื่ อของไทยเกี่ยวกับไตรภูมิโลก สัณฐาน โดยมีที่มาจากไตรภูมิกถาหรือเรียกวาไตรภูมิ พระร ว ง เป น ต น แบบในการสร า งงานศิ ล ปกรรม ที่เกี่ยวของกับ เขาพระสุเมรุ เมื่อพระเมรุมาศมีความ หมายถึง เขาพระสุเมรุ การมีพรหมพักตรประดับอยูที่ สวนยอดของพระเมรุมาศ เหนือสัญ ลักษณที่แสดงถึง เขาพระสุเ มรุ ดา นล าง อาจเป นไปไดว าหมายถึ ง การ แสดงภาพสวรรค ชั้ น รูป พรหม ที่ อ ยู เหนื อ สวรรค ชั้ น กามภูมิ ที่ ในงานจิต รกรรมภาพไตรภูมิ มัก แสดงเป น ภาพพรหมสี่ หน า นั่ ง อยู ใ นวิม านที่ ล อ งลอย จึ ง มี ก าร ประดับ สวนยอดดว ยพรหมพัก ตร เพื่ อแสดงถึง ทิพ ย ภาวะของอาคารนั้น ๔.๓ เสมือนเปนสัญลักษณของการปกปอง รักษา แมวา จะไดวิเ คราะหไ ปแลว วาพรหมพักตร อาจแสดงถึงสวรรคชั้นพรหม แตก็ยังสามารถตีความไป ได อี ก ว า การประดั บ ดั ง กล า ว มี ค ติ ค วามหมายที่ เกี่ยวของกับหนาที่การใชงาน กลาวคือพรหมพักตรอาจ เป น ใบหน า จตุ โ ลกบาลหรือ เทวดาที่ มีห น า ที่ ป กป อ ง รักษา ผูเขียนเห็นวาการตีความเกี่ยวกับความหมายใน การประดับพรหมพักตรนั้น แมจะเปนชิ้นงานเดียวกัน แต ก็ ส ามารถตี ค วามได ห ลายอย า ง เนื่ อ งจากข อ สัน นิษฐานตางๆลวนมีค วามเป น ไปได เนื่องจากไม มี หลั กฐานเอกสารระบุถึ ง ความหมายของการประดั บ พรหมพักตรไวอยางชัดเจน ในกรณี ข องการเป น สั ญ ลั ก ษณ ข องการ ปกปองรักษานั้น โดยจากการศึกษาที่ผานมาเกี่ยวกับ รูปหนาบุคคลสี่หนาที่พบในสมัยบายน มีขอสันนิษฐาน ที่ ดู มี ค วามเป น กลางและอาจเป น ไปได ม ากที่ สุ ด คื อ ใบหนาที่ปราสาทบายนอาจเปนใบหนาของเหลาเทวดา ที่ ม าชุ ม นุ ม และใบหน า ที่ ซุ ม ประตู อ าจเป น ท า ว จตุ โ ลกบาล ตามคติ ท างพุ ท ธศาสนาเพื่ อ เพิ่ ม ความ ศักดิ์สิทธิ์และมั่นคงใหกับเมือง๓๙ โดยเมื่อมาปรากฏใน ดินแดนไทยตั้งแตที่ปราสาทเฟอง ที่วัดพระศรีรัตนมหา ธาตุ เ ชลี ย ง การประดั บ รู ป หน า บุ ค คลดั ง กล า วอยู ที่ บริเวณซุมประตู รวมถึงในสมัยอยุธยาที่มีการปรากฏที่ ซุ ม ประตู เ ช น เดี ย วกั น ย อ มมี ค วามเป น ไปได ว า การ
ประดั บ รู ป หน า บุ ค คลที่ ซุ ม ประตู อาจเกี่ ย วข อ งกั บ เทวดาผู รั ก ษาคอยดู แ ลให ค วามคุ ม ครอง เมื อ งหรื อ ศาสนสถานนั้ น ๆ โดยหน า ที่ ดั ง กล า วมี ลั ก ษณะ ใกลเ คียงกันกั บหนา ที่ของทา วจตุ โลกบาล เนื่อ งจาก เปนไปไมไดวาการประดับรูปหนาบุคคลดังกลาวจะเปน เพียงแคงานประดับที่เอาอยางมาจากตนแบบเทานั้น แตยอมมีความหมายหรือคติที่แฝงอยูดวย อีกประเด็นที่ตองกลาวถึง คือ การใชพรหม พักตรประดับที่พระเมรุมาศ เนื่องในคติที่เกี่ยวของกับ การปกปองรักษา สถานที่นั้น ๆ คลายกับเทวดาที่ทํา ห น า ที่ เ ป น ผู ที่ ค อ ย ม อ ง เ พื่ อ คุ ม ค ร อ ง ป อ ง กั น เปรียบเสมือนการมองรอบทิศ ดัง ที่มีนักวิชาการสวน หนึ่งใหความเห็นวา หนาเทวดาสี่หนาที่ปราสาทบายน ทั้งที่ตัวปราสาทและซุมประตูคงหมายถึงการทําหนาที่ เปนผูปกปอง ทั้งพระราชวังและศาสนสถานจากผูที่เขา มารุกราน๔๐ เชนเดียวกับการทําพรหมพักตรที่ประตู ทางเข าวั ด ในสมัย สุโ ขทัย รวมถึง ในสมัย อยุธ ยาและ พรหมพักตรที่ยอดปรางค ก็อาจเปนไปไดวาใชพรหม พักตรในความหมายเดียวกันนี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศ เธอกรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ ทรงกล า วไว อ ยู เหมือนกันวาประตูพรหมรูปเศียรเทวดาสี่องค ไมไดทํา เปนพรหมสี่หนาเหมือนอยางเดิม ๔๑ ยอมแสดงใหเห็น ถึ ง ว าลั ก ษณะ การ ทํ า หน าพ ร หม พั กตร ก็ มี ก าร เปลี่ยนแปลงดวยเชนกัน ซึ่งอาจหมายถึงจากหนาแบบ พระพรหมเปนหนาแบบเทวดาสี่หนา เพื่อใหสอดคลอง กับคติเทวดาผูปกป องรักษา เช นในกรณีของพรหม พักตรประดับ ที่ พระเมรุมาศของสมเด็จพระนางเจ า รํ า ไพพรรณี พ ระบรมราชิ นี น าถ ออกแบบโดยนาย ประเวศ ลิ ม ปรั ง ษี ผู อ อกแบบมี ก ารอธิ บ ายถึ ง การ ประดั บ พรหมพั ก ตร ที่ ย อดพระเมรุ ไ ว ว า การทํ า ปราสาทยอดพรหมพักตร หมายถึงพระพรหมที่มาชวย ปกปองรักษาอาคาร๔๒ ถึงแมวาการพูดถึงพระพรหมใน ที่นี้จะไมชัดเจนวาเปนพระพรหมองคใด แตก็ไดแสดง ถึงความหมายของการประดับพรหมพักตร วามีความ เกี่ยวของกับคติความเชื่อเกี่ยวกับเทพเทวดาที่ทําหนาที่ ปกปองคุมครองสถานที่นั้น ๆ ไดเปนอยางดี หลั ก ฐานที่ น า สนใจเป น อย า งมากคื อ การ ประดับพรหมพักตรที่ยอดประตูตางๆ ในพระราชวั ง
๖๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
หรื อ เขตพระราชฐาน ที่ พ รหมพั ก ตร อ าจมี ค วาม เกี่ยวของกับการแสดงความหมายถึงการเฝามอง ตรวจ ตรา เนื่ อ งจากผู เ ขี ย นได ตั้ ง ข อ สั ง เกตว า ประตู ที่ มี พรหมพั ก ตร ป ระดั บ และประตู ที่ มี ชื่ อ พรหมปรากฏ มักจะเปน ประตูเชื่อมตอระหวางเขตพระราชฐานชั้น กลางกับพระราชฐานชั้นใน หลั กฐานที่ปรากฏชัดเจน คือชื่อประตูพรหมพักตรที่อยูในพระราชวังบวรสถานมงคล หรือวัง หนา ประตูดังกลาวมีมาตั้งแตคราวแรก สรางพระราชวัง บวรสถานมงคล คือสมัยของสมเด็จพระบวรเจามหาสุรสิงหนาท โดยมีความเปนไปไดอยาง มากวา อาจนํ าเอาแนวคิด และรู ปแบมาจากประตูที่ มี พรหมพั กตรป ระดั บ ในกรุ ง ศรี อยุ ธ ยา ที่สํ าคั ญ ประตู พรหมพักตรดัง กลาวนี้ เปน ประตูที่อยูทางทิศใตของ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน โดยกั้นระหวางพระราชฐานชั้น กลางกับพระราชฐานชั้นใน (รูปที่ ๑๙) ลั ก ษณะเดี ย วกั น นี้ ป รากฏเช น เดี ย วกั น ใน พระบรมมหาราชวั ง กล า วคื อ ประตู ที่ มี ก ารประดั บ พรหมพักตรทั้งหมดในพระบรมมหาราชวังมีสี่ประตู คือ ประตูพรหมศรีสวัสดิ์ ประตูพรหมโสภา ประตูสนาม ราชกิจ และประตูดุสิตศาสดา โดยสามประตูแรกมีการ ประดับ พรหมพัก ตร ในรูป แบบเดี ยวกัน หมด สว นใน กรณีของประตูดุสิตศาสดานั้นยอดพรหมพักตรมีขนาด ใหญ ก ว า ประตู อื่ น ๆ แต ที่ สํ า คั ญ คื อ ประตู ทั้ ง สี่ บ าน ถือเปน ประตูที่เชื่อมระหวางเขตพระราชฐานชั้นกลาง กับพระราชฐานชั้นในหรือที่เรียนวาฝายใน (รูปที่ ๒๐) โดยเฉพาะประตูดุสิต ศาสดาที่เปน ประตูที่เ ปน ฉนวน ทางเดินสําหรับใหฝายใน เสด็จออกมายัง พระที่นั่ง ใน เขตพระราชฐานชั้ น กลาง อนึ่ง จากการสัง เกตการณ ประดับยอดประตูที่มีพรหมพักตรจะมีเพียงแคสี่ประตูนี้ เทานั้น ที่เปนประตูเชื่อมตอระหวางเขตพระราชฐาน เนื่องจากประตูอื่น ๆ ทั้งหมดในพระบรมมหาราชวังไม มีการประดับพรหมพักตรแตอยางใด ถึงแมวาจะมีการ ประดับพรหมพักตรท่ีซุมประตูของมุขดานหนาพระที่ นั่ง อมริน ทรวินิจ ฉัยฯดวยก็ตาม ลัก ษณะการประดั บ
พรหมพัก ตรดั ง กลาวผูเขี ยนมีความเห็น วาคงมีค วาม เกี่ยวของกับกฏของเขตพระราชฐานชั้นในหรือฝายใน เนื่องจากมีกฏวาการเขาไปยัง ฝายในโดยเฉพาะผูชาย จะอยูและเดินคนเดียวมิได จะตองปฏิบัติตั้งแตสองคน ขึ้นไป หมายความวาตองมีการควบคุมและมีผูรูเห็นเปน พยานความเคลื่อนไหวตลอดเวลา๔๓ เมื่อเปนเชนนี้ยอม มีค วามเป น ไปได ว า การประดั บ พรหมพั ก ตร ที่ ป ระตู เชื่อมเขตพระราชฐานชั้นกลางกับพระราชฐานชั้น ใน ยอมตองเกี่ยวของกับการเฝามองและการควบคุมอยู ตลอดเวลาอยางไมตองสงสัย
สรุป
ใ น ป จ จุ บั น เ อ ง ข อ สั น นิ ษ ฐ า น แ ล ะ ความหมาย ที่เกี่ยวขอ งกับ การประดับ หนาบุคคลที่ ปรากฏในศิลปะขอมสมัยบายนนั้น ยังคงไมมีขอ ยุติ เนื่ อ งจากหลั ก ฐานเท า ที่ มี ยั ง ไม ส ามารถอธิ บ ายได อย า งชั ด เจนว า เป น ใบหน า ของบุ ค คลใดกั น แน ในดินแดนประเทศไทยเองไดรับเอารูปแบบดังกลาว มาใชตั้งแตในสมัยสุโขทัย และปรากฏชื่อเรียกชัดเจน ว า พรหมพั ก ตร ใ นสมั ย อยุ ธ ยา ล ว งจนมาถึ ง ใน สมัยปจจุบันซึ่งยังคงมีการประดับพรหมพักตรในงาน ศิลปกรรมแขนงตาง ๆ ปรากฏใหเ ห็น อยู ชื่อ เรีย ก พรหมพั ก ตร นั้ น คงเกิ ด จากความเข า ใจว า บุ ค คล สี่ ห น า คื อ พระพรหม แต จ ากหลั ก ฐานหลายอย า ง ชี้ใหเห็นถึงความหมายในการนํามาใชที่แตกตางกัน ออกไป ขึ้ น อยู กั บ ว า พรหมพั ก ตร ไ ปประดั บ ที่ ง าน ศิลปกรรมใดเปนสําคัญ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๖๗
รูปที่ ๑๒.๑ ประตูดุสิตศาสดาใน พระบรมมหาราชวัง
รูปที่ ๑๔ หอพระจอมในวัดราช ประดิษฐสถิตมหาสีมาราม
รูปที่ ๑๒.๒ ประตูพรหมโสภาใน พระบรมมหาราชวัง
รู ป ที่ ๑๕.๒ พระเมรุ พ ระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ที่มา : ม.ร.ว. แนง น อย ศั กดิ์ศ รี และคณะ. สถาปตยกรรมพระเมรุใน สยาม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรุงเทพฯ , ๒๕๕๕).
รูปทิ่ ๑๖ พรหมในภาพเทพ ชุมนุม จิตรกรรมวัดใหญสุวรรณาราม วรวิหาร จังหวัดเพชรบุรี รูปที่ ๑๕.๑ พระเมรุมาศสมเด็จ พระศรี พั ช ริ น ทราบรมราชิ นี น าถ (พระพันปหลวง) ที่ ม า :ม.ร.ว. แน ง น อ ย ศั ก ดิ์ ศ รี และคณะ. สถาปตยกรรมพระเมรุใน สยาม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรุงเทพฯ ๒๕๕๕).
รูป ที่ ๑๓ ยอดซุม ประตูป ระดั บ พรหมพักตร พระที่นั่ง อมรินทรวินิจ ฉัยฯ ในพระบรมมหาราชวัง
รูปที่ ๑๗ รูปหนาบุคคลประดับ ยอดปราสาทบายน กัมพูชา
๖๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
รูปที่ ๑๘ พระเตาทักษิโณทกยอด พรหมพักตร พบในกรุวัดราชบูร ณะ พระนครศรีอยุ ธยา พิพิธ ภัณ ฑสถาน แหงชาติเจาสามพระยา ที่มา : สุเนตร ชุตินธรานนท และ คณะ , เครื่อ งทองกรุงศรีอยุธยา : อมตะศิลปแผนดินสยาม , (กรุงเทพฯ : แปลนโมทิฟ, ๒๕๔๓).
รูปที่ ๒๐ แผนผังแสดงประตูที่มีการประดับพรหมพักตรในพระบรมมหาราชวัง (เครื่องหมายสามเหลี่ยม) ที่มา : th.wikipedia.org/wiki
เชิงอรรถ ๑
รูปที่ ๑๙ แผนผังแสดงประตูพรหม พักตรในพระราชวังบวรสถานมงคล ที่มา : สุนิสา มั่นคง , พระราชวัง บวรสถานมงคล , (กรุงเทพฯ : บันทึก สยาม, ๒๕๔๓).
๑๐๑.
๒
สันติ เล็กสุขุม , ศิลปะสุโขทัย , (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๔๙. ) , หนา
สันติ เล็กสุขุม , ศิลปะสุโขทัย , หนา ๙-๑๐. อานรายละเอียดใน ประชุมคําใหการกรุง ศรีอยุธยา รวม ๓ เรื่อง : คําใหการ ชาวกรุงเกา คําใหการขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม คําใหการขุนหลวงหาวัด , (กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๕๓), ๒๖๔. ๔ อ า นรายละเอี ย ดใน พระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบั บ พั น จั น ทนุ มาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐ คําใหการชาวกรุง เกา คําใหการขุนหลวงหาวัด (นนทบุรี : ศรีปญญา, ๒๕๕๓) , หนา ๒๔๕ , ๒๕๐ และ ๖๑๙. ๓
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๖๙
๕
พ ร ะ ย า โ บ ร า ณ ร า ช ธ า นิ น ท ร , อ ธิ บ า ย แ ผ น ที่ พระนครศรี อ ยุ ธ ยากั บ คํ า วิ นิ จ ฉั ย ของพระยาโบราณราช ธานินทร ฉบับชําระครั้งที่ ๒ และภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา , (นทบุรี : สํานักพิมพตนฉบับ, ๒๕๕๐) , หนา ๖๖. ๖ ภูธร ภูมะธน , บุษบกธรรมาสน วัดมณีชลขัณฑ : สมบัติไทย (ลพบุรี : วิทยาลัยครูเทพสตรี, ๒๕๒๕) ,หนา๗๔. ๗ สมภพ ภิรมย , พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัย กรุงรัตนโกสินทร , (กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ , ๒๕๒๘) , หนา ๙๖ . ๘ สมภพ ภิรมย , พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัย กรุงรัตนโกสินทร ,หนา ๙๖. ๙ เป น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระอั ฐิ ก รมพระราชวั ง บวรสาม พระองคคือ สมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท สมเด็จ พระบวรราชเจามหาเสนานุรักษและสมเด็จ พระบวรราชเจา มหาศักดิพลเสพ ๑๐ สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงรา-ชานุ ภาพ , ตํานานวังหนา พิมพครั้งที่ ๘ , (กรุงเทพ : แสงดาว , ๒๕๕๓) ,หนา ๑๑๑. ๑๑ ณัฎฐภัทร จันทวิช , ชมบุษบกจัตุรมุขยอดปรางค จากวังหนาไปเปนเครื่องพุทธบูชาที่วัดไพชยนตพลเสพราช วรวิหาร , ศิลปากรปที่ ๔๗, ฉบับที่ ๑ (ม.ค.- ก.พ. ๒๕๔๗) , หนา ๓๒. ๑๒ สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงรา-ชานุ ภาพ , ตํานานวังหนา , หนา ๑๑๐-๑๑๑. ๑๓ ณัฏฐภัทร จันทวิช , กรมพระราชวังบวรสถานมงคล กับงานศิลปกรรมตามแบบพระราชนิยม (ศิลปกรรมสกุลชาง วังหน า สมั ยรัต นโกสิ นทร ) , (กรุง เทพฯ : กรมศิล ปากร, ๒๕๔๕), หนา ๕๔. ๑๔ ศิริพงษ ศรีดารา , สถาปตยกรรมสกุลชางวังหนา สมัย พระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟา จุฬ าโลกมหาราช , (วิ ท ยานิ พ นธ ศิ ล ป ศาสตร ม หาบั ณ ฑิ ต (ประวั ติ ศ าสตร สถาปตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๔) , หนา ๔๕. ๑๕ ผนังที่มีพรหมพักตรปรพดับยอดอาคารไดแก ผนังที่ ๒๑ ,๒๒ และ ๒๓. ๑๖ สุนันทา เงินไพโรจน , การวิเคราะหภาพจิตรกรรมฝา ผนังในพระที่นั่งพุทไธสวรรย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระ นคร กรุ ง เทพมหานคร , (วิ ท ยานิ พ นธ ศิ ล ปะศาสตร มหาบัณฑิ ต (โบราณคดีส มั ยประวั ติศ าสตร ) มหาวิทยาลั ย ศิลปากร, ๒๕๔๖) , หนา ๑๗. ๑๗ สุนันทา เงินไพโรจน. การวิเคราะหภาพจิตรกรรม ฝาผนังในพระที่นั่งพุท ไธสวรรย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร , หนา ๗๕.
๑๘
ดู เ พิ่ ม เติ ม ใน ณั ฎ ฐภั ท ร นาวิ ก ชี วิ น , ลั ก ษณะ สถาปตยกรรมในภาพเขียน บนพระที่นั่งพุทไธสวรรย , (สาร นิพนธ อนุปริญญา สถาปตยกรรมศาสตร (สถาปตยกรรม ไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๑๘) , เอกสารไมระบุหนา ภาพที่ ๓๑ . ๑๙ สุ นิ ส า มั่ น คง , พระราชวั ง บวรสถานมงคล , (กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๔๓) , หนา ๙๘. ๒๐ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ , สาสนสมเด็จ เลม ๒๒ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุ สภา , ๒๕๐๕) , หนา ๙๓. ๒๑ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ , สาสนสมเด็จ เลม ๒๒ , หนา ๙๓. ๒๒ ลักษณสุดา ศรีรัตนวิย , เครื่องสูงสมัยรัตนโกสินทร และความสัมพันธใ นงาน จิตรกรรมฝาผนัง , (การศึกษา เฉพาะบุคคลในประวัติศาสตรศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิล ปากร , ๒๕๕๓) , หนา ๑๐-๑๑. ๒๓ ในหนังสือเรื่อง กุฎาคาร ระบุวาประตูพรหมโสภาและ พรหมศรีสวัสดิ์ สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ โดยประตูทั้งหมด ขางตนเปนการทําตามแบบประตูในสมัยอยุธยา ทั้งนี้ผูเขียน สันนิษฐานวามีความเปนไปไดอยางมากวาประตูทั้งหมดขางตน อาจสร า งในคราวเดีย วกั น สมภพ ภิ ร มย , กุ ฎ าคาร , (กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๕ ) , หนา ๑๑๓. ๒๔ ศิ ษ ย เ ก า มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรและจุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย รวมกับคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร , รวบรวม ,ประวัติและผลงานสําคัญของพระพรหม พิจิตร , (กรุงเทพฯ : คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๓๓) ,หนา ๙. ๒๕ ผูเขียนคิดวาการนําเอาพรหมพักตรมาใชอีกครั้งในสมัย รัช กาลที่ ๔ คงมีที่ม าเชนเดียวกั นกับในสมัยสมเด็จ พระเจ า ปราสาททอง คือการไดไปเห็นตัวอยางมาจากเมืองเขมร จึง นําเอารูปแบบการประดับดังกลาวกลับมาใชอีกครั้งหนึ่ง อาน เพิ่มใน ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี , พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ ของเจา พระยาทิพากรวงศมหา โกษาธิบดี , (กรุงเทพ : อมรินทรปริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง), หนา ๑๔๘. ๒๖ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถา , พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๔๙๓ , (พระนคร : โรงพิมพรุงเรือง ธรรม , ๒๔๙๓) , หนา ๖๔๐ .
๗๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๒๗
จันทรสิริ แทนมณี , พระพรหมในวรรณคดีบาลีและ สันสฤต , (กรุงเทพฯ : แผนกวิชาภาษาตะวันออก บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , ๒๕๒๒) , หนา ๗๘. ๒๘ มณี ป น พรหมสุ ท ธิ ลั กษณ ,พระพรหมผูส ร า งใน วรรณคดีไทย : พรหมสี่หนา รวมบทความ , (กรุงเทพฯ : อมรินทร, ๒๕๔๙ ), หนา ๘๓ – ๘๕ . ๒๙ รุงโรจน ธรรมรุง เรือง , พรหมหนาเดียว , ดํารง วิชาการ : วารสารรวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดี ป ๒๕๔๘ คณะโบราณคดี มหาวิท ยาลัยศิลปากร , (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร , ๒๕๔๘),หนา ๙๖. ๓๐ ธิด า สาระยา , สุโ ขทัย : ในเมือ งสุโ ขทั ยนี้ดี , (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๐) , หนา ๓๒. ๓๑ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ , สาสนสมเด็จ เลม ๒๒ , หนา ๙๓. ๓๒ พระยาโบราณราชธานินทรอธิบายวาคือประตูพิศ าล ศิ ล า อยู ร ะหว า งพระวิ ห ารสมเด็ จ กั บ พระที่ นั่ ง สรรเพ็ ช ญ ปราสาท มี ก ารขุด พบช องประตูแ ละยอดที่ หัก ลงมา เป น ประตูยอดปรางคมีพรหมพักตรสี่ดาน ปจจุบันจัดแสดงอยูที่ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา และประตูพรหมสุคต ที่มีการขุดพบชองประตูแตไมพบเครื่องยอด สันนิษฐานวาเปน ประตูย อดปรางคประดับพรหมพักตร เชนเดี ยวกันกั บประตู พิศ าลศิ ล า พระยาโบราณราชธานิ น ทร , อธิ บ ายแผนที่ พระนครศรี อ ยุ ธ ยากั บ คํ า วิ นิ จ ฉั ย ของพระยาโบราณราช ธานินทร ฉบับชําระครั้งที่ ๒ และภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา , (นทบุรี : สํานักพิมพตนฉบับ, ๒๕๕๐) , หนา ๖๖. ๓๓ จากการสังเกตพบวาปราสาทยอดพรหมพักตรจะมีอยู เฉพาะฉากในกรุงลงเทานั้น อาจเปนไปไดวาเกี่ยวของกับการ แสดงฐานานุศักดิ์ของบุคคลที่ประทับอยูในปราสาท และอาจ เกี่ยวของกับเรื่องวงศของทศกัณฐที่สืบเชื้อสายมาจากพรหมอีก ดวย ๓๔ ศานติ ภักดีคํา , เขมรรบไทย , (กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๔) , หนา ๑๐๖ – ๑๐๗. ๓๕ อานเพิ่มเติมใน สันติ เล็กสุขุม , เจดียสิงหลอม : วัด แมนางปลี้ม : เงื่อ นไขกับแนวคิดออกแบบบูรณะ , เมือง โบราณ. ปที่ ๒๗, ฉบับที่ ๒ (เม.ย. - มิ.ย. ๒๕๔๔) , หนา ๑๕๕. ๓๖ วัดราชบูรณะสรางในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ สอง (เจ า สามพระยา) พ.ศ.๑๙๖๗ กรมศิ ล ปากร , คํา ใหการขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับ หลวงปรเสริ ฐอัก ษรนิ ติ์ , (กรุง เทพฯ : คลัง วิทยา ๒๕๑๕), หนา ๔๔๖.
๓๗
๖๙ .
๓๘
ประเวศ ลิมปรังษี , อาษา , มีนาคม ๒๕๓๙ ,หนา
วรพร ภูพงศพันธุ , งานพระเมรุ พระราชพิธีสะทอน ทิพภาวะแหงองคพระมหากษัตริยสมัยอยุธยางานพระเมรุ : ศิลปสถาปตยกรรม ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมเกี่ยวเนื่อง , ( กรุงเทพฯ : อุษาคเนย, ๒๕๕๒ ) ,หนา๑๒๙ . ๓๙ Jean Boisselier , Sculpture of Angkor and ancient Cambodia : millennium of glory / Helen Ibbitson Jessup and Thierry Zephir, editors , (Washington : National Gallery of Art, c๑๙๙๗) pp. ๑๑๗ – ๑๒๒. ๔๐ Master plan for the conservation & restoration of the Bayon complex (Tokyo : Japan International Cooperation Center (JICE), ๒๐๐๕ ) , pp. ๓๐๒ . ๔๑ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ , สาสนสมเด็จ เลม ๒๒ , หนา ๙๓ . ๔๒ ประเวศ ลิมปรังษี , อาษา , มีนาคม ๒๕๓๙ , หนา ๘๕. ๔๓ เพชร หมั่ น เรี ย น , การศึ ก ษาสถาป ต ยกรรมเขต พระราชฐานชั้นในของพระบรมมหาราชวังและพระราชวัง สมัยรัชกาลที่ ๓ - ๕ (วิทยานิพนธ ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต (ประวั ติ ศ าสตร ส ถาป ต ยกรรม) มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร , ๒๕๕๒) ,หนา ๑๕.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๗๑
เสนทางทองเที่ยวในทุงพระอุทัย อัมรา หันตรา * 6
รูปที่ ๑ แผนที่แสดงแหลงทองเที่ยวในเขตอโยธยา
พื้นที่รายรอบเกาะกรุงศรีอยุธยา ถัดออกไปจากลําน้ําที่ลอมอยูเปนปราการธรรมชาตินั้นคือ ทุงอันกวางใหญหลายทุง เชนดานเหนือไดแกทุงแกว ทุงขวัญ ทุงทะเลหญา ถัดมาดานตะวันออกคือ ทุงพระอุทัยซี่งตอมาเรียกวาทุงหันตราตอกับทุงชายเคือง ดานใตคือทุงปากกราน วกไปดานตะวันตก คือทุงประเชต ทุงภูเขาทอง ทุงลุมพลีและทุงมะขามหยอง แตละทุงลวนแตมีหยอมยานชุมชนจํานวน มาก ที่อาศัยสืบเนื่องกันมาเกือบพันป โดยเฉพาะในสมัยอยุธยามีบันทึกวาชุมชนเหลานี้เปนแหลงผลิต สินคาขาวของเครื่องใช และของกิน รวมทั้งวัสดุกอสรางทั้งไมและปูน เปนตน มีวัดใหญนอยที่มี ความงดงามไมแพวัดในกําแพงพระนคร
* มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตหันตรา
๗๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
สํ า หรั บ ทุ ง หั น ตรา นั บ ว า มี ป ระวั ติ แ ละ หลักฐานการอยูอาศัยของผูคนมากอนการสถาปนากรุง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น ราชธานี ทั้ง ยั ง มี โ บราณสถานและวั ด สํ า คั ญ เป น จํ า นวนมาก ที่ ล ว นมี ป ระวั ติ ค วามเป น มา น า สนใจ ทั้ ง ป จ จุ บั น ยั ง มี ก ารก อ สร า งพระพุ ท ธรู ป ประจําพระชนมวารเพื่อเปนอนุสรณสถานแหง ความ จงรั ก ภั ก ดี ไ ว ที่ ส วนสาธารณะเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในทุงหันตราซึ่งในอดีต คือนาหลวง ตลอดจนมีก ารจัดกิจกรรมตางๆมาโดย ต อ เนื่ อ ง ป จ จั ย อั น เป น จุ ด แข็ ง อื่ น ๆ เช น เส น ทาง ทอ งเที่ ยวใหม นี้ มีต ลาดน้ํ าอโยธยาที่ ดั ง ติ ด ตลาดการ ทองเที่ยวไมนอยหนาตลาดน้ําแหงใด ดานความสะดวก ในการเดินทาง มีการขยายถนนเปน ๔ เลนที่สามารถ สร า งความแปลกใหม โ ดยใช รถรางล อ ยางมาบริ ก าร เสริมดวย และอาจจัดกิจกรรมการทองเที่ยวทางน้ําได อีกเพราะยังมีคลองสวยน้ําที่วิถีชาวบานใหชื่นชมได นับแตป ๒๕๕๒ เปนตนมา ไดมีความรวมมือ ระหวางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (ภายใตความรับผิดชอบของคณะศิลปศาสตร และพืช ศาสตร) กับอบต.หันตราและอบต.บานเกาะที่จะพัฒนา เสนทางทองเที่ยวใหมโดยเนนจุดแข็งของ อบต.หันตรา คือ โบราณสถานและเรื่องราวในประวัติศาสตร สวนจุด แข็ ง ของ อบต.บ า นเกาะคื อ เป น แหล ง ปลู ก ข า วโพด เทียนที่เปนเอกลักษณของพื้นที่แมน้ําออมและมีรสชาติ อรอยเปนพิเศษ
ทางเลือกในการกําหนดเสนทางทองเที่ยว
เสนทางที่ ๑ ไหวพระ๙วัด วัดสมณโกษฐาราม วัดอโยธยา วัดประดูทรง ธรรม วัดมเหยงคณ วัดดุสิดาราม วัดปาโค วัดไผโสม นริน ทร วัดหัน ตรา วัดพระญาติการาม และอาจเพิ่ม หรือ สลั บวั ดพิ ชัย สงคราม วัด กล วย วั ดเกาะแกว วั ด ใหญชัยมงคลในเขตอโยธยาใตเขามาแทนได เสนทางที่ ๒ ตามรอยสมเด็จพระเจาตาก สินมหาราช วั ด เกาะแก ว วั ด ใหญ ชั ย มงคล วั ด พิ ชั ย สงคราม วั ด หั น ตรา หากจะให ส มบู ร ณ ต ามเนื้ อ หา ตํานานและประวัติศาสตรควรขยายเสนทางไปถึง วัด
โกโรโกโส วัด สะแก วั ด สามบั ณฑิ ต วั ดโพธิ์ สาวหาญ และวัดพรานนก ในเขตอําเภออุทัยดวย เสนทางที่ ๓ ชมธารชมทุง คําขวัญเสนทาง ทองเที่ยว อโยธยา หันตรา บานเกาะ นบอนุสรณสถานแหง ความจงรักภักดี ทอ ง นที ป า สั ก ซื้ อ พื ช ผั ก ข า วโพดเที ย น เรี ย นรู แ หล ง ประวัติศาสตร ชมตลาดน้ําชิมของอรอย ตามรอยวี ร กษัตริย ไหวเกาวัดเมืองอโยธยา ชมทุงหันตราเขียวขจี ฝนดีที่โฮมสเตย เสนทางนี้ถาจะเที่ยวและทํากิจกรรม ใหครบคงใชเวลา ๒-๓ วัน นบอนุสรณสถาน แหงความจงรักภักดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดสรางสวนเฉลิม พระเกีย รติ ๘๐ พรรษา ในปต อมาทางจั ง หวัด และ ประชาชนไดรวมใจกันสรางพระพุทธรูปประจําพระชน มวารปางประทานพร (หามญาติ) ความสูง ๙.๘๔ เมตร เปนเสมือน “หลวงพอทันใจ” เพราะหลอไดสําเร็จใน คืนเดียวดวยแรงศรัทธาของประชาชนที่ตองการถวาย ความจงรักภักดีแตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ใน วาระ อั น เป นมหามงคลยิ่ ง เช นนี้ พ ระเก ศขอ ง พระพุทธรูปประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ เบื้องพระ ปฤษฎางคประดิษฐาน ดวงตราแหงพระมหามงคลสมัย ๙ ดวงและพระบรมรูป ล นเกล าฯ พระหั ตถ ข วาทรง เคียว ที่เคยทรงเกี่ยวขาวเมื่อ ๑๔ พ.ค. ๒๕๓๙ ณ ทุง มะขามหยอง สิ่งที่นาสนใจมากคือมีการสรางสิ่งที่เปน สั ญ ลั ก ษณ ห รื อ เอกลั ก ษณ ข องอํ า เภอต า งๆทั้ ง ๑๖ อําเภอ แมขณะนี้หลายจุดยัง อยูระหวางการกอสราง หรือตกแตง แตเคาโครงที่เห็นนั้นบอกไดวาสถานที่แหง นี้จะเปนทั้งแหลงทองเที่ยวเพื่อการเรียนรู เปนสถานที่ พั ก ผ อ นและจั ด กิ จ กรรมต า งๆที่ สํ า คั ญ ของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ทองนทีปาสัก ซื้อพืชผักขาวโพดเทียน ลงเรือ ที่ ทา วั ด ไผโสมนริน ทร เสน ทางยาว กวาแตไดชมแมน้ําออมและแวะซื้อขาวโพดดวย หรือ วัดปาโค หรือวัดดุสิดารามวัดใดวัดหนึ่งชมวิถีทางน้ําซื้อ ผักพื้นบานปลอดสารพิษ ชมบานไทยสวยๆหลายหลัง เปนบานในโครงการหนาบานนามองของอบต.หันตรา เสนทางน้ําจบที่ทาเรือวัดหันตรา หรือจะจัดยอนจากวัด หันตราไปวัดตนทางที่กลาวขางตนก็ไดเชนกัน
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๗๓
เรียนรูแหลงประวัติศาสตร ประวัติหันตรา ๏ ทุงหันตราเดิมคือทุงพระอุทัย
เจาสามพระยายกทัพใหญตีเขมร ประชุมพลพยุหะใหกะเกณฑ พลรบเจนยุทธนากลาชิงชัย พระเทวีสาขามาสงทัพ มิทันกลับเจ็บพระครรภกลั้นไมไหว บรมไตรโลกนาถพระหนอไท ประสูติกลางทัพชัยทุงหันตรา ลุสมัยพระมหาจักรพรรดิ พมาจัดพลมานดังธารบา บุเรงนองนํากองทหารมา โจมตีปอมหันตราบานดอกไม กลาโหมมหาเสนาจําลาถอย เสียรี้พลใชนอยเกือบหมดคาย ลาดลี้ลงคลองใหญใหพนตาย ถึงคราวพายแพพมาเขาตาจน รัชสมัยพระมหาธรรมราชา ขยายคูขื่อหนาพาสงผล ถึงลําน้ําหันตราคราขาดชล จึงแคบจนเปนคลองดังปจจุบัน ทัพพมายกมาอีกคราหนึ่ง รุกล้ําถึงทุงขาวคราวคับขัน ชิงฟอนขาวกําลังเกี่ยวเที่ยวฆาฟน พระยากําแพงเพชรนั้นพรั่นไพรี พระนเรศพระเอกาฯมากูแก สั่งตัดหัวคนยอมแพแลพายหนี พระบิดาขอโทษใหไวชีวี ตราบแตนี้สงบสุขสิ้นสงคราม จากทุงรบจบศึกที่กาวลวง เปนทุงหลวงรวงทองของสยาม ปลูกขาวขึ้นฉางหลวงรวงขาวงาม ไดเลี้ยงกันในยามเกิดลําเค็ญ ในยุคทองขององคพระบรมโกศ อยุธยาชวงโชติโรจนรุงเห็น หนุนพระศาสนศิลปะ ธ บําเพ็ญ ทรงอวยความรมเย็นถึงหันตรา
เสด็จมาเกี่ยวขาวกวนยาคู ถวายสงฆที่อยูในวัสสา สถาปนาพระอารามอันงามตา สัมฤทธิศกนักษัตรมาใหแตงการ บานกับวัดมีศรัทธาอันยิ่งใหญ รวมหลอรูปพระองคไวใหกลาวขาน เปนลานบุญลานบันเทิงเถลิงการ ถวนทุกบานบูชิตปูชนีย ปลายกรุงศรีทีใกลการเสียกรุง พระเจาตากพาพลมุงจากกรุงศรี สี่ทุมผานบานหันตรายามราตรี ชนะมานพาลตามตีทรงมีชัย ปฐมชัยมงคลควรจารึก แรกสูศึกเหลาอรินทรสิ้นกษัย ตนทางการกูกรุงที่มุงไป สูเมืองจันทนั้นไซรคือหันตรา ความรักชาติศาสนราชันยอันยิ่งใหญ ทุกเม็ดดินหันตราไซรแนนนักหนา อนุสรณสถานนี้ที่ตรึงตรา สืบตํานานบานคนกลารักษาไทย คํ า ขวั ญ ขอ ง ตํ า บลหั นตร าเกิ ด ขึ้ นด ว ย ก า ร ศึ ก ษ า ค น ค ว า ป ร ะ วั ติ ชุ ม ช น จ า ก เ อ ก ส า ร ประวัติศาสตรตางๆจนสามารถยืนยันถึงเกียรติประวัติ ชุมชนวา “ถิ่นประสูติราชา นาหลวงอยุธยา ทหารกลา กรุงศรี ขนมดีหันตราอุโบสถมหาอุด จุดทองเที่ยวคลอง โบราณ ปู ชนีย สถานวัด มเหยงคณ” ซึ่ ง มีค วามหมาย และที่มาของคําขวัญโดยสังเขปดังนี้ ถิ่น ประสูติราชา : วรรณคดี “ยวนพาย” กล า วถึ ง พระประสู ติ ก าลของสมเด็ จ พระบรมไตร โลกนาถจากพระราชมารดาคือพระนางสาขาเชื้อสาย สุโ ขทั ย ขณะเสด็ จ มาส ง ทั พ พระเจ า สามพระยาไปตี เมืองกัมพูชาที่ทุงหันตรา หรือทุงพระอุทัย ความวา “...แถลงปางพระมาตรไทสํภพ ทานนา แดน ตําบลพระอุทัย ทงงกวาง...” นาหลวงอยุธยา : ทุงนาหลวงสมัยอยุธยาอยู ที่ทุงหันตรา
๗๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ทหารกลากรุงศรี : การรบของพระยามหา เสนา ที่ ป อ มท อ งนาหั น ตราและการที่ ส มเด็ จ พระ นเรศวรทรงสงทหารมาชวยขับไลขาศึกที่มาชิงขาวขณะ ชาวนากําลังเก็บเกี่ยว ชวยปลุกขวัญชาวอยุธยาใหเลิก กลัวพมาหลังเสียกรุงครั้งแรก และรวมใจกันกูเอกราช ไดในที่สุด ขนมดีหันตรา : ขนมหันตราอีกชื่อเรียกวา ขนมฝอย สมั ยรั ช กาลที่ ๑ อยู ในบาญชีข นมเลี้ย งพระ ฉลองพระแกวมรกต และอยูในตําราอาหารคาวหวาน ตํารับแมครัวหัวปากเลมที่๑ ฉบับพิมพพ.ศ.๒๔๕๑ คือ เมื่อ รอยกวา ปม าแล ว ชื่ อขนม ที่เหมือ นกับ ชื่อตํ าบล หันตรา จึงถือวาขนมชนิดนี้เปนขนมประจําตําบล เชน ขา วยาคู ที่ ส มเด็ จ พระเจ า บรมโกศเสด็ จ มาเกี่ ย วข า ว น้ํานมจากทุงหันตรานาหลวงดวยพระองคเองแลวนําไป กวนขาวยาคูถวายพระราชาคณะทั้งปวงตามพระอารม หลวงตางๆในสมัยนั้นและขนมจากขาวเชนขาวเมาคลุก ขาวเมาทอด ขาวตมมัดไต กระจับน้ําวุน ซึ่ง ลวนเปน ขนมโบราณทั้งสิ้น อุโบสถมหาอุด : โบสถวัดหันตราเปนโบสถ สมัยอยุธยาที่มีรูปทรงงดงาม ซึ่งอาจารยเสนอ นิลเดช ศิลปนดานสถาปตยกรรมเคยเขียนชื่นชมไว จุดทองเที่ยวคลองโบราณ : คลองหันตรา เปนแมน้ําปาสักสายเกา ที่ยังมีความรมรื่นนาทองเที่ยว ชมบรรยากาศชนบทริมน้ํา ปูชนียสถานวัดมเหยงคณ เดิมวัดมเหยงคณ เปน วั ดกอนสรา งกรุง สมเด็จพระบรมราชาธิร าชที่ ๒ เจา สามพระยาโปรดสถาปนาใหมทั้ ง วั ดมี เอกลั กษณ เจดี ย ช า งล อ ม ต อ สมั ย สมเด็ จ พระเจ า ท า ยสระทรง บูรณะใหมสรางพระตําหนักกํามะเลียน และประทับ อยูถึง สามปขณะที่ทรงงานปฏิสัง ขรณวัด ที่คายหลวง พมาที่วัดนี้ สมเด็จพระมหินทราธิราชทรงถูกพามาเขา เฝาพระเจาบุเรงนอง หลังปราชัยและเสียกรุงครั้ง ที่ ๑ ในพ.ศ. ๒๑๑๒ ป จ จุ บั น มี ส ถานปฏิ บั ติ ธ รรมวั ด มเหยงคณที่มีชื่อเสียง วัดหันตรา เปน วัดสมัยอยุธยาตั้ง อยูที่บานหันตราหมู๒ ตําบลหันตรา อําเภอพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อแขวง รอบกรุ ง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง ปรากฏ
หลักฐานการสถาปนาวัดในพระราชพงศาวดารกรุงศรี อยุธยาหลายฉบับเชนในฉบับพระราชหัตถเลขา กลาว วา... “ลุศักราช ๑๑๐๐ ปมะเมียสัมฤทธิศก ณ เดือน๖ สมเด็ จ พระเจ า แผ น ดิ น เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น โดย กระบวนนาวาพยุ ห ะไปฉลองวั ด หารตรา ให มี ง าน มหรสพสมโภชพระอารามสามวัน ทรงถวายไทยทาน แกพระภิกษุสงฆเปนอันมาก ในวันเปนที่สุดนั้นใหเอา ชางออกบํารูกัน บังเกิดพายุใหญฝนตกหนัก เสร็จการ แลวเสด็จกลับเขาพระนคร...” สิ่งกอสรางในวัดเชน โบสถแบบมหาอุด ซึ่ง ไมมีประตูดานหลัง และไมเจาะชองหนาตาง เชื่อกันวา ใช เ ป น ที่ ป ระกอบพิ ธี ป ลุ ก เสกเครื่ อ งรางของขลั ง ที่ ศักดิ์สิทธิ์ยิ่ง โดยเฉพาะทุงหันตรา เปนสถานที่ตั้งทัพรับ ศึกเปนที่ประชุมทัพ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่๒ เจา สามพระยาเมื่อยกไปตีเมืองพระนคร และสมเด็จพระ นเรศวรเมื่อ ไปตีเมืองละแวก อีกเปนทุงหลวงปลูกขาว สง ฉางหลวง ที่พ ม า ยกเข ามาชิง เสบีย งอยู ห ลายครั้ ง การสรางพระเครื่องที่เปนมิ่งขวัญกองทัพ ดังพระยอด ธงจึงเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดในสถานที่อันเปนทุงสมรภูมิรบ มานับครั้งไมถวนเชนทุงหันตรานี้ สิ่ง ไมเหมือนวัดใดคือ พระพุทธฉาย ซึ่ง อยู ที่ หนาวัดดานริมคลองหันตรา (อดีตคือแมน้ําปาสักสาย เดิม ก อนการขุด คูขื่ อหน าสมัย สมเด็จ พระมหาธรรม ราชา) ซึ่ง วิธีการกอคูหาใชโอง ไหโบราณมาเรียงซอน แล ว ฉาบปู น เหมื อ นเพิ ง ผาพระพุ ท ธฉายที่ เ ขาปถวี สระบุรีและมีลักษณะคลายที่วัดทาทราย เคยมีคนเกาๆ เลาวาเคยเห็นไฟพะเนียงลุกโชติชวงอยูบริเวณนี้ ซึ่งคน โบราณเชื่อกันวานาจะมีสิ่งของศักดิ์สิทธิ์หรือมีสมบัติฝง อยู
รูปที่ ๒ พระอุโบสถวัดหันตรา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๗๕
วัด นี้ ค งร า งลงหลั ง เสี ย กรุ ง จนหลวงพ อ เวช (พระครูญ าณวุฒิกร)จากวัดสะแก มาบูรณะและดวย ท า นเป น พระเกจิ อ าจารย นั ก พั ฒ นาเครื่ อ งรางเช น ตะกรุด หรือพระเครื่องจึงเปนที่นิยม จึง ทําใหทานได บูรณะวัดหัน ตราใหงดงามขึ้นเมื่อทานมรณภาพแลวก็ ไดสงมรดกงานพัฒนาถึงศิษยคือพระครูศรีปริยัติวรคุณ เจาอาวาสรูปปจจุบันดําเนินการตอมาจนบัดนี้ พระยาโบราณราชธานินทร (พร เดชะคุปต ) หรื อ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว ทรง เรียกวาเจาคุณกรุง เปนบุคคลที่ชาวอยุธยาควรยกยอง เปนคนดีศรีอยุธยาอยางยิ่งอีกทานหนึ่ง เพราะแมทาน จะมี กํ า เนิ ด ที่ ฝ ง ธนบุ รี แต เ กื อ บค อ นชี วิ ต ที่ ท า นรั บ ราชการมหาดไทยที่ก รุง เกา จนที่ สุด ไดเ ปน ขา หลวง เทศาภิบาลอุปราชมณฑลกรุง เกา นอกจากการถวาย งานตามพระราชประสงคของพระเจ าอยูหัว มาถึง ๓ รัชกาลแลว สิ่งที่ทานทําใหกรุง เกาคือการสํารวจวัง วัดทั่วกรุงซึ่งในขณะนั้นทั้งรกเรื้อ บางสวนก็จมอยูใตดิน ที่ทั บ ถมมากวา ร อ ยป การค น คว า สื บ หาข อ มู ล ต า งๆ ดังกลาวทําใหชาวไทยไดทราบเรื่องราวภูมิสถานกรุงศรี อยุธยา ที่ลมสลายยับเยิ น แลวนั้น จากงานเขียนและ แผนที่ของทานอยางชัดเจน เปนพื้นฐานใหนักวิชาการ ยุคต อมานํา ไปตอ ยอดให เรื่อ งราวของกรุ ง ศรี อยุ ธยา แจ ม ชั ด ยิ่ ง ขึ้ น พระยาโบราณราชธานิ น ทร ไ ด นํ า โบราณวั ต ถุ แ ละปู ช นี ย วั ต ถุ ที่ ค น พบ มาเก็ บ รั ก ษาที่ พระราชวัง จัน ทรเกษม ซึ่ง รวมทั้ง โบราณวัตถุจากวั ด หัน ตรา รายการสําคัญ ไดแก บานประตูไมจําหลักรูป ทวารบาลเสี้ยวกาง (ปจจุบันตั้งแสดงที่พิพิธภัณฑสถาน แหงชาติเจาสามพระยา) และระฆังเหล็กขนาดใหญ ๓ ใบลวดลายเมฆ ปลาลี่ฮื้อและ อักษรจีน (ปจจุบันอยูที่ ระเบี ย งอาคารมหาดไทยพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ จันทรเกษม) ในชวงปลายรัชกาลที่๕ ที่มีหลักฐานจากกอง จดหมายเหตุแหง ชาติเปนสําเนารายงานของทานเจา คุ ณ ลงวั น ที่ ๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๘ ถึ ง เสนาบดี กระทรวงเกษตราธิการขณะนั้น กลาวถึงการที่ทานได ทํ า พิ ธี แ รกนาขวั ญ ที่ ทุ ง หั น ตรา และการถวาย ภัตตาหารและไทยทานแดพระสงฆ ถวายเปนพระราช
กุศลเมื่อวันที่ ๒๔และ ๒๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘ ( พ.ศ. ๒๔๕๒) ซึ่ ง เปน หลั ก ฐานแสดงถึง ฐานะความเปน นา หลวงของทุงหันตรา ที่สืบมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทรได อยางชัดเจน
(ซาย) บานประตูไ มแกะสลักจากวัดหัน ตราปจ จุบันจั ด แสดงในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา (ขวา) ระฆังสมัยราชวงศชิง (ระหวาง พ.ศ.๒๑๘๗ –๒๔๕๔)
เสนทางที่ ๔. ชมตลาดน้ําชิมของอรอย ตามรอยวีร กษัตริย ไหวเกาวัดเมืองอโยธยา ในการชมวัดตางๆ พาแวะตลาดน้ํา อโยธยา รับประทานอาหารกลางวันอาจยอยอาหารแกงวงโดย นั่ง ชางชมเมืองเกาตามอัธยาศัย ตลาดน้ําอยูเสน ทาง เดีย วกับ วัดสมรโกษฐาราม วัดมเหยงคณ วั ดกุฎี ดาว ควรนําชมกอนหลังจากตลาดน้ําจึงควรนําชมวัดอโยธ ยา วั ด ดุ สิ ด าราม อนุ ส รณ ส ถานและวั ด หั น ตราโดย ลําดับ (ถาจะ ใหสอดคลองก็ใหลงเรือที่หันตรายอนขึ้น ไปวัดไผโสมนรินทรจะไดเสนทางบกเสนทางน้ําที่เปน วงกลม) เสนทางที่ ๕. ชมทุงหันตราเขียวขจี ฝนดีที่โฮมสเตย ที่วัดไผโสมนริ นทร และ ริม น้ําปาสัก เริ่ม มี โรงแรมและโฮมสเตยบริการบางแลวหากเสนทางนี้ไ ป ไดดีก็จะมีมากขึ้นและดีขึ้นเชนแหลงทองเที่ยวอื่นๆที่มี พัฒนาการในแนวทางเดียวกันนี้
๗๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา : ชีวิต และแบบอยางการทํางานดานวัฒนธรรม พัฑร แตงพันธ * และคณะ 7
เรือนไทยหมูภาคกลางในบรรยากาศแวดลอมดวยไมประดับนานาพันธุ ที่ตั้ง อยูริมถนนปรีดี-พนมยงค ขางศูนยศึกษาประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยานั้น คือที่ตั้งของสถาบันอยุธยาศึกษา ซึ่งเปนหนวยงานในสังกัดของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่ทําหนาศึกษา คนควา และเผยแพรองคค วามรูทางวิช าการเกี่ยวกับ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมทั้งสงเสริมการอนุรักษสืบสานศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่น ใหคงคุณคาของความเปน นครประวัติศาสตรมรดกโลก
หากในวันนี้จะเปรียบสถาบันอยุธยาศึกษา ดังตนไมใหญที่ใหรมเงาทางวิชาการ แกนักเรียน นักศึกษา และผูสนใจทั่วไป ไดศึกษาเรียนรูดานตาง ๆ เกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยาแลว บุคคล สําคัญที่เปรียบดังผูปลูก และเฝาดูการเติบโตของสถาบันอยุธยาศึกษามาตั้งแตยังเปนเมล็ดพันธุ ก็คือ ผู ช ว ยศาสตราจารย พั น ทิ พ า มาลา ผู อํ า นวยการสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ที่ ไ ด ดํ า รงตํ า แหน ง เป น ผูอํา นวยการมาตั้ง แตเ ริ่ ม กอตั้ ง และกอสรา งสํ านั ก งานสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ซึ่ งตลอดระยะเวลา กวา ๓๐ ปของการทํางานในแวดวงวัฒนธรรมของผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา ยอมมีเรื่องราว ตาง ๆ ที่นาจดจํา และนาเรียนรูเปนแบบอยางมากมาย * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๗๗
ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา ผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา พ.ศ.๒๕๔๙ – ๒๕๕๖
ในโอกาสที่ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา ซึ่งไดเกษียณอายุราชการลงแลว และกําลังจะพนวาระ ของการเปนผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา ผูเขียน ในฐานะคณะทํ างานของสถาบันอยุธยาศึก ษา จึง ขอ นํ า เสนอเกี่ ย วกั บ ชี วิ ต และวิ ถี แ ห ง การทํ า งานด า น วัฒ นธรรม ที่ท านไดก ระทํ ามาตลอดทั้ง ชี วิต ราชการ จนกระทั่ ง ก า วขึ้ น มาสู ตํ า แหน ง ผู บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา โดยการสั ม ภาษณ พู ด คุ ย เพื่ อ เรียนรูและถายทอดไวเปนแบบอยางใหกับผูสืบสานงาน วัฒนธรรมรุนหลังไดระลึกถึงและพึงเรียนรูตามรอยทาง
ผูปลูกสถาบันอยุธยาศึกษา
ผูชวยศาสตราจารยพัน ทิพ า มาลา มีพื้นเพ เปนชาวจังหวัดตาก และไดเดินทางเขามาเลาเรียนเปน นั ก เรี ย นประจํ า ที่ โ รงเรี ย นนาฏศิ ล ป กรมศิ ล ปากร ในกรุ ง เทพมหานคร ตั้ ง แต ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ ๕ ตลอดระยะเวลาการเปนนักเรียนประจํา ทําใหทานได เรี ย นรู ถึ ง กฎระเบี ย บวิ นั ย ที่ เ คร ง ครั ด ตั้ ง แต ก าร กิน อยู หลั บ นอน คื อ เวลากิ น ขา วนั้ น จะต อ งนั่ ง โต ะ ที่แบ ง เป น โต ะละ ๔ คน มีกั บขา ว ๒ อย าง เปน แกง หรื อ ต ม ๑ อย า ง และเป น ผั ด อี ก ๑ อย า ง สํ า หรั บ ก า ร แ ต ง ก า ย ทุ ก ค น จ ะ ต อ ง นุ ง ผ า ซิ่ น ทั้ ง นี้ เพื่อตองการฝกฝนใหนักเรียนเปนกุลสตรี
ทุ ก ค่ํ า คื น ก อ นนอน ในเวลา ๑๙.๐๐ น. นักเรียนทุกคนจะตองมีการศึกษาคนควาหาความรูดวย ตนเอง พอถึ ง เวลา ๒๐.๐๐ น. ก็ ไ ด เ วลาสวดมนต กอนเขานอน และจะถูกปลุกใหตื่นดวยเสียงกริ่งในเวลา ๐๕.๐๐ น. เพื่อ ปฏิ บั ติภ ารกิ จส ว นตั ว และสว นรวม โดยจะต อ งเก็ บ เตี ย งนอนให เ รี ย บร อ ยมิ เ ช น นั้ น จะถู ก ลงโทษ ด ว ยกิ จ วั ต รประจํ า วั น ที่ เ ข ม งวดใน โรงเรี ย นนาฏศิ ล ปแห ง นี้ ได ฝ ก ฝนให ท า นเป น ผู ที่ มี ระเบียบวินัยอยางมาก เมื่อสํา เร็จการศึกษาจากโรงเรียนนาฏศิล ป โดยใชเวลาถึง ๑๑ ปแลว ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา ไดไปสอบทํางานที่กรมฝกหัดครู กระทั่งไดรับการบรรจุ เป น ครู ส อนวิ ช านาฏศิ ล ป ที่ วิ ท ยาลั ย ครู น ครปฐมใน วัยเพียง ๑๙ ป ขณะนั้นนอกจากทานจะเปนทั้งครูสอน นาฏศิลปแลว ยังตองทําหนาที่เปนอาจารยหอพัก ดูแล นักศึกษาอีกดวย ซึ่ง นั่นเปนสถานที่ทํางานแหง แรกที่ ทานไดเรียนรูเกี่ยวกับชีวิตการเปนครูและการเปนผูให กอนจะยายมาอยูที่วิทยาลัยครูธนบุรี เปนเวลาอีก ๓ ป ขณะนั้ น ที่ วิ ท ยาลั ย ครู พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา มี ก าร เปดอบรมครูภ าคฤดูรอ นเปน ประจําทุ กป ทานไดม า เปนวิทยากรรวมอบรมใหความรูในดานนาฏศิลปไทย และดวยมนตเสนหของจังหวัดพระนครศรีอยุธยานี่เอง ที่ทําใหทานเกิดความรักและผูกพัน จนกระทั่งขอยาย
๗๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
เข า มาประจํ า อยู ที่ วิ ท ยาลั ย ครู พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๒๑ ท า น เ ป น อ า จ า ร ย น า ฏ ศิ ล ป ป ร ะ จํ า ภ า ค วิ ช า นาฏศิลป คณะมนุษยศาสตรและ สั ง คมศาสตร ร ว มกั บ อาจารย อมรา กล่ําเจริญ และหมอมหลวง พิ ม พ ส วั ส ดิ์ ศุ ข สวั ส ดิ์ ท า นสอน เน น หนั ก ในเรื่ อ งของการละคร และไดผลิตละครรวมกับนักศึกษา ประกอบการเรียนการสอน ปละ ๒-๓ เรื่ อ ง นอกจากนั้ น การที่ ทานเปนคนชอบทํางานและชอบ เรี ย นรู ง าน จึ ง ได มี โ อกาสเข า ไป ช ว ยงานธุ ร การของวิ ท ยาลั ย อยู เป น เวลา ๒-๓ ป หลั ง จากนั้ น ไ ด ม า ช ว ย ง า น ใ น ฝ า ย ประชาสั ม พั น ธ ร ว มกั บ อาจารย สุมาลี สุวรรณแสง ซึ่งระหวางนั้น ก็ทํางานวัฒ นธรรมควบคูไ ปดวย โดยเน น งานด า นการส ง เสริ ม เผยแพร วั ฒ นธรรม ท า นได ไ ป แสดงนาฏศิ ล ป รว มกับ นั กศึ ก ษา เพื่ อ นอาจารย ทั้ ง ในและนอก วิทยาลัย ดวยพื้นฐานความรูและ ความสามารถทางด านนาฏศิล ป ไดนําพาใหทานมีโอกาสกาวมาสู การทํางานดานวัฒนธรรม ในฝาย สง เสริมเผยแพรวั ฒ นธรรม ของ ศูนยศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยครู พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ตั้ ง แต พ.ศ. ๒๕๒๔ เปนตนมา และไดมีโอกาส เดิ น ทางไปเผยแพร แ ลกเปลี่ ย น วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ศึ ก ษ า ดู ง า น ยัง ตางประเทศในหลายประเทศ
โดยเริ่มจากประเทศอิสราเอล ฟนแลนด อิตาลี มาเกา ญี่ปุน ตุรกี โปรตุเกส กรีซ มาเลเซีย เกาหลี และอินโดนีเซีย เปนตน ทําใหทานมีประสบการณทาง วัฒนธรรมอันหลากหลายจากนานาชาติ สํ า หรั บ ประสบการณ ด า นการบริ ห ารนั้ น ท า นได เ ป น หั ว หน า ภาควิ ช านาฏศิ ล ป เ มื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๓, เป น เลขาคณะมนุ ษ ยศาสตร แ ละ สัง คมศาสตร, พ.ศ.๒๕๔๒ เปนหัวหนาโปรแกรมวิชานาฏศิลปการละคร, ใน พ.ศ. ๒๕๔๓ เป น รองผู อํ า นวยการสํ า นั ก ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และ พ.ศ. ๒๕๔๗ ทานไดดํารงตําแหนง เปนผูอํานวยการสํานักศิลปวัฒ นธรรม ๑ ป ก อนที่ จะลงเลือ กตั้ ง ใหมใ น พ.ศ. ๒๕๔๘ และได ดํารงตํ าแหนง เป น ผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา นับจากจุดนี้เองที่ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา เริ่มรูจัก และ นําเมล็ดพันธุที่ชื่อวา สถาบันอยุธยาศึกษา ลงปลูกในดิน และเฝารดน้ําจน งอกเง ยเป น สถาบั น ทางวั ฒ นธรรม ที่ สํ า คั ญ แห ง หนึ่ ง ของ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา
การเดินทางไปเผยแพรแลกเปลี่ยน และศึกษาดูงานดานวัฒนธรรมในตางประเทศ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๗๙
กวาจะเปนรมเงาทางวัฒนธรรมของ สถาบันอยุธยาศึกษา
ความเปนมาเปนไปของสถาบันอยุธยาศึกษา นั้ น อยู ใ นสายตาของผู ช ว ยศาสตราจารย พั น ทิ พ า มาโดยตลอด จนกลาวไดวาทานเปนผูรูเกี่ยวกับสถาบัน ทางวัฒนธรรมแหงนี้ดีที่สุด ซึ่งทานไดกรุณาเลาถึงความ เปลี่ ยนแปลงของการดํ าเนิน งานดา นวั ฒ นธรรมของ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ตั้ ง แต เ ป น ศูน ย ศิล ปวัฒ นธรรมจัง หวั ดพระนครศรี อ ยุธ ยา มาสู สถาบันอยุธยาศึกษา ทํา ให ไ ดท ราบว าเมื่ อเริ่ มแรกก อ นที่ จ ะเป น สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาเช น ในป จ จุ บั น นี้ เดิ ม เป น ศูนยศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ที่ผูชวยศาสตราจารยสาง พรศรี และอาจารยพีระศักดิ์ เทพไตรรั ต น ได พั ฒ นาขึ้ น จากมุ ม ศิ ล ปะพื้ น บ า น ที่ไ ดรวบรวมเครื่องมือเครื่ องใช และศิ ลปวัตถุ เพื่อใช เปนอุปกรณสําหรับการเรียนการสอน กระทั่งสามารถ จัดแสดงเปน นิทรรศการถาวรตั้งอยู ณ อาคาร ๓ โดย ได รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากสมเด็ จ พระเทพรัต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชดําเนินทอดพระเนตรหอศิลปวัฒนธรรม เมื่อวันจันทร ที่ ๒ ๙ ก ร ก ฎา ค ม พ . ศ . ๒ ๕ ๒ ๘ แ ล ะ ท ร ง ล ง พระนามาภิไธยไวเปนสิริมงคล ซึ่งปายพระนามาภิไธย นี้ ยั ง คงประทั บ ไว เ ป น อนุ ส รณ อ ยู ณ อาคาร ๓ ใน ปจจุบัน ศู น ย ศิ ล ปวั ฒ นธรรม เป น หน ว ยงานที่ มี บ ท บ า ท ที่ สํ า คั ญ คื อ ก า ร จั ด แ ส ด ง นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิล ปะพื้ น บ า น เป ด ให ค วามรู แ กบุ ค คลทั่ว ไป ซึ่ ง ได มี หนวยงานตาง ๆ เดินทางมาเยี่ยมชมและศึกษาดูง าน เป น จํ า นวนมาก และต อ มา พ.ศ.๒๕๔๒ กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารประกาศแบ ง ส ว นราชการของสถาบั น ราชภัฏ สงผลใหตองเปลี่ยนชื่อจากศูนยศิลปวัฒนธรรม มาเปนสํานักศิลปวัฒนธรรม แ ต ใ น ช ว ง ป ๒ ๕ ๔ ๓ ส ถ า บั น ร า ช ภั ฏ พระนครศรีอยุธยา มีความตองการใชอาคาร ๓ สําหรับ ทํ า เป น ห อ งเรี ย น เนื่ อ งจากขณะนั้ น อาคารเรี ย นไม เพี ย งพอ และไม ส ามารถขยายสถานศึ ก ษาไ ด โดยสะดวก ดวยเหตุที่เปนสถานศึกษาที่ตั้งอยูในเมือง
ประวัติศาสตร จึงมีขอจํากัดดานขนาดและพื้นที่ในการ กอสรางอาคารตาง ๆ ประกอบกับทางสถาบันราชภัฏฯ มีแนวคิดที่จะขยายอาคารศูนยศิลปะพื้นบานใหมีพื้นที่ กว า งขวางยิ่ ง ขึ้ น โดยเสนอให ส ร า งอาคารขึ้ น ใหม ณ พื้นที่ริมถนนโรจนะ (ถนนปรีดี – พนมยงค) โดยใช งบประมาณกอสรางในขั้นแรก ๑๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่ ง ได เ ริ่ ม ดํ า เนิ น การถมที่ สํ า หรั บ ก อ สร า ง ตั้ ง แต ใ น พ.ศ. ๒๕๔๗ กระทั่งใน พ.ศ.๒๕๔๘ สํานักศิลปวัฒนธรรม ก็ไดเปลี่ยนชื่อเปนสถาบันอยุธยาศึกษา ตามโครงสราง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.๒๕๔๗ ที่ไดกําหนดไวใน มาตรา ๗ คือ ใหมหาวิทยาลัยเปน “สถาบันอุดมศึกษา เพื่ อ การพั ฒ นาท อ งถิ่ น ที่ เ สริ ม สร า งพลั ง ป ญ ญา ของแผนดินฟนฟูพลัง การเรียนรู เชิดชูภูมิปญญาของ ทองถิ่น สรางสรรคศิลปวิทยา เพื่อความเจริญกาวหนา อย า งมั่ น คงและยั่ง ยื น ของปวงชน มี ส ว นร ว มในการ จั ด การ การบํ า รุ ง รั ก ษาการใช ป ระโยชน จาก ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มอย า งสมดุ ล และยั่ ง ยื น " โดยมี พัน ธกิ จที่ สํ า คัญ ตามมาตรา ๗ คื อ “ใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและ วิชาชีพชั้น สูง ทํา การสอน วิจัย ใหบ ริการวิ ชาการ แกสั ง คม ปรับปรุ ง ถายทอดและพัฒ นาเทคโนโลยี ทํานุบํารุ ง ศิลปะและ วัฒนธรรม ผลิตครู และสงเสริมวิทยฐานะครู" ดัง นั้น เ พื่ อ ใ ห เ ป น ไ ป ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ดั ง ก ล า ว มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจึ ง ได จั ด ตั้ ง สถาบันอยุธยาศึกษาแหงนี้ขึ้น เมื่อผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา เขามา ดํารงตําแหนงเปนผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษาใน พ.ศ.๒๕๔๘ ท านไดดํ าเนินการเกี่ ยวกั บการคั ดเลือ ก แบบก อ สร า งอาคารสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา โดยได ใ ห อาจารย ดุลยพิชัย โกมลวานิช ดําเนิ นการออกแบบ แตแบบกอสรางนั้นแมจะมีความสวยงามมาก แตกลับมี คาใชจายคอนขางสูง และมีขอจํากัดเกี่ยวกับระเบียบ ขอบังคับบางประการ ดั ง นั้ น ผู ช ว ยศาสตราจารย พั น ทิ พ า จึ ง ได ชักชวน ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ไปคัดเลือกแบบสําหรับ กอสรางสํานักงานสถาบันอยุธยาศึกษา จนไดมาพบกับ คุ ณ สมจิ ต ต สุ ข มะโน ช า งทํ า เรื อ นไทยแห ง อํ า เภอ
๘๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
บางปะหัน และไดรับความกรุณาจากคุณสมจิตตชวย เขียนแบบให ซึ่งเริ่มแรกนั้นมีลักษณะเปนเรือนไทยหมู ใต ถุ น โล ง ไม มี สํ า นั ก งาน ท า นจึ ง ขออนุ มั ติ เ งิ น จาก มหาวิ ท ยาลั ย ฯ มาดํ า เนิ น การก อ สร า งสํ า นั ก งาน ดานลางเพิ่มเติม และยายที่ทําการสํานักงานจากอาคาร ๓ มาประจําอยู ณ เรือนไทยสถาบันอยุธยาศึกษาตั้งแต ใน ป ๒๕๔๙ เปนตนมา ในป เ ดี ย วกั น นั้ น สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาได จั ด ทํ า โครงการศู น ย ท อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรมและ ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาขึ้ น เพื่อสง เสริมการทองเที่ยว และขออนุมัติง บประมาณ จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนจํานวนเงิน ๕ ลาน บาท โดยนํามาจัดทําห องนิทรรศการถาวรใหความรู เกี่ยวกับประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญา ทองถิ่น แกนักเรียน นั กศึกษาและผูส นใจทั่ว ไป โดย หองแรกนําเสนอความรูทางประวัติศาสตรของจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ห อ งต อ มานํ า เสนอเกี่ ย วกั บ ศิลปวัฒนธรรม โดยนําหัวโขนซึ่งเปนประณีตศิลปของ หมอมราชวงศจรูญสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์ มาจัดแสดงพรอ ม กับใหความรูเกี่ยวกับการแสดงโขน และขั้นตอนในการ ทํ า หั ว โขน ส ว นห อ ง สุ ด ท า ยจั ด แสดง เกี่ ย ว กั บ ภูมิปญ ญาทองถิ่น ที่ไดสืบทอดกลายมาเปนมรดกทาง วั ฒ นธรรม อั น ประกอบไปด ว ย สมุ ด ไทยโบราณที่ บัน ทึกเกี่ยวกับตํารายาและวิชาความรูตาง ๆ และใน สว นของหอกลางนั้ น จั ด เป น พื้ น ที่ สํ า หรั บ การแสดง หรื อ ทํ า กิ จ กรรมทางวั ฒ นธรรมต า ง ๆ โดยได มี ก าร จัดกิจกรรม “อยุธยายามค่ํา” เพื่อรองรับนักทองเที่ยว ที่มาเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในชวงเย็นวันเสาร และวันอาทิตย นอกจากนั้ น แล ว ยั ง ได จั ด ทํ า ศู น ย ข อ มู ล อยุ ธ ยาศึ ก ษาที่ เ ป ด โอกาสให บุ ค คลภายนอกเข า มา ศึ ก ษาค น คว า โดยได ร วบรวมเอกสารและงานวิ จั ย ดานตาง ๆ เกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งในรูป ของหองสมุด และเว็บไซต ที่สามารถใหบริการความรู เกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดตลอดเวลา
นิทรรศการเรื่อง “โขน.. ที่สุดมหรสพไทย” ในศูนยทองที่ยวทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของสถาบันอยุธยาศึกษา
ผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา ยังไดเลา ถึงประสบการณในการดําเนินงานของสถาบันอยุธยาศึกษาวามีความแตกตางไปจากเมื่อกอ น กลาวคือใน วาระที่ ดร.บุหงา วัฒนะ เปนอธิการบดี ที่ไดริเริ่มจัดตั้ง สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาขึ้ น มาด ว ยวั ต ถุ ป ระสงค ใ ห จั ด การศึกษา โดยสามารถผลิตบัณฑิตได แตภายหลังเมื่อมี การเปลี่ยนผูบริหาร ก็สงผลใหนโยบายเปลี่ยนแปลงไป ดวย ในปจจุ บัน สถาบันอยุธ ยาศึ กษา ทํ าหน าที่เ พีย ง สนับสนุนในเรื่องของการเรียนการสอน ในเรื่องของการ ทําวิจัย และเรื่องอื่น ๆ ภายใตตัวชี้วัดของ สํานักงาน คณะกรรมการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) สํ า นั กงานรับ รอง มาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (สมศ.) และสํานักงบประมาณ แตละปจะมีการกํา หนดจํานวนกิ จกรรมใน การดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรม ที่ไดทําสัญญาไวกับ สํานักงบประมาณ ซึ่งสถาบันอยุธยาศึกษาเคยทําสูงสุด มากถึ ง ๓๗ โครงการ แต เ นื่ อ งจากภาระงานที่ ไ ด
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๘๑
กําหนดใหมีขอบขายกวางขวางมากขึ้น ภายหลังเมื่อมี การทบทวนการจัดทําแผนพัฒนาระยะ ๕ ป จึงไดปรับ แนวคิดแลวลดกิจกรรมการเผยแพรสรางองคความรู ใหอยูในระดับกลาง ที่สามารถปฏิบัติไ ดโดยเริ่มตั้ง แต ๒๐ กิ จ กรรม และเพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ ๒ ในแต ล ะป ในขณะเดียวกันสถาบันอยุธยาศึกษา มีโครงการอื่นๆ ที่จะตองดําเนินการอีกหลายโครงการ ไมวาจะเปนการ พัฒ นาศู น ย ท อ งเที่ย ว จั ด ทํา วารสารรายป “อยุ ธ ยา ศึ ก ษา” การจั ด ทํ า สารประชาสั ม พั น ธ ร ายไตรมาส โครงการแปลบทความภาษาไทย - ภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ เผยแพร บ นเว็ บ ไซต และอื่ น ๆ เพราะฉะนั้ น ใน หนึ่ ง ป สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา จะทํ า โครงการอยู ที่ ประมาณ ๓๐ - ๓๕ โครงการ น อ ก จ า ก โ ค ร ง ก า ร ป ร ะ จํ า ที่ ส ถ า บั น อยุ ธยาศึก ษาจะต องดํ าเนิน การจากเงิ นงบประมาณ แผ น ดิ น และง บประมาณบํ า รุ ง การศึ ก ษาแล ว ในขณะเดียวกันก็ไดงบประมาณสนับสนุนจากองคการ บริหารสวนจัง หวัดพระนครศรีอยุธยา และหนวยงาน อื่น ๆ มาสมทบดวย ซึ่งในการวางแผนการทํางานในแต ละป นั้ น ผู ช ว ยศาสตราจารย พั น ทิ พ า จะพยายาม วางแผนงานให ค รอบคลุ ม กั บ เนื้ อ งานที่ จ ะต อ ง รั บ ผิ ด ชอบ ขณะเดี ย วกั น ก็ ต อ งส ง เสริ ม เผยแพร ใ ห ความรูกับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป ทานจะ พยายามจั ด กิจ กรรมเพื่ อ สามารถตอบตัว ชี้ วัด ต าง ๆ ได และจะต อ งขั บ เคลื่ อ นการดํ า เนิ น งานนั้ น ให ไ ปสู เป า หมาย เพราะฉะนั้ น เนื้ อ หารายละเอี ย ดของ กิ จ กรรมต า ง ๆ นั้ น พยายามให ค รอบคลุ ม เกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และสิ่ ง แวดล อ ม ตามหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบของสถาบั น อยุธยาศึกษา นอกจากนี้ ในแตละป ยัง มีโครงการพิเศษที่ ไมไ ดตั้งไวอีกดวย เชน การจัดงานยอยศยิ่งฟาอยุธยา มรดกโลก หรื อ งานมรดกโลกของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งจัดเปนประจําทุกป สถาบันอยุธยาศึกษา ต อ งรั บ ผิ ด ชอบในส ว นกิ จ กรรมจํ า ลองบรรยากาศ หนางาน (ลานจําลองวิถีชีวิตชาวอยุธยา) โครงการจัด กิจกรรมทางวิชาการซึ่งสถาบันอยุธยาศึกษา ไดรวมมือ กับมูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร
เปนประจําทุกป หรือเปนโครงการพิเศษที่อธิการบดีได มอบหมายใหดวย ทานยัง ไดกลาวทิ้งทายวา ในการดําเนินงาน ดานวัฒนธรรมของทานนั้น ทานไดรับความอนุเคราะห ชวยเหลือสนับสนุนทั้งจากผูบังคับบัญชา ผูเชี่ยวชาญใน สายงานประวั ติ ศ าสตร ศิ ล ปวั ฒ นธรรม หั ว หน า หนวยงานตาง ๆ ตลอดจนเครือขาย ที่ ทํางานรวมกัน มาแบบพึ่ ง พาอาศั ย กั น บ า งเป น ลู ก ศิ ษ ย ที่ จ บจาก มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และไปมี บทบาทหน า ที่ ใ นหน ว ยงานต า ง ๆ คอยให ค วาม ช ว ยเหลื อ ดํ า เนิ น การทํ า ให ง านวั ฒ นธรรมของท า น ประสบความสําเร็จดวยดี ทั้งนี้ทานยังใชโอกาสที่พูดคุย กันนี้ สงความระลึกถึงบุคคลทั้งหลายที่มีสวนชวยเหลือ เกื้อกูลทานเสมอมาดวย
สิ่งที่พึงระลึกเปนแบบอยาง
ตําแหน ง ผู อํานวยการสถาบั น อยุธยาศึ กษา มีวาระครั้งละ ๔ ป เมื่อพนวาระไปแลวยอมผลัดเปลี่ยน หมุนเวีย น ใหผู บริหารคนใหม เขามาสานตอ งานของ สถาบันฯ เปนธรรมดา ดังนั้นในโอกาสที่ไดพูดคุยเสวนา กับผูชวยศาสตราจารยพัน ทิพา มาลา กอนที่ทานจะ พนวาระสมัยที่ ๒ ไปในไมชานี้ จะมีสิ่งอื่นใดที่ผูสานตอ งานวั ฒ นธรรมจากท า น จะได ร ะลึ ก และยึ ด ถื อ เป น แบบอยางไดบาง ผู ช ว ยศาสตราจารย พั น ทิ พ า กรุ ณ าเล า ถึ ง หลักในการทํางานของทาน วาทานเปนคนชอบทํางาน และในการทํางานนั้น ทานจะตองวางเปาหมายเอาไว สู ง มาก ฉะนั้ น งานที่ อ อกมาจะต อ งดี พ ร อ มมี ค วาม เรี ย บร อ ยและเสร็ จ ล ว งหน า ท า นยั ง คอยติ ด ตาม ตรวจสอบงาน โดยพยายามฝ ก ผู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชา ใหมีความรับผิดชอบ รูจักขั้นตอนการดําเนินงานตาง ๆ อยางครบถวน และถูกตองเสมอ แ ม แ ต ก า ร อ อ ก ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร นั้ น ทานจะตองกําชับใหมีความตองถูกตอง ชัดเจน เพราะ สิ่งเหลานี้จะสะทอนถึงคุณภาพของหนวยงาน และทาน ยังย้ําผูใตบังคับบัญชาอยูเสมอวา เวลาประชุม หรือจัด กิจกรรมอันใด ในฐานะที่เปนเจาภาพงาน จะตองไป ถึงกอนและกลับทีหลัง พรอมทั้งตรวจสอบการทํางาน
๘๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ใหเรียบรอย มีความรับผิดชอบ อดทน เสียสละ ทําใหดี ที่สุด และสิ่งที่สําคัญคือ “วิ่งเขาหางาน มิใชหนีงาน” เมื่อถามถึงความประทับใจในงานวัฒนธรรม ทานก็ตอบวา การทํางานดานวัฒนธรรม ทําใหทานมี ความสุข ประการที่ ๑ คือมีความสุข เพราะไดผูกมิตร กั บ ผู ค นมากหลาย ซึ่ ง เป น มิ ต ร ที่ เ ป น ทั้ ง ระดั บ ผูทรงคุณวุฒิ หัวหนาหนวยงาน ครู อาจารย นักเรียน นักศึกษา กระทั่งพี่ปานาอาที่เปนภูมิปญญาทองถิ่นใน อําเภอตาง ๆ ประการที่ ๒ วัฒ นธรรมเปน วิถี การดํา เนิ น ชี วิ ต ของคนในสั ง คม เป น สิ่ ง ที่ ส ะท อ นความเจริ ญ ความเปนเอกลักษณของชาติ ในฐานะคนไทยคนหนึ่ง ยอมตองมีความภาคภูมิใจ และรูสึกประทับใจที่ไดรวม เปนสวนหนึ่งในการปกปองรักษาวัฒนธรรมของชาติให ดํารงตอไป ประการที่ ๓ วัฒนธรรมนั้น มีทั้ง วัฒ นธรรม ที่เปน วัตถุ จับตองได และวัฒ นธรรมที่เปน ความรูสึก นึกคิด ฉะนั้นการที่ไดทํางานดานวัฒนธรรมนั้น ทําให เกิ ด การเรี ย นรู แลกเปลี่ ย นประสบการณ ได สั ม ผั ส และนํ า ข อ มู ล หรื อ สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ มาใช ใ นการอนุ รั ก ษ สืบสานเผยแพรงานวัฒนธรรม ขณะเดียวกันก็นํามาใช ในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางมีความสุขได จากการสัมภาษณพูดคุยกัน นี้ ไดสะทอนให เห็นวา ความสุขของผูชวยศาสตราจารยพันทิพา มาลา ก็คือการไดทํางานดานวัฒนธรรม ไดเปนสวนหนึ่งของ การสืบสานและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติและ ของท อ งถิ่ น พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ให ดํ า รงอยู สื บ ไป และในท า ยสุ ด ของการเสวนากั น นั้ น ท า นยั ง ได ฝ าก ขอคิดในการทํางาน ถึงคณะทํางานของสถาบันอยุธยา ศึ ก ษา ที่ ยั ง คงต อ งมุ ง มั่ น ในการดํ า เนิ น งานด า น วัฒนธรรมตอไปวา
“เรื่องการรับผิดชอบเปนเรื่องใหญ รูจักวางแผนการดําเนินงาน ไมวาจะมีงานเทาใด ตองลําดับความสําคัญ ทํางานไปพรอม ๆ กัน รับผิดชอบการทํางานแตละอยางทุกชิ้นใหดีที่สุด” ผูที่ไดทํางานรวมกับทาน จะทราบเปนอยางดี วา “ความรั บ ผิ ดชอบ” และ “การรู จัก วางแผน” เป น สิ่ ง ที่ ผู ช ว ยศาสตราจารย พั น ทิ พ า ได ย้ํ า เตื อ น ผูใตบัง คับบัญชาอยูเสมอ และจากที่ทานไดกรุณาเลา เรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติและการทํางานของทานมา ทั้งหมดนั้น จะเห็นไดวาสองสิ่งนี้เองที่เปนแกนแทแหง ความสํ า เร็ จ ในการดํ า เนิ นชี วิ ต และการทํ า งานด า น วั ฒ นธรรมของท า น เป น เคล็ ด วิ ช าที่ ท า นพยายาม ถ า ยทอดให แ ก ผู สื บ สานงานวั ฒ นธรรมของท า นอยู ตลอดเวลา ไมเ ว น แม แ ต ในห วงเวลาสุ ดท า ยกอ นจะ อําลาตําแหนงผูบริหารสถาบันอยุธยาศึกษาลงในไมชา
สงทาย
สถาบัน อยุ ธยาศึก ษา ประกอบไปด ว ย บุคคลตาง ๆ หลายฝาย แมบางคนไดทํางาน อยู ณ ที่นี่เปนระยะเวลาสั้น ๆ หรือบางคนมี ความผู ก พั น กั บ หน ว ยงานแห ง นี้ นั บ แต เ ริ่ ม กอตั้งมาก็ตาม แตสิ่งที่จะเหมือนกันก็คือ ในไม ช า ทุ ก คนย อ มต อ งจากที่ นี่ ไ ป หากแต สิ่ ง ที่ จํ า เป น ต อ งธํ า รงอยู ก็ คื อ “สถาบั น อยุ ธ ยา ศึกษา” กับ “เอกลัก ษณทางวัฒนธรรมของ ทองถิ่นพระนครศรีอยุธยา” และ “ผูสืบสาน งานวัฒนธรรม” โดยสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา จะหยั ด ยื น เปนสถาบันที่แ ผกิ่งกานสาขาใหรมเงาทาง วั ฒ นธรรมแก จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สืบไป
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๘๓
จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา ตุลาคม ๒๕๕๕- มกราคม ๒๕๕๖
ตุลาคม ๒๕๕๕ บรรยากาศเทศกาลกินเจอยุธยา
บรรยากาศช ว งเทศกาลถื อ ศี ล กิ น เจ ใน จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยานั้ น มี ป ระชาชนและ นักทองเที่ยวจํานวนมาก เดินทางมาจับจายเลือกซื้อผัก ในตลาดหัวรอ และตลาดเจาพรหมไปทําอาหารอยาง คึกคัก ในขณะที่วัตถุดิบที่จะนํามาประกอบอาหาร นั้ น มี ร าคาสู ง ขึ้ น ทํ า ให ร า นขายอาหารในตลาด จําเปนตองปรับเพิ่มราคาจากปกติที่ขายถุงละ ๒๐ บาท เปน ถุงละ ๒๕ บาท ซึ่งแมราคาอาหารจะสูงขึ้นก็ตาม แตก็ยังสามารถขายได
ปญหาภูเขาขยะ
ชาวบ า นที่ อ าศั ย อยู ใ น ตํ า บลบ านป อ ม อําเภอพระนครศรีอยุธยา ไดรับผลกระทบจากปญหา บอขยะของทางเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จึง มี การรองเรียนไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) ในเบื้ อ งต น เทศบาลฯ ได ป รั บ ปรุ ง ถนน ทางเขาบอขยะ เพื่อใหเกิดความสะดวกในการขนขยะ เขาไปทิ้ง และนํา EM จุลินทรีย ผสมน้ําใสรถดับเพลิง ฉีดเพื่อบรรเทาปญหากลิ่นเนาเหม็น
พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ผากระกฐินพระราชทาน
วันที่ ๙ พฤศจิกายน นายวิทยา ผิวผอง ผูวา ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนประธานนําพระ กฐินพระราชทานของสํานักงานคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุ จริ ตแหง ชาติ หรือ ป.ป.ช. ไป ถวาย ณ วัดศาลาปูน
วั น ที่ ๑๕ พฤศจิ ก ายน พระเจ า หลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา เสด็จไปทรงบําเพ็ญพระกุศล ถวายผาพระกฐิน ณ วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร วั น ที่ ๑๘ พฤศจิ ก ายน พระเจ า หลานเธอ พระองคเจาอทิตยาทรกิติคุณ เสด็จไปทรงเปนประธาน ในการทอดผ า กฐิน สามั ค คี และบูร ณปฏิ สั ง ข อุ โ บสถ ณ วัดภูเขาทอง
พิธีวางพวงมาลาวันทหารอาสาสงครามโลก
วันที่ ๑๑ พฤศจิ กายน ผูวา ราชการจัง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เปนประธานวางพวงมาลา เนื่องใน วันที่ระลึกทหารอาสาสงครามโลก ครั้งที่ ๑ ณ บริเวณ อนุสาวรียทหารอาสา หนาโรงงานซอมยาง กองโรงงาน ซอมสรางรถยนตทหาร กรมสรรพาวุธทหารบก เพื่อ แสดงความระลึกถึงวีรกรรม และการเสียสละของทหาร อ าสาขอ ง ช าว จั ง หวั ด พ ร ะ น คร ศรี อ ยุ ธ ย า คื อ พลทหารศุ ข พ ว งเพิ่ ม พั น ธ และนายดาบเยื้ อ น สังขอยุทธ พรอมทหารอาสาที่เสียชีวิตในสงคราม
ณรงค ดานชัยวิโรจน เปนนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองอโยธยาอีกหนึ่งสมัย
ผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง อโยธยา เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ พฤศจิ ก ายน ปรากฏว า นาย ณรงค ด านชัยวิ โรจน ไดรับคะแนนเลือกตั้ง ๖,๔๑๐ คะแนน คิดเปนรอยละ ๔๒ ของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้ง นายณรงค จึ ง ได เ ป น นายกเทศมนตรี เ ทศบาลเมื อ ง อโยธยาตออีกสมัยหนึ่ง
ลอยกระทงกรุงเกา
เทศกาลลอยกระทงที่จั ง หวั ดพระนครศรี อยุธยาในปนี้ มีความคึกคักมากเหมือนเชนทุกป แตที่ นาสนใจเปนพิเศษ คือการจัดงานที่อนุสรณสถานแหง
๘๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
ความจงรักภักดี ทุงหันตรา ซึ่งนอกจากมีกิจกรรมลอย กระทงแลว ยังมีกิจกรรมประชาสัมพัน ธการเสนอตัว เป นเจา ภาพงานมหกรรมโลก เวิล ดเ อ็ก ซโ ป ๒๐๒๐ โดยมีการแขง ขัน Walk Rally กิจกรรมการแขงขัน ทางน้ํา การประกวดกระทง พรอมดวยการแสดงจาก ดาราศิลปนจํานวนมาก รวมทั้งไดฟนฟูประเพณีโบราณ เก าแกคื อ พิธี อาบน้ํ าเพ็ญ โดยเกจิ อาจารย ในจัง หวั ด พระนครศรีอยุธยาอีกดวย
ธันวาคม ๒๕๕๕ การเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว
พอเขาสูเดือนสุดทายแหงพุทธศักราช ๒๕๕๕ บรรยากาศในภายเมืองพระนครศรีอยุธยาก็เริ่มคึกคัก ขึ้นมาเหมือนเชนทุกป เพราะเปนเดือนแหงการสงทาย ป ที่ ป ระกอบด ว ยเทศกาลงานประเพณี ห ลายงาน เริ่มตนดวยการเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พ ร ะเ จ า อ ยู หั ว ถน น ห ล าย สา ยใ น เก าะ เมื อ ง พระนครศรีอยุธยาถูกประดับประดาดวยดวงไฟสวาง ไสว หนวยงานราชการตาง ๆ นําพระบรมฉายาลักษณ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาตั้งหนาหนวยงาน ประดับธงสัญลักษณ และดวงไฟสองสวาง อันแสดงถึง ความจงรักภักดีที่มีตอองคพระมหากษัตริย ส ว นประชาชนและข า ราชการในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ตางก็เลือกซื้อหาเสื้อ สีเ หลือ งที่มี แหลงขายใหญอยูในตลาดหัวรอ ซึ่งขายกันอยูในราคา ตัว ละ ๑๕๐ – ๒๐๐ บาท กั น อย า งคึ ก คั ก จนทํ า ให สิ น ค า ขาดตลาด ไม ทั น กั บ ความต อ งการซื้ อ ของ ประชาชน
งานยอยศยิ่งฟาอยุธยามรดกโลก
งานยอยศยิ่งฟาอยุธยามรดกโลก หรือที่ชาว อยุธยาเรียกสั้น ๆ วา งานมรดกโลก สําหรับในปนี้จัด ขึ้นระหวางวันที่ ๗ – ๑๖ ธันวาคม จุดเดนของงานอยูที่ การแสดงแสงเสียง ที่ในปนี้ใชชื่อชุดวา “ยอยศยิ่ง ฟา อยุธยามหานคราเกริกเกรียงไกร” โดยแบงการแสดง ออกเปน ๔ องก หรือ ๔ ฉาก องกที่ ๑ สรางบานแปง เมื อ ง ที่ ก ล า วถึ ง เรื่ อ งราวของสมเด็ จ พระเจ า อู ท อง พระมหากษั ต ริ ย ผู ส ถาปนากรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา องก ที่ ๒ รุ ง เรื อง ง าม วิ จิ ตร ที่ นํ าเส น อ เนื้ อ ห าทาง ด า น ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ ชาวกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา องก ที่ ๓ สถิ ต ในใจประชา เป น เรื่องราวเกี่ยวกับวีรกรรมของมหาราช ที่ชวยนํามาชาติ ใหพนภัยไดในทุกยุคทุกสมัย และองกที่ ๔ มหานครา เกริกเกรียงไกร ที่กล าวถึง ความเจริ ญ ในทุก ดานของ จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา อันสะทอนถึง ความพรอม ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ที่ เ ป น ตั ว แทนของ ประเทศไทย ในการเสนอตั ว เป น เจ า ภาพจั ด งาน WORLD EXPO 2020 โดยนายจารุพงศ เรืองสุวรรณ รัฐ มนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทย เดิ นทางมาเป น ประธานเปดงานอยางเปนทางการในวันที่ ๘ ธันวาคม
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๘๕
นอกจากนี้ ยังมีการจําลองบรรยากาศยอ น ยุคสมัยกรุงศรีอยุธยาและตลาดโบราณ ไวที่หนาพื้นที่ จัดงานแสดงแสงเสียงดวย โดยจัดใหมีการแสดงโขน การแสดงพื้ น บ า น ฯลฯ การจํ า หน า ยอาหารคาว – ห ว า น ร ว ม ทั้ ง ง า น ก า ช า ด ป ร ะ จํ า ป ๒ ๕ ๕ ๕ การประกวดรองเพลงลูกทุงเสียงทอง การประกวดสตรี ๓ วั ย หั ว ใจเดี ย วกั น การจํ า หน า ยสิ น ค า ภู มิ ป ญ ญา ชาวบ า น และคาราวานสิ น ค า ซึ่ ง บริ เ วณจั ด งานนั้ น ตั้งอยูในบริเวณโดยรอบบึงพระรามเหมือนเชนทุกป
อัคคีภัยที่วัดใหญชัยมงคล
ซึ่ง เปนสัญ ลักษณของจัง หวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อ อํานวยความสะดวกใหแกนักทองเที่ยว ในอีกดานหนึ่ง ชาวบานชุมชนโพธาราม ที่กําลังจะไดรับผลกระทบจาก การเวนคืนที่ดิน ซึ่งแนวเสนทางรถไฟฟาความเร็วสูงจะ ผานกลางชุมชน ไดมีการประชุมหารือถึงเรืองนี้กันใน วั น ที่ ๑๗ ธั น วาคม โดยมี วิ ท ยากรจากสมาพั น ธ เครื อ ข า ยช ว ยเหลื อ คนจน มาให ค วามรู แ ละความ เข า ใจ เกี่ ย วกั บ สิ ท ธิ ที่ ค วรจะได รั บ จากทางภาครั ฐ หลัง จากการเวนคืนที่ดิน เพื่อใหชาวบานมีการเตรียม ความพรอมมากขึ้น โดยในที่ประชุมมีการแสดงความ คิดเห็นที่หลากหลายทั้งเห็นดวยและไมเห็นดวย
เกิดเหตุอัคคีภัยขึ้นที่กุฏิพระวัดใหญชัยมงคล ในชวงเย็นของวันที่ ๑๑ ธันวาคม ไฟไหมกุฏิสงฆไดรับ ความเสี ย หายไป ๓ หลั ง มู ล ค า ความเสี ย หายกว า ๑๐ ลานบาท ซึ่ง คาดวาสาเหตุเพลิง ไหมในครั้ง นี้เกิด จากไฟฟาลัดวงจร อยางไรก็ตาม เหตุเพลิงไหมดังกลาว มิไดสงผลกระทบตอโบราณสถานที่สําคัญภายในวัด
ของฝากในเทศกาลปใหม ๒๕๕๖
การกอสรางทางรถไฟความเร็วสูง
ในช วงเวลานี้ ชาวอยุธ ยาเริ่ม มีความตื่ นตั ว หลัง จากที่รัฐบาลมีมติใหกอสรางทางรถไฟความเร็ว สู ง สายแรก เมื่ อ วั น ที่ ๖ ธั น วาคม เส น ทางจาก กรุง เทพฯ สูสถานีภาชีของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่ง คาดการณว าจะทํ าใหนั กท องเที่ ยวเข ามาเที่ย วใน จั ง หวั ด พ ระ นครศรี อ ยุ ธ ยาเพิ่ ม มาก ขึ้ น ดั งนั้ น ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงาน พ ร ะ น คร ศรี อยุ ธ ย า จึ ง ไ ด เต รี ย มแ ผน ร อ ง รั บ นักทองเที่ยว ดวยการเตรียมเพิ่มรถตุกตุกและรถราง
สํา หรั บเทศกาลป ใหม ๒๕๕๖ มี ประชาชน จํานวนไมนอย เลือก โรตีสายไหม ของฝากขึ้นชื่อของ จัง หวัด พระนครศรี อยุ ธยา ซึ่ง มีแ หล ง ขายอยู บริ เวณ หนาโรงพยาบาลจัง หวัดพระนครศรีอยุธยา เปน ของ ฝากและของขวัญ ที่ จะมอบให แก กันในวาระดิถี ขึ้น ป ใหม ทําใหพอคาแมคาขายโรตี ตองตระเตรียมวัตถุดิบ และผลิ ต โรตี เพื่ อ รองรั บ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ จ ะมาเที่ ย ว ในชวงเทศกาลปใหม
มกราคม ๒๕๕๖ พฤติกรรมไมเหมาะสมของนักทองเที่ยว
ชวงตนปพุทธศักราช ๒๕๕๖ มีกระแสขาว เกี่ ย วกั บ ความไม เ หมาะสมของพฤติ ก รรมของ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ ม าเยื อ นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา หลายเรื่อง เริ่มตนจากเหตุการณนักทองเที่ยวชาวจีน และ ไตหวั น ที่ม าเที่ย วชมวั ดพระศรีสรรเพชญ และ นิยมนําเศษอิฐหักมาเรียงซอน ๆ กัน จนมีจํานวนนับ พันกอง ดวยความเชื่อที่วายิ่ง เรียงใหมีความสูงมาก ก็
๘๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
จะมี ห น า ที่ ก ารงานเจริ ญ รุ ง เรื อ ง ซึ่ ง แม พ ฤติ ก รรม ลักษณะนี้จะไมทําใหเกิดความเสียหายตอโบราณสถาน นัก และดานหนึ่ง ยัง อาจเปนสิ่ง ดึง ดูดความสนใจของ นั ก ท อ งเที่ ย ว แต ใ นทั ศ นะของชาวไทย เห็ น ว า เป น พฤติกรรมที่ไมเหมาะสม และอาจสงผลใหโบราณสถาน เสี ย หายได จึ ง มี ก ารร อ งเรี ย น และปรากฏเป น ข า ว แพร ห ลายในโลกอิ น เตอร เ น็ ต ผู อํ า นวยการอุ ท ยาน ประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา จึงตองสั่งใหคนงาน เก็บเศษอิฐหักตามโบราณสถานออกไป และกําชับให เจ า หน า ที่ รั ก ษาความปลอดภั ย ประจํ า โบราณสถาน เดิน ตรวจตราสอดสอ ง รวมถึ ง ตัก เตือ นนัก ทองเที่ย ว ดวย นอกจากนั้น ในชวงเวลาใกลเคียงกันนี้ ยัง มี การเผยแพรพฤติกรรมของนักทองเที่ยวที่ไมเหมาะสม ทางอินเตอรเน็ตอีกหลายกรณี เชน กรณีนักทองเที่ยว ตางชาติ ถายรูปกับซากพระพุทธรูป โดยชะโงกศีรษะ ของตนเอง แทนที่เศียรพระพุทธรูปที่ชํารุดหายไป กับ กรณีที่มีผูถายภาพเพื่อขายสินคาที่เปนรองเทาสตรีบน กํา แพงวั ดพระศรี ส รรเพชญ โดยมี ฉากหลัง เป น สถู ป เ จ ดี ย โ ด ย ทั้ ง ๒ ก ร ณี นี้ ถู ก สั ง ค ม อ อ น ไ ล น วิพากษวิจารณถึงความไมเหมาะสมอยางนัก
วันเด็กแหงชาติ ประจําป ๒๕๕๖
วันเด็กแหงชาติในปนี้ ถูกจัดขึ้นตามสถานที่ ตาง ๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยหนวยงานทั้ง ภาครัฐ และภาคเอกชน อาทิ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยคณาจารย แ ละเจ า หน า ที่ ป ระจํ า มหาวิทยาลัยฯ จวนผู ว า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธ ยา โดยผู ว า ราชการจั ง หวั ด และ นายกเหลากาชาดจังหวัด สนามกีฬากลางจังหวัด โดยเทศบาลนคร พระนครศรี อ ยุ ธ ยาร ว มกั บ องค ก าร บริหารสวนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศู น ย ก ารค า อยุ ธ ยาพาร ค โดยทาง ศู น ย ก ารค า ฯ ร ว มกั บ เทศบาลเมื อ ง อโยธยา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลสุ ว รรณภู มิ ศู น ย ว าสุ ก รี รวมทั้ ง หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนตาง ๆ ภายใตชื่อ “เด็กไทย หัวใจสีเขียว” โดยในแต ล ะแห ง มี กิ จ กรรมต า ง ๆ เช น เลนเกม แจกของขวั ญ เลี้ยงอาหารและขนม รวมถึ ง การประกวด และการแสดงบนเวที เปนตน
ผูวาฯ เปดบานหลังเลิกเรียนเปนปที่ ๓
นายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผู ว า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ไดจัดโครงการบานหลัง เลิกเรียน ขึ้นที่ จวนผูวา ราชการจัง หวั ดฯ ซึ่ง ไดจั ดขึ้น ติดต อกั น เปนปที่ ๓ โดยเนนกิจกรรมสรางสรรค และเสริมสราง การเรียนรูใหกับนั กเรียนตามโรงเรี ยนตาง ๆ ในชว ง หลั ง เลิ ก เรี ย น อาทิ ห อ งสมุ ด คอมพิ ว เตอร การวาด
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I ๘๗
ภ าพ สี น้ํ า สี น้ํ า มั น ก า ร ฝ ก นั่ ง สมาธิ ก าร สอ น ภาษาต า งประเทศ ฯลฯ นอกจากนี้ ยั ง ได จั ด พื้ น ที่ สําหรับใหเยาวชนไดสนุกสนานกับสนามเด็กเลน และ เพลิดเพลินไปกับการแสดงตาง ๆ บนเวที
สหรัฐอเมริกามอบเงินฟนฟูวัดไชยวัฒนาราม
วั น ที่ ๑๑ มกราคม นางคริ ส ตี้ เคนนี ย เอกอั ค รราชทู ต สหรั ฐ อเมริ ก า ประจํ า ประเทศไทย ผูแทนของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดเดินทางมามอบเช็ค โครงการฟนฟูบูรณะวัดไชยวัฒนาราม เปนจํานวนเงิน ๑๓๑,๘๐๐ ดอลลารสหรัฐ หรือ ประมาณ ๔ ลานบาท เพื่อชวยฟนฟูและรักษาโบราณสถานวัดไชยวัฒนาราม ที่ไดรับความเสียหายจากมหาวิกฤตกาลอุทกภัย เมื่อป ๒๕๕๔ เนื่ อ ง ในว าร ะ คร บร อบ ๑ ๘ ๐ ป แห ง ความสั ม พั น ธ ท างการทู ต ของประเทศไทยและ สหรัฐ อเมริ กา นอกจากนี้ยั ง สะท อ นถึ ง ความร วมมื อ ระหวางกันในการคุมครอง รักษานครประวัติศาสตรซึ่ง เปนแหลงมรดกทางวัฒนธรรมที่สําคัญของโลก
ความหวังในการเปนเจาภาพเวิลดเอกซโป
วั น ที่ ๓๐ มกราคม เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งาน มหกรรมโลก หรื อ BIE พร อ มคณะ เดิ น ทางเยื อ น ประเทศไทย เพื่อรับฟงขอมูล และลงพื้นที่สํารวจความ พรอมของประเทศไทย ที่เสนอตัวเพื่อประมูลสิทธิ์ เปน เจาภาพจัดงานมหกรรมโลก หรือ World Expo 2020 ที่อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเปนการ สํารวจพื้นที่ครั้งสุดทายกอนการลงมติคัดเลือกประเทศ เจาภาพการจัดงาน ในการประชุมสมัชชาใหญในเดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ในช ว งเย็ น นายวิ ทยา ผิ วผ อ ง ผู ว า ราชการ จัง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา นํ า คณะฯ ลงเรื อ บริ เ วณ ทาเรือองคการบริหารสวนจังหวัด ตําบลประตูชัย เพื่อ ชมความงาม และวิถีชีวิตของประชาชนสองฝง แมน้ํา เจาพระยา และเทียบทาที่วัดไชยวัฒ นาราม เยี่ยมชม ซุม สาธิ ตงานหั ตถกรรม เช น การร อยมาลั ย การทํ า พัดหอม การแกะสลักผลไม และการสานปลาตะเพียน พร อ มการแสดงต า ง ๆ อาทิ รํ า กลองยาว และการ แสดงแสงเสียงอยางงดงามตระการตา พรอมดวยการ เลี้ยงรับรองอาหารค่ํา ซึ่งแมจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะมีคูแขงใน การประมูลสิทธิเปนเจาภาพจัดงานที่ มีศักยภาพมาก หลายประเทศอยาง บราซิลที่เสนอ เซาเปาโล ริโอเดอ จาเนโร และสหรั ฐอาหรับ เอมิ เรสตที่เ สนอ นครดูไ บ เ ป น ต น อ ย า ง ไ ร ก็ ต า ม ผู ว า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา ยังมีความมั่นใจอยางมากที่อยุธยา ของไทยจะได รั บ การคั ด เลื อ กเป น สถานที่ จั ด งาน มหกรรมโลก
๘๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปที่ ๕ / ๒๕๕๖ I
การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ ในวารสารอยุธยาศึกษา ฉบับที่ ๖ / ๒๕๕๗ ขอกําหนดผลงานวิชาการที่ลงตีพิมพในวารสาร ๑.เปนบทความทางวิชาการ เกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาทิ ดานประวัติศาสตร ดานศิลปวัฒนธรรม ดานภูมิปญญาทองถิ่น และดานสิ่งแวดลอม โดยเปนบทความที่ยังไมเคยตีพิมพเผยแพรมากอน ๒.บทความมีความยาว พรอมภาพประกอบ ไมเกิน ๑๕ หนากระดาษ เอ ๔ ๓.แนบประวัติผูเขียน ระบุชื่อ-สกุล ตําแหนง หนวยงาน สถานที่ติดตอ หมายเลขโทรศัพท โทรสาร อีเมล เพื่อ การติดตอกลับ ๔.สง ตน ฉบับพิมพ พรอมแผนซีดีขอมูล จํานวน ๑ ชุด ถึง งานสงเสริมและพัฒนาวิชาการ สถาบันอยุธยา ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ๙๖ ถนนปรี ดี พนมยงค ตํ า บลประตู ชั ย อ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จ.พระนครศรีอ ยุ ธยา ๑๓๐๐๐ กอ นวัน ที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ กองบรรณาธิ ก ารสงวนสิ ทธิ์ ที่ จะไมส ง คื น ตนฉบับพิมพ และซีดีขอมูล ๕.ตนฉบับจะตองผานการประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้กองบรรณาธิการอาจขอใหผูเขียนปรับปรุง แกไขบทความกอนการตีพิมพ ซึ่งผูเขียนจะตองแกไขตนฉบับใหเสร็จ และสงคืนกองบรรณาธิการภายในเวลาที่กําหนด หากเลยกําหนดจะขอสงวนสิทธิ์ในการงดลงตีพิมพ ๖.กองบรรณาธิการจะสงวารสารจํานวน ๓ เลม ใหแกเจาของผลงานที่ไดรับการตีพิมพ ๗.กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการนําบทความที่ไดรับการตีพิมพ ไปเผยแพรในเว็บไซตสถาบันอยุธยา ศึกษา www. ayutthayastudies. aru.ac.th สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณพัฑร แตงพันธ หรือ คุณปทพงษ ชื่นบุญ งานสง เสริมและพัฒนาวิชาการ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ก พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โทรศั พ ท / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ E-mail: ayutthayastudy@yahoo.co.th