วายสายวิชากาย อมุทมาศึกษา
บีถี่ ๖ ฉนันบยะจําบีฝุถทศักยาช ๒๕๕๗ ISSN 2229-1644
ภาพปก :
บรรยากาศการเก็บพุทราในพระราชวังกรุงศรีอยุธยา เพื่อนํามาแปรรูปขายนักทองเที่ยว อันสะทอนวิถีชีวิตของผูคนที่ใชชีวิตอยูรวมกับโบราณสถานในทองถิ่นพระนครศรีอยุธยา ภาพโดย ธนิสร เพ็ชรถนอม
เจ้าของ :
สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงคแ ตําบลประตูชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพทแ / โทรสาร ๐-๓๕๒๔-๑๔๐๗ เว็บไซตแ www.ayutthayastudies.aru.ac.th วารสารทางวิชาการ อยุธยาศึกษา กําหนดออกปีละ ๑ ฉบับ มีวัตถุประสงคแ เพื่อ ใหบริการทางวิชาการแกสงั คม เผยแพรบทความทางวิชาการ และงานวิจัยทางดาน ประวัติศาสตรแ ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปใญญาทองถิ่นสูสาธารณชน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา รองอธิการบดีฝุายนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ชาญวิทยแ เกษตรศิริ สาวิตรี สุวรรณสถิตยแ จงกล เฮงสุวรรณ
ข้อมูลทั่วไป : ที่ปรึกษา :
บรรณาธิการบริหาร : ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร : บรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :
ศิลปกรรม : จานวน : พิมพ์ที่ :
กันยารัตนแ คงพร อุมาภรณแ กลาหาญ สุรินทรแ ศรีสังขแงาม พัฑรแ แตงพันธแ ปใทพงษแ ชื่นบุญ อายุวัฒนแ คาผล สาธิยา ลายพิกุน อรอุมา โพธิ์จิ๋ว พัฑรแ แตงพันธแ
ณัฐฐิญา แกวแหวน สายรุง กล่ําเพชร ประภาพร แตงพันธแ ศรีสุวรรณ ชวยโสภา
๕๐๐ เลม บริษัท เทียนวัฒนาพริ้นทแติ้งจํากัด ๑๖/๗ ถนนเดชาวุธ ตําบลหอรัตนไชย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพทแ ๐-๓๕๒๔-๑๕๗๘ โทรสาร ๐-๓๕๓๒-๓๓๙๖
นานาทัศนะที่ปรากฏในบทความตาง ๆ ของวารสารฉบับนี้ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ไมจําเป็นตองเห็นดวย ผูที่ประสงคแจะนําขอความจากบทความ หรือบทความไปตีพิมพแเผยแพรตองไดรับอนุญาตจากผูเขียน
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑
ฟูภิวัฑธทยยภ
บยะวัดิศาสดย์ถี่ภชี ีวิดของปู้คธใธถ้องติ่ธ
ภาพ: ธนิสร เพ็ชรถนอม.
“การศึ ก ษาภู มิ วั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น เป็ น ประวั ติ ศ าสตรแ ที่ มี ชี วิ ต ต า งกั บ ประวั ติ ศ าสตรแ ช าติ สมั ย สุ โ ขทั ย สมัยอยุธยาที่ตายไปหมดแลว ซึ่ง การสรางประวัติศาสตรแทองถิ่นเราเนน ที่คนในทองถิ่น ศึกษาความสัมพันธแของคน กับพื้นที่ อันประกอบดวยผู คนหลากหลายชาติพันธุแ ที่เกิดสํานึก ในทองถิ่นรวมกัน โดยมีความสัมพันธแทางสังคมและ วัฒนธรรมรวมกัน เมื่อคุณเขาไปอยูในชุมชนหนึ่ง อาจตางศาสนา ชาติพันธุแ แตเมื่ออยูอาศัยนานเขา มีการแตงงาน ปะปนกัน และมีประเพณีรวมกัน ในที่สุดจะเกิดสํานึกรวมกลายเป็นสวนหนึ่งในทองถิ่นนั้น ๆ เชนกลายเป็นคนอยุธยา คนอยุ ธ ยาในอดี ต มี ค นหลากหลายชาติ พั น ธุแ เ ข า มา คนร อ ยพ อ พั น แม ซึ่ ง เกิ ด สํ า นึ ก ร ว มของ คนอยุธยาทามกลางความหลากหลายทางชาติพันธุแและศาสนา การติดตอคาขายทางทะเลทําใหอยุธยาเป็นเมืองทา (Port City) ที่สําคัญ ซึ่งเมื่อมีคนหลายชาติพันธุแเขามารวมกัน จึงตองมีกลไกที่ทําใหเกิดการบูรณาการทางวัฒนธรรม” ศรีศักร วัลลิโภดม ๘ กุมภาพันธแ ๒๕๕๗
๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
นถนยยฒาทิกาย
ฝยะธคยศยีอมุทมา ใธภิดิหฤังกยุงศยีอมุทมา สถาบันอยุธยาศึกษาเป็นสถาบันทางวิชาการ ที่เป็นหนวยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ดวยปรัชญา “รอบรู้ เชิดชู สู่สร้างสรรค์วัฒนธรรมอยุธยา” รวมไปถึง ความตั้ง ใจที่จะพัฒนาสถาบันฯ ใหมีความ เป็นเลิศทางวิชาการ เป็นศูนยแกลางการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ดวยความโดดเดนของ “กรุงศรีอยุธยา” ในฐานะ “ราชธานี” ซึ่งเป็นศูนยแกลางของความเจริญ ทางสังคม วัฒนธรรม ของภูมิภาคในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๓ ทําใหงานวิชาการที่ผานมาสวนใหญมุงเนนที่จะศึกษาเฉพาะ ในกรอบช ว งเวลาดั ง กล าว จึ ง ปรากฏน อ ยครั้ ง ที่ จ ะมี ก ารศึ กษาอยุ ธ ยาในกรอบเวลา “สมั ย หลัง กรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยา” ในมุมมองของประวัติศาสตรแทองถิ่นอยางจริงจัง แนวคิดนี้จึงเป็นดังวัตถุประสงคแสําคัญ ของ “วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา” ปีที่ ๖ ฉบับประจําปี ๒๕๕๗ ที่จะใหความสําคัญกับบริบทของการศึกษาพระนครศรีอยุธยาในแนวทางของ “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” เพราะกวา ๒ ศตวรรษที่ผานมา การเปลี่ยนแปลงในภู มิภาคได นําพาจั ง หวัดพระนครศรี อยุ ธยามาสูการเป็น “มรดกโลก” และ “นิคมอุตสาหกรรม” อันเป็นบริบทที่มี ทั้ง มิติของความขัดแยง และมิติของการเกื้อหนุน ซึ่ง เป็นความจริง ที่ไ มอาจ มองขามได บทความภายในประกอบดว ย ภูมิ วัฒ นธรรม หั วใจของการศึกษาประวัติ ศาสตร์ ท้อ งถิ่ น , มอญคลั่ง ที่ กวานปราสาท: เรื่องเล่าจากงานสงกรานต์ที่บ้านเสากระโดง, งานแทงหยวกอยุธยา: ศิลปกรรมแห่งน้าจิตน้าใจของ คนในท้ อ งถิ่ น , วิถี วั ฒ นธรรม ผู้ คนและสายน้ า ตาบลมหาราช, ความทรงจ าที่ ...เกาะลอย, คลองมหานาค: คลองประวัติ ศาสตร์ ที่ถูก ลืม , พระนครศรีอ ยุ ธยา: พื้ นภู มิ อู่ ข้าว-อู่น้า และข้ อ เสนอเพื่อ การบริห ารทรัพยากร ในกระแสทุนนิยม และการจัดการพื้นที่มรดกโลกอยุธยา: ข้อขัดแย้งเชิงกฎหมายในบริบทการบริหารงานวัฒนธรรม เป็นตน ประวัติศาสตรแทองถิ่นจึงเป็นการศึกษาที่มีความละเอียดออนและใกลชิดกับวิถีชีวิตของผูคนเป็นอยางมาก ผูศึกษาจําเป็นตองใหความสําคัญกับรายละเอียดแมเพียงเล็กนอย ซึ่งอาจนําไปสูการตีความ การทําความเขาใจ และยัง อาจเป็น พลัง ทางสั ง คมอัน ยิ่ งใหญ ดั ง คํา ของศาสตราจารยแพิ เ ศษ ดร.ศรีศั กร วัล ลิโ ภดม ที่ วา “ความมุ่ ง หมายใน การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คือ ทาอย่างไรให้คนในท้องถิ่นมีชีวิตอยู่ร่วมกันได้ และมีความเข้มแข็งเพื่อต้าน แรงกระทบจากคนภายนอกเพราะว่าตรงนี้เป็นบ้านเกิดเมืองนอน ไม่ใช่หวังเพียงแค่มาหาประโยชน์เพียงเท่านั้น”
บรรณาธิการ วารสารอยุธยาศึกษา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๓
สายนัญ
วายสายวิชากายอมุทมาศึกษา บีถี่ ๖ ฉนันบยะจําบีฝุถทศักยาช ๒๕๕๗
๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
บทบรรณาธิการ
๓
ภูมิวัฒนธรรม หัวใจของการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ศรีศักร วัลลิโภดม
๕
พระนครศรีอยุธยา: พื้นภูมิ อู่ขา้ ว-อู่น้า และข้อเสนอเพือ่ การบริหารทรัพยากรในกระแสทุนนิยม ปฤษณา ชนะวรรษ
๑๐
การจัดการพื้นที่มรดกโลกอยุธยา: ข้อขัดแย้งเชิงกฎหมายในบริบทการบริหารงานวัฒนธรรม พรลภัส อุณาพรหม
๑๘
มอญคลั่งที่กวานปราสาท: เรื่องเล่าจากงานสงกรานต์ที่บ้านเสากระโดง ปใทพงษแ ชื่นบุญ
๒๗
งานแทงหยวกอยุธยา: ศิลปกรรมแห่งน้าจิตน้าใจของคนในท้องถิ่น พัฑรแ แตงพันธแ
๓๗
วิถีวัฒนธรรม ผู้คนและสายน้า ตาบลมหาราช นันทแนภัส ดานชัยสิทธิ์
๔๑
ความทรงจาที่...เกาะลอย บุญสมหญิง พลเมืองดี
๕๑
คลองมหานาค: คลองประวัติศาสตร์ที่ถูกลืม วันลียแ กระจางวี
๕๔
จิตรกรรมฝาผนัง วัดชุมพลนิกายาราม: พุทธศิลป์ตามพระราชศรัทธา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ สุรินทรแ ศรีสังขแงาม
๕๙
ลักษณะผสมในจิตรกรรมวัด จอก ตอ จี เมืองอมรปุระ : รูปแบบและบริบททางวัฒนธรรม วรวิทยแ สินธุระหัส
๖๘
ชานวัฒนธรรมสถาบันอยุธยาศึกษา
๘๐
ฟูภิวัฑธทยยภ
หัวใจของกายศึกษาบยะวัดิศาสดย์ถ้องติ่ธ ศยีศักย วัฤฤิโฟณภ
อฟิญญา ธธถ์ธาถ / สยุบควาภ
เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗ อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ได้เป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง ภู มิ วั ฒ นธรรม หั ว ใจของการศึ ก ษาประวั ติศ าสตร์ ท้องถิ่ น เนื่ องในโครงการอบรมเชิ ง ปฏิบั ติการ “การวิจัยทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา” ณ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ อดีตพระนครศรีอยุธยามีแตวั ดราง บานเรือนอยูริมน้ําดานฟากตะวันออก ตรงคลองคูขื่อหนา มีตลาดเป็น ระยะ ๆ ย านตลาดเจ าพรหมเป็น สถานีรถไฟ มีเรือนไม เรือนแพ แลวมีโรงพยาบาล ศาล คุก แลว ถึง ยานหัวรอ อีกแหง หนึ่ง ที่เป็นยานชุมชนคือ หัวแหลม และในอดีต มี ชวงฤดูน้ําหลาก น้ําแลง ซึ่ง สิ่ง เหลานี้เป็น สภาพความเป็ น อยุธยาเกาที่สืบเนื่องมา การศึกษาภูมวิ ัฒนธรรมทองถิ่นเชนนี้ เป็นประวัติศาสตรแที่มชี ีวิตตางกับประวัติศาสตรแสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา ที่ตายไปหมดแลว ซึ่ง การสรางประวั ติศาสตรแทองถิ่นเราเนน ที่คนในทองถิ่ น ศึ กษาความสั ม พันธแข องคนกับพื้น ที่ อันประกอบดวยผูคนหลากหลายชาติพันธุแ ที่เกิดสํานึกในทองถิ่นรวมกัน โดยมีความสัมพันธแทางสังคมและวัฒนธรรม รวมกัน เมื่อคุณเขาไปอยูในชุมชนหนึ่ง อาจตางศาสนา ชาติพันธุแ แตเมื่ออยูอาศัยนานเขา มีการแตงงานปะปนกัน และมีประเพณีรวมกัน ในที่สุดจะเกิดสํานึกรวมกลายเป็นสวนหนึ่งในทองถิ่นนั้นๆ เชนกลายเป็นคนอยุธยา
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๕
คนอยุธยาในอดีต มีคนหลากหลายชาติพันธุแ เข า มา คนร อ ยพ อ พั น แม ซึ่ ง เกิ ด สํ า นึ ก ร ว มของ คนอยุธยาทามกลางความหลากหลายทางชาติพันธุแและ ศาสนาการติ ด ต อ ค า ขายทางทะเลทํ า ให อ ยุ ธ ยาเป็ น เมื อ งท า (Port City) ที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง เมื่ อ มี ค นหลาย ชาติ พั น ธุแ เ ข า มารวมกั น จึ ง ต อ งมี ก ลไกที่ ทํ า ให เ กิ ด การบูรณาการทางวัฒนธรรม สิ่ ง ที่ เ ป็ น ภู มิ ทั ศ นแ ข องอยุ ธ ยาที่ สํ า คั ญ คื อ วั ด มหาธาตุ ก อ นที่ พ ระบรมไตรโลกนาถจะสร า ง พระบรมมหาราชวัง วัดมหาธาตุเป็นวัดที่สําคัญที่สุดอยู ทา ง ตอ น ใต ข อ ง ห น อง โ สน ( ปใ จ จุ บั น เ รี ย ก ว า บึงพระราม) เมือ่ พระเจาอูทองสรางพระนครศรีอยุธยา ในระยะแรก ความเป็ น บ า นเมื อ งเกิ ด ขึ้ น รอบๆ หนองโสน เมืองตองมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในบริเวณนี้ มุ ม หนึ่ ง คื อ วั ด มหาธาตุ อี ก มุ ม หนึ่ ง คื อ วั ด พระราม นอกจากนั้นก็เป็นวัดเล็ก ๆ วั ด พ ร ะ ร า มเ ป็ น วั ด ที่ ถว าย พ ร ะ เพ ลิ ง พระบรมศพสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) ขณะที่ วั ด มหาธาตุ ส ร า งขึ้ น ในสมั ย สมเด็ จ พระบรม ราชาธิ ร าชที่ ๑ (ขุ น หลวงพะงั่ ว ) ในสมั ย สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ๑ เป็ น สมั ย ที่ บ า นเมื อ งเริ่ ม ก อ ตั้ ง และสมเด็จพระรามาธิบดี ๑ มีความสัมพันธแเป็นบุตร เขยของกษั ต ริ ยแ ร าชวงศแ สุ พ รรณภู มิ (สุ พ รรณบุ รี ) สองราชวงศแนี้ รวมกันเกิดเป็นกรุงศรีอยุธยา เป็นนคร รั ฐ อิ ส ระที่ ร วมกั น เป็ น อยุ ธ ยา และราชวงศแ ต อ มา คือ ราชวงศแสุพรรณภูมิไดขึ้นครองราชสมบัติ สมเด็จ พระบรมราชาธิ ราชที่ ๑ (ขุน หลวงพะงั่ ว ) ก็ไ ด สร า ง พระบรมธาตุ (วัดมหาธาตุ) ถึงไดพูดถึงเรื่องนี้ขึ้นมา เมื่ อ ผมอายุ ไ ด ป ระมาณ ๑๒ ปี ตอนนั้ น มี การ ขุ ด ค น ที่ วั ดราชบู ร ณะ และ วั ดมหาธาตุ พ บ พระบรมธาตุบรรจุอยูภายใน นับจากยุคของสมเด็ จ พระ บร มร าชาธิ ราชที่ ๑ มาถึ ง ยุ ค ของ สมเด็ จ เจ า สามพระยา กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี ค วามมั่ ง คั่ ง มาก ดังที่ปรากฏหลักฐานภายในกรุพระปรางคแวัดราชบูรณะ พบสมบัติแบบจีนอยูจํานวนมาก ซึ่งนาจะเกี่ยวของกับ การเข า มาของเจิ้ ง เหอ นอกจากนี้ มี พ วกเครื่ อ งทอง พระแสงขรรคแชัยศรี เครื่องราชกกุธภัณฑแตาง ๆ และ ที่สําคัญพบสถูปจําลอง ซึ่งคือพระบรมธาตุ ๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
พระบ รมธา ตุ เป็ น หลั ก ขอ ง บ า น เมื อ ง เขาไมไดขุดมาใหนั่งชมอยูในพิพิธภัณฑแหรือไมไดเอามา ให ส รงน้ํ า แต พ ระบรมธาตุ เ ป็ น หลั ก ของจั ก รวาล เป็ น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เขามี ก าลเทศะ แล ว ที นี้ ค น มันไมมีกาลเทศะ ขุดเสร็จก็เอามาใสพิพิธภัณฑแ ผมเป็น กรรมการผูทรงคุณวุฒิของกระทรวงวัฒนธรรมพยายาม จะเอาพระบรมธาตุ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑแ ก ลั บ ไปบรรจุ ที่ วัดราชบูรณะ เพื่อฟื้นในเรื่องจิตใจของคนขึ้นมา ในยุคนี้ตองรื้อฟื้นประวัติศาสตรแที่มีชีวิตโดย ภาคประชาชน ตอนนี้คนอยุธยามีรอยพอพันแม อีกทั้ง มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ไ ปจากเดิม เชน ทุง พระอุทัย ที่กลายเป็นนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ เพราะไมเขาใจ สภาพภู มิประเทศที่ บริเวณนั้นเป็ นที่รับ น้ําจากแมน้ํ า ปุาสัก กรุงศรีอยุธยามีแมน้ําปุาสักและแมน้ําลพบุรี เป็นคูพระนครทางดานเหนือ ดานตะวันตก และดานใต สวนดานตะวันออกมีการขุดคูน้ําขึ้นคือ คลองคูขื่อหนา ซึ่ง ชุมชนเกิดขึ้นตรงนี้ นอกจากนี้มีขนอนอยูหลายจุด มีทั้งขนอนขนาดใหญและขนาดเล็ก ผั นน้ําเขามาทาง คลองหันตรา ซึ่ง คลองหันตราเป็นยานขนาดใหญแหง หนึ่งของอยุธยา เป็นชุมชนทองถิ่นที่มีสํานึกรวมกัน ชุม ชนอยุธ ยาเกิด ขึ้น ริ มแมน้ํ า ชุ มชนริม น้ํ า เรียกวา“บาง” ถือเป็นทองถิ่นหนึ่ง มีชุมชน มีหมูบาน มี สํ า นึ ก ร ว มกั น มี วั ด พระธาตุ พิ ธี ก รรม ประเพณี เช น การแขง เรื อ ซึ่ง เป็ นตั วเชื่อ มบู รณาการผูค นเข า ดวยกัน มีความสัมพันธแขึ้นมา วัฒนธรรมของอยุธยานี้ เราไปยึ ดติด เรื่อ งศิล ปวัฒ นธรรมที่ รางไมมี ผูคน สิ่ง ที่ ควรสืบตอคือประเพณีวัฒนธรรม ที นี้ เ กิ ด ปใ ญ หาขึ้ น เมื่ อ คิ ด ไม เ ป็ น แล ว เอา ประเพณีวัฒนธรรมไปขาย ซึ่งตองระวังใหมาก เพราะ การคนควาของพวกคุณมันจะไปเติมการขายวัฒนธรรม ถาไมรูกาลเทศะและไมรูปใญหา ฉะนั้นสิ่งที่ผมอธิบายวา ความหมายประวัติศาสตรแทองถิ่น ตองใหความสําคัญ กับ คนในพื้ น ที่ ที่ มี ห ลากหลายชาติ พั น ธุแ หลายชุ ม ชน เล็ ก ๆ ที่ เ ป็ น บ า น ซึ่ ง รู ว า อยู กั น มากี่ ชั่ ว คน มี สํ า นึ ก รวมกัน และเขาอยูมีชี วิตรอดรวมกัน ไดอยา งไรนี่คื อ สิ่ง ที่ สํา คั ญ ประวัติ ศ าสตรแ ทอ งถิ่ นนี้ มั นไม ขึ้ นอยู กั บ ยุคสมัย ชวงเวลา แตขึ้นอยูกับชั่วอายุคน
สมัยกอนเขาบูรณาการคนตางถิ่นดวยวิธีการ ให อ ยู ใ นพื้ น ที่ เ ดี ย วกั น แล ว สร า งสํ า นึ ก ร ว ม เหตุ ที่พระมหากษัตริยแสรางวัดมากเพราะวัดเป็นศูนยแกลาง ของชุมชน เมื่อ ยา ยไปอยูถิ่ นใดถิ่น หนึ่ง จะต องสรา ง พิธีกรรมรวมกัน อยางนอยนิมนตแพระสงฆแไปจําวัดที่นั่น เชาก็มาถวายอาหารร วมกัน มีประเพณีรวมกัน แล ว ตอมาพื้นที่นั้นกลายเป็นวัด บางวัดก็เป็นศูนยแกลางของ ชุมชน ชื่อของวัดเป็นชื่อเดียวกันกับชุมชน เพื่อแสดงให รู ว า ขอบเขตของเขาอยู แ ค ไ หน นอกจากนี้ วั ด เป็ น สถานที่ใหเรียนหนังสือแตขณะนี้มีปใญหาวาเราไมรูเรื่อง ทองถิ่น เพราะวาเราสืบทอดโดยพื้นที่ที่เป็นการบริหาร สืบมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่แบง เป็นหมูบาน ตําบล อําเภอ เป็นพื้นที่การบริหารราชการของแตละทองถิ่น เช น เดี ย วกั บ เรื่ อ งกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ของวั ด แต เ ดิ ม เจ า อาวาสไม ไ ด เ ป็ น เจ า ของวั ด แต เ พราะมี กฎหมายสงฆแขึ้นพวกเถรสมาคม เจาอาวาสจึงมีสิทธิ์ใน ที่ดิน แตเดิมตอนที่เขาสรางวัดจะใหชุมชนดูแลกันเอง ทํามาหากินที่นั่น มีสิทธิ์แตว าไมมีกรรมสิทธิ์ แลวเมื่อ กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น เป็ น ของวั ด พวกเจ า อาวาสอ า ง กรรมสิทธิ์เพื่อขายที่ดิน ... ที่ร าบลุ มระหว างลํ าน้ํ า เป็ นท อ งทุ ง ซึ่ ง เป็ น แหลงอาหารสําคัญและเป็นศูนยแกลางของสังคมดังเชน ทุ่ ง ภู เ ขาทองเป็ น ส ว นหนึ่ ง ของทุ ง มะขามหย อ ง อยู ร ะหว า งลํ า น้ํ า ลพบุ รี กั บ ลํ า น้ํ า เจ า พระยา มี วั ด ภูเขาทองเป็นศูนยแกลางมีงานเทศกาลไหววัด มีการเลน สักวา ป า ก น้ า บ า ง ก ะ จ ะ เ ป็ น จุ ด ที่ มี น้ํ า ว น เกิ ด ตํ า นาน คว ามรั กลอยว น เหมื อ น บาง กะ จะ เชนเดียวกับบริเวณปูอมเพชรที่มีน้ําวนและน้ําแรงมาก ตอนที่ ยั ง ไม มี เ ขื่ อ นภู มิ พ ล ย่ า นป้ อ มเพชร เป็ น ย า น นานาชาติ เติบโตขึ้นในสมัยที่เรือคาขายตางประเทศ มาจอดทอดสมอที่ นี่ แม น้ํ า เจ า พระยาเกิ ด ขึ้ น จาก บริเวณนี้ เป็นที่รวมของลําน้ําหลายสาย ฝรั่งเรียกแมน้ํา เจ า พระยาว า “แมน้ํ า ” ชว งสมั ย อยุธ ยาตอนปลาย เจริญ มาก เป็นเมืองนานาชาติ มีกลาวถึง ในเอกสาร ฝรั่งทั้งนั้น
ย า นนี้ เ คยคึ ก คั ก เป็ น แหล ง ผู ห ญิ ง หากิ น มี ย า นเจ า พรหม ย า นในไก โ ดยเฉพาะ รอบ ๆ ชาน พระนครมีเรือนแพหนาแนนมาก เพราะในอดีตคนไม อยูบนบก แตอยูบนน้ํา เชนเดียวกับ แถวปูอมมหากาฬ กรุงเทพฯ ที่เป็นพื้นที่ชานพระนครเหมือนกัน อีกยาน หนึ่ง ที่สํ าคั ญ คื อ ย่า นหั วรออยุ ธยามี ภูมิ ประเทศเป็ น เกาะ ถ า จะเอาช า ง ม า ข า มมา ต อ งมาที่ ท านบรอ ซึ่ง เป็น เขื่อนดินตรงจุดสบกันระหวางแมน้ําปุาสักกั บ แมน้ํ าลพบุรี เพื่ อชะลอน้ํ า บริเวณที่มี จุดสบกัน ของ ลําน้ํา เป็นยานคึกคัก มีตลาด มีชุมชน อยุ ธ ยามี พื้ น ที่ เ ป็ น ดิ น ดอนสาม เหลี่ ย ม (Delta) มีลําน้ําแตกออกเป็นแพรก แตละแพรกจะมีทุง และมี การขุดคลองลั ด ซึ่ง สลับ ซับซอ นมาก ทั้ง นี้เพื่ อ การคมนาคมและการอยู อ าศั ย แต ไ ม ไ ด ขุ ด เพื่ อ การ ชลประทาน อีกทั้งยังเป็นการชะลอน้ํา ดังนั้น ถา รูจัก คล อ ง ลั ด แล ะ รู ว ามี ชุ ม ช น อ ย า ง ไ ร โ ดย ดู จ า ก โบราณสถานหรือรองรอยตางๆ ก็จะสามารถมองเห็น ภาพอดีตของอยุธยาได ซึ่ง มีรายละเอียดมาก แตก็ถูก ทําลายลงไปมากในปใจจุบัน อยางเชน ลําน้ําปุาสักที่ไหลออมไปเป็นคลอง หันตรา แลวไปออกดานขางวัดพนัญ เชิง บริเวณนี้เกิด เมื อ งอโยธยาขึ้ น และมี ก ารขุ ด คลองคู ขื่ อ หน า เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ตั ว อ ยุ ธ ย า อ ยู ฝใ่ ง นี้ เ ป็ น เ มื อ ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ า ยาว ช ว งท า ยต อ กั บ วั ด พนั ญ เชิ ง เกิดยานการคาขึ้นมา วัดเกาๆ หลายวัด อยูในยานนี้ เชน วัดพนัญ เชิง ที่สรางขึ้น ๒๖ ปี กอนการสถาปนา กรุง ศรีอยุธยา มีพระประธานขนาดใหญ อโยธยาเป็น เมืองคูกับสุวรรณภูมิ และมีโบราณสถานตั้งกระจายอยู ตามจุดตางๆ เชน วัดขุนเมืองใจ วัดสรอย นอกนั้นมี เจดี ยแ อ ยู ก ลางทุ ง เช น วั ดกระ ช า ย วั ด จงกร ม เป็ น รู ป แบบศิ ล ปกรรมสมั ย อโยธยา แต ถู ก บู ร ณะ เปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม เช นเดี ย วกั บ บริ เ วณคลอง สระบัว ที่ถูกทําลายสภาพเดิมไปมากเชนกัน
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๗
ตลาดหัวรอ. (๒๕๐๓?). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ชูศักดิ์ ศุภวิไล. งานจดหมายเหตุจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาบันอยุธยาศึกษา.
๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ย่ า นหั ว รอ มี ค วามสํ า คั ญ เพราะชุ ม ทาง การคา และยั ง เป็น จุดออนที่เขามาอยุธ ยาได ดัง เช น ครั้ ง ที่ พ ม า ยกทั พ มาตี อ ยุ ธ ยาก็ ม าอยู ที่ วั ด สามวิ ห าร นอกจากนี้ยังเป็นจุดที่มีชุมชนหนาแนน มีวัดเกาหลาย แหง เชน วัดแมนางปลื้ม มีเจดียแแบบมีสิงหแลอม แลวมี วัดแค (ราง) มีเจดียแแบบลานนาขนาดใหญ เพราะใน สมัย สมเด็ จพระนารายณแนํ าคนจากเมือ งเหนื อลงมา ตั้งเป็นชุมชน และมีกลุมคนลาว คนมอญ เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ง า น ค น ค ว า ข อ ง ศู น ยแ ประวั ติ ศ าสตรแ อ ยุ ธ ยาต อ งมี ข อ มู ล เชิ ง ลึ ก ไม ใ ช ดู แ ค โบราณสถานอย า งเดี ย ว ต อ งดู จ ากคํ า ให ก ารของ ขุนหลวงประดูทรงธรรม มาตีความ แลวนําการคนควา ของพระยาโบราณราชธานินทรแมาเป็นตัวตั้ง และศึกษา เปรียบเทียบกับเอกสารของฝรั่งที่เขามา จะไดเรื่องราว ประวัติศาสตรแที่ไมมีอยูในการจดบันทึกตามพงศาวดาร ... ภู มิ วั ฒ นธรรม (Culture Landscape) หมายความว า พื้ น ที่ ที่ค นอยู สรา งบา นแปงเมือ งจะ กํ า หนดว า พื้ น ที่ นั้ น เป็ น อะไร อยู ใ นกาละ เวลาใด หมายความวามีพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มีกิจกรรมในชวงเวลา ตางๆ และมีการกําหนดชื่อเรียกพื้นที่ซึ่ง รูจักกันหมด และรูวาพื้นที่ตรงนั้นเราจะใชอยางไร หากมองอยุธยาในเชิงภูมิวัฒนธรรม ตองดูวา ทั้งเกาะเมืองรอบๆ วาประกอบดวยอะไรบาง สถานที่ การคมนาคม ประเพณี พิ ธี ก รรม เช น บริ เ วณทุ ง ภูเ ขาทอง มี ง านไหว ภู เขาทอง เป็ นต น เชน เดี ยวกั บ เรื่องอาหาร อยุธยาเป็นเมืองที่มีความหลากหลายทาง ชีวภาพมาก มีตนไม พืชผัก สัตวแตางๆ นานาชนิดซึ่งเขา จะรูวาบริเวณไหนมีอะไรบาง ซึ่งสิ่งเหลานี้เป็นสวนหนึ่ง ของภู มิ วั ฒ นธรรม แต ส ว นมากเราจะมองสิ่ ง ที่ เ ป็ น อัตลักษณแของทองถิ่นโดยดูสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ อยางเชน ทุ่งภูเขาทองมีเจดียแภูเขาทองเป็นศูนยแกลางของคนทุง ภูเขาทอง คนทองถิ่นนั้นรูจักและมาทําพิธีกรรมรวมกัน ... ทุ่ ง แก้ ว ทุ่ ง ขวั ญ ที่ มี ตํ า นานเรื่ อ งขุ น ช า ง ขุนแผน ขุนไกร ถาทานอยากจะรูวาพื้นที่ตรงนั้นวาเป็น อย า งไร ให ดู เ รื่ อ งราวของขุ น ช า งขุ น แผนเกิ ด ขึ้ น ใน สมัยรัชกาลที่ ๒ ในชวงตนกรุงเทพฯ ก็สืบเนื่องมาจาก
สมัยอยุธยาตอนปลาย เรื่องขุนชางขุนแผนถือวาเป็น ตํานานประวัติศาสตรแสังคมที่ดี อยูในชวงสมัยรัชกาลที่ ๒ ลงมา ปรากฏเป็นชื่อบานนามเมือง (place name) ตางๆ ซึ่งมีความสําคัญมากในการศึกษาภูมิวัฒนธรรม การที่ คุ ณ จะสร า งประวั ติ ศ าสตรแ ท อ งถิ่ น มันสรางจากความทรงจําของคนในทองถิ่น ซึ่งตองไป รื้อฟื้น จากคนหลายยุค ถึงจะสรางภาพอดีต ขึ้นมาได อย า งเช น การเก็ บ ประวั ติ ศ าสตรแ ท อ งถิ่ น ที่ หั ว รอ พวกคนที่อยูวัด บาน มีรานคาเกาแก ใหเขามาเลา มันก็ เป็นการสรางประวัติศาสตรแโดยคนในที่เขามีสวนรวม เพราะข อ มู ล คุ ณ จะไปค น คว า ในเอกสารไม มี ห รอก มาจากความทรงจําทั้งนั้น ในอดีตย่านหัวรอ เป็นยานการคา สมัยที่ผม อยู มั น มี ตึ ก แถว มี โ รงลิ เ ก โรงหนั ง ล อ มด ว ยสั ง กะสี หรือถาจะอธิบายเป็นภาพกวางของอยุธยาในสมัยที่ผม ยังเป็นเด็กๆ ผมไปดูลิเกที่วัดพนัญเชิงตรงนั้นเป็นยาน คนจีน มีฮวงซุย มีเทศกาลเทกระจาดแลวถาจะขามไป อีกฝใ่ง คุณตองไปขามที่ทาวัดพนัญเชิง สมัยกอนตรงนั้น มีตะโขงอยู สวนแหลง แขงเรือที่สํ าคัญ คื อวัดนนทรี ยแ ทุ ง วั ด นนทรี เ ดี๋ ย วนี้ โ ขนเรื อ หายไปไหนก็ ไ ม รู ย า น วั ด นนทรี ยแ ยั ง เป็ น แหล ง จั บ ปลาที่ อุ ด มสมบู ร ณแ ม าก อีกดวย สวนเขตมุสลิมอยูที่บริเวณวัดลอดชอง เป็นตน แลว วัดไชยวั ฒนาราม สมัยก อนยั ง เป็ นปุ า และมีน้ําทวมในชวงหนาน้ํา หรือที่วัดวรเชษฐแ แตกอน ตองเขาทางแมน้ําเจาพระยา ยังไมมีคลองขุด แลวพอ หนาน้ําจะมีสภาพเป็นเกาะ ถาเขาไปพบงูเหาอยูชุกชุม สวนพวกเจดียแตางๆ ไมเหมือนอยางปใจจุบัน ... การศึกษาภูมิวัฒนธรรมตองทําความเขาใจ เรื่องพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และพื้นที่สาธารณะ ทั้งนี้เพื่อเวลา พัฒนาจะไดไมไปละเมิดกาลเทศะที่มีมาแตเดิม อยางที่ ทางอีสานเรียกวา “ขะลํา” ทางเหนือเรียกวา “ขึด” ซึ่ ง เมื่ อ ละเมิ ด แล ว จะเกิ ด อั ป มงคลต อ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น สิ่งเหลานี้เป็นสํานึกที่เริ่มขาดหายไปในปใจจุบัน นอกจากนี้ ก ารทํ า ความเข า ใจเรื่ อ งความ หลากหลายทางชี ว ภาพ จะทํ า ให เ ห็น อาหารการกิ น ยารักษาโรค ที่แตกตางไปตามฤดูกาลและทองถิ่นตางๆ รวมไปถึง การแลกเปลี่ยนสินคา แหลงที่มาของสินคา
ประเภทตางๆ อีกดวย สวนการศึกษาภูมิประเทศและ การตั้ ง ถิ่ น ฐานของผู ค นในท อ งถิ่ น ต า งๆ ปใ จ จุ บั น สามารถทําไดง าย โดยอาศัยเทคโนโลยีภาพถายทาง อากาศ โดยเฉพาะ Google Earth สิ่ ง สํ า คั ญ อี ก อย า งหนึ่ ง คื อ การศึ ก ษานิ เ วศ วัฒนธรรมที่ดูความสัมพันธแของผูคนในพื้นที่ตางๆ เชน ยานหัวรอที่มีความสัมพันธแกับพื้นที่โดยรอบ เพราะมี ตลาดหั วรอเป็ นศู นยแ ก ารคา ร วมกัน นอกจากนี้ยั ง มี ประเพณี วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจากรุนสูรุน ซึ่งสิ่ง เหลานี้เป็นประวัติศาสตรแที่มีชีวิต ดังนั้น การศึกษาประวัติศาสตรแทองถิ่นเชนนี้ จึง มีฐานเป็นประวัติศาสตรแสัง คมที่ไ มไ ดแบง ดวยการ กําหนดอายุแบบประวัติศาสตรแช าติ แตใหความสําคัญ กับผูคนที่อยูสืบเนื่องกันมา อันเป็นสิ่งที่คนในรูวามีคน อยูกี่เหลา กี่ตระกูล ปใจ จุ บั น นี้ เ มื อ งเชี ย งใหม กรุง เทพฯ แหลก สลายหมดแลว เพราะคนต า งถิ่ น เริ่ม เข ามา ทอ งถิ่ น ดั้งเดิมถูกทําลาย และหากมองในบริบทของโลกาภิวัตนแ (Globalization) จะเห็ น ว า ประเทศไทยมี ค วามอุ ด ม สมบูรณแดวยความหลากหลายทางชีวภาพ อาหารการ กิน แตเรากําลัง ถูกทําลายเพราะคนหลายฝุายเขามา แกงแยง ทั้งนายทุนในประเทศและจากตางประเทศ ความมุ่งหมายในการศึกษาประวัติศาสตร์ ท้ อ งถิ่ น คื อ ท าอย่ า งไรให้ ค นในท้ อ งถิ่ น มี ชี วิ ต อยู่ ร่วมกัน ได้แ ละมีความเข้ มแข็ งเพื่อ ต้ านแรงกระทบ จากคนภายนอก เพราะว่ า ตรงนี้ เ ป็ น บ้ า นเกิ ด เมือ งนอน ไม่ ใ ช่ หวั งเพี ยงแค่ มาหาประโยชน์เ พีย ง เท่านั้น ๏
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๙
ฝยะธคยศยีอมุทมา: ฝื้ธฟูภิ อู่ข้าว-อู่ธ้ํา
แฤะข้อเสธอเฝื่อกายนยิหายถยัฝมากยใธกยะแสถุธธิมภ
บรษฒา ชธะวยยษ*
วัดโลกยสุธาราม. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ธนิสร เพ็ชรถนอม.
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอดีตเคยเป็นเมืองหลวงเก่า (กรุงเก่า) มีประวัติศาสตร์และความเป็นมา เป็นที่ รู้จักกันทั่วโลก มีฐานะเป็นเมืองท่องเที่ยว มีภูมิประเทศ และการจัดการด้านพื้นที่ที่เป็นมรดกตกทอดจากการ จัดการปกครองตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยมีเกาะเมืองอยุธยา เป็นศูนย์กลาง มีคูเมือ งกั้นระหว่างเกาะเมือ ง พระนครศรีอยุธยากับ อาเภอรอบนอกอื่น ๆ ที่มีรูปแบบการบริหารราชการที่ขึ้นตรงต่ออาเภอพระนครศรีอยุธยา ความเป็นประวัติศาสตร์ของนครประวัติศาสตร์อยุธ ยาและเมืองบริวารเป็ นประจักษ์พยานแสดงถึงความรุ่งเรื อ ง สูงสุดของอารยธรรมของชุมชนหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๔ จึงได้รับ การประกาศเป็นแหล่งมรดกโลกในปี ๒๕๓๔ เมื่อประเทศไทยก้าวสู่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ จนถึง ปัจจุบัน (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑) ซึ่งเป็นแบบแผนการบริหารราชการแผ่นดินแบบ รัฐสมัยใหม่ สิ่งที่ตามมาจากการพัฒนาคือ สภาพความเสื่อมโทรมอันเนื่องมาจากการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงที่ไม่ สมดุล ภาพลักษณ์ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปลี่ยนแปลงไปกลายเป็นพื้นที่สับสน เสี่ยงภัย ขาดความสงบ เรียบร้อย เกิดความรุนแรง ด้วยเหตุที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีภาระหน้าที่และพันธกิจของสถาบัน ที่จะต้องมีบทบาทในการขับเคลื่อนองค์ความรู้ สร้างแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการของ ท้องถิ่น จึงได้ร่วมกันดาเนินการวิจัยเพื่อหาแนวทางการพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เกิดจากการมีส่วนร่วม อย่างแท้จริงของสมาชิกในชุมชนภาคส่วนต่างๆ อย่างแท้จริง * อาจารยแประจําคณะครุศาสตรแ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๑๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
บทความนี้มีวัตถุประสงคแอยูประการหนึ่งคือ การเสนอรูปแบบการพัฒนาแบบมีสวนรวมของทุกภาค ส ว นในการบริ ห ารจั ด การอยุ ธ ยาเมื อ งมรดกโลก ผู มี ส ว น เกี่ ย ว ข อ ง ใ น ก า ร ดู แ ล พื้ น ที่ มร ด ก โ ล ก ประกอบด ว ย ชุ ม ชนหรื อ ประชาชนในท อ งถิ่ น ข า ราชการระดั บ บริ ห ารจั ด การ กลุ ม นั ก ท อ งเที่ ย ว ก ลุ ม นั ก ธุ ร กิ จ แ ล ะ เ จ า ข อ ง กิ จ ก า ร ร า น ค า กลุมนักวิชาการ กลุมนักการเมือง กลุมพระและนักบวช ในศาสนาตา ง ๆ และกลุ มนัก เรี ยนนัก ศึกษา ซึ่ง เป็ น กลุมผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) และไดทําการ วิเคราะหแ สภาพแวดลอมภายในและภายนอกที่มีผลตอ การบริ ห ารจั ด การนครประวั ติ ศ าสตรแ พ ระนครศรี อยุธยา โดยสรุปใหเขาใจไดพอสังเขปดังนี้ นครประวัติศาสตรแพระนครศรีอยุธยาแหงนี้มี แงงามใหชื่นชมกันคือ มีการจัดการผังเมืองที่ดี มีการ แบ ง พื้ น ที่ ใ ช ส อยตามหลั ก ผั ง เมื อ งอย า งชั ด เจน เป็ น เมื อ ง ที่ แ สดง ถึ ง เอก ลั ก ษณแ ที่ ห าไ ด ย าก ยิ่ ง เป็นหลักฐานแสดงขนบธรรมเนียม ประเพณี/อารยธรรมที่ ยั ง หลงเหลื อ อยู มี ส ถานที่ ท อ งเที่ ย วด า น ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตรแที่มีคุณคา จนได รั บ ก ารปร ะกาศเป็ น มรดกโลก ตั้ ง อยู ใ น ภูมิประเทศที่ดี เสนทางน้ํา เสนทางคมนาคมสะดวก และอยูใกลกรุงเทพมหานคร มีความอุดมสมบูรณแทาง การเกษตร เป็นเมืองอูขาวอูน้ํา จากภูมิประเทศมีแมน้ํา ล อ มรอบและมี ค ลองมาก มี ภู มิ ปใ ญ ญาชาวบ า นที่ มี คุ ณ ค า ทางเศรษฐกิ จ และรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ มทาง ธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม มีศักยภาพที่จะเป็นแหลง ทองเที่ยวเชิงอนุรักษแ ประเด็ น ที่ น า ห ว งที่ อ ดจะกล า วถึ ง ไม ไ ด คื อ การใชประโยชนแที่ดินในปใจจุบันยังไมมีการจัดระเบียบ ที่ชัดเจนตามหลักการผังเมือง ทํ าใหมี การใช ที่ดินผิ ด ประเภท การเขาถึงสถานที่ทองเที่ยวหลายแหง ยัง ไม ชัดเจน บางแหงคับแคบเขาถึงไมสะดวก ไมมีปูาย ประชาสัมพันธแเสนทางที่ชัดเจน และขอมูลบอกเลา เรื่องราวความเป็นมาของสถานที่นั้น ๆ สาธารณูปโภค พื้ น ฐานและสิ่ ง อํ า นวยความสะดวกไม เ พี ย งพอต อ จํานวนนักทองเที่ยว ขาดการมีสวนรวมของผูมีสวนได สวนเสียกลุมตาง ๆ ในการวางแผนและบริหารจัดการ
มีความซ้ําซอนของการปฏิบัติงาน รวมถึงอํานาจหนาที่ ของหนวยงานราชการและองคแกรปกครองสวนทองถิ่น มีความขัดแยงในการประกอบอาชีพของผูประกอบการ ในบริเวณสถานที่ทองเที่ยวตาง ๆ จากการวิเคราะหแ ขอมูล ที่ไ ดจ ากการพูดคุ ย ผูใ ห ข อ มู ล กลุ ม ต า ง ๆ มี ค วามหวั ง อยู ห ลายประการ คือ นักทองเที่ยวมีความนิยม ชื่นชอบในการทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรม มีความรูสึกตระหนักรูในความสําคัญของ มรดกโลก นโยบายของรั ฐ เกื้ อ หนุ น ในเรื่ อ งของ การส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย ว การบู ร ณะฟื้ น ฟู แ หล ง ทองเที่ยวโบราณสถาน และอนุรักษแศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปใญญาทองถิ่น ไดรับการสนับสนุนจากผูนําทองถิ่น ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ดู แ ล แ ล ะ อ นุ รั ก ษแ พื้ น ที่ สื่ อ ต า ง ๆ มี ก ารประชาสั ม พั น ธแ แ หล ง ท อ งเที่ ย วใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยูตลอดเวลา และนโยบาย การพั ฒนาจั ง หวั ด ที่ ไ ม ส ง เสริ ม การขยายพื้ น ที่ อุตสาหกรรม อุปสรรคสําคัญที่ทําใหไมอาจบรรลุเปูาหมาย คื อ ขาดเอกภาพด า นการบริ ห ารจั ด การด า นการ ทองเที่ยว ขาดการบริการดานขอมูลขาวสาร ขาดการ จั ด ก า ร ด า น ท รั พ ย า ก ร ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว อ ย า ง มี ประสิทธิภาพ คือ ขาดการสงเสริมการทองเที่ยวเชิง เกษตร ประชาชนบางกลุมยังขาดความรูความเขาใจใน ก าร เป็ น เ จ า บ า น ที่ ดี แล ะ ก าร ป ฏิ บั ติ ตั ว ที่ ดี ต อ นักทองเที่ยว ผูประกอบการบางราย ไมใหความรวมมือ ในการจัดระเบียบรานคา และขาดความรูความเขาใจ ใน การบริ ห ารจั ด ก าร พื้ นที่ แ ละก ารบริ ก าร ต อ นักทองเที่ยว ปใญ หาภัยธรรมชาติ เนื่องจากลักษณะ ภูมิป ระเทศเป็น พื้น ที่ร าบลุม มีแ มน้ํ าล อมรอบหลาย สาย ทําใหประสบปใญ หาอุ ทกภัย วิถีชีวิตดั้ง เดิมแบบ สั ง คมเกษตรกรรมถู ก แทนที่ ด ว ยวิ ถี ชี วิ ต แบบสั ง คม อุต สาหกรรมที่ เ กิ ด จากการขยายตั ว และการพั ฒ นา เศรษฐกิจ จากการจัดประชุมกลุมยอย และพู ดคุยกั น อยางลึกซึ้งกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) สามารถวิเคราะหแ สภาพแวดลอมภายในและภายนอก ที่ มี ผ ลต อ การบริ ห ารจั ด การ นครประวั ติ ศ าสตรแ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๑
พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยสรุ ป ให เ ห็ น อย า งเป็ น ระบบ ดังตอไปนี้
จุณแข็ง (Strength) ๑.นครประวั ติ ศ าสตรแ พ ระนครศรีอ ยุ ธ ยามี การจัดการผังเมืองที่ดี มีการแบงพื้นที่ใชสอยตามหลัก ผังเมืองอยางชัดเจน ๒.เป็นเมืองที่แสดงถึงเอกลักษณแที่หาไดยาก ยิ่ ง เป็ น หลั ก ฐานแสดงขนบธรรมเนี ย มประเพณี หรืออารยธรรม ซึ่งยังคงหลงเหลืออยู ๓ . มี ส ถ า น ที่ ท อ ง เ ที่ ย ว ด า น ป ร ะ เ พ ณี ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตรแที่มีคุณคา จนไดรับ การประกาศเป็นมรดกโลก ๔.ตั้ ง อยู ใ นภู มิ ป ระเทศที่ ดี เส น ทางน้ํ า เสนทางคมนาคมสะดวก และอยูใกลกรุงเทพมหานคร ๕.มีความอุด มสมบู รณแทางการเกษตร เป็ น เมืองอูขาวอูน้ํา เนื่องจากภูมิประเทศมีแมน้ําลอมรอบ และมีคลองมาก ๖.มี ภู มิ ปใ ญ ญ าชาว บ า น ที่ มี คุ ณ ค า ทาง เศรษฐกิจ และรักษาสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและ ศิลปวัฒนธรรม ๗.มี ศั ก ยภาพที่ จ ะเป็ น แหล ง ท อ งเที่ ย วเชิ ง อนุรักษแ
จุณอ่อธ (Weakness) ๑.การใชประโยชนแที่ดินในปใจจุบันยังไมมีการ จัดระเบียบที่ชัดเจนตามหลักการผังเมือง ทําใหมีการใช ที่ดินผิดประเภท ๒.การเขาถึงสถานที่ทองเที่ยวหลายแหงยังไม ชัดเจน บางแหง คับแคบเขาถึงไมสะดวก ขาดปูาย ประชาสัมพันธแเสนทาง และขอมูลบอกเลาเรื่องราว ความเป็นมาของสถานที่นั้น ๆ ๓.สาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่งอํานวยความ สะดวกไมเพียงพอตอจํานวนนักทองเที่ยว ๔.ขาดการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ต า ง ๆ ทั้ ง หน ว ยงานภาครั ฐ เอกชน องคแกรปกครองสวนทองถิ่นและผูประกอบการในการ วางแผนและบริหารจัดการ ๑๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
๕. มีความซ้ําซอนของการปฏิบัติงาน รวมถึง อํา นาจ หน า ที่ ของหน ว ยงานราชการ และองคแ ก ร ปกครองสวนทองถิ่น ๖. มีความขัดแยงในการประกอบอาชีพของ ผูประกอบการ ในบริเวณสถานที่ทองเที่ยวตางๆ
โอกาส (Opportunity) ๑.นักทองเที่ยวมีความนิยม ชื่นชอบในการ ท อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม มี ค วามรู สึ ก ตระหนั ก รู ใ น ความสําคัญของมรดกโลก ๒.นโยบายของรัฐ เกื้อหนุ นในเรื่องของการ สงเสริมการทองเที่ยว การบูรณะฟื้นฟูแหลงทองเที่ยว โบราณสถาน และอนุ รั ก ษแ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและ ภูมิปใญญาทองถิ่น ๓.ไดรับการสนับสนุนจากผูนําทองถิ่นในการ บริหารจัดการดูแล และอนุรักษแพื้นที่ ๔.สื่ อ ต า ง ๆ มี ก ารประชาสั ม พั น ธแ แ หล ง ทองเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยูตลอดเวลา ๕.นโยบายการพัฒนาจังหวัดที่ไมสงเสริมการ ขยายพื้นที่อุตสาหกรรม
ฟัมคุกคาภ (Threat) ๑.ขาดเอกภาพดานการบริ หารจัดการดา น การทองเที่ยว ๒. ขาดก าร บริ การด า น ข อ มู ล ข า วสาร ปูายประชาสัมพันธแเสนทาง ๓.ขาดก ารจั ด การด า นทรั พ ยากร การ ทองเที่ยวอยางมีประสิทธิภาพ คือ ขาดการสงเสริมการ ทองเที่ยวเชิงเกษตร ๔.ประชาชนบางคนยังขาดความรูความเขาใจ ในการเป็ น เจ า บ า นที่ ดี และการปฏิ บั ติ ตั ว ที่ ดี ต อ นักทองเที่ยว ๕.ผูประกอบการบางราย ไมใหความรวมมือ ในการจัดระเบียบรานค า และขาดความรูความเขาใจ ใน การบริ ห ารจั ด ก าร พื้ นที่ แ ละก ารบริ ก าร ต อ นักทองเที่ยว
๖.ปใ ญ หาภั ย ธรรมชาติ เนื่ อ งจากลั ก ษณะ ภูมิป ระเทศเป็น พื้น ที่ร าบลุม มีแ มน้ํ าล อมรอบหลาย สาย ทําใหประสบปใญหาอุทกภัย ๗.วิถีชี วิตดั้ง เดิมแบบสัง คมเกษตรกรรมถู ก แทนที่ดวยวิถีชีวิตแบบสังคมอุตสาหกรรม ที่เกิดจาก การขยายตัวและการพัฒนาเศรษฐกิจ
วิสัมถัศธ์ มุถทศาสดย์ แฤะกิจกยยภ ข อ มู ลจากการพู ด คุ ย กั บ ชาวบ า นกลุ ม ย อ ย และกลุ ม ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย (Stakeholder) เมื่ อ ได นํามาวิเคราะหแ สภาพแวดลอมภายในและภายนอก แลวนั้น สามารถสังเคราะหแขอมูลดังกลาว เพื่อกําหนด วิ สั ย ทั ศ นแ ยุ ท ธศาสตรแ และกิ จ กรรม ของแผนการ บริหารจัดการนครประวัติ ศาสตรแพระนครศรี อยุธยา ไดดังนี้ วิสัยทัศน์: “อยุ ธ ยาในฐานะมรดกโลก เมื อ งแห ง การ อนุรักษแและพัฒนา อยางมีสวนรวมและยั่งยืน” ยุทธศาสตร์ การกํ า หนดยุท ธศาสตรแ ภายใต แ ผนบริห าร จัดการนครประวัติศาสตรแพระนครศรีอยุธยาภายใตการ มี ส ว น ร ว ม ขอ ง ทุ ก ภ าค ส ว น ปร ะ ก อบ ด ว ย ๔ ยุ ท ธศาสตรแ ภายใต คํ า ขวั ญ ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ดั ง ว า “ราชธานี เ ก่ า อู่ ข้ า วอู่ น้ า เลิ ศ ล้้ า กานท์กวี คนดีศรีอยุธยา” ดังนี้ “ราชธานีเก่า” : ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาและส่งเสริมการ ท่องเที่ยวจากการอนุรักษ์มรดกโลกทางวัฒนธรรม เป้าประสงค์ : มี ร ายได จ ากการท อ งเที่ ย ว ภา ย ใต ก าร อ นุ รั ก ษแ ม ร ด ก โ ล ก ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลยุทธ์ : ๑.พั ฒน าและ อนุ รั กษแ แ หล ง ท อ ง เที่ ย ว และเสนทางเชื่อมโยงสูแหลงทองเที่ยว ๒ .พั ฒ น า ร ะ บ บข น ส ง มว ลชน ใน พื้ น ที่ ทองเที่ยว ๓.จั ด ทํ า สื่ อ ประชาสั ม พั น ธแ แ ละพั ฒ นาการ ตลาด
แนวทางการดาเนินกิจกรรม : ๑.บริหารจัดการสภาพภูมิทัศ นแ มีก ารดูแ ล รักษาสภาพสิ่ง แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของ แหลงทองเที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เกี่ยวของ โดยใหชุมชนและองคแกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามี ส ว นร ว มในการบริ ห ารจั ด การ การดู แลและรั ก ษา สภาพแวดลอมของแหลงทองเที่ยวที่เป็นทรัพยากรของ ชุมชน วางมาตรการในการควบคุมการทิ้ง ขยะ น้ํา เสีย และปูา ยโฆษณาที ่บ ดบัง ทัศ นีย ภาพอยา งจริง จัง และสนับสนุนการพัฒนาระบบกําจัดขยะ และน้ําเสีย แกองคแกรปกครองสวนทองถิ่น ๒.กําหนดมาตรการการใชประโยชนแพื้นที่ใน เขตนครประวัติศาสตรแ โดยใหมีการจัดระเบียบรานคา โดยการกํ า หนดบริ เ วณเฉพาะให เป็ น ศู น ยแ ก ลางของ รา นค าโดยผ านการตกลงรว มกัน ระหว า งผู ประกอบ การและหนวยงานที่มีอํา นาจ และกําหนดรูปแบบ ความเป็นอยูที่สอดคลองกับความเป็นพื้นที่มรดกโลก ๓.พั ฒ นาระบบขนส ง มวลชน ตั วอย า งเช น การพั ฒ นาระบบรถรางไฟฟู า และเส นทางจั ก รยาน เพื่ อ ลดปใ ญ หาการจราจรติ ด ขั ด ในบริ เ วณแหล ง ท อ ง เ ที่ ย ว แ ละ ช ว ย ลด ปใ ญ ห าก าร ป ล อ ยก฿ า ซ คารแ บ อนไดออกไซดแ ซึ่ ง เป็ น ก฿ า ซเรื อ นกระจกที่ ก อ ให เ กิ ด มลพิ ษ ในบริ เ วณแหล ง ท อ งเที่ ย ว ทั้ ง นี้ ควรมีการจัดสรรบริเวณที่จอดรถของนักทองเที่ยวอยาง เป็นระบบระเบียบเพื่อเป็นจุดเชื่อมโยงกับระบบขนสง มวลชนดวย ๔.สง เสริม การทอ งเที ่ย วในลัก ษณะที ่มี เรื ่อ งราว และรูป แบบการนํ า เสนอที่ ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของนั ก ท อ งเที่ ย ว โดยประยุ ก ตแ ใ ช เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ เรื่ อ งราวในประวั ติ ศ าสตรแ มาผลิ ต สื่ อ ประชาสั ม พั น ธแ เ พื่ อ ทํ า ให นั ก เที่ ย วได รั บ ความรูและเกิดแรงจูงใจในการทองเที่ยวในเชิงอนุรักษแ มรดกโลกทางวัฒนธรรม ๕.ส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วชุ ม ชนในระดั บ หมูบาน ดังนี้ ๕.๑ ดําเนินการในลักษณะของ Home stay ที่ นั ก ท อ งเที่ ย วจะได เ รี ย นรู แ ละซึ ม ซั บ วิ ถี ชี วิ ต ทองถิ่น I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๓
วัดไชยวัฒนาราม. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ธนิสร เพ็ชรถนอม.
๕.๒ พัฒนายานเกา ตลาดเกา ใหเป็น แหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษแ เชน ยานชุมชนหัวรอ ๖.จั ด ทํ า คู มื อ การท อ งเที่ ย วอยุ ธ ยา เพื่ อ เ ผ ย แ พ ร ใ ห ท ร า บ ถึ ง แ น ว ท า ง ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว เชิงวัฒนธรรมที่รับผิดชอบตอสังคม และเหมาะสมกับ พื้นที่มรดกโลก โดยจัดทํา ในรูปแบบที่เ ขาใจงายและ เขาถึงนักทองเที่ยว เชน ฉบับการแตูน หรือเผยแพรผาน ทาง Website และ Social network ตาง ๆ “อู่ข้าวอู่น้า” : ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พลิกฟื้นวิถีการเกษตรและ พัฒนาแหล่งสินค้าเกษตร เป้าประสงค์ : พั ฒ นาพื้ น ที่ เ กษตรกรรม ยกระดั บ มาตรฐานสิ น ค า เกษตร และเพิ่ ม ศั ก ยภาพ เกษตรกร กลยุทธ์ : ๑.บริ ห าร จั ด ก าร ทรั พ ยากร ธ รร มชาติ สิ่งแวดลอมและโครงสรางพื้นฐานทางการเกษตร ๒ .ส ร า ง ค ว า ม เ ข ม แ ข็ ง ใ ห เ ก ษ ต ร ก ร และสถาบันเกษตรกร ๑๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
๓.บริ ก ารจั ด การการตลาดสิ น ค า เกษตร และพัฒนาระบบขอมูลการเกษตร แนวทางการดาเนินกิจกรรม : ๑.กําหนดเขตการใชประโยชนแที่ดิน โดยการ อนุรักษแพื้นที่การเกษตรใหคงไวไมใหมีการเปลี่ยนแปลง การใชประโยชนแที่ดินไปเป็นประเภทอื่น ๒ .พั ฒ น า ก าร ผ ลิ ต สิ น ค า เ ก ษ ต ร ใ ห ไ ด มาตรฐาน Good Agriculture Practice (GAP) เชน การสงเสริมการปลูกขาวอินทรียแ ๓.ส ง เสริ ม ผลผลิ ต ทางการเกษตรที่ ไ ด รั บ ความนิ ย มจากนั ก ท อ งเที่ ย ว เช น กุ ง แม น้ํ า อยุ ธ ยา โดยการพัฒนาใหมีมาตรฐาน ๔.จัดอบรมใหความรูเกษตรกร โดยจัดตั้งเป็น ก ลุ ม เ ก ษ ต ร ก ร ใ น จั ง หวั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า และส ง เสริ ม ให เ กษตรกรพั ฒ นาพื้ น ที่ เ กษตรให เ ป็ น แหล ง ท อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรกรรมเพื่ อ เพิ่ ม รายได ใ ห เกษตรกรอีกทางหนึ่งดวย ๕.เพิ่ ม การประชาสั ม พั น ธแ แ หล ง ท อ งเที่ ย ว ทางการเกษตร โดยการจั ด งานเทศกาลท อ งเที่ ย วที่ สอดคล องกัน กับยุทธศาสตรแ การทองเที่ ยวมรดกโลก
เช น การจั ด งานเทศกาล “ซึ ม ซั บ วั ฒ นธรรม ดื่ ม ด่่ า รสชาติกุ้งแม่น้่า เลิศล้่ามรดกโลก” “เลิศล้ากานท์กวี” : ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๓ อนุ รั ก ษ์ และส่ ง เสริ ม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เป้าประสงค์ : ประเพณี วั ฒ นธรรม และ ภูมิปใญญาทองถิ่นถูกสงตอไปยังชนรุนหลัง กลยุทธ์ : ๑.อนุรักษแ และสืบ สานประเพณี วั ฒนธรรม และภูมิปใญญาทองถิ่น ๒.ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑแจากภูมิปใญญา ทองถิ่น แนวทางการดาเนินกิจกรรม : ๑ .จั ด กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สื บ ส า น ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ นธรรม และภู มิ ปใ ญ ญาท อ งถิ่ น ของพระนคร ศรีอยุธยา เชน การรองเพลงเรือ การรองเพลงเกี่ยวขาว การแสดงลิเก เป็นตน ๒.พัฒนาและสงเสริมพื้นที่แหงความทรงจํา สถานที่ กํ า เนิ ด แหล ง ภู มิ ปใ ญ ญาท อ งถิ่ น ให เ ป็ น แหล ง ทองเที่ยว เชน หมูบานตีมีดอรัญญิก อูตอเรือ ชุมชน หัตถกรรมสานปลาตะเพียน เป็นตน ๓.พั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑแ จ ากภู มิ ปใ ญ ญา ทองถิ่นใหมีความนาสนใจและทันสมัย รวมทั้ง จัดหา ตลาดและดําเนินการประชาสัมพันธแใหรูจักในวงกวาง ๔.จั ดทํ าฐานข อมู ลรวบรวมประวั ติป ราชญแ ท อ งถิ่ น ปราชญแ ช าวบ า น รวมถึ ง ภู มิ ปใ ญ ญาต า งๆ เพื่อใหเยาวชนรุนหลังไดเรียนรูและเป็นแนวทางตอไป “คนดีศรีอยุธยา” : ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๔ พั ฒ นาศั ก ยภาพและ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เป้าประสงค์ : ประชาชนและหน ว ยงานที่ เกี่ยวของทุกภาคสวนไดรับการพัฒนาศักยภาพ และมี ส ว นร ว มในการดํ า เนิ น งานและบริ ห ารจั ด การอย า ง บูรณาการ
กลยุทธ์ : ๑.สง เสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนใน การบริหารจัดการ เฝูาระวัง อนุรักษแ รักษา ฟื้นฟูพื้นที่ นครประวั ติศ าสตรแ ทรั พยากรธรรมชาติ สิ่ง แวดล อ ม ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปใญญาทองถิ่น ๒.พั ฒ นาศั ก ยภาพของทุ ก ภาคส ว นใน การบริหารจัดการ เฝูาระวัง อนุรักษแ รักษา ฟื้นฟูพื้นที่ นครประวั ติศ าสตรแ ทรั พยากรธรรมชาติ สิ่ง แวดล อ ม ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปใญญาทองถิ่น แนวทางการดาเนินกิจกรรม : ๑.จั ด ตั้ ง คณะทํ า งานบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ โดยมาจากผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ทั้ง ภาครัฐ องคแกรปกครองสวนตัวทองถิ่น ผูประกอบการ ปราชญแ ทอ งถิ่ น ตั ว แทนภาคประชาชน เพื่ อ ร ว มกั น กํ า หนด แนวทางในการบริหารจัดการและแกไ ขปใญ หาที่ไ ดรับ การยอมรับจากทุกภาคสวน ๒.จั ด การอบรมการเป็ น ผู ป ระกอบการ และเจาบานที่ดี เพื่อเพิ่มศักยภาพของผูประกอบการ และประชาชนในท องถิ่น ในการบริก ารนัก ทอ งเที่ย ว แ ล ะ เ ข า ใ จ ถึ ง รู ป แ บ บ ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม และเหมาะสมกับพื้นที่มรดกโลก ๓.พัฒนาหลักสูตรการเรียนรูในวิชา “ทองถิ่น ของเรา” โดยพัฒนาเนื้อหาใหเขาใจงาย และแสดงถึง รากเหง า ความเป็ น มาของท อ งถิ่ น สร า งจิ ต สํ า นึ ก อนุ รั ก ษแ หวงแหน ในมรดกทางวั ฒ นธรรม และ ภูมิ ปใ ญ ญาท อ งถิ่น รวมทั้ ง ทรั พยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม โดยเนนการปฏิบัติจริงนอกหองเรียน ๔.จัดกิจกรรมประชาสัมพันธแ ใหความรู และ ปลุกจิตสํานึกใหกับผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ให การมีสวนรวมในการบริหารจัดการ เฝูาระวัง อนุรักษแ รั ก ษา ฟื้ น ฟู พื้ น ที่ น ครประวั ติ ศ าสตรแ ทรั พ ยากร ธรรมชาติสิ่งแวดลอม ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปใญญา ท อ งถิ่ น โดยแสดงให เ ห็ น ถึ ง ผลปร ะโยชนแ ร ว ม (Co - Benefit) ในด า นตา ง ๆ ทั้ ง เศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ง แวดลอม ที่จะเกิดขึ้นกับผูมีสวนไดสวนเสียทุก ภาคสวนในการมีสวนรวมในการบริหารจัดการดังกลาว
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๕
จากการวิ เ คราะหแ บ ริ บ ทของอยุ ธ ยาใน ประเด็นตาง ๆ แลว บทความนี้ขอเสนอแนะรูปแบบ การพัฒนาอันเกิดจากการตกผลึกของทุกฝุายที่รวมให ความเห็นและไดกําหนดเป็นวิสัยทัศนแ ยุทธศาสตรแ และ กิจกรรมของแผนการบริหารจัดการนครประวัติศาสตรแ
พระนครศรีอยุธยา ภายใตการมีสวนรวมของทุกภาค สวน อันประกอบดวย ๔ ยุทธศาสตรแ ภายใตคําขวัญ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ“ราชธานีเก่า อู่ข้าว อู่น้า เลิศล้้ากานท์กวี คนดีศรีอยุธยา” ดังไดแสดงใน แผนภาพ
แปธถี่มุถทศาสดย์อมุทมาใธฏาธะภยณกโฤก เภืองแห่งกายอธุยักษ์แฤะฝัฑธาอม่างภีส่วธย่วภแฤะมั่งมืธ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาและ ส่งเสริมการท่อ งเที่ย วจาก การอนุรักษ์มรดกโลกทาง วัฒนธรรม
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๒ พลิ ก ฟื้ น วิถีการเกษตร และพัฒ นา แหล่งสินค้าเกษตร
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๓ อนุ รั ก ษ์ แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ป ร ะ เ พ ณี วัฒ นธรรม และภูมิปัญ ญา ท้องถิ่น
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๔ พั ฒ นา ศัก ยภาพและเสริ มสร้า ง การมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่วน
เป้าประสงค์ : มีรายไดจากการ ทองเที่ยว ภายใตการ อนุรักษแมรดกโลกทาง วัฒนธรรม และ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
เป้าประสงค์ : พัฒนาพื้นที่ เกษตรกรรม ยกระดับ มาตรฐานสินคาเกษตร และเพิ่มศักยภาพ เกษตรกร
เป้าประสงค์ : ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปใญญาทองถิ่น ถูกสงตอไปยังชนรุนหลัง
เป้าประสงค์ : ประชาชนและหนวยงาน ที่เกี่ยวของทุกภาคสวน ไดรับการพัฒนาศักยภาพ และมีสวนรวมในการ ดําเนินงานและบริหาร จัดการอยางบูรณาการ
กลยุทธ์ : ๑. พัฒนาและอนุรักษ์ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ยว และ เส้ นทางเชื่อมโยงสู่แหล่ง ท่องเที่ยว ๒. พัฒนาระบบขนส่ง มวลชนในพื ้นที่ท่องเที่ยว ๓. จั ด ท าสื่ อประชา สัมพันธ์ และพัฒนาการ ตลาด
กลยุทธ์ : ๑ .บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ทรั พ ยากร ธรร มชาติ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะ โครงสร า งพื้ น ฐานทาง การเกษตร ๒. สร า งความเข ม แข็ ง ใหเกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร ๓.บริ ก ารจั ด การ การ ตลาดสินคาเกษตรและ พั ฒ น า ร ะ บ บ ข อ มู ล การเกษตร
๑๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
กลยุทธ์ : ๑.อนุ รั ก ษแ แ ละสื บ สาน ประเพณี วัฒนธรรมและ ภูมิปใญญาทองถิ่น ๒ .ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ผลิตภัณฑแจากภูมิปใญญา ทองถิ่น
กลยุทธ์ :
๑. สงเสริมการมีสวนรวม ของทุ ก ภาคส ว นในการ บริหารจัดการ เฝูาระวัง อนุ รั ก ษแ รั ก ษา ฟื้ น ฟู พื้นที่นครประวัติศาสตรแ ทรั พ ยาก ร ธ ร ร ม ช า ติ สิ่ ง แวดล อ ม ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม และภู มิ ปใญญาทองถิ่น ๒. พัฒนาศักยภาพของ ทุ ก ภ า ค ส ว น ใ น ก า ร บริหารจัดการ เฝูาระวัง อนุ รั ก ษแ รั ก ษา ฟื้ น ฟู พื้นที่นครประวัติศาสตรแ ทรั พ ยาก ร ธ ร ร ม ช า ติ สิ่ ง แวดล อ ม ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม และภู มิ ปใญญาทองถิ่น
แนวทางการแปลงแผนไปสูก ารปฏิบั ติเ ป็ น ส ว นที่ สํ า คั ญ มาก เนื่ อ งจากเป็ น กระบวนการที่ จ ะ ผลั กดั น แผนกลยุท ธแ และมาตรการไปสู การปฏิ บัติ ใ ห เกิดผลสําเร็จเป็นรูปธรรม เพื่อใหไดผลผลิต/ผลลัพธแ ตามวั ตถุประสงคแ และเปูาหมายที่กํ าหนดไวในแผนฯ โดยมีการจัดทําแผนปฏิบัติการฯ แผนงาน โครงการ และกิจกรรมมารองรับรวมทั้งมีการติดตามประเมินผล กลไกที่ สํ า คัญ ที่ ขาดเสีย มิ ไ ด คื อ การพั ฒ นา ปลูกฝใงผานเยาวชนภายใตกลไกการจัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาอยุธยาเมืองมรดกโลกภายใตการมีสวนรวม อยางยั่ง ยืน ผูเขียนขอเสนอแนวทางการแลกเปลี่ยน เรี ย นรู ต ามบทบาทหน า ที่ ข องกลไกทางสั ง คมที่ มี บทบาทอยู ใ นสั ง คมพระนครศรี อ ยุ ธ ยาคื อ ชุ ม ชน องคแกรและกลุมทางสังคม ควรเคลื่อนไหวการจัดการ ความรูของชุมชนโดยเฉพาะด านศิลปวัฒ นธรรมโดย ความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษาที่รับผิดชอบใน ท อ งถิ่ น ภายใต ก ารบริ ห ารจั ด การองคแ ก รปกครอง ท อ งถิ่ น ทุ ก องคแ ก ร เพื่ อ ดํ า เนิ น การสร า งฐานข อ มู ล จัดระเบียบความรู ใหสะดวกตอการคนควา ทบทวน สื บ ค น ด า นรายละเอี ย ด ส ว นองคแ ก รภาครั ฐ เช น การทองเที่ยว กรมศิลปากร กรมธนารักษแ ควรจักได เปิดแนวคิดใหชุมชน สถาบันการศึกษารวมจัดรูปแบบ นําเสนอองคแความรูดานการทองเที่ยวเกี่ยวกับจังหวัด พระนครศรีอยุธยา สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เรง พัฒนา คนควา วิจัยองคแความรูดานการเกษตรใน ดานการพัฒนาอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีอยุธยา ค น คว า ศึ ก ษาวิ จั ย องคแ ค วามรู ด า นอุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เร ง สร า งองคแ ค วามรู ด า นภู มิ ปใญญาทองถิ่น รวมทั้งจัดรูปแบบการจัดการเรียนเพื่อ ทองถิ่นใหสามารถปรับใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
หากแมนวาทานใดที่มีโอกาสอานบทความนี้ แลว และไดใครครวญถึงบทบาททาทีของตน ไมวาจะ เป็นชาวพระนครศรีอยุธยาหรือประชาชนคนไทยทั่วไป ที่สํา นึก ไดว า สมบั ติอั นล้ํา คา ของพระนครศรีอยุ ธยา อันมี ทั้ง โบราณสถาน ศิล ปวั ฒนธรรมและภู มิปใ ญ ญา อันหาคามิไดนี้สมควรจะไดรับการปกปูอง ทานอาจเขา รวมสรางงานวิชาการ เป็นกรรมการในยุทธศาสตรแดาน ต า ง ๆ ซึ่ ง เพี ยง อ าศั ย แง คิ ด จิ ต ใจ รั ก ท อ ง ถิ่ น และเสียสละความเป็นสวนตัว อุทิศเวลารวมจัดการให พื้นที่นี้ขับเคลื่อนไปตามแผนที่ดั่งยุทธศาสตรแที่เกิดจาก การตกผลึกของผูมีสวนไดสวนเสียก็เทากับทานไดทํา หนาที่เพื่อบานเกิดเมืองนอนที่สมบูรณแแลว สุ ด ท้ า ยจากผู้ เ ขี ย นเสนอ เส้ น ทางที่ เ ปิ ด กว้างเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์และมีคุณค่า คนอยุธยามิได้เกิด อยู่ และแตกดับไปอย่างเดียวดาย แต่พวกเขาถูกแวดล้อมด้วยสถานภาพทางสังคมมีทั้ง อั ต ลั ก ษณ์ ส่ ว นบุ ค คลและอั ต ลั ก ษณ์ ท างสั ง คม คนอยุธยาจึงมีหน้าที่ต่อท้องถิ่นเฉกเช่นมนุษย์ทุกคน และความสามารถในการสร้างสรรค์ต่อ ยอดทุกสิ่งที่ เป็นต้นทุนชีวิต ด้วยการมองแง่งามของท้องถิ่น แง่ คิดทางสังคม สร้างเป็นอัตลักษณ์ที่ท้าทายระหว่างสิ่ง เก่ากับสิ่งใหม่ใ ห้ผสมกลมกลืน จักเป็นบุคลิกภาพที่ ประทับใจ และถูกต่อยอดไปไม่รู้จบ ๏
นยยฒาธุกยภ ปฤษณา ชนะวรรษ นภางคแ คงเศรษฐกุล และคณะ. (๒๕๕๕). อยุธยา เมื อ งมรดกโลกภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น . รายงานการวิจัย.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๗
กายจัณกายฝื้ธถี่ภยณกโฤกอมุทมา:
ข้อขัณแม้งเชิงกญหภามใธนยินถกายนยิหายงาธวัฑธทยยภ
ฝยฤฟัส อุฒาฝยหภ*
เจดีย์วัดสามปลื้ม. (๒๕๕๔). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ศูนย์ข้อมูลสถาบันอยุธยาศึกษา
นถธํา มรดกทางวัฒนธรรมถือเป็นสมบัติอันทรงคุณค่าของกลุ่มสังคมวัฒนธรรมหนึ่งๆ ที่ผ่านกระบวนการขัด เกลา คัดกรอง ส่งผ่าน สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น กาลเวลาที่เปลี่ยนผันเป็นตัวบ่มเพาะรากเหง้าของความเป็นวัฒนธรรม ในสังคมให้เกิดขึ้น มีการปรับเปลี่ยนและเปลี่ยนแปลงไป แต่ทว่ามรดกทางวัฒนธรรมนั้นจะมิสามารถอยู่ได้ด้วย ตัวเอง หากทว่าสมาชิกของสังคมวัฒนธรรมเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้สมบัติชิ้นนี้ดารงอยู่ มรดกทางวั ฒ นธรรมในมุ ม มองของหลายๆ คนนั้ น อาจมองเป็ น เรื่ อ งที่ เ ก า เก็ บ สู ง ค า และไม ส ามารถ เปลี่ยนแปลงได แตการที่จะทําใหมรดกทางวัฒนธรรมนั้นสามารถคงอยูไ ด ตองเกิดจากการยอมรับ เขาใจ และเกิด ความรูสึกในความเป็นเจาของรวมกับกลุมสมาชิกในสังคมวัฒนธรรมเดียวกัน บางครั้งความคุนชินกับวิถีความเป็นอยู ตั้งแตอดีต ทําใหสมาชิกสังคมวัฒนธรรมเหลานั้นละเลยจริยธรรมและแนวปฏิบัติที่ความเหมาะสมในการรักษามรดก ทางวัฒนธรรมเหลานั้นไป กฎหมายจึงเขามามีบทบาทในการตักเตือน และควบคุมใหมีการปฏิบัติที่เป็นระเบียบและมี กฎเกณฑแ สงผลการเกิดสํานึกในความรับผิดชอบรวมกันของเหลาสมาชิกภายใตฐ านะการเป็นเจาของมรดกวัฒนธรรม นั้น ๆ และนําไปสูการพัฒนาและอนุรักษแในแนวทางเหมาะสมภายใตกรอบกฎหมายที่บังคับใชเพื่อคุมครองผลประโยชนแ ทั้งตัวมรดกวัฒนธรรมและสมาชิกในสังคมวัฒนธรรม เพื่อใหสามารถดําเนินควบคูไปดวยกันในลักษณะที่สมดุล * นักศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานวัฒนธรรม วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ.
๑๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
บทความต อ ไปนี้ จึ ง จะนํ า เสนอปใ ญ หาและ ผลกระทบของการบริหารจัดการพื้นที่แหลงมรดกทาง วัฒนธรรมของไทยหลังไดรับการเสนอชื่อ ขึ้น ทะเบียน เป็ น มรดกทางวัฒ นธรรมโลกจากองคแ การการศึก ษา วิทยาศาสตรแ และวั ฒนธรรมแหงสหประชาชาติหรื อ ยูเนสโก ในสวนขอขัดแยงทางดานกฎหมายที่นําไปใช ในการบริหารจัดการ รวมทั้งการดําเนินงานระหวา ง องคแกรที่มีสวนรับผิดชอบและภาคประชาชน โดยผูวิจัย ได เ ลื อ กพื้ น ที่ ทํ า การศึ ก ษา ถนนคลองท อ บริ เ วณ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตรแ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา
ควาภเบ็ธภาแฤะควาภสําคัญของบัญหา มรดกรวมสากลหรือมรดกโลกเป็นแนวคิดที่ เกิดขึ้นเพื่อการปกปูอง คุมครอง และสงวนรักษาแหลง มรดกอันเป็นสมบัติของมนุษยชาติจากการคุกคามโดย ก าร พั ฒ น าเศร ษฐกิ จ และ สั ง คมใน ยุ ค ปใ จ จุ บั น ซึ่ ง อนุ สั ญ ญาว า ด ว ยการคุ ม ครองมรดกโลกทาง วัฒนธรรมและธรรมชาติ (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage)* ในปี ค.ศ.๑๙๗๒ มาตราที่ ๑ และ ๒ ไดจํากัดคํานิยามของแหลงมรดกออกเป็นสอง ประเภทใหญ ได แ ก มรดกทางวั ฒ นธรรมอั น หมาย รวมถึ ง อนุ ส รณแ สถาน กลุ ม อาคาร และสถานที่ ห รื อ แหล ง อั น เป็ น ผลงานจากการสร า งสรรคแ ข องมนุ ษ ยแ และมรดกทางธรรมชาติ ที่ ก ล า วถึ ง การก อ ตั ว ทาง กายภาพและชีวภาพ ถิ่นที่อยูตาง ๆ ของพันธุแพืชและ สั ต วแ ที่ ใ กล สู ญ พั น ธุแ กระทั่ ง สถานที่ ที่ แ สดงไว อ ย า ง ชั ด แ จ ง ว า เ ป็ น แ ห ล ง หรื อ พื้ น ที่ ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ นอกจากนั้น แลวยั งรวมถึงแหลงมรดกรว มที่เกิ ดจาก การผสมผสานระหวางวัฒนธรรมและธรรมชาติอันอยู นอกเหนือจากนิยามที่ไดกลาวขางตนอีกดวย ทั้ ง นี้ อ นุ สั ญ ญ า ม ร ด ก โ ล ก ไ ด กํ า ห น ด ขอแตกตางระหวางมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ เพื่อกอใหเกิดความชัดเจน แตอยางไรก็ตามขอกําหนด *อนุ สั ญ ญาฉบั บ ดั ง กล า วรู จั ก ในชื่ อ อย า งสั้ น ๆ ว า
“อนุสัญญามรดกโลก”
ดัง กลาวยัง มิใชสิ่ง ที่จํ ากัดตายตัว เพราะมรดกตาง ๆ เหลานี้นอกจากจะแสดงสิ่งที่มองเห็นทางรูปธรรมยัง รวมถึง สิ่ง ที่เป็นนามธรรมแฝงอยูในลักษณะความคิ ด และความเชื่ อ ผนวกรวมอยู ใ นกลุ ม มรดกทั้ ง ทาง วั ฒ นธรรมและธรรมชาติ ที่ ป รากฏอยู ใ นปใ จ จุ บั น ความหมายของ “มรดกโลก” ที่สามารถอธิบายจาก มุ ม มองผู วิ จั ย ได ว า คื อ มรดกของกลุ ม สั ง คมใด สังคมหนึ่งที่ไดรับการถายทอด เก็บรักษา และสงผาน ตอยั ง อี กรุ นหนึ่ ง ซึ่ง มีคุ ณคา และความสํา คัญ ที่แ สดง ลักษณะอันโดดเดนและเป็นเฉพาะ ควรคาแกการรักษา ใหธํารงอยูคูมวลมนุษยชาติสืบตอไป ภาพลักษณแโดยรวมของ “มรดกโลก” แมวา จะมี วั ต ถุ ป ระสงคแ สํ า คั ญ เพื่ อ การคุ ม ครองและสงวน รักษาแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติเป็นหลัก ในขณะเดียวกันการไดรับการเสนอขึ้นทะเบียนรายชื่อ มรดกโลกกลับเป็นการเกิ ดผลประโยชนแเ ชิง บวกทาง การตลาดที่สงผลดีตอเศรษฐกิจของชาติ และเป็นการ ประชาสัมพันธแภาพพจนแของประเทศไปไดอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้แลวผูวิจัยไดมองเห็นวาตราสัญลักษณแ“มรดกโลก” ถือเป็นอีกชองทางหนึ่งในการนําเสนอภาพลักษณแตรา “มรดกโลก” ที่องคแกรยูเนสโกนํามาใชประกอบในการ สื่อสารดานภาพพจนแองคแกรตอบุคคลภายนอกอีกดวย กระบวนการกอ นประกาศรายชื่ อทะเบีย น มรดกโลกที่ปรากฏสูสายตาประชาคมโลกนั้น ประเทศ ที่จ ะได รั บ การรั บรองในการขึ้น ทะเบี ยนจะต อ งผ า น กระบวนการประเมินอยางเป็นขั้นตอน ทั้ง การแสดง ห ลั ก ฐ า น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ภ า คี ว า จ ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎขอบังคับ เชน การมีกฎหมายคุมครองแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมที่ประกาศใชในระดับชาติเพื่อรองรับกับ อนุสัญ ญาฯ อันมีฐานะเป็ น กฎหมายระดับนานาชาติ การจัดสรรบุคลากรในการดูแล แหลง มรดก และการจัดหาเงินสนับสนุนใน การดูแลรักษาแหลง มรดก เป็นตน และการประเมิ น คุ ณ ค า ห ลั ก เ ก ณ ฑแ ค ว า ม โ ด ด เ ด น เ ป็ น ส า ก ล (Outstanding Universal Value) จากคณะกรรมการ และผูเชี่ยวชาญจากองคแกรระหวางประเทศที่ทํางาน ร ว ม ได แ ก สหภาพเพื่ อ การสงวนรั ก ษาระดั บ โลก (IUCN) สภาระหวางชาติวาดวยโบราณสถานและแหลง I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๙
การยื่นเสนอเพื่อการขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) และการเตรียมเอกสาร ในการขอเป็นตัวเเทนและแผนการจัดการ
การยื่นเสนอรายชื่อขึ้นทะเบียนมรดกโลกตอศูนยแมรดกโลก
การประเมินผล
ผลการตัดสินจากคณะกรรมการมรดกโลก
ประกาศการขึ้นทะเบียนรายการมรดกโลก ภาพประกอบ ๑ แผนภูมิจ่าลองกระบวนการการขึ้นทะเบียน แหล่งมรดกโลก ประเทศภาคีสมาชิกในแต่ละปี (Leask, 2006, p.9)
โบราณคดี (ICOMOS) และศูนยแกลางนานาชาติวาดวย การศึ กษาเกี่ย วกับ การอนุรั กษแแ ละปฏิสัง ขรณแ สมบั ติ ทางวัฒนธรรม (ICCROM) ซึ่งองคแกรดังกลาวจะทํา หนา ที่ต รวจสอบ ประเมิน ผล และสรุป ผลกลั บไปยั ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ม ร ด ก โ ล ก (World Heritage Committee) เพื่อพิจารณาในขั้นตอนตอไป นอกเหนื อ จากนั้ น หลั ง จากการประกาศ รายชื่อทะเบียนแหลงมรดกโลก ประเทศภาคีสมาชิกที่ ได รั บ การประกาศรายชื่ อจะต อ งเตรี ย มแผนบริ ห าร จั ด การแหล ง มรดกเพื่ อ นํ า เสนอและรายงานความ คื บ หน า ทุ ก ๆ สองปี ต อ คณะกรรมการมรดกโลก และประเทศภาคี ส มาชิ ก ในวาระการประชุ ม สามั ญ ทั้ ง นี้ ถื อ ว า เป็ น การติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งานในการ อนุรักษแแหลงมรดกที่นอกจากจะเป็นสมบัติของคนใน ชาตินั้นๆ แลวยังถือเป็นสมบัติรวมของประชาคมโลกที่ ควรคาแกการสงวนรักษาอีกดวย
๒๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ภาพประกอบ ๒ แผนผังแสดงการแบ่งพื้นที่ตามแผนแม่บท โครงการอนุรักษ์และพัฒนานครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา (กรมศิลปากร, ๒๕๓๓, หน้า ๒๐)
นครประวั ติ ศ าสตรแ อ ยุ ธ ยาได รั บ การขึ้ น ทะเบีย นเป็ นแหลง มรดกโลกทางวัฒ นธรรมจากการ ประชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกสมั ย สามั ญ ณ กรุ ง คารแ เ ธจ ประเทศตู นิ เ ซี ย เมื่ อ วั น ที่ ๑๓ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยมีคุณสมบัติการเป็นมรดกโลกตรงตาม หลักเกณฑแการประเมินคุณคาความโดดเดนสากลของ มรดกวัฒนธรรมขอที่ ๓ ที่กลาววา แมอาณาจักรจะได ล ม สลายไปแล ว เมื อ งประวั ติ ศ าสตรแ อ ยุ ธ ยายั ง คง เอกลักษณแเฉพาะที่แสดงถึ ง อารยธรรมอันรุ ง เรื องใน อดี ต หมายถึ ง วิถี ชีวิ ต ประเพณี วั ฒ นธรรมแม น้ํา ใน ความเป็ น เมื อ งศู น ยแ ก ลางทางการค า แถบเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต จากหลักเกณฑแการประเมิน ดัง กลาวนํามาสู คุ ณ ค า สากลใน การ เป็ น มร ดก ประ ชาคมโ ลก ที่ นอกเหนือจากการเป็ นมรดกทางวัฒ นธรรมของชาติ แม ว า แหล ง มรดกโลกแห ง นี้ จ ะปรากฏสู ส ายตา สาธารณชนในฐานะหลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตรแ ศูนยแกลางการเรียนรูความเป็นมาของบรรพบุรุษ และ มรดกทางวัฒนธรรมที่สําคัญ ชิ้น หนึ่ง ของชนชาติ ไ ทย แต สิ่ ง ท า ทายต อ การสงวนรั ก ษาคุ ณ ค า อั น โดดเด น ดั ง กล า วกลั บ เกิ ด ขึ้ น จากทั ศ นคติ อั น คลุ ม เครื อ ของ
ประชาชนในพื้ น ที่ ถึ ง การรู จั ก และตระหนั ก รั บ รู ใ น คุณคาอันโดดเดนอันเป็นสากลของมรดกโลกอยุธยาที่มิ สามารถใหคําจํากัดความใหกระจางได อีกทั้งการสราง ความชัดเจนในการบริหารจัดการระหวางหนวยงานที่มี หนาที่ความรับผิดชอบหลัก จนเกิดการทับซอนในการ ควบคุ ม ดูแ ล นํ าไปสูปใ ญหาบริ หารจัด การในรู ปแบบ ผลประโยชนแตางตอบแทน การรุกล้ําพื้นที่ในการสรางที่ พักอาศัยและการหารายไดเชิงพาณิชยแ และผลกระทบ ตางๆ ที่จะกลาวในสวนถัดไป ขอ ความข างต น ได สะทอ นมุ มมองปใญ หาที่ เกิ ด ขึ้ นจากสถานการณแ ปใ จจุ บั น ของแหล ง มรดกโลก นครประวั ติ ศาสตรแ อ ยุธ ยาอั น เกิ ด จากการขาดความ เขาใจในความหมายของการเป็นแหลงมรดกโลกของ คนในพื้นที่ อาจเนื่องดวยความไมชัดเจนของหนวยงาน ที่ดูแลรับผิดชอบ แมกระทั่งความคุนชินกับการอาศัย รวมกับแหลงมรดกโลกของเจาของพื้นที่เองที่มักเห็น อย า งคุ น ตา จึ ง ไม ไ ด รู สึ ก ว า แหล ง มรดกโลกแห ง นี้ สมควรคาแก การอนุรักษแ ทั้งหมดนี้ลว นเป็น ปใญ หาที่ เกิ ด มาจากความผิ ด พลาดในการสร า งความเข า ใจ สํานึกรูและรับผิดชอบระหวางแหลงมรดก หนวยงานที่ รับผิดชอบ และเจาของพื้นที่ อันนํามาสูกรณีศึกษาของ ผู วิ จั ย บริ เ วณถนนคลองท อ ตั้ ง แต วั ง ช า งอยุ ธ ยา แลเพนี ย ด จนถึ ง เขตชุ ม ชนโรงงานสุ ร า เขตอุ ท ยาน ประวัติศาสตรแพระนครศรีอยุธยาเป็นพื้นที่ทําการศึกษา และมีวัตถุประสงคแของการศึกษา ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาปใญหาและผลกระทบปใจจุบัน ในการบริหารจัดการพื้นที่เขตพื้นที่หลัก (Core Zone) บริ เ วณถนนคลองท อ ตั้ ง แต วั ง ช า งอยุ ธ ยาแลเพนี ย ด จนถึงเขตชุมชนโรงงานสุรา เขตอุทยานประวัติศาสตรแ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๒) เสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหาร จัดการพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
กยอนแธวคิณถางกญหภามถีบ่ ยะมุกด์ใช้ แผนการบริ ห ารจั ด การในบริ เ วณอุ ท ยาน ประวั ติ ศ าสตรแ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา กฎหมายเป็ น อี ก มาตรการหนึ่ ง ที่ ถูก นํ า มาใช ใ นการปกปู อ ง คุ ม ครอง
ภาพประกอบ ๓ แผนผังแสดงบริเวณพื้นที่ที่ท่าการศึกษา
ดู แ ลรั ก ษา และเป็ น เครื่ อ งมื อ อี ก อย า งหนึ่ ง ในการ จัดการอนุรักษแและพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมแหง นี้ ซึ่ง ผูวิจัยไดแบง กฎหมายที่เกี่ย วของและใชสนับสนุ น กระบวนการบริหารจัดการดัง กลาวออกเป็นสองกลุม ดังตอไปนี้ ก ฎ ห ม า ย ห ลั ก คื อ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ โ บ ร า ณ ส ถ า น โ บ ร า ณ วั ต ถุ ศิ ล ป วั ต ถุ แ ล ะ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ และฉบั บ ปรับปรุง ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตราที่ ๗ และ ๗ (ทวิ) “หามมิใหผูใดปลูกสรางอาคารตามกฎหมายวา ด ว ยการ ค วบคุ ม ก อ ส ร า ง อาคาร ภ ายในเขต โบราณสถาน ซึ่งอธิบดีไดประกาศขึ้นทะเบียน เวน แตละไดรับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี”
มาตราดั ง กลาวถือเป็น การใหอํ านาจอธิ บ ดี ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ส า ม า ร ถ กํ า ห น ด ข อ บ เ ข ต ที่ ดิ น โบราณสถานตามความเหมาะสม และมีอํานาจสั่งปลูก สรางและระงับรื้อถอนสิ่งปลูกสรางในกรณีที่มีการปลูก อาคารใดๆ ในเขตโบราณสถานโดยมิไดรับอนุญาต โดย เจาของที่ดินก็ไมมีสิทธิเรียกรองหรือดําเนินคดีแกผูรื้อ ถอน แม พ ระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ อ ธิ บ ดี จ ะมี อํ า นาจ เบ็ดเสร็จโดยตรงและมีบทลงโทษรุนแรง แตผลกระทบ ของกฎหมายฉบับนี้คอนขางมีผลกระทบในดานลบตอ ผูที่ถูกบังคับใชอยางมาก
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๒๑
กฎหมายรอง ไดแก พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ที่ มีผลบังคับใชในพื้นที่เฉพาะเป็นแหงๆ สําหรับพื้นที่ที่มี ความสํ าคั ญ ทางดา นประวัติ ศ าสตรแ โบราณคดี โดย ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ใ น ฐ า น ะ ผู รั บ ผิ ด ช อ บ จ ะ เ ป็ น ผู ป ระสานงานกั บ กรมการผั ง เมื อ งในการกํ า หนด ขอบเขตพื้ นที่อนุ รักษแ ระบายสี น้ําตาลในขอบเขตผั ง เมื อ งรวมที่ ป ระกาศ ผัง เมือ งรวมฯ ในปใ จ จุบั น มีก าร กําหนดใหพื้นที่โบราณสถานประมาณ ๔๐ เปอรแเซ็นตแ เป็ น เขตพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษแ โดยกฎหมายฉบั บ นี้ จ ะมี
ประสิทธิภาพและเอื้อประโยชนแตอการอนุรักษแมากนอย เพียงใด (ประทีป เพ็งตะโก, ๒๕๔๐ น.๑๐๔) กลาววา ประการแรก การกําหนดสีของพื้นที่รอบๆ พื้นที่อนุรั กษแ (สี น้ําตาล) วาจะมีความสอดคลองเป็ น กั น ชนให กั บ พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษแ อ ย า งไร โดยไม ขั ด แย ง กั บ แนวโนมการเติบโตของเมือง ประการที่สอง หนวยงานปกครองในทองถิ่น เช น เทศบาล หรื อ องคแ ก ารบริ ห ารส ว นจั ง หวั ด จะ สามารถปฏิบัติตามกฎหมายไดเครงครัดเพียงใด
ภาพประกอบ ๔ แผนผังแสดงบริเวณพื้นที่แผนผังการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามที่ได้จ่าแนกประเภทท้าย กฎกระทรวงฯ (กรมโยธาธิการและการผังเมือง, ๒๕๕๓)
๒๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
แผนแม่ บ ทนครประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนคร ศรีอ ยุธยา พ.ศ.๒๕๓๓ ที่ เป็น แผนหลัก ในใชการบริ หาร จั ด การด า นการอนุ รั ก ษแ แ ละพั ฒ นาแหล ง มรดกทาง วัฒนธรรมทั้งกอนและหลังการเสนอทะเบียนรายชื่อแหลง มรดกโลกกับองคแการยูเนสโก รับผิดชอบโดยกองโบราณคดี กรมศิลปากร ซึ่งแบงหลักการของแผนงานออกเป็นทั้งหมด ๑๐ แผนงาน โดยจากกรณี ศึ ก ษาดั ง กล า วได กํ า หนด ขอบเขตแผนงานในลําดับที่ ๔ และ ๕ ที่วาดวยการบูรณะ และปรับปรุงสภาพแวดลอมและภูมิทัศนแ และ การพัฒนา และปรับปรุงชุมชนในเขตอุทยานประวัติศาสตรแ ดังนี้ ขอ ๔ “กําหนดขึ้นเพื่อจุดประสงคแในการฟื้นฟู สาระสําคัญบางสวนของเมืองที่จําเป็น เพื่อใหเห็นภาพรวม และบรรยากาศของเมืองโบราณชัดเจนขึ้น และเพื่อสงเสริม บรรยากาศ การใช สอยและความสวยงาม อี ก ทั้ ง สภาพ ภูมิทัศนแของพื้นที่ ข อ ๕ “การพั ฒ นาและการปรั บ ปรุ ง ชุ ม ชนใน พื้ น ที่ บ ริ เ วณอุ ท ยานฯ เพื่ อ ส ง เสริ ม คุ ณ ค า ของเมื อ ง ประวัติศ าสตรแอ ยุธ ยา ลัก ษณะการเปลี่ย นแปลง ตอ เติ ม ปรั บ ปรุ ง หรื อ ใช พื้ น ที่ ใ ห อ ยู ใ นความควบคุ ม ของอุ ท ยาน ประวัติศาสตรแฯ รวมกับเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา” แม แ ผนงานดั ง กล า วจะยั ง สามารถประยุ ก ตแ ใ ช จนกระทั่งปใจจุบัน แตปใญหาจากสถานการณแปใจจุบันที่พบ คื อ แผนงานเหล า นี้ เ ป็ น เพี ย งตั ว อั ก ษรบนกระดาษที่ คอนข างตรงขา มกับความเป็นจริง กลาวคือ การบริหาร จัดการควรเป็นการดําเนินงานที่เป็นระเบียบ เป็นขั้นตอน ตอเนื่อง และมีการติดตามผลอยูเนืองๆ แตทวาสภาพที่พบ เห็ น ในบริ เ วณศึ ก ษากลั บ ไร ค วามสนใจจากหน ว ยงานที่ รับผิดชอบ จนกลายเกิดเป็นปใญหาที่เรื้อรัง
การตั้งร้านค้าในเขตโบราณสถานที่ประกาศห้าม (ผู้วิจัย, ๒๕๕๖)
ข้อตกเตีมงจากบยะเณ็ธบัญหาถี่ถํากายศึกษา แมวาจะมีขอบังคับในกระบวนการบริหารจัดการ ภายหลังการประกาศขึ้นทะเบียนของประเทศภาคีสมาชิก ในการทํารายงานเพื่อเสนอแผนในการอนุรักษแและพัฒนา แหลงมรดกที่ทําการขึ้นทะเบียนอยางตอเนื่อง ปใญหาที่พบ จากการลงสํารวจพื้นที่ภาคสนามของผูวิจัย บริเวณถนน คลองทอตั้ง แตวังชางอยุธยาแลเพนียดไปจนถึงเขตชุมชน โรงงานสุรา สามารถแบงประเด็นปใญหาออกไดดังนี้
ความบิดเบือนบริบททางประวัติศาสตร์ของวังช้างอยุธยา แลเพนียด (ผู้วิจัย, ๒๕๕๖) I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๒๓
๑. การรุกล้าพื้นที่ในเขตโบราณสถานจากภาค ประชาชนเพื่อการสร้างที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์ การศึ ก ษาพบว า การบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ แ หล ง มรดกโลกในปใจจุบันเป็นรูปแบบผลประโยชนแตางตอบแทน มีการรุกล้ําพื้นที่จากภาคประชาชนในการสรางที่อยูอาศัย ในเขตบริ เ วณพื้ น ที่ อุ ท ยานประวัติ ศ าสตรแ ฯ และบริ เ วณ ใกลเคียง ซึ่งแตกตางจากแผนการดําเนินงานที่ได กําหนดไว โดยกรมศิ ล ปากรในแผนแม บ ทฯ ๑ สภาพบ า นเรื อ นที่ ปใจจุบันกลายเป็นชุมชนใหญที่นับวันจะขยายตัวไปเรื่อยๆ มีโรงเรียนและรานคาตางๆ มากมายรายลอม การสรางที่ อยูอาศัยติดกับ โบราณสถานในระยะประชิ ด หรือการให พาหนะใหญ วิ่ ง ผ า นไปมาอย า งสะดวกถื อ เป็ น ประเด็ น ปใญหาสํ าคัญ ที่ ผูวิจัย คาดว าควรดํ าเนิน การอยางเรง ดว น อี ก ทั้ ง การตั้ ง ร า นค า ตามเขตที่ ก รมศิ ลปากรตั้ ง ปู า ยห า ม กลับมีการฝุาฝืนอยางจงใจจากรานคาและแผงลอยตั้ง ใน ลักษณะแบบถาวร อีกทั้งบริเวณต นถนนคลองทอนั้นมีวัง ชางอยุธยาแลเพนียดที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายจาก นักทองเที่ยวตางชาติ ที่ผูวิจัยคาดวาแมธุรกิจจะสงเสริมการ ทองเที่ยวและรายไดเขาประเทศไดอยางมหาศาล แตบริบท เชิงประวัติศาสตรแที่แทจริงของเพนียดชางกลับถูกลดทอน ลงไป การตีความที่คาดเคลื่อนของนักทองเที่ยวที่มักเขาใจ วาสถานที่แหง นี้คือเพนียดชาง และการใชงานที่แทจริงได ถูกบิดเบือนไป ความจริงที่ถูกลิดรอนไปตามกาลเวลาจะถูก ตีคาดวยราคาของธุรกิจเพียงเทานั้นหรือไม ๒) ความไม่ ชั ด เจนของการบริ ห ารจั ด การ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แม ว า ลั ก ษณะภายนอกของการบริ ห ารจั ด การ พื้ น ที่ แ หล ง มรดกโลก นครประวั ติ ศ าสตรแ อ ยุ ธ ยาจะมี กรมศิลปากรรับผิดชอบหนาที่หลักในการควบคุมดูแล แต หน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบจริ ง ของอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตรแ พระนครศรีอยุธยา ภายใตการควบคุมของสํานักศิลปากรที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา กลับเป็นภาระงานในสวนเฉพาะการ อนุรักษแและพัฒนาโบราณสถานเป็นหลัก ความเขาใจของ บุคคลภายนอก จึงคิดวากรมศิลปากรมีหนาที่ดูแลทั้งหมด แต เ พี ยง ผู เ ดี ย ว ใน คว ามเป็ น จริ ง นั้ น เขตอุ ท ยาน ๑
แผนแมบทโครงการอนุรักษแและพัฒนานครประวัติศาสตรแพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2533
๒๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ประวัติศาสตรแพระนครศรีอยุธยาที่ถูกประกาศเป็นเขต พื้ น ที่ โ บราณสถานในความควบคุ ม ดู แ ลของกรม ศิ ล ปากรนั้ น กลั บ ต อ งมี ก ารควบคุ ม จากหน ว ยงาน ทองถิ่นอื่นในการชวยเขามารวมในฐานะเจาของพื้นที่ ผู รั บ ผิ ด ชอบในเขตท อ งถิ่ น ได แ ก เทศบาล นคร พระนครศรีอยุธยา ปใ ญ หาจากการศึ ก ษาพื้ น ที่ ภ าคสนามของ ผูวิจัยพบวา เกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนของหลายฝุาย ในหนาที่ความรับผิดชอบการทํางาน มีความทับซอน การบริหารจัดการในบางสวน และขาดหนวยงานเขาไป รั บ ผิ ด ชอบในส ว นที่ ข าดหายไป กล า วคื อ ทุ ก คนมั ก เข า ใจว า กรมศิ ล ปากรเป็ น ผู รั บ ผิ ด ชอบทั้ ง หมด ในขณะเดียวกันหนาที่บางอยางที่เ ทศบาลควรมีสว น รั บ ผิ ด ชอบ กลั บ ปใ ด เรื่ อ งตกไปให อี ก หน ว ยงานเป็ น ผูดูแล ในมุมมองของผูวิจัยพบวาปใญหาใหญในความ ขัดแยงระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของหลักทั้งสองหนวย นี้ เกิ ด จากผลประโยชนแ ท างเศรษฐกิ จ เป็ น ส ว นใหญ หนึ่ง หน วยงานมองในแงของการอนุ รักษแ และพั ฒนา ส ว นอี ก หนึ่ ง หน ว ยงานมองในด า นรายได ใ นเชิ ง เศรษฐกิจ ที่ส ามารถจุ นเจือ ประชาชนในรู ป แบบการ ทองเที่ยวได หากทวาทั้งการอนุรักษแและเศรษฐกิจจะมิ สามารถอยูในความสมดุลระหวางกันไดหรือไม หากทุก คนมองถึงผลประโยชนแสวนรวมของชาติมากกวาจะเป็น ของกลุ ม บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง แต เ พี ย งฝุ า ยเดี ย ว และแมจะมี กฎหมายเป็นขอบังคับใชจะเป็นเพียงการ เขียนเสือใหวัวกลัว กฎที่ถูกเพิกเฉยจากคนที่ถูกบังคับ ใชจึงเป็นเพียงตัวหนังสือบนกระดาษเทานั้น
ข้อเสธอแธะกายแก้ไขบัญหา ปใ ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จากความเข า ใจไม ต รงกั น ระหวางหลายภาคสวน ทั้งภาคประชาชน ภาคเอกชน หรือแมกระทั่งภาครัฐที่ทําหนาที่เป็นผูควบคุมกฎเกณฑแ และมี อํ า นาจเต็ ม ในการควบคุ ม การสื่ อ สารถื อ เป็ น ปใ ญ ห า สํ า คั ญ จ าก ก า ร ลง พื้ น ที่ ภ า ค ส น า ม เ พื่ อ ทําการศึกษาของผูวิจัย ในการทําความเขาใจระหวาง ภาคส ว นต าง ๆ ให เข า ใจไปในทิ ศ ทางเดีย วกั น การ สรา งความชั ดเจนในหน าที่ และความรั บผิด ชอบของ แตละหนวยงาน และทายที่สุดการสรางสํานึกในความมี
จิ ต สาธารณะของทุ ก ฝุ า ยในการเล็ ง เห็ น คุ ณ ค า และ ความสําคัญของอุทยานประวัติศาสตรแที่มิใชฐานะมรดก ของมนุ ษ ยชาติ แต ใ นฐานะการเป็ น มรดกทาง วั ฒ นธรรมของชาติ ที่ นั บ วั น จะเสื่ อ มถอยไปตาม กาลเวลา หากทุกภาคส วนสรางความสํานึ กในความ เป็นเจาของรวมกันในมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ําคาชิ้น นี้ ไ ด ความร ว มมื อ ในการอนุ รั ก ษแ แ ละพั ฒ นาเพื่ อ ให สมบัติตกทอดจากบรรพบุรุษชิ้นนี้สามารถดํารงอยูตอ ไปสูชนรุนหลังนั้นก็จะเป็นรูปธรรมและชัดเจนมากขึ้น
นถสยุบ อาจกลา วได วา มิ มี ชนชาติ ใดที่ จ ะสามารถ ปกปูองและคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมของชาติอื่นได ดีเท าชนชาติตั วเองในฐานะที่เ ป็น เจา ของวัฒ นธรรม การมี ส ว นร ว มและรู สึ ก สํ า นึ ก ในความเป็ น เจ า ของ วัฒ นธรรมถื อเป็ นการสรา งแรงจูง ใจที่ ดีใ นการสร า ง ความร ว มมื อ ในการพั ฒ นาและอนุ รั ก ษแ ม รดกทาง วัฒนธรรมที่ตกทอดจากบรรพบุรุษใหสามารถธํารงอยู ไดตอไป ๏ “โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และโบราณสถานทั้งหลายเป็นของมีคุณคา และจําเป็นแก การศึกษาคนควาในทางประวัติศาสตรแ ศิลปะ โบราณคดี เป็นการแสดงถึงความเจริญรุงเรือง ของชาติไทยที่มีมาแตอดีต ควรสงวนรักษาใช ไวใหคงทนถาวร เป็นสมบัติสวนรวมของชาติ ไวตลอดกาล” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๒๕
นยยฒาธุกยภ กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๕๕๒. ใน ราชกิจจานุเบกษา (ล.๑๒๖, ตอนที่ ๔๒, น. ๙-๒๒). กรมศิลปากร, กองโบราณคดี. (๒๕๓๓). แผนแมบทโครงการอนุรักษแและพัฒนา นครประวัติศาสตรแ พระนครศรี อ ยุ ธยา (Conservation and Development Project of Ayutthaya Historical City). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. นพวรรณ ธีระพันธแเจริญ. (๒๕๔๖). “การมีสวนรวม: ความจริงใจระหวางรัฐและ ราษฏรแ ในการอนุ รั ก ษแ สิ่ ง แวดล อ มศิ ล ปกรรม พื้ น ที่ ม รดกโลก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารการสาธารณสุขและการพัฒนา , ๑(๑), ๗๓-๗๗. พระราชบั ญ ญั ติ โ บราณสถาน โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔. ใน ราชกิจจานุเบกษา (ล. ๗๘, ตอนที่ ๖๖, น. ๙๘๐ - ๙๙๘). พระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘. ใน ราชกิจจานุเบกษา (ล. ๙๒, ตอนที่ ๓๓, น. ๘ - ๔๖). ศูนยแขอมูลมรดกโลก (Thai World Heritage Information Centre).เขาถึง วั น ที่ ๑๒ ธั น วาคม ๒๕๕๕, from www.thaiwhic.go.th/ index.aspx Leask, A. & Fyall, A. (Eds.). (2006). Managing World Heritage Sites. Amsterdam: Elsevier. United Nations Educational, Scientific and Cultural Organisation. Convention Concerning the Protection of World Cultural and Natural Heritage ๑๙๗๒. Retrieved January 15, 2012, from whc.unesco.org /en /conventiontext
ฟาคปธวก หลักเกณฑ์การประเมินคุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากลในการขึ้นทะเบียน มรดกโลก (Criteria for the Assessment of Outstanding Universal Value) I.
II.
III.
เป็ น ตั ว แทนของผลงานชิ้ น เอกที่ แ สดงอั จ ฉริ ย ภาพแห ง การ สรางสรรคแของมนุษยแ Represent a masterpiece of human creative genius; เป็นพัฒนาการดานศิลปะสําคัญที่ทรงคุณคาของมนุษยแในชวงเวลา หนึ่ ง หรื อในพื้ น ที่ แ หล ง วั ฒ นธรรมแห ง หนึ่ ง ของโลกเพื่ อ พั ฒ นา สถาปใต ยกรรมและเทคโนโลยี ศิล ปกรรมทางดานอนุสรณแส ถาน การวางผังเมืองและการออกแบบภูมิทัศนแ Exhibit an important interchange of human values, over a span of time or within a cultural area of the world, on developments in architecture or technology, monumental arts, town-planning or landscape design; มี หลั ก ฐานพิ สู จ นแ วา มี ค วามเป็ น หนึ่ ง หรื อ มี คุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะ ทางดานวัฒนธรรมและประเพณี ซึ่งยังคงปฏิบัติกันอยูหรือสาบสูญ หายไปแลว Bear a unique or at least exceptional testimony to a cultural tradition or to a civilization which is living or which has disappeared;
๒๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
IV.
V.
VI.
VII.
VIII.
IX.
X.
เป็นตัวอยางที่โดดเดนของลักษณะทางสถาปใตยกรรมหรือภูมิทัศนแ ซึ่ง แสดงถึง เหตุ ก ารณแ ที่ สํ าคัญ ทางประวั ติ ศ าสตรแ ในยุ คหนึ่ ง หรื อ หลายยุคของมนุษยชาติ Be an outstanding example of a type of building, architectural or technological ensemble or landscape which illustrates (a) significant stage(s) in human history; เป็นตั วอยางของที่อยูอาศัยของมนุ ษยแที่มี ลักษณะอันโดดเด น ซึ่ ง เป็นตัวแทนของวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง (หรือหลายวัฒนธรรม) โดยเฉพาะอย างยิ่ ง เมื่ อสถานที่ แ ห ง นั้ น ได รั บ ความเสี ย หายจาก ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่ไมอาจจะทําใหกลับคืนไดดังเดิม Be an outstanding example of a traditional human settlement, land-use, or sea-use which is representative of a culture (or cultures), or human interaction with the environment especially when it has become vulnerable under the impact of irreversible change; มีความเกี่ยวพันกับเหตุการณแหรือประเพณีที่ยังคงปฏิบัติกันอยู หรือ เกี่ ย วข องกั บ ความคิ ด ความเชื่ อ หรื อเกี่ ย วข อ งกั บ ศิ ล ปะและ วรรณกรรม Be directly or tangibly associated with events or living traditions, with ideas, or with beliefs, with artistic and literary works of outstanding universal significance. (The Committee considers that this criterion should preferably be used in conjunction with other criteria) เป็นตัวอยางโดดเดน ที่แสดงถึงยุคสํ าคัญของประวั ติความเป็นมา ของโลก Contain superlative natural phenomena or areas of exceptional natural beauty and aesthetic importance เป็นตั วอยางโดดเดน ที่แสดงถึง กระบวนการตอเนื่องที่สําคั ญของ วิวัฒนาการและพัฒนาการทางระบบนิเวศวิทยา Be outstanding examples representing major stages of earth's history, including the record of life, significant ongoing geological processes in the development of landforms, or significant geomorphic or physiographic features ประกอบดวยแหลงของสภาพทางธรรมชาติที่มีความเป็นเลิศหรือ เป็นพื้นที่ที่มีความงดงามเป็นพิเศษ Be outstanding examples representing significant ongoing ecological and biological processes in the evolution and development of terrestrial, fresh water, coastal and marine ecosystems and communities of plants and animals เป็นแหลงของถิ่นที่อยูอาศัยทางธรรมชาติที่สําคัญและโดดเดนที่สุด เพื่อการสงวนรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ Contain the most important and significant natural habitats for in-situ conservation of biological diversity, including those containing threatened species of Outstanding Universal Value from the point of view of science or conservation
ภอญคฤั่งถี่กวาธบยาสาถ:
เยื่องเฤ่าจากงาธสงกยาธด์ถี่น้าธเสากยะโณง
บัถฝงษ์ ชื่ธนุญ*
ฤภหามใจฝฤัณติ่ธ : สิ้ธแป่ธณิธ แด่ไภ่สิ้ธชาดิ ชาวมอญ หรือชาวรามัญเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เก่าแก่ชนชาติหนึ่ง เคยปกครองพื้นที่อันกว้างใหญ่ในแถบ ดินแดนพม่าตอนล่าง บริเวณที่ราบลุ่มปากแม่น้าเอยยาวดี(อิระวดี) และปากแม่น้าสะโตง โดยมีศูนย์กลางของ อาณาจักรอยู่ที่เมืองสุธรรมวดี หรือเมืองสะเทิม มีอานาจในการควบคุมการค้าระหว่างน่านน้าระหว่างซีกโลก ตะวั นออกและตะวัน ตก แต่ เมื่ อหลั งจากที่ชนชาติพ ม่า เริ่ มเข้า มาในดิ นแดนทางตอนเหนือ ของประเทศพม่ า คืออาณาจักรพุกาม พม่าได้ทาสงครามกับชนชาติมอญหลายครั้ง รวมทั้งได้นาเชลยชาวมอญมาใช้เป็นแรงงานใน การก่ อ สร้ า ง ท าเกษตรกรรมเพื่ อ เป็ น เสบี ย งใ ห้ กั บ พม่ า มอญจึ ง กลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง อาณาจั ก รพุ ก าม แต่ใ นขณะเดียวกัน พม่ าก็ไ ด้รับ เอาวัฒ นธรรมมอญมาใช้ ทั้งในเรื่ อ งของศาสนา, ความเชื่ อ , สถาปัต ยกรรม, ตัวอักษร และภาษา เป็นต้น๑
* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๒๗
ภายหลังจากการลมสลายของอาณาจักรพุกาม ในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ จึงไดมีการยายราชธานีไปที่เมือง พะโคหรือหงสาวดี กษัตริยแองคแสําคัญของชนชาติมอญ คนแรกที่ เ ริ่ ม เข า มี บ ทบาทคื อ พระเจ า วาเฬรุ หรื อ พระเจาฟูารั่ว ซึ่งมีความสัมพันธแอันดีกับสุโขทัย รวมถึง มีพระอัครมเหสีเป็นพระราชธิดาของพอขุนรามคําแหง มหาราช และมี กษั ตริ ยแสื บ ตอ มาอีก หลายพระองคแ คัม ภีรแ บ าลี ทางพระพุ ท ธศาสนาจึ งนิ ย มใชคํ า เรี ยกว า รามัญเทศ ซึ่งเมืองความเจริญรุงเรืองในทุก ๆ ดาน สงครามครั้งตอมาระหวางพมากับมอญ เริ่มขึ้น อี ก ครั้ ง ในปี พ .ศ.๒๐๘๒ รั ช สมั ย ของพระเจ า ตะเบง ชะเวตี้ จากราชวงศแ ต องอู ผลจากสงครามครั้ ง นั้ น พมา ตีไ ดเ มือ งพะสิ ม และหงสาวดี ซึ่ง เป็ นเมือ งหลวง สําคัญของชาวมอญอันมีพระมหาธาตุมุเตา* เป็นศูนยแ รวมจิตใจ นอกจากนี้พระเจาตะเบ็งชะเวตี้ยังไดทําพิธี เจาะพระกรรณที่พระมหาธาตุมุเตา เป็นการแสดงสิทธิ์ เป็นเจาของดินแดนโดยสมบูรณแ ชาวมอญบางสวนที่ รอดจากสงครามจึ ง ได เ ริ่ ม อพยพเข า มาพึ่ ง พระบรม โพธิสมภารที่กรุงศรีอยุธยาเป็นระลอกแรก ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจากที่ ทรงประกาศเอกราชแลว ทรงทําการอาราธนาพระมหา เถรคันฉอง พรอมกับชักชวนชาวมอญที่รวมสวามิภักดิ์ ใหอพยพเทครัวตามเสด็จมาที่กรุงศรีอยุธยา ในครั้งนั้น พระยาเกี ยร และพระยารามขุนนางมอญที่ มีค วามดี ความชอบในราชการและกลุ ม ญาติ พี่ น อ ง ก็ ไ ด รั บ พระราชทานที่ดินตั้งบานเรือน ณ บานขมิ้น ซึ่งไดแก บริ เ วณวั ด ขมิ้ น ในเรื อ นจํ า เก า บริ เ วณตลาดหั ว รอ ไปจนถึงบริเวณวัดขุนแสนในปใจจุบัน ตอ มาในรั ชสมั ย สมเด็ จพระนารายณแ ม หาราช ทรงพระราชทานที่ดินใหทั้งกลุมชาวมอญเก าที่อยูมา แต เ ดิ ม และ กลุ ม มอญใหม ไปตั้ ง ชุ ม ชนอยู ช าน กรุงศรีอยุธยาบริเวณวัดตองปุและคลองปทาคูจาม สงครามครั้งสําคัญระหวางชาวพมากับชาวมอญ ที่ มี ผ ลทํ า ให ช าว มอญ ถึ ง กั บ สู ญ สิ้ น แผ น ดิ น นั้ น คือสงครามในรัชกาลของพระเจาอลองพญา หลังจาก ขึ้นครองราชยแแลว ทรงยกกองทัพไปตี เมืองแปร อังวะ * พมาเรียกวา ชเวมอวแดอวแ ๒๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
และพะสิม พระองคแไดทําการปราบปราบชาวมอญดวย นโยบายที่ รุ น แรง ไม เ ว น แม ก ระทั่ ง พระภิ ก ษุ ส งฆแ พระเจาอลองพญา ทรงสรางเมืองยางกุง หรือแยงคอน อั น มี ค วามหมายว า “จะมี ชั ย ในไม ช า ” ๒ เพื่ อ เป็ น ที่ ชุมนุมทหารกอนที่จะยกทัพเขาตีเมืองหงสาวดีจนแตก พาย ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ ๒๓๐๐ ใหชาวมอญเป็น จํานวนมากอพยพเขามาในกรุงศรีอยุธยา และบางสวน ก็ อ พยพไปอยู ใ นดิ น แดนล า นนาโดยเรี ย กชาติ พั น ธุแ ตนเองวา “เม็ง” และนับวาเป็นครั้งที่ ๖ ซึ่งตรงกับสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ใน ส ว น เหตุ ก าร ณแ ท าง ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยานั้ น เมื่อสงครามครั้งใหญระหวางกรุงศรีอยุธยากับพมาในปี พ.ศ.๒๓๑๐ นายทองสุ ก ชาวมอญที่ อ าศั ย อยู บ า น โพธิ์ ส ามต น ได เ ข า พวกรั บ อาสากั บ พม า จนได รั บ ตําแหนงเป็นสุกี้พระนายกอง และไดอาสากองทัพพมา ทํ า สงครามกั บ อยุ ธ ยา นอกจากนี้ เ ป็ น ผู นํ า ชุ ม ชน ชาวมอญในกรุงศรีอยุธยา บังคับรวบรวมกองทัพมอญ ไดถึง ๒,๐๐๐ คน เพื่อสง เขา กองทัพทํา สงครามกั บ กรุง ศรีอยุธยาจนกระทั่ง กรุง ศรีอยุธยาแตกเมื่อเดือ น เมษายน พ.ศ.๒๓๑๐ แตตอมาภายหลังสมเด็จพระเจา ตากสิน ไดยกกองทัพเขาตีคายโพธิ์สามตน และขับไล ขาศึกไดสําเร็จในปีเดียวกัน การกดขี่ ข องพม า เป็ น เหตุ ใ ห ช าวมอญอพยพ ครอบครั วเข ามาในสยามประเทศถึง ๙ ครั้ง ด วยกั น โดยเขามาในสมัยอยุธยา ๖ ครั้ง สมัยกรุงธนบุรี ๑ ครั้ง และสมัยรัตนโกสินทรแ ๒ ครั้ง ภายหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ สันนิษฐานวาชาวมอญที่เคยตั้งชุมชนอยูใน กรุ ง ศรี อ ยุ ธยาบางส วนโดนกวาดต อนกลั บไปยัง กรุ ง อั ง วะในฐานะเชลยพร อ มกั บ ชาวกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา บางสวนก็อพยพหนีภัยจากสงครามไปอยูตามหัวเมือง ตาง ๆ ปใจจุบันนี้จึง ไมพบวามีเชื้อสายของชุมชนชาว มอญในกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาตามสถานที่ ที่ ป รากฏใน ประวัติศาสตรแหลงเหลืออยูอีกเลย นอกจากรองรอย ข อ ง โ บ ร า ณ ส ถ า น บ า ง แ ห ง ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง เ ช น วั ด ปู อ มรามั ญ , วั ด ตองปุ , วั ด เจ า มอญ, วั ด กุ ฎี ด าว, วัดกลางรามัญ , วัดขมิ้น, วัดชางใหญ และวัดขุนแสน แตก็ยังมีแหลงวัฒนธรรมของชาวมอญที่นาจะอพยพ
เข า มาในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และสมั ย รั ต นโกสิ น ทรแ ตอนตน ตั้งชุมชนอยูตามลุมแมน้ําในภาคกลาง รวมทั้ง บางสวนในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ ภาคใต ได แ ก ลพบุ รี สระบุ รี อยุ ธ ยา นครปฐม กาญจนบุ รี ราชบุ รี สุ พ รรณบุ รี อ า งทอง นครนายก ปทุ ม ธานี นนทบุ รี สมุ ท รสงคราม สมุ ท รปราการ สมุ ท รสาคร ก รุ ง เทพฯ ฉะ เชิ ง เทรา เพชร บุ รี ประจวบคี รี ขั น ธแ เชี ย งใหม ลํ า พู น ลํ า ปาง ตาก กําแพงเพชร นครสวรรคแ อุทัยธานี นครราชสีมา ชุมพร สุราษฎรแธานี โดยสวนใหญจะไดรับพระราชทานที่ดิน ทํากินใหแตแรกอพยพเขามา
“ภอญคฤัง่ ” ถี่นา้ ธเสากยะโณง เชาตรูของวันที่ ๑๔ เมษายน แมวาสงกรานตแ ปี นี้ อ ากาศจะร อ นอบอ า วสั ก เพี ย งใด แต ก็ มิ ไ ด เ ป็ น ตัวแปรสําคัญที่จะไปลดทอนความศรัทธาของชาวบาน เสากระโดง ที่พรอมใจกันตื่นแตเชาตรูเพื่อเตรียมสํารับ กับขาวเพื่อนําไปถวายแดพระภิกษุสงฆแในวัดทองบอ ร ว ม ถึ ง ก า ร ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ก ร ร ม อั น สํ า คั ญ และศักดิ์สิทธิ์ของหมูบานแหงนี้ ในแถบภู มิ ภ าคอุ ษ าคเนยแ แ ห ง นี้ สงกรานตแ คื อ เทศกาลสํ า คั ญ แห ง การก า วล ว งเข า สู ศั ก ราชใหม เป็นชวงระยะเวลาที่สนุกสนานรื่นเริงของหลาย ๆ กลุม ชาติพันธุแ รวมไปถึงการทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับญาติ พี่ น อ งที่ ล ว งลั บ กลุ ม ชาวมอญตามท อ งถิ่ น ต า ง ๆ ก็เชนเดียวกัน เมื่อถึงฤดูเทศกาลงานบุญเชนนี้ ก็จะพา กั น ละทิ้ ง หน า ที่ ก ารงานชั่ ว คราว ชาวมอญที่ ต อ ง เดินทางไปทํา งานในที่ห างไกล พลัดจากถิ่ นฐานของ ตนเอง ก็ จ ะพร อ มใจเดิ น ทางกลั บ ถิ่ น ฐานเดิ ม เพื่ อ มาร ว มกิ จ กรรมกั บ ญาติ พี่ น อ งและครอบครั ว ดวยเหตุที่ชาวมอญพากันทําบุญอยางสนุกสนานนี้เอง คนไทยจึง เรีย กว า มอญคลั่ง ซึ่ งมิ ไดมี ความหมายไป ในทางที่ บ า คลั่ ง เสี ย สติ แต เ ป็ น การคลั่ ง ในเรื่ อ งที่ ดี คือคลั่งในการทําบุญทํากุศล๓
เชนเดียวกันกับวิถีแหงของชาวมอญแหงชุมชน บานเสากระโดง ที่สืบ ทอดจากรุ นอดี ตถึง รุนปใ จจุบั น งานสงกรานตแ ถื อ เป็ น งานใหญ ที่ แ ต ล ะบ า น แต ล ะ ครอบครัวภายในชุมชนตางใหความสําคัญและถือเป็น งานใหญที่เ รียกวา “ทําบุ ญ เปิง ซงกราน” อันเป็นคํ า เรี ย ก “ข า วแช ” ที่ จ ะต อ งนํ า ไปทํ า บุ ญ ที่ วั ด คํ า ว า “เปิ ง ” จึ ง แปลว า “ข า ว” ส ว นคํ า ว า “ซงกราน” จึงหมายถึง “สงกรานตแ” นั่นเอง๔ ชุมชนมอญบานเสากระโดงตั้งอยูที่หมู ๔ และ หมู ๕ ตํ า บลขนอนหลวง อํ า เภอบางปะอิ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ไมปรากฏหลักฐานที่แนชัดวาชุมชน มอญแหงนี้อพยพเขามาเมื่อใด แตจากคําบอกเลาของ ผูอาวุโสภายในหมูบาน และหลักฐานทางโบราณคดีที่ อยูภายในวัดทองบอ สันนิษฐานวาบรรพบุรุษ ชาวมอญ กลุมหนึ่ง เขามาตั้ง ถิ่นฐานในยานขนอนหลวง ตั้ง แต สมัยอยุธยาตอนปลายภายหลัง จากเสียกรุง ศรีอยุธยา ครั้งที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๐ บริเวณชุมชนแหงนี้คงถูก ทิ้งรางไประยะหนึ่ง ภายหลังสงครามสงบลง คงมีกลุม ชาวมอญบางสวนซึ่ง อพยพหนีไปอยูในถิ่นอื่นเป็นการ ชั่ว คราว กลั บเข ามาตั้ง รกรากในถิ่น ฐานเดิม ของตน จนถึ ง สมั ย รั ต นโกสิ น ทรแ ต อนต น ราวปี พ.ศ.๒๓๖๐ ประกอบกับมีชาวมอญอีกกลุมหนึ่งจากทางเชียงใหม แลวเดินทางมาดวยเกวียน เขามากอตั้งชุมชนโดยมีชื่อ เรียกชุมชนในภาษามอญวา “กวานปราสาท” พรอมทั้ง สร า งวั ด ทองบ อ เพื่ อ เป็ น ศู น ยแ ร วมจิ ต ใจของคนใน หมูบานและมีชื่อเรียกวัดวา “เพยแปราสาท” เนื่ อ งจาก บริ เ วณพื้ น ที่ ใ นอดี ต ของชุ ม ชนนี้ ตั้ ง อยู ใ กล กั บ ด า นขนอนวั ด โปรดสั ต วแ (ขนอนบาง ตะนาว) หรือ ดานเก็บภาษี ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีเรือ สํ า เภาผ า นเข า ออกเสมอ สั น นิ ษ ฐานว า มี เ รื อ สํ า เภา ลําหนึ่งเกิดอับปางลง สายน้ําพัดพาเสากระโดงมาติดที่ หนาชุมชน ผูคนที่สัญจรไปมาตอมาจึงไดเรี ยกชื่อชุมชน ใหม ว า ชุ ม ชนบ า นเสากระโดง ภาษามอญเรี ย กว า เพยแทอปลาง สําหรับเสากระโดงตนดังกลาวนั้น ยังเก็บ รักษาไวภายในวัดทองบอจนถึงปใจจุบันนี้
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๒๙
การแต่งกายของชุมชนชาวมอญบ้านเสากระโดงในงานเทศกาลสาคัญต่าง ๆ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ปใทพงษแ ชื่นบุญ
ในเอกสารพรรณนาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยา ไดกลาวถึงอาชีพของชาวมอญ ที่เขามาพํานักอาศัยอยู ในกรุงศรีอยุธยาไวดังนี้ ...ถนนย่านปุาทุ่ง วัดโควัดกระบือต่อกัน แต่ก่อน มีต ลาดมอญแลพม่ าแขก ฆ่า เปดไก่ ฃ าย ครั้ นสมเดจ พระบรมราชาธิร าชเจ้า พระพุ ทธเจ้า อยู่ หัวบรมโกษ เสดจเถลิง ถวัลราชสมบัติ ปราบดาภิเษกเปนพระเจ้า แผ่ นดิ นที่ ๓๒ ในกรุ งเทพระมหานครบวรทวาราวดี ศรี อยุ ธยา ทรงพระมหากรุณ าแก่สั ตว์ ทรงพระมหา กรุณ าโปรดเกล้า ฯ แก่สั ตวโลกยที่ถึ งที่ต ายให้จ่า เปน ด่ารัส สั่งให้ตั้งกดพิกัด ห้ามปรามมิให้ฆ่าเปดไก่ฃายแก่ ฝุายคนที่นับถือพระพุทธศาสนา แต่พวกมิจฉาทิฏฐิจะ ฆ่า ก็ตามยะถาก่ามแห่งสัตว...๕
๓๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
...มาย่านหลังวัดนกน่าวัดโพง มีร้านช่าไทยมอญ ขายขั น ถาดภานน้ อ ยใหญ่ เครื่ อ งทองเหลื อ งครบ มีตลาดสดฃายเช้าเยน ชื่อตลาดมอญ ๑...๖ ...ย่านวัดครุฑ ปั้นนางเลิ้งขาย…๗ ...ปากคลองเกาะแก้ ว นั้ น เรื อ ใหญ่ ป ากกว้ า ง ๖ ศอก ๗ ศอก มอญบรรทุ ก มะพร้ า วห้ า ว ไม้ แ สม เกลือ มาจอดขาย...๘ ชุ ม ชนมอญบ า นเสากระโดง ไม ไ ด ป ระกอบ อาชีพทํานา แตประกอบอาชีพคาขายทางเรือมาตั้งแต ครั้งบรรพบุรุษ โดยจะลองเรือแจวคาขายสินคาไปตาม แมน้ําเจาพระยา และแมน้ําปุาสัก โดยเสนทางแมน้ํา เจ า พระยานั้ น ลอ งขึ้ น เหนื อ ไปจนถึ ง ปากน้ํา โพและ ลอ งลงใต จ นกระทั่ ง ถึ ง ปากอ า วย า นมหาชั ย บางขุ น เที ย น บางปลากด ส ว นแม น้ํ า ปุ า สั ก ล อ งไปจนถึ ง เพชรบู ร ณแ หล ม สั ก เลย สิ น ค า ส ว นใหญ ที่ ข ายคื อ
ตั บ จาก เนื่ อ งจากในอดี ต การปลู ก เรื อ นส ว นใหญ ใ ช ตับจากมุงหลังคา โดยซื้อจากชาวมอญที่พายเรือทวน น้ําขึ้นมาขายถึงเมืองปากน้ําโพ และเพชรบูรณแ ตับจาก ที่ ถื อ ว า มี คุ ณ ภาพดี นั้ น มาจากมหาชั ย บางขุ น เที ย น และบางปลากด สวนตับ จากที่มีคุ ณภาพดอ ยกว ามา จากคลองดาน สมุทรปราการ สินคาที่ชาวมอญนิยมนํามาขายรองลงมาคือ เกลื อ และใบลาน เกลื อ สมุ ท รคงได จ ากทางมหาชั ย ซึ่ง นิย มทํา นาเกลื อเป็ นอาชี พ ส วนใบลานนั้ นไดจ าก ดงลานในเขตเมืองหลม และเมืองเลย ชาวบานที่ซื้อมัก ไปทํางอบและจารหนังสือ จากที่กลาวมาทั้งหมดจะเห็นไดวาการคาของ ชุมชนมอญบานเสากระโดงนั้น สอดคลองเป็นอยางยิ่ง กั บ หลั ก ฐานปรากฏในเอกสารพรรณนาภู มิ ส ถาน พระนครศรีอยุธยา ถึงการประกอบอาชีพการคาของ ชาวมอญเมื่ อ ครั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี และมี
ความแตกต า งจากกลุ ม ชาวมอญเมื อ งปทุ ม ธานี สามโคก และบางเตย ที่ นิ ย มค า ขายตุ ม ใส น้ํ า หรื อ นางเลิ้ ง อิฐ ปูน หมอ ไห และเครื่อ งถว ยชามตา ง ๆ และสามารถล อ งเรื อ ทวนน้ํ า ไปถึ ง อุ ต รดิ ต ถแ สุ โ ขทั ย กําแพงเพชร ซึ่งไกลกวาเสนทางการคาของชาวมอญ บานเสากระโดง
วัณถองน่อ : ศูธม์ยวภใจของชาวภอญ น้าธเสากยะโณง สันนิษฐานวาวัดทองบอ นาจะสรางพรอม ๆ กับการเกิดของชุมชนแหง นี้ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ไมปรากฏหลักฐานวาไดรับวิสุงคามสีมาครั้งแรกเมื่อใด แต ไ ดรั บ วิ สุง คามสี ม าครั้ ง ที่ ๒ เมื่ อ พ.ศ.๒๔๙๔ เป็ น วัดสัง กัดคณะสงฆแนิกายธรรมยุติ ภายในวัดทองบอมี โบราณสถานและสถาปใตยกรรมที่นาสนใจดังนี้
เจดีย์ประธาน และศาลาการเปรียญ, (๒๕๕๖), ภาพนิ่ง : ปัทพงษ์ ชื่นบุญ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๓๑
เจณีม์บยะทาธ
กําแฝงแก้ว
เจดี ยแ ป ระธานวั ด ทองบ อ ตั้ ง หั น หน า เข า หา แมน้ําเจาพระยาดานทิศตะวันตก เป็นเจดียแสี่เหลี่ย ม เพิ่ ม มุ ม ก อ สร า งด ว ยอิ ฐ ฉาบผิ ว ด ว ยปู น หมั ก และ ขัดทับดวยปูนตํา ในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยไดรับ อิทธิพลจากศิลปะลานนาจากฐานประทักษิณที่มีขนาด สูง บั นไดขึ้ นเจดี ยแ ทางทิ ศตะวั นตก สรา งปิ ดทั บ ช อ ง ประตู รู ป เกื อ กม า ซึ่ ง เดิ ม คงมี ล วดลายประดั บ อยู องคแเจดียแตั้งอยูบนฐานสูงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานลางสุด เป็นทางเดินรูปเกือกมาดานละ ๖ ชอง เหนือขึ้นไปเป็น ทา ง เ ดิ น ป ร ะ ทั ก ษิ ณ มี ร า ว ร ะ เ บี ย ง เ จา ะ เ ป็ น ชองลอมรอบ โดยมีฐานสี่เหลี่ยมยอมุมสี่ฐาน ฐานชั้นที่ สองเจาะเป็นซุมรูปเกือกมา ฐานชั้นที่สามเป็นฐานหนา กระดานย อ มุ ม ไม สิ บ สองก อ เป็ น ช อ งประตู ห ลอกไว ทางด านทิ ศตะวันตกและทิศใต สั นนิษ ฐานวาเดิมคง เป็นซุมสําหรับประดิษฐานพระพุทธรูปนูนต่ํา ฐานชั้นที่ สี่ ห น า กระดานมี บั ว รั ด เกล า คาดรองรั บ ชุ ด ฐานสิ ง หแ ยอมุมไมยี่สิบ และฐานบัวลดหลั่นกันสามชั้น บัวปาก ระฆังรองรับบัวยอมุมไมยี่สิบ ประดับลายปูนปใ้นบัวคอ เสื้ อ หลั ง องคแ ร ะฆั ง ต อ ขึ้ น ไปด ว ยบั ล ลั ง กแ ย อ มุ ม ไม สิบสอง มีภ าชนะเครื่ องเคลื อบลายครามทรงสูง เป็ น เสาหารรองรับบัวฝาละมีและปลองไฉน ซึ่งมีเสนลวด คั่นลดหลั่นกัน มีบัวคั่นรับปลียอดที่รองรับเม็ดน้ําคาง ในการบูรณะ กรมศิลปากรทําการสํารวจเมื่อ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ โดยขุดตรวจฐานรากบริเวณ ทิศตะวันตกติดกับบันไดทางขึ้นเจดียแ ความลึกรวม ๗๐ เซนติ เ มตร จากระดั บ พื้ น พบชั้ น ทรายและชั้ น ดิ น ลูกรังถม บริเวณบันไดพบฐานแผกวาง ๘๕ เซนติเมตร ฐานรากแผ ๖ ชั้น ในขณะที่ดานขางของเจดียแขุดพบ ฐานแผ ๕ ชั้ น มี ค วามกว า ง ๑ เมตร พบว า มี น้ํ า ซึ ม ขึ้ น มาตลอดเวลา เนื่ อ งจากเจดี ยแ อ ยู ใ กล กั บ แม น้ํ า และเป็นชวงที่มีน้ําขึ้นสูง ระดับน้ําใตดิน ๐.๖๐ เมตร จากระดั บพื้น นอกจากนี้ไดขุ ดเจาะบริเวณชองทาง เดิ นขนาดกว าง ๗๕ เซนติ เมตร ลึก ๓๕ เซนติ เมตร พบพื้นอิฐถูกถมทับดวยทรายกอนเททับดวยซีเมนตแ
กําแพงแกววางตัวอยูขนานกับองคแเจดียแหางไป ทางทิ ศ ใต ป ระมาณ ๓ เมตร กํ า แพงสู ง โดยเฉลี่ ย ประมาณ ๑ เมตร ลักษณะชํารุดทรุดโทรม มีวัชพืชขึ้น และตะไคร เ กาะ อิ ฐ ด า นบนหลุ ด กระจั ด กระจาย และถูกวางทิ้งไวอยางไมเป็นระเบียบ กรมศิลปากรได ทําการขุดตรวจฐานกําแพง หลุมขุ ดตรวจขนาด ยาว ๒ เมตร กว าง ๑ เมตร ลึก ๕๐ เซนติเ มตร จากพื้ น ปใจจุบัน พบวามีน้ําซึมขึ้นมาตลอดเวลา เนื่องจากอยู ใกลกับแมน้ําและเป็นชวงที่มีน้ําขึ้นสูง หลังจากขุดลงไป ลึ ก ๕๐ เซนติ เ มตร พบชั้ น อิ ฐ เรี ย งซ อ นกั น ลงไปอี ก ๑๑ ชั้น จากอิฐชั้นลางสุดของพื้นปใจจุบัน และไมพบ หลักฐานทางโบราณวัตถุ
๓๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ศาฤากายเบยีมญ (เก่า) ตั้ ง อยู ท างทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต ข องเจดี ยแ ประธานห า งประมาณ ๘๐ เมตร อยู ติ ด แม น้ํ า เจา พระยา เป็น อาคารไมย กพื้น สูง รูปสี่ เหลี่ ยมผื นผ า ขนาดกวาง ๑๔ เมตร ยาว ๒๒ เมตร เป็นอาคารขนาด ๗ หอง เสาบันไดทางขึ้น ๒ ดาน ๕ ขั้น กออิฐฉาบปูน คือดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือกับดานทิศตะวันตกเฉียง ใต หลั ง คามุ ง กระเบื้ อ งประดั บ ปู น ปใ้ น บนสั น หลั ง คา สวยงามและที่ ห น า บั น ทั้ ง สองด า นประดั บ ลวดลาย ปูนปใ้นเชนเดียวกัน จารึกปีการกอสรางใน พ.ศ. ๒๔๕๕ เดือน ๗ แรม ๑ ค่ําปใจจุบันอยูในระหวางการปรับปรุง เพื่อใหเป็นพิพิธภัณฑแพื้นบานวัดทองบอและศูนยแศึกษา ชุมชนชาวมอญ
เสาหงส์ หากเดินทางไปในสถานที่แหงใดก็ตาม เมื่อพบ เห็ น เสาหงสแ ปใ ก อยู ก็ จ ะสามารถทราบได ทั น ที่ ว า มี ชุมชนชาวมอญเกิดขึ้นในสถานที่แหงนั้น เพราะเสาหงสแ เป็นสัญ ลักษณแที่สําคัญแสดงถึง ความเป็น ชนชาติมอญ เสาหงสแนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังธงตะขาบซึ่งเกิดขึ้น ในสมั ยพุท ธกาล ตามตํานานเลาวา มีชาวมอญไปพบ ตนจั นทนแ ยืนต นตายอยูในปุา ลัก ษณะของตนจั นทนแ ดั ง กล า วเป็ น ลํ า ต น ตรงสวยงาม จึ ง ได ตั ด ต น จั น ทนแ ดังกลาวมาปใกไวในบริเวณวัดของหมูบานที่ตนพักพิงอยู
เพื่อแขวนธงตะขาบบูช าพระพุ ทธเจา ในภายหลัง ได ปรับใหสวยงาม และมีความหมายมากขึ้น จึง แกะไม เป็นรูปหงสแประดับไวที่ปลายเสา บางตํานานกลาววา หงสแ นั้ น หมายถึ ง เมื อ งหงสาวดี ซึ่ ง เคยเป็ น ถิ่ น ฐาน บานเกิดในอดีตของชาวมอญ กอนที่จะโดนรุกรานจาก พมา ดังนั้นทิศทางของเสาหงสแ มักจะหันหนา ออกไปสู ทิศที่ตั้ง ของเมืองหงสาวดีเสมอ ทั้งนี้อาจเพื่อเป็นการ เตือนสติมิใหลืมชาติพันธุแบานเกิดของตนเอง เสาหงสแ บางแหงมีการพัฒนารูปแบบใหสวยงามขึ้น โดยเพิ่มเสา ตะเกี ย บขนาบทั้ ง สองข า ง ส ว นการแขวน “นู ” หรื อ “ธงตะขาบ” จะประกอบพิ ธี ใ นช ว งเทศกาล สงกรานตแเทานั้น
เพื่อสําหรับจัดเลี้ยงใหกับญาติผูใหญ และผูที่มารวมพิธี สงกรานตแที่วัดทองบอดวย จึงจําเป็นจะตองลดขั้นตอน ที่ยุงยากบางประการออกไป อยางไรก็ตามถึงแมวาการ ทําขาวแชจะไมไดประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์อีกตอไป แตชาวบานยังคงถือวา เปิงซงกราน หรือขาวแช ยังคง อยูในฐานะของอาหารมงคลในชวงเทศกาลสงกรานตแ ดังเชนในอดีตที่ผานมา
เบิงซงกยาธ : อาหายภงคฤ เปิง ซงกราน ในภาษามอญ มีความหมายว า ขาวสงกรานตแ ซึ่งมีความแตกตางไปจากขาวแชทั่วไปที่ มีขายตามทองตลาดในปใจจุบัน ขาวแชนี้จัดเป็นอาหาร ทานเล น จะมี เ ฉพาะในช ว งเดื อ นสงกรานตแ เ ท า นั้ น เนื่องจากเป็นชวงที่มีอากาศรอน การทําเปิงซงกรานอยางประณีตของชาวมอญ แตโบราณนั้น จะตองมีคุณสมบัติที่เรียกวา “ถึงพรอม ด ว ยลั ก ษณะเจ็ ด ” ๙ คื อ ข า วที่ จ ะใช หุ ง ทํ า ข า วแช จะตองใชขาวเปลือก ๗ กํา ซอมมือถึง ๗ ครั้ง และตอง นํ า มาซาวน้ํ า ลอยดอกมะลิ ใ ห ส ะอาดอี ก ๗ ครั้ ง ครั้ น เมื่ อ จะหุ ง ก็ จ ะต อ งหุ ง กั น กลางแจ ง มี ก ารทํ า ราชวัตรรั้วลอมปใกฉัตรปใกธง ดวยถือวาเปิงซงกรานนี้ คือขาวที่เป็นสิริมงคล จากนั้นก็จะนําน้ําสะอาดใสไวใน ตุ ม ใบย อ มๆ ลอยดอกมะลิ อบควั น เที ย นไว ใ ห ห อม ขา มคื น เมื่ อ จะนํ า มารับ ประทานก็ จ ะนํ า ข า วใส ถ ว ย และตักน้ําลอยดอกมะลิใสตามลงไป ขาวแชก็จะเย็น ชื่นใจตามธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีการทําเครื่องเคียง ประกอบอาทิ งาปิทอด (กระปิทอด) , พริกหยวกสอด ไส,กระเทียมดองผัดไข ,ปลาแหงปุน , เนื้อเค็มฉีกฝอย, หัวไชโปฺวผัดไขเค็ม ชาวมอญบ า นเสากระโดงในอดี ต จะให ความสํ า คั ญ เป็ น อย า งยิ่ ง กั บ กรรมวิ ธี ก ารทํ า ข า วแช จะนิยมทําประกอบสํารับเพื่อถวายพระเท านั้น แตใน ยุ ค ปใ จ จุ บั น นี้ ช าวบ า นจะต อ งทํ า ในปริ ม าณมากขึ้ น
เสาหงส์ภายในวัดทองบ่อ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง) พระนครศรีอยุธยา : ปัทพงษ์ ชื่นบุญ
เปิงซงกรานอาหารมงคลของชาวมอญ. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา. ธนิสร เพ็ชรถนอม.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๓๓
พิธแี ห่นู่ในงานเทศกาลสงกรานต์ชุมชนมอญบ้านเสากระโดง. (๒๕๕๖, ๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ปัทพงษ์ ชื่นบุญ และธนิสร เพ็ชรถนอม.
ธู่ : ปืธป้าแห่งสยวงสวยยค์ ประเพณีสงกรานตแ ซึ่งเป็นเทศกาลที่ชาวมอญ บานเสากระโดงทุกคน ไมวาจะออกไปประกอบอาชีพ อยู ไ กลแค ไ หน เมื่ อ ถึ ง วั นสงกรานตแ จ ะต อ งพยายาม เดินทางกลับมารวมกับครอบครัวและญาติพี่นองเพื่อ รวมประเพณีที่สําคัญนี้ โดยมีหัวใจของงานอยูที่การแห “นู ” หรื อ ธง ๑ ๐ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะคล า ยธงตะขาบ ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น ผ า ผื น ยาว ขนาดกว า งประมาณ ๑ - ๒ เมตร ยาวประมาณ ๑๐-๑๕ เมตร มีไมคั่นเป็น ชอง ๆ ตลอดผืน ประดับตกแตงจนเกิด เป็นลวดลาย สีสันสวยงาม ชาวมอญเชื่ อ ว า การแห นู ขึ้ น สู เ สาหงสแ นี้ มี อานิ ส งสแ ม าก เป็ น การบู ช าพระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า และเพื่ออุทิศใหกับบรรพบุรุษผูลวงลับ นอกจากนี้ยัง เชื่ อ ว า เป็ น การสะเดาะเคราะหแ ใ ห กั บ “กร฿ า บนาม” ๓๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
หรือผูที่เกิดตรงกับวันเนา ซึ่งเป็นวันวางคั่นระหวางปี เกากับปีใหม บุคคลดังกลาวอาจประสบเคราะหแกรรมที่ ไมคาดฝใน จะตองมีการสะเดาะเคราะหแดวยการแขวนนู หรือธงที่มีขนาดเล็กไวที่เสาหงสแใกลกับเคหะสถานของ ตน ในวันที่มีพิธีแหนูนั้น ชาวมอญบานเสากระโดง ทุกคนจะแตงกายอยางสวยงามตามวัฒนธรรมดั้ง เดิม โดยจะตั้งขบวนแหไปรอบหมูบานอยางสนุกสนานรื่น เริ ง อั น ประกอบด ว ยขบวนนั ก ฟู อ นรํ า ขบวนแห นู ขบวนปลอยนกปลอยปลา ขบวนแหไมค้ําโพธิ์ ขบวน ชักเกวียนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหินออนศิลปะสกุล ชา งมัณ ฑะเลยแ อั นเป็ นพระพุ ท ธรู ป ศัก ดิ์ สิท ธิ์ ประจํ า หมูบาน และจะตองนํามาสรงน้ําในชวงบาย ประเด็นที่ นาสนใจคือมีขบวนเกวียนแหรู ปจําลองของพระมหา เถรคั น ฉ อ ง สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช และ
พระสุพรรณกัลยา ซึ่งสะทอนถึงการนําประวัติศาสตรแ เขามาเป็นสวนหนึ่งของการประกอบพิธีกรรมดังกลาว ดวย จากนั้นจะทําการยกนูขึ้นสูเสาหงสแ การถวาย ไมค้ําโพธิ์ รวมทั้งเลี้ยงอาหารกลางวันผูมารวมงานทุก คนดว ยขาวแช จนกระทั่งในตอนบ ายจะมีพิธีส รงน้ํ า พระบนรางไมไผ จึงเป็นอันเสร็จกิจกรรม
อธาคดของชุภชธภอญน้าธเสากยะโณง ในปใจจุบันนี้ วัฒนธรรมและการดํารงชีวิตของ ชุมชนชาวมอญที่บานเสากระโดงแหงนี้กําลังจะหมดไป เยาวชนรุน ใหม ไม นิย มสื่ อสารหรื อพู ดคุ ยด วยภาษา มอญ มี เ พี ย งผู สู ง อายุ ใ นหมู บ า นที่ ยั ง พู ด ภาษามอญ สวดมนตแภาษามอญ สําหรับผูที่สามารถเขียนและอาน ภาษามอญไดมีจํานวนนอยลงมาก ระบบการคาขายสินคาทางเรือหมดไปอยา ง รวดเร็ ว เนื่ อ งจากเส น ทางคมนาคมที่ ส ะดวกขึ้ น มีถ นนตั ด ผ าน จึง ไม มีใ ครนิ ย มแจวเรื อ ขายสิ นค า อี ก ต อ ไป การขายตั บ จากจึ ง อาศั ย การสื่ อ สารทาง โทรศั พ ทแ มื อ ถื อ ที่ ร วดเร็ ว กว า และใช ร ถในการขนส ง สิน ค า แทน แต ก็ไ ม สามารถสรา งรายได ที่ มั่ นคงหรื อ ประกอบเป็ น อาชี พ หลั ก ดั ง เช น ในอดี ต ได อี ก ต อ ไป เพราะปใจจุบันผูคนนิยมหันมาปลูกบานโดยใชกระเบื้อง มุง หลั ง คา สิน คา ประเภทตั บจากจึ งแทบจะไม เป็ น ที่ ตองการของตลาด อีกทั้งเมื่อมีนิคมอุตสาหกรรมเกิดขึ้น มากมายในยานบางปะอิน วังนอย นวนคร รุนลูกหลาน ของชาวมอญบานเสากระโดงจึงหันไปประกอบอาชีพ ตามโรงงานอุตสาหกรรม บางสวนก็ไปประกอบอาชีพ รับจางตามบริษัทเอกชน หรือรับราชการ แมวั ฒนธรรมจะเปลี่ ยนไปตามสภาพสั ง คม แตพระภิกษุสงฆแที่วัดทองบอ ยังรักษาเอกลักษณแการ สวดพระอภิธรรมภาษามอญตลอดมาปใจจุบันพระครู อาทรพิพัฒนโกศล หรือ พระอาจารยแสุทัศนแ ธรรมอุบล เจาอาวาสวัดทองบอ มีความคิดที่จะจัดตั้งศูนยแศึกษา ภาษามอญ โดยจัดการสอนหนังสือภาษามอญ ใหกับ เด็ก เยาวชนและผูที่สนใจ รวมทั้งทําการฟื้นฟูประเพณี ดั้ ง เดิ ม ของชาวมอญขึ้ น มาเพื่ อ รั ก ษาวั ฒ นธรรม และประเพณีอันดีงามนี้ไวมิใหสูญหายไปกับกาลเวลา
หรือกลายเป็นเรื่องเลาขานที่เป็นเพียงความทรงจําใน อดีตที่ลางเลือน ดังนั้น ประเพณีตามวิถีวัฒนธรรม รวมทั้ง ร ว ม กิ จ ก ร ร ม ท า ง ศ า ส น า เ ช่ น ป ร ะ เ พ ณี สงกรานต์ ประเพณี การตั กบาตรน้าผึ้ ง เทศกาล เข้าพรรษา เทศกาลออกพรรษา การเทศน์มหาชาติ จึ ง เป็ น เพี ย งสิ่ ง เดี ย วที่ ยั ง เป็ น เครื่ อ งยึ ด โยงจิ ต ใจ รวมทั้ ง สานสายสั ม พั น ธ์ ข องชุ ม ชนชาวมอญบ้ า น เสากระโดงไว้ ใ ห้ยังคงอยู่สืบไป สมดังคากล่าวที่ว่ า “สิ้นแผ่นดิน แต่ไม่สิ้นชาติ” ๏
เชิงอยยต ๑
ศู นยแ ม อญศึ กษา. (๒๕๕๐). นาชมพิ พิ ธภั ณฑ์ พื้ นบ้ า นวั ด ม่ว ง. หนา ๒๓. ๒ ส.พลายน้อย (นามแฝง). (๒๕๑๕). เล่าเรื่องพม่ารามัญ. หนา ๒๑๒. ๓ แหล่งเดิม. หนา ๓๑๓ – ๓๑๔. ๔ แหล่งเดิม. หนา ๓๑๔. ๕ คณะกรรมการชําระประวัติศาสตรแไทยฯ. (๒๕๓๔). คาให้การขุน หลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง. หนา ๑๓. ๖ แหล่งเดิม. หนา ๑๔ ๗ พระยาโบราณราชธานินทรแ. ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓ เรื่อง กรุงเกา. หนา๑๘๙. ๘ แหล่งเดิม. หนา๑๙๒. ๙ ส.พลายนอย (นามแฝง). (๒๕๑๕). เล่มเดิม. หนา ๓๑๔. ๑๐ แหล่งเดิม. หนา ๓๒๓.
นยยฒาธุกยภ กรมศิลปากร. (๒๕๑๑). ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓ เรื่องกรุงเกา. พิมพแครั้ง ที่ ๔ เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพนายพิมล บุญอาภา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแการศาสนา. คณะกรรมการชําระประวัติศาสตรแไทยฯ . (๒๕๓๔). คาให้การขุนหลวงวั ด ประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง. กรุงเทพฯ : สํานั กเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี จวน เครือวิชฌยาจารยแ. (๒๕๔๓). ประเพณีมอญที่สาคัญ. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ พริ้นทแติ้ง เซ็นเตอรแ. จําลอง ทองดี. (๒๕๒๙). แผ่นดินประเทศมอญ. กรุงเทพฯ: สมาพันธุแ. มานพ แกวหยก. (๒๕๕๔, มกราคม - เมษายน). มอญค้าขายทางเรือในอดีต. รักษแวัฒนธรรมกลุมชาติพันธุแ. ปีที่ ๒ (ฉบับที่ ๑) : หนา ๑๐. วลัยลักษณแ ทรงศิริ. (๒๕๕๖). มอญบางปะอิ น. มู ลนิธิเล็ ก-ประไพ วิริยะ พันธุแ. สืบคนเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๖, จาก www.lek-prapai.org. ศูนยแมอญศึกษา. (๒๕๕๐). นาชมพิพิธภั ณฑ์พื้นบ้านวัดม่วง. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม. สมบัติ พลายนอย. (๒๕๑๕). เล่าเรื่องพม่ารามัญ. กรุงเทพฯ: แพรพิทยา. สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตรแ กรมศิลปากร. (๒๕๕๑). โบราณสถานใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เล่ม ๒. กรุงเทพมหานคร: ทวีวัฒนแการพิมพแ.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๓๕
บรรยากาศงานเทศกาลสงกรานต์ชุมชนมอญบ้านเสากระโดง ประจ้าพุทธศักราช ๒๕๕๗. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ปัทพงษ์ ชื่นบุญ และธนิสร เพ็ชรถนอม.
๓๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
งาธแถงหมวกอมุทมา:
ศิฤบกยยภแห่งธ้ําจิดธ้ําใจของคธใธถ้องติ่ธ* ฝัฐย์ แดงฝัธท์**
“งานแทงหยวก” เป็นศิลปกรรมท้องถิ่นที่มีต้นธารเกิดจากน้าใจไมตรีของผู้คนที่อยู่ร่วมกันใน สังคมแบบไทยสมัยก่อน ซึ่งเดิมทีมิได้เป็นงานอาชีพแสวงหารายได้ หากแต่เป็นงานช่วยเหลือเกื้อกูล กันในเครือญาติ หรือคนในละแวกท้องถิ่นเดียวกันที่ต่างก็รู้จักหน้าค่าตากันเป็นอย่างดี ยามที่บ้านไหน มีงานบุญ หรือ งานศพใดๆ บรรดาชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในละแวกใกล้เคียงกัน ต่างมีความยินดีที่จะ หยิบ ยื่น ภูมิ ปัญ ญาความรู้ และฝีมือพื้น บ้า น ในการฉลุ สลัก หยวกกล้ วยให้ เ ป็น ลวดลายต่ าง ๆ มา ประดับประดาสถานที่จัดงานนั้น ๆ ด้วยความสมัครใจ โดยมีเพียงความภาคภูมิ และสินน้าใจที่เป็น สิ่ง ของเล็ ก ๆ น้ อย ๆ เช่ น ผ้าขาวม้ า ผืน เดี ย ว หรื อสุ ร าหนึ่ ง ขวดเป็ น สิ่ ง ตอบแทน หาได้ มี กา รตั้ ง ค่าตอบแทนเป็นเงินตราเหมือนดังทุกวันนี้
* บทความนี้ เขียนขึ้นจากการสัมภาษณแ นายสุวิทยแ ชูชีพ ชางแทงหยวกรุนสุดท ายแหง ยานวัดปุาโค เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธแ ๒๕๕๗ ทีโ่ รงเรียนวัดปุาโค ตําบลบานเกาะ อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ** นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๓๗
ครูสุวิทย์ ชูชีพ ช่างแทงหยวกคนสุดท้าย? แห่งย่านวัดปุาโค พระนครศรีอยุธยา
ธ้ําใจของช่างแถงหมวก ครู สุ วิ ท ยแ ชู ชี พ วั ย ๖๔ ปี ที่ อ าจเป็ น ลมหายใจสุ ดท าย ของงานแทงหยวกในทอ งถิ่ นย า น วัด ปุา โค ตํา บลบ านเกาะ อํ าเภอพระนครศรี อ ยุธ ยา ไดเลาเรื่องราวเกี่ยวกับงานแทงหยวกในทองถิ่น ของ อยุธยา จึง ทราบวางานแทงหยวกในอยุธยานั้น เคยมี อยู ทั่ ว ไปในตํ า บลต า ง ๆ เมื่ อ มี ง านบุ ญ เช น งาน แหเทียนพรรษา งานโกนจุก งานเทศกาลลอยกระทง สงกรานตแ หรื อ แม แ ต ง านฌาปนกิ จ ศพ ชาวบ า นใน ละแวกท อ งถิ่ น นั้ น ๆ ก็ จ ะขั น อาสา ช ว ยกั น ตกแต ง สถานที่ โดยนําภูมิปใญญาการฉลุสลักหยวกกลวยใหเกิด เป็ น ลวดลายสวยงาม ที่ สื บ ทอดอยู ภ ายในท อ งถิ่ น ซึ่ง เรียกกัน ว า “การแทงหยวก” เพื่อประดั บประดา สถานที่ ใ นงานพิ ธี เ หล า นั้ น ด ว ยความสมั ค รสมาน สามัคคี ฝีไมลายมือของชางแทงหยวกในแตละทองที่ จึ ง ย อ มมี เ อกลั ก ษณแ และลวดลายที่ วิ จิ ต รพิ ส ดาร แตกต า งออกไป อั น เป็ น เรื่ อ งของความภาคภู มิ ใ จ และนํามาสู ก ารประชัน ขัน แขง ระหวา งชางในแตละ หมูบ าน ถึง ขนาดมีการ “หวงวิชา” หรือบ างก็ มีการ แอบ “ลั ก จํ า ” กระบวนการและลวดลายในการ แทงหยวกของกันและกันอยางชนิดที่ไมมีใครยอมใคร ชางแทงหยวกบางคนถึงกับรีบนําผลงานแทงหยวกที่ใช ประดับงานเสร็จแลวมาโยนทิ้งน้ํา เพื่อปูองกันผู อื่นมา ๓๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
แอบลั ก จํ า ลวดลายหยวกสลั ก ของตนเลยที เ ดี ย ว เวนเสียแตจะเป็นการเขามานั่งพูดคุย แลกเปลี่ยนวิชา ความรูเกี่ยวกับการแทงหยวกระหวางกันอยางเป็นเรื่อง เป็นราวเทานั้น ครูสุวิทยแ เกิดและเติบโตอยูในยานวั ดดุสิตดาราม กอนจะยายมาอาศัยอยูที่ยานวัดปุาโค ซึ่งตั้งอยู ในละแวกใกล เ คี ย งกั น เริ่ ม เรี ย นรู ง านแทงหยวกมา ตั้ง แตอ ายุ ๑๘ ปีจ ากครู ค นแรกคื อนายฟื้น สั ง ขแ เ งิ น ผูมีศักดิ์เป็นลุง ครูคนที่สองคือ นายเลียบ ตรีภาค ที่เคย เป็ น ช า งปลู ก เรื อ นร ว มกั น มา และครู ค นสุ ด ท า ยคื อ นายสุ บิ น เริ ง ใจ ซึ่ ง ครู สุ วิ ท ยแ มั ก จะระลึ ก ถึ ง ครู ผู ถายทอดวิชาความรูในการแทงหยวกทั้ง สามทานนี้ให ฟใง อยูเสมอ สะทอนถึง ความกตัญ โูของ “ศิษยแมีครู ” ผูนี้ไดอยางดี ครู เ ล า ว า เดิ ม ที เ ดี ย วการแทงหยวกนั้ น ถือเป็นงานบุญ หรืองานชวยเหลือแบงปในกันของคนใน ทองถิ่น กลาวคือ บานไหนมีตนกลวยน้ําวา หรือกลวย ต า นี ที่ กํ า ลั ง เ ห ม า ะ สํ า ห รั บ นํ า ม า แ ท ง ห ย ว ก ก็จะแบงปในตนกลวยมาให สวนคนไหนที่มีฝีมือในการ แทงหยวก ก็ชวนกันมาแทงหยวก อันเป็นกิจกรรมที่ทํา รวมกันดวยน้ําใจ และความสามัคคีกลมเกลียว ระหวาง ที่ทํางานไป ก็คุยเรื่องตาง ๆ กันไปเหมือนพี่เหมือนนอง เจ า ภาพก็ จ ะเตรี ย มหมากไว ใ ห เ คี้ ย ว มี สุ ร าไว ใ ห ดื่ ม มีผาขาวมาไวใหใช ถือเป็นสินน้ําใจ เล็ก ๆ นอย ๆ จน
ครู สุ วิ ท ยแ เ ล า ว า หลายปี ที่ ล ว งเลยมา ครูแทบไมเคยตองเสียเงิน ซื้อผาขาวมา มาใชเองเลย ความสุ ข ที่ แ ท จ ริ ง ของการ แทงหยวก มิไดสลักสําคัญอยูที่สินน้ําใจ อยางใด หากแต เป็น ความภาคภูมิใจใน ผลงาน ของชางแทงหยวกเอง ดวยหัวใจ ที่เบิกบาน และอิ่มเอิบที่ไดมีสวนรวมใน งานบุญ งานประเพณีตาง ๆ หรือแมแต ในพิ ธี เ ผาศพ ช า งแทงหยวกก็ ยิ น ดี นําฝีมือเขาชวยเหลือ ประดับประดาเชิง ตะกอนเผาศพด ว ยความเคารพที่ มี ตอผูตายเป็นวาระสุดทาย ครู สุ วิ ท ยแ เล า ให ฟใ ง อี ก ว า ยามที่ มี ใ ครมา ชื่นชมผลงานการแทงหยวกของครูอยางเขาอกเขาใจ ตั ว ครู เ องก็ จ ะนึ ก ชื่ น ชมผู นั้ น อยู ใ นใจเช น เดี ย วกั น ว า เป็ น ผู ที่ ส ามารถ “ดู ล ายเป็ น ” และเข า ถึ ง ความ งดงามของศิ ลปะแห ง การแทงหยวกได อ ย างแท จ ริ ง เพียงใด น้ําใจของชางแทงหยวกนี่เองที่คงเป็นพื้นที่ เล็ก ๆ ใหชางแทงหยวกสามารถดํารงตนอยูอยางเป็นที่ รั ก ใคร ข องคนในท อ งถิ่ น ที่ อ ยู ร ว มกั น อย า งเกื้ อ กู ล และอาทรซึ่งกันและกัน เมื่อกาลเวลาเคลื่อ นคล อยไป จากสิน น้ําใจ เล็ ก ๆ น อ ย ๆ ที่ มิ ใ ช ร ายได เริ่ ม พั ฒ นาขึ้ น มาเป็ น การตอบแทนน้ําใจดวยเงินตราที่เจาภาพบรรจงใสซอง ตามคานิยมสมัยใหม และแปรเปลี่ ยนไปสูการวาจา ง ที่ มี อั ต ราค า จ า ง และค า วั ส ดุ ตามข อ ตกลงระหว า ง เจาภาพกับชางแทงหยวก อัน ขึ้นอยูกับความยากงาย ของลวดลาย ขนาดของชิ้ นงาน ค ารถรับส ง ที่คิดเป็ น ระยะทางใกล -ไกล หรือมีผูมารับ - มาสง อยางไร และ วัสดุอุปกรณแในการแทงหยวก เชน ถาเป็นหยวกกลวย ที่ เ จ า ภาพหามาเอง ช า งแทงหยวกก็ คิ ด เพี ย งอั ต รา คาแรง หรือแลวแตการตกลงเจรจาระหวางกัน สํ า หรั บ อั ต ราค า จ า งแทงหยวกในปใ จ จุ บั น ถาเป็นงานทั่วไป ที่มีระดับความยากไมสูงนัก ก็จะคิด คาจางอยูที่ประมาณ ๓,๐๐๐ บาทตองาน หรือถามีการ
เมรุปร่าที่ประดับด้วยงานแทงหยวก ภายในเมรุลอยทรงมณฑป ในพิธีฌาปนกิจแห่งหนึ่งที่อ่าเภอบางปะหัน เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๘
สลั ก ลวดลายวิ จิ ต รบรรจงมากขึ้ น เช น มี รั ด เกล า ดวยแลว ราคาก็จะอยูที่ ๖,๐๐๐ บาท หรือถาทําเป็น เรือนบุษบกราคาก็จะสูงถึง ๑๐,๐๐๐ บาท เป็นตน เมื่อไดเงินคาจางแลว ก็จะนํามาแบงสรรกับ คณะทํางานซึ่งมีประมาณ ๓-๔ คน เป็นรายไดตกอยูที่ คนละประมาณ ๑,๐๐๐ บาท ถือวาเป็นรายไดคอนขาง ดี แตก็มิใชวาจะมีรายไดจากการแทงหยวกเขามามาก เสียจนสามารถยึดเป็นอาชีพหลักได เพราะครูสุวิทยแเอง ยังตองมีรายไดจากการทําสวน การคาขาย และการทํา บายศรีเป็นรายไดหลักในการเลี้ยงชีพอยูนั่นเอง
ฤภหามใจของงาธแถงหมวกอมุทมา ครูสุวิทยแ กลาวถึงลมหายใจเฮือกตอไปของ งานแทงหยวกอยุธยา วาคงจะอยูรอดตอไปไดยากนัก เพราะทุกวันนี้มีเพียงหลานชายซึ่งเป็นญาติหาง ๆ อายุ ประมาณ ๓๐ ปีเศษ เป็นผูสืบทอดงานศิลปนี้อยูเพียง คนเดียวเทานั้น ดว ยความเปลี่ย นแปลงต า ง ๆ ทั้ ง ทางด า น ค า นิ ย มของผู ค นในปใ จ จุ บั น เป็ น ผลให ค นนิ ย มปลู ก กลวยกัน นอยลง และเจาภาพที่ยัง มีความนิยมใชง าน แทงหยวกเป็นสวนประกอบของการจัดงานพิธีตาง ๆ ก็นอยลงมากดวยเชนกัน เพราะตางก็หันไปนิยมใชวัสดุ อยางอื่นทดแทน เชน ดอกไมปลอมที่ทําจากพลาสติก I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๓๙
โฟม หรื อ ดอกไมสด ที่มี รานรับจั ดดอกไม ในงานพิ ธี ตาง ๆ ซึ่งมีการลงทุนเปิดรานเป็นธุรกิจแบบสมัยใหม มี ทํ า เลที่ ตั้ ง ชั ด เจน และเป็ น ที่ รู จั ก ในสั ง คมอยุ ธ ยา ยุคใหม ทําใหภูมิปใญญาชาวบานอยางงานแทงหยวก ในทองถิ่น ไมสามารถที่จะพัฒนาตัวเองไดทันตอความ เปลี่ย นแปลงที่ เกิ ด ขึ้น งานแทงหยวกจึง ถู กมองข า ม และนับวันชางแทงหยวกก็คอย ๆ ลดนอยลง จนเหลือ เพียงครูสุวิทยแ ซึ่งเป็นชางแทงหยวกรุนสุดทายแหงยาน วัดปุาโค ด ว ย ค ว า ม ตั้ ง ใ จ รั ก ษ า ภู มิ ปใ ญ ญ า ก า ร แทงหยวกของโรงเรี ยนวั ดปุ าโค ซึ่ งเป็ น สถานศึก ษา ขนาดเล็ กในทอ งถิ่น ได วาจางใหครูสุ วิทยแ มาเป็นครู พิเศษ สอนวิชาการแทงหยวกใหแกนักเรียนในโรงเรียน ซึ่งแม ว าจะมี คา ตอบแทนเพี ยง ๓๐๐ บาท ต อเดือ น อันเทียบเทาไดกั บอัตราค าจางขั้น ต่ํา ตอวัน ที่ลูกจา ง ทั่วไปพึ ง ได รับ ในปใจจุ บัน ก็ตาม ครู สุ วิทยแ ก็ ยินดีสอน ศิษยแตัวนอยระดับประถมศึกษา ดวยความหวังที่จะให พวกเขาชวยสานตอลมหายใจของงานแทงหยวกอยุธยา ใหคงอยูตอไป ความหวั ง ของครู สุ วิ ท ยแ ก็ คื อ การได ป ลู ก จิตสํานึกให เยาวชนสามารถซึมซับถึงความงดงามของ ศิลปะแหง งานแทงหยวก และสามารถ “ดูลายเป็น ” มีความหวงแหน และรูคุณ คา ของงานศิลปะ และยั ง หวังในประการสุดทายวาเยาวชนจะไดนําความรูจาก การแทงหยวก ไปฝึกฝนฝีมือดวยใจที่สนุกรัก และนํา ความรูและฝีมือไปใชในการแทงหยวก เพื่อชวยเหลือ เครือญาติในการจัดงานพิธีตาง ๆ สิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ ที่ครูสุวิทยแ ตองการฝากถึง หนวยงานราชการ และสถานศึกษาตาง ๆ ที่ตองการ เป็ น ส ว นหนึ่ ง ในการสื บ สานงานแทงหยวกให อ ยู คูทองถิ่นตอไป ก็คือการที่หนวยงานตาง ๆ ไดพึงระลึก ถึ ง คุ ณ ค า ความงดงามของงานแทงหยวก ด ว ยการ สงเสริมใหงานศิลปกรรมทองถิ่นชนิดนี้ เขามาเป็นสวน หนึ่ง ในการประดั บประดาสถานที่ใ นการจัดกิจ กรรม ตาง ๆ ของจังหวัด เพื่อทดแทนวัสดุตกแตงอื่น ๆ ที่ทํา จากโฟมหรือพลาสติก อันเป็นมลพิษตอสภาพแวดลอม
๔๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
เมื่ อ นั้ น ช า งแทงหยวกก็ จ ะมี ร ายได เ ลี้ ย ง ปากท อ ง และจุ น เจื อ ครอบครั ว เสมื อ นเป็ น การต อ ลมหายใจใหสามารถสืบสานงานศิลปถิ่นกรุงเกาชนิดนี้ ใหสามารถประคองตัวใหอยูรอดได ทามกลางกระแส แหงทุนนิยมที่ถาโถมรุนแรงอยูในปใจจุบัน
ส่งถ้าม เมื่ อ งานแทงหยวกอั น เป็ น ศิ ลปกรรมแห่ ง น้าจิตน้าใจของคนท้ อ งถิ่น ภายใต้รั้วของสังคมที่ มี ความถ้ อ ยที ถ้ อ ยอาศั ย เริ่ ม เข้ า สู่ ยุ ค สมั ย ใหม่ แ ห่ ง สังคมทุนนิยม ที่ผู้คนต่างจาเป็นต้อ งใช้เงินตรามา เป็นอานาจในการดารงชีพอย่างไม่มีผู้ใดหลีกเลี่ยงได้ แล้ว ทาให้งานแทงหยวก มิได้อ ยู่บนฐานของน้าใจ ไมตรี เ หมื อ นก่ อ นไปโดยปริ ย าย เมื่ อ นั้ น ผู้ ค นจึ ง ไม่ จาเป็ นต้ อ งพึ่ งพาอาศัย ฝี มื อ ของช่ างแทงหยวกใน ท้องถิ่นอีกต่อไป กลับมองหาวัสดุทางเลือกในการจัด งานที่ เ หมาะสมแก่ ฐ านะและก าลั ง ทรั พ ย์ ข องตน ที่มักจะเน้นแต่ความสะดวก และประหยัดกว่า หรือ หากรายใดมีฐานะดี และมีกาลังทรัพย์มาก ก็มักเลือก วั ส ดุ ที่ ดู ห รู ห ราและทั น สมั ย กว่ า ส่ ง ผลให้ ง าน แทงหยวกที่เคยได้รับความนิยมจากคนในท้อ งถิ่นที่ สืบต่อลมหายใจกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ได้มาหยุดยืนอยู่ ณ จุ ด ที่ ล มหายใจสุ ด ท้ า ยก าลั ง รวยริ น ใกล้ จ ะ หมดสิ้นไป อุปมาคล้ายกับหยวกกล้วยที่แม้ครั้งหนึ่ง จะถูกนามาสลักเสลาจนวิจิตรงดงามเพียงใด สุดท้าย ก็ย่อมต้องถูกย่อยสลายไปตามกาลเวลาอยู่นั่นเอง ๏
นยยฒาธุกยภ สุวิทยแ ชูชีพ. (๒๕๕๗, ๒๑ กุมภาพันธแ). สัมภาษณแโดย พัฑรแ แตงพันธแ ที่วัดปุาโค พระนครศรีอยุธยา.
วิตีวัฑธทยยภ ปู้คธแฤะสามธ้ํา ดํานฤภหายาช* ธัธถ์ธฟัส ณ่าธชัมสิถทิ์**
“ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” ที่ผ่านมามีนักวิชาการหลายท่านได้ให้คานิยามไว้ซึ่งมีทั้งแตกต่างหรือคล้ายคลึง กั น แต่ จ ะขอยกความหมายของศาสตราจารย์ พิ เ ศษ ดร.ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม นั ก วิ ช าการด้ า นโบราณคดี แ ละ มานุษยวิทยา และที่ปรึกษามูลนิธิเล็ก -ประไพ วิริยะพันธุ์ กล่าวไว้ว่า “ประวัติศาสตร์ท้อ งถิ่น เป็นการศึกษา เรื่องราวของท้องถิ่นอันเป็นบริเวณที่มีชุมชนอยู่รวมกันและมีความสัมพันธ์กันทางเศรษฐกิจ สังคมระบบความเชื่อ พิธีกรรมและการเมืองการปกครอง จนกล่าวได้ว่าทาให้ผู้คนในท้อ งถิ่นนั้ น ๆ มีอ ะไรหลายๆอย่างร่วมกันและ คล้ายคลึงกันจนมีจิตสานึกว่าเป็นคนถิ่นเดียวกัน การศึกษาเช่นนี้เน้นอดีตมาจนถึงปัจจุบันโดยแสดงให้เห็นว่ามี การพั ฒ นาทางสั ง คมและวั ฒ นธรรมเกิ ด ขึ้ น ในท้ อ งถิ่ น หนึ่ ง ๆได้ อ ย่ า งไร เช่ น ท้ อ งถิ่ น นั้ น มี ส ภาพแวดล้ อ ม อย่างไร ตั้งอยู่ตาแหน่งไหนภายในเขตอาเภอใด จังหวัดไหนและภูมิภาคใดมีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์และ โบราณคดี ที่แสดงความเป็นมาทางวัฒนธรรมอย่างไรบ้าง บรรดากลุ่มชนที่อยู่รวมกันเป็นชุมชนที่สืบมาจนปัจจุบัน เป็นพวกไหน อยู่ในท้องถิ่นมาแต่ดั้งเดิมหรือเคลื่อนย้ายมาจากที่อื่นเมื่อเข้ามาอยู่ในท้องถิ่นเดียวกันแล้ว มีความ ขัดแย้งหรือมีเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์อย่างใดเกิดขึ้น” * ขอมูลจากโครงการ กระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลรักษาและใชประโยชนแคลองบางพระครู ต.มหาราช อ.มหาราช
จ.พระนครศรีอยุธยา ** นักวิจัยประจําศูนยแประสานงานวิจัยเพื่อทองถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๔๑
บรรยากาศการเก็บข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของทีมวิจัย ต.มหาราช
การศึกษาประวัติศาสตรแทองถิ่นที่ผานมานั้น มีการศึกษากันอยูหลากหลายแหงหนที่ สวนใหญแลว อาจเป็นแคนักวิชาการเทานั้นที่เป็นผูเขาไปศึกษาหา ความรูและนํามาสรุปเนื้อหาสาระเพื่อนํามาเป็นขอมูล ทางประวั ติ ศ าสตรแ ห รื อ นํ า มาใช ป ระโยชนแ ท างด า น วิชาการเพียงเทานั้น แตสิ่งสําคัญที่อาจหลงลืมกันไป คือการใหเจาของชุมชนหรือเจาของบานนั้นเป็นผูสืบหา ขอมูลประวัติศาสตรแการเปลี่ยนแปลงดวยตัวเอง ซึ่งจะ ๔๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
เป็นบอเกิดของการเห็นรากเหงาของตนเอง เห็นการ เปลี่ย นแปลงที่เ กิ ดขึ้ น เห็น ปใญ หาที่ เกิ ดขึ้ น พร อมกั บ การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตรแ และนําไปสูการ แกไขปใญหารวมกันอยางถูกที่ถูกทาง ซึ่งทายที่สุดแลว จะเป็น บอ เกิด ทํา ให คนในชุ มชนนั้น เกิ ดความรูสึ กถึ ง ความเป็นเจาของรวมกัน เกิดความหวงแหนในบานเกิด เมืองนอนของตนเองและทําใหชุมชนทองถิ่นของตนเอง นั้ น เข ม แข็ ง ได กระบวนการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตรแ
ทองถิ่นจึง เป็นขั้นตอนที่สําคัญหรือจะกลาวไดวาเป็น หัวใจสําคัญของการทํางานวิจัยสายพันธุแใหมที่เรียกวา งานวิจัยเพื่อทองถิ่ น(Community-Based Research)* ซึ่งมักจะนําวิธีการศึกษาประวัติศาสตรแทองถิ่นมาเป็น สวนหนึ่ง ของกระบวนการวิจัยอยูเสมอ นับเป็นเวลา ๑๐ กวาปีมาแลวที่งานวิจัยสายพันธุแใหมนี้เติบโตมาจน ขยายนักวิจัยไปทั่วประเทศ และแตกหนอมาเป็นศูนยแ ประสานงานในจังหวัดตางๆ ศู น ยแ ป ระสานงานวิ จั ย เพื่ อ ท อ งถิ่ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยานั้น จึงมีบทบาทหนาที่สําคัญในการ หนุนเสริมใหชาวบานเป็นนักวิจัยและมุงเนนใหชุมชน ได ใ ช ป ระโยชนแ จ ากงานวิ จั ย อย า งแท จ ริ ง โครงการ กระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลรักษาและ ใชประโยชนแคลองบางพระครู ตําบลมหาราช อําเภอ มหาร าช จั ง หวั ดพ ร ะ น คร ศรี อยุ ธ ยา หั ว หน า โครงการวิจัยคือคุณฌานราเมศวรแ กลมกลอม ซึ่ง อยู ภายใต ก ารดู แ ลของศู น ยแ ป ระสานงานฯ และเป็ น โครงการหนึ่ ง ที่ ใช ก ระบวนการศึ กษาประวั ติ ศาสตรแ ทองถิ่นในเรื่องความสัมพันธแคนกับสายน้ําซึ่ง ในที่นี้จะ หมายถึ ง คลองบางพระครู เ พราะเป็ น สายน้ํ า ที่ มี ความสําคัญกับคนในชุมชน ตําบลมหาราชในอดีตเป็น อยางมาก กอนที่จะกลาวถึงประวัติศาสตรแทองถิ่นของ ตําบลมหาราชนั้น ผูเขียนขอฉายใหเห็นภาพขั้นตอน การทํางานตางๆของทีมวิจัยในการไดมาของขอมูลเป็น อั น ดั บ แรก เพราะจะทํ า ให ผู อ า นนั้ น สามารถเห็ น บรรยากาศความสนุก ความอบอุนที่คนในชุมชนมีให ตอกัน เรียกไดวายิ่งคุยยิ่งเพลิน ๓ วัน ๓ คืนไมมีทาง จบก็วาได จากการสืบเสาะขอมูลนั้นทีมวิจัยชาวบาน ใช เ วที ก ารประชุ ม ในการวางแผนการเก็ บ ข อ มู ล ใน รูปแบบตางๆ ไมวาจะเป็นการจัดเวทีหมูบาน หรือการ แบ ง ที ม เพื่ อ สอบถามข อ มู ลจากผู เ ฒ า ผู แ ก ต ามบ า น แมกระทั่งการคนหาประเด็นคําถามในการชวนคุยกับ กลุมเปูาหมายที่จะไปศึ กษาร วมกั น จนเป็ นที่ม าของ
* สามารถอ า นรายละเอีย ดได ที่ สํ านั ก งานนกองทุ น ส นั บ ส นุ น ก า ร วิ จั ย ( ส ก ว . ) ฝุ า ย วิ จั ย เ พื่ อ ท อ ง ถิ่ น http://vijai.trf.or.th
ประวัติศาสตรแทองถิ่น “ประวัติศาสตรแความสัมพันธแคน กับสายน้ําตําบลมหาราช”
ควาภเบ็ธภาของดํานฤภหายาช ถาจะกลาวถึง ตําบลมหาราช หลายทานก็คง จะต อ งนึ ก ถึ ง ประวั ติ ศ าสตรแ ใ นสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ณ ทุงมหาราชแหงนี้ ซึ่งในโบราณยุคโนนเรียกวา“ทะเล มหาราช” โดย ณ สถานที่แหงนี้ไดปรากฏมาตั้งแตสมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เป็นพื้นที่ลุมยามหนาน้ําจะ ปรากฏเป็ น ผื น น้ํ า กว า งใหญ ทิ ศ เหนื อ จรดตํ า บล พิต เพี ย น ตํ า บลบา นนา ตํ า บลบ า นขวาง ทิ ศ ใต จ รด ตําบลมหาราช ตําบลหั วไผ ทิศ ตะวั นออกจรดตํ าบล น้ําเตา ตําบลเจาปลุก ทิศตะวันตกจดตําบลบานใหม ตําบลทาตอ ตําบลบานขวาง ในอดีตนั้นเป็นพื้นที่ที่มี ประวัติศาสตรแที่สําคัญ คือ ในสงครามกูอิสรภาพชวง ระหว า ง พ.ศ. ๒๑๒๗-๒๑๓๕ สมเด็ จ พระนเรศวร มหาราชทรงใชยุทธวิธีในการซุมโจมตีกองเสบียง และ การออกปลน ค า ย ทั้ ง ทางบกและทางน้ํ า ในครั้ ง นั้ น สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราชทรงประดิ ษ ฐแ ปื น ใหญ ชื่อ "พระกาฬมฤตยู" ลงเรือ สําเภาที่วัดชองลม เหนือ หั ว แหลม (วั ดอุ โ ลมปใ จ จุ บั น ) ขั บ ไ ล ตี ทั พ พ ม า ถือเป็นการรบรวมกัน ระหวางทางบกกับทางเรือเป็ น ครั้งแรกในประวัติศาสตรแ อีกทั้งยังเคยเป็นฐานที่ตั้ง ทัพ ของแม ทั พ นายกอง ของพระเจ า แผ น ดิ น ในสมั ย กรุง ศรีอยุธยา ที่ยกทัพมาปราบผูรุกราน ทุกครั้ง ที่มา พักแรมก็จะเกิดความพึงพอใจ เพราะมีอากาศดี ลมพัด เย็นสบาย เมื่อบานเมืองมีความสงบสุขดีแล ว จึงไดมา สรางวัดขึ้น เมื่อสรางเสร็จจึงขนานนามวา "วัดชองลม" ต อ มาระยะหนึ่ ง เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น "วั ด อู ล ม" แล ว เปลี่ยนเป็น "วัดอุณาโลม" โดยไมทราบเหตุผล และใน ตอนหลังสมัยพระครูเนกขัมมวิสุทธิคุณ เป็นเจาอาวาส ไดเปลี่ยนชื่อเป็น "วัดอุโลม" มาจนถึงปใจจุบัน ในสมั ย รัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ ไดเคยเสด็จมาประทับแรม บริ เ วณวั ด อุ โ ลม ในคราวเสด็ จ พระราชดํ า เนิ น ทาง ชลมารคไปยั ง จั ง หวั ด ลพบุ รี โดยผ า นเส น ทางคลอง บางพระครู และแมน้ําลพบุรี ถึง ๓ ครั้ง ครั้งที่หนึ่ง พ.ศ. ๒๔๑๕ ครั้ ง ที่ ส อง พ.ศ.๒๔๒๑ ครั้ ง ที่ ส าม พ.ศ.๒๔๒๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๔๓
กายดั้งติ่ธฏาธ ในสมั ย ก อ นปี พ .ศ.๒๕๐๐ ผู ค นส ว นใหญ มักจะนิยมปลูกบานเรือนใกลกับสายน้ําเพราะสามารถ ใช แม น้ํา ลํ าคลองเป็ นที่ สัญ จรหลัก ตํา บลมหาราชก็ เช น กั น เป็ น เพราะมี ส ายน้ํ า พาดผ า นถึ ง ๓ สายมา บรรจบกันคือ แมน้ําลพบุรี คลองหนองหมอและคลอง บางพระครูเป็นเหตุใหมีผูคนหลั่งไหลเขามาอยู พักพิง และเริ่มตั้งรกรากจนกระทั่งกอเกิดเป็นชุมชน และเป็น แหลงรวมการนําสินคามาแลกเปลี่ยนซื้อขายกันอยาง คับคั่ง มีประชาชนเชื้อสายตางๆ เขามาคาขาย ทํามา หากิน เชน ชาวมอญจากเมืองปทุมไดมาขายหมอดิน ชาวจีนมาอยูแพขายของโชวแหวย และอื่น ๆ เชนกาแฟ ขาวแกง กเวยเตี๋ยว ชาวมุสลิมมีการติดตอคาขายทั่วไป โดยจะใช เ สน ทางคลองบางพระครูเ ป็ น หลั ก เมื่ อ มา คาขายและเห็นชองทางในการสรางเนื้อสรางตัวก็เริ่ม สรางแพ สรางบานเรือนอยูอาศัยเป็นการถาวร สภาพ คลองในอดีต กวาง ๕๐ เมตร ลึกประมาณ ๖ เมตร ซึ่ง มากกวาปใจจุบันมาก กระแสน้ํา จะแรงและมากในฤดู น้ําหลากน้ํามาก ในฤดูแลงน้ําแหง ตลอดคลองจะไมมี สะพาน ไมมีประตูระบายน้ํา แตมีคลองซอย เชน คลอง ตามาก คลองตาปุู ย คลองขี้ ( อาจม) คลองเทพโยธา คลองควาย ริม ๒ ฝใ่งคลองมีการใชประโยชนแปลูกผัก สวนครัว มีตนไมใหญ น้ําทวมทุกปี ตนขาวสูง ๔.๙๐ เมตร เคยน้ําทวมติดตอกันถึง ๑๐ ปี ในแมน้ํามีแพทั้ง ๒ ฝใ่ง บริเวณกลางแมน้ําเรือใหญแลนผานได ตอมา แมน้ําลพบุรีหลัง จากปี ๒๕๐๐ เขตหนาวัดอุโลม เขา เรียกกันวา เกาะมอญสาเหตุที่เรียกวาเกาะมอญเป็น เพราะชาวมอญมั ก นิ ย มนํ า เรื อ สิ น ค า มาจอดขายอยู บริเวณนั้นผูคนจึงเรียกติดปากตอมาและเรียกมาจนทุก วันนี้ เหนือวัดโบสถแขึ้น ไปเรีย กวาบา นไทย สวนบา น มหาราช จะอยูบริเวณใตศาลเจาตาเจายาย หรือ หมู ๑ และหมู ๒ ของ ต.มหาราช ในปใจจุบัน
กายบฤูกสย้างน้าธเยือธ การ ตั้ ง บ า นเรื อน นั้ น จะ มี ๒ ก ลุ ม คื อ กลุมอาศัยอยูในแพมีอาชีพคาขายเป็นหลัก สวนใหญ คนที่มาขายของในแพจะไมใช คนในพื้นที่จะเป็นคนที่ อื่นมาหากินที่ นี่ และกลุมบ านที่ อยูบ นบกนั้นเป็นคน ๔๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
สวนนอยที่เป็ นคนพื้นที่ดั้ง เดิมที่มีอาชีพทํานาแตก็จะ พายเรือขายของในคลองกันเป็นสวนมาก เชนขาวเมา ทอด กลวยแขก ขาวโพดคั่ว น้ํามันบัว (กก.ละ ๙ สลึง) มะพราว (ขายลูกละ ๖ สลึง) น้ําตาลปี๊บ ถุงขนมใชเป็น ถุงกระดาษพับ หรือ ทําใบตองเป็นกระทงใสขนมและ จักสานเครื่อ งใช -เครื่องมือ ตา งๆเป็ นงานอดิเรก เช น จักสาน สุม เสื่อ กําแผง ลอบ เสื่อรําแพน ฯลฯ องคแประกอบบานลักษณะโดยทั่วไปของคน อยูบนบก ถาเป็นคนมีฐานะก็มักจะนิยมปลูกบานทรง ไทย หรื อ ทรงปใ้ น หยา หน า ต า งกํ า แพงเป็ น ฝาเฟี้ ย ม มีนอกชานไวใชสอยประโยชนแอื่นๆ ทําไตถุนสูงปูดวยไม จริง และหลังคามักจะมุงสังกะสี สวนคนที่ยากจนก็จะ ปลูกบานดวยไมไผมุงดวยจาก พื้นไมกระดาน นอกชาน พื้นไผผาซีก (ขี้ฟาก) พื้นครัวไมไผขี้ฟาก ตอมอใชซอไม ไผแกค้ํายัน ผนังขัดแตะ เสื่อรําแพน หนาตางกําแผงมี ไมค้ําแผง บานทุกบานจะปลูกใหใตถุนสูงสวนใหญแลว จะสู ง ประมาณ ๒ เมตร เพราะจะมี น้ํ า ท ว มทุ ก ปี บริเวณบานก็จะมีพื้นที่สําหรับทํายุงขาว หรือกระพอม (ไมไผสานยาดวยขี้ควาย) สําหรับเก็บขาวไวกินและใช ทําพันธุแปลูกในฤดูทํานาตอไป และจะมีคอกควายอยู บนโคกถมสูงเพื่อหนีน้ํา ใชไมไผลอมสี่ดานประตูเปิดปิด ใช ไ ม ไ ผ เ ลื่ อ น สระด ว ยหนามไผ กั น ขโมย-กระสื อ นอกจากนั้นยัง มีลานนวดขาวพรอมทั้ง สีฝใด และกอง ฟาง และเนื่ อ งจากเป็ น พื้ น ที่ ลุ ม บ า นทุ ก บ า นจะมี สะพานท า น้ํ า และทุ ก บ า นจะมี เ รื อ จอดไว เช น เรื อ แตะ โปง พะม า หมู สั ม ปใ้ น บด กระแชง ขุ ด มาด เพียว, ๒ ตอน , หางยาว) การมีสะพานทาน้ําไวใช ใน การอาบน้ํา ใชตักน้ํา ไปใชบนบา น ใชลางจาน ซักผ า ใสบาตรพระตอนเชา หรือลงมาคุยกัน ผูที่อยูแพลอย น้ํา คนมีฐานะจะอยูแพที่เป็นโปฺะทําดวยไมสัก ใชลูกปะ สักแทนตะปู แลวใชชันยา เพื่อไมใหน้ําเขาได ทําใหแพ สามารถลอยน้ําอยูได สวนผูที่ยากจนจะอยูแพไมไผ ทํา ลูกบวบแลวใชผิวไมไผมามัดหรือเรียกวา "ขันชะเนาะ" ทําลูกบวบใหแพลอยน้ําสวนพื้นแพจะปูดวยไมไผผาสี่ หลังคามุงจาก
ร่างแผนที่การตั้งบ้านเรือนริมน้่า ต่าบลมหาราช ในอดีต I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๔๕
ชีวิดควาภเบ็ธอมู่ ชี วิ ต ของคนในชุ ม ชนจะเริ่ ม ต น เช า วั น ใหม ตั้งแต ตี ๔ ก็จะลุ กจากที่นอนมาทํา กิจวัต รประจําวั น ของแตละครอบครัว แมบานก็จะตื่นมาคอยหุงขาวหา กับขาวกับปลาเตรียมไว สวนพอบานก็จะตระเตรียม ควาย อุปกรณแทํานาและอุปกรณแหาปลาเพื่อมากินใน บาน จากนั้นจึงคอยออกไปทํางาน เครื่ องมือหาปลาที่ ทํากันเองนั้นมีอยูหลายประเภท โดยใชวัสดุในทองถิ่น เชนไมไผ สวนมากจะเป็นไผสีสุกชาวบานปลูกไวเพื่อใช ประโยชนแไดสารพัดและใชภูมิปใญญาของตนเองในการ ประดิษฐแเพื่อใหเหมาะสมกับชนิดสัตวแน้ํา เชน เบ็ดราว แห ลอบ อวน ตุม ยอ ชะนาง อีจู รัน พายช อน ฉมวก ขาย โพงพาง สระโอ (กรี ดปลาหลด) สุ ม สอม (แทง ปลาไหล) เบ็ดตกปลา งาแซง ในสมัยกอนนั้น หนอง หมอเป็นหนองที่มีปลาชุกชุมมาก มีนายอากรประมูล หนองตาง ๆ ในเขตอําเภอมหาราช มีหนองหมอและ ลูกหนองตาง ๆ เชน หนองโคกทอง หนองกุง หนอง สาหราย หนองโรง หนองกระจับ หนองลาด หนองลาด ทา หนองลาดมนตแ หนองขี้นก หนองขี้คราน หนองคา หนองหนาวัว หนองบางขายหมู หนองหลวง หนองเมฆ โดยเปิดใหประมูลเป็นเวลา ๓ ปี ราคา ๓ แสนบาท พืชผักมาจาก ปลูกผัก -หาปลาเอง จะจัดซื้อ จากทองถิ่นอื่นไมมากจะปลูกผักนานาชนิดกันแทบจะ ทุ ก หลั ง คาเรื อ น พื ช ที่ ป ลู ก ได แ ก ถั่ ว แขก ถั่ ว ดํ า งา ถั่วแระ บวบ แตงไทย แตงโม แตงกวา ปอ ฯลฯ ซึ่งจะ ใชแรงงานคนตัก น้ํารดทุกช วงเช าหรื อเย็น ในระยะ ประมาณปีพ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๕ เริ่มมีการใชเครื่องดูด น้ํ า เนื่ อ งจากเริ่ ม มี ก ารทํ า ข า วโพด (นายประเสริ ฐ พวงผจง นาจะเป็นรายแรกผูนําเริ่มปลูกในพื้นที่) ซึ่ง เป็น พืช ตองการน้ํา มากประเภทเครื่ องยุ คแรกนั้ นคื อ เครื่องยนตแเบนซิน Visconsin ภาชนะก็ใชทะนานตวง ขาวสาร จานสังกะสีเคลือบ/กระเบื้องเคลือบ เปิบขาว ด ว ยมื อ ใช ก ะลาตั ก น้ํ า ดื่ ม ถ า จะชํ า ระร า งกายจะ อาบน้ําในคลอง และตักน้ําใสโองนํามาใชในหองสวม เรียกสวมหลุม บางก็เรียกฐาน หรือ เว็จ) หลังจากเสร็จ กิ จ ธุ ร ะแล ว ช ว งค่ํ า บ า นไกล เ รื อ นเคี ย งก็ ม ารวมกลุ ม สนทนา ใครมีวิทยุก็นําวิทยุฟใง หรือบานใครมีโทรทัศนแ ก็ ไ ปรวมกลุ ม ดู กั น ระบบส อ งสว า งในยุ ค นั้ น จะใช ๔๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ตะเกียง เชน กระปอง รั้ว ลาน เจาพายุ ตอมาเริ่ม มี โรงปใ่นไฟฟูาที่ทายวัดปากคลองก็เริ่มไดไชไฟฟูากันแตก็ จะมีใชเป็นชวงเวลาเทานั้น บานไหนที่มีการคลอดลูกก็ จะเรี ย กหมอตํ า แยที่ อ ยู ใ นชุ ม ชน ซึ่ ง มี อ ยู ป ระมาณ ๓ คน คือ ยายฉิม ,ยายชอย, ยายไล บานใดมีงานบวช ก็จะเริ่มจากวันเตรียมงาน (ขนของมาบาน), วันสุกดิบ (เตรี ย มทํ าของ แช ถั่ว กวนถั่ ว ทํ าขนมหวาน เตรีย ม ปอกมะพราว ตําพริกแกง รวนหมู (สําหรับแกงในงาน) วันงานเริ่มจากทําขวัญ นาค ที่บาน แลวแหนาคไปวัด ตอนเชา ทางเรื อ เวีย นรอบโบสถแ เข าโบสถแ กลั บมา ฉลองพระที่บ าน ระหว างบวชเป็นพระจะตอ งมารั บ บาตรที่บานโยมพอ แม ตลอดพรรษา ระยะเวลาในการ บวชลูกหลานจะไมต่ํากวา ๑ พรรษา เนื่องดวยตองการ ใหบุตรหลานไดร่ําเรียนศึกษาธรรมะหาความรูไ ปดวย เมื่อเจ็บปุวยมักจะรักษาโดยแพทยแแผนไทย เชน ตาริด ตาหยวน และรั ก ษาแพทยแ ปใ จ จุ บั น ควบคู ด ว ยคื อ หมอสาย (ประจําสุขศาลา) , หมอเดชา (บานกะทุม) ถามีคนตายจะเก็บศพเอาไวกอน พอถึงเดือน ๔-๕ ชวง ที่ ว า งจากการทํ า นา ก็ จ ะนํ า ศพมาทํ า ฌาปนกิ จ แตสมัยนี้ตายแลวสวด ๓-๗ วัน ก็ทําพิธีเผา การเผาศพ จะวางเผาบนเชิงตะกอน ลักษณะเป็นอิฐกอสูง ๒ ขาง ไมฟืนที่ไดจากการเรี่ยไร (สัปเหรอจะออกเรี่ยไรเมื่อรูวา มีคนตาย หรือผู ที่ไ ปเผาศพจะแบกฟืนไปคนละทอ น เพื่ อ บริ จ าคเป็ น เชื้ อ ไฟในวั น เผาศพ)จะวางเป็ น ฐาน ดานลาง วางทับดวยโลงศพ แลวจึงจุดไฟเผา บางก็ทํา พิธีปใ กธงบนหลั ง คาเชิ ง ตะกอนกอ นทํ าพิธี เผา ผู ที่ม า รวมงานจะกวางเอาธง แลวเก็บไปไถกับทางเจาภาพ รางของศพจะคว่ําหนากอนเผา สัปเหรอยุคนั้นไดแก ตาสุข เกตุถาวร มี ชื่อเสี ยงมาก เพราะเป็นผู มีความ รับผิดชอบสูง เมื่อมีคนตาย ไปบอกใหมาทําศพ ขณะที่ ตนเองไถนาอยู ก็จะทิ้ง คั นไถทันที เมื่อสิ้น ตาสุขแล ว ตอมานายสมัย ชีอยู ทําหนาที่แทน สถานที่ตอโลงศพ จะมีศ าลาอยู ทา ยบ า น เมื่อ มี คนตายพวกผู ชายก็ จ ะ ชวยกันตอโลงให ในสถานที่เดียวกันนี้เคยมีเรื่องเลาวา มีผีดุชอบดึง เรือผูที่พายผานไปมา ชาวบานจึง ตองให หมอผีชื่อตาศรมาชวยปราบ
เมื่อถึงฤดูน้่าหลาก น้่าก็จะท่วมบริเวณทุ่งมหาราช กลายเป็นผืนน้่ากว้างใหญ่ ที่ชาวบ้านเรียกว่า "ทะเลมหาราช"
อาชีฝเกษดยกยยภ "ถําธา" ใธถุ่งภหายาช สมัยกอนใชควายไถนา ซึ่งมักจะเลี้ยงไวเพื่อ ใชงานเพื่อทํานากันเกือบทุกบาน ประเภทนาจะเป็นนา ปี หวานไถกลบ ทําในชวงวันแรกนาขวัญเป็นตนไปของ ทุกปี พันธุแขาวที่นิยมในอดีตเชน จําปาจีน สายบัว นาง ปทุม ปิ่นแกว (นาลุม) ขาวปทุม พญานอนทุง (บางก็ เรียกขาวตกเตียงเพราะแกชา) หอมปทุม เป็นขาวหนี น้ําตนขาวสูง ๔.๙๐ เมตร เมื่อขาวเริ่มตั้งทองก็จะมีพิธี รั บ ขวั ญ ข า ว โดยการนํ า ผลไม หมากพลู ใส ช ะลอม เอาธงปใ ก บนชะลอม ผู ก กั บ ไม แ ขวนไว แล ว เอาหวี กระจก แปูง (นําแปูงโดยที่ตนขาว เอากระจกสอง หวีที่ ตนขาว) มีคําพูดเป็นกลอน หรือพูดแตสิ่งดี ๆ โดยสวน ใหญ ใ ห ผู ห ญิ ง เป็ น คน ทํ า เมื่ อ ถึ ง ช ว ง เก็ บ เกี่ ย ว จะเกี่ยวดวยเคียวใชวิธีลงแขก เอาแรงกัน ผลผลิตที่ได จะหาบลงเรือ บรรทุกกลับมาเก็บไวที่ลานขาว เพื่อรอ นวดต อ ไป ซึ่ ง จะใช ค วายหลาย ๆ ตั ว (๒-๔ ตั ว ) ผูกเรียงกันแลวไลใหเดินย่ําบนกองฟอนขาวที่เรียงไว เป็นวงกลม เดินวนไปในทิศทางเดียว เป็นเวลานานจน เห็นวาขาวรวงจากรวงแลวจึงหยุด คัดเอาฟางออกดวย คันฉาย แลวจึงมาฝใดดวยสีฝใด
ควาภมิ่งใหญ่ของดฤาณธ้ําหธองหภ้อใธถุ่ง ถะเฤภหายาช ตลาดหนองหม อ อยู ห า งจากวั ด หน า วั ว ประมาณ ๒๐๐-๓๐๐ เมตร ตลาดจะเริ่ ม เปิ ด ขาย ในชวงน้ําลด ชาวบาน พอคา แมคาที่อยูในอาณาเขต ใกล เ คี ย ง เช น ตลาดปากคลองช าง ตลาดมหาราช และตําบลใกลเคียง จะเริ่มขนของมายัง บริเวณที่เคย คาขายเมื่ อปีก อน ปลูก รานขายของและที่ พักด วยไม ลูกบวบ เป็นตลาดหลังคามุงจาก สองแถว เวนที่วางให ผูซื้อเดินตรงกลาง ตั้งเรียงรายอยูสองริมฝใ่งน้ํา มีความ ยาวประมาณ ๑๐๐ เมตร มีสะพานขามคลองเป็นไม กระดาน ๒ แผน วางไวอยางงาย ๆ สําหรับยกไดเมื่อมี เรื อ ผ า นเข า -ออก ตลาดมี ข นาดใหญ มี สิ น ค า หลากหลายชนิด เชน รานทําทอง ขายทอง รานขาย จักรยาน ซอมจักรยาน รานรับตัดเสื้อผา รานขายยา ร า น ตี เ ห ล็ ก ร า น ย อ ม ผ า ร า น ข า ย เ สื้ อ ผ า เครื่องปใ้นดินเผา เชน หมอ ครก โอง อาง กระถาง ราน ขายเกลือ รานขายจาก รานขายขนม และอาหารเชน กเวยเตี๋ยวผัด กเวยเตี๋ยวน้ํา ขนมถวยฟู ปลาแนมเป็น ขนมที่ ขึ้ น ชื่ อ ว า มี ร สชาติ อ ร อ ยมาก มี โ รงงิ้ ว โรงฝิ่ น และโรงน้ําปลาขนาดใหญ (ของนายฮั้ว) ตั้งอยูริมคลอง I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๔๗
คลองบางพระครู
หนองหม อ ส ว นปลามี ว างขายไม ม าก เนื่ อ งจาก ชาวบานสามารถหากินกันไดทั่วไป เพราะมีชุกชุมมาก เพี ย งแค มื อ เปล า ก็ ส ามารถจั บ ปลาได อ ย า งง า ยดาย ในเพลาเช า จะเนื อ งแน น ไปด ว ยผู ค น พ อ ค า แม ค า บริเวณโขดสูงจะขายขนมสอดไส ขนมตาล ขนมถวย ขนมถ ว ยฟู ขนมไข เ หี้ ย ผั ก สด ผลไม ต ามฤดู ก าล และของใชในชีวิตประจําวัน พอคาแมคาจากที่อื่น ๆ ก็มีมากมาย ตางก็หาบของมาขายเชนพอคาแมคาจาก บางนา บางมอญ บ านขวาง ทา ตอ ซึ่ ง ออกเดิน ทาง แต เ ช า ตรู โดยมี ช าวบ า นหลวง โคกโพธิ์ ดอนทอง บานเจ าปลุก บา นโรงช าง บ านน้ํ าเตา บา นกระชอ ง บา นไทย บ านพิ ตเพีย น ตา งก็ เ ดิน ทางมาซื้อ สิน ค า และนําสินคามาจําหนาย จนกระทั่งชวงสายประมาณ ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น. ตลาดเริ่มกลับ สูความเงีย บเหงา อี ก ครั้ ง พ อ ค า แม ค า ชาว บ า น เริ่ มทยอ ยก ลั บ และเตรียมตัวนําสินคามาขายในวันตอไป ระยะเวลา การขายเป็นชวงหนาแลง ประมาณ ๓-๔ เดือนเทานั้น เพราะตลาดตั้ง อยูบ ริเวณราบลุม เมื่อ ถึง ฤดูน้ํ าหลาก น้ําก็จะทวมบริเวณพื้นที่ของตลาดกลายเป็นผืนน้ํากวาง ใหญ ที่ชาวบานเรียกวา "ทะเลมหาราช" แตเมื่อถึงฤดู น้ําหลากแพตางก็จะลองมาอยูบริเวณคลองบางพระครู เพื่อหลีกเลี่ยงกระแสน้ําที่แรงในฤดูน้ําหลาก
กายคภธาคภ
บน: เรือมังกรทวี ๒ ล่าง: เรือเมล์แดง พ.ศ.๒๕๐๔ ภาพโดย คุณทองค่า เทศทวี (ผดุงธรรม) ๔๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
มีก ารเดิน เรื อ โดยใชแ มน้ํ า ลพบุรี วิ่ง ตั้ง แต ลพบุรี มหาราช พระนครศรีอยุธยา ทาเตียน กรุงเทพฯ ใช เ วลาเดิ น ทางเป็ น วั น มี ท า เรื อ ใหญ อ ยู ที่ ห น า ศาล เจาตา เจายาย และที่หนาบานของแตละบาน ถาจะขึ้น เรือในตอนกลางวันใชโบกมือเรียก ถาเป็นเวลากลางคืน หรือเชามืด จะใชตะเกียง ใสตะกราคอยโบกเรียกเรือ แตถา จะไปคลองหนองหมอต องโดยสารเรือจ างจาก บริเวณแพศาลเจ ามหาราช แจวเขาคลองหนองหม อ ผ า นหลั ง วั ด อุ โ ลมก็ ม าถึ ง ตลาดหนองหม อ ได ส ะดวก ในสมัย กอนบรรดาเรื อต าง ๆ เช น เรือ มาด เรือ แจว เรือกระแชง แจวเขาออกเป็นประจํา เพื่อนําสินคาเขา มาขาย เชนน้ําตาล มะพราว ซึ่งชาวบานจะแจวเรือไป ซื้ อ ที่ บ า นบางช า งแล ว นํ า มาขายที่ ต ลาดหนองหม อ
เรือที่เป็นเรือโดยสารจะเป็น เรือแดงรับผูโ ดยสารจาก มหาราช ไปกลับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เรือ โดยสารมีหลายขนาด เชน เรือ แดงเรื อ แดงรั บ ผู โ ดยสารจากมหาราช ไป -กลั บ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เรือที่มีขนาดใหญ เชน เรือมังกรทวี ๑ ขนาด ยาว ๘ วา กวาง ๔.๕ เมตร เป็นเรือสูง ๑ ชั้น ครึ่ง และเรือมังกรทวี ๒ ยาว ๑๑ วา ๒ ศอก กวาง ๕ เมตร ตอเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ เจาของชื่อนางทองคํ า เทศทวี ตอเองจากจังหวัดนครสวรรคแ กระดูกงูเรือใชไม ตะเคียน แผนเดียวยาวจรดหัวเรือถึงทายเรือ เป็นเรือ ๒ ชั้น มีหองเครื่อง และมีรานอาหารในเรือ เป็นเรือที่ ใช บ รรทุ ก ของมาขาย หรื อ มาส ง ตามแพที่ จ อดอยู จุผูโดยสารประมาณ ๕๐๐ คน สวนใหญ วิ่งผาน บาน แพรก ปากคลองช า ง มหาราช ตาลเอน นครหลวง อยุธ ยา บางปะอิน บ านกระแชง สามโคก ปทุม ธานี กรุ ง เทพ ท า เตี ย น และมั ก จะใช บ รรทุ ก น้ํ า มั น ถั ง ละ ๒๐๐ ลิตร ประมาณ ๒๐ ถัง นํามาขายที่ตลาดในราคา ถั ง ละ ๑,๒๐๐ บาท ช ว งฤดู แ ล ง เรื อ จะจอดอยู ที่ กระดานปูาย (หรือบานตาลเอน) ผูโดยสารจะไปขึ้นเรือ ตองใชเรือพายไปขึ้นที่กระดานปูาย เรือขนสงสินคาจะเป็นเรือกระแชง หรือเรียก อี ก อย า งว า เรื อ ประทุ น ค า ขายส ง ข า วโพด ข า ว เรื อ ประทุ น ขนาดเล็ ก จะขายน้ํ า ตาล ข า วสาร เสื่ อ ลําแพน แตงกวา แตงโม ผักดอง กลวยตาก ลองมาจาก ลพบุรี ผ านคลองบางพระครู ไปจนถึ ง อํา เภอท าเรื อ และเรือเครื่องเทศเป็นเรือของชาวอิสลาม จากอยุธยา มาขายสินคาหลายชนิดทั้งของกินและของใช เชน เปล, ปลาตะเพียนแขวน, ชฎา ฯลฯ การขนสงทางบกนั้น สวนใหญทางเดินบนบกจะเป็นทางควาย ทางคนเดิน เป็นปุาแตก็จะมีจะมี รถสิบลอขนขาวจากแหลง ตาง ๆ เช น บ า นแพรก ลพบุ รี ดอนทอง ไผ ห ลิ่ ว มาพั ก ไว บริเวณตนคลองบางพระครูบริเวณหลังวัดอุโลมเคยเป็น ทาขาวแหลง ใหญ เพื่อรอทยอยส งตอไปโรงสี อยุธยา โดยทางเรือผานคลองบางพระครู ตลอดสองฝใ่ง คลอง เรือแลนผานกลางคลองได
ควาภเชื่อ วัฑธทยยภแฤะบยะเฝฒี วัดที่เป็นที่พึ่งทางใจของคนในชุมชนนั้นมีอยู ๕ วั ด ด ว ยกั น คื อ วั ด วั ง วั ด อุ โ ลม วั ด โบสถแ วั ด ตาล และวัดไชย ในอดีตการสรางวัดนั้นตามความเชื่อทาง พระพุทธศาสนานั้นจะไดบุญมาก ทําใหคนที่มีฐานะนั้น มั ก จะสร า งวั ด เพื่ อ สร า งบุ ญ บารมี รวมทั้ ง การสร า ง วั ด เพื่ อ เป็ น อนุ ส รณแ ส ถานแห ง ชั ย ชนะ เช น วั ด ชั ย เป็ น ต น วั ด จะเป็ น ศู น ยแ ก ลางของคนในชุ ม ชนเช น สถานที่ประชุมของสวนราชการตางๆ เป็นทั้งสถานที่ เรียน การจัดงานบุญตามประเพณีที่มี เชน การทําบุญ ตรุ ษ สงกรานตแ เดื อ น ๕ ,ทํ า บุ ญ กวนข า วทิ พ ยแ ที่ วั ด กลางเดือน ๖ แรม ๑ ค่ํา ,ทําบุญ เขาพรรษาเดือน ๘, ทําบุญวันสารทไทย เดือน ๑๐ ทําบุญออกพรรษาเดือน ๑๑ เป็นตน การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของคนชุมชนนั้น ไมไดมีเพียงแคทางศาสนาอยางเดียวเทานั้นแตจะมีการ เคารพผีเจาพอ เจาแมและผีบรรพบุรุษ จากความเชื่อ นั้นทําใหเกิดศาลเจาตาง ๆ มากมาย เชนศาลเจาตาเจา ยาย ศาลเจ า แม ร ม ไทร เจ า พ อ หนวดแดง เจ า พ อ พระราม พอขุนชาง เจาพอเดชา ฯลฯ
กายศึกษาของคธภหายาชใธอณีด สถานที่ศึกษานั้นจะอยูที่ศาลาวัด มีพระเป็น ผูสอน ตอมามีการสรางโรงเรียนขึ้นใชแทนศาลาวัดแต ก็ยังคงอยูในบริเวณวัด การไปโรงเรียนตองอาศัยการ พายเรือและมักจะสง บุตรหลานเขาเรียนอายุ ๗ ขวบ การแตง กายของนักเรียนจะไมมีเครื่องแบบเหมือนใน ปใจจุบันแตมักจะนิยมใหนักเรียนหญิงนุงผาถุง เสื้อคอ กระเช า นั ก เรี ย นชายกางเกงหู รู ด เสื้ อ คอกลมขาว (เสื้ อ กุ ย เฮง) ไม มี ร องเท า ใส มี ก ารเรี ย นตั้ ง แต ชั้ น ป.๑-ป.๔ และขยายจนถึ ง ป.๗ ข า วจะใส ปิ่ น โต หรือ หม ออวยไปเอง เวลาครู สอนจะจดบั นทึ กลงบน กระดานชนวนดิ น สอหิ น ระยะ ๒๐ ปี ต อ มาเริ่ ม มี เครื่องแบบ นักเรียนหญิงใสเสื้อขาวคอบัว กระโปรงสี กรมทา จีบรอบตัว นักเรียนชายเสื้อขาวคอเชิ้ต กางเกง ขาสั้นสีกากี มีครูมาสอนแทนพระ การลงโทษนักเรียน ในสมัยนั้นจะใหอมบอระเพ็ดขนาดเทาองคุลี พรอมให ท อ งบทกลอนว า "บอเอเ ย บอระเพ็ ด หวานสะเด็ ด น้ํ า ตาลทราย" พร อ มทํ า โทษด ว ยการไปเช็ ด ขี้ ห มา I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๔๙
เมื่อโรงเรียนเลิกกลับไปบานใหอานหนังสือชวงค่ํากอน เขานอน ขณะอานหนังสือใหอานดัง ๆ พระอาจารยแจะ คอยพายเรือมาฟใงตามบาน หากไมไดยิน ยามเชาไป เรียนหนังสือจะถูกทําโทษ สมัยกอนเมื่อจบ ป.๔ แลว ไปเรี ย นต อ อี ก ๓ ปี ก็ จ ะรั บ ได วุ ฒิ ปบ. หรื อ ครู ประชาบาล จบ ม.๓ ไปเรี ย นต อ ครู ว. หรื อ ครู ประกาศนียบัตรจังหวัดตองเรียน ๒ ปี ถาจบ ม.๘ ก็ เที ย บเท า ปริ ญ ญาตรี ใ นสมั ย นี้ เครื่ อ งแบบครู ประชาบาลสี เ ขี ย วขี้ ม า มี ขี ด ที่ ไ หล เงิ น เดื อ น ๆ ละ ๑๐ บาท ใส อ ยู ป ระมาณ ๕ ปี จึ ง ยกฐานะเป็ น ข า ราชการครู เ ป็ น ชุ ด สี ก ากี และ/หรื อ สี ก รมท า ไดรับเงินเดือน ๓๐ บาท ลูกหลานที่เป็นผูมีฐานะจะ ถูก ส ง ไปเรี ย นในตัว เมื อ ง โดยนั่ ง เรือ โดยสาร ไปเข า โรงเรียนประจําในตัวเมือง ครบ ๓ เดือน จึงจะอนุญาต ใหกลับไดหนึ่งครั้ง
กายเบฤี่มธแบฤงจากมุคเพื่องพู สู่มุคตณตอม เนื่ อ งด ว ยพื้ น ที่ ตํ า บลมหาราชนั้ น เป็ น ที่ ลุ ม ยอมเกิดปใญหาน้ําทวมอยางหนักจนกระทั่งขาวในนา เสี ย หายต อ เนื่ อ ง ๑๐ ปี ระบบเศรษฐกิ จ ในชุ ม ชน มหาราชตกต่ํ าอย างมาก ทํา ใหมี การระบาดของการ พนันเป็นอยางหนัก โดยเฉพาะหวยใตดิน มีเรื่องเลาวา ขนาดนับเงินที่ซื้อหวยชวยกันนับตั้งแตหัวค่ําจนถึงเที่ยง คื น ก็ ไ ม ห มด เนื่ อ งด ว ยมี ข าประจํ า ต า ง ๆ มากมาย หวยที่มหาราชมีชื่อเสียงมาก ดังไปถึงอําเภอบานแพรก เมื่อถึงเวลาเก็บเงินตองใชเรือปรื๋อ วิ่งลัดทุง ไปเก็บเงิน มาสง เจามื อ ประกอบกับเมื่ อยุคสมัยเปลี่ยนไปเริ่ม มี
ความเจริ ญ มากขึ้ น จึ ง มี ก ารสร า งมี ก ารสร า งถนน (สาย ๓๔๗) ในปี พ.ศ.๒๕๐๘ จาก จัง หวัดลพบุรีมา สิ้นสุดที่ หมูที่ ๓ ตําบลมหาราช ริมฝใ่งคลองบางพระครู และ สร า งจากอํ า เภอบางปะหั น มาสิ้ น สุ ด ที่ หมู ที่ ๑ ตําบลมหาราช ริมคลองบางพระครู มีสะพานเชื่อมถึง กันระหวางคลองชุมชนคนอยูแพ ก็เริ่มยายขึ้นมาปลูก บานอยูบนบก เพราะการเดินทางทางบกสะดวกกวา ทางน้ํ า แต ก ารดํ า รงชี วิ ต ก็ ยั ง ใช น้ํ า และลํ า คลอง เหมือนเดิม แตเรือที่ใชการคมนาคมมีการเลี่ยนแปลงไป จากที่ใชเรือขนาดใหญก็เริ่มมีเรือหางยาว เรือสองตอน เรือดวนเจาพระยา เพราะวา มีสะพานทําใหเรือใหญ อยางเรือมังกรทวี, เรือแดง แลนไมได แลวตอมามีการ สร า งถนน ก็ มี ร ถวิ่ ง เข า มารั บ คนแทนเรื อ ทํ า ให ความสําคัญของแมน้ําลําคลองในปใจจุบันหมดไป ตอมา เริ่ม มีฝาย กั้ นน้ํา เพื่อ ประโยชนแทางดา นเกษตรกรรม บริ เวณถนนชลประทานปใ จ จุบั น วิ ถีข องน้ํ าก็ เ ปลี่ ย น สง ผลทําใหชาวเรือ ชาวแพ และประชาชนบริเวณริม คลองบางพระครูและริมแมน้ําลพบุรีมีวิถีชีวิตเปลี่ยนไป เกษตรกรเริ่มทํานาปรังหนักขึ้นพรอมทั้งใชสารเคมีมาก ขึ้นเป็นเทาตัวสงผลทําใหน้ําเสียเมื่อปลอยมาจากเขื่อน ทํ า ให ป ลาที่ เ คยมี ชุ ก ชุ ม เริ่ ม ลดน อ ยลง ประเพณี การละเลนเชนการเลนเพลงเรือก็หมดไป ความสัมพันธแ ของคนเริ่ ม เสื่ อ มถอยลง แม น้ํ า และลํ า คลองถู ก ใช ประโยชนแนอยลง เริ่มตื้นเขินและมีปใญหาตลิ่งพังอยา ง หนั ก จากการที่ มี เ ขื่ อ นมากั้ น น้ํ า และเมื่ อ ผู ค นใช ประโยชนแนอยลงยอมขาดการเอาใจใสสายน้ําที่เคยใช อยางที่ควรจะเป็นอยางแตกอน ๏
ปู้ให้ข้อภูฤ กํานันเพ็ญศรี ถาวรกูล, นางสาวกิมเฮี๊ยะ เกตุสมพงษแ , ครูวิเชียร-ครูฉวี ผดุงพจนแ, นางบุญเสริม ปานแปะ, นายละมูล-นางอารี วีระสัย, ยายละมูล เทียมเศวตร, นางทองแถม สุธีวร, ครูสุภา สุภาพักตรแ, นายประเสริฐ พวงผจง, นางสําเนียง ผดุงขวัญ, นายสมพงษแ สุภาพักตรแ, นายแผน ผดุงสุทธิ์, นายสมศักดิ์ บันลือสินธุแ, นางสาวมาลา ผดุงวัตร ครูสําอางคแ, ผูใหญสํารวย, ตาชื้น-ยายกองนายกมล วีระสัย,ผูใหญละมอม วีระสัย, ยายน้ําวน, นางวิเชียร ธาราภูมิ , นาย ประสิทธิ์ เทียมสีฟูา , นายสมพร จิตรสิขเรศ(จุก) นายละเอียด เกตุหิรัญ , นายแนม, นางนวลพรรณ อธิคมานนทแ , พระครูสุขุมโชติธรรม, หลวงตาหวัง (ทวี อภิวัฒโน), นางทองคํา เทศทวี, ครูบุญสืบ เทียมคชสาร
คฒะถํางาธ นายฌาณราเมศวรแ กลมกลอม, นางสาวนิราพร กรีถาวร, นางทวี ศรีกมล ,นางสาวสุพัตรา คุมพุม, นางไพรินทรแ สําเภาลอย นายอานันทแ วีระสัย, นาย วิศิษยแศักดิ์ หลวงหาญ, นางอุษา ทรงปใญญา, จรัญ ผดุงโภค ,นางสิริมา นิวาศานนทแ, นางสมศรี แซหุน นางสางนัยนา เฉลิมภักตรแ , นางชําเรือง ปรางรักยิ้ม , พ.อ.อ.ฤกษแ ทรัพยแสุริต , นางจําเรียง รักสุข , นางอุไรวรรณ โต฿ะมุข
๕๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ควาภถยงจําถี่...เกาะฤอม
นุญสภหญิง ฝฤเภืองณี*
เมื่อวันที่ ๘-๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมโครงการวิจัยประวัติศาสตร์ท้อ งถิ่น จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษศรีศักร วัลลิโภดม เป็นวิทยากรหลัก เป็นความทรงจาและความ ประทับใจครั้งหนึ่งในชีวิตของผู้เขียน ในวันแรกของการอบรมได้รับฟังถึงประวัติศาสตร์ท้องถิ่น “ชุมชนหัวรอ” จากวิทยากร ทาให้ผู้เขียนเริ่มสนใจในชุมชนนี้ เพราะเป็นชุ มชนที่ผู้เขียนรู้จักมาตั้งแต่เด็ก ได้สัมผัสถึงวิถีชีวิตของ คนในชุมชนรวมถึงคนที่เข้ามาจับจ่ายใช้สอย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันหัวรอมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย จาก ตลาดที่สาคัญของอยุธยา แปลงสภาพมาเป็นตลาดของชุมชนหนึ่งในอยุธยาเท่านั้น ตลาดที่เป็นศูนย์รวมของเรื อน แพ ก็เหลือเพียงภาพถ่าย พ่อค้าเรือนแพก็ขึ้นมาค้าขายบนบกตามการคมนาคมและสภาพการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป เดิมชุมชนหัวรอนั้น มีการกลาวถึงไวในอดีต โดยพระยาโบราณราชธานินทรแไดบรรยายไวในตํานานกรุงเกา ดังนี้ “ภายหลังเมื่อสรางกรุงแลว ขุดคูขื่อหนาแยกจากแมน้ําที่ เหนือปูอมเพชร เห็นสายน้ําจะพัดลงทางคูขื่อหนาแรง เกิดกลัวแมน้ําขางเมืองจะตื้น จึงทํารอทํานบกั้นไวที่ปากคูตรงหนาปูอมมหาไชย (คือที่ตลาดหัวรอเดี๋ยวนี้) เพื่อจะกันให น้ําไหลเขาไปทางขางเมืองใหแรง สําหรับจะไดกัดใหลําน้ําลึกอยูเสมอ”๑ สิ่งเหลานี้ทําใหผูเขียนสะทอนใจ อยากยอน เวลากลับไปเหมือนเดิม แตก็มิอาจทําได จึงไดแตเพียงจินตนาการตามที่วิทยากรบรรยายถึงสภาพความเป็นอยูจริง ณ ชวงเวลาดังกลาว * อาจารยแประจําคณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ๑ พระยาโบราณราชธานินนทรแ. (๒๔๗๙). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๓ เรื่องกรุงเก่า พิมพแในงานพระราชทานเพลิงศพ พระยาโบราณราชธานินทรแ (พร เดชะคุปตแ) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธแ ๒๔๗๙ พิมพแที่โรงพิมพแโสภณพิ พรรฒธนากร. I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๕๑
วันที่สองของการอบรม เป็นการลงภาคสนาม ผู เ ขี ย น ได นึ ก ในใจว า “ขอให ไ ด ไ ปเกาะลอย ” และสมใจนึก ผูเขียนอยูกลุมที่จะศึกษาชุมชนเกาะลอย จริงๆ สมาชิกจะมีดวยกัน ๕ คน นอกเหนือจากผูเขียน แล ว ยั ง ประกอบด ว ย ๑.นายโสฬส ปริ ยั ติ ฆ รพั น ธแ ๒.นายชาญณรงคแ พุ ม บ า นเช า ๓.นายวรรณพงษแ ปาละกะวงษแ ณ อยุ ธ ยา และ๔.นายศั ก รภพณแ ปริยัติฆรพันธแ ในชว งเช าวัน นั้นสมาชิก กลุม เกาะลอยและ กลุ ม อื่ น ๆ ได นั่ ง รถตุ฿ ก ตุ฿ ก จากสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา เดินทางไปที่ตลาดหัวรอ ไดรับฟใงเรื่องราวจากผูอาวุโส ที่ ถ า ยทอดเรื่ อ งราวของตลาดหั ว รอในอดี ต ได อ ย า ง นาสนใจ กอใหเกิดจินตนาการวาตลาดแหงนี้มีชีวิตชีวา ความเป็นอยูของผูคน มีกลุ มชาวจีนเป็นสว นใหญ สังเกตจากศาลเจาแมตนจัน จากนั้ น แต ล ะกลุ ม ก็ มุ ง สู จุ ด หมายที่ จ ะลง ปฏิบัติในแตละพื้นที่ สมาชิกกลุมเกาะลอยไดขามเรือ จ า ก ฝใ่ ง ต ล า ด หั ว ร อ ไ ป ที่ วั ด ม ณ ฑ ป พ ว ก เ ร า ลั ด เลาะ เมี ย งมอง แต ไ ม พ บพระภิ ก ษุ ใ นวั ด แห ง นี้ เป็นวัดที่สถาปใตยกรรมนาสนใจ พวกเราเดินทางไปทาง ทิ ศ ใต ข องเกาะพบซากปรั ก หั ก พั ง ที่ มี ร อ งรอยของ โ บ ร า ณ ส ถ า น ผู เ ขี ย น พ บ สิ่ ง ก อ ส ร า ง ค ล า ย หอระฆัง ซึ่งทราบจากพี่เลี้ยงกลุม (คุณพัฑรแ แตงพันธแ) วาคือ หอระฆังวัดสะพานเกลือ สิ่งที่ขัดตอสายตาของ ผู เ ขี ย นยิ่ ง นั ก เห็ น จะเป็ น เสาไฟฟู า ระโยงระยาง พ าดผ า น โบร าณส ถาน ที่ ผู เ ขี ย น รู สึ ก หว ง แห น กลายเป็ น สมบั ติ ข องชาติ ที่ ถู ก ละเลยไม เ ห็ น คุ ณ ค า ยิ่งกวานั้นยัง พบบานสมัยใหมที่รุกล้ําเข ามา อยางไม สนใจวาโบราณสถานจะหลั่งน้ําตา กอนที่จะไดพูดคุย กับชาวบานที่อยูบนเกาะ ผู เ ขี ย นหลงเพลิ น เดิ น ตาม ศาสตราจารย์ พิ เ ศษ ศรีศักร วัลลิโภดม จึงพบวาตัวเองมายืนอยูที่วิทยาลัย การตอเรือเสียแลว เขาเลาลือวามีตําหนักสะพานเกลือ ของกรมขุนมรุพงษแ ศิริพัฒนแ เคยเห็นภาพวาดลายเสน ที่อาจารย์ไพฑูรย์ ขาวมาลา ไดเ ขียนไว จากความ ทรงจําขณะที่เป็นครูสอนอยูที่วิทยาลัยการตอเรืออยาง สวยงามที่สถาบันอยุธยาศึกษา
๕๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
เมื่ อ ย อ นกลั บ มาทางเดิ ม พบสมาชิ ก กลุ ม พูด คุ ย กั บ คุ ณ ปู า คุณ ลุ ง ที่ อ าศั ย อยู บนเกาะ “คนบน เกาะ” ทุ ก คนมี อั ธ ยาศั ย ดี ม าก พร อ มจะถ า ยทอด เรื่ อ งราวเกาะลอยกว า ๑๐๐ ปี ภาคภู มิ ใ จที่ รั ช ก าลที่ ๕ เสด็ จ ปร ะทั บ ณ เก าะลอยแห ง นี้ สอดคลองกับเรื่องราวที่ พระยาโบราณราชธานินทร์ ไดเลาไวในตํานานกรุงเกา (๒๔๗๙ : ๑๕๒-๑๕๓) ค ว า ม ว า “ …ค รั้ น ถึ ง วั น ที่ ๒ ๘ พ ฤ ศ จิ ก า ย น พ ร ะ พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๔ ๕ ๐ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น แต กรุ งเทพพ ร ะมหาน ครขึ้ น ไปประ ทั บ พ ลั บ พ ลา ณ เกาะลอย วั น ที่ ๓๐ พฤศจิ ก ายน และวั น ที่ ๑ ที่ ๒ ธั น วาคม เวลาบ า ยเสด็ จ พระราชดํ า เนิ น โดย กระบวนพระราชอิสสริยยศ ทั้งทางชลมารคสถลมารค เขาไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลในพระที่นั่งสรรเพ็ชญแ ปราสาทแลว เสด็จพระราชดําเนินกลับมาประทั บแรม ที่พลับพลาเกาะลอย มีมหรสพโขน ๒ โรง หุน ๒ โรง ละคร ๒ โรง มอญรํ าโรง ๑ เทพทองโรง ๑ และมี ระเบงโมงครุม กุ ลาตีไ ม ไมลอย ญวนหก นอนหอก นอนดาบ ไตลวด กระอั้วแทงควายแทงวิไสย กับสรรพ กิฬา มีแขงระแทะ วิ่งวัวคน ชกมวย ขี่ชางไลมา ๓ วัน ค่ํ า มี ด อกไม ไ ฟทั้ ง ๓ คื น เมื่ อ เสร็ จ พระราชพิ ธี แ ล ว รุง ขึ้นเวลาบายเสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตรใน พระราชวังอีกเวลาหนึ่ง…” เมื่อไดสอบถามขอมูลทองถิ่นสมควรแกเวลา แล ว สมาชิ ก ต อ งแยกเดิ น วนรอบเกาะเป็ น สองทาง ผู เ ขี ย นพร อ มกลุ ม ย อ ยของเรามุ ง ตรงไปที่ วั ด แค สวนอีกกลุมมุงเดินทางไปที่วิทยาลั ยการตอเรือ เมื่อถึง วัดแคไดพบเด็กชายตัวนอยทําหนาที่แนะนําสิ่งสําคัญ ภายในวัดความเป็นมาตาง ๆ และยังเลาวามีเพื่อนคน อื่นทําหนาที่มัคคุเทศกแนอย เลาเรื่องประวัติของวัดแค ไดอยางนาฟใง ต อ จากนั้ น พวกเรามุ ง หน า เดิ น ไปชมโรงเจ ซึ่ ง เล า กั น ว า ชาวจี น มาไหว เ ทพเจ า ที่ โ รงเจนี้ ในช ว ง เทศกาล จากโรงเจมองเห็ นเกาะเล็ก ๆ ฝใ่ ง ตรงขา ม บานสีเขียวริมน้ํา เบื้องหลังแมกไมเลากันวามี หลวงพอ องคแใหญสีขาว ศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐานอยู ชาวบานเรียก กั น ว า วั ด ช่ อ ง ล ม ส ม า ชิ ก ต า ง ชื่ น ช ม ส า ย น้ํ า
และธรรมชาติแลวพวกเรายอนกลับมาที่วัดแคอีกครั้ ง ห นึ่ ง พ บ ส ม า ชิ ก ที่ แ ย ก กั น ไ ป ม า ร ว ม ตั ว กั น ที่ รานกเวยเตี๋ยวแสนอรอย เมื่ออิ่มหมีพีมันดีแลว สมาชิก กลุ ม เราก็ ข า มฝใ่ ง จากหน า วั ด มณฑปไปยั ง ท า หน า พระราชวังจันทรเกษม วัดมณฑปนี้พอของผูเขียนเคย เลาวาสมัยเด็กมาเรียนหนังสือที่โรงเรียนอยุธยานุสรณแ มาฝากตัวเป็นศิษยแพระผูใหญทรงสมณศักดิ์ ที่อุปการะ เลี้ยงดูเด็กจากชนบท ศิษยแวัดหลายคน รุนเดียวกับพอ ไดรับราชการเป็นครู การเดินทางครั้งนี้ นับเป็นครั้ง แรกของผู เขี ยนที่เ หยี ยบยา งและสัม ผัส ดิน แดนเกาะ ลอย ซึ่งกอนหนานี้เคยไดเฝูามองยามค่ําคืน จากตลาด โต รุ ง หน า พระราชวั ง จั น ทรเกษม เห็ น ไฟที่ ป ระดั บ ประดาวัดอยางงดงาม แตสภาพวัดปใจจุบันของวัดเทาที่ เห็นยามกลางวันคอนขางทรุดโทรม เงียบเหงา ต้อ งขอขอบคุณสถาบันอยุธยาศึ กษาที่ใ ห้ ประสบการณ์ใหม่ ความรู้สึกต่อการอนุรักษ์วิถีชีวิต ดั้งเดิมของผู้คนให้เห็นค่าของอดีตที่จะเป็นบทเรียน ต่ อ ไป ประการส าคั ญ ผู้ เ ขี ย นขอให้ ต ระหนั ก ถึ ง สิ่ง แวดล้อ มบนเกาะที่ ทาให้ เ กาะไม่ น่า ดู การไม่ มี ระบบกาจัดขยะอย่างถูกวิธี เกาะลอยแห่งนี้หากมี สภาพดี มี ต้น ไม้ ใ หญ่ ที่ยั งรั กษาไว้ได้ เกาะลอยจะ สามารถพั ฒ นาเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วิ ถี ชุ ม ชน เล่าเรื่องราวในอดีตได้เป็นอย่างดี เป็นสถานที่หนึ่งที่ ผู้คนมีเสน่ห์ ยิ้มแย้ม น่ารัก ย่อ มทาให้หวนระลึกถึง ความทรงจาที่...เกาะลอย เช่นเดียวกับผู้เขียนที่แรก ได้มาเยือนถิ่นเกาะลอยเป็นครั้งแรก ไม่อ ยากเชื่อว่า ยังมีสถานที่เช่นนี้ในกรุงเก่าของเรา ๏
นยยฒาธุกยภ พระยาโบราณราชธานินทรแ . (๒๔๗๙). ประชุม พงศาวดาร ภาคที่ ๖๓ เรื่องกรุงเก่า พิมพแในงานพระราชทานเพลิงศพพระยา โบราณราชธานินนทรแ (พร เดชะคุปตแ ) ณ เมรุวัดเทพศิริน ทราวาส เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธแ ๒๔๗๙ พิมพแที่โรงพิมพแ โสภณพิพรรฒธนากร.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๕๓
คฤองภหาธาค:
คฤองบยะวัดิศาสดย์ถี่ตกู ฤืภ
วัธฤีม์ กยะจ่างวี*
หากกล่าวถึง “คลองมหานาค” หลายคนคงนึกถึงคลองมหานาคที่กรุงเทพมหานคร แต่จะมีสักกี่คนที่จะ ทราบว่ า คลองมหานาคที่ ก ล่ า วถึ ง มี แ หล่ ง ก าเนิ ด อยู่ ที่ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และเป็ น คลองส าคั ญ ทาง ประวัติศาสตร์ที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของผู้คนที่ ช่วยกันขุดคลองนี้ เพื่อ ใช้ป้อ งกัน ข้าศึกที่ยกทัพเข้ามาตี กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาในสมั ย สมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ ดั ง ปรากฏข้ อ ความในพระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบับสมเด็ จพระพนรัตน์ ความว่ า “ฝ่ายพระมหานาคบวชอยู่ ณ วัด ภูเขาทอง, สึ กออกรับ ตั้งค่ ายกั นทัพ เรือ , ตั้งค่ายแต่วัดภูเขาทองลงมาจนวัดป่าพลู พวกกาลังญาติโยมทาสชายหญิงของมหานาคช่วยกันขุดคูนอกค่า ย กันทัพเรือ, จึงเรียกว่าคลองมหานาค” (กรมศิลปากร ๒๕๑๔: ๔๒) คลองมหานาคปรากฏในเหตุการณแทางประวัติศาสตรแเพียงครั้ง เดียว เพราะหลัง จากเสร็จศึกในครั้ง นี้แลว ทัพ พม าเลื อ กที่จ ะเขา ตี ก รุ งศรี อ ยุธ ยาด านทิ ศ ตะวั น ออกบริ เวณคู ขื่ อหน า (แม น้ํ าปุ า สั ก) แทน จนเป็ น เหตุใ ห เ สี ย กรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ.๒๑๑๒ และเมื่อคลองมหานาคไมไดถูกใชประโยชนแในฐานะการปูองกันขาศึก เหมือน ครั้งแรกที่ขุด การลดบทบาทของคลองเสนนี้จึงเหลือเพียงการใชประโยชนแในการเป็นเสนทางสัญจรทางน้ําที่เชื่อมตอกับ แมน้ําเจาพระยา แมน้ําลพบุรีและคูคลองตางๆ รวมทั้งยังเป็นจุดนัดพบหรือที่ชุมนุมของนักกลอนที่นิยมเลนเพลงเรือ เพลงสักวาในชวงฤดูน้ําหลากในบริเวณทุงภูเขาทองดวย
* ภัณฑารักษแประจําพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๕๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
แนวคลองมหานาค คัดจากแผนที่ฉบับพระยาโบราณราชธานินทร์
แธวคฤองภหาธาคกันสฟาฝกายเบฤี่มธแบฤง ในสถานการณแ ปใ จ จุ บั น บทบาทของแม น้ํ า ลํ า ค ลอง ถู ก ล ดค ว าม สํ า คั ญ ลง เ นื่ อ ง จาก ก า ร เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เป็นอยู และการ พัฒนาเมืองโดยไมคํานึงถึงประวัติศาสตรแและภูมิหลัง ของแม น้ํ า ลํ า คลอง ส ง ผลให เ กิ ด การบุ ก รุ ก และ ถมลําคลอง จนทําใหแนวคลองมีการเปลี่ยนสภาพและ ลดขนาดลงจนทําใหแนวคลองหายไปในที่สุด แนวโน ม การขยายตั ว ของชุ ม ชนเมื อ งใน ยุ ค ปใ จ จุ บั น มี อั ต ราการขยายตั ว สู ง ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว ความจําเป็นในการหาพื้ นที่ในการปลูกสรางบานเรือน อยู อ าศั ย ของประชาชนจึ ง มี ค วามจํ า เป็ น เร ง ด ว น และการพั ฒ นาบ า นเมื อ งให ทั น สมั ย ตอบสนอง ความต องการของชุ ม ชนก็มี ส วนทํา ให วิ ถีชี วิ ตดั่ ง เดิ ม เปลี่ ย นแปลงไป การเปลี่ ย นแปลงดัง กล า วส ง ผลให คลองมหานาคที่ ทํ า ขุ ด ตั้ ง แต ใ นสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เปลี่ ยนสภาพเป็ นคลองเสนเล็ก ๆ ที่ห ากไม สัง เกตจะ ไม ท ราบเลยว า มี ค ลองมหานาคแห ง นี้ อ ยู บ ริ เ วณ วัดภูเขาทองดวย คลองเสนนี้เชื่อมระหวางตําบลภูเขาทองกับ ตํ า บลท า วาสุ ก รี (หั ว แหลม) จากการลงสํ า รวจ
แนวคลองมหานาค พบว า แนว ค ล อ ง นี้ มี จุ ด เ ริ่ ม ต น บ ริ เ ว ณ ด า น ห น า ท า ง เ ข า เ จ ดี ยแ วั ด ภู เ ขาทองและขุ ด หั ก เลี้ ย วไป ทาง ทิ ศ ตะวั น ตกอ อ มไ ปทาง ด า นข า งของวั ด คลองมหานาค บริเวณนี้มี ถนนลาดยางขนาบกับ แนวคลองและมีก ารตั ดถนนทั บ บนแนวคลองเขาสูวัด จ า ก ถ น น ท า ง เ ข า วัดภูเขาทองยังปรากฏแนวคลอง ที่ ย า ว ต อ เ นื่ อ ง ไ ป ท า ง ด า น ทิศตะวัน ออกและหัก เลี้ ยวลงไป ทางใตผา นพื้นที่ ชุมชนภูเขาทอง แ น ว ค ล อ ง บ ริ เ ว ณ นี้ มี ก า ร ปลูกสรางบานเรือนรุกล้ําเขาไปในแนวคลองและมีการ ทํ า ถนนตั ด เข า ชุ ม ชนเป็ น ช ว งๆ แม ก ารทํ า ถนนเข า ชุมชนดัง กลาวจะมีการสรางทอระบายน้ําไวดานลา ง แต ก็ ไ ม ไ ด ช ว ยให ก ระแสน้ํ า ไหลผ า นได อ ย า งสะดวก เนื่ อ งจากในฤดู แ ล ง ท อ ดั ง กล า วมี สิ่ ง ปฏิ กู ล และ เศษวัชพืชอุดตันอยูภายในเป็นจํานวนมาก แนวคลองนี้ หักเลี้ยวไปทางทิศตะวันออกทางเหนือของวัดกงจักร และและหักเลี้ยวลงทางใต คลองมหานาคสวนนี้แยก ออกเป็น ๒ ทาง เสนหนึ่งไหลลงใตไปบรรจบกับแมน้ํา ลพบุ รี ที่ บ ริ เ วณด า นทิ ศ ตะวั น ตกของวั ด ศาลาปู น (ปใจจุบันไมปรากฏแนวคลองแลวเนื่องจากคลองตื้นเขิน และมี ก ารปลูก บา นเรื อ นทั บแนวคลอง) ส วนอี กเส น หนึ่งหักเลี้ยวไปทางทิศตะวันตกผานหลังวัดพรหมนิวาส หรื อวั ดขุ นยวน ผา นหนา วั ดปุ าพลูแ ละไปออกแม น้ํ า เจาพระยาบริเวณชุมชนหัวแหลม
สาเหดุกายเสื่อภสฟาฝของคฤองภหาธาค จากการสํ า รวจแนวคลองคลองมหานาค ตั้งแตวัดภูเขาทอง ตําบลภูเขาทอง จนถึงบริเวณชุมชน หัวแหลม ตําบลทาวาสุกรี พบวาคลองมหานาคมีสภาพ เสื่ อ มโทรมและแนวคลองบางส ว นขาดหายไป เมื่ อ พิ จ ารณาความเสื่ อ มสภาพของคลองมหานาค พบสาเหตุหลักๆ ดังนี้คือ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๕๕
ถนนลาดยางขนาบกับแนวคลอง และถนนตัดทับแนวคลองเข้าสู่วัด
๒. การพั ฒนาสาธารณูป โภค ไดแ ก การ สรางถนนตัดเขาชุมชน การดําเนินการดังกลาวทําให แนวคลองถูกตัดเป็นสวนๆ ทําใหคลองขาดเป็นชวง ๆ มี ลั ก ษณะเหมื อ นบ อ น้ํ า ที่ เ ต็ ม ไปด ว ยวั ช พื ช และ สิ่ง ปฏิกูล จนไมสามารถทํา ใหน้ําระบายไดเหมือนใน อดีต ๓. การขาดจิ ต ส านึ ก ในการบ ารุ ง รั ก ษา การที่ แ นวคลองมหานาคผ า นหน ว ยงานราชการ ศาสนสถานและบ า นเรื อ นประชาชนทั้ ง ๒ ชุ ม ชน กับไมมีการบํารุงรักษา แตกับ ปลอยปละละเลย และ ทิ้ง ลา งโดยไมให ความสนใจอยา งจริ ง จัง ซึ่ง เป็ นเหตุ หนึ่ง ที่ทําใหคลองไมสามารถระบายน้ําได โดยเฉพาะ ชวงฤดูน้ําหลาก ๔. ป ระชา ชน ไม่ ท รา บ ควา มส า คั ญ แล ะไม่ ไ ด้ รั บ ควา มรู้ ทา งด้ า น ประวั ติ ศ า ส ตร์ โดยเฉพาะประวัติศาสตรแทองถิ่น โดยปใจจุบันมีผูสนใจ ศึกษาประวัติศาสตรแทองถิ่นนอยมากเนื่องจากใหความ สนใจกับเทคโนโลยีสมัยใหมมากกวา
กายณูแฤยักษา สฟาฝแภ่ธ้ํา คู คฤอง ๑. การขยายตัวของชุมชน สิ่งที่นาสังเกตคือ ในอดีตชาวบานในพื้นที่เขตตําบลภูเขาทองและตําบล ท า วาสุ ก รี (หั ว แหลม) จะปลู ก บ า นเรื อ นอยู อ าศั ย บริ เ วณริ ม แม น้ํ า เจ า พระยา เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง เส น ทางคมนาคมจากทางน้ํ า มาเป็ น ทางบกรวมทั้ ง การเพิ่มจํานวนประชากรในชุมชน การกระจายตัวใน การปลูกสรางบานเรือนจึงมีมากขึ้น และรุกล้ําเขาไปใน แนวคลอง ซึ่งการรุกล้ํามี ๒ ลักษณะ คือ ๑.๑ การปลูกบานยื่นเขาไปในแนวคลอง ทําใหแนวคลองถูกลดขนาดใหแคบและตื้นเขินลง ๑.๒ การปลู ก บ า นค อ มคลองหรื อ ทับแนวคลองจนทําใหแนวคลองหายไป การปลูกสรางบานเรือนทั้ง ๒ ลักษณะทําให แนวคลองบางสวนตื้นเขินและบางสวนหายไป ซึ่งหาก ยังคงปลอยใหมีการปลูกสรางบานเรือ นในลักษณะนี้ เพิ่ ม มากขึ้ น คลองมหานาคคงจะหายไปจากจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาอยางแนนอน ๕๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
การดู แ ลรั ก ษา สภาพแม น้ํ า คู คลอง เป็น เรื่ องที่หน วยงานภาครั ฐและชุ มชนต อ งเขา มามี สวนรวม โดยแนวทางการอนุรักษแดังกลาวเป็นหนึ่งใน นโยบายการอนุ รั ก ษแ แ ละพั ฒ นาสิ่ ง แวดล อ มแม น้ํ า คู คลอง ของกองอนุรักษแสิ่ง แวดลอมธรรมชาติ และ ศิลปกรรม ซึ่งขอมูลดังกลาวปรากฏในเอกสารเผยแพร ตาม พรบ. ขอมูลขาวสาร ความวา “การดูแลรักษา สภาพแมน้ํา คู คลองในปใจจุบัน อยูในความรับผิดชอบ ของหลายหนวยงาน และมีกฎหมายหลายฉบับเขามา เกี่ ย วข อ ง ดั ง นั้ น เพื่ อ ให แ ม น้ํ า คู คลอง มี คุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล อ มที่ ดี ทั้ ง ในด า นคุ ณ ภาพน้ํ า ระบบนิ เ วศ สภาพ แวดล อ ม ตลอ ดจน คง ความสํ า คั ญ ทาง ประวัติศาสตรแและอนุรักษแวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ํา เอาไว อยางเหมาะสม จึงสมควรกําหนดนโยบายดาน การอนุ รั ก ษแ แ ละพั ฒ นา สภาพแวดล อ มทางแม น้ํ า คู คลองขึ้น เพื่อใหเ กิดการประสานความรวมมือให การดํ า เนิ น งานเป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ” และมี เปูาหมายที่สําคัญคือ
แนวคลองมหานาคที่แยกมาจากวัดศาลาปูน ผานหลังวัดพรหมนิวาส
แนวคลองมหานาคที่ไหลไปออกแมน้ําเจาพระยา
การปลูกบานยื่นเขาไปในแนวคลอง
การปลูกบานคอมคลองหรือทับแนวคลอง
๑. พัฒนาและดํารงรักษาแมน้ํา คู คลองไป กวาที่เป็นอยู ๒. เรงฟื้นฟูแมน้ํา คู คลอง ที่เสื่อมโทรมให สามารถนํามาใชประโยชนแในดานการคมนาคมขนสง การเกษตร การอุ ปโภคและบริ โภค และวิถี ชีวิ ตของ ประชาชน ๓. ใหประชาชนที่อาศัยอยูริมแมน้ํา คู คลอง มีสวนในการอนุรักษแและพัฒนาที่สอดคลองกับวิถีชีวิต ของชุมชนและศักยภาพของ แมน้ํา คู คลอง ๔. ให มีก ลไกในการกํา กั บดู แ ลการอนุรั ก ษแ และพัฒนาแมน้ํา คู คลอง ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับ ภาค และระดับประเทศ โดยมีกฎหมายรองรับ
๕. ใหมีการขึ้นทะเบียนแมน้ํา คู คลอง ที่ควร อนุรักษแ เพื่อใหมีการดูแลรักษา และใชประโยชนแอยาง เหมาะสม จา ก น โ ย บ า ย ก า ร อ นุ รั ก ษแ แ ละ พั ฒ น า สิ่งแวดลอมแมน้ํา คู คลอง ดังกลาวเป็นขอมูลที่ยืนยัน ไดวาภาครัฐไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการอนุรักษแแมน้ํา คู คลอง เป็ น อย า งมาก แต ก ารดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษแ คู ค ลอง จํ า เป็ น ต อ งประสานขอความร ว มมื อ ทั้ ง ใน สวนหนวยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน เพื่อชวยกัน ผลั กดั น ให ก ารอนุรั ก ษแแ ละพั ฒนาเป็ น ไปในแนวทาง เดียวกันและเกิดขึ้นไดตามเปูาหมายที่วางไว
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๕๗
ข้อเสธอแธะ การอนุรักษแและพัฒนาคลอง มหานาคเป็นเรื่องที่ทําไดยาก เนื่องจาก ทองถิ่นเองยัง ไมใหความสําคัญกับการ ดู แ ลรั ก ษาแนวลํ า คลอง ดั ง จะเห็ น ได จากการอนุ ญ าตให มี ก ารปลู ก สร า ง บ า นเรื อ นบนแนวคลองและบางส ว น รุ ก ล้ํ า เข า ไปในแนวคลองทํ า ให แ นว คลองขาดหายไป การกระทําลักษณะนี้ ชี้ใ ห เ ห็น ถึ ง การปลอ ยปละละเลยของ เจาหนาที่ทองถิ่นที่ไมไดใหความสําคัญ กับคลองประวัติศาสตรแ อาจจะสืบเนื่อง จากการไม ท ราบข อ มู ล หรื อ การขาด จิตสํานึกในการดูแลรักษา หากองคแ ก รท อ งถิ่ น หั น มา ศึกษาขอมูลในทองถิ่นของตนเองอยาง จริงจัง คงจะทราบถึงความสําคัญของ คลองเสน นี้ เพราะหากมี ก ารอนุ รั ก ษแ และพัฒนาคลองมหานาคอยางจริงจัง คงจะชวยใหชุมชนเกิดรายไดจากการ ทองเที่ยวและการเกษตร รวมทั้งยังชวย บรรเทาปใญหาอุทกภัยในฤดูน้ําหลากได ดวย ดัง นั้นการประสานความรว มมื อ ระหว า งหน ว ยงานและชุ ม ชนจึ ง มี ความสําคั ญ อย างเรง ดว น เพราะหาก ป ล อ ย ทิ้ ง ไ ว ใ น ลั ก ษ ณ ะ นี้ ค ล อ ง ประวั ติ ศ าสตรแ ข องชาวพระนคร ศรี อ ยุ ธ ยาคงจะเหลื อ เพี ย งชื่ อ คลอง อยางแนนอน ๏
การสร้างถนนตัดเข้าชุมชน
วัชพืชและขยะมูลฝอยภายในคลอง
นยยฒาธุกยภ กรมศิลปากร. (๒๕๔๕). การบูรณะเจดีย์ภูเขาทอง. กรุงเทพฯ : อมรินทรแพริ้นติ้งแอนดแพับลิซชิ่ง. กรมศิลปากร. (๒๕๔๕). คลองและท่าเรือจ้างสมัยโบราณกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : บ.ประชาชน. กรมศิลปากร. (๒๕๑๔). พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน. พระนคร : คลังวิทยา. กองอนุรักษแสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม. สืบคนจาก webcache. googleusercontent.com ดุษฎี ทายตะคุ. (๒๕๔๙). กลยุทธในการอนุรักษแพัฒนาศูนยแกลางเมืองในนครประวัติศาสตรแ. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (๙). หนาที่ ๒๓๑- ๒๔๘.
๕๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
จิดยกยยภผาปธัง วัณชุภฝฤธิกามายาภ: ฝุถทศิฤบ์ดาภฝยะยาชศยัถทา ใธฝยะนาถสภเณ็จฝยะจอภเกฤ้าฯ
สุยิธถย์ ศยีสังข์งาภ*
พระอุโบสถและพระเจดีย์คู่ วัดชุมพลนิกายาราม
ควาภธํา การสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมเป็นภาพสะท้อนที่ดีเยี่ยมของความรู้สึกนึกคิดจากผู้คนและสังคมร่วมสมัย เมื่อสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง ผลงานศิลปกรรมย่อมมีการแปรผัน ทั้งแนวคิด รูปลักษณ์ และ สุนทรียภาพ เมื่อเขาสู รัชสมั ยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล าเจ าอยูหั ว อาจกลาวไดวา เป็นยุ คแรกของการพัฒนา กรุงรัตนโกสินทรแสูแนวทางการพัฒนาอยางโลกตะวันตก ทัศนะของการมองโลกที่เป็นปใจจุบัน หรือการใหความสําคัญ กับ วิ ถี โ ลกที่ เ ป็ น จริ ง ได แ สดงออกไปพร อ มๆ กั บ การปริ ว รรตพุ ท ธศาสนา โดยให ค วามสํ า คั ญ กั บ แก น สาระจาก พระไตรปิฎก มากกวาจะยึดติดอยูกับ เนื้อหาที่มีในอรรถกถา หรือฎีกาตางๆ รวมไปถึง การรั บรูรูปลักษณแใหมทาง ศิลปกรรมอยางไมเคยปรากฏมากอน จึง เป็ นเหตุ ให ในยุคสมัยดัง กลาว เกิด พัฒนาการทางด านศิล ปกรรมครั้ ง ใหญ แมจ ะยัง คงมีค วามสั มพัน ธแ สืบเนื่องมาจากรูปแบบศิลปกรรมดั้งเดิม แตก็มีการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะในคติสัญ ลักษณแอยางลุมลึก และควรคา แกการทําความเขาใจ
* รองผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา ฝุายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๕๙
เหดุแห่งกายเบฤี่มธแบฤงใธยัชสภัม ฝยะนาถสภเณ็จฝยะจอภเกฤ้าเจ้าอมูห่ ัว เมื่อเจาฟูามงกุฎทรงสิ้นหวังจากการไดรับสืบ ตอ ราชสมบั ติ จ ากพระบาทสมเด็ จพระพุ ท ธเลิ ศ หล า นภาลัยแลว ก็ไ ดทรงตัดสินพระทัยที่จะทรงมุงศึกษา พระพุ ท ธศาสนาอย า งจริ ง จั ง โดยทรงประทั บ อยู ณ วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส) และทรงเริ่มการศึกษา พุทธศาสนาทางดาน “วิปัสสนาธุระ” เป็นลําดับต น จากนั้น จึ ง เสด็ จ มาประทั บ ยั งวั ด มหาธาตุ เพื่ อศึ ก ษา ทางดาน “คันถธุระ” โดยมุงเนนที่จะเรียนรูหลั กธรรม จากพระไตรปิ ฎ กอย า งลึ ก ซึ้ ง เป็ น หลั ก จน ทรงมี พระปรีชาดานภาษามคธและอานพระไตรปิฎกไดอยาง แตกฉานดวยพระองคแเอง๑ ซึ่ ง คงเป็ น เหตุ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให พ ระองคแ ท รง พบวาขอวัตรปฏิบัติตางๆ ของคณะสงฆแในชวงเวลานั้น ไดมีความคลาดเคลื่อนไปจากพุทธบัญญัติเป็นอยางมาก ประกอบกับทรงพบพระภิกษุมอญรูปหนึ่งชื่อ “ซาย” ฉายา “พุ ทธวัง โส” ๒ ที่ เคยบวชเรีย นจากเมื องมอญ เป็นผูมีความรูความชํานาญในวินัย ปิฎก และปฏิบั ติ ตามพระธรรมวินัยอยางเครงครัด จึงไดเสด็จไปศึกษา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตอกันเสมอ จนกระทั่งใน ปี พ.ศ.๒๓๗๒ ไดเสด็จกลับมาประทับยังวัดสมอรายอีก ครั้ง แลวจึงทรงทําทัฬหีกรรมอุปสมบทใหม ตามอยาง พิธีในศาสนวงศแ นิกายสีมากัลยาณีของรามัญประเทศที่ สืบกันมาจากลังกา๓ และในที่สุดจึงทรงดําริจัดตั้งนิกาย เพื่อมุงหวังจะฟื้นฟูและปฏิรูปพระพุทธศาสนา โดยทรง สถาปนาขึ้นเป็น “ธรรมยุติกนิกาย” ดวยพระประสงคแที่จ ะใหพระพุทธศาสนามี ความรุ ง เรื อ งสื บ ไป จึ ง ทรงพิ จ ารณาแก ไ ข ปรั บ ปรุ ง และวางระเบียบแบบแผนปฏิบัติของสงฆแ เชนการวาง ระเบีย บทําวั ดไหวพ ระเช าเย็นขึ้ นใหม เป็นภาษาบาลี การวางระเบียบอักขระวิธี การออกเสียงภาษาบาลีตาม หลักสากล เพื่อใหเป็นผลดีตอการชําระพระไตรปิฎก และอรรถกถาตอไป เป็นตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการที่ทรงใหความสําคัญ กับเนื้อหาในพระไตรปิฎก มากกวาที่จะทรงเนนการใช อรรถกถา และฎีกาอยางที่เคยปฏิบัติสืบเนื่องมากอน
๖๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
แมภ ายหลั ง ที่ พระองคแ ไ ด ลาสิก ขาและเสด็ จขึ้ น ครอง ราชสมบัติแล ว ก็มิไ ดทรงทิ้ง พระราชภารกิจเกี่ย วกั บ พระพุ ท ธศาสนา โดยยั ง คงให เป็ น พระราชกรณีย กิ จ สํ า คั ญ ซึ่ ง เป็ น เ หตุ ให พุ ทธ ศา สน าโ ดย เฉ พ า ะ ธรรมยุ ติ ก นิ ก ายยั ง คงสื บ เนื่ อ งและรุ ง เรื อ งจนจวบ ปใจจุบัน
วัณชุภฝฤธิกามายาภ จังหวัณฝยะธคยศยีอมุทมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชประสงคแ จะขอผาติกรรมพระนารายณแ ราชนิ เ วศนแ ที่ จั ง หวั ด ลพบุ รี ซึ่ ง ได รั บ การกํ า หนด วิ สุ ง คามสี ม า ให ก ลายเป็ น วั ด ในช ว งปลายรั ช สมั ย สมเด็จพระนารายณแ ใหกลับมาเป็นพระราชวัง ดังเดิม อีกครั้ง โดยในการผาติกรรมครั้งนั้นเป็นเหตุใหพระองคแ ทรงโปรดให มี ก ารปฏิ สัง ขรณแพ ระอารามขึ้ น ๓ แห ง ประกอบดวย วัดชุมพลนิก ายาราม วัดเสนาสนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และวัดกวิศรารามจัง หวัด ลพบุ รี เพื่ อเป็ นการแลกกับ พระนารายณแ ราชนิเ วศนแ ใหกลับเป็นพระราชวังดังกลาวขางตน
บยะวัดิกายสย้าง แฤะบฎิสังขยฒ์ วัณชุภฝฤธิกามายาภ วัดแหง นี้มีนามเดิมวา “วัดชุมพล” เมื่อครั้ง ปฏิสัง ขรณแพระอาราม พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจ า อยู หั ว ทรงพระราชทานนามใหม ว า “วั ด ชุ ม พล นิกายาราม”๔ ในราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ฉบั บ พั น จั น ทนุ ม าศ (เจิ ม ) และฉบั บ จั ก พรรดิ พ งศแ (จาด) ระบุ ข อ ความที่ ใ กล เ คี ย งกั น ว า วั ดชุ ม พลนิ ก ายาราม สรางขึ้น ในรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง เมื่อปี พ.ศ.๒๑๗๕ เพื่ อ เป็ น พระอารามในพระราชวั ง บางปะอิน๕ แตยังมีผูตั้งขอสังเกตวาอาจมีความเป็นไป ไดที่อาจสรางขึ้นหลังจากปี พ.ศ.๒๑๙๓ โดยวิเคราะหแ จากหลั กฐาน “แผนที่ ” ซึ่ ง ชาวตะวั นตกทํ า ไว แต ก็ ไม ไ ด เป็ น ปใญ หาในทางวิช าการ เพราะจากหลั กฐาน ทั้งสองฝุายก็ยังอยูในชวงเวลาที่ไมหางกันมากนัก
จิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง “ท้าวมหาราชทัง้ ๔ เฝูาพระพุทธเจ้าที่เขาคิชฌกูฏ”
สวนการบูรณปฏิสังขรณแ ครั้งใหญ เกิดขึ้น ใน รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ราวปี พ.ศ. ๒๔๐๕- ๒๔๐๖ แมไมปรากฏรายละเอียด วามีการเปลี่ยนแปลงพระอารามมากนอยเพียงใด แตก็ เชื่ อว ารู ปลั กษณแข องพระอุ โบสถที่ป รากฏในปใจ จุบั น นาจะไดรับการบูรณะในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอม เกล า เจ า อยู หั ว เป็ น ส ว นใหญ ไม ว า จะเป็ น เครื่ อ งบน หลั ง คา ตัว พระอุโ บสถ เสมา กํ าแพงแก ว รวมไปถึ ง จิตรกรรมฝาผนัง หลังจากนั้นจึงมีการบูรณะอีกครั้งใน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ๖ แตคง เป็ น การบู ร ณะตามรู ป แบบที่ ป รากฏแล ว ในรั ช กาล พระจอมเกลาฯ เป็นหลักสําคัญ
จิดยกยยภผาปธังใธฝยะอุโนสต วัณชุภฝฤธิกามายาภ ด ว ย แ ร ง บั น ด า ล ใ จ ห รื อ อิ ท ธิ พ ล ที่ สืบ เนื่ องมาจากพระราชศรั ท ธาของพระบาทสมเด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล า เ จ า อ ยู หั ว ที่ ท ร ง เ ป็ น ผู ก อ ตั้ ง ธ ร ร ม ยุ ติ ก นิ ก า ย ขึ้ น ตั้ ง แ ต ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง พระบาทสมเด็ จ พระนั่ง เกล า เจา อยู หั ว นั้ น ครั้ ง เมื่ อ พระองคแ ท รงขึ้ น ครองราชยแ แ ล ว ก็ ท รงอุ ป ถั ม ภแ ใ ห ธรรมยุ ติ ก นิ ก ายมี ค วามรุ ง เรื อ งขึ้ น สื บ ไป ดั ง นั้ น จึ ง ปรากฏพระอารามหลายแหง ที่พระองคแทรงสถาปนา หรือทรงบูรณะขึ้นตามลําดับตลอดรัชกาล
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๖๑
และไดปรากฏอยางชัดเจนในงานจิตรกรรม ฝาผนัง ที่พระอุโบสถวัดชุมพลนิกายาราม โดยเฉพาะ เนื้อหาเรื่อง “พระอดีตพุทธเจ้าและพุทธประวัติของ พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน” ที่ไดรับการศึกษาและเรียบ เรียงขึ้นใหม จาก “พระไตรปิฎก”โดยตรง จึงปรากฏ รูปลักษณแ องคแประกอบ และการสื่อความใหม ที่มีการ ปรับเปลี่ยนจากขนบนิยมของจิตรกรรมฝาผนังเดิม ที่ สืบเนื่องมาตั้งแตสมัยตนรัตนโกสินทรแ จิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถวัดชุมพล นิกายาราม ไดบรรยายเนื้อหาเรื่องพระอดีตพุทธเจ า และพุทธประวัติ ของพระพุ ทธเจาองคแปใ จจุบัน ที่ได มี การสอบทานเนื้อหาใหม การใหความสําคัญกับเนื้อหา ที่ปรากฏในพระไตรปิฎกเป็นชั้นตน ประกอบกับมีแผน จารึกหินออนจําหลักอธิบายเนื้อหาในสวนตางๆ ทําให เราสามารถทราบเนื้อหาและตําแหนงของเรื่องในงาน จิตรกรรมตามลําดับภายในพระอุโบสถ ดังนี้ ๑. ผนั ง ดานหลั งพระประธาน แบงเนื้อหา ออกเป็น ๓ ตอนหลัง ประกอบดวย ๑.๑ พุท ธประวั ติ พระวิ ปใสสี พุ ทธเจ า ตั้งแตเสด็จปฏิสนธิในครรภแ จนถึง เหตุการณแกอนการ ตรัสรู ๑.๒ พุท ธประวั ติ พระวิ ปใสสี พุ ทธเจ า หลังการตรัสรูจนถึงทรงประทานอนุญาตใหพุทธสาวก ไปเผยแผพระศาสนาในสถานที่ตางๆ ๑.๓ ภาพซุมเรือนแกว โดยบนยอดสุด ของซุมเรือนแกว ปรากฏพระมหาพิชัยมงกุฎเปลงรัศมี (พระราชลัญ จกรประจําพระองคแของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว) ๒. ผนังดานซายมือของพระประธาน ตั้งแต ส ว นคอสองจนถึ ง ผนั ง ระหว า งห อ ง เขี ย นเนื้ อ หา ประกอบดวย ๒.๑ พุท ธประวั ติ พระวิ ปใสสี พุ ทธเจ า ตั้งแตทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกขแจนถึงเหตุการณแถวาย พุทธพยากรณแ
๖๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
๒.๒ พุทธประวัติ พระสิกขีพุทธเจา ๒.๓ พุทธประวัติ พระเวสสภูพุทธเจา ๓. ผนังดานขวามือของพระประธาน ตั้งแต ส ว นคอสองจนถึ ง ผนั ง ระหว า งห อ ง เขี ย นเนื้ อ หา ประกอบดวย ๓.๑ พุทธประวัติพระกกุสันธพุทธเจา ๓.๒ พุทธประวัติพระโกนาคมนพุทธเจา ๓.๓ พุทธประวัติพระกัสสปพุทธเจา ๔.ผนังดานหนาพระประธาน เขียนจิตรกรรม ฝาผนั ง เรื่ อ ง พุ ท ธประวั ติ พ ระโคตมพุ ท ธเจ า หรื อ พระพุทธเจาองคแปใจจุบัน แม ม องในภาพรวม จะยั ง เห็ น ลั ก ษณะ ที่สืบ เนื่ องจากจิ ตรกรรมฝาผนัง ที่สร างสรรคแ ขึ้น กอ น หน า นี้ แต ใ นเชิ ง เนื้ อ เรื่ อ งและความหมาย จะ พบ พั ฒ นาการและความแตกต า งอย า งชั ด เจน เช น การปฏิเสธ เรื่อง “ภัทรกัลป์ ” หรือ “พระอดีตพุท ธ ๒๘ พระองค์” ซึ่ง เป็นแนวคิดสําคัญ ที่ปรากฏในงาน จิตรกรรมฝาผนังกอนหนานี้ อีกทั้งยังมีการสรางสรรคแ จิตรกรรมที่มี ความพิเศษ สามารถวิเคราะหแไ ดเป็น ๓ ลักษณะ คือ ๑. จิ ต รกรรมที่ ยั ง คงแสดงรู ป แบบ และ เนื้อหาสืบเนื่องจากที่เคยปรากฏในอดีต ๒. จิตรกรรมที่ไดรับการสรางสรรคแขึ้นใหม จากเนื้อหาที่ไมเคยปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังในอดีต ๓. การออกแบบเชิ ง สุ น ทรีย ภาพ ที่ แ สดง คว ามสั ม พั น ธแ ร ะ หว าง จิ ต ร ก ร ร มฝาผนั ง แล ะ สถาปใตยกรรมภายใน เนื่องจากบทความนี้มุง แสดงลักษณะสําคัญ ของการพัฒนารูปแบบศิลปะโดยเฉพาะจิตรกรรมที่มี ความสั ม พั น ธแ กั บ คติ ท างพระพุ ท ธศาสนาที่ มี ค วาม เปลี่ยนแปลงในสมัยรัชกาลที่ ๔ จึงขอวิเคราะหแแตเพียง กรณี ศึ ก ษาบางส ว นเพื่ อ ความชั ด เจน โดยเฉพาะ ภาพจิ ต รกรรมที่ ไ ด รั บ การสร า งสรรคแ ใ หม และ ความสัมพันธแกับสถาปใตยกรรมภายในเป็นหลัก
จิตรกรรมฝาผนังด้านหน้าพระประธานใกล้ผนังระหว่างห้อง เรื่อง “ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เฝูาพระพุทธเจ้าที่เขาคิชฌกูฏ”
จิตรกรรมฝาผนัง ภาพซุ้มเรือนแก้ว ประดับยอดด้วยพระมหาพิชัยมงกุฎ เปล่งรัศมี
พระประธานทั้ง ๗ องค์ ภายในพระอุโบสถ อันมีพระวิปัสสีพุทธเจ้าเป็นองค์ส่าคัญ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๖๓
นถวิเคยาะห์เฉฝาะจิดยกยยภผาปธังฟาฝ “ถ้าวภหายาชถั้งสี่ถี่เผ้าฝยะฝุถทเจ้าถี่ เขาคิชฌกูฎ” เป็นภาพจิตรกรรมที่ไดรับการสรางสรรคแใหม และไดรับความสําคัญ โดยวิเคราะหแไดจากตําแหนงของ ภาพ ซึ่ ง อยู ที่ ผ นั ง ด า นหน า พระประธาน เยื้ อ งลงมา เหนือบริเวณผนังระหวางหอง ซึ่งเป็นตําแหนงที่อยูใกล ระดั บ สายตา และ มี บ ทบาทในฐาน ะตํ า แหน ง ประจันหนากับพระประธาน จากจดหมายเหตุ รั ช กาลที่ ๔ จ.ศ.๑๒๒๕ เลขที่ ๑๓๔ เรื่อง “สมณสาสแน เรื่องสมณสาสแนมาแต ลังกา” โดยมีรายละเอียดความวา ... “เรื่องพระโคดม อยูดานนา เขียนเปนเลาไปตั้งแตประสูต รจนนิพพาน และใหมีเรื่องอาฏานาฎิยะสูตรอยูต รงกลางประตู...”๗ ประกอบกับบริเวณตอนลางของภาพมีแผน จารึกหินออนเขียนขอความบรรยายใตภาพความวา “ครั้ ง หนึ่ ง พระองคแ เ สด็ จ ไปประทั บ เขา คิ ช ฌกู ฏ ท า วมหาราชทั้ ง ๔ มาเฝู า ให เ สนายั ก ษแ , คนธรรพแ, กุมภัณฑแ, นาค รักษารอบ ทาวเวสสวรรณ มหาราช กราบทูลใหพระองคแสอนภิกษุบรรสัท ใหเรียน อาฏานาฏิ ย คถา กั น อมนุ ษ ยแ ร า ย พระองคแ ก็ ใ ห ภิ ก ษุ เรียนตามคําทาวเวสสวรรณกราบทูล” ซึ่งเนื้อหาของภาพตอนนี้ตั้งใจแสดงเนื้อหาใน “ อ า ฏา น า ฏิ ย สู ต ร ” ซึ่ ง เป็ น พ ร ะ สู ต ร หนึ่ ง ใ น สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย วาดวยทาวจตุโลกบาลเขาเฝูา พระพุ ทธเจา โดยท าวเวสสุ วรรณมหาราชถวายมนตแ คุ ม ครองที่ ชื่ อ ว า “อาฏานาฏิ ย ะ” ซึ่ ง ขึ้ น ต น ด ว ย คํานมัสการพระพุทธเจาทั้ง ๗ พระองคแ ประกอบดวย
ขอ น อ บ น อ มพ ร ะ โ ก ณา คม น พุ ทธ เจ า ผูลอยบาปแลว อยูจบพรหมจรรยแ ขอนอบน อมพระกั ส สปพุ ทธเจ า ผู หลุ ด พ น แลวจากกิเลสทั้งปวง ขอนอบน อ มพระโคตมพุ ท ธเจ า ผู ท รง พระฉัพพรรณรังสี ผูทรงสิริ ผูทรงแสดงธรรมขจัดทุกขแ ทั้งปวง”๘ อีกทั้งจํานวนของพระพุทธเจาทั้ง ๗ พระองคแ นี้ มีความสอดคลองกับจํานวนพระประธานทั้ง ๗ องคแ และจํานวนพระอดีตพุทธที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนัง อยางชัดเจน นอกจากการนําเนื้อหาที่ปรากฏในพระสูตรฯ มาแสดงอยางชัดเจนแลว ในเชิงรายละเอียดของภาพ จิตรกรรมฝาผนังไดพยายามบรรยายภาพจิตรกรรมตาม เนื้ อ หาที่ ป รากฏอย า งรอบคอบ และละเอี ย ดลออ ดังปรากฏชัดเจนในลักษณะของ “ท้าวมหาราชทั้ง ๔” หรือที่มักเรียกในปใจจุบันวา “ท้าวจตุโลกบาล” นั่นเอง ในภาพจิตรกรรมฝาผนังที่สรางสรรคแขึ้นกอน สมั ย รั ช กาลที่ ๔ ปรากฏภาพท า วจตุ โ ลกบาลใน พุทธประวัติหลายตอน เชนตอน “มหาภิเนษกรมณ์ ” หรือตอนเจ าชายสิทธัต ถะเสด็จออกบรรพชา โดยใน ภาพจิตรกรรมมักเขียนภาพทาวจตุโลกบาลมีลักษณะ อยา งเทพบุตร และมีลั กษณะเหมื อนกันทุ กพระองคแ ตัวอยางเชน ในจิตรกรรมฝาผนังตอนมหาภิเนษกรมณแ ที่ พ ระอุ โ บสถวั ด สุ ว รรณาราม, วั ด ไชยทิ ศ หรื อ ที่ วัดดุสิตดาราม กรุงเทพมหานคร เป็นตน แตในจิตรกรรมฝาผนังที่วัดชุมพลนิกายาราม แหงนี้ ทาวจตุโลกบาลทั้ง ๔ องคแ ถูกสรางสรรคแขึ้นใหม ตามลักษณะที่ปรากฏเนื้อความวา
“ขอนอบน อ มพระวิ ปใ ส สี พุ ท ธเจ า ผู ท รง พระจักษุทรงพระสิริ ขอนอบน อ มแด พ ระสิ ขี พุ ท ธเจ า ผู ท รง อนุเคราะหแสัตวแทั้งปวง ขอนอบนอมพระเวสสภูพุทธเจา ผูชําระกิเลส ไดแลว มีตบะ ขอนอบน อ มพระกกุ สั น ธพุ ท ธเจ า ผู ท รง เอาชนะมารและกองทัพได
“เหล า คนธรรพแ ผู มี ฤ ทธิ์ ม ากในทิ ศ บู ร พา จงคุมครองขาพเจาใหเป็นผูไมมีโรค มีความสุข เหล า กุ ม ภั ณ ฑแ ผู มี ฤ ทธิ์ ม ากในทิ ศ ทั ก ษิ ณ จงคุมครองขาพเจาใหเป็นผูไมมีโรค มีความสุข เ ห ล า น า ค ผู มี ฤ ท ธิ์ ม า ก ใ น ทิ ศ ป ร ะ จิ ม จงคุมครองขาพเจาใหเป็นผูไมมีโรค มีความสุข เหลายักษแผูมีฤทธิ์มากในทิศอุดร จงคุมครอง ขาพเจาใหเป็นผูไมมีโรค มีความสุข
๖๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ท า วธตรฐเป็ น ผู รั ก ษาโลกทิ ศ บู ร พา ท า ว วิรุฬหกรักษาโลกทิศทักษิณ ทาววิรูปใกษแรักษาโลกทิศ ประจิม ทาวกุเวรรักษาโลกทิศอุดร”๙ โดยช า งเขี ย น ได ถ า ยทอดรู ปแบบทาง จิตรกรรมไทย คือ - ท า วกุ เ วร รั ก ษาโลกทิ ศ อุ ด ร เขี ย นให มี รูปลักษณะเป็นยักษแ กายสีเขียว สวมมงกุฎยอดน้ําเตา และนั่งแวดลอมดวยกลุมยักษแ - ทาววิรูปใกษแ รักษาโลก ทิศประจิม เขียนให มีรูปลักษณะเป็นเทพบุตร กายสีขาว สวมมงกุฎยอด นาค และนั่ ง แวดล อ มด ว ยกลุ ม นาค ที่ นิ มิ ต กายเป็ น มนุษยนาค กายสีขาวสวมมงกุฎยอดนาคเชนเดียวกัน - ทาววิรุฬหก รักษาโลกทิศทักษิณ เขียนให มีรูปลักษณะเป็นยักษแโลน กายสีทอง นั่งแวดลอมดวย กลุมยักษแ (หรือในที่นี้อาจหมายถึงกุมภัณฑแ) - ทาวธตรฐ รัก ษาโลกทิ ศบูรพา เขียนให มี รูปลักษณะคลายมนุษยแผูชาย ไมสวมมงกุฎ นั่งแวดลอม ดวยมนุษยแผูชาย (หรือในที่นี้อาจหมายถึงคนธรรพแ)
ซึ่งเนื้อความในอาฏานาฏิยสูตรสามารถสรุป ได ว า ท าวเวสสุ ว รรณนั้ น เป็น ใหญ ข องยั กษแ ทั้ ง หลาย ทาว วิรูปใกขแเป็นใหญของพวกนาค ทาววิรุฬหกเป็ น ใหญ ใ นพวกกุ ม ภั ณ ฑแ และท า วธตรฐเป็ น ใหญ ใ นหมู คนธรรพแ จึงมีความใกลเคียงกับที่ปรากฏในจิตรกรรม ฝาผนังเป็นอยางมาก
นถวิเคยาะห์เฉฝาะกายออกแนนโคยงสี ฟามใธฝยะอุโนสต ภายในพระอุโบสถมี “เสาในประธาน” ทั้งสิ้น ๔ คู โดยเขี ย นจิ ต รกรรมตกแต ง เป็ น ภาพ “เครื่ อ ง แขวน” ประดับเสาแบบที่เคยปรากฏกอนหนานี้ แต ประเด็นสําคัญอยูที่วา พื้นเสาแตละคูมีการระบายสีรอง พื้นที่แตกตางกันตามลําดับ คือ - เสาคู ที่ ห นึ่ ง นั บ จากผนั ง ด า นหลั ง พระ ประธาน ระบายพื้นหลังดวยสีขาวแรเสนดวยสีมอคราม (สีฟูา)
จิตรกรรมฝาผนัง และสถาปัตยกรรมภายใน ของพระอุโบสถวัดชุมพลนิกายาราม I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๖๕
- เสาคูที่สองระบายสีพื้นดวยสีขาว แรเสน ดวยสีหงชาด (สีชมพู) - เสาคูที่สามระบายสีพื้นดวยสีชาด (สีแดง) - เสาคูที่สี่ระบายดวยสีคราม (สีน้ําเงิน) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการใชงานจิตรกรรมฝาผนัง ในฐานะศิลปะตกแตงเพื่อสรางสุนทรียภาพ และการสื่อ ความหมายเชิงสัญลักษณแใหม อยางเดนชัด กลาวคือมี การใช “ทั ศ นธาตุ ” และ “ความรู้ สึ ก ”จากงาน จิตรกรรมมาเป็นสวนหนึ่งของการสราง “เอกภาพ” ที่ มีความสอดคลองกับสถาปใตยกรรมภายใน เนื่องจาก ผนังดานหลังพระประธานเขียนเป็นรูปซุมเรือนแกว บน ยอดสุดของซุมเรือนแกวประดิษฐาน “พระมหาพิชัย มงกุฎ” อั นเป็น พระราชลัญจกรประจําพระองคแของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เบื้องหนาของ จิตกรรมภาพซุมเรือนแกว ประดิษฐานพระพุทธปฏิมา ปร ะ ธาน คื อ “พ ระวิ ปั ส สี พุ ท ธเ จ้ า ” อั น เป็ น พระพุ ท ธเจ า พระองคแ แ รกตามเนื้ อ หาที่ ป รากฏใน จิตรกรรมฝาผนัง สีของเสาในประธานที่แตกตางกันมี ความสอดคลองไปกับระยะของแสงรัศมีจากพระราช ลัญจกรและพระประธานที่ ทําใหเสาต นที่ใกลกับพระ พุทธปฏิมาจะมี สี สวาง ดว ยสีขาว สีช าด และสี คราม ตามลําดับ จึง อาจเป็ น ดัง “ปริ ศ นาธรรม” ที่ แสดงให เห็นถึงสิ่งที่ใกลพระพุทธศาสนา (?) ยอมพบแสงสวาง ซึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของงานจิตรกรรมฝาผนังที่นิยม ในรั ชสมัย ของพระองคแ (ประเด็ นนี้ยั งอาจสื่ อไปถึ ง ส ถ า น ะ แ ห ง “ พ ร ะ จั ก ร พ ร ร ดิ ร า ช ” ข อ ง พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า ฯ ก็ เ ป็ น ได ซึ่ ง เป็ น ประเด็นที่ตองวิเคราะหแอยางลึกซึ้งตอไป)
สยุบ จิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถวัดชุมพล นิกายาราม เป็นตัวอยางอันดียิ่งที่แสดงถึง แนวทางใน การสร า งสรรคแ และแสดงออกทางจิ ต รกรรมไทย ในชวงสมัยของการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมวัฒนธรรม ในสยาม ดวยพระราชศรัทธาของพระบาทสมเด็จของ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ที่ ท รงมี ทั ศ นะต อ เนื้ อ หาใน พระพุ ท ธศาสนา โดยแสดงออกในรู ป ลั ก ษณแ ที่ ยั ง ๖๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
สามารถสืบเนื่องจากรูปแบบจากจิ ตรกรรมไทยแบบ ประเพณีนิยมที่เกิดขึ้นตั้งแตสมัยตนรัตนโกสินทรแ และ ได มี ก ารพั ฒ นาให มี เ นื้ อ หาตามหลั ก ปฏิ บั ติ ข อง ธรรมยุติกนิกายไดอยางลึกซึ้ง และแยบยล เชน ๑ .ก า ร ศึ ก ษ า เ นื้ อ ห า เ รื่ อ ง พ ร ะ อ ดี ต พระพุ ท ธเจ า และพุ ทธประวั ติข องพระพุ ท ธเจ าองคแ ปใ จ จุ บั น ที่ ป รากฏในพระไตรปิ ฎ กโดยตรง ทั้ ง ใน มหาปทานสูตร พระสุตตันปิ ฎก และอาฎานาฎิยสูตร ซึ่ง เป็นพระคัม ภีรแชั้น ตน อันเป็ น ไปตามหลักการตาม ธรรมยุติกนิกาย และพระราชศรัทธาในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาฯ ๒. เป็นเครื่องแสดงความลึกซึ้ง ของคุณคาใน การศึกษาตามพระไตรปิฎก ภาพจิตรกรรมฝาผนังจึงมี การถายทอดใหเป็นจริงตามพุทธบัญญัติที่กลาวไวอยาง ละเอียดรอบคอบ เชน ลักษณะของทาวจตุโลกบาลทั้งสี่ องคแ ชางไดเขียนตามที่พรรณนาไวในตามสุตตันปิ ฎก และอาฎานาฎิยสูตรอยางใกลเคียง ๓. การสรางสรรคแคุณคาเชิง สุนทรียภาพ ที่ สรางความสัมพันธแระหวางจิตรกรรมฝาผนัง สัญลักษณแ และสถาปใตยกรรมภายใน แสดงใหเห็นการสรางสรรคแ เชิงศิลปกรรมที่ใชการประสานรวมกัน ทุกองคแประกอบ ตั้ง แตพระประธาน เสารวมใน และจิตรกรรมฝาผนัง กอใหเกิดทัศนมิติ ที่สามารถนําพาผูคนเขาสูเปูาหมาย สูงสุดของงานจิตรกรรมฝาผนังไดอยางยอดเยี่ยม ดวยพระปรีชา และพระวินิจฉัยอันลึกซึ้งของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล าเจาอยูหัว เราอาจจะยัง ไมเขาถึงเหตุผลที่แทจริง ของพระราชศรัทธาถึงการยก ยองพระวิปใสสีพุทธเจา ขึ้นเป็นพระพุทธเจาองคแปฐม อันเป็นแนวคิดหลักในการสรางสรรคแจิตรกรรมฝาผนัง ภายในวัดชุมพลนิกายาราม และยังมีขอนาสงสัยวาเหตุ ใดจึงใชคติความเชื่อ และรูปลักษณแของพุทธศาสนาฝุาย “ธรรมยุติกนิกาย” มาเป็นแบบอยางในพุทธสถานของ “มหานิ ก าย” ซึ่ ง ยั ง คงเป็ น ข อ สงสั ย ที่ ร อการศึ ก ษา คนควาตอไป อย่ า งไรก็ ต ามการแปลความหมายในเชิ ง ประติมานวิทยา และคติ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ปรากฏ ในงานจิตรกรรมฝาผนัง ที่สร้างสรรค์ขึ้นตามพระราช
ศรัท ธาของพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล้า เจ้ าอยู่หั ว ได้ส ะท้ อ นให้ เห็ น ความปรารถนาที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของพระองค์ ป ระการหนึ่ ง คื อ การใช้ “ปัญญา” ในการรับรับรู้โลกภายนอกอย่างเป็นปัจจุบัน เพราะหากขาดซึ่ง ปัญญาแล้ว ก็ไม่มีทางเข้าถึงความหมายอันมหาศาล ที่สอดแทรกเป็นส่วน หนึ่ งในงานจิต รกรรมและศิ ลปกรรมตามพระราชศรัท ธาของพระองค์ อย่างน่าเสียดาย ๏
เชิงอยยต ๑
สมคิด จิระทัศนกุล . (๒๕๔๗). รูปแบบพระอุโบสถและพระวิหารในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. หนา ๑๓. ๒ ประยุทธ สิทธิพันธแ. (๒๕๑๖). สมเด็จพระจอมเกล้า เจ้ากรุงสยาม เล่มต้น. หนา ๓๐. ๓ สมเด็จพระญาณสังวร (สุวทฒโน). (๒๕๓๑). พุทธศาสนวงศ์. หนา ๕๕. ๔ หอสมุดแหงชาติ. (๒๕๐๕-๒๕๐๖). พระราชพงศาวดารกรุงรั ตนโกสินทร์ ฉบับหอสมุ ด แห่งชาติ. หนา ๗๖๖. ๕ กรมศิลปากร. (๒๕๐๗). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทุมาศ (เจิม) กับ พระจักพรรดิพงศ์ (จาด). หนา ๓๔๔, ๘๖๗. ๖ กรมศิลปากร. (๒๕๓๐). ประวัติวัดชุมพลนิกายาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. หนา ๒๐๒๒. ๗ หอสมุดแหงชาติ. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔. สมุดขอเฝูา. เสนดินสอขาว. จ.ศ.๑๒๒๕. เลขที่ ๑๓๔. ๘ พระสูตรและอรรถกถา แปล ทีฆนิก าย ปาฏิก วรรค เล่ มที่ ๓ ภาคที่ ๒. (๒๕๒๗). หน า ๑๒๔-๑๒๕. ๙ เรื่องเดียวกัน.
นยยฒาธุกยภ ญาณสังวร (สุวฑฒโน), สมเด็จพระ. (๒๕๓๑). พุทธศาสนวงศ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแมหามงกุฎราช วิทยาลัย. _______. (๒๕๒๓). ประวัติวัดชุมพลนิกายาราม. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. _______. (๒๕๒๓). ประวัติวัดชุมพลนิกายาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : อมรินทรแ. ประยุทธ สิทธิพันธแ. (๒๕๑๖). สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแมิตร สยาม. พระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธยา ฉบั บ พั น จั น ทุ ม าศ (เจิ ม ) กั บ พระจั ก รพรรดิ พ งศ์ (จาด). (๒๕๐๗). พระนคร : คลังวิทยา, พระสูตรและอรรถกถา แปล ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่มที่ ๓ ภาคที่ ๒. (๒๕๒๗). กรุงเทพฯ : มหา มงกุฎราชวิทยาลัย. สมคิด จิระทัศนกุล . (๒๕๔๗). พระอุโบสถและพระวิหารในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. หอสมุดแหงชาติ. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔. สมุดขอเฝูา. เสนดินสอขาว. จ.ศ.๑๒๒๕. เลขที่ ๑๓๔. หอสมุดแหงชาติ. (๒๕๐๕-๒๕๐๖). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. พระนคร : คลังวิทยา. อิสรา อุปถัมภแ. (๒๕๔๙). จิตรกรรมฝาผนังวัดชุมพลนิกายาราม: การวิเคราะห์จากมุมมองใหม่. สารนิพนธแปริญญา มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๖๗
ฤักษฒะปสภใธจิดยกยยภวัณ จอก ดอ จี เภืองอภยบุยะ : ยูบแนนแฤะนยินถถางวัฑธทยยภ
วยวิถม์ สิธทุยะหัส*
ภาพประกอบ ๑ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
วัดจอก ตอ จี ตั้งอยู่ที่เมืองอมรปุระเป็นเมืองหลวงที่พระเจ้าปดุงย้ายจากอังวะมายังอมรปุระ (ภาพที่ ๑) วัดนี้สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าปกันมินหรือพระเจ้าพุกามแห่งราชวงศ์คองบอง ในปี พ.ศ. ๒๓๙๐ ตรงกับรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์วัดนี้ตั้งอยู่บริเวณริมทะเลสาบตองตะมานการเดินทาง ต้องข้ามสะพานไม้อูเบงยาวประมาณ ๑,๒๐๐ เมตร (ภาพที่ ๒)
* ครู วิทยฐานะชํานาญการ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศิลป) โรงเรียนสมโภชกรุงอนุสรณแ (๒๐๐ ปี) กรุงเทพมหานคร ๖๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ภาพประกอบ ๒ สะพานไม้อูเบง อมรปุระ
รู ป แบบทางศิ ลปะของวั ด โดยเฉพาะเจติ ย วิ ห ารได แ นวคิ ด ในการสร า งมาจากอานั น ทเจดี ยแ ๑ รายละเอียดภายในวัดโดยเฉพาะงานจิตรกรรม รูปแบบ ทางศิ ล ปกรรมน า จะได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากศิ ล ปะไทย สันนิษฐานวาไดรับอิทธิพลจากศิลปะอยุธยาตอนปลาย เมื่อครั้ง เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ มีเชลยชาวอยุธยาไดถูกกวาดตอนเขามายัง กรุง อัง วะ เป็นจํานวนมาก รวมถึงที่เ มื องสะกาย เนื่องดวยทาง กรุงอังวะตองการที่จะตัดกําลังกรุงศรีอยุธยามิใหฟื้นคืน ได อี ก เชลยชาวอยุ ธ ยามี ทั้ ง พระบรมวงศานุ ว งศแ ขาราชการ ทหาร ประชาชน และสวนหนึ่ง ก็คือผูที่ มี ความสามารถทางดานศิลปะอยางชางเขียน โขน ละคร สอดคลองกับบทความประวัติศาสตรแพมาวา พระเจ า ช า งเผื อ กมี คํ า สั่ ง ให จั บ พระบรมวงศานุ ว งศแ ไ ปยั ง กรุ ง อั ง วะ รวมทั้ง ได เ ก็ บ สมบั ติ แ ละเกณฑแ ไ พร พ ลใน อาชี พ ต า งๆ ได แ ก ช า งเขี ย น ช า งฟู อ น นั ก ดนตรี ชางแกะสลัก ชางทองและเงิน ชางมุก ชางลงรักปิดทอง กลับไปในครั้งนั้นดวย๒ ตัวอยา งหลัก ฐานงานศิลปกรรม จิต รกรรม ภายในวิหารวัดมหาเตงดอจีที่เมืองสะกายเป็นสิ่งที่บอก ไดวา คือฝี มือของช างชาวอยุธยา เพราะรายละเอีย ด
ภาพประกอบ ๓ จิตรกรรมภายในอุโบสถวัดมหาเตงดอจี ศิลปะอยุธยาตอนปลาย สะกาย
ของสี เสน ในงานจิตรกรรม ประติมากรรมเป็นแบบ ศิลปะอยุธยาตอนปลายทั้งสิ้น (ภาพที่ ๓) ดังนั้น ศิลปะ ในวัดจอก ตอ จี จึงปรากฏถึงอิทธิพลจากศิลปะอยุธยา ตอนปลายตามไปดวย อาจเป็นเพราะเมืองอมรปุระซึ่ง เป็นเมืองหลวงอีกแหงหนึ่งหางจากอังวะเมืองหลวงเกา ไมมาก อยูในบริเวณเดียวกัน รูปแบบทางศิลปะอาจสืบ ตอจากของเกาดวยรวมถึงเมืองสะกายมีจิตรกรรมของ ชางชาวอยุธยาซึ่ง ระยะทางใกลเคียงกับเมืองอมรปุระ ดวย ดังนั้นศิลปะไทยในวัดจอก ตอ จี จึงมีแนวโน มวา นาจะไดอิทธิพลจากศิลปะอยุธยาตอนปลาย ตัวอยาง งานศิลปะที่ศึกษาคือจิตรกรรมรายละเอียดมีดังตอไปนี้
จิดยกยยภ ๑. ลายกรอบย่ อ มุ ม (ภาพที่ ๔) ลั ก ษณะ คลายกับลายกรอบยอมุม ในศิลปะอยุธยาตอนปลาย ตั ว อย า งเช น ลายกรอบย อ มุ ม บนเพดาน ที่ อุ โ บสถ วั ด สระบั ว เพชรบุ รี (ภาพที่ ๕) หากเปรี ย บเที ย บ รูปแบบแลว มีรูปแบบคลายกัน เป็นลายที่ใชเขียนบน เพดาน มีลายดาวเพดาน ลายประจํายาม เหมือนกัน และจิตรกรรมเพดานที่วัดอุบาลีเตง เมืองพุกามก็เขียน เพดานลักษณะนี้เชนกัน (ภาพที่ ๖)
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๖๙
ภาพประกอบ ๔ ลายกรอบย่อมุมบนเพดาน เจติยวิหารวัดจอก ตอ จี อมรปุระ ภาพประกอบ ๗ เทพนมแบบที่ ๑ องค์ที่ ๑ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
ภาพประกอบ ๕ ลายกรอบย่อมุมบนเพดานอุโบสถวัดสระบัว เพชรบุรี
ภาพประกอบ ๘ เทวดาบนหน้าต่างวัดสระบัว เพชรบุรี ภาพประกอบ ๖ ลายกรอบย่อมุมบนเพดานวัดอุบาลีเตง พุกาม
๗๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ภาพประกอบ ๙ เทพนมแบบที่ ๑ องค์ที่ ๒ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
ภาพประกอบ ๑๐ เทพนมแบบที่ ๒ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
ภาพประกอบ ๑๑ เทพนมแบบที่ ๓ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
๒.เทพนม เทพนมแบบที่ ๑ องคแ ที่ ๑ ลั ก ษณะเทพนมแบบที่ ๑ (ภาพที่ ๗) เมื่อพิจารณาจากรายละเอียดของเครื่องทรง มีรูปแบบ ของศิลปะไทย ไดแก กระบังหนา มงกุฎ กรรเจียก กุณฑล กรองศอ พาหุ รั ด ทองกร ใบหน า ทํา คิ้ ว โกง คล ายศิ ล ปะไทยแต ไ ม โก ง มาก รวมทั้ง ตา จมูก ปาก เสน หนวด มองจากภาพรวมแลวมีความเป็น ศิลปะไทยแตยัง ไมเหมือนเสียทีเดียว มีลายกนกสามตัวแทรกอยู ทางดานขางลําตัว ลายกนกแบงเป็นสามตัวสะบัดดวยยอดหางไหล คลายศิลปะไทย และโผลขึ้นจากดอกบัวเหมือนเทพนมในศิลปะไทย เที ย บได กั บ จิ ต รกรรมเทวดาบนหน า ต า งวั ด สระบั ว เพชรบุ รี (ภาพที่ ๑๑) สิ่งที่แตกตางจากศิลปะไทย คือ รูปหนาคอนขางกลมเป็น แบบทองถิ่น ไมเหมือนใบหนารูปไขในจิตรกรรมไทย คอสั้น นิ้วมือ ไมออ นชอยกรีด กรายเหมือ นจิต รกรรมไทย รูป รางค อนขา งอวบ ตางจากจิตรกรรมไทยที่นิยมรูปรางสะโอดสะอง ในสวนนี้อาจเป็น ความนิยมของการเขียนรูปเทพนมแบบพมาก็เป็นได องค์ที่ ๒ ดานตรงขามมีภาพเทพนมแบบที่ ๑ อีกหนึ่งองคแ ที่มีลักษณะเครื่องทรงคลายกับศิลปะไทยโดยเฉพาะใบหนามีเคาของ จิต รกรรมไทยมากกว า องคแแ รก คือ คิ้ วโก ง เหมื อนคั นธนูเ หมื อ น ศิ ล ปะไทยมาก ตาเหลื อ บต่ํ า เหนื อ ริ ม ฝี ป ากเขี ย นหนวดสะบั ด ออกเป็นหางไหล ใบหนาหวานเป็นรูปไข ความชัดเจนของเครื่อง ทรงแบบไทย ไดแก กระบัง หนา มงกุฎ กรรเจียกปลายกนกเปลว ค อ น ข า ง พ ริ้ ว ก ว าอ ง คแ ที่ ๑ มี กุ ณฑ ล ก ร อ ง ศอ สั ง ว าล ทับทรวงลายประจํายาม (ภาพที่ ๙) เป็นไปไดวาชางเขียนมีความ เข า ใจในคติ นิ ย มในการเขี ย นใบหน า ตามคติ นิ ย มจิ ต รกรรมไทย ประเพณีมากกวา กล าวไดวาเทพนมองคแนี้ มีความเป็นศิลปะไทย มากกวาองคแที่ ๑ อาจเป็ น ช า งคนละคนกั บ เทพนมองคแ ที่ ๑ เพราะว า รายละเอียดของเครื่อ งทรงตางกัน กลาวคือชางที่เขียนองคแที่ ๒ มี ค วามเข า ใจในรู ป แบบการเขี ย นเทพนมแบบจิ ต รกรรมไทย ประเพณีและมีความชํานาญในการเขียนลายไทยมากกวาองคแที่ ๑ มาก หรืออาจเป็นชางคนเดียวกันแตตองการความแตกตางทางดาน มุมมองก็เป็นได เพื่อไมใหภาพเขียนเกิดความซ้ําจนเกินไป
ภาพประกอบ ๑๒ เทพนมแบบที่ ๔ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๗๑
ภาพประกอบ ๑๓ เทวดาเหาะ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
ภาพประกอบ ๑๔ การประดับชายไหวชายแครง ของเทวดาและอมนุษย์ จิตรกรรมฝาผนัง ภายในอุโบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม เพชรบุรี ภาพประกอบ ๑๗ ภาพยักษ์บนเพดานวัดจอก ตอ จี อมรปุระ
ภาพประกอบ ๑๕ ภาพนักสิทธิ์วิทยาธร จิตรกรรมฝาผนัง ภายในอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม เพชรบุรี
ภาพประกอบ ๑๖ ภาพนักสิทธิ์วิทยาธรจิตรกรรมฝาผนัง ภายในศาลาการเปรียญวัดใหญ่สุวรรณาราม เพชรบุรี ๗๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ภาพประกอบ ๑๘ ใบหน้ายักษ์ จิตรกรรม ภายในอุโบสถวัดช่องนนทรี กรุงเทพฯ
ภาพประกอบ ๑๘ ใบหน้ายักษ์ จิตรกรรมภายในอุโบสถ วัดใหญ่สุวรรณาราม เพชรบุรี
เทพนมแบบที่ ๒ มี ร ายละเอี ย ดคล า ยกั บ เทพนมแบบที่ ๑ พนมมื อ ถื อ ช อ ดอกไม ๔ ช อ นั่ ง ขั ด สมาธิ (ภาพที่ ๑๐) คื อ ประกอบด ว ยมงกุ ฎ สวมกรรเจียก ไมใสกุณฑล กรองศอแบบไทย แตมงกุฎ และกรรเจี ยกเขี ย นไม ค อยคํ า นึง ถึ ง สั ดส ว นที่ถู ก ต อ ง เพราะวากรรเจียกใหญมาก กรรเจียกเขียนคลายกนก ใบเทศมีเสนแร สิ่ ง ที่ แ ตกต า งจากศิ ล ปะไทย คื อ ใบหน า เหลี่ ย มแสดงความเป็ น ท อ งถิ่ น ปากเล็ ก คิ้ ว ไม โ ก ง มีรอยยิ้มเป็นธรรมชาติ ชุดที่สวมคลายกับเสื้อ นาจะ เป็นชุดเครื่องทรงแบบวัฒนธรรมพมา เทพนมแบบที่ ๒ มีการผสมผสานกันในเรื่องของเครื่องแตงกายระหวาง ศิลปะไทยกับศิลปะพมา เมื่อเปรีย บเทียบกับ เทพนม แบบที่ ๑ ที่มีความเขมขนของศิลปะไทยมากกวา อาจ เป็นไปไดวา ชางเขียนมีหลายคน เพราะทั้งสี สัดส วน เส น ตา งกั น หรื อ เป็ น ช า งคนเดีย วกั น ตอ งการความ แปลกใหมดวยการรวมรูปแบบงานศิลปะทั้ง พมาและ ไทยไวดวยกัน เทพนมแบบที่ ๓ มีลักษณะคลายกับเทพนม แบบที่ ๒ ประกอบดวยมงกุฎ ๓ ยอด กรรเจียกมีขนาด ใหญ ไ มคํ า นึ งถึ ง สั ดส ว น พนมมื อถื อ ช อดอกไม ข นาด ใหญ ก ว า ลํ า ตั ว ออกช อ เป็ น ธรรมชาติ นั่ ง พั บ เพี ย บ ใบหน าเป็น แบบท องถิ่น สวมชุดเครื่องทรงแบบพม า (ภาพที่ ๑๑) เทพนมแบบที่ ๔ มีรูปแบบคลายกับเทพนม แบบที่ ๒ และ ๓ คือ สวมมงกุฎแบบไทยแตสวมใสชุด และหนาตาและการแตงกายเป็นพมา เขาใจวานาจะ
ภาพประกอบ ๒๐ ภาพร่างหัวโขน ทศกัณฐ์ (Dasagiri)
เลียนแบบการแตงกายของชนชั้นสูงในสมัยนั้น แตยังคง มี ล ายกนกออกมาจากลํ า ตั ว ทั้ ง สองข า งเหมื อ นกั บ เทพนมองคแอื่นๆ ที่นาสัง เกต คือ ลายกนกของเทพนมแบบที่ ๔ ไมคอยเป็นแบบศิลปะไทยเทาที่ควร คือการแบงของ ตัวกนกดูสับสน ชางเขียนอาจไมเขาใจในรูปแบบลาย กนกแบบไทย มี ก ารพนมมื อ ถื อ ช อ ดอกไม เ ช น กั น หรือรูปแบบของลายกนกไทยเริ่มกลืนกลายเป็นแบบ ทองถิ่นพมาไปแลว มีขอแตกตางจากเทพนมแบบที่ ๓ คือ มงกุฎมีขนาดเล็กเหมือนทรงกรวย กรรเจียกไมใหญ ทําใหมวนไปอยูดานหลัง (ภาพที่ ๑๒) ๓.เทวดาเหาะ ลักษณะเป็นเทวดาอยูในทา เหาะมือถือสิ่งของตางกัน บางองคแพนมมือถือชอดอกไม บางองคแ ถือ ช อดอกไม อย า งเดี ย วไม พนมมือ หรื อ ถื อ สิ่ ง ของคล า ยกั บ หนั ง สื อ หรื อ คั ม ภี รแ สี ห น า แววตา เป็นธรรมชาติ หันหนาไปดานขางหรือดานหลัง สิ่ง ที่ ปรากฏในศิลปะไทยจากรูปแบบเครื่องทรงของเทวดา เหาะ คือ มงกุฎ กรรเจียก กรองศอ พาหุรัด ทองกร สังวาล ปใ้นเหนง สวมเฉพาะองคแที่ไมใสเสื้อ ทุกองคแจะ คลองผาหมเฉียงคลายผาสไบหรือคลองไหลไว ชายผา สะบัดออกพลิ้วไหว สวมเสื้อแขนสั้น ทอนลางสวมสนับ เพลา (ภาพที่ ๑๓) ประดับชายไหว ชายแครง ลักษณะ ของ “ชายไหว ชายแครง” ที่สวนปลายสะบัดไปขาง หลั ง เป็ น ริ้ ว ประดิ ษ ฐแ ซ อ นกั น สองชั้ น เมื่ อ ยามนั่ ง ยอมถือเป็นเอกลักษณแอยางหนึ่งซึ่งพบในงานจิตรกรรม ไทยประเพณี ดัง ปรากฏตัวอยางในจิตรกรรมฝาผนั ง สมัยอยุธยาตอนปลายโดยทั่วไป๓ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๗๓
ตั ว อย า งงานจิ ต รกรรมฝาผนั ง สมั ย อยุ ธ ยา ตอนปลายที่วัดใหญสุวรรณาราม เพชรบุรี ภาพเทวดา ที่ แ ต ง เครื่ อ งทรงประดั บ ชายไหวชายแครง รวมทั้ ง ลวดลายผานุงคลายกัน (ภาพที่ ๑๔) สวนทาทางการถือ ตนไมหรือสิ่งของยังเปรียบเทียบไดกับจิตรกรรมอยุธยา ตอนปลายเปรียบเทียบกับ ภาพนักสิทธิ์วิทยาธรเหาะ จิตรกรรมฝาผนั ง ภายในอุโ บสถวั ดใหญ สุว รรณาราม เพชรบุ รี (ภาพที่ ๑๕) และภาพนั ก สิ ท ธิ์ วิ ท ยาธร จิตรกรรมฝาผนังศาลาการเปรียญของวัดใหญสุวรรณารามเชนกัน (ภาพที่ ๑๖) ๔.ใบหน้ า ยั ก ษ์ จากการพิ จ ารณารู ป แบบ พบวามีความเป็ นศิลปะไทยคอนขางมาก สวนศีรษะ สวมกระบั ง หน า กรรเจี ย กกนกเปลวแบ ง สามตั ว พาหุรัดเป็นลายประจํายาม ทองกรประดับลายกระจัง รวน ใบหนาเป็ นแบบยักษแ ในจิ ตรกรรมประเพณีไทย ศีรษะเป็นวงกนหอยคือมีปลายคิ้วสะบัดเป็นหางไหล ตาโพลง เขี้ย วงอโงง ลํา ตัว ล่ํ าสั น ด า นหลั งเป็ นพั น ธุแ พฤกษาแตกชอ (ภาพที่ ๑๗) หากสังเกตการระบายสี พันธุแพฤกษาจะพบวามีการไลน้ําหนักออนแกตามแบบ ศิลปะตะวันตก คิดวาในระยะนี้ชางเขียนภาพคงไดรับ เทคนิคแบบตะวันตกมาดวย รูปแบบของใบหนายักษแ สามารถเทียบไดกั บจิต รกรรมสมั ยอยุ ธยาตอนปลาย ได แ ก จิ ต รกรรมฝาผนั ง วั ด ช อ งนนทรี กรุ ง เทพฯ (ภาพที่ ๑๘) จิ ต รกรรมฝาผนั ง วั ด ใหญ สุ ว รรณราม เพชรบุรี (ภาพที่ ๑๙) การเขามาของยักษแไทยนี้เคยมีการนําเสนอ ส า ร ค ดี เ กี่ ย ว กั บ ก ลุ ม เ ช ล ย ช า ว อ ยุ ธ ย า ข อ ง รองศาสตราจารยแ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนทแ สันนิษฐาน ไดวานาจะมาจากกลุมเชลยชาวอยุธยาที่เป็นพวกโขน ละคร ซึ่งแตกอนในบริเวณวัดจอก ตอจี มีเรื่องเลากัน วามีหัวโขนยักษแที่เชลยชาวอยุธยานําติดตัวมาตั้งแตชวง เสียกรุงครั้งที่ ๒ นํามาบูชาไวที่ศาลเพียงตา ตอมาเกิด ไฟไหม ศ าล หั ว โขนยั ก ษแ พ ลอยเสี ย หายไปด ว ยจึ ง ไม ปรากฏหลักฐานใหเห็นจนกระทั่งทุกวันนี้ ๔ เรื่องนี้จึง กลายเป็ น คํ า บอกเล า ต อ กั น มา แม ว า หลั ก ฐานของ หัวโขนไมมีแลว ในประเด็นนี้วิเคราะหแไดวาแนวโนม ของการนํ า หั ว โขนจากชาวอยุ ธ ยานั้ น น า จะมี ค วาม เป็นไปไดเพราะปรากฏหลักฐานศิ ลาจําหลั กหินเรื่อ ง ๗๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
รามเกีย รติ์ พบภายในสํานักสงฆแบายารแจี (Bayarkyi) ตั้งอยูภายในเขตบูดาลิน (Butalin) ซึ่งอยูทางภาคเหนือ ของเมืองมนยวา มณฑลสะกาย นั ก วิ ช าการพม า สั น นิ ษ ฐานว า ศิ ล าจํ า หลั ก ดัง กลาวนาจะถูกสรางขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๘๙ ตรงกับสมัยราชวงศแคองบองรวมสมัยกับตอนตนของ กรุ ง รั ต นโกสิ น ทรแ ๕ ตรงกั บ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว รายละเอียดของศิลาจําหลักเรื่อง รามเกี ยรติ์ จ ะสลั ก เป็ นประติ มากรรมภาพนู นต่ํ า เล า เรื่องในตอนตางๆตามทองเรื่อง พบลักษณะหัวโขนยักษแ เชน ทศกัณฐแ (Dasagiri) เขาใจวาไดรับอิทธิพลจากงาน ชางไทย (ภาพที่ ๒๐) สิ่งที่สามารถเปรียบเทียบไดกับยักษแแบบไทย ในจิตรกรรมเพดานวัดจอก ตอ จี คือ แผนศิลาจําหลัก ที่ ๑๐๑ ภาษาพมาเขียนวา “นองชายของทศกัณฐแ ” สันนิษฐานวาเป็น “ยักษแกุมภกรรณ” เป็นประเภทยักษแ หัวโลน ปากแสยะ ตาโพลง มีกายสีเขียว มีอาวุธประจํา กายคื อ หอกโมกขศั ก ดิ์ ลั ก ษณะเศี ย รเที ย บได กั บ หัวโขนอยางไทย๖ อาจกลาวไดวายักษแกุมภกรรณจาก ศิล าจํ าหลั ก นี้มี รู ป แบบใกลเ คี ย งกั บ ยั กษแ แ บบไทยใน จิตรกรรมเพดานวัดจอก ตอ จี ดวยลักษณะเป็นยักษแ หัวโลนรวมถึงรายละเอียดตางๆ มีความคลายกัน แสดง ให เห็ น วา ยั กษแ แบบไทยนี้มี มาก อนแลว (ภาพที่ ๒๑) ศิลาจําหลักเหลานี้สรางขึ้นกอนการสรางวัดจอก ตอจี ประมาณ ๑ ปี ตามเอกสารของนักวิชาการที่ไดกลาวถึง ประวัติก ารสรางในขางตนว าสร างใน พ.ศ. ๒๓๙๐ อาจทําใหเชื่อไดวาศิลาจําหลักเรื่องรามเกียรติ์คงจะเป็น ตน แบบให แ กจิ ตรกรรมวัด จอก ตอจีด วย จะว าด ว ย เหตุผลทางด านพื้นที่คงเป็นไดเพราะศิลาจําหลักอยูที่ มณฑลสะกาย ซึ่ง ใกล กับเมืองอมรปุระการถายทอด งานศิลปกรรมจึงนาจะเป็นไปไดสูง อีก ประการหนึ่ง ที่ เ กี่ย วกั บคณะโขนละคร จากอยุ ธ ยาว า เมื่ อ พม า ได พ วกละครไปจากกรุ ง ศรี อยุ ธ ยา พระเจ า อั ง วะมั ง ระให เ ล น ละครไทยถวาย ทอดพระเนตร ครั้นได ทอดพระเนตรก็โปรดยกยองวา กระบวนรํา ของไทยงามกวา ละครพมา จึ ง มีรั บสั่ ง ให
ภาพประกอบ ๒๑ แผ่นศิลาจ่าหลักที่ ๑๐๑ สันนิษฐานว่าเป็น “ยักษ์กุมกรรณ” ส่านักสงฆ์บายาร์จี (Bayarkyi) เขตบูดาลิน (Butalin) ภาคเหนือของเมืองมนยวา มณฑลสะกาย
ภาพประกอบ ๒๒ รอยพระพุทธบาทบนเพดานเจติยวิหาร วัด จอก ตอ จี เมืองอมรปุระ
ภาพประกอบ ๒๓ รอยพระพุทธบาทจ่าหลักไม้ วัดพระรูป สุพรรณบุรี
รวบรวมไทยพวกละครและปี่ พ าทยแ ไ ว เ ป็ น กรมหนึ่ ง ต า งหาก ประทานที่ ใ ห ตั้ ง บ า นเรื อ นอยู ใ นราชธานี สําหรับเลนละครไทยในงานมหรสพของหลวง มิใหตอง มีหนาที่ราชการอยางอื่น เมื่อยายราชธานีไปตั้งที่เมือง ไหนพวกละครก็ยายตามไปดวย๗ หากวาคณะโขนละคร เขามาอาศัยอยูในเมืองอังวะภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยา คงจะแสดงเพื่อรับราชการในพระราชสํานักพมา ตอมา มีการยายเมืองหลวงไปยังเมืองอมรปุระ คณะโขนละคร คงจะย า ยตามไปด ว ยเนื่ อ งจากเป็ น งานราชการ การยายเมืองหลวงโดยทั่วไปนาจะตองการกําลังคน จึง อาจมีการอพยพกลุมคนในสาขาอาชีพตางๆ รวมทั้งชาง เขียนดวยก็อาจเป็นได เมื่อมีการสรางวัดจอก ตอ จี คงไดชางเขียน ชาวอยุ ธ ยารุ น ลู ก หลานมาดํ า เนิ น งานในการเขี ย น จิตรกรรม หากเชื่อวาคณะโขนละครยายตามมาดว ย แรงบันดาลใจในการเขียนจิตรกรรมอิทธิพลศิลปะไทย อาจไดแนวคิดจากรูปแบบของโขนละคร เพราะเมื่อมี การยายเมืองหลวงไปอยูที่ใด คณะโขนละครก็ยายตาม ไปดวย เพื่อไปรับใชแสดงใหชนชั้นสูงไดรับชม เมื่อยาย เมืองหลวงมายังเมืองอมรปุระ มีการสรางวัดจอก ตอ จี ในพ.ศ.๒๓๙๐ เป็ น เจติ ย วิ ห ารหลั ง ใหญ เ ลี ย นแบบ อานันทเจดียแ ซึ่งเป็นวัดสําคัญวัดหนึ่งในเมืองนี้ คิดวาผู ที่สั่ง ให สร างคงเป็ นบุ คคลในชนชั้ นสู ง หรือ กษั ตริ ยแใ น สมั ย นั้ น งานศิ ล ปกรรมที่ ส ร า งขึ้ น น า จะได รั บ การ คั ด เลื อ กเป็ น อย า งดี ใ นเรื่ อ งของฝี มื อ เชิ ง ช า งทั้ ง ประติมากรรม จิตรกรรม ในเวลานั้นหางจากชวงเสีย กรุง ครั้ ง ที่ ๒ มาถึ ง ๘๐ ปีจึง สรางวั ดจอก ตอ จี ชา ง เขียนชาวอยุธยาอาจเป็นรุน ลูกหลานที่ยั ง คงสื บทอด ฝีมือเรื่อยมา รูปแบบจึงเริ่มปรับเปลี่ยนผสมผสานกับ รสนิยมแบบพมาบางแลว ๕.รอยพระพุ ท ธบาท การเขี ย นภาพรอย พระพุทธบาทในพมามีตั้งแตสมัยพุกาม โดยเขียนรอย พระพุทธบาทบนเพดานเจติยวิหาร ภายในเจติยวิหาร วัดจอก ตอ จี เชนกัน คงไดแนวความคิดในการเขียน สืบตอมาดวย เมื่อพิจารณารูปแบบรอยพระพุทธบาท บนเพดานวัดจอก ตอ จี สันนิษฐานวารูปแบบของรอย พุ ท ธบาทน า จะได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากศิ ล ปะอยุ ธ ยาด ว ย (ภาพที่ ๒๒) I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๗๕
รายละเอียดของรอยพระพุทธบาทจะเขียน เป็นรูปหอยสัง ขแ ๕ ตัวตรงปลายนิ้วเทาทั้ง ๕ รูปหอย สังขแนาจะเป็นลายมงคลที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณแ เป็นความเชื่อของชาวพมาวา พระพุทธเจาเสด็จมายัง แม น้ํ า มหานั ม มทาในอิ น เดี ย ๑ ใน ๕ ของสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์จากทั่วโลก แตชาวพมาเชื่อวาแมน้ําสายนี้อยู ในเมืองพมาดวย รอยพระพุทธบาทที่ชเวเสดตอรัชกาล พระเจ า สอลู เมื่ อ พระพุ ท ธเจ า เสด็ จ มายั ง แม น้ํ า มหานั มมทา มี พญานาคคอยคุ มครองดู แลในสายน้ํ า ดวยเหตุจึงเขียนรูปหอยสังขแเพื่อเป็นสัญลักษณแวาอยูใน น้ํา สะทอนกับความเชื่อของชาวพมาเกี่ยวกับการบูชา รอยพระพุทธบาทที่วาตองประพรมน้ําใหชุมตลอดเวลา ประหนึ่งวาอยูในสายน้ํานั่นเอง๘ ส ว นวงกลมกลางฝุ า เท า ที่ แ บ ง เป็ น รู ป เท า ขนาดเล็ก บรรจุสัญ ลักษณแตางๆไว ๑๐๘ ชนิด คงจะ เป็นสิ่งมงคล ๑๐๘ ประการ มีทั้ง ปราสาท สัตวแ ฯลฯ เทียบไดกับศิลปะอยุธยา ตั วอยาง คือ รอยพระพุทธ บาทจําหลักไม วัดพระรูป สุพรรณบุรี (ภาพที่ ๒๓) สิ่ ง ที่ ค ล า ยกั น คื อ รู ป ร า งของรอยพระ พุทธบาท และมีผังกลมอยูกลางฝุาเทาแบงเป็น ๑๐๘ ชองเพื่อใสสัญลักษณแสิ่งมงคล ๑๐๘ ประการ สิ่งที่แตกตางกัน คือรอยพระพุทธบาทจําหลัก ไม วัดพระรูป ทําสวนนิ้วเทามวนเป็นกนหอย ๖.ราชรถ เป็นพาหนะชนิดหนึ่งที่มีเอกลักษณแ ของศิลปะไทย มีลายกนกเกรินประดับแบงสามตัวเป็น กนกเปลว ชั้นหลังคาเป็นแบบศิลปะไทย (ภาพที่ ๒๔) จากภาพ น า จะเป็ น การจํ า ลองระบบจั ก รวาล ประกอบดวยดาวตางๆ สัตวแที่วิ่งภายในเกริน ดูแลวคือ กระตายอยูในวงกลมสีขาวนวล ขางหลังมีเทวดาซอน อยู ข า งหน า ลากด ว ยม า กํ า ลั ง วิ่ ง ไปข า งหน า น า จะ หมายถึงการโคจรของพระจันทรแ ราชรถแบบนี้ปรากฏ ในงานจิ ตรกรรมฝาผนั งเหนือ ประตู ทางเขา วิห ารวั ด พญาตงซู อมรปุระ ราชรถ มีชั้นหลังคายอดปยาทาด แบบพมา แตกนกทางดานขางยังมีเคาของงานชางไทย ซึ่งผสมในรสนิยมแบบพมา (ภาพที่ ๒๕) สันนิษฐานวา เป็ น งานต นสมั ย ราชวงศแ ค องบอง ราวพุ ทธศตวรรษ ที่ ๒๔๙
๗๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ภาพประกอบ ๒๔ ราชรถบนเพดานเจติยวิหาร วัดจอก ตอ จี อมรปุระ
ภาพประกอบ ๒๕ ราชรถในงานจิตรกรรมฝาผนัง เหนือประตูทางเข้า วิหารวัดพญาตงซู อมรปุระ
๗.ลายพั น ธุ์ พ ฤกษา จิ ต รกรรมบนเพดาน เจติย วิ หาร ยั ง มี ส วนประกอบของ ลายพั นธุแ พ ฤกษา อยาง ดอกไมหรือลายกนกที่นาจะมีความสัมพันธแกับ ศิลปะอยุธยาตอนปลาย ไดแก ชอดอกไมมีใบไมมวน เปรี ย บเที ย บกั บ จิ ต รกรรมฝาผนั ง วั ด มหาเตงดอจี เมืองสะกาย (ภาพที่ ๒๖ ) และ(ภาพที่ ๒๗) ทั้งนี้นาจะ สืบมาจากลายพันธุแพฤกษา จิตรกรรมอยุธยาตอนปลาย ภายในอุโบสถวัดใหญสุวรรณาราม เพราะวามีรูปแบบที่ คลายกัน
ภาพประกอบ ๒๖
ภาพประกอบ ๒๗
เปรียบเทียบลายพันธุ์พฤกษาระหว่างจิตรกรรมภายในวัดจอก ตอ จี อมรปุระ (ภาพประกอบ ๒๖) และจิตรกรรมภายในวัดมหาเตงดอจี สกาย (ภาพประกอบ ๒๗)
ภาพประกอบ ๒๙
ภาพประกอบ ๓๐
เปรียบเทียบลายกนกเปลวสามตัว ระหว่างจิตรกรรม ภายในวัดจอก ตอ จี เมืองอมรปุระ (ภาพประกอบ ๒๙) และลายกนกสามตัวจิตรกรรมภายในวัดสระบัว เพชรบุรี (ภาพประกอบ ๓๐)
ภาพประกอบ ๒๘ ลายพันธุ์พฤกษาภายในอุโบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม เพชรบุรี
จากรูปของลายพันธุแพฤกษาทั้งสองแบบนี้มี ระเบียบเดียวกันทั้ง สี ลาย ใบไมมวนสีเขียว พื้นสีแดง มีระเบียบเดียวกัน เป็นไปไดวาลายพันธุแพฤกษาอาจสืบ มาจากจิตรกรรมวัดมหาเตงดอจี โดยการถายทอดมา จากชางรุนดั้งเดิมสูชางรุนลูกหลาน
จากภาพจะเห็นวา ลายกนกทั้งสองภาพมีความ ใก ล เ คี ย ง กั น คื อ แบ ง เป็ น สามตั ว แบบก น กเปลว แตกออกเป็นชอเหมือนธรรมชาติตางกันตรงที่กนกของ จิต รกรรมวั ด สระบั ว มี ค วามสู ง เพรี ย วมากกว า เล็ ก น อ ย มีนักวิชาการพมาชื่อวาอูอเยมยิ่นใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับลาย กนกแบบอยุธยาตอนปลายวาเป็นลายพันธุแพฤกษาหรื อ “knout” เรียกวาดอกไมแบบอยุธยา (Yodaya flower design) (ภาพที่ ๓๑) ซึ่ง แพรหลายในสมัยยานะตะปง ตอนปลาย หรือยุคคองบองตอนปลาย ที่เมืองมัณฑเลยแ ตอมาดวย๑๐ กนกและลายพันธุแพฤกษาของจิตรกรรมวัด จอก ตอ จี ก็ จั ด ว า เป็ น ยุ ค คองบองตอนปลายเช น กั น เพราะตรงกับสมัยพระเจาปกันมิน เป็นระยะเวลาที่หาง จากกอนสมัยมัณฑเลยแไมนานนัก I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๗๗
สรุปไดวาการนําเขามาของศิลปะไทยในวัดจอก ตอ จี อมรปุระ นาจะไดรับอิทธิพลจากเมืองที่อยูใกลเคียงอยาง สะกาย มนยวา แบบศิลปะ อยุธยาตอนปลาย เปรียบเทียบไดกับศิลปะอยุธยาตอนปลายที่ยังเหลืออยูใน ดินแดนไทยอยางพระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี กรุ งเทพฯ รายละเอียดของ ศิ ลปะไทยในวั ด จอก ตอ จี อมรปุ ร ะมี ค วามสอดคล อ งกั บ ศิ ล ปะไทยใน วัดพมาในเมืองใกลเคียง และเปรียบเทียบไดกับศิลปะอยุธยาในดินแดนไทย ได ค อ นข า งชั ด เจน ดั ง นั้ น จึ ง มี แ นวโน ม ว า ศิ ล ปะไทยในวั ด จอก ตอ จี อมรปุระ นาจะมีรูปแบบสืบตอจากศิลปะไทยแบบอยุธยาตอนปลายในวัด พม า ที่ อ ยู บ ริ เ วณใกล เ คี ย งกั น โดยเฉพาะรู ป แบบจิ ต รกรรมมี ค วาม เปลี่ยนแปลงเขากับรสนิยมแบบพมาบางแลว เนื่องดวยเวลาที่ผานมานาน แตสวนใหญยังคงรักษาระเบียบแบบอยุธยาตอนปลาย อาจสืบตองานชางมา จนถึ ง รุ น ลู ก หลาน อาจกล า วได ว า เป็ น ฝี มื อ รุ น ลู ก หลานของชาวอยุ ธ ยา ที่ถูกกวาดตอนตั้งแตเสียกรุงครั้งที่ ๒ เหตุผลที่สืบตอมาไดอาจเป็นเพราะมี ชางชาวอยุธยา โขนละครเขามาอาศัยเป็นจํานวนมาก ศิลปะอยุธยาแขนง ตางๆไดรับการสนับสนุนจากชนชั้นปกครอง พมามีการยายเมืองหลวงอยู บอยครั้ง เมื่อจะสรางศาสนสถานแหงใหมก็คงจะตองระดมชางฝีมือเขามา ทํา งาน จึ ง เป็ น โอกาสของช า งลู ก หลานชาวอยุ ธ ยาที่เ หลื อ อยู ไ ด สื บ ทอด รูปแบบของงานชางตอมา ในชวงเวลาของการสรางวัดจอก ตอ จี ตรงกับ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว แหงกรุงรัตนโกสินทรแ การนําเขา จากศิลปะไทยในสมัยนี้ความเป็นไปไดคอนขางนอย เหตุผลวิเคราะหแไ ดวา การที่จะสรางงานศิลปกรรมใดๆก็ตามในระดับสํ าคัญ ของเมืองหลวง คื อ อมรปุระ คิดวาตองไดรับความเห็นชอบจากชนชั้นปกครอง ผูนําทางศาสนา มี คํ า สั่ ง กํ า หนดรู ป แบบค อ นข า งชั ด เจน ในเวลานั้ น จั ด ว า อยู ใ นช ว ง กรุงรัตนโกสินทรแตอนตนเป็นสังคมไทยประเพณีกอนที่ ชาติตะวันตกเขามา ครอบงํา ทางพมาอยูในชวงที่วัฒนธรรมตะวันตกคืบคลานเขามาบางแลว ไทยกับพมาคงสถานภาพที่ไมเกี่ยวของกันในแงของการเมือง เพราะราชวงศแ จักรีกับราชวงศแคองบองก็เป็นคูสงครามกัน แมวาในชวงนี้ไทยกับพมาไมไ ด ทําสงครามกันแลวก็ตาม ความรูสึกนึกคิดของคนไทยในกรุงรัตนโกสินทรแก็คงจะเป็นแบบ อยุธยาตอนปลายอยูคนไทยคงมองพมาเป็นเมืองคูสงครามมากกวาเป็นมิตร ไม น าจะมี ชา งจากกรุง รั ตนโกสิน ทรแ เดิ น ทางเขา ไปเขี ย นจิ ต รกรรมไทยที่ อมรปุร ะในพมา นั บตั้ ง แต เ สีย กรุง ศรี อยุ ธ ยาครั้ง ที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐ พ.ศ. ๒๓๙๐ ผานมาเวลาไมนานเพียงแค ๘๐ ปี การติดตอกันในดานงาน ชางที่เป็นทางการระดับอาณาจักรมาแลกเปลี่ยนสังสรรคแกันไมนาเป็นไปได เพราะเรื่องของสงคราม ดังนั้นรูปแบบศิลปะไทยในวัดจอก ตอ จี จึงนาจะ เป็นงานชางของลูกหลานชาวอยุธยาในดินแดนพมาที่ยัง สืบตอมามากกวา ดวยเหตุผลดังกลาว ๏
๗๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ภาพประกอบ ๓๑
เชิงอยยต ๑
ธิดา สาระยา. (๒๕๕๔). มัณฑเล นครราชธานี ศูนย์กลางแห่ง จักรวาล. หนา ๑๑๕. ๒ อรวินทแ ลิขิตวิเศษกุล. (๒๕๕๓). ชางอยุธยาในเมืองพมารามัญ หลักฐานศิ ลปกรรม ฝี มือชา งกรุง ศรี ในเมื องสะกาย มินบู และมนยวา. หนา ๑๘ (อางอิงจาก Siam Society Journal. (1959). Intercourse Between Burma and Siam as Recorded in Hmannam Yazawindawgyi. p. 48 - 55. ๓ อรวินทแ ลิขิตวิเศษกุล . (๒๕๕๓). ช่างอยุธยาในเมืองพม่ า รามัญ หลักฐานศิลปกรรม ฝีมือช่างกรุงศรีในเมืองสะกาย มินบู และ มนยวา. หนา ๗๐. ๔ เชษฐแ ติงสัญชลี, อาจารยแประจําภาควิชาประวัติศาสตรแศิลปะ. สัมภาษณแ, ๔ มกราคม ๒๕๕๕. ๕ อรวินทแ ลิขิตวิเศษกุล. (๒๕๕๓). ช่างอยุธยาในเมืองพม่ารามัญ หลักฐานศิลปกรรม ฝีมือช่างกรุงศรีในเมืองสะกาย มินบู และมนยวา. หนา ๘๙. ๖ เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๒ ๗ ดํารงราชานุภาพ. (๒๕๔๖). สมเด็จกรมพระยา, ละครฟ้อนรา ประชุ มเรื่ องละครฟ้อนรากับ ระบ าราเต้น ตาราฟ้อ นรา ตานานเรื่อ ง ละครอิเหนา ตานานละครดึกดาบรรพ์. หนา ๓๒๘ – ๓๒๙. ๘ เชษฐแ ติงสัญชลี. บรรยาย. ๙ อรวิ นทแ ลิ ขิ ตวิ เศษกุ ล . (๒๕๕๓). ช่ า งอยุ ธยาในเมื อ งพม่ า รามัญ หลักฐานศิลปกรรม ฝีมือช่างกรุงศรี ในเมืองสะกาย มินบู และ มนยวา. หนา ๑๐๔. ๑๐ สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ , หมอมหลวงและรุจยา อาภากร, หมอม ราชวงศแ. (๒๕๔๙). ชาวอยุธยาที่เมืองสะกาย. หนา ๗๕ – ๗๖.
นยยฒาธุกยภ ฉัตตริน เพียรธรรม. (๒๕๕๕). ลายกรอบยอมุมบนเพดานวัดอุบาลีเตง พุกาม. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๓). การประดั บชายไหวชายแครงของเทวดาและ อมนุษยแ จิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถวัดใหญสุวรรณาราม เพชรบุรี. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๓). ภาพนั ก สิท ธิ์วิ ท ยาธรจิ ตรกรรมฝาผนั งภายใน อุโบสถวัดเกาะแกวสุทธาราม เพชรบุรี. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๓). ภาพนักสิทธิ์วิทยาธรจิตรกรรมฝาผนังภายในศาลา การเปรียญวัดใหญสุวรรณาราม เพชรบุรี. ภาพถาย. เชษฐแ ติ ง สั ญชลี . อาจารยแ ป ระจํ า ภาควิ ช าประวั ติศ าสตรแ ศิ ล ปะ. สัมภาษณแ, ๔ มกราคม ๒๕๕๕. _______. บรรยาย. _______. (๒๕๕๕). สะพานไมอูเบก อมรปุระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). ลายกรอบยอมุมบนเพดานเจติยวิหารวัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). เทพนมแบบที่ ๑ องคแที่ ๑ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). เทพนมแบบที่ ๑ องคแที่ ๒ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. _______. เทพนมแบบที่ ๒ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย, ๒๕๕๕. _______. เทพนมแบบที่ ๓ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย, ๒๕๕๕.
_______.
(๒๕๕๕). เทพนมแบบที่ ๔ วั ดจอก ตอ จี อมรปุ ระ. ภาพถาย. _______. เทวดาเหาะ วัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย, ๒๕๕๕. _______. (๒๕๕๕). ภาพยั ก ษแ บ นเพดานวั ดจอก ตอ จี อมรปุ ระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). รอยพระพุทธบาทบนเพดานเจติยวิหารวัด จอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). ราชรถบนเพดานเจติยวิหารวัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). ลายพันธุแพฤกษาระหวางจิตรกรรมภายในวัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). ลายกนกเปลวสามตัวจิตรกรรมภายในวัดจอก ตอ จี อมรปุระ. ภาพถาย. ณัฐิกา โชติวรรณ. (๒๕๕๔). รอยพระพุทธบาทจําหลักไม วัดพระรูป สุพรรณบุรี. ภาพถาย. ธิ ด า สาระยา. (๒๕๕๔). มั ณ ฑเล นครราชธานี ศู น ย์ ก ลางแห่ ง จักรวาล. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแเมืองโบราณ. ดํารงราชานุ ภาพ, สมเด็ จฯกรมพระยา. (๒๕๔๖). ละครฟ้อ นร า ประชุ ม เรื่ อ งละครฟ้ อ นรากั บ ระบ าร าเต้น ต าราฟ้ อ นร า ต านานเรื่ อ งละครอิ เ หนา ต านานละครดึ ก ด าบรรพ์ . กรุงเทพฯ: มติชน, วรพัท ธแ ภควงศแ . (๒๕๕๕). จิ ตรกรรมภายในอุ โบสถวั ดมหาเตงดอจี ศิลปะอยุธยาตอนปลาย สะกาย. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๕). ลายกรอบย อมุม บนเพดานอุ โบสถวั ดสระบั ว เพชรบุรี. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๔). เทวดาบนหนาตางวัดสระบัว เพชรบุรี. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๓). ใบหน ายั ก ษแ จิ ตรกรรมภายในอุโบสถวั ดใหญ สุวรรณาราม เพชรบุรี. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๓). ลายพันธุแพฤกษาภายในอุโบสถวัดใหญสุวรรณาราม เพชรบุรี. ภาพถาย. _______. (๒๕๕๔). ลายกนกเปลวสามตัวจิตรกรรมภายในวัดสระบัว เพชรบุรี. ภาพถาย. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์, หมอมหลวง. และรุจยา อาภากร, หมอมราชวงศแ. (๒๕๔๙). ชาวอยุธยาที่เมืองสะกาย. กรุงเทพฯ: สายธาร. เสมอชัย พูลสุวรรณ. (๒๕๓๙). สัญลักษณแในงานจิตรกรรมไทยระหวาง พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๔. กรุ ง เทพฯ: สํ า นั ก พิ ม พแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, อรวิ นทแ ลิ ขิ ตวิ เศษกุ ล . (๒๕๕๓). ช า งอยุ ธ ยาในเมื องพม า รามั ญ หลั ก ฐานศิ ลปกรรม ฝี มือช า งกรุ ง ศรี ใ นเมื องสะกาย มิ นบู และมนยวา. กรุงเทพฯ: สมาคมอิโคโมสไทย.
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๗๙
๘๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
วิฝิทศิฤบะไถม สุยิธถย์ ศยีสังข์งาภ สืบสานอย่างสร้างสรรค์ เพื่ออนุรักษ์ศิลปะไทยอย่างยั่งยืน
ไกยสยยาชสีห์ ยาชาแห่งบ่าหิภฝาธด์
ฟาฝฤามเส้ธเฝื่อกายสืนสาธ
ไตรภู มิ พ ระร่ ว งได้ พ รรณน า ลั กษ ณ ะ ของสิงห์ไว้ ๔ ตระกูล ได้แก่ ๑. ติณ ราชสี หแ คื อราชสี หแที่ มีก ายหม น ดังสีปีกนกเขา รูปรางคลายแมโค กินหญาเป็นอาหาร ๒. กาฬราชสีหแ คื อราชสีหแที่มีก ายสีดํ า ดั่งวัวดํา กินหญาเป็นอาหาร
๓. ปใณฑุราชสีหแ คือสิงหแที่มีกายเหลือง ดั่งใบไมกินเนื้อสัตวแและเนื้อคนเป็นอาหาร ๔. ไกรสรราชสีหแ เป็นสิงหแมีปากแดงดุจ ครั่ ง มี สร อ ยคอแดงและขาวสลั บ กัน กลางหลัง แต ศีรษะถึงโคนหางเป็นรอยสามรอบสีถ้ําทองและถ้ําแกว เมื่ อ ออกจากถ้ํ า ครั้ ง ใดก็ ตั้ ง เท า หลั ง ให เ สมอกั น ดี แลวเหยียดเทาหนายืดกายสยายสรอยคออยางผึ่งผาย I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๘๑
เมื่ อ ตั้ ง ตั ว ตรงแล ว ก็ จ ามดั ง สนั่ น ดุ จ เสี ย งฟู า ฟาด เมื่ อ สลั ด ขนให ห มดผงธุ ลี แ ล ว ก็ เ ผ น โผนและเปล ง สี ห นาท ๓ ครั้ ง เสี ย งลั่ น ก อ งไปไกลรั ศ มี ห นึ่ ง โยชนแ หมูจตุบาทและทวิบาทมิอาจดํารงตนอยูได ตางสะดุง ตกใจกลั ว จนตั ว สั่ น และเผ น หนี ซุ ก ซ อ นด ว ยความ กลัวตาย แมวัว ควาย ชาง มา ที่มนุษยแเลี้ยง เมื่อ ได ยิน เสี ยงไกรสรสีห ราชแผดเสี ยงเมื่ อใด ก็แ ตกตื่ น เชือกและปลอกขาด ไกรสรสีหราชเป็นราชสีหแกินสัตวแ และมีอํานาจเหนือสัตวแทั้งปวง๑ อี ก ทั้ ง ใน “มหาอุ ก กุ ส ชาดก” ยั ง มี ก าร กล า วถึ ง เรื่ อ งสั ต วแ ๔ เท า ทั้ ง หลายประชุ ม กั น ตั้ ง ราชสีหใแ หเป็นพระราชา๒ สิ ง หแ จึ ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณแ บ อกสิ่ ง ซึ่ ง ต อ งการ แสดงออกถึงนัยสําคัญตางๆ กลาวคือ - เป็นสัตวแที่มีอยูจริงในธรรมชาติที่เรียกวา “สิงโต” หรือ “ราชสีห์” เป็นเจาแหงปุา เป็นสัตวแที่ไดรับ ยกยองวาเป็นสัตวแที่อยูเหนือสัตวแทั้งปวงในธรรมชาติและ ผื นปุ า ได รั บการนั บถื อในฐานะสั ต วแ ที่ มี อํ านาจ สั ต วแ ศักดิ์สิทธิ์ และสัตวแที่เป็นอันตรายตองไดรับการยําเกรง - เป็ น สั ญ ลั ก ษณแ แ ทนพระโพธิ สั ต วแ ด ว ย ปรากฏในชาดกว า พระพุ ท ธเจ า องคแ ปใ จ จุ บั น เคย เสวยพระชาติ เ ป็ น “สิ ง ห์ ” หรื อ “ราชสี ห์ ” และ บําเพ็ญบารมีดวยทั้งสิ้น - เป็ น สั ญ ลั ก ษณแ แ ทน อํ า น าจแห ง อง คแ มหาจักรพรรดิ เป็นเครื่องหมายที่ปรากฏเป็นสัญลักษณแ ของผู ที่ เ ป็ น จั ก รพรรดิ ร าช และเป็ น สั ญ ลั ก ษณแ ข อง พระราชอํานาจบนพื้นพิภพของพระจักรพรรดิดวย๓ - เป็นสัญลักษณแแทนเทพอารักษแ ดวยเชื่อวา จากอํานาจ พละกําลัง และความดุรายนายําเกรงของ สิงหแ จึงไดถูกใชเพื่อเป็นผูคุมครองศาสนา ศาสนสถาน และยั ง สามารถเปรี ย บได กั บ อํ า นาจแห ง พระมหา จักรพรรดิผูคอยปกปูองพระศาสนานั่นเอง ด ว ยเหตุ ดั ง กล า วข า งต น ทํ า ให “สิ ง ห์ ” กลายเป็ น สั ญ ลั ก ษณแ ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทั้ ง “รู ป ” และ “นาม” ที่ ไ ด รั บ การถ า ยทอดรู ป แบบ คติ ค วามเชื่ อ และพัฒนารูป ลักษณแไปพร อมๆ กั บบทบาทหนาที่ใ น วัฒนธรรมตางๆ เชน ทั้งเปอรแเซีย อินเดีย ศรีลังกา จีน ชวา ขอม พมา และไทยอยางมีนัยสําคัญ ๏ ๘๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
เชิงอยยต ๑
เจือ สะตเวทิน. ตาหรับวรรณคดี. หนาที่ ๑๔๔. รุง โรจนแ ภิร มยแอนุกูล . (๒๕๕๒). การศึกษาเชิง วิเคราะห์ที่มาของสมุดภาพไตรภูมิ. วิทยานิพนธแปริญญา ปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร. หนาที่ ๓๑๙. ๓ กิร ติ เอี่ยมดารา. (๒๕๕๒). สิงห์ศิลาจีนในพระ บรมหาราชวัง. การคนควาอิสระ ปริญญาศิลปะศาสตรแ มหาบั ณ ฑิ ต บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร. หนาที่ ๗๐. ๒
จณหภามเหดุฝยะธคยศยีอมุทมา ฝัฐย์ แดงฝัธท์ บันทึกเหตุการณ์สาคัญ เพื่อเป็นความทรงจาร่วมกันของชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วาธวัธของอมุทมาเวิฤณ์เอ็กซ์โบ ๒๐๒๐ ตลอดช่ ว งเวลาระหว่ า ง พ.ศ . ๒ ๕๕๓ -๒๕ ๕๖ “ อยุ ธย า เวิลด์เอ็กซ์โป ๒๐๒๐” เป็นคาที่ถูก พูดถึงกันมากในจังหวัดพระนครศรี อยุ ธ ยา นั บ เป็ น เรื่ อ งน่ า อั ศ จรรย์ ที่ จั ง หวั ด หนึ่ ง ซึ่ ง ชาวไทยรู้ จั ก ดี ใ น หลากหลายแง่ มุ ม ไม่ ว่ า จะเป็ น ใน ฐานะราชธานี เ ก่า ๔๑๗ ปี – นคร ประวั ติ ศ าสตร์ ม รดกโลก - แหล่ ง เกษตรกรรม-อุ ต สาหกรรม และ อื่น ๆ ตามแต่จะนิยามแห่งนี้ จะรับ การคั ด เลื อ กให้ เ ป็ น ตั ว แทนของ ประเทศไทย ในการเสนอตั ว เป็ น เจ้ า ภาพจั ด งานมหกรรมโลก ใน พ.ศ. ๒๕๖๓ หรื อ ที่ มี ก ารเรี ย กกั น อย่ า งแพร่หลายว่ า “อยุ ธยาเวิ ล ด์ เอ็ ก ซ์ โ ป ๒๐๒๐” ที่ ก ล่ า วขานว่ า เป็นมหกรรมที่สาคัญเป็นอันดับที่ ๓ ของมวลมนุ ษ ยชาติ รองจากการ แข่ ง ขั น กี ฬ าโ อลิ ม ปิ ก แล ะ การ แข่งขันฟุตบอลโลก
เพื่อมิให้เรื่องราวของ “อยุธยาเวิลด์ เอ็กซ์โป ๒๐๒๐” ถูกลืมเลือนเหมือนละอองฝุ่นที่ ปลิ ว หายไปตามกาลเวลา จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ น่ า จดจ าและค้ น หาค าตอบให้ ไ ด้ ว่ า จั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธยามี ดีอะไร จึ งได้ บั น ดาลใจให้ รั ฐบาลตั ดสิ น เลื อกอยุ ธ ยาให้เ ป็ น ตั ว แทนของ ประเทศไทย ในการเป็นสถานที่จัดงานเวิลด์เอ็กซ์โป ๒๐๒๐ ...ทาไมรัฐบาลถึงเลือกอยุธยา ?
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๘๓
กายเสธอดัวเบ็ธเจ้าฟาฝ เวิฤณ์เอ็กซ์โบ ๒๐๒๐ ความคิ ดเกี่ ยวกั บ เวิ ลดแ เอ็กซแโป ๒๐๒๐ เริ่มมีขึ้นในสมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จากการศึกษา รอยทางแห งความสํ าเร็ จในการจั ด มหกรรมโลกที่นครเซียงไฮ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และเมื องไอจิ ประเทศ ญี่ ปุ น ที่ ทั้ งสองประเทศประสบ ความสําเร็จในการจัดงานอยางมากนั้น รั ฐบาลได มอบหมายให สํ านั กงาน สงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ หรือ สสปน. ศึกษาความเป็นไปไดในการ เป็ นเจ าภาพงานเวิ ลดแ เอ็ กซแ โปของ ประเทศไทย สสปน. ดําเนินการศึกษา และวิเคราะหแถึง ผลประโยชนแดาน ตาง ๆ ที่ประเทศไทยจะไดรับ หาก ได รั บ เลื อ กเป็ น เจ า ภาพจั ด งาน มหกรรมโลก อันไดแกประโยชนแใน เชิงเศรษฐกิจ ที่จะทําใหรายไดของ ประเทศเพิ่มขึ้น จากแนวโนมของ ผู เ ข า ชมงานที่ ค าดการณแ ว า จะ มากกวา ๑๐ ลานคน ซึ่งจะสงผล ใหเกิดการกระตุนการใช จาย จาก ก า ร ล ง ทุ น ป ลู ก ส ร า ง ศ า ล า (พาวิ ลเลี่ยน ) ของประเทศตาง ๆ ชวยลดอัตราการวางงาน จากการ จ า งแรงงานจํ า นวนมาก และยั ง เพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ในการแขงขันกับนานาประเทศได อยางมีเสถียรภาพ รวมทั้งเป็นการ เสริมสรางการเรียนรูของประชาชน ในดานศิลปวัฒนธรรม เทคโนโลยี จากประเทศอื่น ๆ เป็นชองทางใน ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธแ ป ร ะ เ ท ศ และส ง เสริ ม แหล ง ท อ งเที่ ย วแห ง ใหม ที่จะไดจากสิ่งปลูกสรางตาง ๆ ๘๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ซึ่ ง สามารถพั ฒ นาให เป็ น ศู น ยแ ป ร ะ ชุ ม นิ ท ร ร ศ ก า ร โ ด ย มี โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ค ม น า ค ม ที่ เพี ยบพร อมจากการจัด งาน อัน มี ส ว นช ว ยให ป ระเทศไทยเจริ ญ รุ ด ห น า แ ล ะ ยั ง เ ป็ น ก า ร ประชาสัมพันธแประเทศไทยใหเป็น ที่รูจักในสากลอีกดวย จากความฝในของรัฐบาล นํามาสูการลงมติคณะรัฐมนตรี ใน การอนุมัติหลักการโครงการเสนอ ตัวเป็นเจาภาพจัดงานมหกรรมโลก เวิลดแ เอ็กซแโป ๒๐๒๐ ของประเทศ ไทย เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๓ และจากการประชุ ม คณะทํ า งาน ย อ ย เ พื่ อ จั ด ห า ส ถ า น ที่ ตั้ ง ที่ เหมาะสมของการจัดงานมหกรรม โลก เวิ ลดแ เ อ็ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ ครั้ ง ที่ ๑ / ๒ ๕ ๕ ๓ เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ประชุม มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ ใ ห ก ร ะ ท ร ว ง มหาดไทยแจง กรอบการพิจารณา ใ น ก า ร จั ด ห า ส ถ า น ที่ จั ด ง า น มหก ร ร มโ ลก เวิ ลดแ เอ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ ไปยังผูวาราชการจังหวัดที่ สนใจจะเสนอตั ว เป็ น เจ า ภาพจั ด งานมหกรรมโลก เวิ ล ดแ เอ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ โดยสรุปไดวามี ๖ จังหวัดที่ สนใจเสนอตัวเป็นเจาภาพจัดงาน ได แ ก ชลบุ รี เชี ย งใหม จั น ทบุ รี เพชรบุ รี ภู เ ก็ ต และพระนคร ศรี อ ยุ ธ ยา โดยจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธยา เสนอพื้ นที่ บ ริ เวณตรง ขามศูนยแศิลปาชีพบางไทร อําเภอ บางไทรเป็นสถานที่สําหรับจัดงาน โ ด ย ภ า ย ห ลั ง ก า ร พิ จาร ณาด ว ยหลั ก เก ณฑแ ก าร คั ด เลื อ กจากการมี ศั ก ยภาพด า น
พื้ น ที่ ด า นความพร อ ม ด า นการ ค ม น า ค ม ด า น ทั ศ น ค ติ ข อ ง ประชาชน แนวทางการพั ฒ นา พื้ น ที่ ห ลั ง จั ด ง า น แ ล ะ ค ว า ม เพี ย งพอทางด า นสาธารณู ป โภค จึ ง ไ ด คั ด เ ลื อ ก ใ ห เ ห ลื อ เ พี ย ง ๓ จั ง หวั ด โดยเรี ย งตามลํ า ดั บ จั ง หวั ด ที่ ไ ด ค ะแนนสู ง สุ ด ได ดั ง นี้ คื อ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ชลบุรี และเชียงใหม (ตาราง ๑ ) ส ส ป น . ใ น ฐ า น ะ ฝุ า ย เลขานุการของคณะทํางานเตรียมการ เสนอตัวเป็นเจาภาพมหกรรมโลก จึง ได นํ าข อมู ลการศึ กษาเบื้ องต น ๓ จังหวั ด พร อมดวยแนวคิดในการจั ด งาน Balanced Life, Sustainable Living โ ด ย ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี มี ม ติ รั บ ท ร า บ แ ล ะ เ ห็ น ช อ บ เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒ ๕ ๕ ๓ ยั ง ผลให น ายอ ภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ปรบเทา เข า ประกาศเจตนารมณแ ใ นการ เสน อ ตั ว เป็ น เจ าภา พ จั ด ง า น มหก ร ร มโ ลก เวิ ลดแ เอ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ เพื่อยืนยันความพรอมและ ศั ก ยภาพของประเทศไทยแก นานาชาติใ นงาน “เซีย งไฮ เวิ ล ดแ เอ็ ก ซแ โ ป ๒๐๑๐” เมื่ อ วั น ที่ ๕ กั น ยายน ๒๕๕๓ โดยได ก ล า วไว ประโยคหนึ่งวา “ความสํ า เร็ จ ของงาน มหกรรมโลก ที่ น ครเซี่ย งไฮ ยั ง ไ ด แ ร ง บั ล ด า ล ใ จ เชนเดียวกับแรงผลักดันใหกับ ประเทศไทยในการนํา เสนอ ชื่อเพื่อเขาการคัดเลือกใหเป็น เจาภาพจัดงานมหกรรมโลก ในอนาคตอัน ใกล ในปี ค.ศ. ๒๐๒๐”
ดายาง ๑ กายฝิจายฒาหฤักเกฒฐ์กายคัณเฤือกฝื้ธถี่ใธกายจัณงาธภหกยยภโฤก หลักเกณฑ์พิจารณา
ความส้าคัญ
อยุธยา
ชลบุรี
เชียงใหม่
จันทบุรี
เพชรบุรี
ภูเก็ต
มีศักยภาพดานพื้นที่ (มีกรรมสิทธิ์และลงทุนไมสูงมาก) ความพรอมดานคมนาคม (ใกลสนามบิน เขาถึง สะดวก มีโครงขายคมนาคมพรอมทางดานรถไฟ แมน้ํา หรือทะเล) ทัศ นคติที่ ดีตอโครงการฯ ของประชาชน และ อปท.ในพื้นที่ มี แ นวคิ ด หรื อ แผนงานชั ดเจน ในการพั ฒ นา พื้นที่โครงการภายหลังเสร็จสิ้นการจัดงาน มา ตรฐ า น แ ล ะความเพี ย งพ อด า นที่ พั ก สาธารณูปโภค และการรักษาพยาบาล
๓๐
๑.๙
๑.๔
๒.๖
๒.๕
๑.๒
๒.๐
๓๐
๓.๙
๓.๔
๑.๖
๑.๔
๒.๔
๑.๙
๑๕
๐.๕
๐.๔
๐.๖
๐.๖
๐.๕
๐.๗
๑๕
๐.๖
๐.๕
๐.๗
๐.๗
๐.๔
๐.๓
๑๐
๑.๐
๐.๘
๐.๙
๐.๔
๐.๖
๐.๘
๗.๘๙
๖.๕๔
๖.๓๐
๕.๕๔
๕.๐๐
๕.๖๓
ที่มา: สํานักงานสงเสริ มการจัดประชุมและนิท รรศการ. (๒๕๕๕). การเสนอจังหวัดพระนครศรีอยุ ธยาเป็นเจ าภาพจัดงาน World Expo ๒๐๒๐. การนําเสนอขอมูลในการประชุมคณะทํางานเตรียมความพรอมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในการเสนอตัวเป็นเจาภาพจัดงานมหกรรมโลก World Expo ๒๐๒๐ ครั้งที่๑/๒๕๕๕ ณ ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
นับ เป็ น การประกาศก อ ง ของรั ฐ บาลไทย ที่ เ ริ่ ม ทํ า ให น านา ประเทศ รวมถึงประชาชนชาวไทย รับ รู ถึ ง ความเจตนารมณแ อั น มุ ง มั่ น ข อ ง รั ฐ บ า ล ใ น ก า ร เ ส น อ ตั ว เป็ น เจ า ภาพจั ด งานมหกรรมโลก รั ฐ บ า ล ไ ด ใ ห ค ว า ม สํ า คั ญ ใน การทํ า ง าน อย า ง ใก ล ชิ ด กั บ สํานักงานมหกรรมโลก (Bureau of International Expositions - BIE) ซึ่งเป็น หนวยงานที่ดูแลลิขสิทธิ์การ จัดงานเวิลดแเอ็กซแโป โดยรัฐบาลได เชิ ญ นายวิ น เซ นทแ กอนซาเลซ ลอซเซอทาเลซ เลขาธิการสํานักงาน มหกรรมโลก ผู ดู แ ลกระบวนการ นําเสนอและติดสินใจเลือกเจาภาพ จั ด งาน พร อ มคณะ เพื่ อ มาตรวจ เยี่ยมความพรอมของประเทศไทยใน การเสนอตัวเป็นเจาภาพ พรอมทั้ง ประชุ ม หารื อ กั น ระหว า งวั น ที่ ๑๐ – ๑๖ มกราคม ๒๕๕๔ โดยได เดินทางตรวจความพรอมสถานที่จัด
งาน ทั้ ง ๓ จั ง หวั ด เพื่ อ คั ด สรร จังหวัดที่มีความพรอมและเหมาะสม สําหรับการจัดงานมากที่สุด เวลานี้ชาวอยุธยาจึงเปี่ยม ดวยความหวัง ดั่งแสงแหงอรุณรุง ที่ เริ่ ม ทอแสงสี ท องเรื่ อ ๆ ที่ ป ลาย ขอบฟูา
ยุ่งอยุฒของ อมุทมา เวิฤณ์ เอ็กซ์โบ ๒๐๒๐ วันที่ชาวจังหวัดพระนครศรี อ ยุ ธ ยา เริ่ ม รั บ รู ไ ด ถึ ง การเข า สู วาระสํ า คั ญ แห ง การถู ก เลื อ กเป็ น สถานที่จัดงานเอ็กซแโป ๒๐๒๐ นั้น คื อ ช ว ง เ ว ล า ที่ น า ย วิ น เ ซ น ทแ กอนซาเลซ ลอซเซอทาเลซ เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งานมหกรรมโลก เดิ น ทางมาตรวจความพร อ มของ จังหวัด พระนครศรีอ ยุธยา ในวัน ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๔ เนื่องจากทาง จั ง หวั ด ได เ ร ง ประชาสั ม พั น ธแ ใ ห
ประชาชนได ตื่ น ตั ว เกี่ ย วกั บ การ เสนอตั วเป็ น สถานที่ จั ด งาน โดยมี การประดั บ ปู า ยประชาสั ม พั น ธแ ขนาดใหญ สีฟูา และ สีสม ที่มีความ สวยงามชัดเจน และสะดุดสายตาไป ตลอดถนนสายสํ า คั ญ ในเมื อ ง มี ขอความใหประชาชนรับรูวาจังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีความพรอมใน การเป็นสถานที่จัดงาน เวิลดแเอ็ก ซแ โป ทาง จั ง หวั ดพ ร ะ น คร ศรี อ ยุ ธ ยา โดยนายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผู ว าร าช ก า ร จั ง ห วั ด ไ ด แ สด ง ศักยภาพในการเสนอตัวเป็นเจาภาพ โดยนํ า คณะกรรมการเดิ น ทางไป เยี่ ย มชมศู น ยแ ศิ ล ปาชี พ บางไทร อํ า เภอบางไทร ซึ่ ง ใกล กั บ สถานที่ สําหรับจัดงาน เยี่ยมชมอาคารแสดง การฝึกอาชีพ ชมการแสดง ๔ ภาค และเลี้ ย งรั บ รองด ว ยอาหารและ บรรยากาศแบบไทยโบราณ พรอม ชมนิ ท รรศการจํ า ลองการจั ด งาน I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๘๕
เวิ ล ดแ เ อ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ จากนั้ น นํ า คณะ ขึ้ น เฮ ลิ ค อปเต อรแ มาลง ที่ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร ศ รี อ ยุ ธ ย า พ า ช ม ศู น ยแ ศึ ก ษ า ประวั ติ ศ าสตรแ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา และวั ด ไชยวั ฒ นาราม โดยผ า น โบราณสถานที่ สํ า คั ญ ในอุ ท ยาน ประวั ติ ศาสตรแ แวะชมพิพิ ธ ภัณ ฑสถานแห ง ชาติ เ จ า สามพร ะยา และเลี้ ย งอาหารค่ํ า บนเรื อ สํ า ราญ “ก รุ ง ศรี ป ริ๊ นเซ ส” นั บ ว าเป็ น ชวงเวลาแหง ความหวัง และความ ตื่ น เ ต น ที่ จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศรี อ ยุ ธ ยาจะได มี โ อกาสอั น สํ า คั ญ จะ ไ ด รั บ เ ลื อ ก เ ป็ น ส ถ า น ที่ จั ด มหกรรมที่ยิ่ง ใหญระดับโลก อันจะ เชิ ด หน า ชู ต าจั ง หวั ด แห ง นี้ ให โ ดด เดนเป็นที่กลาวถึง อย า งไรก็ ดี จั ง หวั ด พระนครศรีอ ยุธยา และอี กสองจัง หวั ด คูแขงอยาง เชียงใหม และชลบุรี ที่ ต า งก็ มี จุ ด แข็ ง ที่ แ ตกต า งกั น ไป ยั ง ต อ งผ า นการพิ จ ารณาคั ด เลื อ ก โดยมีการศึกษาความเหมาะสมตาม ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนแรก คือ การเยี่ยม ชมสถานที่ แ ละวางแผนงานทาง ก า ย ภ า พ เ พื่ อ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เหมาะสมของสถานที่ การยอมรั บ ทางวั ฒ นธรรม และภาพลั ก ษณแ สากลในการเป็ น สถานที่ จั ด งาน รวมทั้ ง ผลกระทบทางสั ง คมที่ อ าจ กระทบตอชุมชนใกลเคียง พิจารณา จํ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร ป ริ ม า ณ นักทองเที่ยว และแนวโนมในการใช จาย พิจารณาปริมาณ และคุณภาพ ที่ พั ก ที่ ไ ด ม าตรฐานซึ่ ง อยู ใ นระยะ การเดินทางสําหรับรองรับผูเขาชม
งาน รว มทั้ ง การ ประ มาณการ จํ า นวนผู เ ข า ชมงาน เมื่ อ เที ย บกั บ เกณฑแมาตรฐานของมหกรรมโลก นอกจากนี้ ยั ง จั ด ทํ า การ ประเมินความเหมาะสมของสถานที่ โ ด ย พิ จ า ร ณ า จ า ก ปใ จ จั ย ด า น ภูมิประเทศ ความลาดชัน เสนทาง น้ํ า ทํ า เลที่ อ ยู อ าศั ย ที่ มี อ ยู แ ล ว การท ว มของน้ํ า ระบบโครงสร า ง พื้ น ฐาน ที่ ส ร าง ไว แ ล ว เป็ น ต น ขั้ น ตอนต อ มา เป็ น การพิ จ ารณา ความสามารถในการจั ด การด า น ก า ร เ งิ น แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ช น การจัดทํานโยบายบัตรเขางานและ ราคาบัตร ประเมินคาใชจายในการ ดํ า เนิ น งานสํ า หรั บ คณะผู จั ด งาน เอ็กซแโป และกําไร รวมทั้งผลสูญเสีย จากการดําเนินงาน แผนการพัฒนา สถานที่หลังจากจัดงาน การประเมิน มูลคาเงินลงทุนสําหรับคณะผูจัดงาน เอ็กซแโปและรัฐบาลแหงประเทศไทย รวมถึ ง การจั ด ทํ า การวิ เ คราะหแ การเงิ น โดยรวมและผลตอบแทน ก าร ลง ทุ น ส าห รั บ รั ฐบ าล แห ง ประเทศไทย จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ข อ ง ส ส ป น . พ บ ว า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเมือง ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แ น ว คิ ด ใ น การกํ า หนดหั ว ข อ สํ า หรั บ จั ด งาน ม า ก ที่ สุ ด คื อ Redefine Globalisation: Balanced Life, Sustainable Living หรื อ นิ ย าม ให ม โ ลก าภิ วั ต นแ : วิ ถี ที่ ยั่ ง ยื น เพื่ อโลกที่ สมดุ ล ที่ สะท อนถึ ง การ พัฒ นาที่ ใส ใ จสภาพแวดลอ ม และ ความพอเพี ย ง ซึ่ ง เป็ น หั ว ข อ ที่ สสปน. ไดพัฒนาแนวความคิด โดย
๘๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ผานกระบวนการรวบรวมขอมูลจาก หน ว ยงาน หรื อ องคแ ก รที่ สํ า คั ญ ระดับชาติ และระดับภูมิภาค ด ว ยความพร อ มอั น เป็ น พื้ น ฐา น ขอ ง จั ง หวั ด พ ร ะ น คร ศรีอยุธยา ที่ประกอบดวยภาคการ ผ ลิ ต ที่ สํ า คั ญ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ทั้ ง ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ภ า ค เกษตรกรรม จึ ง มี ค วามลงตั ว ด ว ย ค ว า ม ทั น ส มั ย แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม และ ใน ทาง ปร ะ วั ติ ศ า สต รแ นั้ น อยุ ธ ยาเป็ น เมื อ งแห ง การสาน สัม พั น ธแท างการทู ต จึ ง เป็ นโอกาส สําคัญ ในการสง เสริมความสัมพัน ธแ อันดีระหวางมิตรประเทศ ทั้งในแง การทูต ตลอดจน การถายทอดองคแ ความรู แ ละเทคโนโลยี จึ ง นั บ ว า มี ความสอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ สสปน. ไดอยางสมบูรณแแบบ สําหรับรายละเอียดในการ พิจารณาคัดเลือกจัง หวัดพระนครศรีอยุธยาใหเป็นสถานที่จัดงานนั้น จากการศึ ก ษาของ สสปน. พบว า จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า มีศักยภาพที่สําคัญ โดดเดน คือ เป็น จั ง ห วั ด ที่ มี พื้ น ที่ พ ร อ ม จั ด ง า น มหกรรมโลก เวิลดแ เอ็กซแโป ๒๐๒๐ ไมนอยกวา ๑,๐๐๐-๑,๕๐๐ ไร ที่มี กรรมสิ ท ธิ์ และไม ต อ งลงทุ น ปรั บ พื้นที่ ในด า นความพร อ มด า น โครงสรางพื้นฐาน แมเป็นจัง หวัดที่ ไมมี ทาอากาศยานนานาชาติ แต ก็ เป็นจัง หวัด ที่ อยูหางจากทาอากาศ ยานนานาชาติ สุ ว รรณภู มิ ไม เ กิ น ๒๐๐-๒๕๐ กิโลเมตร และหางจาก ทาอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นทา อ า ก า ศ ย าน ที่ ส า ม าร ถ ร อ ง รั บ
เที่ ย วบิ น เหมาลํ า และเที่ ย วบิ น ส ว นตั ว เพี ย งระยะทางประมาณ ๓๐ กิ โ ลเมตร มี โ ครงข า ยการ คมนาคมทางถนน ทางหลวงพิเศษ ระหวางเมือง สามารถใชระยะเวลา เดินทางจากกรุงเทพฯ ไมเกิน ๑๐๐ นาที และจากการที่จังหวัดพระนคร ศรี อ ยุ ธ ยา ตั้ ง อยู ใ นยุ ท ธศาสตรแ สําคัญ ของโครงการพัฒนาระบบ โครงสรางพื้นฐานของประเทศ อันมี แผนการลงทุ นโครงข า ยระบบราง ความเร็วสูง ใชระยะเวลาในเดินทาง จากกรุ ง เทพฯ ไม เ กิ น ๖๐ นาที มี โ ครงการรถไฟฟู า ส ว นต อ ขยาย (สายสีแดง) ที่ขยายจากทาอากาศ ยานดอนเมืองมาถึงสถานที่จัดงาน ไดอยางสะดวกรวดเร็ว และสามารถ เชื่ อ มรถไฟฟู าไปถึ งท า อากาศยาน นานาชาติสุวรรณภูมิ นอกจากนี้ยังมี ทางเลื อ กโครงข า ยคมนาคมการ ขนสง เชน ทางแมน้ํา และทางรถไฟ อีกดวย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งตั้งอยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร ที่สามารถเดินทางดวยเครือขายการ คมนาคมที่ ส มบู ร ณแ ทํ า ใหส ามารถ เดิ น ทางไปยั ง สถานที่ จั ด งานได ภายใน ๔๕ นาที จึง ทําใหมี ความ พรอมดานสถานที่พักและสิ่งอํานวย ความสะดวกต าง ๆ โดยมี โ รงแรม ระดับ ๓-๕ ดาว ธุรกิจบริการ ไดแก ร า นอาหาร ร า นจํ า หน า ยสิ น ค า ที่ ระลึ ก และสปา ซึ่ ง มี ที่ พั ก มากถึ ง ๖๐,๐๐๐ หอง สํ า ห รั บ ทั ศ น ค ติ ข อ ง ประชาชน และองคแการบริหารสวน ทอ งถิ่ น ในพื้ นที่ ที่มี ตอ โครงการนั้ น นั บ ว า จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็นจังหวัดที่ใหการสนับสนุนในการ เ ส น อ ตั ว เ ป็ น เ จ า ภ า พ จั ด ง า น มหกรรมโลก เวิ ล ดแ เอ็ ก ซแ โ ป เป็ น อย า งดี จ ากผู ว า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรีอยุ ธยา หนว ยราชการ สถานศึ ก ษา และประชาชนอย า ง แข็งขัน เต็มกําลัง และตอเนื่อง
ในส ว นแผนงานในการ พัฒนาพื้นที่โครงการภายหลัง เสร็จ สิ้น การจั ด งานนั้ น สามารถพั ฒ นา เป็ น ศู น ยแ ก ลา ง ก าร จั ด ปร ะ ชุ ม นิทรรศการ หรือสถาบันการศึกษา โดยพั ฒ นาการเรี ย นรู ข องสั ง คม ห รื อ เ ป็ น ศู น ยแ ก า ร เ รี ย น รู ท า ง วัฒนธรรมภูมิปใญ ญาทองถิ่นระดั บ โลก ตลอดจนการพัฒนาพื้นที่สว น หนึ่ง ใหเป็นที่อยูอาศัย ภายหลัง การ จัดงานมหกรรมโลก เวิลดแ เอ็กซแโป ๒๐๒๐ ได กลาวโดยสรุปคือ จัง หวัด พร ะ น คร ศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น เมื อ ง ประวัติศาสตรแ ที่เคยเป็นศูนยแกลาง แห ง สั ม พั น ธภาพกั บ นานาอารยะ ประเทศ และในปใจจุบันอยุธยาเป็น เ มื อ ง ที่ มี ก า ร พั ฒ น า ทั้ ง ใ น แ ง อุ ต สาหกรรม และเกษตรกรรม ควบคู ไ ปกั บ การรั ก ษาวั ฒ นธรรม เก า แก และการพั ฒ นานวั ต กรรม สมัยใหม จึงลงตัวดวยความทันสมัย และวัฒนธรรม
ผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะผู้น่า องค์การบริหาร ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ ร ณรงค์ ใ ห้ ป ระชาชนชาวอยุ ธ ยา แสดงทั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ โครงการฯ ด้ ว ยการเขี ย น ความรู้ สึ ก ของตนที่ มี ต่ อ โครงการเวิ ล ด์ เ อ็ ก ซ์ โ ป ๒๐๒๐
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๘๗
นอกจากนั้ น อยุ ธ ยายั ง ตั้งอยูในใจกลางของประเทศ ไมไกล จากเมืองหลวง มีเสนทางหลวงสาย หลั ก เชื่ อ มโยงการคมนาคมสู ภ าค อื่น ๆ และสามารถรองรับการขยาย ทาง หล ว ง แล ะ เส น ท าง ร ถไ ฟ ความเร็ ว สู ง เชื่ อ มต อ กั บ ประเทศ เพื่อนบานในภูมิภาคนี้ ด ว ยความเพี ย บพร อ ม สมบูรณแแบบทางดานทรัพยากรทาง ธรรมชาติ พื้ น ฐานทางประวั ติ ศาสตรแ แ ละวั ฒ นธรรม นวั ต กรรม สมั ย ใหม และระบบโครงสร า ง พื้นฐานในอนาคตอันใกล ผนึก เข า กั บ ความมุ ง มั่ น แข็ ง ขั น ของส ว น ร า ช ก า ร ใ น จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศรีอยุธยาทั้งหลายเหลานี้ ทําใหใน ที่สุด คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ตั ว แทนของประเทศไทย ในการ เ ส น อ ตั ว เ ป็ น เ จ า ภ า พ จั ด ง า น ม ห ก ร ร ม โ ล ก เ วิ ล ดแ เ อ็ ก ซแ โ ป เมื่ อ วั นที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๔ ภายในแนวความคิ ด “วิ ถี ที่ ยั่ ง ยื น เพื่ อ โ ลก ที่ ส มดุ ล – นิ ย ามให ม ของ โลก าภิ วั ต นแ ” (“Balanced Life, Sustainable Living - Let’s Redefine Globalization”) โดย นายอภิ สิ ท ธแ เวชชาชี ว ะ นายกรัฐมนตรี ไดลงนามยื่นเสนอจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ตั ว แทน ประเทศไทย ในการประมูลสิทธิ์การ เป็ น เจ า ภาพ จั ด ง าน เมื่ อ วั น ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๔ เมื่ อ นั้ น แสงสี ท องแห ง รุ ง อรุ ณ ของ “อยุ ธ ยาเวิ ล ดแ เ อ็ ก ซแ โป ๒๐๒๐” ก็เจิดจรัส เสมือนรุงเชา ที่ เ ซ็ ง แซ ด ว ยเสี ย งไก ขั น ซาบซ า น
สดใส ทํา ให อยุ ธ ยาเปรีย บเสมื อ น ลูกปใดเม็ดงาม ที่ถูกคัดสรรออกจาก ถุง ลูกปใดหลากสี กลายเป็นตัวแทน ๑ เดียว ของประเทศไทย ในการทํา หนาที่ตอนรับ และจัดงานมหกรรม โลก เวิลดแเอ็กซแโป ๒๐๒๐ ใน พ.ศ. ๒๕๖๓
แธวคิณ แฤะสัญฤักษฒ์ ตราสัญลักษณแสําหรับการ เสนอตั ว เป็ น เจ า ภาพการจั ด งาน มหกรรมโลก อยุธยา เวิลดแ เอ็กซแโป ๒๐๒๐ มีแนวคิดการออกแบบดวย การ นํ า เสน อ “ปลาตะ เพี ยน ” สั ญ ลั ก ษณแ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ผนวกเขากับการ ใช ลายประจํา ยามที่ แสดงถึ ง ความ เป็นไทย และการนําโครงสรางของ โลกที่แสดงถึง ความเป็นสากล และ คว า ม ยิ่ ง ใ ห ญ ขอ ง ก า ร จั ด ง า น มหกรรมโลก มาพัฒนางานตอจนได ตราสัญลักษณแ ซึ่ง “ปลาตะเพียน” บนตราสัญลักษณแนี้กํา ลังวายอยูบน ทรงโคงของลูกโลกและมุง หนาทาง ทิศตะวันออก สื่อใหเห็นถึงการเปิด บ า นต อ นรั บ ของประเทศไทย ใน นามทวี ปเอเชี ยและโลกตะวันออก ที่ พ ร อ มจะนํ า เสนอศั ก ยภาพและ ความพรอ มในดา นต า งๆ ผ า นการ จัดงานมหกรรมโลกเวิลดแ เอ็ กซแโ ป ๒๐๒๐ นอกจากนี้ “ปลาตะเพี ยน” เป็นสั ตวแน้ํ าที่จ ะอาศั ยอยู เฉพาะใน แหลงน้ําสะอาดตามธรรมชาติ จึงถือ เป็ น อี ก หนึ่ ง ในแนวคิ ด ที่ แ ฝงไว ใ น การเลื อ กใช ป ลาตะเพี ย นเป็ น ตรา สัญ ลั กษณแ ทั้ ง นี้ เพื่อ มุ ง ตอบโจทยแ “นิ ย ามใหม ข องโลกาภิ วั ต นแ วิ ถี ที่
๘๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ยั่งยืน เพื่อโลกที่สมดุล ” ในแงของ การให ค วามสํ า คั ญ กั บ ระบบนิ เ วศ การอนุรั กษแ ธรรมชาติ และการอยู รวมกันระหวางมนุษยแกับธรรมชาติ อยางยั่งยืน และประการสุดทาย ชื่อ ของปลา “ตะเพียน” ยังพองเสียง กับ ความหมายของคํา ว า “เพี ย ร” ซึ่งถือเป็นคุณลักษณะประการสําคัญ ที่ จ ะนํ า ไปสู ก ารบรรลุ เ ปู า หมาย รวมกัน ลายประจายาม เป็นหนึ่ง ในแม ล ายไทยพื้ น ฐานซึ่ ง ถู ก นํ า ไป ประกอบในงานสถาปใตยกรรมและ จิ ต ร กรร มใน ลั ก ษณะ ที่ มี ค วาม โ ด ด เ ด น แ ล ะ เ ป็ น ที่ น า จ ด จํ า นอกจากนี้ รู ป ทรงของลายประจํ า ยาม ยังสื่อใหเห็นถึง “ความสมดุล” และ “การเจริญ เติบโตในทุกมิติ ” จาก รู ปแบบขอ ง ลายที่ มี ค ว าม สมมาตรและพุง ออกจากจุดกํา เนิด ไปยั ง ทุ ก ทิ ศ ทาง สอดคล อ งกั บ แนวคิดหลักของงาน “นิยามใหม ของโลกาภิวัตนแ-วิถีที่ยั่งยืน เพื่อโลก ที่สมดุล” ที่มุงเนนการเจริญเติบโต ในทุ กๆด านไปพร อมๆกัน อั นจะ นํ า มาสู ก ารอยู ร ว มกั น อย า งสมดุ ล และยั่งยืน รู ป ทรงโค้ ง นู น และเส้ น ขอบฟ้า มุง สื่อใหเห็นถึง ความเป็น สากลในระดับโลก (Global) ทั้งใน แงของการจัดงาน ซึ่งเป็นมหกรรม ของมวลมนุษยชาติที่ใหญที่สุดเป็น อันดับสามของโลก และในแงของ วาระการจัด งานที่ ถูก นํา เสนอผา น แ น ว คิ ด ห ลั ก ที่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มุงผลักดันจุดเดนของตนเองใหเป็น วิธีคิดในระดับสากล
เภื่ออมุทมาเวิฤณ์เอ็กซ์โบ ๒๐๒๐ เคฤื่อธคฤ้อมไบ นั บ จากวั น ที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๔ ที่ ค ณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ ใ ห จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น สถานที่สําหรับจัดงานมหกรรมโลก แตก็สรางความภาคภูมิใจใหกับชาว จัง หวั ดพระนครศรีอยุธ ยาอยู ไดไ ม นาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาก็ถูก ทาทายดวยบทพิสูจนแความพรอมที่ ยากยิ่ง เมื่อตองเผชิญกับมหาวิกฤต อุทกภัยอยางมิอาจตานทานไดเลย (เดื อ นกั น ยายน – พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๔) พิ บั ติ ภั ย ครั้ ง นี้ ทิ้ ง มรดก ความเสียหายใหแกทุกอําเภออยาง รุนแรง ตามถนนหนทางเต็มไปดวย คราบโคลนตะกอน และขยะที่ พั ด พามากั บ น้ํ า รวมทั้ ง ซากต น ไม เน า เกลื่ อ นทั้ ง เมื อ ง จนดู เ หมื อ น ความหวั ง ของอยุ ธ ยาที่ จะเป็ น เจ า ภาพงานมหกรรมโลกจะหลุ ด ลอยไปแลวในเวลานั้น แตสิ่งอัศจรรยแก็บังเกิดขึ้น ในพระนครศรีอยุธยา เมืองหลวงเกา แห ง นี้ไ ด รั บการฟื้น ฟู จนกลับ มาสู ภาวะปกติไ ดอยางรวดเร็ว แตหาใช ด ว ยปาฏิ ห าริ ยแ หรื อ ฤทธิ เ ดชของ เทพยดาแตอยางใด หากเป็นความ รวมมือรวมใจ ของคนอยุธยา และ คนไทย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน และจิ ต อาสา ร ว มกั น ฟื้นฟูอยุธยาใหกลับมายืนหยัดอยาง สงางามยิ่งกวาเดิม ประหนึ่งไมเคย เกิดพิบัติอะไรขึ้นมากอน สะทอนถึง สายเลื อ ดนั ก สู ข องชาวจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา และความสมาน สามั ค คี ข องคนไทย ที่ น า จะสร า ง ความเชื่ อมั่นในความพรอมสําหรับ
การเป็นเจาภาพมหกรรมโลกไดไ ม นอย นั บ จากวิ ก ฤติ นั้ น เป็ น ต น มา จั ง หวั ด พร ะนครศรี อ ยุ ธ ยา และหนวยงานตาง ๆ ในจัง หวัด ได รว มมื อ กั น จัด กิ จ กรรมตา ง ๆ เพื่ อ เผยแพรจุดแข็ง ในการเป็นเจาภาพ จั ด งานมหก รร มโลก ให เ ป็ น ที่ ปร ะ จั ก ษแ ว าจั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศรีอยุธยามีความพรอมทุกดาน เป็น นครประวั ติ ศ าสตรแ ที่ มี เ รื่ อ งราว ความสั ม พัน ธแ กับ นานาประเทศมา อย า งยาวนาน เป็ น นครแห ง ความ หลากหลายทางเชื้ อ ชาติ ศ าสนา ที่ ต า งอยู ร ว มกั น ได อ ย า งสั น ติ สุ ข โดยทางจั ง หวั ดพระนครศรีอ ยุธยา รวมกับหนวยงานภาครัฐและเอกชน ภายในจังหวัด ไดจัดกิจกรรมตาง ๆ ออกมาอยา งสม่ํา เสมอ โดยเฉพาะ เทศกาลความสั ม พั น ธแ ระหว า ง อยุธยากับประเทศตาง ๆ ที่เคยเขา มาตั้งถิ่นฐานในอดีต เชน เปอรแเซีย เน เธ อรแ แลนดแ โ ปร ตุ เ กส และ ศรี ลั ง กา รวมทั้ ง การสอดแทรก เนื้ อ หาการประชาสั ม พั น ธแ ค วาม พรอมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลงในกิจกรรมหรื อเทศกาลประจําปี ตาง ๆ อยางตอเนื่อง ตั้งแตปลายปี ๒๕๕๔ และตลอดทั้ง ปี ๒๕๕๕ อัน ประกอบไปดวยกิจกรรมตาง ๆ อาทิ ๑. งา น เ ฉลิ มฉล อ ง ๒ ทศวรรษ อยุธยามรดกโลก จัดขึ้น ระหว า งระหว า งวั น ที่ ๙ – ๑๓ ธั น ว า ค ม ๒ ๕ ๕ ๔ โ ด ย ท ท ท . พระนครศรี อยุธยา รว มกับจัง หวั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ยา แ ละ ก ร ม ศิ ล ปากร ซึ่ ง แม จ ะจั ด ขึ้ น ที่ ห น า ศู น ยแ บ ริ ก ารข อ มู ล ท อ งเที่ ย วเพี ย ง
แห ง เดี ย ว (ศาลากลางจัง หวัด หลั ง เกา) ซึ่งตางจากทุกปี แตก็มีกิจกรรม อันหลากหลาย เชน การแสดงทาง วั ฒ นธรรมไทยร ว มสมั ย และการ แสดงจากนานาชาติ มี ก ารจํ า ลอง ตลาดโบราณ จําหนายอาหาร และ เครื่องดื่ม อันเป็น สวนสําคัญในการ ประชาสัมพันธแการทองเที่ยวจังหวัด ภายหลังประสบอุทกภัย ๒.เทศกาลความสัมพันธ์ อยุธยากับนานาชาติ เป็นกิจกรรมที่ จั ด โดยจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ร ว มกั บ หน ว ยงานภาคส ว นต า ง ๆ ภายในจัง หวั ด ซึ่ง จั ด เป็ นกิ จ กรรม ย อ ย ๆ ติ ด ต อ กั น โดยมี ค วามมุ ง หมายเพื่ อ ชี้ ใ ห ช าว โ ลก เห็ น ว า จัง หวัดพระนครศรี อยุธ ยาเคยเป็ น นครที่ ไ ด รั บ รองการมาเยื อ นของ นานาประเทศมาตั้ง แตสมัยโบราณ ที่เ ป็ น จุ ด เริ่ ม ต น แห ง ความสั ม พั น ธแ อันยาวนานระหวางประเทศไทย กับ ชนชาติ ต า ง ๆ โดยในการจั ด งาน ย อ ยในแต ล ะครั้ ง จะสอดแทรก เนื้อหาของความสัมพันธแทางการทูต ก า ร ค า แ ล ะ สั ง ค ม วั ฒ น ธ ร ร ม ระหวางอยุ ธยากับชาติ ตาง ๆ ซึ่ง มี การเชิญแขกคนสําคัญ เชน ทูตหรือ ผูแทนของชาติตาง ๆ มารวมงาน มี สิ น ค า ของที่ ร ะลึ ก และอาหาร เครื่องดื่ม ทั้งที่แปลกตาและคุนเคย กั น อยู ข ายกั น อย า งคึ ก คั ก มี ก าร แสดงทางวัฒนธรรมรวมสมั ยเป็นที่ สนใจของชาวจั ง หวั ด พระนคร ศ รี อ ยุ ธ ย า แ ล ะ ทั่ ว ไ ป ไ ม น อ ย ประกอบไปดวย - ง าน ตรุ ษจี น ก รุ ง เก า อยุ ธ ยามหามงคล จั ด ขึ้ น ระหว า ง วันที่ ๒๔ – ๒๙ มกราคม ๒๕๕๕ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๘๙
- เทศกาลความสั ม พั น ธแ อยุ ธ ยา - ฮอลัน ดา จั ด ขึ้น ระหว า ง วันที่ ๘ - ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ - เทศกาลความสั ม พั น ธแ อยุ ธ ยา-เปอรแ เ ซี ย ระหว า งวั น ที่ ๒๒ - ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ - เทศกาลความสั ม พั น ธแ อยุ ธ ยา - ศรี สั ง กา ระหว า งวั น ที่ ๒ – ๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ - เทศกาลความสั ม พั น ธแ อยุธยา - ฝรั่งเศส ระหวางวันที่ ๒๔ - ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๕ - เทศกาลความสั ม พั น ธแ ไทย - ญี่ ปุ น ระหว า งวั น ที่ ๑ - ๘ กั น ยายน ๒๕๕๕ ซึ่ ง จั ด ที่ บ ริ เ วณ ศูนยแศึกษาประวัติศาสตรแพระนครศรีอยุธยา ๓.ลอยกระทงกรุงเก่า ใน การจัดงานลอยกระทงกรุงเกาของ ทางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่จัด ขึ้ น ณ อนุ ส รณแ ส ถานแห ง ความ จงรั ก ภั ก ดี ทุ ง หั น ตราประจํ า ปี ๒๕๕๕ ซึ่ ง นอกเหนื อจากกิจ กรรม ลอยกระทงแล ว ยั ง มี กิ จ กรร ม ประชาสั ม พั น ธแ ก ารเสนอตั ว เป็ น เจ า ภาพงานมหกรรมโลก เวิ ล ดแ เอ็ กซแ โ ป ๒๐๒๐ โดยมี ก ารแขง ขั น Walk Rally และมี กิ จ กรรมการ แขงขันทางน้ํา การประกวดกระทง พรอมดวยการแสดงจากดาราศิลปิน จํานวนมาก รวมทั้งไดฟื้นฟูประเพณี โบราณเก า แก คื อ พิ ธี อ าบน้ํ า เพ็ ญ โ ด ย เ ก จิ อ า จ า ร ยแ ใ น จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยาอีกดวย ๔.งานยอยศยิ่งฟ้าอยุธยา มรดกโลก งานยอยศยิ่ ง ฟู า อยุ ธ ยา มรดกโลก หรือ งานมรดกโลก ที่ใน
ปีนี้ไดเพิ่มเนื้อหาการประชาสัมพันธแ เวิ ล ดแ เอ็ ก ซแ โ ป ๒ ๐๒ ๐ เข า ไ ป ในการแสดงแสงเสี ย ง ในชื่ อ ชุ ด “ยอยศยิ่งฟูาอยุธยามหานคราเกริก เก รี ย ง ไ ก ร ” ที่ แบ ง ก า ร แส ด ง ออกเป็น ๔ องกแ หรือ ๔ ฉาก องกแที่ ๑ สร า งบ า นแปงเมื อ ง องกแ ที่ ๒ รุงเรืองงามวิจิตร องกแที่ ๓ สถิตในใจ ป ร ะ ช า แ ล ะ อ ง กแ ที่ ๔ ม ห า นคราเกริ ก เกรี ย งไกร ที่ ก ล า วถึ ง ความเจริ ญ ในทุ ก ด า นของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา พรอมทั้งในงาน ยัง มีนิ ท รรศการให ค วามรูเ กี่ ยวกั บ เวิลดแ เอ็กซแโป ๒๐๒๐ อันแสดงถึง ความพยายามในการประชาสัมพันธแ ความพร อ มของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ย า ที่ เป็ น ตั ว แท น ข อ ง ประเทศไทย ในการเสนอตั ว เป็ น เจ า ภาพจั ด งาน เวิ ล ดแ เอ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ กิ จ กรรมเหล า นี้ สะท อ น ถึงความมุงมั่น ในการผลักดั นอยา ง สร างสรรคแ ของภาคสว นต าง ๆ ใน จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นให จั ง หวั ด พระนคร ศรี อ ยุ ธยาได มีโ อกาสก า วออกไปสู สายตาของนานาชาติ ที่ไดเริ่มตนขึ้น จากบรรดาชาติ ต า ง ๆ ที่ เ คยมี สั ม พั น ธ ภ า พ ร ว ม กั น ม า ใ น ประวัติศาสตรแ เพื่อสานสัมพันธแนั้น ใหแนนแฟูน เป็นสายใยที่จะนําไปสู ความร ว มมื อ ในการ สนั บ สนุ น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และ ประเทศไทยให ไ ด รั บ โอกาสอั น สํ า คั ญ ในการเป็ น เจ า ภาพจั ด งาน มหกรรมแหงมวลมนุษยชาติ อยุธยา เวิลดแเอ็กซแโป ๒๐๒๐
๙๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
จ า ก จุ ด นี้ จ ะ เ ห็ น ว า วั น เวลาของอยุ ธ ยาเวิ ล ดแ เ อ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ มิ เ คลื่ อ นคล อ ยไปอย า ง ราบรื่ น หากแตจํ าตองฝุาวิก ฤตภั ย รายแรง แตก็ยังกัดฟในลุกขึ้นยืนหยัด มุ ง มั่ น แสดงศั ก ยภาพและความ พร อ มของตนเองให เ ห็ น เป็ น ที่ ประจักษแโดยทั่วกัน และการเดินทาง แสนเพลิ น นี้ กํ า ลั ง มาถึ ง ช ว งเวลา สําคัญ
วัธฝยุ่งธี้ของอมุทมาเวิฤณ์ เอ็กซ์โบ: ควาภหวังใธกาย เบ็ธเจ้าฟาฝ วั น ที่ ๓ ๐ ม ก ร า ค ม เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งานมหกรรมโลก หรือ BIE พรอมคณะ เดินทางเยือน ประเทศไทย เพื่อรับฟใง ขอมูล และ ลงพื้ น ที่ สํ า รวจความพร อ มของ ประเทศไทย ที่เสนอตัวเพื่อประมูล สิทธิ์ เป็นเจาภาพจัดงานเวิลดแเอ็กซแ โป ๒๐๒๐ ที่อําเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง เป็ น การ สํารวจพื้นที่ครั้ง สุดทายกอนการลง มติคัดเลือกประเทศเจาภาพการจัด งาน ในการประชุ มสมั ชชาใหญ ใ น เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ใน ช ว ง เ ย็ น น า ยวิ ทย า ผิ ว ผ อ ง ผู ว า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา นําคณะฯ ลงเรือ บริ เวณทา เรือ องคแ ก ารบริห ารส ว น จังหวัด ตําบลประตูชัย เพื่อชมความ งาม และวิถีชีวิตของประชาชนสอง ฝใ่ง แมน้ําเจาพระยา และเทีย บทาที่ วัดไชยวัฒนาราม เยี่ยมชมซุมสาธิต งานหัตถกรรม เชน การรอยมาลั ย การทํ า เครื่ อ งหอม การแกะสลั ก ผลไม และการสานปลาตะเพี ย น
พร อ มการแสดงต า ง ๆ อาทิ รํ า กลองยาว และการแสดงแสงเสีย ง อยางงดงามตระการตา พรอมดวย การเลี้ ย งรั บ รองอาหารค่ํ า ซึ่ ง แม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะมีคูแขง ในการประมู ลสิ ทธิ เป็ นเจา ภาพจั ด งานที่มีศักยภาพมากหลายประเทศ อยาง บราซิลที่เสนอ เซาเปาโล ริโอ เดอจาเนโร และสหรัฐ อาหรั บเอมิ เรสตแ ที่ เ สนอ นครดู ไ บ เป็ น ต น อย า งไรก็ ต ามผู ว า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ยังมีความมั่นใจ อยางมากที่อยุธยาของไทยจะไดรับ การคั ด เลื อ กเป็ น สถานที่ จั ด งาน มหกรรมโลก ทุกยางกาวที่รวมเดินทาง กั น มาตลอดทั้ ง วั น ของพระนครศรีอยุธยา ทั้งเหน็ดเหนื่อยจากความ พยายาม มีชวงที่ลมเจ็บแสนสาหั ส แตแลวก็จับมือกันลุกขึ้นสู พรอมทั้ง ยั ง แสดงศั ก ยภาพอย า งเต็ ม กํ า ลั ง เพื่อใหเป็นที่ประจักษแถึงความพรอม ของพระนครศรีอยุธยา ในการเป็น สถานที่ จั ด งานมหกรรมที่ ยิ่ ง ใหญ แห ง มวลมนุ ษ ยชาติ และในวั น ที่ แสนจะเหน็ดเหนื่อย กอนที่แสงของ อยุธยาเวิลดแเอ็กซแโป ๒๐๒๐ จะลับ ปลายขอบฟูา ผูคนทั้งหลายตางจับ
มือใหกําลัง ใจกันและกัน พรอมเฝูา รอฟใ ง คํ า ตอบ ด วยความหวั ง และ ความเชื่ออยางเต็มเปี่ยมวา จะมีวัน พรุ ง นี้ ข อง อยุ ธ ยาเวิ ล ดแ เ อ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐
เภื่อ “อมุทมาเวิฤณ์เอ็กซ์โบ ๒๐๒๐” ฤาฤันขอนพ้าไบ เมื่อวานวันเคลื่อนผานไป จนสุ ด ท า ยก็ ห าได มี “วั น พรุ ง นี้ ” ของ อยุ ธ ยาเวิ ล ดแ เ อ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ อยางที่หลายคนตั้ง ความหวัง เอาไว เพราะเมื่อยางสูเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ นาย บิ เ ซนเต กอนซาเลส โลสเซรแตาเลส เลขาธิการใหญของ บีไออี ก็ไดออกมาเปิดเผยวา จังหวัด พระนครศรี อยุธยาของไทย ถูกตั ด สิ ท ธิ์ อ อกจากการเสนอตั ว เป็ น สถานที่จัดงาน เวิลดแเอ็กซแโป ๒๐๒๐ เป็นที่เรียบรอยแลว อยางไมทันได เข า ไปชิ ง ชั ย ในการประชุ ม สมั ช ชา ใหญ เ พื่ อ ลงมติ คั ด เลื อ กประเทศ เจ า ภาพการจั ด งานในช ว งเดื อ น พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๖ เนื่ อ งจาก กระทรวงการตางประเทศในรัฐบาล ภายใต ก ารนํ า ของนายกรั ฐ มนตรี ยิ่งลักษณแ ชินวัตร ไมยืนยันแผนใน
การสนับสนุนการจัดงานใหทันตาม กําหนดเวลา ทางบี ไ ออีจึง กัง วลว า รั ฐ บาลไทยอาจจะไม ไ ด ใ ห ก าร สนั บ สนุ น ใน ก าร จั ด ง าน อ ย า ง เพียงพอ ส ง ผลให โ อกาสในการ เสนอตั วเป็น เจ าภาพเวิล ดแเ อ็ก ซแโ ป ใ น ค . ศ . ๒ ๐ ๒ ๐ ข อ ง จั ง ห วั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาหลุ ด ลอยไป เฉย ๆ โดยปราศจากคําอธิบายจาก รัฐบาล ประหนึ่งวาตลอดระยะเวลา ๒-๓ ปีที่ผานมา ไมเคยมีการพูดคุย ถึงเรื่องอยุธยาเวิลดแเอ็กซแโป ๒๐๒๐ กั น ม า ก อ น ยุ ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ ประชาสั มพัน ธแที่ ผานมากวา ๔๐๐ ลานบาท รวมทั้ ง ยุ ติความหวัง ของ ชาวอยุธยา และคนไทยทั้งประเทศ ให นิ่ ง ลง ปล อ ยให ก าลเวลาคอย ลบเลือนความทรงจําของชาวอยุธยา และคนไทยที่เคยมีความหวังในการ เป็ น เจ า ภาพจั ด งาน เวิ ล ดแเ อ็ ก ซแ โ ป ๒๐๒๐ ใหจางลงไปเอง
เมื่อนั้น “อยุธยาเวิลด์ เอ็ ก ซ์ โ ป ๒๐๒๐” ก็ ค่ อ ย ๆ ลาลับขอบฟ้าไป ๏
แผนผังแสดงพื้นทีโ่ ครงการ อยุธยาเวิลด์เอ็กซ์โป ๒๐๒๐ ซึ่งก่าหนดที่ตั้งไว้ทางด้านทิศตะวันออกของศูนย์ปาชีพบางไทร
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๙๑
นุษยาคัภภฒีศยียาชฟัฎ อยอุภา โฝทิ์จิ๋ว* ยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้มผี ลงานดีเด่นด้านการศึกษาวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิ่น และสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม
โคยงกายมกม่องปู้ภีปฤงาธณีเณ่ธ
ณ้าธกายศึกษา วัฑธทยยภ แฤะฟูภิบัญญาถ้องติธ่ บยะจําฝุถทศักยาช ๒๕๕๗
สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา หน ว ยงานด า นการศึ ก ษาค น คว า และสื บ สานศิ ล ปวั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น ในสั ง กั ด มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ไดจัดพิธีมอบรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๑๑ ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา การจัดโครงการในครั้งนี้มีวัตถุประสงคแเพื่อ เป็นการยกยองเชิดชูเกียรติ ผูมีผลงานดีเดนดานการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปใญญาทองถิ่น รวมทั้งสรางคุณประโยชนแ แกสังคม ซึ่งปีนี้ถือเป็นครั้งพิเศษที่ไดขยายขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ใหบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จึงไมเพียงแตพิจารณามอบรางวัลแกผูมีผลงานดีเดนดานวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดพระนครศรี อยุธยาเทานั้น ยังรวมถึง จังหวัดนครนายก และจังหวัดอางทองอีกดวย สําหรับผูที่ไดรับรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ประจําพุทธศักราช ๒๕๕๗ นี้ มีจํานวนทั้งสิ้น ๗ ทาน ในสาขา ตาง ๆ ประกอบดวย สาขาศิลปกรรม ๓ ทาน สาขาภาษาและวรรณกรรม ๑ ทาน สาขาสงเสริมศิลปวัฒนธรรม ๑ ทาน และสาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ๒ ทาน ซึ่งในระหวางการจัดพิธีมอบรางวัลนั้น สถาบันอยุธยาศึกษา ไดจัด ใหมีการเสวนาแลกเปลี่ยนถึงความรูสึกที่ไดมีโอกาสรับรางวัลครั้ง นี้ โดยมีนายปใทพงษแ ชื่นบุญ นักวิชาการ ประจํา สถาบันอยุธยาศึกษา เป็นผูดําเนินรายการ ซึ่งมีสาระสําคัญที่นาสนใจดังตอไปนี้
๙๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ฝัธจ่าอากาศเอกสุยเณช เณชคง สาขาศิลปกรรม ด้านช่างแทงหยวก พั น จ า อากาศเอกสุ ร เดช เดชคง หรื อ ครู สุรเดช ชางแทงหยวกแหงเมืองอางทอง ไดเลาถึงความ ภาคภู มิ ใ จที่ สุ ด ในชี วิ ต ที่ ไ ด มี โ อกาสเข า เฝู า ฯ สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยบังเอิญ วา “ผมได้มีโอกาสรับเชิญจากท่านจเด็ด อินสว่าง ซึ่ง ท่านเป็นปลัดกีฬาท่องเที่ยว ให้ไปท่าเมรุแทงหยวก เผาศพบิ ด าของท่ า นที่ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี เสร็ จ แล้ ว สมเด็จพระเทพฯ ท่านเสด็จไปเสวยพระกระยาหารที่นั่น ตอนกลางวัน ท่านมาเป็นองค์ประธาน ขณะที่รถขับผ่าน เมรุ ห ยวกที่ สนามกี ฬ าโรงเรี ย นนั้ น ปรากฏว่ า สมเด็ จ พระเทพฯ ท่านรับสั่งให้คนขับรถจอด แล้วพระองค์ท่าน ก็เสด็จพระราชด่าเนินขึ้น ไปดูเมรุ พระองค์ตรัสว่า งาน แทงหยวกนี้มันใกล้จะสูญสลายไปทุกขณะ อยากจะให้ ช่วยอนุรั กษ์ สืบสาน พัฒนา งานแทงหยวก ให้ คงอยู่ เป็นมรดกของชาติ ต่อไป แล้วตอนสุดท้าย ท่านก็ตรัสว่า งานแทงหยวกนี้ ฉั น ก็ แ ทงได้ แ ต่ ถ้ า จะให้ ส วยแบบนี้ กล้วยคงหมดหลายดงแน่ แล้วท่านก็รับสั่งให้ จเด็ด อิน สว่าง เอารูปพระราชทานที่ถ่ายที่เมรุนั่นมาให้ผม แล้ว ท่าน ก็เขียนค่าชมเชย อันนี้เป็นที่ประทับใจของสกุลช่าง แทงหยวก อ่างทองเป็นอย่างมาก” ครูสุรเดช ยังไดฝากฝใงถึงงานแทงหยวกวาเป็น งานที่หาดูไดยาก ไมคอยมีหลักฐานหลงเหลือ เพราะเมื่อ ใชงานเสร็จแลวก็ตองทิ้งไป แตนับวาเป็นเรื่องโชคดีอยู บางที่ในปใจจุบันมีเทคโนโลยีในการบันทึกเป็นภาพถาย ไว จึงอยากใหคนรุนหลังๆ ชวยกันรักษาภูมิปใญญาแทง หยวกนี้ใหคงอยูตอไป
คุฒสุวิถม์ ชูชีฝ สาขาศิลปกรรม ด้านช่างแทงหยวก ครูสุวิทยแเป็น ชางแทงหยวกประจํายานวัดปุา โค อําเภอพระนครศรีอยุธยา และยังเป็นครู พิเศษสอน วิชาการแทงหยวกใหกับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดปุา โคอีกดวย ครูเลาถึงภูมิปใญญาการแทงหยวกวา
“ผมได้เห็น การแทงหยวกในวันนี้นะครับ ก็ดี ใจและคิดว่า สถาบันอยุธยาศึกษา เป็นแหล่ง ที่จะรักษา ให้วิชาแขนงนี้ไม่ให้สูญ เหมือนกับได้ปลุกสิ่ง ที่ตายแล้ว ให้ฟื้นขึ้น และผมเชื่อว่าเด็กรุ่นหลังของเราที่ไม่เคยเห็น จะได้เห็นฝีมือศิลปะของการแทงหยวก แต่ละหมู่บ้าน สมัยก่อนการแทงหยวกนี้ มีทุกหนทุกแห่ง ถ้าจะเรียกได้ ว่าประจ่าวัดเลยก็ว่าได้ และอีกอย่างหนึ่งศิลปะการแทง หยวกนี้ไม่ใช้เฉพาะงานตาย ที่จริงใช้ได้หลากหลาย และ เป็นการต่อยอดไปได้อีกไกล ผมก็ขอชมเชยบรรพบุรุษของเราได้เอาสิ่งที่ ไม่ มีค่ามาเป็นสิ่ง ที่มีค่า บรรพบุรุษของเราได้ให้เกียรติแก่ ผู้ตาย ได้ให้เกียรติแก่เด็กไว้จุก แก่เด็กไว้แกละ แล้วเป็น การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันในหมู่บ้าน งานแทง หยวกท่างานเป็นทีม ไม่ใช่ท่างานคนเดียว เป็นน้่าหนึ่งใจ เดี ย วกั น ของคนในหมู่ บ้ า น และผมได้ ดี ใ จที่ ผ มที่ ไ ด้ ถ่ายทอดให้กับเด็กนักเรียน ผมเชื่อว่าวิชาแขนงนี้ จะไม่ สู ญ หายจากพวกคณะครู ช่ า งต่ า ง ๆ ทุ ก รู ป ทุ ก นามนี่ แหละครับ”
คุฒวิธัม มิธณีวิถม์ สาขาศิลปกรรม ด้านการตีมีดอรัญญิก ถ า พู ด ถึ ง ร า นมี ด อรั ญ ญิ ก แล ว นั้ น หลาย ๆ ทานคงจะรูจั กร านมี ดอรัญ ญิก ที่ชื่ อวา วิ นัย รวยเจริ ญ เพราะเป็นแหลง ผลิต แหลงเรียนรูการตีมีดที่มีชื่อเสียง มากของอําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คุ ณ วิ นั ย เล า ถึ ง ความภาคภู มิ ใ จ ที่ เ กิ ด มาใน แผนดิน ไทยแล วก็สืบทอดภูมิปใ ญ ญาทอ งถิ่น ไดมีสว น รวมอนุรักษแในภูมิปใญญาทองถิ่นของปูุยาตายาย ซึ่งเป็น ชาวลาวเวียงจันทนแ ทีอ่ พยพมาในปลายกรุงศรีอยุธยาวา “ผมเนี่ยมีความภาคภูมิใจ ที่เกิดมาในแผ่นดิน ไทยแล้ ว ก็ สื บ ทอดภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ได้ มี ส่ ว นร่ ว ม อนุรักษ์ในภูมิปัญญาท้องถิ่นของปูุย่าตายายของพวกผม นี้ ซึ่งประวัติก็บ่งบอกว่าเป็นชาวลาวเวียงจันทน์นะครับ ซึ่ง อพยพมาในปลายกรุ ง ศรี อยุ ธ ยา ตอนนี้ ผ มก็ไ ด้ สื บ ทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น .. ผมมีความภาคภูมิใจว่าผมเป็น ส่วนหนึ่งที่ได้ท่าเหล็ก จากเศษเหล็ก ให้มีคุณค่า และให้ มีประโยชน์ได้ใช้สอย แล้วก็สืบทอดให้กับลูกหลาน ซึ่ง ทางกลุ่มผมนี้ไ ด้ตั้ง กลุ่มมีดอรัญ ญิก วินัยรวยเจริญ ซึ่ง I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๙๓
เป็นศูนย์เรียนรู้ ดูงานให้กับสถาบันการปกครองท้องถิ่น หรือว่าจะเป็นกลุ่มอาชีพ ตอนนี้ทางสถาบันอยุธยาศึกษา ได้สนับสนุน ให้รางวัลบุษราคัมแก่ผม ผมมีความภาคถูมิใจมาก จาก ๔๙ ปี ซึ่ง ผมได้สืบทอดภูมิปัญญามา ผมหายเหนื่อ ย และมีความภาคภูมิใจที่จะ ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นอัน นี้ และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยของเราไว้” สิ่งบันดาลใจของคุณสุรเดชที่ทําใหเขาคงความ เป็นชางตีมีดมาจนถึงทุกวันนี้ คือเหตุการณแสําคัญในชีวิต เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดช ทรงเสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตรมาตี มีดอรัญญิกดวยพระองคแเองเพียงลําพัง ขณะนั้นคุณสุรเดช อายุประมาณ ๒๐ ปี ไดมี โอกาสเขาเฝูากราบแทบพระบาท พระองคแทรงตรัสวา จะมาทอดพระเนตร การตีมีดของชาวอรัญญิก และทรง มีรับสั่งวา “การตีเหล็กแบบโบราณแบบนี้ ไมมีที่ไหนใน โลก นอกจากอรัญญิก ฉันไดยินชื่อมานานแลวแตไมมี โอกาสไดมา อยากใหอนุรักษแเอาไว” ดวยความปลาบปลื้มใจในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงมีค วามหวงแหนภูมิปใ ญญาการตีมีด จึง เป็น แรง บันดาลใจใหคุณวินัย เสนอตัวเขาไปรับใชประชาชนใน หมูบาน เพื่ออนุรักษแภูมิปใญญาทองถิ่นนี้ไวตราบเทานาน และมุ ง มั่ น ที่ จ ะต อ ยอดพั ฒ นางานตี มี ด เพื่ อ เป็ น การ สนองพระราชดํ าริ ของพระบาทสมเด็ จพระเจาอยูหั ว สืบไป
อาจายม์บยะสงค์ อุ่ธเณช สาขาภาษา และวรรณกรรม จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา นับวาเป็นเมืองที่ “เลิศล้ํา กานทแกวี” มาตั้งแตในอดีตกาล จวบจนปใจจุบัน ก็ยังมีกวีที่ยังทําหนาที่สืบสานบทเพลง และวรรณกรรม พื้น บ านใหเ ป็ น มรดกวั ฒ นธรรม ตกทอดมาสู ปใจ จุ บั น สมั ย โดยมี ก ารรวมตั ว กั น เป็ น ชมรม ชื่ อ ว า ชมรมนั ก กลอน อาจารยแประสงคแ อุนเดช เป็นสมาชิกคนหนึ่ง ในชมรมนั ก กลอน และเป็น ผู มีส ว นร ว มในการแต บ ท ประพันธแที่ใชประกอบงาน และพิธีตาง ๆ ของจังหวัด ๙๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อาทิ บทเห เ รื อ บทเล น เพลง พวงมาลัยตางๆ ในโอกาสที่ อ าจารยแ ป ระสงคแ อุ น เดช ได รั บ รางวั ล ยกย อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ ผู มี ผ ลงานดี เ ด น ด า น การศึ ก ษา วั ฒ นธรรม และภู มิ ปใ ญ ญาท อ งถิ่ น สาขา ภาษา และวรรณกรรม จึงไดแตงบทประพันธแขึ้นมา อัน สะทอนไดถึงอุดมการณแของนักกลอน ไวดังนี้ ธรรมดานักกลอนไม่นอนเปล่า เขียนเรื่องราวขจรไกลในแหล่งหน้า แม้ภูมิรู้จะมีน้อยด้อยปัญญา สู่อุตส่าห์ฝึกฝนจนเชี่ยวชาญ เพื่อถ่ายทอดอุดมการณ์และสานฝัน เพื่อสร้างสรรค์ความรื่นรมผสมผสาน สื่อภาษาผ่านอักษรเป็นกลอนการ ให้มวลชนชื่นบาลญาณยินยล เพื่อสอดคล้องค่าขวัญอยุธยา ที่มีมาแน่วแน่ตั้งแต่ต้น เลิศล้่ากานท์กวีที่นิพนธ์ เหล่านักกลอนทุกคนต่างภูมิใจ ขอเป็นหนึ่งในผู้ซึ่งได้สืบทอด มิใช่ยอดกวีแท้มาแต่ไหน แต่รักในคุณค่าภาษาไทย มอบดวงใจแด่กลอนกลางนิรันดรเทอญ
คุฒณุฤม์ฝิชัม โกภฤวาธิช สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม คุณดุลยแพิชัย โกมลวานิช เป็นบุคคลตัวอยาง ที่ มี ค วามสามารถทางด า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมและการ ออกแบบ โดยเฉพาะการนําวัฒนธรรมและภูมิปใญ ญา ท อ งถิ่ น มาใช เ ป็ น แนวคิ ด ในการสร า งสรรคแ ผ ลงาน ออกแบบที่ มี เ อกลั ก ษณแ เ ฉพาะตั ว สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง คุณคาความงามและประโยชนแใชสอย ผลงานไดรับการ เผยแพรทั้งในระดับประเทศและในตางประเทศ และได อุ ทิ ศ ตนเพื่ อ สื บ สานงานศิ ล ปะ และมรดกภู มิ ปใ ญ ญา ทองถิ่น ใหดํารงอยูคูกับชุมชนมาเป็นระยะเวลายาวนาน ตลอดจนถายทอดความรูใหกับ เยาวชน และผูที่สนใจ
เพื่อใหทุก คนรว มตระหนัก ถึงคุ ณคา และความสําคั ญ ของวัฒนธรรมและภูมิปใญญาทองถิ่น ชว งหนึ่ง ในการเสวนา คุณ ดุลวิชั ย ได พูด ถึ ง การพัฒนา “เมือง” กับ “ศิลปะ” ไวอยางนาสนใจมาก ความตอนหนึ่งวา “ผมจะนึ กถึ ง ประเด็ น เมื อ งเสมอว าต อ งเกิ ด เมือง ถาเราไมใชศิลปะกับเมืองศิลปะก็จะเป็นเหมือนกับ หิ่งหอยตัวเล็ก ๆ ซึ่งวันหนึ่งเมื่อแสงไฟกระจางขึ้น แสง หิ่งหอยตรง ๆ นั้นก็ดับไปแลวมันก็มีแสงไฟตรงนั้นก็เป็น หลอดนั บ ชนิ ด แสงหิ่ ง ห อ ยซึ่ ง มั น เป็ น เบื้ อ งของ วั ฒ นธรรมมั น เป็ น แสงธรรมชาติ ส ติ ปใ ญ ญาของมวล มนุษยแโดยใชพื้นฐานที่เหมาะสมตรงนั้นมันก็จะหมดไป อยุธยามีรหัสชีวิตมีรหัสวัฒนธรรมมีรหัสภูมิศาสตรแซอน อยูในนั้นมากมายเหลือเกินใชเวลาในการพิจารณาตรง นั้นอยางถี่ถวนก็ถือเป็นโอกาสอันดีสําหรับคนรุนใหม”
อาจายม์ชาดยี สูวัสกุ สาขาการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิต อาจารยแชาตรี สู วัสกุ แตเ ดิมทา นเป็น ศิลปิ น นักเขียนภาพและไดผันตัวเองมาสูการทําเกษตรกรรม อาจารยแเลาถึงแนวคิดการอนุรักษแทุเรียนโบราณวา คือ การออนนอมตอธรรมชาติซึ่งเกิดจากการทํางานศิลปะ อาจารยแกลาววา “สมัยก่อนนี้คนจะละเอียดประณีตทุกอย่างไม่ ว่าในเรื่องของอาหารการกิน เรื่องของงานฝีมือต่างๆ จน เกิ ด เป็ น งานศิ ลปะ จากนั้ น ก็ ก ลายมาเป็ น วั ฒ นธรรม อาจารย์ชาตรีกล่าวว่า สมัยก่อนนั้น ว่าทุเรียนลูกหนึ่ง ราคาเท่ากับทองค่า ๑ บาท เป็นสิ่งที่ยืนยันว่าอันนี้เป็น เรื่องที่น่าจะเป็นวัฒนธรรมได้ ที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต” หากท า นใดสนใจวิ ถี ชี วิ ต แบบธรรมชาติ ตองการที่จะเรียนรูเกี่ยวกับการทําสวนทุเรียนก็สามารถ เขามาไดที่ สวนละอองฟูา ซึ่งอาจารยแเป็นศูนยแอนุรักษแ พันธุทุเรียนโบราณดวยแลวก็ยังเป็นแหลงเรียนรูดวย
อาจายม์กัฤมา ภั่งคั่ง สาขา การศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต อาจารยแ กัล ยา มั่ ง คั่ง เป็น ข าราชการครู มา กวา ๓๐ ปี วิธีการสอนของอาจารยแ คือ อาจารยแจะพา เด็กนักเรียนลงไปเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องภูมิปใญญาทองถิ่น ของจัง หวัดนครนายก เพราะวาจะทําใหเด็กไดพบกับ ประสบการณแจริง นักเรียนก็ไ ดศึกษาเรียนรูไ ปดวย ที่ โรงเรี ย นนั้ น จะมี โ ครงการส ง เสริ ม ความเป็ น เลิ ศ ของ นักเรียน โดยจะมีการแขงขันโรงเรียนระดับกลุม ระดับ อําเภอ ระดับจังหวัด ซึ่งทางโรงเรียนก็จะวัดแววนักเรียน นั ก เรี ย นคนไหนมี ค วามสามารถ อาจารยแ กั ล ยาก็ จ ะ สง เสริมใหนักเรียนไดประสบความสําเร็จ จนสามารถ ไดรับรางวัลตาง ๆ จํานวนมาก อาจารยแกัลยา มั่งคั่ง ถายทอดเรื่องราวตาง ๆ ดวยความปลาบปลื้มใจ ในฐานะเรือจางผูเสียสละ นอกจากนี้ ในช่ ว งท้ า ยของกิ จ กรรมนั้ น อาจารย์ประสงค์ อุ่นเดช ได้เป็นตัวแทนของผู้ได้รับ รางวั ล ยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ ผู้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ด้ า น การศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ประจา พุทธศักราช ๒๕๕๗ ไว้ดังนี้ สถาบันอันทรงค่า อยุธยาศึกษาผู้สร้างสรรค์ เชิดชูเกียรติ มอบรางวัลสิ่งส้าคัญ ก้าลังใจที่ท่านนั้นให้แก่เรา จะรักษาผลงานที่ดีเด่น เพื่อให้เป็นมรดกไทยไม่สูญเปล่า ให้อนุชนรุ่นหลังที่ยังเยาว์ ได้รับเอาเป็นแบบอย่างในทางดี การศึกษาศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาเลิศล้้าเทิดศักดิ์ศรี เป็นพลังให้เด็กไทยใฝ่ท้าดี สร้างผลงานเช่นนี้นิรันดร๏
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๙๕
วยยฒกยยภถ้องติ่ธกยุงเก่า บัถฝงษ์ ชื่ธนุญ ภูมปิ ัญญา และเรื่องเล่า จากเอกสารโบราณของชาวกรุงเก่า ในศูนย์ข้อมูลสถาบันอยุธยาศึกษา
ดํายามา คาตาอาคภ ฝิไชมสงคยาภ แฤะโหยาศาสดย์ ณูรกษ์มาภด่าง ๆ*
ถี่ภา เอกสารโบราณเลมนี้ เดิมเป็นสมบัติตกทอดของตระกูล สุวรรณวณิช ซึ่งมีถิ่นฐานอยูที่ตําบลหัวรอ อําเภอ เมือง จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา ตอมานายบุญเรือน และนางวิรัช สุวรรณวณิช ไดมอบใหกับสํานักศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ในขณะนั้น เมื่อวันที่ ๑๕ สิง หาคม พ.ศ.๒๕๒๕ ปใจจุบันเก็ บรักษาไวในคลัง เอกสาร โบราณของสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ฤักษฒะของเอกสายโนยาฒ เอกสารโบราณเลมนี้ เป็นสมุดไทยขาว ลงรักทึบที่ปกหนา-ปกหลัง และสันทั้ง ๔ ดาน ปกหนาปิดทองคําเปลว มีขนาดความกวาง ๑๑.๖ เซนติเมตร ยาว ๓๔.๔ เซนติเมตร หนา ๒.๔ เซนติเมตร มีจํานวนหนารวม ๑๕๖ หนา สภาพ โดยรวมคอนขางสมบูรณแ มีเฉพาะหนาปลายที่เกิดการชํารุดฉีกขาด และมีรองรอยของเชื้อรา ลักษณะตัวอักษรที่ใช เป็นอักษรไทย สลับกับอักษรขอมไทย เขียนดวยเสนหมึกดํา สลับกับดินสอดํา เรียงเป็น ระเบียบอยางสวยงาม นอกจากนี้ยังมีลักษณะเดนอีกประการหนึ่งคือ มีการเขียนภาพลายเสนตัวพระตัวนาง และสัตวแ หิมพานตแ ประกอบคําอธิบายดวย * ผูรวมสํารวจ และเก็บขอมูล : นายพีร ภัทร หาวเหิม นักศึกษา สาขา ประวัติศ าสตรแ คณะมนุษ ยศาสตรแและสัง คมศาสตรแ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ๙๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
เธื้อหา หนาตน – หนา ๔๘ เริ่มตนดวยบทไหวครู ตอดวยการบอกคาถาสํารับเสกน้ํารักษาแผล ๑ แลวกลาวถึงสูตรยาสมุนไพรตาง ๆ เพื่อ ใชสําหรับรักษาโรคฝีหนองและแผลตางๆ ตามรางกาย จากนั้นจะเป็นภาพวาดประกอบอธิบายลักษณะฝีหนองที่ขึ้นตาม รางกาย อายุของโรค และวิธีแกไข หนา ๔๘ - หนา๖๖ บอกคาถาสําหรับปลุกเสก อัญเชิญเทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขับไลอุบาทวแและสิ่ งตาง ๆ กอนเดินทางออกจาก เคหะสถาน๒ หนา ๖๘ – หนา ๑๕๖ เป็นตําราผูกดวง ดูฤกษแยามตาง ๆ ไดแก การดูวันขางขึ้นขางแรมสําหรับการเพาะปลูกพืชพันธุแธัญญาหาร , ตําราพิไชยสงคราม ,การดูฤกษแยามสําหรับใสน้ํามันทาตัว ,การดูฤกษแยามเพื่อเลือกเสื้อผาสําหรับนุงหม , การดูลั กษณะ วัวควาย และการดูฤกษแยามสําหรับปลูกเรือน เป็นตน
๑
๒
เป็นพระคาถาภาษาบาลี อักษรขอมไทย สลับดวยพระคาถาภาษาบาลี อักษรขอมไทย I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๙๗
อามุแฤะคุฒค่าของเอกสายโนยาฒ เอกสารโบราณเลมนี้ มิไดมีการกลาวถึงชื่อของผูเขียน และวันเวลาในการเขียน แตจากการปริวรรตและการ ตรวจสอบในเบื้องตนสันนิษฐานวา ไมไดเขียนเสร็จพรอมกันในคราวเดียว แตเป็นตําราที่มีการเขียนเพิ่มเติมสืบตอกันมา โดยผูเขียนมากกวา ๓ คน เพราะปรากฏวาบางชวงมีลักษณะลายมือที่แตกตางกัน อยางไรก็ตามในหนา ๗๗ ปรากฏ การขอความแทรกเขียนดวยดินสอดํากลาววา “ วัดพุตเดือนสิบสองแรมสิบสามคาจุลสักราชพรรสอ่งร้อย สีสีบแปตปีมเมียฉ่อ่ศกฯ ท้ฯนายนั้นมา ข้อรับทาหนังสือประกันตัวนายนั้นมาอยู่บ้านนั้นแขวงนั้นอุไทยกรุงเก่า นายนั้น นายนั้น
จาเจ้าจาเลยยังมี...”
จากขอความดังกลาว สันนิษฐานวาจะเป็นขอความใหมที่สุดในบรรดาเนื้อหาทั้งหมด จึงพอที่จะกําหนดอายุ ได ในเบื้ อ งต น ว า เอกสารโบราณฉบั บ นี้น าจะเขี ยนขึ้ นในช วงระหวา งรัช กาลที่ ๕ ถึ ง ช วงต นรั ชกาลที่ ๖ แห ง กรุ ง รัตนโกสินทรแ เอกสารโบราณฉบับนี้ สะทอนถึงคติความเชื่อ วิถีชีวิตของผูคนในชวงยุคสมัยที่ตรงกับ“มณฑลกรุงเกา” ที่ยังมี ความเชื่อในเรื่องของสิ่งเหนือธรรมชาติ ความชางสัง เกตและละเอียดรอบคอบในการใชชีวิตประจําวัน รวมทั้งสะทอน ภาพชีวิตของสังคมกสิกรรมออกมาในรูปแบบของตําราเพาะปลูก และตําราดูลักษณะวัวควาย นอกจากนี้ยังแสดงออก ถึงความรอบรูของผูแตงในเรื่องตํารายารักษาโรคตาง ๆ จึงนับวาเอกสารโบราณตํารายา ,คาถาอาคม ,พิไชยสงคราม และโหราศาสตรแ ดูฤกษแยามตาง ๆ ฉบับนี้ เป็นเอกสารที่มีคุณคายิ่งฉบับหนึ่ง ที่ควรแคแกการศึกษาองคแความรูทางดาน ภูมิปใญญาในอดีตตอไป
๙๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ศูธม์ข้อภูฤอมุทมาศึกษา สาทิมา ฤามฝิกุธ ปริทัศน์วรรณกรรมอยุธยาจากศูนย์ข้อมูลสถาบันอยุธยาศึกษา
นุฝเฝสัธธิวาส :
ธวธิมามถี่เบ็ธภากกว่าธวธิมาม
บัถฝงษ์ ชื่ธนุญ
ในช ว งสองสามปี ม านี้ หลายทานคงจะคุนเคยเป็นอยางดี กั บ นว นิ ย าย ทั้ ง ที่ เ ป็ น รู ปเล ม หนั ง สื อ ที่ มี ก ารตี พิ ม พแ แ ล ว เช น พรายพยากรณแ, ลูก ทุ งโมดิฟ ายดแ ฯลฯ หรือที่ผานการโลดเเลนบนจอ เงิ น มาแล ว อย า งเช น “ดาวเกี้ ย ว เดือน” ทางไทยทีวีสีชอง ๓ ที่เพิ่ง จบไปเมื่ อ ต น ปี ๒๕๕๗ นวนิ ย าย เหล า นี้ ล ว นแล ว แต เ กิ ด จากการ รั ง สรรคแ โ ดยปลายปากกาของ นัก เขี ยนรุน ใหมไ ฟแรงที่มี นามว า “รอมแพง” หรือคุณอุย จันทรแยวีรแ ส ม ป รี ด า ซึ่ ง มี ดี ก รี จ บ จ า ก มห า วิ ท ย าลั ย ศิ ล ป าก ร ค ณ ะ โบราณคดี วิชาเอกประวัติศาสตรแ ศิ ล ปะ ซึ่ ง มี แ นวคิ ด ในการแต ง นวนิ ย ายที่ ไ ม เ หมื อ นใคร และ
คอ นขา งจะฉี ก ขนบวิ ธีเ ดิ ม ในการ แตงนวนิยายโดยทั่วไป ในบรรดานวนิ ย ายของ คุ ณ รอมแพง “บุ พ เพสั น นิ ว าส” เป็นหนึ่งในหลาย ๆ เรื่องที่โดดเดน และมีเนื้อหาที่นาสนใจเป็นอยางยิ่ง เพราะผูแต ง ไดนําความรูทางดา น ประวัติศาสตรแ ศิลปะ ภาษาศาสตรแ และขนบธรรมเนียมประเพณีไ ทย โบราณ ที่ ไ ด จ ากการค น คว า ทาง วิ ช าการมาถ า ยทอดลงในเนื้ อ หา ของนวนิ ย ายดั ง กล า วด ว ย โดย สมมุติใหนางเอกของเรื่องคือ เกศ สุ ร างคแ ที่ เ ติ บ โตในยุ ค ปใ จ จุ บั น ประสบอุบัติเหตุถึงขั้นเสียชีวิ ต แต ดวงจิตกลับยอนเวลาไปเขาในราง ของแม ห ญิ ง การะเกด ธิ ด าของ พระยารามณรงคแ แห ง เมื อ งสอง แคว ซึ่งเสียชีวิตลงดวยคําสาปแชง จากมนตรากฤษณะกาลี ชวงเวลา ดัง กล า วอยู ในยุ คสมัย ของรั ชกาล สมเด็จพระนารายณแมหาราชแห ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ที่ สํ า คั ญ คื อ แม ว า เก ศสุ ร างคแ จ ะ เกิ ดใน ร าง ใหม แต ด วงจิ ต นั้ น ยั ง คงเป็ น คนในยุ ค ปใ จ จุ บั น จึ ง ไ ด เ ห็ น เหตุ ก าร ณแ บานเมืองตาง ๆ ที่ผานชวงยุคเวลา ของสมเด็ จพระนารายณแมหาราช จนกระทั่งผลัดเปลี่ยนแผนดินเขาสู ยุคแหงราชวงศแบานพลูหลวง ซึ่งใน
ยุ ค ปใ จ จุ บั น ของเกศสุ ร างคแ นั้ น คื อ “ อ ดี ต ที่ ก ล า ย เ ป็ น บั น ทึ ก ประวัติศาสตร์” นอกจากนี้ผูแตงยังไดสราง เหตุการณแใหเกศสุรางคแ (การะเกด) ไดเขามาผูกพันและพบรักกับหมื่น สุ น ทร เทวา (เดช) บุ ต รชายของ ออกญาโหราธิบดีกับคุณหญิงจําปา และหมื่นสุนทรเทวานี้เอง คือผูที่ได ชักพาใหเกศสุรางคแไดเขามาพัวพัน บุคคลที่มีอยูจริง ในประวัติศาสตรแ ไทยหลายคนเชน แมมะลิ หรืออีก ชื่อหนึ่งคือนางตอง กีมารแ, ออกญา โ ห ร า ธิ บดี , จ มื่ น ศ รี สิ ท ธิ บ ว ร (ศรี ป ราชญแ ) , พระวิ สู ต รสุ น ทร (โกษาปาน), ขุ น เหล็ ก (พระยา โกษาธิ บ ดี ) , ออ กหลวงศรี ย ศ (หลานเฉก อะหมัด) , ออกหลวงสร ศักดิ์ (พระเจาเสือ) , ออกพระเพท ราชา , ออกหลวงสุ ร ะสงคราม ( ค อ น ส แ ต น ติ น ฟ อ ล ค อ น ) , อาจารยแชีปะขาวแหงสํานักดาบวัด พุทไธศวรรยแ ฯลฯ แต อ ย า งไรก็ ต าม หั ว ใจ สํ า คั ญ ข อ ง น ว นิ ย า ย เ รื่ อ ง บุ พ เพสั น นิ ว าสนี้ ไม ไ ด มุ ง เน น เรื่ อ งราวของบุ พ เพสั น นิ ว าสของ ความรั ก ดั ง เช นนวนิ ย ายอื่ นทั่ ว ๆ ไปเพี ย งอย า งเดี ย ว หากเป็ น การ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๙๙
ดําเนินเหตุการณแที่กําลังคุกรุนดวย การแย ง ชิง อํา นาจภายในราชวงศแ ปราสาททองและความขัดแยงของ ชาวต า งชาติ ใ นแผ น ดิ น กรุ ง ศรี อยุธยา เกศสุรางคแ แมรูอยูเต็มอก วาจะเกิดสิ่งใดขึ้น แตก็ไมอาจแสดง ความรูสึกที่เป็นคําพูดออกไปได ทํา ใหเธอรูสึกทุกขแเสียยิ่งกวาไมรู หาก เพราะคํ า ว า “สิ่ ง ใดจะเกิ ด ก็ ต อ ง เ กิ ด ” เ ธ อ จึ ง ไ ด แ ต เ ฝู า ม อ ง ประวัติศาสตรแเคลื่อนไปอยางที่เคย เ ป็ น โ ด ย ที่ เ ธ อ ไ ม อ า จ ไ ป เปลี่ ย นแปลงแตะต อ งประวั ติ -
ศาสตรแ ดั ง ตั ว อย า งในเหตุ ก ารณแ มรณกรรมของของออกญาโหราธิ บดี ที่บรรยายไววา “...เธอใจหาย วู บ เมื่ อ นึ ก ได้ ว่ า ประวั ติ ศ าสตร์ ก่าลังท่าหน้าที่ของมันอย่างซื่อตรง สิ่งที่บันทึกไว้จนถึงรุ่นเธอนั้น ก่าลัง ถู ก พิ สู จ น์ ใ ห้ เ ธอได้ เ ห็ น อี ก ครั้ ง ออกญาโหราธิบดีก่าลังจะตาย...” ในส ว นอื่ น ๆ นอกจากนี้ ยังมีการสอดแทรกเชิง อรรถที่เป็น คํ า อ ธิ บ า ย เ พิ่ ม เ ติ ม ก า ร ใ ห เกร็ ด ความรู ท างภาษา ตํ า นาน และความเชื่อ อีก มาก รวมทั้ ง คุ ณ
รอมแพง ยังไดแทรกบรรณานุกรม ท า ยเ ล ม เพื่ อ ก าร ค น คว าทา ง วิชาการ จึง นับวา บุพเพสันนิวาส นอกจากจะมี อ รรถรสเข ม ข น ใน เนื้ อ หาแล ว ยั ง ไ ด ค ว ามรู ทาง วิ ช าการเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น อย า งดี จึ ง นับวานวนิยายเรื่อง บุพเพสันนิวาส จึ ง เป็ น น ว นิ ย า ยกึ่ ง ตํ า ร าทา ง วิ ช าการอี ก เล ม หนึ่ ง ที่ ค วรค า แก การสะสมไวบนหิ้ง หนัง สือของทุก ทาน.
ฝยะมาโนยาฒยาชทาธิธถย์ (ฝย เณชะคุบด์) กันเภืองฝยะธคยศยีอมุทมา : บยิถัศธ์ว่าณ้วม “กยุงเก่าเฤ่าเยื่อง” สยยธิฝธท์งาธเขีมธของฝยะมาโนยาฒยาชทาธิธถย์ กําฝฤ จําบาฝัธท์
บทความนี้ ตี พิ ม พ์ ค รั้ ง แรก เนื่ อ งในงาน “๑๔๒ ปี ชาตกาล พระยาโบราณราชธานินทร์ ” วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ครั้ ง ที่ ๒ ในวารสารวิ ชาการมนุ ษ ย์ศ าสตร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ พระนครศรีอยุธยา ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๖
เมื่ อ เดื อ นมี น าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ สํานักพิมพแมติชนไดตีพิมพแ หนังสือรวมผลงานและชีวประวั ติ ของพระยาโบราณราชานินทรแ (พร เดชะคุ ป ตแ ) อดี ต สมุ ห เทศาภิ บ าล มณฑลกรุ ง เก า โดยใช ชื่ อ เล ม ว า “กรุงเกาเลาเรื่อง : สรรนิพนธแงาน เขี ย น ของ พ ร ะ ยาโ บร าณร าช ธ า นิ น ท รแ ”๑ ป ก ติ แ ล ว คํ า ว า “สรรนิ พ นธแ ” ชวนให นึ ก ถึ ง งาน ร ว บ ร ว ม ผ ล ง า น ข อ ง นั ก คิ ด ปใ ญ ญ าชน สมั ย ใหม ที่ มี ค ว าม หลากหลายทั้งในดานเนื้อหา และ ปริ ม าณ เพราะนั ก คิ ด ปใ ญ ญาชน สํ า คั ญ ๆ นั้ น เขามั ก ทุ ม เทสร า ง ผลงานโดยใชเวลานานทั้งชีวิต จึงมี
๑๐๐ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ผลงานออกมาเป็ น จํ า นวนมาก การรวบรวมไว ในที่เ ดีย วกั น ก็จ ะ สะดวก ในการศึก ษาค นคว า ชี วิ ต และงานของทานเหลานั้น ไดงา ย และเป็นระบบมากขึ้น ทั้งยังเป็นวิธี สําคัญ ในการเก็บรั กษาผลงานอั น ทรงคุณคาไวไดอีกดวย ทั้งนี้ชื่อหลักของเลมที่วา “กรุ ง เก า เล า เรื่ อ ง” นั้ น นั บ ว า มี ความเหมาะสมสอดคล อ งกั บ วิ ธี การทํ า งานของพระยาโบราณราชธานินทรแ ที่ใหความสําคัญ กั บ ข อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษแ จ ากภู มิ ส ถาน ของเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยา มา เป็นปใจจัยกําหนดประเด็น สืบคน และตรวจสอบข อ เท็ จ จริ ง ทาง
ประวั ติศ าสตรแ กลา วคื อ ให “กรุ ง เกา” เป็นผูเลาเรื่องราวอดีตของ “กรุงเกา” เอง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอ วิ นิ จ ฉั ย ข อ ง พ ร ะ ย า โ บ ร า ณ ราชธานินทรแ ตอสภาพทองถิ่นที่ได พบเห็นดวยตนเองเป็นสําคัญ วิธีการก็แสนจะเรียบงาย อยางการเดินทองสํารวจไปทั่วทุก หัวระแหง แตลําพังการเดินสํารวจ อยางเดียวก็คงพบเห็นอะไร ไมได มากไปกวา ที่ ตาเห็ น จากผลงาน เขียนที่ปรากฏการอางอิงที่แมนยํา ส ะ ท อ น ว า พ ร ะ ย า โ บ ร า ณ ราชธานินทรแไดอานศึกษาพระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามาเป็ น อย า งดี ในข อ วิ นิ จ ฉั ย ของท า น บางครั้งเห็นคลอยตามกับพระราชพงศาวดาร บางครั้ ง ก็ เ ห็ น แย ง ขึ้ น อยู กั บ ว า ข อ มู ล จากพระราชพงศาวดารกับภูมิสถานของทองถิ่น มี ค วามสอดคล อ งตรงกั น หรื อ เป็ น ปใ จ จั ย เอื้ อ ให เ กิ ด เหตุ ก ารณแ ตางๆ ในอดีตนั้นหรือไม มากนอย เพียงใด “กรุงเกาเลาเรื่อง” แบง เนื้อ หาออกเป็น ๒ ภาค คื อ ภาค ประวัติ กับ ภาคผลงาน แตละบท ของทั้งสองภาคใหเชิงอรรถอางอิง และอธิ บ ายขยายความเพิ่ ม เติ ม โดยผศ.ดร.ปรีดี พิศภูมิวิถี เจาของ ง าน เขี ย น และ เป็ น ผู ร ว บร ว ม หลั ก ฐานประวั ติ ศ าสตรแ ไ ทยสมั ย อยุธยาหลายชิ้น คํานําที่เขียนโดย อาจารยแ ป รี ดี ยั ง ถื อ ได ว า สรุ ป ย อ คุ ณู ป การของพ ระยาโบราณ ราชธานิ น ทรแ ที่ มี ต อ การศึ ก ษา ประวัติศาสตรแ และโบราณคดีเมือง พระนครศรี อ ยุ ธ ยาได เ ป็น อย า งดี
ในที่ นี้ ผู เ ขี ย นจะเพี ย งแค นํ า เอา ขอสรุปดังกลาวมาขยายความและ ชี้ใหเห็นประเด็นอื่นเพิ่มเติมเทานั้น เมื่อเทียบกับเลมอื่นกอน หนานี้ “กรุงเกาเลาเรื่อง” นับเป็น เล ม ที่ร วมประวั ติ และผลงานของ พระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ไว อยางเป็นระบบและดวยปริมาณที่ มาก ที่ สุ ด เท า ที่ เ คยมี ม าใน รู ป พ฿อคเก็ตบุ฿ค ภาคประวัติ, ประกอบดวย เรื่อง “พระยาโบราณราชธานินทรแ (พร เดชะคุปตแ)” พระนิพนธแสมเด็จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ ทรงเลาประวัติภูมิหลังของพระยาโบราณราชธานิน ทรแ เพื่อ พิม พแใ น งานพระราชทานเพลิง ศพพระยาโบราณราชธานินทรแ เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธแ พ.ศ.๒๔๗๙ ตามดวย เรื่อง “เทศนาจริยประวัติพระยาโ บ ร า ณ ร า ช ธ า นิ น ท รแ ” โ ด ย พ ร ะ อ ม ร า ภิ รั ก ขิ ต ( เ ล หแ ชิ น ประหั ษ ฐแ ) พิ ม พแ ค รั้ ง แรกในงาน พระราชทานเพลิ ง ศพพระยา โบราณราชานิ น ทรแ เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ขอเขียนในภาคนี้สะทอน ว า พระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ไดรับการยอมรับนับถือจากบุคคล สํ า คั ญ สมั ย เดี ย วกั น เพี ย งใด อาทิ เช น จากพระบาทสมเ ด็ จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว , พระบาทสมเด็จ พระมงกุ ฎเกล าเจ า อยู หั ว , สมเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุภาพ, พระอมราภิรักขิต (เลหแ ชิน ประหัษฐแ) เป็นตน ภาคผลงาน,ประกอบด วย งานเขี ย นที่ เ คยตี พิ ม พแ ม าก อ น ไดแก เรื่อง “คําถวายชัยมงคลของ
ขาราชการและราษฎรมณฑลกรุง เกา ” และ “พระราชดํ ารัส ตอบ ข า ราชการและราษฎรในมณฑล กรุงเกา” เนื่องในงานพระราชพิธี รัช มั ง คลาภิ เ ษก พ.ศ.๒๔๕๐ ใน ว โ ร ก า ส ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรง ครองราชยแครบ ๔๐ ปี ซึ่งเป็นงาน พระ ราชพิ ธี ที่ พ ระ ยาโ บร าณ ราชธานิ น ทรแ เ ป็ น ผู ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ถวายจนแล ว เสร็ จดั ง พระราช ประสงคแ งานพระราชพิธีดังกลาว มุ ง บวงสรวงอดี ต กษั ต ริ ยแ ก รุ ง ศรี อยุ ธยาโดยเนน สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ ๒ เพราะตามพระราชพง ศาวดาร ฉบั บ ชํ า ร ะเมื่ อ ต น รั ต นโกสิ น ทรแ ระบุ ว า ทรงเป็ น กษัตริยแที่ครองราชยแยาวนานที่สุด ภายหลั ง เมื่ อ ค น พบพ ระร าช พงศาวดารฉบั บ หลวงประเสริ ฐ อักษรนิติ์ (แพ ตาละลักษณแ) จึงได ขอมูล ใหมที่ เชื่อไดวา สมเด็ จพระ บ ร ม ไ ต ร โ ล ก น า ร ถ ท ร ง เ ป็ น พระมหากษั ต ริ ยแ ที่ ค รองราชยแ ยาวนานที่สุดในสมัยกรุงศรีอยุธยา๒ บทความเรื่อ ง “ตํ านาน กรุงเกา” ตีพิมพแครั้งแรกเนื่องใน ง า น พ ร ะ ร า ช พิ ธี รั ช มั ง ค ล า ภิ เ ษ ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงบาง สรวงอดี ต พระมหากษั ต ริ ยแ ส ยาม ณ พระราชวั ง โบราณ มณฑล กรุง เกา พ.ศ.๒๔๕๐ โดยครั้ง นั้ น ได ส ร า งปะรํ า พิ ธี จํ า ลองพระที่ นั่ ง สรรเพชรแ ม หาปราสาทขึ้ น ใหม บ ท ค ว า ม “เ รื่ อ ง เ กี่ ย ว กั บ พระนครศรีอยุธยา” พิมพแในงาน ฌาปนกิจศพนางสุวรรณ เดชะคุปตแ
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๐๑
เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๔ เรื่อง “แกค ดี พระเจาปราสาททอง” เคยตีพิมพแ อยูในชุดประชุมพงศาวดาร (ภาคที่ ๖๓) ร ว มกั บ ผลงานสํ า คั ญ อย า ง “อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยา กับคํ าวิ นิจ ฉัย ของพระยาโบราณราชธานินทรแ”๓ ที่พิเศษแตกตางจากเลม อื่ น ก อ นนี้ คื อ การรวบรวมงาน เขียนที่ไ มเ คยตี พิมพแสาธารณะมา กอน จึงไมคอยเป็นที่รับรูกันเทาไร อยางเชน บทความเรื่อง “ตํานาน ปูอมเพชร” เขียนที่บานพรพินิต ใกลปูอมเพชร ซึ่ง เป็นบานพักของ พระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ใ น พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า เ มื่ อ ปี พ.ศ. ๒๔๖๑ การที่พระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ใ ช คํ า ว า “ตํ า นาน” สําหรับงานเลาประวัติความเป็นมา ของสถานที่ สํ า คั ญ นี้ ยั งไม เ ป็ น ที่ แนชัดนั กวา เป็นเพราะท านเห็ น ด ว ยกั บ สมเด็ จ พระมหาสมณเจ า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส และ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เ จ า อ ยู หั ว ที่ ท ร ง พ ร ะ บ ร ม ร า ช วิ นิ จ ฉั ย ใ ห ใ ช คํ า ว า “ประวั ติ ศ าสตรแ ” สํ า หรั บ งาน ศึก ษาค นคว า เกี่ ยวกั บ ข อเท็ จ จริ ง ของเหตุ ก ารณแ อ ดี ต หรื อ จะเห็ น พองกับสมเด็จฯ กรมพระยาดํารง ร า ช า นุ ภ า พ ที่ ท ร ง เ ห็ น แ ย ง พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฏ เกล า เจ า อยู หั ว ในข อ วิ นิ จ ฉั ย ว า ด ว ย “ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต รแ ” ว า คํ า ว า “ตํานาน” กับ “พงศาวดาร” ยัง ใชไดอยู นั บ ว า เป็ น ประเด็ น ย อ น แยง (Irony) อยางหนึ่ง ที่ผูไดรับ
ยกย อ งเป็ น “พระบิ ด าแห ง วิ ช า ประวัติศาสตรแไทย” มิไ ดเห็นดวย กั บ ตั ว บท (text) ของ “ประวั ติ ศาสตรแ ” ทั้ ง นี้ สื บ เนื่ อ งจากวิ ธี การศึกษาอดีตของพระองคแเองดวย ที่ ยั ง มุ ง เน น ขนบการเขี ย นแบบ ตํ า นานและพระราชพงศาวดาร เ พื่ อ ย ก ย อ ง เ ชิ ด ชู ส ถ า บั น พระมหากษัตริยแกับความเป็นชาติ ในส ว นนี้ ผู เ ขี ย นมองว า พระยาโบราณราชธานินทรแอาจจะ ประนีประนอมกับทั้งสองฝุาย โดย ในกรณีที่ตองการแสดงความออน นอมถอมตน วาสิ่ง ที่ตนเองเขียน เล า นั้ น เป็ น แต เ พี ย งเรื่ อ งเล า ยังไมอาจวางใจใหเป็นขอเท็จจริงที่ สัมบูรณแได ก็จะใชตามความหมาย ของสมเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุภ าพ แต เ มื่อ เห็ น เป็ น จริ ง แท แ น น อนที่ สุ ด แล ว ก็ ใ ช ต ามที่ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจาอยูหัวทรงมีขอวินิจฉัย เ พ ร า ะ รู จั ก ป ร ะ นี ประนอมผ อนปรนกั บทั้ ง สองฝุา ย ดังนี้ หรือเพราะเหตุใดไมทราบแน ชั ด จึ ง ทํ า ให พ ร ะยาโ บร าณราชธานินทรแเป็นหนึ่งในขาราชการ จํานวนนอย จากยุคปฏิรูปรัชกาล ที่ ๕ ที่ไดรับราชการสนองพระเดช พระคุณ ตอ ในรัช กาลที่ ๖ แมแ ต สมเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุภาพ ก็ไมทรงมีโอกาสเชนนี้เทาไร นัก อยางไรก็ตาม ขอเขียนในภาค ประวั ติ นี้ ก็ ส ะท อ นว า พระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ไ ด รั บ ความ ย อ ม รั บ นั บ ถื อ จ า ก ส ม เ ด็ จ ฯ กร มพ ระ ยาดํ า ร งร าชานุ ภ าพ คอนขางมาก การที่พระยาโบราณ
๑๐๒ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ราชธานินทรแ มีภูมิหลังการเขาสูรั้ว วัง ดวยบิดานํามาฝากกับสมเด็จฯ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพตั้งแต ยั ง เยาวแ วั ย ก็ ไ ม ป รากฏว า จะถู ก หมิ่นแคลนแตอยางใด ภายหลั ง เปลี่ ย นแปลง การปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ สมเด็จฯ กรมพระยาดํา รงราชานุภ าพต อ ง เสด็จไปประทับและพักอาศัยอยูที่ ปีนัง (ในประเทศมาเลเซียปใจจุบัน) ข า ร า ช ก า ร ชั้ น ผู ใ ห ญ ส มั ย สมบูร ณาญาสิท ธิร าชยแที่ ยัง มีชี วิ ต อยู ข ณะนั้ น ในสายพระเนตร สมเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ ย อ มถื อ เป็ น บุ ค คลสํ า คั ญ และแบบอย า งของยุ ค สมั ย ก อ น ๒ ๔ ๗ ๕ ดั ง นั้ น ก า ร ถึ ง แ ก มรณกรรมของ พระยาโบราณ ราชธานิ น ทรแ เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๔๗๙ โดยที่พระองคแไมอาจมารวมงานพิธี ศพได คงจะยังความเศราพระทัย ให พ ระองคแ ไ ม น อ ย เมื่ อ ได รั บ ติ ด ต อ ให เ ขี ย นประวั ติ พ ระยา โบราณราชธานิ น ทรแ สํ า หรั บ งาน พระราชทานเพลิ ง ศพ ก็ ท รงรั บ เขี ย นให อ ย า งเต็ ม พระทั ย ด ว ย เพราะเคยสนิทสนมและไดไ ตสวน ความรูกันมาแตกอนก็สวนหนึ่ง เรื่องต อมาคือ “ระยะทาง เสด็จพระราชดําเนินประพาสทรง บ ว ง ส ร ว ง อ ดี ต ม ห า ร า ช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยาในรัชกาล ที่ ๖” และ “ระยะทางเสด็จพระ ร า ช ดํ า เ นิ น ป ร ะ พ า ส ตั้ ง แ ต พระราชวั ง จัน ทรเกษมถึ ง จั ง หวั ด ลพบุ รี ใ นรั ช กาลที่ ๖” พระยา โบราณราชธานิน ทรแ เขี ยนขึ้น เพื่ อ ทู ล เกล า ฯ ถวายพระบาทสมเด็ จ
พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เนื่องใน วโรกาสที่จ ะเสด็ จพระราชดํ าเนิ น มายังพระนครศรีอยุธยาและลพบุรี เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ บทความเรื่ อ ง “ชุ ม ชน ตางดาวที่เขามาตั้งบานเรือนในกรุง ศรี อ ยุ ธ ยา” เขี ย นเพื่ อ ตอบข อ ซัก ถามของสมเด็ จ ฯ กรมพระยา ดํ า รงราชานุ ภ าพ ลงวั น ที่ ๒๓ สิ ง ห า ค ม พ . ศ . ๒ ๔ ๗ ๕ ห ลั ง เปลี่ ย นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ไม น าน อั น เป็ น หลั ก ฐาน ลายลั ก ษณแ ที่ สะท อ นว า สมเด็ จ ฯ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ ทรง รับรูถึง การมีอยูของชุมชนตางชาติ ตลอดจนบทบาทของชาวตางชาติที่ มีตอกรุงศรีอยุธยา บทความสุดทายในสวนนี้ ก็ ไ ด แ ก เรื่ อ ง “พระอธิ บ ายของ สมเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุภาพ เกี่ยวกับเรื่องแกคดีพระเจา ป ร า ส า ท ท อ ง ” ล ง วั น ที่ ๑ ๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๗๙ สมเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพทรง นิพนธแเพื่อตอบคําถามของพระยา อนุ ม านราชธน เกี่ ย วกั บ ความ เป็นมาของพระราชนิพนธแวิจารณแ พระเจาปราสาททอง ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ท ร ง มี ไ ป ถึ ง พ ร ะ ย า โ บ ร า ณ ราชธานินทรแ ใหแกถวายความเห็น ตามความรูในพระราชพงศาวดาร ของ พระยาโบราณราชธานินทรแ ทั้งนี้สมเด็จฯ กรมพระยา ดํ า ร ง ร า ช า นุ ภ า พ ท ร ง ใ ห อรรถาธิบายตามที่เคยไดยินไดฟใง มาว า เมื่ อ ครั้ ง พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรง
เสด็ จ ปร ะ ทั บ ณ พ ร ะ ร าชวั ง บางปะอิ น พระยาโบราณราชธานิ นทรแ เข า เฝู า ถวายงานใกล ชิ ด วั น หนึ่ ง ทรงตรั ส บริ ภ าษติ เ ตี ย น พระเจ า ปราสาททอง พระยา โบราณราชธานิ นทรแกราบทูลแย ง แกตางใหแกพระเจาปราสาททอง จนทรงมีพระราชดํารัสวา “พระยา โบราณชอบแกก็ดีแลว ฉันจะเป็ น โจทกแ ฟู อ งพระเจ า ปราสาททอง ใหพระยาโบราณเป็นทนายแก แลว มาอานฟใงกันเลน” จึงทรงพระราช นิพนธแก ลาวโทษพระเจาปราสาท ทองพระราชทานไปยั ง พระยา โบราณราชธานินทรแ ใหแตงคําแก มาทู ล เกล า ถวาย แม ส มเด็ จ ฯ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพจะ สรุ ป ความเห็ น ว า “เป็ น แต อ ย า ง หนังสือแตงเลนเทานั้น ” แตก็ทรง ยกย อ งคํ า แก ข องพระยาโบราณ ราชธานินทรแวา “เป็นหนังสือแตงดี แมสมเด็จพระพุทธเจาหลวงก็โปรด คํ า แก ขอ ง พร ะยาโ บราณร าช ธานินทรแ” จะเห็ น ได ว า แม จ ะเป็ น ยุคสมบูรณาญาสิทธิราชยแ องคแพระ ประมุ ข กลั บ รั บ ฟใ ง ความเห็ น ที่ แตกตาง แสดงความชื่นชม โดยไม ถือเอาเป็นเหตุใหทรงพิโรธเอาโทษ แก พ ระยาโบราณราชธานิ น ทรแ กลั บ เห็ น เป็ น เรื่ อ งสนุ ก ที่ ไ ด ส อบ ความรู กั บ ผู มี วิ ช า ทั้ ง นี้ เ พราะ พระยาโบราณราชธานินทรแเป็นคน โปรดที่ถ วายงานใกล ชิ ด มี ความ สนิท สนม ถึ ง ขั้ นจัด อยูใ นสถานะ “พระสหาย” ที่สามารถตรัสหยอก ล อ โดยไม ถื อ พระองคแ ก็ ด ว ยส ว น หนึ่ ง สํ า คั ญ กว านั้ น ก็ คื อ การตอบ
แก ไ ขพระราชวิ จ ารณแ (คื อ การ วิจารณแพระราชวิจารณแอีกตอหนึ่ง) ของพระยาโบราณราชธานินทรแนั้น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ค ว า ม ร อ บ รู ใ น พระราชพงศาวดารอยางมาก และ เต็มไปดวยความออนนอมถอมตน แสดงความจงรั ก ภั ก ดี ต อ สถาบั น พระมหากษั ตริ ยแ แตกต างจากคํ า วิ จ ารณแ ข องนั ก คิ ด ปใ ญ ญาชนยุ ค สมั ยเดีย วกั น อย างกรณีพ ระองคแ เจ า ปฤษฎางคแ , เที ย นวรรณ วรรณโภ, ก.ศ.ร.กุหลาบ, นรินทรแ ภาษิต เป็นตน๔ อยางไรก็ตามแมสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพจะทรง ให ค วามเห็ น ว า เป็ น เรื่ อ ง “แต ง เลน” ก็คงทําใหคนรุนหลังที่ไดอาน พระราชวิจ ารณแ ดัง กล า ว ไมอ าจ เห็นคลอยตามไดโดยงาย สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเองก็ ยั ง ทรงเล า ว า พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรง บริ ภ าษติ เ ตี ย นพระเจ า ปราสาท ทองอยูกอนที่จะมีพระราชวิจารณแ ไปยัง พระยาโบราณราชธานิน ทรแ อยู ก อ น แล ว พ ระราชวิ จ าร ณแ ดั ง กล า วจึ ง เป็ น “ผล” มาจาก “เหตุ” คือ ความรูและมุมมองที่มี ต อ พ ร ะ เจ า ปร าสาททอ ง ขอ ง เจ า นายในราชสํ า นั ก สยามสมั ย รั ช กาลที่ ๕ จึ ง ไม น า จะเป็ น แค เรื่องอานเลนสนุก หรือหากจะมอง เป็นเรื่องอานสนุก ก็ยังเกิดคําถาม ไดอีกวา เพราะเหตุใดความสนุกจึง มาจากการบริ ภ าษอดี ต กษั ต ริ ยแ ทําไมจึงบริภาษถึงพระเจาปราสาท ทอ ง ผิ ด กั บ พ ร ะ ม หา ก ษั ตริ ยแ กรุงศรีอยุธยาพระองคแอื่นที่ไมคอย
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๐๓
ปรากฏนักวาจะถูกบริภาษในแบบ เดียวกันนี้ พระเจาปราสาททองถูก รับรูอยางไรในยุคสมัยพระพุทธเจา หลวง? สํ า หรั บ คํ า ถามนี้ เมื่ อ นํา เอาพระราชวิจ ารณแนี้ ไปสืบ หา บริ บ ท ก็ จ ะเห็ น ได ว า พระเจ า ปราสาททองตามความรั บ รู ที่ ปรากฏในพระราชวิจารณแดังกลาว สอดคลองกับพระเจาปราสาททอง ตามความรับรูรวมสมั ยรัชกาลที่ ๕ เรื่ อ งของพระเจ า ปราสาททองที่ เ ป็ น ขุ น น า ง แ ล ว ยึ ด อํ า น า จ ปราบดาภิ เ ษกขึ้ น เป็ น กษั ต ริ ยแ ปลดพระอาทิตยวงศแ พระราชโอรส สมเด็ จ พระเจ า ทรงธรรม ลงเป็ น ไพร แล ว ให ป ระหารเสี ย ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งราวที่ ป รากฏจากหลั ก ฐาน บั น ทึ ก ของฟาน ฟลี ท (Jeremais van Vliet) พ อ ค า ชาวฮอลั น ดา ๕ นับเป็นเรื่อ งเลาตอกย้ํ าความกลั ว หนึ่งในราชสํานักรัชกาลที่ ๕ เ นื่ อ ง จ า ก เ จ า ฟู า จุฬาลงกรณแไดรับสถาปนาขึ้นเป็น กษั ต ริ ยแ ขณะยั ง ทรงพระเยาวแ มี พระชันษาเพียง ๑๕ ปี โดยทรงขึ้น สื บ ราชยแ ต อ จากพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชบิด าของพระองคแ อ ย า งกะทั น หั น หลังกลับจากเสด็จประพาสหวากอ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรงประชวรหนั ก จน สวรรคต ขุนนางขาราชสํานักตาง หวาดหวั่นกันวา ขุนนางผูใหญที่มี อํา นาจมากในขณะนั้น อย า งเช น สมเด็ จ เจ า พระยาบรมมหาศรี สุริยวงศแ (ชวง บุนนาค) จะคิดการ
ปราบดาภิ เ ษกแบบเดี ย วกั บ ที่ พระเจาปราสาททองทรงกระทําใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ความหวาดกลัวดังกลาว แ ส ด ง อ อ ก ใ น รู ป ข อ ง ข า ว ลื อ แพร ห ลายในช ว งต น รั ช กาลที่ ๕ จนกระทั่ ง สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารยแ (โต พรหมรัง สี) พระเถระผูใหญที่ เป็ น ที่ เ คารพศรั ท ธาแก ช าวบ า น ชาวเมือง ตองมาแกไขสถานการณแ และยั บ ยั้ ง เหตุ ร า ยที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น โดยทรงจริย วัต รนุง หมแบบธุ ดงคแ ถือตะเกียงที่จุดไฟสองสวางในเวลา กลางวั น เดิ น ไปตามถนนจนถึ ง เรือนที่พักของสมเด็จเจาพระยาฯ เป็ น สัญ ลั กษณแ วา บ านเมือ งยามนี้ ช า งมื ด มนเสี ย ยิ่ ง กระไร สมเด็ จ เจ า พระยาฯ ออกมาถวายการ ตอนรับและใหคํารับรองแกสมเด็จ พระพุฒาจารยแ (โต พรหมรังสี) วา บานเมืองไมไ ดมืดมนหรือมีปใญ หา อยางที่ร่ําลือกัน อันเป็นการยืนยัน วา ตนจะไม ทํา การปราบดาภิ เ ษก นั่นเอง แมเหตุการณแจะเป็นปกติ เรี ย บร อ ย เรื่ อ ยมาจนพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเจริ ญ พระชั น ษาเข า พิ ธี บ รม ราชาภิเ ษกครั้ง ที่ ๒ เมื่อ วันที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๔๑๖ สามารถวา ร า ช กิ จ ไ ด แ ล ว ก็ ต า ม ค ว า ม คลางแคลงใจของชาวเมื อ งทั้ ง ใน และนอกราชสํ า นั ก ต อ สมเด็ จ เจาพระยาฯ ก็ยังมีอยู เมื่อพระเจา ปราสาททองในแงค วามรั บรู นี้ถู ก นํามาเทียบเคียงเป็นภาพแทนของ บุคคลอื่นดังนี้ จึงเป็นไปไดวาพระ เจาปราสาททองที่พระบาทสมเด็จ
๑๐๔ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
พระจุลจอมเกลาเจาอยูทรงบริภาษ ตําหนิ ติเตียนนั้น จะมิใชพระเจา ปราสาททองในอดีตจริงๆ หากแต หมายถึ ง ผู ที่ถู กมองว าอาจจะเป็ น ดั่ง พระเจาปราสาททองในอดีตก็ เป็นได ตามความในพระราช วิ จ ารณแ ป ระเด็ น ที่ เ ป็ น หั ว ใจหลั ก สํ า คั ญ อยู ที่ ท รงแสดงให เ ห็ น ว า กษัต ริยแ ที่มาจากขุน นาง แมไ ดชื่ อ เป็นกษัตริยแก็ยัง ใช “สันดานไพร ” ดัง เดิ ม ไม ไ ดเ พีย บพร อมทั้ ง ด า น จริ ย วั ต ร บุ ญ ญาบารมี ความรู คว ามสามาร ถ จึ ง ก ลั บ พึ่ ง แต ไสยศาสตรแ และมากด ว ยเล หแ เพทุบาย๖ การแกโจทยแของพระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ออกมาใน ลั ก ษณะมุ ง ประเด็ น ไปที่ พ ระเจ า ปราสาททององคแจริงในอดีต ไมได แกในขอที่วาเป็นไพรมาแตเกากอน เพราะเป็นขอเท็จจริงตามพระราช พงศาวดาร ครั้ น จะว า ทรงเป็ น โอรสลับของพระเอกาทศรถ ใครก็ รูวาเป็นแตเพียงเรื่องเลาที่สรางขึ้น ภายหลัง ซึ่ง พระยาโบราณราช ธานินทรแจะเห็นแยงเป็นอื่นไปจาก ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวทรงมีพระราชวิจารณแคง ไม ไ ด จึ ง เป็ น การแก แ ต เ ฉพาะ ประเด็นปลีกยอย ไมไ ดแกสวนที่ เป็ น ประเด็ น หลั ก ใจกลางสํ า คั ญ จริงๆ แตอยางใด กลาวเฉพาะกรณีสมเด็จ เจ า พระยาบรมมหาศรี สุ ริ ย วงศแ บทบาทในชวงหลังปฏิรูป ก็มีเหตุ ใหทรงขัดเคืองพระทัยอยูบาง จาก การที่สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรี สุริยวงศแเป็นขุนนางผูใหญของกลุม
ที่ เ รี ย ก ว า “ส ย า ม เ ก า ” (Old Siamese) มีแนวคิดอนุรักษแนิยม จั ด อยู ใ นฝุ า ยตรงข า มการปฏิ รู ป เพื่ อ สร า งความทั น สมั ย อั น เป็ น นโยบายสํ า คั ญ ใน รั ช กาลที่ ๕ นโยบายนี้ เ ป็ น ที่ เ ห็ น พ อ งและ ปฏิ บั ติ ร ว มกั น ของกลุ ม “สยาม ใหม” (Young Siamese) ซึ่งเป็น ขุนนางรุนใหม มีแนวคิดสมัยใหม และนิยมวิทยาการความกาวหน า ของโลกตะวันตก๗ พระยาโบราณราชธานิ นทรแเ องก็จั ดอยู ในกลุ มสยาม ใหม มณฑลกรุ ง เก า และเมื อ ง พระนครศรี อ ยุ ธ ยาก็ เ ป็ น เมื อ งที่ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล า เจ า อยู หั ว ทร ง ท ดล อง ใช เป็ น แม แ บบของการปฏิ รู ป มณฑล เทศาภิบาล มณฑลกรุงเกาตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๔๓๘ ประกอบดวยหัว เมื อ ง ต า ง ๆ ไ ด แ ก อ า ง ท อ ง , พระพุทธบาท, สระบุรี , ลพบุรี , พรหมบุรี , อินทรแบุรี และสิงหแบุรี ตอมาทรงให อินทรแบุรีไปรวมเป็น สวนหนึ่งของสิงหแบุรี ในปีเดียวกัน นั้น ทรงโปรดฯ ตั้งใหพระเจาบรม วงศแเธอ กรมขุนมุรพงศแศิริพัฒนแ ดํารงตําแหนงขาหลวงเทศาภิบาล ตอมา พ.ศ.๒๔๔๖ พระยาโบราณราชธานินทรแก็ไดรับแตงตั้งใหดํารง ตําแหนง ขาหลวงเทศาภิบาลแทน พระเจ า บรมวงศแ เ ธอ กรมขุ น มุรพงศแศิริพัฒนแ ใ น ยุ ค ก า ร ป ก ค ร อ ง มณฑลเทศาภิบาล เมืองพระนครศรีอยุธยาไดยกระดับฐานะจากหัว เมื อ งแบบเก า สู ก ารเป็ น เมื อ ง ส มั ย ใ ห ม มี ก า ร ท ด ล อ ง ใ ช
เทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม หลายอยาง อันเป็นฐานใหกับการ พัฒนาความทันสมัยในเวลาตอมา ได แ ก การรถไฟ, เส น ทางสาย กรุง เทพฯ-กรุง เกา ไดเริ่มสรางขึ้น ในปี พ.ศ.๒๔๓๔ แล ว เสร็ จ และ ทรงเสด็จเป็นประธานเปิดกิจการ รถไฟสายนี้ เมื่ อวั นที่ ๒๖ มีน าคม พ.ศ.๒๔๓๙ นั บ เป็ น การรถไฟที่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด เท า ที่ มี ใ นเอ เชี ย ตะวันออกเฉียงใตขณะนั้น การโทร เลข, ไ ด ว าง ส ายโ ทร เลขจา ก กรุ ง เทพฯ ถึ ง บางปะอิ น เริ่ ม เปิ ด ใหบริการแกประชาชนทั่วไป ตั้งแต ปี พ . ศ . ๒ ๔ ๒ ๖ เ ป็ น ลํ า ดั บ ม า การศึกษา, สําหรับมณฑลกรุงเกา ไดกอตั้ง โรงเรียนฝึกหัดครูกรุง เกา (ภายหลั งยกระดั บเป็ นมหาวิทยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา) เมื่ อ วั น ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๔๘ พร อ มกั บ ให ตั้ ง โรงเรี ย นสตรี ชั้ น มั ธ ย ม สํ า ห รั บ ป ร ะ จํ า ม ณ ฑ ล พระราชทานนามว า “โรงเรี ย น จอมสุรางคแอุปถัมภแ” การยุติธรรม, ไดตั้งศาลมณฑลเมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๐ การปกครองท อ งถิ่ น , มี ก ารตั้ ง ผูใ หญ บ านขึ้ น เป็น ครั้ ง แรกที่ บ า น เกาะ บางปะอิ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๓ กุมภาพันธแ พ.ศ.๒๔๓๐ นอกจากนี้ ใ นระหว า งที่ รั้ ง ตํ า แหน ง ข า หลวงเทศาภิ บ าล พระยาโบราณราชธานินทรแไดริเริ่ม กอ ตั้ง “อยุธ ยาพิ พิธ ภัณ ฑสถาน” จากการรวบรวมโบราณวั ต ถุ ม า จั ด เก็ บรั ก ษาไ ว ที่ พ ร ะ ร าชวั ง จัน ทรเกษม กลายเป็ น แบบอย า ง การจั ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑแ ต ามหั ว เมื อ ง โดยเฉพาะหัวเมื องที่เ คยเป็ นอดี ต
อาณาจักรโบราณตามภูมิภาคตางๆ ในยุคปฏิรูปรัชกาลที่ ๕ การเขาใจ สภาพของท อ งถิ่ น มี ค วามสํ า คั ญ เ พื่ อ จ ะ ไ ด ร ว ม ศู น ยแ อํ า น า จ สู ส ว นกลางได ต รงตามพระราช ประสงคแ เสมือนหนึ่งวาสวนกลาง รั บ รู แ ล ะ เ ข า ใ จ ใ น ส ภ า พ วิ ถี วั ฒ น ธ ร ร มข อ ง ค น ใน ท อ ง ถิ่ น ขณะที่ที่อื่นความไมเขาใจในเรื่องนี้ เป็น สาเหตุความขัดแยง ถึง ขั้นเกิด กบฏขึ้ น ในท อ งถิ่ น เช น กบฏผู มี บุญในอิสาณ, กบฏพระยาผาบ แม ทัพเชียงใหม, กบฏเงี้ยว เมืองแพร, กบฏเจาหัวเมืองปใตตานี เป็นตน๘ จากที่ผูเขียนไดไปสํารวจ ดู ค ร า วๆ ก็ พ บว า ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑแ พระราชวัง จันทรเกษมที่พัฒนามา จาก “อยุ ธ ยาพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน” สมั ย พระยาโบราณราชธานิ น ทรแ ได เ ก็ บ รั ก ษาและจั ด แสดงผลงาน ศิล ปะสํ าคั ญ อั น เป็ น หลั กฐานทาง ประวัติศาสตรแและโบราณคดี ไมวา จะเป็ น ศิ ล ปะทวาราวดี , ศิ ล ปะ ลพบุรี , ศิล ปะอู ทอง เป็นต น ใน ส ว นเกี่ ย วกั บ แหล ง โบราณสถาน พระยาโบราณราชธานินทรแ ก็เป็นผู หนึ่ ง ที่ ค นพบและรั บ รูถึ ง การมี อ ยู ขอ งอ ยุ ธ ยาสมั ย ก อน พร ะเจ า รามาธิบดีที่ ๑ ที่เรียกวา “อโยธยา ศรี ร ามเทพนคร” เพราะโบราณสถาน น อ ก เก าะ เมื อ ง ทาง ทิ ศ ตะวันออก ฝใ่งขวาของแมน้ําปุาสัก ที่พระยาโบราณราชธานินทรแกลาว ถึ ง ใน “พรรณนาภู มิ ส ถานพระนครศรี อ ยุ ธ ยา” มั ก มี อ ายุ เ ก า แก กวาปี พ.ศ.๑๘๙๓ อันเป็นปีที่พระ เจ า รามาธิ บ ดี ที่ ๑ ทรงย า ยจาก เวียงเล็ก วัดพุทไธสวรรยแ มาสราง
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๐๕
พระราชวังอยูบริเวณหนองโสน ติด กั บ แยกปากแม น้ํ า เจ า พระยากั บ แม น้ํ า ล พ บุ รี (ค ล อ ง เ มื อ ง ใ น ปใจจุบัน) จากที่กลาวมา จะเห็นได วาข าราชการสมัยปฏิรู ปรั ชกาลที่ ๕ ซึ่งพระยาโบราณราชธานินทรแมี สั ง กั ด และเป็ น ส ว นหนึ่ ง ของกลุ ม ดังกลาวนี้ เป็นกลุมขาราชการหัว สมัยใหม มีลักษณะเป็นปใญญาชน ที่รูจักสรางสรรคแสิ่งใหมๆ ไมใชแค ระดับชั้นนักปฏิบัติที่คอยแตสนอง พระราชดําริ จึงปรากฏผลงานเป็น หลักฐานใหชนรุนหลังไดศึกษาเป็น แบบอยาง ไมใชคนทํางานที่นั่งอยู แต ใ น ห อ ง ขลุ ก อยู แ ต กั บ โต฿ ะ ทํ า งาน หากแต มี วิ ญ ญาณความ
เป็ น นั ก สํ า รวจ ท อ งโลกกว า ง ออกไปพบเห็นสิ่งตางๆ แลวนําสิ่งที่ พบเห็นนั้น มาเป็นองคแความรูหรือ คู มื อ การปฏิ บั ติ ง านต อ ไป ด ว ย พร อ มเปิ ด ใจเรี ย นรู ยึ ด ถื อ สิ่ ง รอบตัวและบุคคลสามัญในทองถิ่น เป็นครู คว ามสํ า เร็ จขอ งก าร ปฏิรูปในรัชกาลที่ ๕ สวนหนึ่งก็มา จากการที่ ท รงเห็ น คุ ณ ค า ของคน เหลานี้และใชงานไดตรงตามความ เชี่ยวชาญและความสนใจใฝุรู ให โ อ ก า ส ใ น ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม รู ความสามารถ ไมกีด กันหรือเห็ น เป็ น คู แ ข ง ถึ ง ข น าด ยอ มรั บ ความเห็ นที่ แตกตา ง กระทั่ง การ โตแยงความเห็นเบื้องบน ก็ทรงรับ
ฟใ ง แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม ชื่ น ช ม ความสําเร็จของพระยาโบราณราช ธานิ น ทรแ จ ริ ง ๆ แยกไม อ อกจาก พระบรมราโชบายในรั ช กาลที่ ๕ รวมถึ ง งานทางประวั ติ ศ าสตรแ โบราณคดีของพระยาโบราณราช ธ านิ น ทรแ ก็ แ ยก ไ ม อ อ ก จา ก ประวั ติ ศ าสตรแ ข องการปฏิ รู ป ใน รัช กาลที่ ๕ ดุ จ เดี ย วกั น แท จ ริ ง แล ว บทบาทพระยาโบราณราช ธานิ น ทรแ ใ นสมั ย ก อ นนั้ น ก็ คื อ ตั ว แ ทน ข อ ง พ ร ะ บ า ท สม เ ด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว และ ก ลุ ม ส ย า ม ใ ห ม ใ น ท อ ง ถิ่ น พระนครศรีอยุธยานั่นเอง.
เชิงอยยต ๑
วรรณศิริ เดชะคุปตแ และ ปรีดี พิศภูมิวิถี (บก.). กรุงเกาเลาเรื่อง กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๔. พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐ (นนทบุรี : สํานักพิมพแมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๙) น. ๑๙-๒๓. ๓ ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓ เรื่องกรุงเกา พระนคร : โรงพิมพแโสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๙ (พิมพแในงานพระราชทานเพลิงศพ พระยาโบราณราชธานินทรแ (พร เดชะ คุปตแ) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธแ พ.ศ. ๒๔๗๙) ในชุดประชุมพงศาวดารภาค ๖๓ นี้ประกอบดวยผลงานเขียนของพระยาโบราณราชธานินทรแ ไดแก เรื่องแกคดีพระเจาปราสาททอง, ตํานานกรุงเกา, ภูมิสถานพระนคร, แมน้ําลําคลองนอกพระนคร, วิจารณแเพลงยาวพยากรณแกรุงศรีอยุธยา, ภูมิแผนที่พระนครศรีอยุธยา, วา ดวยพระราชวังหลวง, วาดวยที่สํานักงานรัฐบาลและประตู เป็นตน ; นอกจากนี้ยังมีฉบับที่พิมพแแยกออกมาโดยคุรุสภาดู พระยาโบราณราชธานินทรแ. อธิบายแผนที่ พระนครศรีอยุธยากับคําวินิจฉัย ของพระยาโบราณราชธานินทรแ ฉบับชําระครั้งที่ ๒ และเรื่องศิลปและภูมิสถานอยุธยาของกรมศิลปากร พระนคร : โรงพิมพแคุรุสภา, ๒๕๐๙ ; สํานักพิมพแตนฉบับนํากลับมาพิมพแใหมเมื่อเร็วๆ นี้ดู พระยาโบราณราชธานินทรแ (พร เดชะคุปตแ). อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยากับคําวินิ จฉัยของพระยาโบราณราช ธานินทรแ ฉบับชําระครั้งที่ ๒ และภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา นนทบุรี : สํานักพิมพแตนฉบับ , ๒๕๕๐. ๔ ดูรายละเอียดใน ลิขิต ธีระเวคิน. วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแจุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย , ๒๕๓๐ ; สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. สายธาร ประวัติศาสตรแประชาธิปไตยไทย กรุงเทพฯ : พี. เพรส, ๒๕๕๑. ๕ การที่บันทึกของฟาน ฟลีท ปรากฏอยูในชุดประชุมพงศาวดาร (ภาคที่ ๗๙) ที่สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเป็นผูรวบรวมขึ้น ยอมเป็นสิ่งยืนยันกับเราไดวา หลักฐานชิ้นนี้เป็นที่รับรูกันในหมูชนชั้นนําสยามมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๕ แลวเป็นอยางนอย และพระราชวิจารณแพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ก็มีประเด็น คลายคลึงกับที่ฟาน ฟลีท (หรือที่ชาวสยามรูจักในนาม “วันวลิต” ) เคยบันทึกเลาไว ทั้งนี้เราตองเขาใจดวยวาฟาน ฟลีท เป็นพอคาฮอลันดาบริษัท V.O.C. ที่มีขอขัดแยงใน เรื่องผลประโยชนแทางการคากับพระเจาปราสาททอง มุมมองของฟาน ฟลีท ก็ยอมมีแนวโนมที่จะแสดงออกถึงความขัดแยงดังกลาวนั้นดวย ดูรายละเอียดบันทึกนี้ใน ประชุม พงศาวดารภาคที่ ๗๙ จดหมายเหตุวันวลิต (ฉบับสมบูรณแ) กรุงเทพฯ : โรงพิมพแทําเนียบนายกรัฐมนตรี , ๒๕๐๗ ; รวมบันทึกประวัติศาสตรแอยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต) แปลโดย นันทา วรเนติวงศแ และ วนาศรี สามนเสน, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๖ (พิมพแในวาระ ๔๐๐ ปี สัมพันธไมตรีไทย-เนเธอรแแลนดแ พ.ศ. ๒๕๔๗) ; ภาษาอังกฤษดู Jeremie van Vliet. Historical account of Siam in the ๑๗th century translated by W.H. Mundie, Bangkok : s.n., ๑๙๐๔. ๖ สุจิตตแ วงษแเทศ. การเมือง "อุบายมารยา" แบบมาคิอาเวลลี (Macchiavelli) ของพระเจาปราสาททอง กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๙. ๗ ดูรายละเอียดจากงานศึกษาหัวขอการปฏิรูปรัชกาลที่ ๕ ใน David K. Wyatt. The politcs of reform in Thailand : education in the reign of King Chulalongkorn London : Yale University Press, ๑๙๖๙ ; จักรกฤษณแ นรนิติผดุงการ. สมเด็จพระเจาบรมวงศแเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ กับกระทรวงมหาดไทย กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๕ ; วุฒิชัย มูลศิลป. มณฑลเทศาภิบาล : วิเคราะหแเปรียบเทียบ กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตรแแหงประเทศไทย, ๒๕๒๔ ; ชัยอนันตแ สมุทวณิช. ๑๐๐ ปี แหงการปฏิรูประบบราชการ : วิวัฒนาการของอํานาจรัฐและอํานาจการเมือง กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา , ๒๕๓๘ ; เตช บุนนาค. การปกครองระบบ เทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. ๒๔๓๕-๒๔๕๘ กระทรวงมหาดไทยสมัยสมเด็จพระเจาบรมวงศแเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ (The provincial administration of Siam, ๑๘๙๒-๑๙๑๕ : the Ministry of the Interior under Damrong Rajanubhab) กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแและมูลนิธิโครงการตํารา สังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ, ๒๕๓๒. ๘ ดูรายละเอี ยดไดจ ากบทความตางๆ ใน พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล และอัจ ฉราพร กมุ ทพิสมัย (บก.). ความเชื่อพระศรีอาริยแและกบฏผู มีบุญในสังคมไทย กรุงเทพฯ : สรางสรรคแ, ๒๕๒๗. ๒
๑๐๖ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I
ฟาฝยํารกวัธวาธเภืองอมุทมา อามุวัฑธ์ ค้าปฤ ราฤกบรรยากาศของเมืองพระนครศรีอยุธยาในอดีต เล่าเรื่องราวด้วยภาพถ่ายเก่า และปัจจุบัน
“ย้าธอัภฝย”
ห้างสยยฝสิธค้าเก่าแก่แห่งฝยะธคยศยีอมุทมา
ร้านอัมพร หรือ ห้างอัมพร สาขาหัวรอ เป็นห้างสรรพสินค้า เก่าแก่ใ นเมืองอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตรง ข้ามสานักงานที่ดิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดาเนินกิจการมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๕ และได้ขยายกิจการเปิดสาขาที่ ตลาดเจ้าพรหมใน พ.ศ. ๒๕๓๗ สาขาโรจนะในปี ๒๕๔๒ และแอมโปมอลล์หรือ เดอะสกาย ช้อ ปปิ้ง เซ็นเตอร์ ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ หากยอนกลับไปเมื่อ ๕๒ ปีที่แลว ชาวอยุธยาจักคงรูสึกตื่นเตนที่จะมีหางสรรพสินคาใหจับจายใช สอยอยาง สะดวกสบายในเมือง โดยที่ไมตองเดินทางขึ้นรถไฟ ขามเรือเมลแ กวาครึ่งคอนวัน เพื่อไปหางสรรพสินคาในกรุงเทพฯ ดั่ง ไฮโซกรุงเกา เราอาจปฏิเสธไมไดเลยวา หางอัมพรนั้นเป็นสวนหนึ่ง ของบันทึกความทรงจําของชาวอยุธยา ไมวาจะเป็น ภาพยามสุข พอแมจูงมือลูกหลานพากันซื้อของตางๆ เหลาแมบานคุยกันเรื่องลูกขณะติดฝนอยูที่หนาห าง หรือเรื่องนา หงุดหงิดของเพื่อนรักที่มาสายกวาเวลานัดนับชั่วโมง ฯลฯ ใครหลายคนที่ไดเห็นภาพนี้ ก็อาจหวนคิดเรื่องราวในอดีตที่ เกี่ยวของกับหางอัมพร และนั่งแอบยิ้มมุมปากอยูในขณะนี้ก็เป็นไปได ๏
I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I๑๐๗
กายเสธอนถควาภเฝื่อดีฝิภฝ์
ใธวายสายอมุทมาศึกษา ฉนันถี่ ๗ / ๒๕๕๘ ข้อกําหธณปฤงาธวิชากายถี่ฤงดีฝิภฝ์ใธวายสาย ๑.เป็นบทความทางวิชาการ เกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาทิ ดานประวัติศาสตรแ ดานศิลปวัฒนธรรม ดานภูมิปใญญาทองถิ่น และดานสิ่งแวดลอม โดยเป็นบทความที่ยังไมเคยตีพิมพแเผยแพรมากอน ๒.บทความมีความยาว พรอมภาพประกอบ ไมเกิน ๑๕ หนากระดาษ เอ ๔ ๓.แนบประวัติผูเขียน ระบุชื่อ-สกุล ตําแหนง หนวยงาน สถานที่ติดตอ หมายเลขโทรศัพทแ โทรสาร อีเมลแ เพื่อ การติดตอกลับ ๔.สงตนฉบับพิมพแ พรอมแผนซีดีขอมูล จํานวน ๑ ชุด ถึงฝุายวิชาการ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงคแ ตําบลประตูชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ กอนวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ กองบรรณาธิการสงวนสิทธิ์ที่จะไมสงคืนตนฉบับพิมพแและซีดีขอมูล ๕.ตนฉบับจะตองผานการประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้กองบรรณาธิการอาจขอใหผูเขียนปรับปรุง แกไขบทความกอนการตีพิมพแ ซึ่งผูเขียนจะตองแกไขตนฉบับใหเสร็จ และสงคืนกองบรรณาธิการภายในเวลาที่กําหนด หากเลยกําหนดจะขอสงวนสิทธิ์ในการงดลงตีพิมพแ ๖.กองบรรณาธิการจะสงวารสารจํานวน ๓ เลม ใหแกเจาของผลงานที่ไดรับการตีพิมพแ ๗.กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการนําบทความที่ไดรับการตีพิมพแ ไปเผยแพรในเว็บไซตแสถาบันอยุธยา ศึกษา www.ayutthayastudies.aru.ac.th สอบถามข อ มู ลเพิ่ ม เติ ม ไดที่ นายพั ฑ รแ แตงพั น ธแ นั กวิ ช าการศึ ก ษา ฝุ า ยวิ ช าการ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โทรศัพทแ / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ E-mail: ayutthayastudy@yahoo.co.th
๑๐๘ I วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา I ปีที่ ๖ / ๒๕๕๗ I