เอกสารประกอบกิจกรรมวันอนุรักษ์มรดกไทย เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ

Page 1


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๑

อาเศียรวาทสดุดีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวาระทรงมีพระชนมายุครบ ๕ รอบนักษัตรสัฐิพรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘ วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ กรานเกศกมลมนสิการ โอษฐ์เอื้อนและอวยวจบวร อัญเชิญพระไตรรุจิรรัต ชนไทยถวายสุวรทรวง สมเด็จพระเทพรตนรา จงรักและภักดิ์ปิยอนันต์ ด้วยทรงประกอบพระกรณีย์ ทั้งศาสตรศิลปะพิไล ไพร่ฟ้าประชาพระอนุกูล ทรงเกื้อกรุณธุรภาร ตามรอยพระบาทพระปิตุรา แดนนั้นก็พลันทุรกษัย ครบสัฏฐิวรรษชนมวาร ขอทรงเกษมกิติยพร

ณ พสุนทราธรณ์ ทวิเมษมาสสรวง นกระพัดหทัยปวง ณ พระบาทพระมิ่งขวัญ ชสุดาสีนิรันดร์ สุจริตเสมอไป ศุภศรีขจรไกล ก็พิพัฒนานาน บริบูรณ์เขษมศานติ์ ทนุถิ่นประเทศไทย ชประพาส ณ แดนใด ชนชื่นพระอาทร มณิกานต์นรากร ข้าพระบาทถวายเทอญ

ประพันธ์โดย นางอมรา หันตรา ผู้ได้รับรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๐


๒ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

พระราชประวัติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ เจ้า ฟูา มหาจั ก รี สิริ นธร รัฐ สี มาคุณ ากรปิ ยชาติ สยามบรม ราชกุมารี ทรงเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ณ พระที่ นั่ ง อั ม พรสถาน พระราชวั ง ดุ สิ ต ได้ รั บ พระราชทานพระนามว่ า สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้าฟูาสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ด้ ว ยเหตุ ที่ ทรงบํ า เพ็ ญ พระร าชกิ จ จา นุ กิ จ นานั ป การ อั น เป็ น ป ระโ ยชน์ แ ก่ แ ผ่ น ดิ น และราษฎร พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จึ ง มี พ ระบรมราชโองการ โปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ ม ให้สถาปนาพระราชอิสริยยศ และพระราชอิสริยศักดิ์ เป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เจ้าฟูามหาจักรี สิ ริ น ธร รั ฐ สี ม าคุ ณ ากรปิ ย ชาติ สยามบรมราชกุ ม ารี ในการพระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ และจากพระวิริยะอุตสาหะในการทรงศึกษาหาความรู้ และบําเพ็ญ พระราชกิจนานัปการ พระเกียรติคุณ เป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้ง ไม่เพียงแต่ในราชอาณาจักรเท่านั้ น แต่ยัง ทรงบํ า เพ็ ญ พระกรณี ย กิ จ อั น เป็ น คุ ณู ป การต่ อ นานาประเทศ จึ ง ทรงได้ ก ารทู ล เกล้ า ถวาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เพื่อเชิดชูพระเกียรติจากนานาประเทศ


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๓

การศึกษา

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงเริ่ ม ต้ น การศึ ก ษาระดั บ อนุ บ าล เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๑ ณ โรงเรี ย นจิ ต รลดา ในเขตพระราชฐานพระตํ า หนั ก จิ ต รลดารโหฐาน พระราชวั ง ดุ สิ ต โดยทรงศึ ก ษา ต่ อ เนื่ อ งไปจนถึ ง ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตลอดระยะเวลาที่ ท รงศึ ก ษา ทรงเอาพระทั ยใส่ใ นการเรียน โปรดการอ่าน และการศึก ษาวรรณคดี ทั้ งของไทยและต่างประเทศ ทรงเริ่ม แต่ง คํา ประพันธ์ ต่าง ๆ ทั้ง ร้อยแก้ ว และร้ อยกรอง ตั้ งแต่ ยัง ทรงศึก ษา ในชั้น ประถมศึ ก ษา โปรดการเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของโรงเรี ย น ทั้ ง ด้ า นกี ฬ า ดนตรี บั น เทิ ง และกิ จ กรรมเพื่ อ สาธารณประโยชน์


๔ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

หลังจากทรงสําเร็จการศึกษา ประโยคมัธยมศึก ษาตอนปลาย ในแผนกศิลปะ จากโรงเรียน จิ ต รลดา เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๖ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงสอบ เข้าศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้จะมีพระราชภารกิจ โดยเสด็จพระราชดําเนินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่าง ๆ แต่ก็ทรงมีพระวิริยะอุตสาหะ ในการเรียนอย่างยิ่ง และยังทรงร่วม กิจกรรมของคณะ และของมหาวิ ทยาลัย เช่นเดียวกับนิสิตทั่วไป ในปีก ารศึก ษา ๒๕๑๙ ทรงสําเร็ จ การศึกษา และทรงเข้ารับพระราชทานปริญญา อักษรศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ในพุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๐ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงสมั ค ร เข้าศึก ษาต่อ ระดับมหาบัณฑิ ต ณ มหาวิทยาลัยศิล ปากร และจุฬาลงกรณ์ มหาวิท ยาลัย พร้อมกั น ทั้ ง สองแห่ ง ทรงสํ า เร็ จ การศึ ก ษาศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าจารึ ก ภาษาตะวั น ออก จากมหาวิท ยาลัยศิลปากร ในปีการศึกษา ๒๕๒๒ หลังจากนั้น ทรงสําเร็จการศึก ษา อัก ษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี - สันสกฤต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีการศึกษา ๒๕๒๔ ต่อมา ด้วยความสนพระทัยงานด้านการพัฒนา โดยอาศัยหลักวิชาการศึกษา หรือการเรียนรู้เป็นแกน จึงทรง สมั ค รเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ณ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ทรงสํ า เร็ จ การศึ ก ษา และรับพระราชทานปริญญา การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ในปีการศึกษา ๒๕๒๙ หลั ก คิ ด ในการใช้ ก ารศึ ก ษาเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการสร้ า ง และพั ฒ นาความรู้ ความคิ ด ของ ประชาชน และเป็ น เครื่ อ งมื อ ในก ารพั ฒ นาชุ ม ชน แล ะสั ง ค ม ที่ ท รงได้ รั บ จากกา รศึ ก ษา ในระดั บ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ผนวกกั บ ประสบการณ์ ที่ ท รงเรี ย นรู้ จากการโดยเสด็ จ พระราชดํ า เนิ น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงเป็นพื้นฐานความรู้ที่แข็งแกร่งในการทรงงานพัฒนา ของพระองค์เอง ในเวลาต่อมา จวบจนปัจจุบัน นอกเหนื อ จากการศึ ก ษาในระบบ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ยังสนพระทัยศึกษาเพิ่มเติม ดูงาน ประชุมสัมมนา และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ในวิ ชาการด้ านอื่ นๆอีก หลายด้ าน เช่น ภูมิ ศาสตร์ก ายภาพ อุ ทกศาสตร์ พฤกษศาสตร์ การจัด การ ทรั พ ยากรดิ น และน้ํ า รี โ มตเซนซิ่ ง ระบบภู มิ ส ารสนเทศ แผนที่ โภชนาการ เป็ น ต้ น ด้ ว ยมี พระราชประสงค์ ที่จ ะนํ าความรู้ ที่ได้ จากวิชาการเหล่านี้ ไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ นการทรงงานพัฒ นาชุ มชน และยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๕

ทรงเข้ารับราชการ

หลังจากทรงสําเร็จการศึกษาระดับอุดมศึก ษาแล้ว ในพุทธศัก ราช ๒๕๒๓ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเข้ารับราชการเป็นอาจารย์กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ทรงสอนวิชาประวัติศาสตร์ไทยและสังคมวิทยา ต่อมา ในพุทธศักราช ๒๕๓๐ ได้มีการตั้งกองวิชาประวัติ ศาสตร์ขึ้นใหม่ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระยศ พันเอก ทรงดํารงตําแหน่งหัวหน้ากอง (ซึ่งต่อมาได้มีการขยายตําแหน่งเป็น ผู้อํานวยการกองในพุทธศักราช ๒๕๓๒ พร้อมกับกองอื่น ๆ) ทรงเป็นผู้อํานวยการกองวิชาประวัติศาสตร์ พระองค์แรกจนถึงปัจจุบัน มีพระราชภารกิจ ทั้งการบริหาร การสอน และงานวิชาการอื่น ๆ ต่อมา ทรงได้รับพระราชทานพระยศ พลเอก ในพุทธศักราช ๒๕๓๙ และทรงได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น ศาสตราจารย์ (อัตราจอมพล) ในพุทธศักราช ๒๕๔๓ นอกจากนี้ ยังได้ทรงรับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษ บรรยายวิชาการ ณ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยศิลปากร


๖ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

พระราชกิจ

นอกเหนื อจากพระราชภารกิ จในหน้า ที่ราชการ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุม ารี ทรงปฏิบั ติ พระราชกรณี ย กิจ ด้ านต่ าง ๆ ครอบคลุม งานสํ า คัญ ๆ อั นเป็ นประโยชน์ ห ลั ก ของบ้านเมือง เกือบทุกด้าน และทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัย ให้ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจ ที่ทรงสืบสาน ต่ อจากพระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หั ว และสมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชิ นีนาถ ตามที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มอบหมาย โดยเฉพาะการทรงงาน ด้านการบริหารองค์การ และมูลนิธิ เพื่ อ สาธารณกุ ศ ล ทรงดํ า รงตํ า แหน่ ง ประธานกรรมการมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ประธานมู ล นิ ธิ รางวั ล สมเด็ จเจ้ า ฟูา มหิ ดล อุ ปนายิ กาผู้ อํ านวยการสภากาชาดไทย รวมทั้ ง การเสด็ จ พระราชดํ า เนิน แทน พระองค์ และการปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ แทนพระองค์ ในโอกาสต่ า ง ๆ เช่ น การพระราชทาน พระราชวโรกาสให้คณะบุคคลต่าง ๆ เฝูา ฯ การพระราชทานปริญญาบัตร การถวายผ้าพระกฐิน เป็นต้น สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี ทรงจัดตั้ งโครงการต่ าง ๆ เพื่อพั ฒนา คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนผู้ยากไร้ในชนบท โดยเฉพาะการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และแก้ไขปัญหา ภาวะทุ พ โภชนาการ ทรงเห็ น ว่ า เด็ ก จะเรี ย นหนั ง สื อ ไม่ ไ ด้ ถ้ า ท้ อ งหิ ว หรื อ เจ็ บ ปุ ว ย จึ ง ทรงริ เ ริ่ ม โครงการเกษตรเพื่ ออาหารกลางวัน ในโรงเรีย นตํารวจตระเวนชายแดน ตั้งแต่พุทธศั ก ราช ๒๕๒๓ ทรงเห็ น ความสํ า คั ญ ของการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง พระราชทานพระราชทรั พ ย์ ใ ห้ ก่ อ สร้ า งโรงเรี ย น


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๗

ในถิ่ น ทุ ร กั น ดาร ศู น ย์ ก ารเรี ย นชุ ม ชนสํ า หรั บ ชาวไทยภู เ ขา ห้ อ งเรี ย นเคลื่ อ นที่ ทั้ ง พระราชทาน พระราชทรัพย์เป็นค่าตอบแทนครูผู้สอน และทรงจัดหาอุปกรณ์ก ารเรียนการสอนพระราชทาน เพื่อให้ เยาวชนมีโอกาสได้รับการศึกษาที่เหมาะสม จะได้มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และเป็นที่พึ่งพา ของครอบครั ว ได้ ใ นอนาคต ทรงติ ด ตามการดํ า เนิ น งาน โครงการตามพระราชดํ า ริ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด และเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรในโครงการ ด้วยพระองค์เองเสมอ จากการที่มีประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายเงินเพื่อโดยเสด็จพระราชกุศล หรือสมทบทุนดําเนินงานโครงการพัฒนาต่าง ๆ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นําเงินที่มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวายดั ง กล่ า วมาจั ดตั้ ง เป็ น กองทุ น ทุ น การกุ ศลสมเด็ จพระเทพ ฯ เพื่อ ให้ ก ารสงเคราะห์ช่ ว ยเหลื อ ประชาชนผู้ทุกข์ยากเดือดร้อน หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์อื่น ๆ นอกเหนือจากงานพัฒนา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัย งานศิลปวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างยิ่ง มีพระราชดําริว่า ควรจะมีการถ่ายทอดงานด้านวัฒนธรรมไปสู่เด็ก และเยาวชนรุ่นใหม่ ผ่านกระบวนการจัดการศึกษาอบรม ทั้งการศึก ษาในระบบ การศึก ษานอกระบบ และการศึ กษาตามอั ธยาศั ย เพื่ อให้ คนรุ่น ใหม่เ หล่า นี้ไ ด้เ รีย นรู้ ตระหนัก ความสําคั ญ รัก และผู ก พั น ในศิลปวัฒนธรรมของชาติ สามารถสืบทอดเพื่อการอนุรักษ์ และอาจพัฒนาเป็นอาชีพได้ ทรงสนับสนุน การดําเนินกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ และสืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของไทย พระอุตสาหะในการปฏิบัติ กิจการอันเป็น ประโยชน์แก่บ้ านเมือ งและประชาชน เป็ นที่ประจัก ษ์แก่ พสกนิก รทั่วหน้ า จึงทรงได้รั บ การทู ล เกล้ า ฯ ถวายรางวัล เกี ย รติ ยศ พระเกีย รติ คุณ ตํา แหน่ง เกีย รติ ยศ และปริญ ญากิ ตติ มศั ก ดิ์ จากสถาบัน หน่วยงาน และองค์กรทั้งในราชอาณาจักร และต่างประเทศจํานวนมาก พระราชจริยาวัตรที่ประชาชนทั่วไปได้เห็นประจัก ษ์ คือ พระเมตตาและความเอาพระทัยใส่ ในชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราช ปณิธานที่จะช่วยเหลือผู้ที่ทุกข์ยาก เดือดร้อนโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ เผ่าพันธุ์ เชื้อชาติ ศาสนา พสกนิกร ต่างยกย่อง และชื่นชมในพระบารมี ดังนั้น เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ ที่ทรงมีคุณูปการต่อชาติบ้านเมือง ในด้ านต่า งๆ มาโดยตลอด จึ งมี บุค คล หน่ว ยงาน สมาคม และองค์ ก รต่า ง ๆ ทั้ งในราชอาณาจัก ร และในต่างประเทศ ขอพระราชทานอัญเชิญพระนามาภิไธย และขอพระราชทานนาม ไปเป็นชื่อพรรณพืช และสัตว์ที่ค้นพบใหม่ในโลก รวมทั้งสถานที่ และสิ่งต่างๆ เป็นจํานวนมาก เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ และเป็นสิริมงคลสืบไป นอกจากนี้ ยังได้ทรงพระกรุณารับสมาคม สถาบัน และองค์กรต่างๆ ที่จัดตั้งขึ้น ตามแนวพระราชดําริ หรือที่มีวัตถุประสงค์ดําเนินการในเรื่องต่างๆ ที่ทรงให้การสนับสนุน ซึ่งล้วนเป็นไป เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผู้ขาดแคลน หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ไว้ในพระราชูปถัมภ์


๘ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

งานอดิเรก

ยามที่ทรงว่างจากพระราชกิจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพักผ่อน พระอิริยาบถ โดยทรงมีงานอดิเรกที่สนพระทัยหลายประเภท เช่น ดนตรี งานศิลป์ กีฬา งานสะสม การทั ศนศึก ษา การอ่ านและสะสมหนั งสื อ ทรงมีห อสมุด ส่ว นพระองค์ ที่จั ดเก็บ หนัง สือ หลากหลาย ประเภท ทั้งที่ทรงเลือกซื้อด้วยพระองค์เองและที่มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย และดังเช่นเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่า ทรงมี พ ระอั จ ฉริ ย ภาพในการเรี ย งร้ อ ยอั ก ษร จึ ง ทรงพระราชนิ พ นธ์ ร้ อ ยแก้ ว และร้ อ ยกรองไว้ เป็ น จํ า นวนมาก มี ทั้ ง ประเภทบทความ เรื่ อ งสั้ น ความเรี ย ง คํ า นํ า บทกวี บทเพลง เรื่ อ งแ ปล และสารคดี เป็นต้น รวมทั้งพระราชนิพนธ์ชุดเสด็จพระราชดําเนินเยือนต่างประเทศ ซึ่งเปรียบเสมือน “บันทึกการเดินทาง” ที่ให้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน ในปัจจุบัน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังสนพระทัยศึกษา และฝึกฝน เรี ย นรู้ ทั ก ษะภาษา และวิ ช าการต่ า ง ๆ อยู่ มิ ไ ด้ ข าด เช่ น ภาษาฝรั่ ง เศส ภาษาเยอรมั น ภาษาจี น เทคโนโลยีสารสนเทศ ดาราศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นต้น พระปรีชาสามารถด้านภาษา เป็น ที่ ประจักษ์โดยทั่วหน้า นอกจากนี้ ยังสนพระทัยเข้าร่วมการประชุม แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ทรงศึกษาดูงาน และทรงพบปะสนทนากับปราชญ์ ด้านต่าง ๆ อยู่ เป็นประจํ า เพื่ อทรงรับความรู้ใหม่ ๆ และทั นสมั ย อยู่เสมอ


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๙

“วิศิษฏศิลปิน” พระปรีชาเลิศล้​้าด้านศิลปะ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระปรีชาทั้งด้านวรรณศิ ลป์ ดนตรี นาฏศิ ล ป์ วิ จิ ต รศิ ล ป์ และประณี ต ศิ ล ป์ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ที่ เ ป็ น ศิ ล ปะ และวั ฒ นธรรมไทย ในขณะเดียวกันก็สนพระหฤทัยศิลปะของต่างประเทศ ด้วยเหตุที่ทรงศึกษา และซาบซึ้งในศิลปวัฒนธรรม ไทยอย่างมาก จึงทรงทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไทยหลากหลายด้านอย่างต่อเนื่อง เช่ น ทรงได้รับ ความไว้วางพระหฤทัยโปรดเกล้า ฯ ให้เป็ นแม่กองบูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนศาสดารามในการสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ และยังพระราชทานพระราชูปถัมภ์แก่เหล่าศิลปินน้อยใหญ่ รวมทั้งศิลปินแห่งชาติทุกท่าน ด้วยเหตุที่ทรงพระปรีชาเลิศล้ําด้านศิลปะและวัฒนธรรม ดังนั้น ใน พ.ศ.๒๕๔๘ รัฐบาลจึง กํ า ห น ดใ ห้ วั น พร ะ ร า ชส มภ พ คื อวั นที่ ๒ เม ษา ย น ข อ ง ทุ ก ปี เ ป็ น วั นอ นุ รั ก ษ์ ม ร ด ก ไ ท ย และใน พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้ถวายพระสมัญญาว่า “เอกอัครราชูปถัมภกมรดกวัฒนธรรมไทย”


๑๐ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ทรงจรรโลงศิลปวัฒนธรรมของชาติ ในด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นที่ทราบกันดีว่าทรงพระปรีชาสามารถด้านศิลปะและทรงสร้างสรรค์ ผลงานศิลปกรรมฝีพระหัตถ์ไว้มากมาย ทรงบําเพ็ ญพระองค์ในการเป็นผู้นําด้านการอนุ รักษ์และพัฒนา ภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรมไทยมาโดยตลอด ทรงรักศิลปะตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงเล่าประสบการณ์ เกี่ยวกับการที่ทรงได้รับการปลูกฝังทางด้านศิลปะว่า “นอกจากเรียนศิลปะแล้ว สมเด็จแม่ยังทรงจัดให้ลูก ๆ เรียนพิเศษวิชาต่าง ๆ มากที่สุดเท่าที่ จะมากได้ ทั้งภาษา เลข ดนตรี วาดรูป และแม้ว่าท่านไม่นิยมความฟุ​ุมเฟือย (ข้ าวของทุก อย่างต้องใช้ อย่างประหยัด) เรื่องการใช้จ่ายในเรื่องการเรียน การซื้อหนังสือ ท่านจ่ายอย่างไม่อั้น เพราะวิชาความรู้ ทําให้เราสามารถทํางาน ช่วยคนหมู่มาก ช่วยบ้านเมืองได้” ส่วนวิชาศิลปะที่ทรงเรียนในโรงเรียนจิตรลดานั้น ทรงเล่าไว้ในพระราชนิพนธ์ “การฝีมือ ๆ คือ พลัง” ตอนหนึ่งว่า “จะต้องเริ่มต้นถึงความรู้ เก่าครั้งสมัยอนุบาล เราเขี ยนรูปด้วยสีเทียน ผู้สอนก็คือ ครูสุนามัน ครูประจําชั้นตลอดกาล วาดรูปอะไรบ้างนั้นลืมไปหมดแล้ว ที่ติดตามอยู่นั้นก็คือ เกิดแฟชั่นใน การเอาสี สีเดียวระบายสมุดวาดเขียนทั้งหน้า” “พอขึ้นชั้นประถมก็มีวิชาศิลปศึกษาอาทิตย์ละ ๒ ชั่วโมง ของครูโยมูระ และหัตถศึกษาของครู ประพาสอี ก ๒ ชั่ ว โมง ครู โ ยมู ร ะ (หรื อ ที่ เ รี ย กกั น สั้ น ๆ ว่ า ครู โ ย) ให้ เ ราวาดสี เ ที ย นส่ ว นมาก ถึงขั้นประถมปลายเปลี่ยนแปลงเป็นสีน้ํา” ศิลปวัฒนธรรมไทยรากฐานสําคัญของแผ่นดิน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารี ได้ทรงพระราชทานราชูปถัมภ์หลากหลาย และทรงประกอบพระราชกรณียกิจมากมายเพื่อช่วย อนุรักษ์พัฒนาให้สมบัติของชาติสถาพรยั่งยืนนาน ทั้งเรื่องวรรณศิลป์ วิจิตรศิลป์ ประณีตศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ เพลงลูกทุ่ง งานช่างไทย งานพิพิธภัณฑ์โบราณสถาน อาหารไทย และวิถีชีวิตไทยในด้านอื่นๆ รวมทั้งการพระราชทานพระราชูปถัมภ์แก่ศิลปินน้อยใหญ่ ศิลปินแห่งชาติ และการเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนังที่วัดสุธาวาส และวัดอัมพวันเจติยาราม ซึ้งเป็นงานศิลป์ที่งดงามล้ําค่าแห่งกรุ่งรัตนโกสินทร์ พระราชกรณียกิจด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย เป็นที่ประจักษ์ชัดทุกด้าน และสะท้อนให้ ประชาชนชาวไทยได้ เ ห็ น อย่ า งสม่ํา เสมอ ไม่ ว่ า จะเป็ น พระราชดํ ารั ส พระราชดํ าริ พระราชนิ พ นธ์ หรือบทพระราชสัมภาษณ์ หรือในข่าวพระราชสํานัก พระอัจฉริยภาพ และความสนพระราชหฤทัย ด้านต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๑๑

พระอัจฉริยภาพทางการดนตรี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงคุ้นเคยกับเสียงดนตรีไทยมาตั้งแต่ ยังทรงพระเยาว์ นับจากวันเสด็จพระราชสมภพ ในการพระราชพิธีสมโภชต่างๆ เช่น เมื่อพระชันษา ๓ วั น หรื อ พระราชพิ ธี ส มโภชเดื อ น ขึ้ น พระอู่ ก็ มี ว งดนตรี ไ ทยประโคมประกอบในพิ ธี ทุ ก ครั้ ง ไป ตามโบราณราชประเพณี พระพี่เลี้ยงกล่อมพระบรรทมก็ร้องเพลงกล่อมเด็ก หรือเพลงไทยง่ายๆ ถวาย ครั้ น ทรงเจริ ญ พระชั น ษา ได้ โ ดยเสด็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปในการพระราชพิธีต่างๆ หลายงาน มีวงดนตรี หรือแตร สังข์ บัณเฑาะว์ บรรเลง ประกอบในพิธี ก่อนที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะตัดสินพระทัยเลือกฝึกดนตรีไทย นั้น เป็นเวลาที่เพลงไทยประเภทลูกทุ่งกําลังเฟื่องฟู ทรงติดตามฟังและโปรดเป็นอันมาก เพราะเป็นเพลง ที่ แสดงถึงชีวิต และอารมณ์ของคนไทยได้ดี ทรงร้องเพลงลูกทุ่งได้หลายเพลง เพลงลูกทุ่งหลายเพลง ใช้ทํานองเพลงไทยเดิมง่าย แล้วแต่งเนื้อเพลงขึ้นใหม่ และทําได้ไพเราะน่าฟัง ทําให้ทรงรู้จักทํานองเพลง ไทยเดิมหลายเพลง จึงเป็นเหตุหนึ่งที่ทําให้พระองค์ทรงดนตรีไทยในระยะต่อมา ในชั่วโมงภาษาไทย อาจารย์ กํ า ชั ย ทองหล่ อ มั ก จะสอนให้ นั ก เรี ย นจิ ต รลดาอ่ า นหนั ง สื อ บทกลอนเข้ า ทํ า นองต่ า งๆ


๑๒ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ตั้งแต่หัดสวดกาพย์พระไชยสุริยาไปจนร้องเพลงไทยง่ายๆ นักเรียนคนใดอ่านทํานองเสนาะ ขับเสภา ร้อ งหุ่ น กระบอก และเพลงต่ า งๆ ได้ เ หมาะสมถู ก ต้ อ ง จะได้ ค ะแนนเพิ่ ม ขณะเดี ย วกั น นั ก เรี ย นได้ ความรู้ ด้า นดนตรี ไ ทย ก่อ ให้เ กิด ความภูมิ ใจในวั ฒ นธรรมไทย ยิ่ง ทํ าให้ท รงซึ ม ซับ ความไพเราะของ ดนตรีไทยมากขึ้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเริ่มหัดดนตรีไทยขณะทรงศึกษาอยู่ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ทรงเลือกหัดซอด้วง ทรงเริ่มต่อเพลงพื้นฐานเช่น เพลงฉิ่ง ๓ ชั้น เพลงจระเข้หางยาว ตวงพระธาตุ นกขมิ้ น เป็ น ต้ น ต่ อ มาทรงเรี ย นพิ เ ศษ และทรงเรี ย นร้ อ งเพลงกั บ คุ ณ หญิ ง ไพฑู รย์ กิตติวรรณ เมื่อสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเข้าศึกษาต่อที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงเข้าเป็นสมาชิกชมรมดนตรีไทย ทั้งของคณะอักษรศาสตร์ และชมรมดนตรี ไทยสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงซอด้วงเป็นหลัก และทรงหัดเล่น เครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ ด้วย เช่น ซออู้ จะเข้ ขลุ่ย นอกจากนั้น ทรงเรียนร้องเพลงไทยกับอาจารย์เจริญใจ สุนทรวาทิน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดระนาดมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ แต่ ท รงตั ด สิ นพระทัย เรี ยนระนาดเอกกั บ ครู สิ ริ ชั ยชาญ ฟั ก จํ ารู ญ อย่า งจริง จั ง เมื่ อ เดือ นกรกฎาคม พุทธศัก ราช ๒๕๒๘ เมื่ อเสด็ จฯ ไปทรงดนตรีเ ป็น ประจํ าที่ บ้านปลายเนิ น คลองเตย ซึ่ งเป็น วัง ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟูากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงฝึก หัดอย่างถูก แบบแผน ตั้งแต่ การจับไม้ระนาดและท่าประทับ ขณะทรงระนาด ทรงปรารภว่า ตีระนาดนี้ เมื่อยพระองค์ ทรงเรียน ตีระนาดตามแบบอย่างโบราณ เริ่มด้ว ยเพลงต้นเพลงฉิ่งสามชั้ น แล้วจึงทรงต่อเพลงจระเข้หางยาว เพลงตวงพระธาตุ และเพลงอื่นๆ ทรงฝึกไล่ระนาดทุกเช้าในห้องพระบรรทม และทรงฝึกการตีระนาด แบบต่ า งๆ ซึ่ ง บุ ค คลภายนอกไม่ มี ผู้ ใ ดทราบว่ า ทรงฝึ ก ระนาดเอก จนถึ ง ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๙ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๗ ได้ทรงบรรเลงระนาดเอกให้ สาธารณชนได้ชมเป็นครั้งแรก เพลงที่ทรงบรรเลงคือเพลงนกขมิ้น (เถา) ร่วมกับครูอาวุโสของวงการ ดนตรีไทยหลายท่าน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จฯ ร่วมงานชุมนุมดนตรีไทยของสถาบัน ระดับอุดมศึกษาเป็นครั้งแรก ในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๒ เมื่อ ๒๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ ณ เวทีลี ลาศ สวนอั มพร งานครั้งนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้ าภาพจัดงาน นับ แต่นั้ น ได้เสด็จฯ ไปทรงร่วมงาน อย่างสม่ําเสมอ หากไม่มีพระราชกิจอื่นที่ทรงรับไว้ก่อนแล้ว ใ น ง า น ด น ต รี ไ ท ย อุ ด ม ศึ ก ษ า ค รั้ ง ที่ ๑ ๗ ( กุ ม ภ า พั น ธ์ พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๒ ๙ ) ซึ่ง มหาวิ ท ยาลัย เชีย งใหม่เ ป็น เจ้า ภาพ สมเด็ จพระเทพรัต นราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี ได้ท รง พระราชนิ พ นธ์ คํ า ร้ อ งเพลงชื่ น ชุ ม นุ ม กลุ่ ม ดนตรี ที่ อ าจารย์ ม นตรี ตราโมท เป็ น ผู้ ป ระพั น ธ์ ทํ า นอง เพื่อพระราชทานให้เป็นเพลงประจํา และเป็นเพลงสัญลักษณ์ของงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ในวั นเปิ ดงานดนตรี ไทยครั้ง นี้ (วัน ที่ ๑ กุม ภาพันธ์ ๒๕๒๙) ได้ทรงระนาดเอกนํา วงดนตรี ทุกสถาบัน บรรเลงเพลงชื่นชุมนุมกลุ่มดนตรี โดยใช้นิสิต นักศึกษาจํานวนมากขับร้องหมู่ และออกอากาศ เป็นรายการสดทางสถานีวิทยุกระจายเสียงจากภาควิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อมาได้ ใช้เพลงนี้บรรเลงเป็นเพลงเปิดงานในงานดนตรีไทยอุดมศึกษาทุกปี มาจนถึงทุกวันนี้


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๑๓

นอกจากนั้ น สมเด็จ พระเทพรั ตนราชสุด าฯ สยามบรมราชกุ มารี ยังได้เสด็ จฯ ไปทรงเป็ น ประธานในงานมหกรรมมหาดุริยางค์ไทย (งานดนตรีไทยมัธยมศึกษา)และงานดนตรีไทยประถมศึกษา และทรงพระกรุณาทรงดนตรี ร่วมกับ นัก เรีย นด้ว ย ต่อมาทรงพระราชนิพ นธ์บ ทความเรื่ อง เด็ก และ ดนตรีไทย ลงพิม พ์ในหนั งสือที่ร ะลึก งานดนตรี ไทยอุดมศึก ษา ซึ่งมหาวิ ทยาลั ยขอนแก่นเป็น เจ้าภาพ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ในบทพระราชนิ พ นธ์ นี้ ได้ พ ระราชทานข้ อ สั ง เกตเกี่ ย วกั บ การสอนดนตรี ไ ทยให้ แ ก่ เ ด็ ก ๆ ทรงเสนอแนะวิ ธี ก ารสอนดนตรี ไ ทยเด็ ก ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ ถึ ง ๑๐ ประการ และทรงแสดงทั ศ นะ เรื่อง การสอนดนตรีเด็กชั้นประถมศึกษาตอนต้นไว้ในบทความ “เหตุใดข้าพเจ้าจึงชอบดนตรีไทย” ในฐานะที่ทรงเป็น ทูลกระหม่อมอาจารย์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงดนตรีไทยร่วมกับนักเรียนนายร้อยชมรมดนตรีไทย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ แพร่ภาพ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ ทุกวันที่ ๒๓ ตุลาคม ซึ่งเป็นวันปิยมหาราช พร้อมทั้ง ทรงพระราชนิ พ นธ์ บ ทเพลงเพื่ อ แสดงความรํ า ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ และเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกําเนิดโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ นอกจากสมเด็จ พระเทพรั ตนราชสุด าฯ สยามบรมราชกุ มารี จะทรงศึ ก ษาดนตรี ไทยแล้ ว ยังทรงศึกษาดนตรีสากลด้วยพระอาจารย์คนแรกที่ถวายการสอนดนตรีสากลคือ อาจารย์มาลัยวัลย์ บุ ณ ยะรั ต เวช ถวายการสอนเปี ย โน ขณะทรงมี พ ระชนมายุ ๑๐ พรรษา อี ก ๒ ปี ต่ อ มา สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จึงกราบบังคมทูลสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ขอพระราชทานพระราชานุญาตเรียนภาษาฝรั่งเศสแทนการเรียนเปียโน สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงฝึ ก เครื่ อ งดนตรี ส ากลประเภท เครื่องเปุา จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จนสามารถทรงทรัมเปตโซโลนําวงดุริยางค์ในงานคอนเสิร์ต สายใจไทย และทรงระนาดฝรั่งนําวงดุริยางค์ในงานกาชาดคอนเสิร์ต “...ข้าพเจ้าเคยหัดเล่นดนตรีมาหลายอย่างตั้งแต่เด็ก เริ่มจากเปียโน แล้วก็มาสนใจดนตรีไทย... นอกจากเรียนดนตรีไทยแล้ว ข้าพเจ้าหัดเล่นทรัมเปต บีแฟลตในวงแตรวง (สมัครเล่น) เล่นได้ทั้งเพลง ไทยและเพลงสากล ซึ่งทําให้ข้าพเจ้าอ่านโน้ตสากลได้ดีขึ้น นอกจากนั้นยังชอบฟังเพลงโยธวาทิตมาตั้งแต่ ยังเด็กๆ...” ในปี ๒๕๑๖ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปยัง กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยียม ได้ทอดพระเนตรพิพิธภัณฑ์ดนตรีเป็นครั้งแรก ทรงเห็นว่าพิพิธภัณฑ์นี้จัด ได้ดีมาก เครื่องดนตรีที่จัดแสดงมีคําบรรยายประกอบ และยังจัดพิมพ์หนังสือแสดงเรื่องราวของเครื่อง ดนตรีที่จัดแสดงอย่างละเอียด ให้ความรู้ความซาบซึ้งแก่ผู้มาชมได้เป็นอย่างดี ต่อมาได้ทอดพระเนตร พิพิธภัณฑ์ดนตรีที่อื่นๆ อีกหลายแห่ง ทําให้มีพระราชดําริเห็นว่า ประเทศไทยก็ควรคิดจัดพิพิธภัณฑ์ดนตรี เพื่อให้ความรู้เรื่องศิลปะประจําชาติแก่ผู้สนใจทั่วไปเช่นเดียวกัน


๑๔ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

พระปรีชา ด้านจิตรกรรม

นอกจากเรื่องดนตรีแล้ว ยังทรงมี “พรสวรรค์” ด้านจิตรกรรม มีภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ จํ า นวนมาก ที่ ศิ ล ปิ น เอกทั้ ง หลายต่ า งยกย่ อ งว่ า เป็ น ผลงานที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ด่ น ในด้ า นจิ นตนาการ ฝีแปรงกล้า ฉับไวมีพลัง และความสดใส ภาพฝีพระหัตถ์ส่วนใหญ่สะท้อนความรักธรรมชาติที่ลึกซึ้งยิ่ง


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๑๕


๑๖ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

พระปรีชา ด้านประติมากรรม นอกเหนือจากงานศิลปะด้านอื่นแล้ว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงงานด้านการปั้นอีกด้วย ทรงเริ่มเรียนศิลปะที่โรงเรียนจิตรลดาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และ ยังได้ทรงเรียนพิเศษเพิ่มจากศิลปินผู้เชี่ ยวชาญอย่างอาจารย์ ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ประติ มากรผู้เป็น ศิลปินแห่งชาติคอยถวายคําแนะนํา จึง ทําให้ทรงมีพื้นฐานด้านศิลปะที่ดี ในด้านการปั้นทรงเริ่มเรียนกับ ครูประพาส ปานพิพัฒน์ ซึ่งเป็นครูสอนวิชาหัตถศึกษาที่โรงเรียนจิตรลดา พระองค์ทรงเล่าเรื่องการเรียน นี้ไว้ในพระราชนิพนธ์ “การฝีมือๆ คือพลัง” ว่า “วิชาหลักของพวกเราคือการปั้นดิน ส่วนมากจะเป็น Free Hand นานๆ ครูจึงจะกําหนดให้ปั้น อะไรๆ เสียที เทคนิคสําคัญของเขาคือการปั้นแจกันหรือหม้อ จะต้องเล่าวิธีตั้ งแต่ควักดินออกจากตุ่มที่ครู เตรียมมานวดด้วยไม้นวดแปูง จนเข้าเนื้อกันดีแ ล้วจึงปั้นได้ การปั้นแจกันหรือหม้อ จะต้องเอาดินมาคลึง เป็นเส้นยาวๆ เหมือนงูหรือไส้เดือน และขดเข้าเป็นรูปหม้อหรือแจกัน การจะให้ส่วนที่เราประกอบกันติด เป็นเนื้อเดียวกัน ก็ต้องใช้เครื่องมือ สับส่วนที่ติดกันให้เป็นรอย แล้วเอา ‘น้ําสลิป’ ทาตรงนั้น ทุกคนต้อง ถามว่า ‘น้ําสลิป’ นี่มันอะไรกันนะ ต้องมีอรรถกถาแก้กันนิดหน่อย ว่ามันคือดินผสมน้ําจนมันข้นๆ แทนกาว สําหรับติดดินไงละ” นอกจากนั้ น พระองค์ยังคงได้ ทรงทดลองฝึก งานปั้ นรู ปนูนต่ํา โดยทรงได้รับคําแนะนําจาก หลวงวิ ศ าลศิ ล ปกรรม (เชื้ อ ปั ท มจิ น ดา) ปรมาจารย์ ท างด้ า นสถาปั ต ยกรรมไทย หลั ง จากนั้ น มา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ก็ได้ทรงงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาไว้อีกเป็นจํานวน มาก นอกจากช่างฝี พระหัตถ์ที่ทรงไว้ที่ร้านเครื่องปั้นดินเผาในหมู่ บ้านไทยเชื้อสายมอญเกาะเกร็ดแล้ว พระองค์ยังได้ ทรงงานไว้ในโอกาสต่างๆ เช่น เมื่อครั้งที่เสด็จไปประทับที่พระตําหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ ได้ ท รงงานไว้ ที่ แ ม่ ริ ม เซรามิ ค จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ด้ ว ยเทคนิ ค ต่ า งๆ ที่ น ายประดิ ษ ฐ์ ศรี วิ ชั ย นั น ท์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า คณะจิ ต รกรรม ฯ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ผู้ เ ป็ น เจ้ า ของโรงงานได้ เ ตรี ย มเครื่ อ งมื อ พร้ อ ม อุปกรณ์ต่างๆ ทูลเกล้า ฯ ถวายให้ทรงงาน และเป็นผู้นําผลงานฝีพระหัตถ์ที่ทรงไว้ ทั้งหมดไปเผาเคลือบ จนเสร็จสมบูรณ์ด้วย หลังจากนั้นได้เสด็จ ฯ ไปทอดพระเนตรโรงงานเซรามิค ที่ประเทศญี่ปุน รวมถึงได้ เสด็จ ฯ เยือนโรงเตาเผาเครื่องเคลือบดินเผาโบราณ เมืองจิ่งเต๋อเจิ้นได้ทรงปั้นช้างจิ๋วด้วยวิธีบีบดินไว้ด้วย ๑ ตัว ผลงานเครื่อ งปั้นดิน เผาฝี พระหัต ถ์ทั้ งที่ เป็นงานปั้น และงานเขีย นสีเคลื อบเครื่องปั้น ดินเผา ทั้งหมด แสดงถึงพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถทางด้านศิลปะอย่างแท้จริง


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๑๗

ทรงรักและหวงแหนสมบัติของชาติ

ทรงได้รับการปลูกฝังให้หวงแหน รักษามรดกของชาติมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทําให้พระองค์ นํามาใช้ในพระราชกรณีย กิจด้านบูรณปฏิสังขรณ์ด้วย เช่น การปรับปรุงบูรณะพิพิธภัณ ฑสถานต่างๆ ในประเทศ การบู ร ณะถาวรวั ต ถุ ที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง คื อการบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม และพระบรมมหาราชวัง ในคราวฉลองพระนครครบรอบ ๒๐๐ ปี คนไทยทั้ งมวลได้ ป ระจั กษ์ ถึ ง พระปรี ช าสามารถในด้ า นสถาปั ต ยกรรมอั น เป็ น แขนงหนึ่ ง ใน ศิล ปวั ฒ นธรรมไทย ทรงปฏิ บั ติพ ระราชภาระนี้ ด้ ว ยความรอบรู้ และมี น้ํ า พระหฤทัย ใคร่ จะอนุ รั ก ษ์ และพัฒนา ในทุกสิ่งทุก อย่างที่ชํา รุดทรุดโทรมกลับมามี ความคงอยู่ และใช้ประโยชน์ได้ต่ อไปอีก ด้ว ย เช่น ในเรื่องการบูรณะพระตําหนักสวนกุหลาบ ซึ่งเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มาแต่เดิมก่อนเสวยราชย์ กับทั้งอาคารสถานที่อื่นๆ ในเขตพระราชฐานชั้นในและท้ายพระบรมมหาราชวัง ให้ เ ป็น โรงเรีย นพระตํา หนัก สวนกุ หลาบ และพระราชทานให้ก ระทรวงศึ ก ษาธิก ารใช้ ประโยชน์เ ป็ น สถานศึกษาสําหรับกุลบุตรกุลธิ ดาต่อไป ดังพระราชดํารัสทรงเล่ าพระราชทานแก่คณะกรรมประจํ า โรงเรียนพระตําหนังสวนกุหลาบตอนหนึ่งว่า


๑๘ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

“ตอนที่ เ ป็ น ประธานกรรมการอํ า นวยการปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด พระศรี รั ต นศาสดารามและ พระบรมมหาราชวั ง ฉลองพระนครครบ ๒๐๐ ปี มี ผ ลให้ ไ ด้ ม าดู แ ลอาคารสถานที่ ใ นบริ เ วณ พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม “ทั้งผู้รับหน้าที่ในการบูรณะท่านก็เห็นพ้องต้องกันว่า สถานที่แห่งนี้เคยเป็นสถานที่มีความสําคัญ รูปแบบงดงามตามลักษณะทางศิลปะ ไม่ควรทิ้งให้พังเสียหาย จึงเสนอให้บูรณะเพิ่ม” นอกจากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ท รงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ในด้ านการอนุ รัก ษ์และสร้างสรรค์ มรดกไทยไว้เ พื่อ คนไทยแล้ ว ยั งคํ านึ งถึง การปลู ก ฝั งความรัก ใคร่ หวงแหน และการบูรณะรักษามรดกไทยให้เกิดแก่เยาวชนของชาติผู้ใหญ่ผู้จะสืบต่อภาระต่อไป


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๑๙

พระราชกรณียกิจด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ของ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นที่ประจักษ์ชัดทุกด้าน และสะท้อนให้ประชาชนชาวไทย ได้เห็นอย่างสม่้าเสมอ ไม่ว่าจะเป็นพระราชด้ารัส พระราชด้าริ พระราชนิพนธ์ หรือบทพระราชสัมภาษณ์ หรือในข่าวพระราชส้านัก พระอัจฉริยภาพและความสนพระราชหฤทัยด้านต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ รัฐบาลในสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี จึงประกาศให้วันที่ ๒ เมษายน ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น

“วันอนุรักษ์มรดกของชาติ” ตั้งแต่วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ตราบจนปัจจุบนั


๒๐ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๒๑

พิธยี กย่องเชิดชูเกียรติบุคคลผู้มีผลงานดีเด่น ทางการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย

รางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๒ ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๘


๒๒ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่ในด้านการศึกษา ค้น คว้ า วิ จั ย และสื บค้ น ข้อ มู ลเกี่ ยวกั บประวั ติ ศาสตร์ โบราณคดี ศิล ปวัฒ นธรรม ภู มิปั ญ ญาท้ องถิ่ นและ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นศูนย์ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพันธกิจในการสนับสนุน ให้ ก ารศึ ก ษาและผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู้ คู่ คุ ณ ธรรม ส านึ ก ในความเป็ น ไ ทย และเป็ น หน่ ว ยงาน ที่ให้บริการทางวิชาการด้านอยุธยาศึกษา ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ร่วมอนุรักษ์ สืบสานประเพณีศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในคุณค่า แห่งวัฒนธรรมของชาติ นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยงานที่สนับสนุน การผลิตและพัฒนาครู ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคล ทางด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมา สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ในการอนุ รั ก ษ์ สื บ สาน ศิ ลปวั ฒ นธรรมไทยเพื่ อ ให้ ด ารงอยู่ สื บ ไป ท่ า มกลางกระแสโลกาภิ วั ฒ น์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงและเจริ ญ เติ บ โต ตลอดเวลา รวมทั้ ง ได้ ด าเนิ น งานด้ า นการท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ ก ารจั ด กิ จ กรรม และโครงการต่างๆ เพื่อสืบสานและเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับบุคลากรในหน่วยงาน อาทิ ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักศึกษา ภายในองค์กร ตลอดจนนักเรียน และบุคลากรทั่วไปภายนอกองค์กร และเนื่ อ งด้ ว ยในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๘ นี้ เป็ น ปี แ ห่ ง มหามงคล สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงมีพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ สถาบันอยุธยาศึกษา จึงเห็นสมควรจัดโครงการสืบสานและเชิดชูวัฒนธรรมอยุธยา เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติในฐานะที่ ทรงเป็น องค์วิศิษฏศิลปิน ทรงเป็นเมธีทางวัฒนธรรม และทรงเป็นผู้มีคุณูปการต่องานศิลปวัฒนธรรมเป็นอย่างยิ่ ง ซึ่ ง เป็ น พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ รวมทั้ ง กิ จ กรรมยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ บุ ค คลผู้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ทางการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง และนครนายก ในฐานะที่ ท าคุ ณ ประโยชน์ ใ นการสื บ สานด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย และเผยแพร่ ค วามรู้ สู่ สั ง คม เพื่ อ สื บ สาน เชิ ด ชู และเผยแพร่มรดกทางด้านวัฒนธรรม และสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ให้กับผู้บริหาร คณาจารย์ นั ก วิ ช าการ นั ก ศึ ก ษาภายในองค์ ก ร ตลอดจนนั ก เรี ย นและบุ ค ลากรทั่ ว ไปภายนอกองค์ ก ร และเป็นการสร้างความเข้มแข็ง และปลูกจิตสานึกให้คนไทย ใส่ใจและหวงแหนมรดกทรัพยากรทางวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของชาติ


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๒๓

รางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ”

การมอบรางวัล ”บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้มีผลงาน ดีเด่นด้านการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญ ญาท้องถิ่น รวมทั้ง สร้างคุณประโยชน์แก่ชุมชน ซึ่งเป็นรางวัลที่ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีความภาคภูมิใจในฐานะผู้มีส่วนในการยกย่อง บุคคล ที่เปรียบเสมือนปราชญ์ และผู้ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ ให้ยั่งยืนสืบต่อสู่คนรุ่นต่อไป การออกแบบสัญลักษณ์รางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเครื่องสะท้อนคุณค่า ในตัวบุคคลและภูมิปัญญา ด้วยเอกลักษณ์ทาง “ศิลปสถาปัตยกรรม” อันจรรโลงคุณค่าให้ยืนยงสถาพร “ช่อฟูา” เป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม ที่แสดงเอกลักษณ์ร่วมของวัฒนธรรมสยาม ด้วยเป็น องค์ประกอบชิ้นสาคัญที่อยู่เหนือสุดของอาคารที่มีความ โดดเด่น และอ่อนช้อยงดงาม เปรียบได้กับสิ่งควรค่า แก่การยกย่อง เช่นเดียวกับบุคคลที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติในครั้งนี้ โดยเป็นงานประติมากรรมสลักไม้ ที่ใช้ “ไม้สัก”เป็นวัสดุหลัก ในฐานะไม้ที่มีคุณค่าและนามาใช้สร้างสรรค์เป็นงานศิลปกรรมมากที่สุดประเภทหนึ่ง รวมไปถึงยังเป็นไม้ ที่มีชื่อพ้องเสียงกับ “นาม” อันเป็นมงคล รางวัลได้ รับ การประดิษ ฐ์โ ดย นายบุ ญ เลิศ เศรษฐสิ ทธิ์ ซึ่ ง เป็น บุค คลที่ไ ด้รั บรางวัล เชิ ดชู เกี ยรติ บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๖ จึงเป็นรางวัลที่สามารถแทนค่าความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ที่จะได้รับการอนุรักษ์และสืบสานต่อไปอย่างไม่รู้จบ จึงนามาสู่การออกแบบสัญลักษณ์แทนความหมายแห่งการ เชิดชูเกียรติ “รางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” สืบมา อาจารย์สุรินทร์ ศรีสังข์งาม ผู้ออกแบบรางวัล นายบุญเลิศ เศรษฐสิทธิ์ ผูป้ ระดิษฐ์รางวัล


๒๔ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ๑. เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงมีพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ๒. เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อ่ า งทอง และนครนายก ในฐานะที่ ท าคุ ณ ประโยชน์ ใ นการสื บ สาน ด้านศิลปวัฒนธรรมไทย และเผยแพร่ความรู้สู่สังคม ๓. เพื่ อ สื บ สาน เชิด ชู และเผยแพร่ ม รดกทางด้ า นวั ฒนธรรม และสร้ า งจิต ส านึ กในการอนุ รั ก ษ์ มรดกทางวั ฒ นธรรม ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร คณาจารย์ นั ก วิ ช าการ นั ก ศึ ก ษาภายในองค์ ก ร ตลอดจนนั ก เรี ย น และบุคลากรทั่วไปภายนอกองค์กร ๔. เพื่อส่ง เสริมและบูรณาการงานศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการ การเรียนการสอนและกิจกรรม ของนักศึกษา ในรายวิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๕. เพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็ง และปลูกจิตสานึกให้คนไทย ใส่ใจและหวงแหนมรดกทรัพยากร ทางวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของชาติ


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๒๕

รายนามผู้ทรงเกียรติ รางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๒ พุทธศักราช ๒๕๕๘ สาขาศิลปะ

นายสุขสันติ แวงวรรณ ด้านนาฏศิลป์

นางสมสุข เกษวงษ์ ด้านคีตศิลป์

สาขาหัตถศิลป์และภูมิปัญญา

นายสุนทร โสวาปี ด้านช่างสลักหิน

นายสุนทร บุญมาก ด้านภูมิปัญญาว่าวไทย

สาขาการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพชีวิต

นายประทุม พันธุ์เพ็ง

นางสาวบุญสมหญิง พลเมืองดี

นางลาพูน พรรณไวย


๒๖ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

นายสุขสันติ แวงวรรณ สาขาศิลปะ ด้านนาฏศิลป์ ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายสุขสันติ แวงวรรณ วันศุกร์ที่ ๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๕ ตาบลบ้านแวง อาเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ๔๒ ปี ครู (คศ.๒) วิทยฐานะชานาญการ วิทยาลัยนาฏศิลป์อ่างทอง วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย

สังเขปผลงาน  พ.ศ.๒๕๔๑ ผลงานวิจัยเรื่อง หมอลากกขาขาว  พ.ศ.๒๕๔๓ แสดงในบทบาทพระเจ้าแปร ในการแสดงละครพันทางเรื่อง สมเด็ จพระนเรศวรมหาราช จั ด แสดงโดยจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ร่ ว มกั บ คณะละครอาสาสมั ค รในพระบรมราชิ นู ป ถั ม ภ์ ถวายหน้าพระที่นั่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ โรงละครแห่งชาติ  พ.ศ.๒๕๔๔ ออกแบบและกากับการแสดงชุด ไทยอารยะ ต้อนรับผู้บัญชาการทหารสูงสุดประเทศสหรัฐอเมริกา Mr.Martin E. Dempsey ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพมหานคร ในวันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๔  พ.ศ.๒๕๕๔ ผลงานวิจัยเรื่อง นาฏยศิลป์สร้างสรรค์ ชุดภาวะโลกร้อน  พ.ศ.๒๕๕๕ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ในการทาวิจัยเรื่อง รากองก้า และเรื่อง ฟูอนอีสานตามหลักสูตร ศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปะกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  พ.ศ.๒๕๕๖ ผลงานวิจัยเรื่อง ราขี่ม้าในการแสดงลิเก  กากับการแสดงชุด อัศจรรย์สุวรรณภูมิ ต้อนรับเจ้ากรมข่าวเอเชียแปซิฟิก ๒๗ ประเทศ ณ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพมหานคร  พ.ศ.๒๕๕๖ กากับการแสดงลิเกเรื่อง นางนกกระยาง ให้กับคณะลิเกเมืองอ่างทอง แสดงในการประกวด ดนตรีและการแสดงพื้นบ้าน จัดโดยกระทรวงวัฒนธรรม ได้รับรางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทานสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  พ.ศ.๒๕๕๗ ออกแบบและกากับการแสดงละครอิงประวัติศาสตร์แนวละครคุณสมภพ จันทรประภา เรื่องผู้วิเศษ

สถานที่ติดต่อ  วิทยาลัยนาฏศิลป์อ่างทอง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ อาเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง รหัสไปรษณีย์ ๑๔๐๐๐ โทรศัพท์ (๐๓๕) ๖๑๑-๕๔๘ โทรสาร (๐๓๕) ๖๒๐-๑๐๘ ต่อ ๑๐๒  บ้านเลขที่ ๓๗/๒ หมู่ ๑ ตาบลบ้านแวง อาเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ โทรศัพท์ ๐๘-๙๐๘๐-๘๑๓๓


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๒๗


๒๘ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

นางสมสุข เกษวงษ์ สาขาศิลปะ ด้านคีตศิลป์ ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นางสมสุข เกษวงษ์ วันพุธที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๔ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๖๓ ปี ข้าราชการบานาญ

สังเขปผลงาน  ภูมิปัญญาด้านคีตศิลป์ เพลงพื้นบ้าน ของโรงเรียนวัดมาบพระจันทร์ และองค์การบริหารส่วนตาบลหนองปลิง อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  สมาชิกสภาวัฒนธรรมอาเภอพระนครศรีอยุธยาและอาเภอนครหลวง  ประพันธ์เนื้อร้อง ขับร้อง และประดิษฐ์ท่าร่ายราการแสดงชุด ระบาสัตตบงกช  ประพันธ์เนื้อร้อง และคาอธิบายการแสดงชุด ระบาฤาษีดัดตน  ประพันธ์เนื้อร้อง และกากับการแสดงชุด วีรกษัตรี-วีรสตรีไทย  ประพันธ์เพลงเพื่อชีวิต เนื้อร้องและทานอง จานวน ๑๑ เพลง  ฝึกซ้อมและกากับการแสดงเพลงพื้นบ้านเรื่อง กฎและคาปฏิญาณลูกเสือ  กากับการแสดง และคาอธิบายการแสดงชุด วีรบุรุษ-วีรสตรีต้นตระกูลไทย  ผลิตสื่อพื้นบ้านร้องเพลงเกี่ยวข้าว ค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการของสภาวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา  เป็นผู้ขับร้อง บรรยายและฝึกซ้อมการแสดงละครประวัติศาสตร์เรื่อง โพสาวหาญ แสดงหน้าพระที่นั่ง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่  ฝึกซ้อมการแสดงพื้นบ้านเรื่อง ราตีมีด ให้กับคณะครู และแม่บ้าน อาเภอนครหลวง แสดงหน้าพระที่นั่ง พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

สถานที่ติดต่อ  บ้านเลขที่ ๓๙/๖ หมู่ ๖ ตาบลหัวรอ อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๑๘๕๓-๙๙๐๙ , (๐๓๕) ๒๕๑-๓๓๔


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๒๙


๓๐ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

นายสุนทร โสวาปี สาขาหัตถศิลป์และภูมิปัญญา งานช่างสลักหิน ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายสุนทร โสวาปี พุทธศักราช ๒๔๗๙ จังหวัดอุดรธานี ๗๙ ปี ช่างสลักหิน

สังเขปผลงาน  หัตถศิลป์ และภูมิปัญญาด้านงานช่างสลักหิน  พ.ศ.๒๕๓๑ สลักเศียรพระพุทธรูปประธานหินทราย ศิลปะอยุธยา ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ วัดไชย วัฒนาราม  พ.ศ.๒๕๔๓ ได้รับการติดต่อจาก ม.ร.ว.ภิญโญสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน กาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) ได้ติดต่อเข้ามาให้ไ ปทาการสอน ให้กับนักเรียนช่างสิบหมู่ หน่วยงาน สลักหิน ณ โรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) ที่ ตาบลศาลายา จังหวัดนครปฐม เป็นระยะเวลา ๑ ปี  พ.ศ.๒๕๔๔ สลักพระพุทธรูปหินทรายปางนาคปรก ถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เป็นพระพุทธรูปประจาวันประสูติของพระองค์ สลักขึ้นจากหินทรายสีเขียว ที่มาจากอาเภอ วังน้าเขียว และได้รับเข็มที่ระลึกพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  แผ่นทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ สลักจากศิลาทรายสีเขียว จาลองจากปราสาทพนมรุ้ง ใช้เวลาสลักตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๒๖ แล้วเสร็จเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๘  ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติในโครงการ ช่างหัตถศิลป์ไทย กลุ่มงานเครื่องหิน ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่าง ประเทศ (ศ.ศ.ป.)เผยแพร่ ผลงานใน เทศกาลนวั ต ศิ ล ป์ น านาชาติ ๒๕๕๕ (The International Innovative Craft Fair ๒๐๑๒ : IICF ๒๐๑๒ ) ระหว่างวันที่ ๑๕-๑๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ณ ศูนย์ ส่ง เสริมศิ ลปาชีพระหว่ างประเทศ (ศ.ศ.ป.) ในชื่อผลงาน พระเจ้าชั ยวรมันที่ ๗ แรงบันดาลใจจาก ประวัติศาสตร์ของกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งนครธม เทคนิคงานแกะสลักหินเขียว

สถานทีต่ ิดต่อ  บ้านเลขที่ ๒๗ หมู่ ๔ ตาบลคลองสระบัว อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๙๐๓-๓๑๓๑


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๓๑


๓๒ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

นายสุนทร บุญมาก สาขาหัตถศิลป์และภูมิปัญญา การประดิษฐ์ว่าวไทย ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นายสุนทร บุญมาก วันพุธที่ ๑๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๕ จังหวัดนครราชสีมา ๘๔ ปี ประธานชมรมคลังผู้สูงอายุ อาเภอภาชี

สังเขปผลงาน  หัตถศิลป์ และภูมิปัญญาด้านการประดิษฐ์ว่าวไทยทุกชนิด โดยเฉพาะว่าวดุ๊ยดุ่ย รวมถึงของเล่นพื้นบ้านที่ ผลิตจากไม้ไ ผ่ ได้แก่ อีโพละ อีดีด ก๊อกแก๊ก ไม้สูง (ขาหยั่ง ) จ้องหน่อง (เพียะ,เหิน) ขลุ่ย โหวด ไม้ขื่อ กังหันท้องนา กังหันชัก กังหันมือปั่น กังหันตอกไผ่ ฯลฯ  ได้รับเกียรติให้สาธิตของเล่นพื้นบ้าน และว่าวจุฬาดุ๊ยดุ่ย ทั้งนาวงดนตรีพื้นบ้าน (แคน) ไปตามสถาบันต่างๆ ทาให้เยาวชนที่ร่วมแสดงมีประสบการณ์ชีวิต มีอาชีพมีรายได้ เป็นผู้กล้าแสดงออกและเป็นคนดีของสังคม  พ.ศ. ๒๕๓๒ เขียนเรื่อง “ว่าวดุ๊ยดุ่ย ว่าวมหัศจรรย์แห่ง ภาคอีสาน” ลงพิมพ์ในนิตยสารต่วยตูนพิเศษ (ระดับโลก) เล่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒  พ.ศ.๒๕๓๒ จัดการแข่งขันว่าวดุ๊ยดุ่ย ที่บ้านหลุ่งตะเคียนท้องถิ่นต้นแบบของว่าวดุ๊ยดุ่ย  พ.ศ. ๒๕๓๓ เปิดโรงเรียนสอนทาว่าวที่วัดสวนแก้ว ของพระพยอม กัลยาโณ เมื่อผลิตแล้วนาสมาชิกไป ฝึกหัดขายตรง ณ ท้องสนามหลวง  ผลิต อุปกรณ์ยั งชีพ แต่โ บราณ เช่น ธนู หน้า ไม้ กล้อ งเปุ า กระสุ นคั น มี ผู้มารับการฝึ กอบรมแล้วน าไป ประกอบอาชีพ  สื บ ค้ น ภาษาลาวในต าบลดอนหญ้ า นาง ส่ ง วั ฒ นธรรมอ าเภอภาชี ให้ เ ป็ น หนั ง สื อ ที่ มี คุ ณ ค่ า ทาง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น  พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับการประกาศเกียรติคุณ จากกระทรวงวัฒนธรรม เป็นบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ที่ส่งเสริมสนับสนุนข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สถานที่ติดต่อ  บ้านเลขที่ ๑๗/๑ หมู่ ๑๐ ตาบลดอนหญ้านาง อาเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘-๔๗๖๘-๑๐๑๓ Email : Sbm๘๑๓๐ @hotmail.com


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๓๓


๓๔ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

นายประทุม พันธุ์เพ็ง สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ชื่อ ชาติภูมิ

นายประทุม พันธุ์เพ็ง วันอังคารที่ ๒๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ ตาบลสามตุ่ม อาเภอเสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อายุ ๗๔ ปี หน้าที่ปัจจุบัน ข้าราชการครูบานาญ

สังเขปผลงาน  พ.ศ.๒๕๒๕ แต่งเพลงสื่อการเรียนการสอน เพลงอาหาร ๕ หมู่ และเพลงวีรกษัตริย์ไทย ส่งเข้าประกวด เพลงสาหรับเด็ก จนได้รับรางวัล  พ.ศ.๒๕๒๘ แต่งเพลงเร่งคุณภาพการศึกษาชื่อเพลง ตั้งใจเรียน โดยใช้ทานองเพลงสาวเครือฟูา ฝึกสอน ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ และปีที่ ๖ จนได้รับรางวัล  พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้รับเกียรติบัตรจากคุรุสภาอันแสดงว่า เป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการผลิต และใช้ ชื่อการเรียนการสอน สร้างคุณประโยชน์ด้านการศึกษาให้แก่ประเทศชาติ เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติคุณ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๔๐ รางวัลชมเชย ประเภท ประถมศึกษาชื่อผลงาน “เกมส่งเสริมศัพท์”  ประพันธ์กลอนดอกสร้อยคาพังเพย จานวน ๑๓๐ เรื่อง  แต่งหนังสือ ๑ เล่มชื่อ “ปราชญ์กวีศรีสยาม” เป็นการยกย่องกวีไทย  รวบรวมบทความร้อยกรอง จัดเป็นรูปเล่มหนังสือชื่อ “ปกิณกะคากานท์”  ประพันธ์และรวมรวม เพลงส่งเสริมการศึกษา

สถานที่ติดต่อ  บ้านเลขที่ ๑๖ หมู่ ๕ ตาบลวัดตะกู อาเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๒๕๐ โทรศัพท์ ๐๘-๑๗๕๙-๓๓๙๐


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๓๕


๓๖ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

นางลาพูน พรรณไวย สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ชื่อ ชาติภูมิ

นางลาพูน พรรณไวย วันอาทิตย์ที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ตาบลเกาะเกิด อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อายุ ๖๔ ปี หน้าที่ปัจจุบัน ประธานกลุ่มสตรีสหกรณ์สมุนไพรอายุวัฒนะ

สังเขปผลงาน  ส่ง เสริมการตั้งกลุ่มสัจจะการออม กลุ่มละเลิกอบายมุขไม่เล่นหวย ไม่เล่นการพนัน ส่ง เสริมให้มีการ ปลูกผักเพื่อกินและขยายเป็นการขายเมื่อเหลือกิน การส่งเสริมเช่นนี้ทาให้ราษฎรมีการรวมตัวกันทา กิจกรรมเพื่อลดและปลดหนี้สิน ทาให้ราษฎรเหล่านี้สามารถดารงชีพและร่วมแรงร่วมใจกันสร้างพื้นที่ บ้านท้ายวัดตาบลเกาะเกิดให้เป็น ชุมชนเข้มแข็งสืบมาจนปัจจุบัน  การพัฒนายาเม็ดลูกกลอนสมุนไพร ศึกษาเรียนรู้ต่อยอดจากตารายาของบรรพบุรุษที่มีอยู่เดิม นามาผนวก กับการบริหารจัดการองค์กรคือกลุ่มอาชีพผลิตยาเม็ดลูกกลอนสมุนไพรให้ถูกต้องตามพระราชบัญ ญัติ ตารับยา ที่ผ่านกระบวนการทดสอบด้านสรรพคุณและด้านกระบวนการผลิตซึ่งปัจจุบันสามารถปั้นเป็น ลูกกลอนและอบแห้งเม็ดยาโดยใช้พลังงานทดแทน บรรจุและผนึกในซองพลาสติกและบรรจุขวดอีกชั้น ทาให้ตัวยาปลอดเชื้อจนได้รับทะเบียนการค้าเลขที่ ค.๑๖๑๕๑๒ และพัฒนาต่อยอดด้านมาตรฐานสินค้า ยาสมุนไพร แผนโบราณจนได้รับ มาตรฐานสินค้าสหกรณ์ (สมส.) จากกรมส่ง เสริมสหกรณ์ มาตรฐาน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน และได้ รั บ การรั บ รองจากส านั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ปั จ จุ บั น ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้รับความนิยมจากผู้บริโภคอย่างแพร่หลายสามารถ สร้างรายได้ให้กลุ่มไม่ต่า กว่า ๑๓๐,๐๐๐ บาทต่อเดือน  รวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มโฮมสเตย์เกาะเกิด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จนถึงปัจจุบัน ผลงานจากการรวมกลุ่มจัดทา ที่พักบ้านสวนริมน้า เรือนาเที่ยว รถนาเที่ยวโบราณสถาน และนวดแผนโบราณ กลุ่มภูมิปัญญาไทย หลากหลาย การใช้พลังงานทดแทน และองค์ความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๓๗


๓๘ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

 โครงการบ้านแก้วในสวน ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการจัดบ้านพักของชาวบ้านธรรมดาที่มี พื้นที่ไม่มากนักให้เป็นบ้านสวนตัวอย่างที่ดาเนินตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ต่อมาถือเป็นศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งระดั บ จั ง หวั ด และเป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ข องของสาขาวิ ช าเกษตรและสหกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช ในหลั ก สู ต รปริ ญ ญาเกษตรศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต แขนงวิ ช าส่ ง เสริ ม การเกษตร  ฟื้นฟูการผลิตข้าวยาคู ศึกษาค้นคว้าเรื่องข้าวยาคูจากการสอบถามผู้รู้และเอกสารที่กล่าวถึงข้าวยาคู ทาให้ ทราบว่าข้าวยาคูเป็นอาหารเสริมสุขภาพมาแต่ก่อนพุทธกาล ด้วยแนวคิดดังกล่าวว่าว่าข้าวยาคูเป็นอาหาร ที่มีคุณภาพ และมีคุณค่าทางวัฒนธรรม แต่ก็เป็นอาหารที่หาวัตถุดิบได้ค่อนข้างยากสาหรับคนทั่วไปเป็น แนวคิดที่จะทาให้ข้าวยาคูหาเป็นอาหารที่ซื้อหารับประทานได้ง่ายขึ้น จากปัจจัยของอาเภอบางปะอินเป็น พื้นที่ทานาให้ผลผลิตดี ชาวนาส่วนใหญ่มีที่นาเป็นของตนเอง จึงได้ชักชวนให้เพื่อนบ้านตั้งกลุ่มสร้างอาชีพ เสริมโดยการทาข้าวยาคูจาหน่ายเป็นสินค้าประเภทแรกที่ถือเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนเกาะเกิด เป็นที่รู้จัก มาต่อเนื่องยาวนาน

สถานที่ติดต่อ  บ้านเลขที่ ๑๓/๑ หมู่ ๕ ตาบลเกาะเกิด อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๘-๑๘๕๑-๖๖๓๒ ,(๐๓๕) ๒๖๒-๘๑๕


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๓๙

นางสาวบุญสมหญิง พลเมืองดี สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ชื่อ ชาติภูมิ อายุ หน้าที่ปัจจุบัน

นางสาวบุญสมหญิง พลเมืองดี วันพฤหัสบดีที่ ๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๕๒ ปี รองคณบดีฝุายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

สังเขปผลงาน  หัวหน้าโครงการ พัฒนาท่องเที่ยวโฮมสเตย์ไทยรางจระเข้ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุนวิจัย งบประมาณปีพ.ศ.๒๕๔๙ เครือข่ายวิจัยภาคกลางตอนบน  หัวหน้าโครงการ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งท่องท่องเที่ยว อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุนวิจัยงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๐ เครือข่ายวิจัยภาคกลางตอนบน  หัวหน้าโครงการศึกษาภูมิปัญญาวิถีชีวิตไทย : กรณีศึกษาคาขวัญจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุน วิจัยงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๑ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ  หัวหน้าโครงการ การศึกษาคาขวัญตาบลหันตรา อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุนวิจัยงบประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๒ องค์การบริหารส่วนตาบลหันตรา  หัวหน้าโครงการ ศึกษาการมีส่วนร่วมพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว ตาบลบ้านเกาะ – ตาบลหันตรา อาเภอ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ทุ น อุ ด หนุ น วิ จั ย งบประมาณ ปี พ .ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ  หั ว หน้ า โครงการ ศึ ก ษาการเขี ย นค าขวั ญ ต าบลบ้ า นเกาะ อ าเภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุนกองทุนวิจัยงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ  หัวหน้าโครงการ ศึกษามรดกภูมิปัญญาคาขวัญ ๑๖ อาเภอ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุน กองทุนวิจัยงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ  หัว หน้ าโครงการ ศึก ษาแนวทางการอนุรั กษ์ บ ทเพลงเกี่ ยวกับ เห็ น ในเชิ ง สร้า งสรรค์ ทุ น อุด หนุ นวิ จั ย งบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ  หัวหน้าโครงการ ศึกษาภูมิปัญญาไทยที่ปรากฏในบทเพลงอยุธยา ทุนอุดหนุนกองทุนวิจัยงบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ


๔๐ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๔๑

 หัวหน้าโครงการ การศึกษามรดกวัฒนธรรมเพลงเรือสู่กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ทุนอุดหนุน วิจัยงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ  หั ว หน้ า โครงการ รู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนสามเรื อ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ทุนอุดหนุนวิจัยจาก สกว. งบประมาณปีพ.ศ.๒๕๕๘  เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ รายการสาระน่ารู้เรื่องไทย ๆ โดยเสวนากับวิทยากรรับเชิญ ออกอากาศ ทางสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไกลกังวล ทุกวันจันทร์ เวลา ๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น.  เป็ นผู้ จั ดรายการให้ ความรู้ รายการทั ศนาสุ วรรณภู มิ โดยเสวนากั บวิ ทยากรรั บเชิ ญ ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไกลกังวล ทุกวันเสาร์ เวลา ๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. ทั้งหมด ๑๕ ตอน ปีพ.ศ. ๒๕๕๒  เป็นผู้จัดรายการให้ความรู้ รายการคติชนวิทยา โดยเสวนากับวิทยากรรับเชิญ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์เพื่อ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไกลกังวล ทุกวันพฤหัสบดี เวลา ๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. ทั้งหมด ๑๕ ตอน ปีพ.ศ. ๒๕๕๓

สถานที่ติดต่อ  บ้านเลขที่ ๑๐๘ หมู่ ๙ ตาบลบ้านกุ่ม อาเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๒๕๐ โทรศัพท์ ๐๘-๑๙๔๘-๙๑๑๘ Email : yingyudya@hotmail.com


๔๒ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๔๓

ทาเนียบบุคคลผู้มีผลงานดีเด่น ทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ”


๔๔ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๑ ประจาปี ๒๕๔๗ ๑. นายสาราญ ๒. นางโกสี ๓. นายพิมพ์ ๔. นางสาวเพลินตา ๕. นายคเณษ

เกิดผล กระจ่างโชติ เกิดทรง โมสกุล พาลีขา

๖. นางรุ่งนภา

ชาวเรือ

๗. นางสมหมาย

มีศรีเรือง

๘. นายธนกฤต มีสมบัติ ๙. นายนรินทร์ ชูผลา ๑๐. นายประสาน เสถียรพันธ์ ๑๑. นายไพฑูรย์ ขาวมาลา ๑๒. พระพิพฒ ั น์วราภรณ์ (แวว กตสาโร) ๑๓. นายพจน์ พูลสวัสดิ์ ๑๔. นายปัญญา น้าเพชร ๑๕. นายสุธรรม ชาตะสิงห์

สาขาศิลปกรรม (การดนตรี) สาขาศิลปกรรม (การละคร) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ (งานผ้าและวัสดุต่างๆ) สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ (ศิลปะประดิษฐ์) สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ (ศิลปะประดิษฐ์) สาขากีฬาและนันทนาการ สาขากีฬาและนันทนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๔๕

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๒ ประจาปี ๒๕๔๘ ๑. นายสมจิตต์ สุขมะโน ๒. นายชลอ สุขีลักษณ์ ๓. นายจาเนียร บุญประกอบ ๔. นางทองเปลว ม่วงหวาน ๕. นายเฉลิม ไวปรีชี ๖. นายการีม พัฒนา ๗. นางอารมณ์ สุภาพเนตร ๘. นายโกศล ขาวสาลี ๙. พระครูประโชติธรรมวิจิตร (เพิ่ม อตตฺทีโป) ๑๐. นายผดุง สุวานิช ๑๑. นายบารุง อร่ามเรือง ๑๒. นายปรีชา ประสพผล ๑๓. นายสิทธิพงษ์ พงษ์สุข

สาขาศิลปกรรม (สาขาสถาปัตยกรรมไทย) สาขาศิลปกรรม (การดนตรี) สาขาศิลปกรรม (นาฏศิลป์) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขากีฬาและนันทนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


๔๖ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๓ ประจาปี ๒๕๔๙ ๑. นายสวง ๒. นายสวัสดิ์

ศรีผ่อง สุนิมิตร

สาขาศิลปกรรม (การดนตรีและการแสดง) สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๔ ประจาปี ๒๕๕๐ ๑. นางจิระพันธุ์ พิมพ์พันธุ์ ๒. ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ๓. พระมหาเชิดชัย กตปุญฺโญ (อุดมสิทธิโชติ) ๔. นายสวัสดิ์ สุขีสาร ๕. นายไพศาล วงษ์ศิริ ๖. ผศ.ส้าง พรศรี ๗. นางจาลอง ภาคสัญไชย ๘. นายธีรพงศ์ ทับอินทร์ ๙. นางสาวธาริณี อมรธีรเวช

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาศิลปกรรม (ทัศนศิลป์) สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๔๗

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๕ ประจาปี ๒๕๕๑ ๑. พระปริยัติวิธานโกศล (เกณฑ์ ชวนปญฺโญ) ๒. นายชาลี เส้นขาว ๓. นายวิเชียร เกิดผล ๔. นายสุนทร แสงสุกใส ๕. นายจาลอง เอี่ยมละเอียด ๖. นายกมล บุญเขต ๗. นายวรากร มลฑาทิพย์ ๘. นางสาวเสาวรส กิจชล

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาศิลปกรรม (ดนตรีไทย) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาศิลปกรรม (นาฏศิลป์ไทย) สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


๔๘ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๖ ประจาปี ๒๕๕๒ ๑. นายอรุณ ๒. นายสวย ๓. นางแก้วใจ ๔. นายพิพัฒน์ ๕. รศ.อมรา ๖. นายพลกุล ๗. นายลายทองเหรียญ ๘. นายทวีศักดิ์ ๙. นายวีระยุทธ ๑๐. นางสาวสุภาพร ๑๑. นายสมบัติ

พุ่มไสว สิริปริญญา บุญประกอบ รื่นสาด กล่าเจริญ หอมยก มีพันธุ์ รักดนตรี ฤกษ์เกษม สะอาด ปิ่นขยัน

สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (นาฏศิลป์ไทย) สาขาศิลปกรรม (ดนตรีไทย) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๔๙

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๗ ประจาปี ๒๕๕๓ ๑. พระครูสุทธิปัญญาโสภณ ๒. นางสมทรง พันธ์เจริญวรกุล ๓. นางเกลียว เสร็จกิจ ๔. นางศรีนวล ขาอาจ ๕. นายล้วน ดนตรี ๖. นายกาจัด ศิริ ๗. นายประวิทย์ อรรถวิเวก ๘. นายเฉลิม อภิวาท ๙. นายเจียม แก้วเจริญ

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาศิลปกรรม (คีตศิลป์ไทย) สาขาศิลปกรรม (คีตศิลป์ไทย) สาขาศิลปกรรม (ดนตรีไทย) สาขาศิลปกรรม (สถาปัตยกรรมไทย) สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม


๕๐ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๘ ประจาปี ๒๕๕๔ ๑. นางกิ่งแก้ว ๒. นายวิสิทธิ์ ๓. นางระยอง ๔. นางอวยพร ๕. นายกิตติ ๖. นายสวาท ๗. พล.ร.อ.ปรีชา ๘. นายสุจริต ๙. รศ.วนิช

ชินะกุล กระจ่างวี แก้วสิทธิ์ สัมมาพะธะ สุภิสิงห์ พลายแก้ว เตชรัตน์ บัวพิมพ์ สุธารัตน์

สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๕๑

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๙ ประจาปี ๒๕๕๕ ๑. หม่อมหลวงพันธ์สวัสดิ์ ๒. นางราพึง ๓. ผศ.เรี่ยม ๔. ผศ.จินดา ๕. นางจันทนา ๖. นายธาราวุฒิ ๗. ผศ.ศรีเวียง ๘. นางอนงค์นาฏ ๙. นายณรงค์ ๑๐. พระครูสังฆรักษ์ปญ ั ญาพล ๑๑. หม่อมหลวงพงษ์สวัสดิ์ ๑๒. นายพานิช

ศุขสวัสดิ ชลพลัง ศรีทองเพชร นัยผ่องศรี ภู่เจริญ จุลวงศ์ ไตชิละสุนทร รัตน์ศิริจันทร์ คุ้มมณี ปญฺญาพโล ศุขสวัสดิ ศรีงาม

สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ) สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาคหกรรมศาสตร์และโภชนาการ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


๕๒ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๑๐ ประจาปี ๒๕๕๖ ๑. ดร.วิทยา ๒. นายเลิศ ๓. นายพเยาว์ ๔. นางสาวเฉลียว ๕. ผศ.พันทิพา ๖. นางอัมรา ๗. นายจาลอง ๘. ว่าที่ร้อยโท สมชาย

ผิวผ่อง เศรษฐสิทธิ์ เข็มนาค มีแสงเพชร มาลา หันตรา แย้มประดิษฐ์ แก้วเจริญ

สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาศิลปกรรม สาขาศิลปกรรม สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม

ทาเนียบบุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทย ที่ได้รับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๑๑ ประจาปี ๒๕๕๗ ๑. พันจ่าอากาศเอกสุรเดช เดชคง ๒. นายสุวิทย์ ชูชีพ ๓. นายวินัย ยินดีวิทย์ ๔. นางสาวประสงค์ อุ่นเดช ๕. นายดุลย์พิชัย โกมลวานิช ๖. นายชาตรี โสวรรณตระกูล ๗. นางกัลยา มั่งคั่ง

สาขาศิลปกรรม สาขาศิลปกรรม สาขาศิลปกรรม สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๕๓

กิจกรรมวันอนุรักษ์มรดกไทย เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และมอบรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๒ วันพฤหัสบดีที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๓๐ น. ณ อาคาร ๑๐๐ ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เวลา ๐๘.๐๐ น.

เวลา ๐๙.๒๙ น. เวลา ๐๙.๓๐ น. เวลา ๐๙.๓๙ น.

ผู้มีเกียรติ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และผู้เข้าประกวดแข่งขัน ลงทะเบียนหน้าห้องประชุมอาคาร ๑๐๐ ปี - ชมนิทรรศการ “วิศิษฏศิลปิน : เจ้าฟูาผู้ทรงเป็นเอกในศิลปวัฒนธรรมสยาม” เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟูามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากร ปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี และนิทรรศการผลงานของผู้ที่ได้รับรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๒ การบรรเลงวงมโหรีเพลง “ชื่นชุมนุมกลุ่มดนตรี” บทพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้มีเกียรติ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และผู้เข้าประกวดแข่งขัน พร้อมกันบริเวณมณฑลพิธี ห้องประชุมใหญ่อาคาร ๑๐๐ ปี พิธีถวายพระพรชัยมงคล - ดร.เกษม บารุงเวช ถวายพานพุ่มเงิน-พุ่มทอง - รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ถวายพานพุ่มเงิน-พุ่มทอง - นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ถวายพานพุ่มเงิน-พุ่มทอง เปิดกรวยดอกไม้ กล่าวอาศิรวาทสดุดี และกล่าวคาถวายพระพรชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ - ดนตรีไทยบรรเลงเพลงมหาชัย - การแสดงราถวายพระพร - การแสดงศิลปะนาฏดุริยางค์สร้างสรรค์ เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี ผู้บริหาร และผู้มีเกียรติ ลงนามถวายพระพร


๕๔ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

เวลา ๑๐.๐๐ น.

เวลา ๑๐.๓๐ น.

เวลา ๑๓.๐๐ น.

เวลา ๑๖.๐๐ น. เวลา ๑๖.๓๐ น.

เริ่มการประกวดแข่งขัน ณ ระเบียงชั้น ๒ อาคาร ๑๐๐ ปี - แข่งขัน วาดภาพระบายสี ในหัวข้อ “วิศิษฏศิลปิ น : สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการอนุรักษ์มรดกไทย” - ระดับประถมศึกษา ป.๔ - ป.๖ - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ม.๑ - ม.๓ - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ - ม.๖ หรือเทียบเท่า - แข่งขันแต่งคาประพันธ์ร้อยกรอง ในหัวข้อ “วิศิษฏศิลปิน: สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการอนุรักษ์มรดกไทย” - ระดับมัธยมศึกษา หรือเทียบเท่า - ระดับอุดมศึกษา พิธีมอบรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๒ - กล่าวรายงาน โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา - กล่าวเปิดงาน โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา - ชมวีดีทัศน์ประวัติผลงานผู้ได้รับรางวัลบุษราคัมมณีศรีราชภัฏครั้งที่ ๑๒ - กล่าวคาประกาศเกียรติคุณผู้มีผลงานดีเด่น โดย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา - พิธีมอบรางวัลผู้มีผลงานดีเด่น โดย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เริ่มการประกวดแข่งขัน ณ ห้องประชุมอาคาร ๑๐๐ ปี - ประกวดนาฏลีลาเพลงรากไทย - ประเภททีม - ระดับมัธยมศึกษา หรือเทียบเท่า - ประกวดนาฏลีลาเพลงพระเทพของชาวไทย - ประเภททีม - ระดับประถมศึกษา - ประกวดร้องเพลงพระราชนิพนธ์ “ส้มตา” - ระดับอุดมศึกษา หรือเทียบเท่า ประกาศผลและมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวดแข่งขัน เสร็จสิ้นกิจกรรม

*** หมายเหตุ *** รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม ระหว่างเวลา ๑๐.๑๕ น


สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา I ๕๕

ปรัชญา รอบรู้ เชิดชู สู่สร้างสรรค์ วัฒนธรรมอยุธยา

วิสัยทัศน์ สถาบัน อยุ ธยาศึ กษา เป็น ศูน ย์ข้ อมู ลด้า นวั ฒนธรรมอยุ ธยาที่มี คุณ ภาพเป็น สถาบัน ที่เ ชิด ชู และ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน

พันธกิจ ๑. รวบรวม ศึกษา ค้นคว้า วิจัยและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมอยุธยา ๒. อนุรักษ์ สืบสาน ส่งเสริมและเผยแพร่วัฒนธรรมอยุธยา ๓. ส่งเสริม และสนับสนุนการนาแนวทางพระราชดาริ และข้อมูลทางวัฒนธรรมอยุธยามาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาสังคมปัจจุบันอย่างยั่งยืน

เอกลักษณ์ของสถาบันอยุธยาศึกษา เป็นหน่วยงานที่รอบรู้ และเชิดชูวัฒนธรรมอยุธยา

บทบาทหน้าที่ของสถาบันอยุธยาศึกษา สถาบัน อยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุ ธยา เป็นหน่ วยงานที่ทาหน้าที่ ในการ ดาเนินงานด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเรื่องราวและสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะและ วัฒนธรรม วิถีชี วิตและภูมิปัญญาท้องถิ่ นให้การส่ง เสริมสนับ สนุนในการผลิ ตบัณฑิต การอนุรักษ์ ส่ง เสริ ม เผยแพร่และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้การบริการข้อมูลเกี่ยวกับอยุธยาศึกษา ศิลปะและวัฒนธรรมการละเล่นพื้นเมือง คติชนวิทยา ฯลฯ ของภาคกลางแก่ผู้สนใจทั่วไปทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ


๕๖ I สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.