สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

Page 1


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑

สาร.. สถาบันอยุธยาศึกษา ปที่ ๔ ฉบับที่ ๑ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๖ เจาของ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เว็บไซต www.ayutthayastudies.aru.ac.th วัตถุประสงค ๑. เพื่อประชาสัมพันธกิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษาสูสาธารณชนอยางตอเนื่อง ๒. เพื่อเผยแพรความรูดานอยุธยาศึกษาที่ถูกตองสูสาธารณชน การเผยแพร ปละ ๔ ฉบับ (ราย ๓ เดือน) จํานวนที่พิมพ ๕๐๐ เลม ที่ปรึกษา นายจิรศักดิ์ ชุมวรานนท รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา บรรณาธิการบริหาร ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ผูชวยบรรณาธิการ อาจารยกันยารัตน โกมโลทก อาจารยอุมาภรณ กลาหาญ บรรณาธิการ อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม นายพัฑร แตงพันธ ผูชวยบรรณาธิการ นางสาวสาธิยา ลายพิกุน กองบรรณาธิการ นายปทพงษ ชื่นบุญ นายอายุวัฒน คาผล นางสาวอรอุมา โพธิ์จิ๋ว นางสาวณัฐฐิญา แกวแหวน นางประภาพร แตงพันธ นางสาวสายรุง กล่ําเพชร นางสาวศรีสุวรรณ ชวยโสภา ศิลปกรรม นายพัฑร แตงพันธ พิมพที่ โรงพิมพเทียนวัฒนาพริ้นทติ้ง ๑๖/๗ ถ.เดชาวุธ ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๑-๕๗๘, ๐๓๕-๒๔๓-๓๘๖ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓-๓๙๖ ภาพปก พระราชวังจันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่มา: อรรถดา คอมันตร. (๒๕๕๔). กรุงเกาเมื่อกาลกอน ภาพถาย ๑๐๐ ป พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: สยาม เรเนซองส.


๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ถ อยแถลง สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาเป น สถาบั น ทางวิ ช าการที่ เ ป น หน ว ยงานหนึ่ ง ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ภายใตปรัชญา “รอบรู เชิดชู สูสรางสรรค” เพื่ อให สถาบั น ฯ เป น ศูน ยข อ มูล ทางวัฒ นธรรมอยุ ธ ยาที่มี คุ ณภาพ เป น สถาบั น ฯ ที่เชิดชู และสงเสริมการประยุกตใชขอมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาเพื่อการพัฒนาสังคม อยางยั่งยืน สาร.. สถาบันอยุธยาศึกษาฉบับนี้ ถือเปนฉบับแรกของคณะผูบริหารใหม โดย ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ผูอํานวยการสถาบันฯ ไดมีนโยบาย และแนวทางในการ พั ฒ นาสถาบั น ฯ ให มี ค วามเป น เลิ ศ ทางวิ ช าการ และการเป น ศู น ย ก ลางการจั ด กิจกรรม ทางวัฒนธรรมทั้งในระดับทองถิ่น และระดับชาติ สาร .. สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาฉบั บ นี้ มุ ง เน นข อ มู ล ที่ เกี่ ย วข อ งกั บ พระนครศรีอยุธยา ในชวงสมัย “มณฑลกรุงเกา” อันเปนรอยตอสําคัญระหวางสมัย ราชธานี สูการเปนจัง หวัดพระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน ซึ่ง เชื่อวาจะนําไปสูความ เขาใจในความเปนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปจจุบันไดอยางกวางขวาง


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓

สารบัญ หนา ถอยแถลง

จากธุลีกรุงศรีอยุธยา สูเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา

ยานบานชองชาวกรุงเกา หลังสมัยราชธานี

๑๒

ฟนวังจันทรเกษม ดังฟน ชีวาราชธานี

๑๙

กรุงเกา: ศูนยกลางการปกครองแหงมณฑล

๒๓

“ยานตลาด” ภาพบันทึกวิถีชาวกรุงเกา ในจิตรกรรมฝาผนังวัดเชิงทา จ.พระนครศรีอยุธยา

๒๗

ภาพเกาเลาอดีต

๓๑

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา

๓๒

อยุธยาศึกษาปริทัศน

๓๕

รอบรั้วเรือนไทย

๓๘

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗

๔๐


๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จากธุลกี รุงศรีอยุธยาสู เทศาภิบาลมณฑลกรุงเก า* 0

พัฑร แตงพันธ* * 1

ภายหลั ง สงครามเสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา พ.ศ.๒๓๑๐ เป น ต น มา ใช ว า เมื อ ง พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจะรกร า งไปเสี ย สิ้ น หากแต ค อ ย ๆ ฟ น ตัว อี ก ครั้ ง อย า งช า ๆ และตอเนื่อง แมมิไดมีสถานะเปนราชธานีดังเดิมอีกตอไป แตก็ยังไดรับการขนานนาม จากราชสํ านัก แห ง กรุง รั ตนโกสินทรว า “กรุ ง เกา ” และยัง ไดรั บการอุปถั มภ ค้ํา ชู บวรพระพุ ท ธศาสนา และบู ร ณะสถานที่ สํ า คั ญ ที่ มี นั ย ทางการปกครองอย า ง พระราชวัง ต าง ๆ ในฐานะที่ เป น อนุ ส รณ ส ถานแห ง การเป น ราชธานี โบราณของ คนไทย กอปรกั บป จ จัย ทางด านความอุด มสมบู รณ ข องสายน้ํ าและแร ธาตุ ในดิ น ที่อาทรแกการเปน แหลงทํามาหากินของประชาราษฎรที่ดีเยี่ยม เปน สวนสําคัญใน การหนุ น นํ า ให อ ยุ ธ ยาเติ บ โตกลายเป น ชุ ม ชนขนาบน้ํ า ขนาดใหญ ที่ มี ศั ก ยภาพ และศักดิ์ศรีเพียบพรอมแกการถูกเลือกใชเปนเมืองศูนยกลางการปกครองของมณฑล อยุ ธ ยา ใน พ.ศ. ๒๔๓๘ ซึ่ ง กว า ที่ จ ะไปสู จุ ด นั้ น เมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยาได มี พัฒนาการเปนลําดับดังตอไปนี้

* บทความนี้เปนสวนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง ผังเมืองพระนครศรีอยุธยา และภูมิสถานทาง ประวัติศาสตร สมัยมณฑลอยุธยา พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๗๖ ** นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๕

จากธุลีกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานทางประวัติศาสตรหลายชิ้น ทําใหทราบดีวาผลของสงครามเสีย กรุง ศรี อยุธ ยาครั้ง ที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ นั้น ได สรา งความเสี ยหายย อยยั บใหกั บ พระนครกรุงศรีอยุธยาอยางนัก จนไมอาจฟนฟูบานเมืองใหกลับคืนมาเปนราชธานี ดัง เดิมได ดวยสถานที่ตาง ๆ ในพระนคร ทั้ง ปราสาทราชวัง วัด และศาสนสถาน ตาง ๆ รวมทั้งบานเรือนของประชาราษฎร ตางไดรับความเสียหายจากการเผาผลาญ และการลุกลามตอเนื่องของเพลิงสงคราม ที่สง ผลใหชาวเมืองตางหลบหนีเอาชีวิต รอดไปคนละทาง โดยมิอ าจมีผู ใดหลบซ อนตัว อยู ในเมื องได มิ เช นนั้ น ก็ จะถูก ฆ า หรื อ ถู ก กวาดต อ นไปเป น เชลย ดั ง ที่ ป รากฏรายละเอี ย ดต า ง ๆ ในจดหมายเหตุ คณะบาทหลวงฝรั่ง เศสที่เขามาเมื่อครั้ง กรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระเจาเอกทัศน สมั ย กรุ ง ธนบุ รี และช ว งต น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ซึ่ ง ตี พิ ม พ ใ นประชุ ม พงศาวดาร ภ าคที่ ๓ ๙ ๑ ร ว มถึ ง บั น ทึ ก ภาษาดั ตช ว า ด ว ย ก รุ ง ศรี อยุ ธ ย าถู ก ทํ าลา ย โดยผู เ ห็ น เหตุ ก ารณ ข ณะนั้ น ซึ่ ง ตี พิ ม พ ใ นหนั ง สื อ การปฏิ วั ติ ป ลายแผ น ดิ น พระนารายณมหาราชและการลมสลายของกรุงศรีอยุธยา ของกรมศิลปากร ๒ ดังนั้น สภาพโดยทั่วไปของกรุงศรีอยุธยาในชวงหลังสงครามสิ้นสุดลงใหม ๆ คงจะมี ส ภาพไม ต า งจากนครร า ง และเต็ ม ไปด ว ยซากอาคาร บ า นเรื อ น และศาสนสถานที่ไดรับความเสียหายจากเพลิงไหม แตไมนานนักหลังจากที่สงคราม สงบลง ก็ เ ริ่ ม มี ผู ค นกลั บ เข า มาอยู อ าศั ย และทํ า มาหากิ น ในละแวกพระนคร กรุงศรีอยุธยาตามเดิม โดยเฉพาะกลุมคนเชื้อสายไทย และจีน ที่กลับเขามาขุดหา ทรัพยสินมีคาที่เหลืออยูตามวัดตาง ๆ หรือ ทรัพยสมบัติที่ชาวกรุงศรีอยุธยาทอดทิ้ง หรื อซุ ก ซอ นไว ดั ง ปรากฏในจดหมายเหตุ ของบาทหลวงฝรั่ ง เศส ที่ เดิ น ทางมายั ง 2

3

หมอมเจาธํารงศิริ,มหาอํามาตยโท. (๒๔๗๐) ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๙ เรื่องจดหมาย เหตุของคณะบาดหลวงฝรั่งเศส ซึ่งเขามาตั้งครัง้ กรุงศรีอยุธยาตอนแผนดินพระเจาเอกทัศ กับครั้ง กรุงธนบุรีแลกรุงรัตนโกสินทรตอนตน. พระนคร: ศรีหงส. ๒ กรมศิลปากร. (๒๕๔๘). การปฏิวัติปลายแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช และการ ลมสลายของกรุงศรีอยุธยา. หนา ๙๐.


๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

กรุงสยามและทองสํารวจไปตามทองที่ตาง ๆ ในอยุธยา เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๒ ซึ่งเปนเวลา ๒ ปหลังจากเสียกรุง ๓ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ลุ ม คนตามหั ว เมื อ งต า งๆ เช น ชาวเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก และชาวเมืองนครราชสีมา ที่พระเจากรุง ธนบุรีไ ดเทครัวพาเขามาอาศัยอยูบริเวณ กรุง ศรีอยุธยาเดิม เพื่อฟนฟูใหเมืองที่ลมสลายกลับมาเปนแหลง ชุมชนเมืองอีกครั้ง แตสภาพของเมืองก็นับวายัง มีผูคนเบาบางอยูมาก และมีโจรผูรายชุกชุมอยูหลาย พื้นที่ ผูคนที่อาศัยอยูในเมือง ณ เวลานั้น ลวนมีสภาพความเปนอยูที่อัตคัดขาดแคลน อาหาร ด ว ยเหตุ ที่ ผู ค นส ว นใหญ เ ป น เชลยที่ พ ระเจ า กรุ ง ธนบุ รี ก วาดต อ นมา จึงไมคุนเคยกับสภาพภูมิประเทศ และการทํามาหาเลี้ยงชีพ ในรัชสมัยพระเจากรุง ธนบุรี เปน ชวงที่บานเมือ งเพิ่ง ผานพนวิกฤตการณ สงคราม วัดวาอารามตาง ๆ ได รับความเสียหายเปนอันมาก และยัง คงถูกทิ้ง รา ง ภายใต ซ ากปรั ก หั ก พั ง ทํ า ให วั ด ไม อ าจเป น ศู น ย ร วมจิ ต ใจของประชาราษฎร ไ ด ซ้ํายัง ถูกผูรายขุดคุยหาสมบัติ และลักทรัพยสิน มีคาภายในวัดอีกดวย ดัง ขอความ ในจดหมายของบาทหลวงฝรั่งเศสวา “บรรดาพระพุทธรูปและพระเจดียซึ่งไดปดทอง กันอยางงดงาม บัดนี้ก็ไดทําลายหักพังเปนผงธุลีไปหมดแลว ตามวัดวาอารามก็รางไป หมด เพราะพวกพระสงฆไดหนีทิ้งวัดไปสิ้น ผาเหลืองเวลานี้ไมใครมีใคร จะนับถือ เหมือนแตกอนแลว และถามีใครขืนครองผาเหลืองในเวลานี้ก็ตองอด” ๔ สะทอนให เห็ น ว า เมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยาในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี นั้ น ตกอยู ใ นสภาพที่ เ รี ย กได ว า “บานแตกสาแหรกขาด” และปราศจากที่พึ่งทางจิตใจ จึงเปนโอกาสใหบาทหลวง ฝรั่งเศสไดเขาไปใหการอุปถัมภดานอาหารและการรักษาโรค ทําหนาที่เปนที่พึงทาง จิตใจของผูคนแทน โดยมีการชักชวนใหผูคนเขารีตนับถือคริสตศาสนาเปนการใหญ 4

๓ ๔

ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๙. (๒๔๗๐). หนา ๗๑. แหลงเดิม. หนา ๗๘-๗๙.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๗

ระยะนี้อยุธ ยา ถู กลดฐานะจากเมื องหลวง ลงมาเปนเมื องชั้น จัตวา ซึ่ง มี บทบาทสําคัญในการเปนแหลงผลิตขาวสําหรับเลี้ยงชาวเมืองหลวง และเก็บสํารองไว เปนเสบียงในภาวะสงคราม โดยพระเจากรุงธนบุรี ไดทรงแตงตั้งใหพระยาอินทรอภัย เปนผูรักษาเมือง ๕ 6

สภาพเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา จากหอพิสัยศัลลักษณ พระราชวังจันทรเกษม เมื่อประมาณกอน พ.ศ.๒๔๔๐ ที่มา: ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๖๙.

ก อร างสร างเมือง เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร เปนราชธานีแหงใหม อยุธยาก็ยังคงมีฐานะเปนเมืองชั้นจัตวาตามเดิม โดยมีพระยา วิชิตสิทธิสงครามเปนผูรักษาเมือง ๕

เกื้อกูล ยืนยงอนันต. (๒๕๒๗). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๕๐๐. หนา ๘.


๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ในรั ช กาลนี้ มี ก ารบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ พ ระอารามให มี พ ระสงฆ ม าจํ า พรรษา ทั้งในและนอกเกาะเมือง ประกอบดวยพระอาราม ๕ แหง คือ วัดโลกสุธาศาลาปูน วัดสุวรรณดาราม วัดพนัญเชิง วัดตูม วัดศาสดาราม และยังไดมีการถวายผาพระกฐิน แกพระอารามหลวงในเมืองกรุงเกาเปนประจําทุกปจนกลายเปนธรรมเนียมปฏิบัติ สืบตอมา ๖ การบู ร ณะวั ด วาอารามในเมื อ งกรุ ง เก า นี้ เ ป น การฟ น ฟู พ ระพุ ท ธศาสนา ใหกลับมาเปนสถาบันหลักของทองถิ่น เพราะสังคมไทยเปนสังคมชาวพุทธซึ่งตองมี วัดเปนศูนยรวมทางจิตใจและเปนที่พึ่งพิงของประชาชน เพื่อรักษาเอกภาพของสังคม ใหเปนอันหนึ่ง อัน เดียว หลัง จากที่กอนหนานี้วัดและพระพุทธศาสนาในอยุธยาได เสื่อมถอยไป ภายหลังสงครามเสียกรุงฯ พ.ศ.๒๓๑๐ การบูรณะพระอารามหลวงในกรุง เก าเหลานี้ อาจมีนัย ทางการเมืองการ ปกครองด ว ย คื อ การอาศั ย วั ด เป น พื้ น ที่ ตั ว กลางในการติ ด ต อ ระหว า งรั ฐ กั บ ผูถูกปกครอง เนื่องจากวัดหลวงมีความเชื่อมโยงกับระบบเลกไพรในสังคมกึ่งศักดินา คือวัดหลวงไดรับไพรจากรัฐที่เ รียกวา เลกวัด เป น วิธีห นึ่ง ที่จ ะรวบรวมเลกไพร ที่ กระจัดกระจายเขามาอยูในระบบได ๗ สําหรับบรรยากาศโดยทั่วไปในเกาะเมืองกรุงเกาในระยะนี้ คงมีสภาพรกราง อยูมาก ดังที่สุนทรภู ไดพรรณนาถึงสภาพของอยุธยาหลังเสียกรุง ในนิราศพระบาท เมื่ อ ราว พ.ศ. ๒๓๕๐ ซึ่ ง ตรงกั บ ปลายรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) หรือหลังเสียกรุงแลวประมาณ ๔๐ ป มีใจความตอนหนึ่งวา 7

8

กรมศิลปากร. (๒๕๕๒). แนวพระราชดําริในการเสด็จประพาสในพระบาทสมเด็จพระ จอมเกลาเจาอยูหัว. หนา ๒๖-๒๗. ๗ วรสิทธิ์ ตันตินิพันธุกุล. (๒๕๕๒). การเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการสราง และ บูรณะปฏิสงั ขรณวัดหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจนถึงปจจุบัน: ขอ ขัดแยงในการอนุรักษโบราณสถานและวัฒนธรรมแบบชาตินิยม. ใน ประวัติศาสตรในมิติ วัฒนธรรมศึกษา. หนา ๒๒๓.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๙

...ถึงคลองสระปทุมานาวาราย ทั้งวังหลวงวังหลังก็รั้งรก ดูปราสาทราชวังเปนรังกา

นาใจหายเห็นศรีอยุธยา เห็นนกหกซอแซบนพฤกษา ดังปาชาพงชัฏสงัดคนฯ

อย า งไรก็ ดี ใ นวรรณกรรมชุ ด นี้ ก็ ยั ง ได ใ ห ข อ มู ล ของชุ ม ชนชาวอยุ ธ ยา ที่เริ่มกลับเขามาอาศัยจนกลายเปนชุมชนบางแลว อยางชุมชนชาวมุสลิมในละแวก คลองตะเคียน ซึ่งเปนคลองลัดแมน้ําที่อยูทางใตของเกาะเมืองวา ระยะยานบานชองในคลองมา ดูหนาตาก็ไมนาจะชมชื่น ที่เพื่อนเรารองหยอกมันออกอึง

...เขาในคลองตะเคียนใหโหยหา ลวนภาษาพวกแขกตะนีอึง พี่แข็งขืนอารมณทํากมขึง จนเรือถึงปากชองคลองตะเคียน...

กวี บ ทนี้ เ ป น ตั ว อย า งที่ ช ว ยให ท ราบข อ มู ล ว า ในช ว งหลั ง เสี ย กรุ ง ไปแล ว ประมาณ ๔๐ ป ไดมีผูคนกลับเขามาอาศัยอยูในละแวกเกาะเมืองกรุงเกาบางแลว เช น กลุ ม แขกตานี ที่ ก ลั บ เข า มาอาศั ย อยู ต ามถิ่ น ฐานที่ เ คยอาศั ย มาเมื่ อ ครั้ ง ที่ กรุงศรีอยุธยาเปนราชการธานีอีกครั้ง ชุมชนเมืองกรุ ง เกา เปน ชุ มชนริม ลําน้ํา ที่คอย ๆ เติบ โตขึ้น อยางต อเนื่อ ง จากภูมิประเทศที่อํานวยตอการทํามาหาเลี้ยงชีพของราษฎร เนื่องจากเปนที่ราบลุม ประกอบดว ยลํา น้ํานอ ยใหญ หลายสาย ไหลมาบรรจบกัน บริ เวณตัวเมื องกรุ ง เก า ทําใหยานนี้เปนเสนทางคมนาคมที่สําคัญของประเทศ ที่สามารถสัญจรผานขึ้นไปทาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือได เปนแหลงพบปะคาขาย ทั้งภายในเมือง และระหวางเมือง โดยมีตลาดแหงใหญตั้งอยูในยานหัวรอ ด ว ยสภาพภู มิ ป ระเทศที่ เ อื้ อ อํ า นวยเช น นี้ บริ เ วณกรุ ง เก า จึ ง เป น ชั ย ภู มิ ที่เหมาะแกการตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัย และทํามาหากิน อันเปนปจจัยประการหนึ่ง ที่ สงเสริมใหเมืองอยุธยา ฟนตัวจากภาวะสงครามจนกลายเปนแหลงชุมชนของผูคนได อีกครั้งหนึ่ง


๑๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ยานที่อยูอาศัยของชาวกรุงเกาในคลองเมืองอยุธยา ที่มา: คลองเมืองอยุธยา. (๒๕๕๓). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

สู เทศาภิบาลมณฑลกรุงเก า ศู น ย ก ลางของชุ ม ชนเมื อ งกรุ ง เก า เริ่ ม มี ห ลั ก มี ฐ านชั ด เจนขึ้ น เมื่ อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔) ทรงเสด็จประพาสกรุง เก า และโปรดฯ ใหมีการสถาปนาพระราชวัง จันทรเกษมขึ้นเปนที่ประทับแรมสําหรับ เสด็จแปรพระราชฐาน โดยมีพระบรมราชโองการฯ ใหเจาเมืองกรุงเกายายจวนจาก บริ เ วณคลองเมื อ ง มาอยู ท างด า นตะวั น ออกของเกาะเมื อ ง เพื่ อ ดู แ ลรั ก ษา ความปลอดภัยแกพระราชวัง อันสงผลให ดานตะวันออกของเกาะเมืองอันเปนที่ตั้ง ชุ ม ชนและย า นการค า ที่ สํ า คั ญ อย า งตลาดหั ว รอ กลายเป น ย า นสถานที่ สํ า คั ญ ทางราชการ ที่เปรียบดังการคืนชีวิตและศักดิ์ศรีความเปนราชธานีใหแกอยุธยาอีกครั้ง หนึ่ง เปนดังการลงเสาเอกแหงเมืองกรุงเกา ที่กอรางจาก เถาธุลีแหง กรุงศรีอยุธยา จนกลายเปนชุมชนเมืองขึ้นมาอีกครั้ง และพรอมที่จะผงาดขึ้นมาเปนเมืองศูนยกลาง แหงการปกครองของมณฑลกรุงเกา ในระยะเวลาตอจากนี้ไป


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๑

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๔๘). การปฏิวัติปลายแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช และการลมสลายของกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมฯ. ________. (๒๕๕๒). แนวพระราชดําริในการเสด็จประพาสในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว. กรุงเทพฯ: กรมฯ. เกื้ อ กู ล ยื น ยงอนั น ต . (๒๕๒๗). ความเปลี่ ย นแปลงภายในเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. พระนครศรีอยุธยา: วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๙. (๒๔๗๐). กรุงเทพฯ: ศรีหงส. วรสิ ท ธิ์ ตั น ติ นิ พั น ธุ กุ ล . (๒๕๕๒). การเปลี่ ย นแปลงแนวคิ ด ในการสร า ง และ บูรณะปฏิสัง ขรณวัดหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล า เจ า อยู หั ว จนถึ ง ป จ จุ บั น : ข อ ขั ด แย ง ในการอนุ รั ก ษ โ บราณสถานและ วัฒ นธรรมแบบชาตินิยม. ใน ประวัติศาสตรใ นมิติวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร หมอมเจาธํารงศิริ,มหาอํามาตยโท. (๒๔๗๐) ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๙ เรื่อ ง จดหมายเหตุ ข องคณะบาดหลวงฝรั่ ง เศส ซึ่ ง เข า มาตั้ ง ครั้ ง กรุ ง ศรี อยุ ธ ยาตอนแผ น ดิ น พระเจ า เอกทั ศ กั บ ครั้ ง กรุ ง ธนบุ รี แ ลกรุ ง รัตนโกสินทรตอนตน. พระนคร: ศรีหงส.


๑๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ย านบ านช องชาวกรุงเก า หลังสมัยราชธานี พัฑร แตงพันธ * 9

สถานการณบานเมืองในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร นับวาคอนขางมีความเปน ป ก แผ น มั่ น คงมากขึ้ น กว า ในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี ผู ค นที่ เ หลื อ รอดจากภั ย สงคราม และความอดอยากขาดแคลนตามถิ่ น ฐานต า ง ๆ ได เ ข า มาตั้ ง ถิ่ น ที่ อ ยู อ าศั ย ตาม ริมลําน้ํารอบๆเกาะเมืองอยุธยาบางแลว บานเรือนของผูคนตั้งเรียงรายตามลําน้ํา และต อ เนื่อ งไปอี กในระยะทางไม ไ กลจากเกาะเมื องมากนั ก ประกอบด ว ยผู ค น หลากหลายเชื้อชาติอาศัยรวมกัน ไดแก คนสยาม(ไทย) จีน ลาว และ มลายู มอญ เวียดนาม * ในสมั ย นี้ มีบ รรดานัก ทั ศ นาจรชาวต างชาติ เดิ น ทางสํา รวจไปตามลํ า น้ํ า ผ า นเกาะเมื อ งกรุ ง เก า ขึ้ น ไปยั ง หั ว เมื อ งต า ง ๆ บ า งมี ก ารจดบั น ทึ ก สภาพของ บานเมือง ลักษณะที่อยูอาศัยของผูคนไวพอสมควร นักทัศนาจรบางคนไดถายภาพ ทิวทัศนตาง ๆ ที่พบเห็น บางคนไดคัดลอกภาพลายเสนจากภาพถาย ตามเทคโนโลยี การบั น ทึ ก ภาพในเวลานั้ น ซึ่ ง เป น ประโยชน ต อ การศึ ก ษาสภาพบ า นเรื อ น 10

* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา * ดูใน “เลาเรื่องเมืองไทย” ของปาลเลกัวซ และราชอาณาจักรและราษฎรสยามของ เซอร จอหน เบาวริง


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๓

การตั้งถิ่นฐานของผูคนที่อาศัยอยูในละแวกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาในชวงสมัย ตนกรุงรัตนโกสินทรไดเปนอยางดี คารล บ็อค นักธรรมชาติวิทยาชาวนอรเวย ที่เดินทางสํารวจภูมิศาสตรใน ดินแดนตาง ๆ ของไทย เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๔ ไดกลาวไวในบันทึกการเดินทางของเขาวา “จั ง หวั ด อยุ ธ ยาในป จ จุ บั น พึ่ ง บู ร ณะกั น ใหม เ มื่ อ ๖๐ ป ที่ แ ล ว ต อ งนั่ ง เรื อ ทวน กระแสน้ํ า ที่ ไ หลเชี่ ย วไปราว ๗ ชั่ ว โมงจึ ง จะถึ ง ...” ๘ ถ า เป น ตามที่ คาร ล บ็ อ ค บรรยายไวเมืองพระนครศรีอยุธยานาจะเติบโตเปนชุมชนเมืองใหญมีผูคนอาศัยอยู คับคั่ง ในราวปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หลานภาลัย (รัชกาลที่ ๒) แตกอนหนานั้น ก็คงมีผูคนอาศัยอยูบริเวณเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาเรื่อยมาตั้งแต สมัยกรุงธนบุรีบางแลว ลั ก ษณะการตั้ ง ถิ่ น ฐานของผู ค นที่ อ าศั ย อยู ต ามลํ า น้ํ า เหนื อ กรุ ง เทพฯ ขึ้นไปนั้น เซอรจอหน เบาวริง นักการทูตชาวอังกฤษ ที่เขามาทําสนธิสัญญาทางไมตรี กับสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว สนธิสัญญาอันเปนที่รูจัก ดี คื อ " ส น ธิ สั ญ ญ า เ บ า ว ริ ง ” ไ ด เ ขี ย น ห นั ง สื อ เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ เ ท ศ ส ย า ม เรื่อง The Kingdom and people of siam (ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม) กล า วว า “นั ก เดิ น ทางได ร ายงานไว ว า ทางตอนเหนื อ ของกรุ ง เทพฯ มี เ มื อ ง และหมูบานจํานวนมากเรียงรายตลอดทั้ง ๒ ฟากฝงแมน้ําเจาพระยา และบรรดาที่ ราบที่อยูใกลชิดกันนั้นสวนใหญใชปลูกขาว ในบริเวณตางๆ ที่ตั้งมีการตั้งบานเรือน นั้นราษฎรผสมผสานกัน หลายเชื้อชาติ... ๙ แสดงใหเห็นวาผูคนสมัยนั้นมีวิถีชีวิตที่ พึ่ง พิ ง กั บ สายน้ํ า ในหลาย ๆ ด า น จึ ง เป น เหตุ ใ หผู ค นนิ ย มสร า งเรื อ นอยู ริ มแม น้ํ า เพื่ออาศัยคุณประโยชนตาง ๆ จากลําน้ํา ตั้งแตการทํามาหากินดวยการจับสัตวน้ํามา บริ โ ภคเป น อาหาร รวมทั้ ง การนํ า ไปค า ขายแลกเปลี่ ย น ใช ใ นการอุ ป โภค 1 2

เสถียร พันธรังษี; และ อัมพร ทีขะระ. (๒๕๕๐). ทองถิ่นสยามยุคพระพุทธเจาหลวง. หนา ๖๑. ๙ ชาญวิทย เกษตรศิริ; และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). ราชอาณาจักรและ ราษฎรสยาม. หนา ๔๙.


๑๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

บริโภค นอกจากนี้ยัง สะดวกตอ การคมนาคม ไปมาหาสูกันระหวางบาน หมูบา น และหัวเมืองอื่น ๆ อีกทั้งเปนแหลงพบปะคาขายกันตามจุดนัดหมายตาง ๆ สวนพื้นที่ ที่หางไกลจากลําน้ําซึ่งเปนที่ลุมน้ําทวมถึง ไดถูกใชสําหรับการเพาะปลูก โดยเฉพาะ การปลูกขาวนั้นเปนผลผลิตทางการเกษตรหลักของผูคนในภูมิภาคนี้ ซอมเมอรวิล ล แม กซเวล นักเดินทางชาวตางชาติ ที่เข ามาอยุธยาในสมั ย รัช กาลที่ ๕ ได บั น ทึ กเกี่ ยวกับ วิ ถีชี วิต ความเปน อยูข องผู คนที่อ าศัย อยู ต ามลํา น้ํ า มี ข อ ความตอนหนึ่ ง ว า “...เรื อ นอยู อ าศั ย ส ว นใหญ เ ป น เรื อ นแพที่ ล อยอยู ใ นน้ํ า เนื่ อ งจากชาวสยามเห็ น ว า จะทํ า ให พ วกเขามี สุ ข ภาพดี ก ว า บ า นที่ อ ยู บ นบก” ๑๐ ซึ่งในขณะนั้น ผูคนมีความเชื่อวาการอาศัยอยูบนฝงอยางหนาแนน มีสวนทําใหเกิด การระบาดของอหิวาตกโรคขึ้นได และทางการก็ไดมีการประกาศใหราษฎรยายถิ่น ฐานบานเรือนจากบนบกลงไปอาศัยอยูตามเรือนแพและในเรืออีกดวย ๑๑ ลักษณะเรือนแพที่อยูอาศัยของประชาชน โดยทั่วไปมักจะปลูกสรางดวยไม ไผ แ ละไม ที่ มี น้ํ า หนั ก เบา หลั ง คามุ ง จาก ภายในเรื อ นแพมี ห อ งไม เ กิ น ๒ ห อ ง ดานหนาเรือนแพสวนใหญมักจะเปดโลง และมีระเบียง ๒ ดาน ดานหนึ่ง อยูติดกับ ตัวบาน สวนอีกดานสรางเปนนอกชานไวสําหรับเปนทาขึ้นลงเรือ เรือนแพจะผูกติดไว กับหลักไมไผที่ปกอยูในแมน้ําหรือคลอง นอกจากนี้เรือนแพสามารถเคลื่อนยายไป ตั้งหลักแหลงที่อื่นๆ ตามความประสงคของผูอยูอาศัยได 14

๑๐

ชาญวิทย เกษตรศิริ; และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). ราชอาณาจักรและ ราษฎรสยาม. หนา ๕๑. ๑๑ ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๒๕.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๕

วิถีชีวิตและความเปนอยูชาวสยาม สมัยรัชกาลที่ ๕ ถายโดยซอมเมอรวิลล แมกซเวล ที่มา: ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๒๗.

บริเวณยานตัวเมืองกรุงเกา สมัยรัชกาลที่ ๕ ถายโดยซอมเมอรวิลล แมกซเวล ที่มา: ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๖๓.


๑๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สําหรับที่พระนครศรีอยุธยานั้น ในรั ชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล า เจา อยูหั ว ไดป รากฏรู ปวาดลายเสน เมือ งกรุ ง เกา * ตีพิ มพอ ยูใ นหนั ง สื อพิม พ Le Monde Illustré ของฝรั่งเศส ฉบับวันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๐๕ (ค.ศ.๑๘๖๒) ซึ่งมีคําอธิบายใตภาพกลาวถึง อยุธยาเมืองหลวงเกาของสยาม 1 5

รูปวาดลายเสนเมืองพระนครศรีอยุธยาสมัยรัชกาลที่ ๔ (ตีพิมพ พ.ศ.๒๔๐๕) ที่มา: ไกรฤกษ นานา. (๒๕๕๒). สมุดภาพรัชกาลที่ ๔ วิกฤติและโอกาสของ รัตนโกสินทรในรอบ ๑๕๐ ป. หนา ๙๓. *

ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เริ่มมีรูปวาดลายเสนเกี่ยวกับเมืองไทยหลายภาพที่ชางภาพชาวตะวันตก ใชวิธีการคัดลอกจากภาพถายตนฉบับที่ถายลงบนแผนโลหะหรือแผนกระจก ซึ่งนํามาเขียน ลายเสนใหภาพมีความชัดเจนขึ้น เพื่อนําไปตีพิมพลงในสิ่งพิมพตางๆ รูปวาดลายเสนที่คัดลอก จากภาพถายมีปรากฏในสิ่งพิมพรวมสมัยอยาง Description du Royaume Thai ou Siam (เลาเรื่องเมืองสยามของสังฆราช ปาลเลกัวซ) และ The Kingdom and people of siam (ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม ของ เซอร จอหน เบาวริง) เปนตน ดูเพิ่มเติมใน เอนก นาวิก มูล. (๒๕๓๐). ถายรูปเมืองไทยสมัยแรก. กรุงเทพฯ: แสงแดด.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๗

ในภาพนั้นไดแสดงใหเห็นสภาพการตั้งบานเรือนที่อยูอาศัยไดอยางชัดเจน คือตลอดสองฝงลําน้ําจะมีเรือนแพของราษฎรผูกไวกับหลักไมไผที่ปกอยูริมตลิ่ง เปน แถวยาวติดตอกันไปตามลําน้ํา มีไมไผพาดเปนสะพานขามไปสูแพ ผูคนตางใชเรือเปน พาหนะในการสัญ จร บางก็ใชเรือเปนทั้งที่อยูอาศัยและเปนทั้งพาหนะเดินทาง ใน ละแวกชุมชนริมน้ําจะมีวัดตั้งรวมอยูดวยซึ่ง วัดจะมีบทบาทเปนศูนยรวมจิตใจของ ผูคนในชุมชน นอกจากราษฎรชาวกรุงเกาจะนิยมอยูอาศัยในแพริมแมน้ําเปนสวนมากแลว ยังมีผูคนอีกสวนหนึ่งตั้งบานเรือนอาศัยอยูบนบก รอบ ๆ เกาะเมืองอีกดวย ลักษณะ บานเรือนโดยทั่วไปตามสมัยนิยมมีลักษณะเปนเรือนไมชั้นเดียวมุงจาก ยกพื้นเรือน ขึ้นจากระดับพื้น ดิน ชั้น ลางจึงโลง เปน ใตถุน มีบัน ไดไมไ ผพาดขึ้นตัวเรือน ภายใน เรือนแบงเปนหอง บางเรือนมี ๒ หอง บางมี ๓ หอง ซึ่ง ณ บริเวณกรุงเกา ปรากฏ ขอมูลวามีเรือนไมของราษฎรตั้งอยูริมฝงแมน้ําจํานวนไมนอย ดังปรากฏในจดหมาย เหตุ รัช กาลที่ ๔ จ.ศ.๑๒๒๘ (พ.ศ.๒๔๐๙) เรื่อ งที่ พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล า เจาอยูหัว ทรงพระราชทานที่ดินใหพระไชยวิชิตผูรักษากรุงเกาสําหรับปลูกเรือนอยู หนาวัดฝาง ซึ่งมีเรือนราษฎรอาศัยอยูบริเวณนั้นกอนแลว ในเอกสารดังกลาวทําให ทราบวาลักษณะบานเรือนพื้นถิ่นของผูคนในอยุธยาประกอบดวยเรือน ๓ ลักษณะ คือ เรือนเครื่องสับขนาด ๓ หอง เรือนเครื่องผูกขนาด ๒-๓ หอง และเรือนเสาไมไผ ขนาด ๒ หอง ตั้งอยูรวมกันอยางหนาแนน ๑๒ ดังนั้น ลักษณะบานเรือนของชาวกรุงเกาในระยะนี้ ประกอบไปดวยผูคนที่ อาศัยอยูในเรือ และเรือนแพ กับอีกสวนหนึ่ง ผูกเรือนอาศัยอยูริมสองฟากฝงลําน้ํา ละแวกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ดังที่เซอร จอหน เบาวริง ไดใหขอมูลเกี่ยวกับ สภาพที่อยูอาศัยในละแวกกรุงเกาไว วา ยิ่งไกลออกไปทางดานเหนือของเกาะเมือง อยุธยาเทาไร จํานวนบานเรือนของราษฎรยิ่งเบาบางลงจนหมดสิ้น 16

๑๒

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ จ.ศ.๑๒๒๘ เลขที่ ๑๐๕ เรื่องใหพระยาไชยวิชิตตั้งบานเรือน.


๑๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ยิ่งสะทอ นใหเห็นวา ในชวงตน กรุงรัตนโกสินทร ไดมีผูคนเขามาตั้งถิ่น ฐานอาศัยอยูเปนชุมชนขนาบน้ํารอบ ๆ เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา กระทั่งอดีต ราชธานีที่ลมสลายแหงนี้ ฟนคืนมาเปนแหลงชุมชนเมืองอีกครั้งหนึ่ง

บรรณานุกรม ไกรฤกษ นานา. (๒๕๕๒). สมุ ด ภาพรั ช กาลที่ ๔ วิ ก ฤติ แ ละโอกาสของ รัตนโกสินทรในรอบ ๑๕๐ ป. กรุงเทพฯ: มติชน. คลองเมืองอยุธยา. (๒๕๕๓). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแหงชาติ. จดหมายเหตุ รั ช กาลที่ ๔ จ.ศ.๑๒๒๘ เลขที่ ๑๐๕ เรื่ อ งให พ ระยาไชยวิ ชิ ต ตั้ ง บานเรือน. ชาญวิทย เกษตรศิริ; และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). ราชอาณาจักร และราษฎรสยาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย. ปาลเลอกัวซ, ฌอง แบปติสต, (๒๕๐๖). เลาเรื่อ งเมือ งไทย. แปลโดย สันต ท. โกมลบุตร. พิมพครั้งที่ ๒. พระนคร: กาวหนา. เสถียร พันธรังษี ; และ อัมพร ทีขะระ. (๒๕๕๐). ทอ งถิ่นสยามยุคพระพุทธเจา หลวง. กรุงเทพฯ: มติชน.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๙

ฟ นวังจันทรเกษม ดังฟ นชีวาราชธานี พัฑร แตงพันธ * 17

พระราชวังจันทรเกษม พระนครศรีอยุธยา ที่มา: อรรถดา คอมันตร. (๒๕๕๔). กรุงเกาเมื่อกาลกอน ภาพถาย ๑๐๐ ป พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: สยาม เรเนซองส. พระราชวั ง จั น ทร เ กษม ตั้ ง อยู ท างด า นตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ เกาะเมื อ งกรุ ง เก า เดิ ม คื อ พระราชวั ง บวรสถานมงคล หรื อ วั ง หน า ในสมั ย กรุงศรีอยุธยา อันเปนที่ประทับของอุปราชหลายพระองค นับแตสมเด็จพระนเรศวร เปนตนมา ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยา พระราชวังบวรสถานมงคลไดรับความเสียหาย * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


๒๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

หนั ก และถู ก ทิ้ง ร างเนิ่น นานมา จนเมื่ อพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล าเจ าอยู หั ว โปรดฯ ใหบูรณปฏิสังขรณใหกลับคืนเปนที่ประทับของพระเจาแผนดินตามเดิม พระราชวัง แหง นี้เอง ไดกลายเปนสถานที่สําคัญ อยางยิ่งของเมืองกรุง เกา ดวยในรัชสมัยตอมาสถานที่แหงนี้ถูกใชเปนที่ทําการของมณฑลกรุง เกา และทําให ยานนี้กลายเปนศูน ยกลางแหง ใหมของชุมชนเมืองกรุงเกาไปดวย อันเปน ที่ตั้งของ สถานที่ราชการ สถานศึกษา และเปนยานที่อยูอาศัยเกาแก เปนรากเหงาแทจริงของ ชุมชนเมืองพระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน

ฟ นวังจันทรเกษม ชวงตน กรุ ง รั ตนโกสิ นทรนั้ น เมื องกรุง เก ายั ง ไมมี ศูน ยกลางการปกครอง ที่ชัดเจน ยัง อาศัยจวนเจาเมืองเปนสถานที่วาราชการ และชุมชนเมืองกรุงเกายัง มี ลักษณะกระจายไปตามลําน้ําตางๆ รอบเกาะเมือง จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จพระราชดําเนิน บําเพ็ญพระราชกุศลบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชแหงกรุงศรีอยุธยา ณ พระราชวังเดิม และวัดสุวรรณดารารามที่เมืองกรุงเกา โดยเสด็จทางชลมารคมา ประทับพักแรม ณ พลับพลาที่ปอ มเพชร ก็ทรงมี พระราชดําริจะสรางพระราชวั ง สําหรับเปนที่ประทับแรมบริเวณหลังปอมเพชร อันเปนบริเวณนิวาสสถานเดิมของ พระมหาชนกนาถในราชวงศจักรี และมีพระราชดําริที่จะใหวัดสุวรรณดารารามซึ่งอยู ในบริเวณเดียวกัน เปนพระอารามประจําพระราชวัง แต เ มื่ อ ทรงเสด็ จ ทอดพระเนตรเห็ น พื้ น ที่ พ ระราชวั ง บวรสถานมงคล ทรงพบวาสถานที่นั้นมีระดับพื้นที่สูงกวาบริเวณปอมเพชร จึงทรงเปลี่ยนพระทัยให สร า งพระราชวั ง ขึ้ น ที่ บ ริ เ วณพระราชวั ง บวรสถานมงคลแทน และขนานนามว า “พระราชวังจันทรเกษม” หรือบางครั้งเรียกโดยยอวา “วังจันทรเกษม” พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชประสงคจะสรางให พระราชวั ง จั น ทรเกษมเพื่ อ เป น ที่ ป ระทั บ ในเวลาเสด็ จ มาประพาสเมื อ งกรุ ง เก า ทรงโปรดฯ ใหกรมหลวงวงศาธิราชสนิทเปนแมกอง กรมขุนราชสีหวิกรมเปนนายชาง ในการสรางพระราชวังจันทรเกษม โดยจะสรางพระที่นั่งพิมานรัถยา ที่ยังปรากฏรอย


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๑

รอยปรัก หั ก พัง อยู ขึ้น เป นที่ ป ระทั บ รวมทั้ ง ปฏิ สั ง ขรณ ซากหอสู ง ที่ สัน นิ ษ ฐานว า สร า งขึ้ น ในสมั ย สมเด็ จ พระนารายณ ขึ้ น มาใหม แล ว พระราชทานนามว า พระที่นั่ง พิไสยศัลลักษณ และวางแนวกําแพงเขตพระราชวัง ใหมีบริเวณพอสมควร โดยมีประตูซุม ๔ ประตู นอกจากนั้นยังทรงโปรดฯ ใหปลูกพลับพลาจัตุรมุขเปนที่ประทับ ระหวางที่ ยังสรางพระที่นั่งพิมานรัถยาไมแลวเสร็จ และยังโปรดเกลาใหบูรณะวัดเสนาสนาราม ซึ่งอยูไมไกลจากพระราชวังจันทรเกษมใหเปนพระอารามประจําพระราชวัง พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเสด็จมาประทับที่พระราชวัง จันทรเกษมเปนครั้งคราว แมวาการกอสรางพระที่นั่งพิมานรัถยาจะไมเสร็จสมบูรณ กระทั่งสิ้นรัชกาลก็ตาม

ดังฟ นชีวาราชธานี การปฏิสังขรณพระราชวังบวรสถานมงคลจากซากปรักหักพัง จนฟนขึ้นมา เป น พระราชวั ง จัน ทรเกษมนั้ น เปรี ย บดั่ ง การคื น ลมหายใจให กั บเมื อ งกรุ ง เก า ที่ มลายลงให ก ลั บ คื น มามี ชี วิ ต ชี ว าเหมื อ นเมื่ อ ครั้ ง ที่ เ ป น ราชธานี อี ก ครั้ ง ดั ง ความ ปลาบปลื้มที่ถูกสะทอนในนิราศกรุงเกาของหลวงจักรปาณี ขาราชสํานักชาวกรุงเกาที่ กลาวไวดังนี้ บุญพระจอมเจาหาก ปรุงเปรม สฤษดิวังจันทรเกษม กอสราง สนุกนิปลุกใจเอม อกราษฎร แลพอ เทียรผดุงกรุงมลาง ลมแลวลอยคืน หลวงจักรปาณี (ฤกษ) เปรียญ


๒๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

การที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ได โ ปรดฯ ให บู ร ณะ พระราชวังจันทรเกษมขึ้นใหม ยังเปรียบไดกับ การปกเสาหลักของชุมชนเมือ ง อยุธยาไว ณ พื้นที่แหงนี้ เนื่อ งจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว พระราชวังจันทรเกษมไดถูกปรับใชเปนที่ทําการมณฑลกรุงเกา อันเปน ศูนยกลางทางราชการที่สําคัญในการปกครองทองถิ่นแบบมณฑลเทศาภิบาล ของ มณฑลกรุงเกา ที่จะมีความสําคัญอยางยิ่งตอ การเติบโตของชุมชนเมืองในสมัย มณฑลกรุงเกา และตอ ๆ มานั่นเอง

บรรณานุกรม เกื้ อ กู ล ยื น ยงอนั น ต . (๒๕๒๗). ความเปลี่ ย นแปลงภายในเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. พระนครศรีอยุธยา: วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา โบราณราชธานิ น ทร (พร เดชะคุ ป ต ) , พระยา. (๒๕๒๗). เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ประชุม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เษก เล ม ๕. (๒๕๔๒). กรุ ง เทพฯ: กอง วรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๓

กรุงเก า: ศูนย กลางการปกครองแห งมณฑล พัฑร แตงพันธ * 18

รัชสมัย พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกลา เจ าอยูหัว นั บเปน สมั ยแหง การ ปฏิรูปประเทศใหเจริญ มีความทัน สมัยในทุก ๆ ดาน อยางชาติที่ไ ดชื่อวามีอารยะ หรือที่เรียกทับศัพทกันในขณะนั้นวา “ความศิวิไลซ” มิใชชาติที่ลาหลังและปาเถื่อน อยางที่ชาติมหาอํานาจตะวันตกคอยปรามาส เพื่อหาขออางในการรุกรานอธิปไตย ของชาติ เชนเดียวกับที่กระทําตอประเทศเพื่อนบานของสยามในเวลาเดียวกันนั้น พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจ าอยู หัว ทรงเลื อกระบบการปกครอง ในสวนภูมิภาคแบบเทศาภิบาลมณฑล ซึ่งเปนแบบแผนของการปกครองที่อัง กฤษ กําลังใชในประเทศพมาและมลายูในขณะนั้น นํามาซึ่ง การปฏิรูปการปกครองครั้ง ใหญ ข องสยามใน พ.ศ.๒๔๓๕ และมี ก ารจั ด ระบบการปกครองแบบมณฑล เทศาภิบ าลขึ้น ครั้ ง แรกเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๗ นอกจากจะเป นการปรับปรุง ระบบการ ปกครองให เ ป น ระบบแบบสากลให เ จริ ญ เพื่ อ รอดพ น จากภั ย คุ ก คามของชาติ มหาอํานาจแลว ยังมีความมุงหมายเพื่อสรางเอกภาพทางการปกครองใหกิจการทั้ง ปวงในด า นการปกครองเป น ไปอย า งมี ร ะเบี ย บแบบแผนเป น มาตรฐานเดี ย วกั น

* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


๒๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

และแกปญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของราษฎร รวมทั้งปญหา เกี่ยวกับคดีความตางๆที่คั่งคางมานานอีกดวย ๑๓ การจัด ระบบการปกครองแบบเทศาภิบ าล เปน การปกครองโดยจัด ให มี หนวยบริหารราชการ อันประกอบดวยตําแหนงขาราชการตางพระเนตรพระกรรณ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว และเป น ที่ ไ ว ใ จของรั ฐ บาล แบ ง รั บ ภาระ ของรัฐบาลกลางออกไปปกครองในสวนภูมิภาค เปนการปกครองอาณาประชาราษฎร อย า งใกล ชิ ด เพื่ อ บํ า บั ด ทุ ก ข บํ า รุ ง สุ ข อย า งทั่ ว ถึ ง ในขณะเดี ย วกั น ต อ งให เ กิ ด คุณ ประโยชน แก ป ระเทศชาติด ว ย ซึ่ ง มี ก ารแบง การปกครองเป น ลํ า ดับ ชั้ น ลงมา คือ มณฑล จังหวัด อําเภอ ตําบล และหมูบาน สําหรับการปกครองแบบเทศาภิบาลในมณฑลกรุง เกานั้น ไดจัดตั้ง ขึ้นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๓๘ (ร.ศ.๑๑๔) โดยในระยะแรกไดรวม ๘ หัวเมืองเขาดวยกัน ประกอบดวย กรุง เกา อางทอง สระบุรี ลพบุ รี พระพุทธบาท พรหมบุรี อินทรบุรี และสิง หบุรี ภายหลัง ไดรวมเมืองพระพุทธบาทเขากับเมืองสระบุรี และรวมเมือง พรหมบุ รี อิ น ทร บุ รี เ ข า กั บ เมื อ งสิ ง ห บุ รี ทํ า ให ที่ สุ ด มณฑลกรุ ง เก า ประกอบด ว ย ๕ เมือง คือ กรุงเกา หรือพระนครศรีอยุธยา อางทอง สระบุรี ลพบุรี และสิงหบุรี เมื่อรัฐบาลสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเลือกสรรให เมืองกรุงเกา เปนศูนยกลางการปกครองของมณฑล จึงไดเลือกพระราชวังจันทรเกษม ที่มีการบูรณปฏิสังขรณ คางมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๔ สําหรับใชเปนที่ทําการมณฑล ดวยเหตุที่ในเวลานั้น พระราชวังจันทรเกษมเปนสถานที่ของทางราชการที่สําคัญที่สุด ในเมือง มีพื้น ที่ใชสอยกวา งพอสมควรแกการปฏิบัติง านบริหารราชการ มีอาคาร หลายหลั ง และมี รั้ ว รอบแข็ ง แรงพร อ มเป น ทุ น อยู แ ล ว จึ ง ไม จํ า เป น ต อ งหาหรื อ จัดสรางสถานที่แหง ใหมเพื่อใชเปนที่ทําการมณฑลอีกแตอยางใด โดยไดปรับปรุง สถาน ที่ ภ ายใน พ ร ะ ร าชวั ง จั น ทร เ ก ษมให เ ป น ที่ ทํ าก าร ม ณฑ ล ก รุ ง เก า เชน การปฏิสังขรณพระที่นั่งพิมานรัตยาซึ่งทําคางไวและถูกทอดทิ้งใหทรุดโทรมอยูใน 19

๑๓

กมล มั่นภักดี, บรรณาธิการ. (๒๕๒๖). ประวัติมหาดไทยสวนภูมิภาค จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. หนา ๔๒.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๕

รัชกาลกอน เพื่อใชศาลารัฐบาลมณฑลกรุง เกา คือเปนสถานที่บริหารราชการของ ขาหลวงเทศาภิบาล ปรับปรุงพลับพลาจัตุรมุข ใหเปนศาลาวาการเมือง สวนอาคาร หลังใหญที่มุมกําแพงดานเหนือปรับใชเปนศาลาวาการอําเภอรอบกรุง เปนตน

สิงหบุรี

ลพบุรี สระบุรี

อางทอง กรุงเกา / อยุธยา

แผนที่แสดงอาณาเขตมณฑลกรุงเกา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จมาทําพิธีเปดที่ทําการ มณฑลกรุง เกา อย า งเป น ทางการ ในวั น ที่ ๒๖ มี น าคม พ.ศ. ๒๕๓๙ (ร.ศ.๑๑๕) หรื อ ป ถั ด จากการจั ด ตั้ ง มณฑลกรุ ง เก า แล ว นั บ เป น จุ ด เริ่ ม ต น ของช ว งเวลา ประวัติศาสตรที่สําคัญอยางยิ่งชวงเวลาหนึ่งของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชวงเวลาที่อยุธยากลับมาโดดเดนเปนศูนยกลางการปกครองระดับมณฑล ชว งเวลาสั้น ๆ ที่ เ มือ งซึ่ง ถู ก ทํา ลายจนยอ ยยับ แห ง นี้ ได รั บ การฟน ฟู จ น กลายเปนชุมชนขนาดใหญอยางรวดเร็วและตอเนื่อง มีสถานที่ราชการระดับมณฑล หลายแห ง สถานศึ ก ษาตั ว อย า งประจํ า มณฑล และโรงเรี ย นทุ ก ระดั บ ชั้ น


๒๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สถานพยาบาล ยานการคาขายแหงใหญ ศูนยกลางการคมนาคมทางน้ําแหงภาคกลาง พรอมทั้งมีการขนสงระบบรางที่สะดวก รวดเร็วและทันสมัย รวมถึ ง เป น ช ว งเวลาแห ง การรื้ อ ฟ น ประวั ติ ศ าสตร และการสงวนรั ก ษา รองรอยความรุงเรืองแหงกรุงศรีอยุธยา อันเปนชวงเวลาที่เรียกวา “สมัยมณฑลกรุงเกา”

บรรณานุกรม กมล มั่น ภักดี, บรรณาธิการ. (๒๕๒๖). ประวัติมหาดไทยสวนภูมิภาค จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา. พระนครศรี อ ยุ ธ ยา: สํ า นั ก งานจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา. การเปดทางรถไฟนครราชสีหมาระหวางกรุงเทพฯ กับกรุงเกาแลเปดที่วาการขาหลวง เทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐ ๔ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ ๑๔ ตอนที่ ๑. หนาที่ ๑๑-๑๔. รายงานข าหลวงเทศาภิ บ าล มณฑลกรุง เกา . (๒๔๔๒, ๕ มี น าคม). ราชกิจ จา นุเบกษา. เลมที่ ๑๕ ตอนที่ ๔๙ หนาที่ ๕๒๖ – ๕๓๖.


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๗

“ย านตลาด” ภาพบันทึกวิถีชาวกรุงเก า ในจิตรกรรมฝาผนัง วัดเชิงท า จ.พระนครศรีอยุธยา สุรินทร ศรีสังขงาม * 20

ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน พระนครศรีอยุธยาไดเปน แหลงรวมศิลปวัฒนธรรม ที่สั่ง สมสืบเนื่อง อยางยาวนาน นั บแตสมัยราชธานี สูมณฑลกรุง เกา และจัง หวั ด พระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน ยังคงปรากฏงานศิลปกรรมชั้นเยี่ยมอีกมากมายทั้ง ที่ คนพบ เผยแพร และยังคงเปนเพชรน้ําเอกที่ยังธํารงอยูในทองถิ่นจวบจนปจจุบัน *รองผูอํานวยการฝายวิชาการ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


๒๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

แนวคิดแบบ “สัจนิ ยม” ปรากฏอิทธิพ ลตอจิตกรรมไทยอยางชัดเจนชว ง รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งลักษณะ “สัจนิยม” นี้เอง ไมไดมี ความหมายแตเพียงการพัฒ นา “รูปแบบ” การเขียนจิตรกรรมไทย ในลักษณะ ทั ศ นี ย ภาพ อย า งตะวั น ตกเท า นั้ น แต ยั ง หมายถึ ง ความพยายามในการแสดง “เนื้อหา” ที่เปนจริง และเกิดขึ้นในชวงเวลานั้นๆ ลงในภาพจิตกรรมอยางนาสนใจ จึงเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหจิตรกรรมไทย โดยเฉพาะจิตรกรรมฝาผนัง มิไดเปนเพียง งานทัศนศิลปเพื่อความงามเทานั้น แตหากยังเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่สําคัญ ในเวลาเดียวกัน ดวย ดังตัวอยางที่สําคัญยิ่ง ปรากฏสวนหนึ่ง ของภาพจิตรกรรมฝา ผนัง ในศาลาการเปรียญ วัดเชิงทา จ.พระนครศรีอยุธยา ที่ไดบรรยายลักษณะ ของ” ยานตลาด” ในสมัยรัตนโกสินทร โดยเฉพาะในเมืองกรุงเกาไดอยางนาสนใจ จิตรกรรมฝาผนัง วัดเชิง ทา เขียนอยู ภายในศาลาการเปรียญ เปนอาคารที่ สร า งขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ ๔ แห ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ปรากฏหลั ก ฐานการสร า งว า “โยมแดง” เปนผูบริจาคทรัพย โดยให “ขุนกลั่นทิพย “ เปนแมง านดําเนินงาน กอสราง โดยลักษณะทางสถาปตยกรรม เปนอาคารกออิฐถือปูน ขนาดกวางประมาณ ๑๑ เมตร ยาวประมาณ ๓๗ เมตร กอสองชั้น ปูพื้นไม หันหนาดานทิศตะวัน ออก ติ ด ริ ม ฝ ง แม น้ํ า ลพบุ รี ภายในปรากฏภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง เรื่ อ ง ทศชาติ ช าดก พุ ท ธประวั ติ แ ละเทพชุ ม นุ ม บริ เ วณเสาภายในอาคารมี ก ารจารึ ก ชื่ อ ช า งเขี ย น ทําใหเชื่อไดวา ชางเขียนจิตรกรรมฝาผนังในศาลาการเปรียญ สวนหนึ่งเปนคนพื้นเพ ชาวกรุงเกาเองดวย ภาพ”ยานตลาด” เปนสวนหนึ่งของจิตรกรรมฝาผนัง ที่บริเวณ “ระหวาง หอง” ของผนังสกัดดานหนาฝงทิศตะวันออก ภาพจิตรกรรมบรรยายลักษณะของ ตลาดสดเรียบฝง กําแพงเมือง มีผูคนขวักไขว จับจายใชสอยในตลาด ลักษณะของ ชาวบานชายหญิง แตง กายดวยผานุงโจงกระเบนแบบผาพื้น สีเขียวบาง ครามบา ง หรือสีน้ําตาล ผูชายมักเปลือยทอนบนมีผาขาดเอว สวนผูหญิง หมคลุมผาทอนบน มี ทั้ ง ห ม แบบสไบเฉี ย ง รั ด แบบผ า แถบ หรื อ คล อ งบ า ปล อ ยชายทั้ ง สองข า ง จับจายของในตลาดโดยถือกระบุงและตะกราที่ทําจากไผหรือตอกสาน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๙

ในตลาด ชางเขียนไดถายทอดออกมาอยางสมจริง พอคาแมคาขายสินคาบน แครและบนเสื่อ สินคาสวนใหญเปนของสด ภาพจิตรกรรมแสดงอยางชัดเจนวามีการ ขาย เนื้อ สัต ว ประเภทสัต ว เท ากี บ (วั ว ,ควาย,เกง ,สุก ร ฯลฯ) แบบ “ชํา แหละ” ขาย มีปลาสด และผลไม เชน มะมวง กลวย เงาะ มัง คุด ซึ่ง เหลานี้ คงเปนสินคา พื้นฐาน ในยานตลาดสมัยรัตนโกสินทร(แตเนื่องจากขอจํากัดจากความเสียหายของ งานจิตรกรรมทําใหภาพบางสวนไมสามารถตีความไดอยางชัดเจนนัก) นอกจากภาพ “ย า นตลาด” แล ว ยั ง คงปรากฏภาพด า นท า ยตลาดมี “บอนไกชน” ที่มีการบรรยายลักษณะองคประกอบ และเนื้อหาไดอยางสมบูรณ ภาพผูค นที่สวนใหญเ ปน ผูชายชุลมุ น เปรีย บไกชน ในจิ ตรกรรมไดแ สดงให เห็นว า การพักยกเพื่อใหน้ําไกที่เรียกวา “หมดหนึ่ง อัน ” ปรากฏอยางนอยไมชาไปกวา สมัยรัชการที่ ๔ ซึ่งรวมสมัยกับจิตรกรรมนั้นเอง นอกจากนั้นยังปรากฏภาพ “ มวย” และสิ่งละอันพันละนอยเปนรายละเอียดอีกอยางมากมายในจิตรกรรมที่อยูในสภาพ เสียหายมากแหงนี้


๓๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จากหลักฐานที่ปรากฏชื่อชางเขียน ที่เปนชาวกรุง เกา จึงมีความเปนไปได อยางยิ่งที่ภาพเหลานี้จะไดสะทอนวิถีชีวิตที่เปนอยูจริงของผูคนรวมสมัย โดยเฉพาะ ในถิ่นที่เมืองกรุงเกาไดอยางชัดเจน อย า งไรก็ ต าม ป จ จุ บั น ภาพจิ ต กรรมฝาผนั ง ของวั ด เชิ ง ท า อยู ใ นสภาพ เสียหายเปนอยางมากดวยมีปจจัยของอายุเวลา ภัยจากน้ําทวมใหญ ป พ.ศ. ๒๕๕๔ และยังพบความเสียหายเชิงคุณคาที่เกิดจากงานบูรณะ ที่ “ไมไดมาตรฐาน” อีกดวย จึงเปนความจําเปนอยางยิ่ง ในการใหความสําคัญ ตระหนักถึงคุณคาและการมีสวน ร ว ม ทั้ ง การเผยแพร และอนุ รั ก ษ เพื่ อ ให จิ ต รกรรมฝาผนั ง ของวั ด เชิ ง ท า แห ง นี้ ยังคงเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ที่ทรงคุณคายิ่ง ในฐานะมรดกทางประวัติศาสตร โดยมิใหเหลือแตเปนเพียงคําบอกเลากลาวขานในอนาคต

บรรณานุกรม บรรจบ เทียมทัด. “วัดเชิงทา” ศิลปากร ๒, ๕ (มกราคม ๒๕๐๒) : ๖๖


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๑

ภาพเก าเล าอดีต

กรุงเก าในมุมมองจากยอดหอพิสัยศัลลักษณ วั ด เสนาสนาราม มลฑลกรุ ง เก า ในมุ ม มองที่ ถ า ยภาพจากยอดหอ พิสัยศัลลักษณ ภายในพระราชวังจัน ทรเกษม ภาพดังกลาวถายโดย ศาสตราจารย ซอมเมอรวิลล แมกซเวล เมื่อราวปพุทธศักราช ๒๔๔๐ แสดงใหเห็นสภาพของวัด เสนาสนารามกอนที่จะมีการบูรณะครั้งใหญในสมัยรัชกาลที่ ๕ นอกจากนี้จะเห็นได วาบรรยากาศภายในเกาะเมืองกรุงเกา ยังคงหนาแนนรกครึ้มไปดวยตนไม มองเห็น ยอดเจดียและพระอุโบสถของวัดเสนาสนารามในระยะใกล สวนที่ไกลออกไปทางดาน ซายสุดในภาพ จะมองเห็นยอดปรางคของวัดมหาธาตุในสภาพที่สมบูรณ กอนที่จะ พัง ทลายมาลงในรั ช กาลที่ ๖ ลํา ดั บถั ด มาจะเห็น ยอดปรางค ข องวั ดพระรามใน ระยะไกล และยอดปรางคของวัดราชบูรณะ สวนมุมขวาบนในภาพจะเห็นยอดเจดีย ทรงระฆังทั้ง ๓ องคของวัดพระศรีสรรเพชญในระนะที่ไกลออกไป


๓๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา ตุลาคม รวมพลช างที่อยุธยา เตรียมบุกทําเนียบรัฐบาล ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ คนเลี้ ย งช า งจากทั่ ว ประเทศ เดิ น ทางมาจากจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย สุ ริ น ทร กาญจนบุรี และบุรีรัมย มารวมตัวกันที่เพนียดคลองชาง อําเภอพระนครศรีอยุธยา เพื่ อ เตรี ย มขนช า งขึ้ น รถบรรทุ ก เกื อ บ ๑๐๐ เชื อ ก เดิ น เท า เข า ทํ า เนี ย บรั ฐ บาล เนื่องจากไมพอใจกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ออกพระราชบัญญัติ สงวนและคุมครองสัตวปา ทําใหเกิดผลกระทบตอคนเลี้ยงชางทั่วประเทศและเปน การริดรอนสิทธิ์เจาของชาง พรอมถูกกลาวหาวานําชางปาเขามาสวมเปนชางบาน โดยระบุวาตามขอเท็จจริงเปนชางที่ชาวชางเลี้ยงขึ้นเอง ซึ่งมีเพียงกลุมคนบางกลุมที่มี พฤติ ก รรมทํ า ผิ ด กฎหมายนํ า ช า งป า เข า มาสวมสิ ท ธิ์ โดยตามกฎหมายสามารถ ตรวจสอบไดอยูแลว ดัง นั้น การออกพระราชบัญ ญัติดังกลาวจึงสรางผลกระทบตอ ชาวชางโดยตรง รวมถึงยัง ครอบคลุมไปถึงการคาชิ้นสวนอวัยวะของชางและงาชาง ดวย

พฤศจิกายน นิทรรศการ "สร างอนาคตไทย ๒๐๒๐” วันที่ ๘-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดนิทรรศการ "สรางอนาคตไทย ๒๐๒๐” ที่ศูนย สงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ อําเภอบางไทร เพื่อนําเสนอแผนงานของรัฐบาลใน เรื่องของโครงสรางพื้นฐานทั้งระบบการขนสง ทางน้ํา ทางบก และทางราง ทั้งนี้ใน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๓

ดานความพรอม ทางจังหวัดไดปรับยุทธศาสตรจังหวัดใหสอดคลองกับนโยบายของ รัฐบาล เพื่อใหเปนศูนยกลางการขนสงของประเทศ ทั้งนี้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนจุดจอดแรกของรถไฟความเร็วสูง สายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ ยังมี โครงการรถไฟทางคู มีมอเตอรเวยสายใหม เริ่มตน จากวัง นอยไปสิ้นสุดที่ จัง หวัด นครราชสีมา รวมถึงโครงการพัฒนาระบบขนสงทางน้ําที่จะชวยในเรื่องการลดตนทุน การขนสง อีกทั้งยังสามารถลดปริมาณรถบรรทุกไดถึง ๒๐ เทา ภายในงานมีการนําเสนอนิทรรศการที่อัดแนนไปดวยขอมูลความรูที่เขาใจ งาย เชน ทดลองนั่งรถไฟความเร็วสูงจําลอง รูจักแผนที่เสนทางคมนาคมใหม ทั้งถนน รถไฟทางคู รถไฟความเร็วสูง ตลอดจนโครงการขายคมนาคมในอนาคต สินคาโอทอ ปจากทั่วประเทศและสินคาธงฟา ซึ่งมีประชาชน นักเรียน นักศึกษา เขารวมชมงาน จํานวนมาก

ธันวาคม งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ าอยู หัว วันที่ ๒-๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ จัง หวั ดพระนครศรี อยุ ธยา จั ดงานเฉลิม พระเกี ยรติพ ระบาทสมเด็ จพระ เจาอยูหัว ระหวางวันที่ ๒-๕ ธันวาคม โดยตกแตงประดับไฟน้ําหยด และไฟราว สี เหลื องสลับ สีฟ า บนต น มะขามที่ ปลู กเรี ยงรายริม ถนนคลองมะขามเรี ยง สวยสด งดงาม สํ า หรั บ การจั ด งานเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดจัดทําบุญตักบาตรขาวสารอาหารแหงที่ วัดพนัญเชิงวรวิหาร ขาราชการถวายราชสดุดีปฏิญาณตนเปนขาราชการที่ดี ที่สนาม กีฬากลางจัง หวัดฯ และเวลา ๑๙.๒๙ น. รวมจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล ที่เวที กลางเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยาอยางยิ่งใหญและสมพระเกียรติฯ


๓๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ยอยศยิง่ ฟ าอยุธยามรดกโลก วันที่ ๑๓ – ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ นายวิทยา ผิวผอง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนประธานเปด งานยอยศยิ่งฟาอยุธยามรดกโลก ประจําป ๒๕๕๖ ที่บริเวณวัดมหาธาตุ อยางยิ่งใหญ ตระการตา ในบรรยากาศการแสดงแสง เสี ย ง ๕ องค ประกอบดว ย มรดกแห ง กาลเวลา อยุ ธยานานาชาติ อยุธ ยาพุ ทธรั กษา อยุธ ยาแสนยานุภาพ และอยุธยา อาเซียน มีผูเขาชมกวา ๓,๐๐๐ คน และที่สําคัญปนี้มีการถายทอดสดทางสถานีวิทยุ โทรทัศนแหงประเทศไทย ทั้งนี้ การจัดงานดังกลาวจะมีไปถึงวันที่ ๒๒ ธันวาคม

การชุมนุมคัดค านไม ยอมย ายศพตามข อเสนอของวัดพนัญเชิง วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ กลุมญาติของบรรพบุรุษที่ฝง ศพไวที่สุสานวัดพนัญเชิงวรวิหาร กวา ๕๐๐ คน ชุมนุมเรียกรองไมยอมเคลื่อนยายศพที่ฝงไวในสุสานเกือบ ๒,๐๐๐ หลุม ตามที่ ทางวัดระบุวาจะนําพื้นที่ไปสรางอาคารปฏิบัติธรรมและสรางอาคารอาพาธสงฆ และ ขอใหญาติแสดงความจํานงนํารางไปฌาปนกิจจนถึง เดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ โดยวัด เปนผูรับผิดชอบ ปรากฏวามีญาติที่ไมเห็นดวยมาชุมนุมคัดคาน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๕

อยุธยาศึกษาปริทัศน ตราสัญลักษณ สถาบันอยุธยาศึกษา

เปนตราสัญลักษณที่สื่อถึงความเปนสถาบันทางวิชาการ โดยเปนศูนยกลาง ของการศึ ก ษาเรื่ อ งอยุ ธ ยา ซึ่ ง มุ ง แสดงให เ ห็ น ถึ ง การทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประวัติศาสตร ศาสนา และภูมิปญ ญาท องถิ่น ในรูปแบบเอกลักษณไ ทยรวมสมั ย รวมทั้งแสดงถึงการดํารงอยูอยางมั่นคงทั้งในอดีต ปจจุบันและอนาคต “ซุมหนาบัน”เปนสัญลักษณแสดงถึง ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร ศาสนา และการศึกษาประวัติศาสตรพงศาวดารอยุธยา “ปลาตะเพียน”เปนสัญลักษณแสดงถึง ศิลปะพื้นบานแบบภูมิปญญาทองถิ่น ที่ผสานอยูในวิถีชิวิตทั้งในอดีตและปจจุบัน แสดงถึง วัฒนธรรมลุมน้ํา ดวยปลาเปน เครื่องหมายของความอุดมสมบูรณโดยเฉพาะในเขตลุมน้ําเจาพระยา และแสดงถึง งานศิลปหัตถกรรมที่เปนเอกลักษณของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา “โครงสรางรูปทรงสามเหลี่ยม” เปนสัญ ลักษณแสดงถึง ปญ ญาการศึกษา และคนควาวิจัย โดยเฉพาะอย างยิ่ง รู ปแบบหน าบันที่ป รากฏในตราสัญ ลักษณไ ด จํ า ลองมาจากแบบหน า บั น ของ “วั ด บรมพุ ท ธาราม” ซึ่ ง เป น วั ด ที่ อ ยู ภ ายใน มหาวิ ท ยาลั ย จึ ง เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องความเป น สถาบั น ทางวิ ช าการ ที่ อ ยู ภ ายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาอยางชัดเจน


๓๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

คณะผู บริหารสถาบันอยุธยาศึกษา สถาบั น อ ยุ ธ ยาศึ ก ษา หน ว ยง า น ใน สั ง กั ดม หาวิ ทย าลั ย ร าชภั ฏ พระนครศรี อยุธ ยาไดมี คณะผูบ ริหารชุ ดใหม ตามคํา สั่ง สภามหาวิทยาลั ยราชภั ฏ พระนครศรีอยุธยา ที่ ๓๒ / ๒๕๕๖ เรื่อง แตงตั้งผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการ สํานัก ลงวัน ที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ไดแตงตั้ง ให ดร.จงกล เฮงสุวรรณ เปน ผูอํานวยการสถาบัน อยุธยาศึกษา และมีอ าจารย กันยารัตน โกมโกทก เปน รอง ผูอํา นวยการฝายบริห าร อาจารยสุริ น ทร ศรีสัง ขง าม เปน รองผูอํา นวยการฝา ย วิชาการ และอาจารย อุม าภรณ กลา หาญ เปน รองผูอํา นวยการฝ ายส ง เสริม และ เผยแพรวิชาการ โดยบริ ห ารบุ ค ลากรด ว ยแนวทางการมุ ง เสริ ม สร า งขวั ญ และกํ า ลั ง ใจให บุคลากรของสถาบัน อยุธ ยาศึก ษา โดยยึ ดหลั ก “คนสํา ราญ งานสํา เร็ จ” เพื่ อให บุคลากรไดทํางานอยางมีความสุข และไดผลงานที่มีคุณภาพภายใตหลักธรรมาภิบาล


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๗

ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ

ปรัชญา รอบรู เชิดชู สูสรางสรรค วัฒนธรรมอยุธยา วิสัยทัศน สถาบันอยุธยาศึกษา เปนศูนยขอมูลดานวัฒ นธรรมอยุธยาที่มีคุณภาพเปน สถาบั นที่ เชิ ดชู และสง เสริ มการประยุ กต ใช ขอ มูล ทางวัฒ นธรรมอยุธ ยาเพื่ อการ พัฒนาสังคมอยางยั่งยืน

อยุธยา

พันธกิจ ๑. รวบรวม ศึ กษา คน คว า วิจั ยและเผยแพรอ งค ความรูด านวัฒ นธรรม

๒. อนุรักษ สืบสาน สงเสริมและเผยแพรวัฒนธรรมอยุธยา ๓. ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การนํ า แนวทางพระราชดํ า ริ และข อ มู ล ทาง วัฒนธรรมอยุธยา มาประยุกตใชในการพัฒนาสังคมปจจุบันอยางยั่งยืน


๓๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

รอบรั้วเรือนไทย

ร วมงานสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อีสาน-ลาว-แขมร ศึกษา เมื่อวั น ที่ ๒๘-๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ อาจารย สุริน ทร ศรีสัง ขง าม รอง ผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา พรอมดวย นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา ไดเขารวมงานสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อีสาน-ลาว-แขมรศึกษา ในกรอบประชาคม อาเซีย น” ณ ห อ งแกรนด บ อลรู ม โรงแรม U-Place อาคารเทพรั ต นสริ ป ภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งภายในงานมี การเสวนาองค ค วามรู เ กี่ ยวกั บ อี ส าน-ลาว-แขมร ศึ ก ษาในมิ ติ ต า งๆ ทั้ ง ทางด า น ประวัติศาสตร การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

กิจกรรมลานวัฒนธรรมย อนรอยตลาดกรุงเก า สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมลานวัฒนธรรมยอนรอยตลาดกรุงเกาขึ้น ณ บริ เ วณสนามหญ า สถาบัน อยุ ธ ยาศึ กษา ระหวา งวัน ที่ ๑๓-๑๕ และ ๒๐-๒๒ ธั น วาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่ อ เป น การสนั บ สนุ น การจั ด งานมรดกโลกของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา รวมไปถึงบทบาทการเปนสถาบันทางวิชาการและศูนยการจัด กิจกรรมระดับจังหวัด ซึ่งในพิธีเปดเมื่อวันศุกรที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ไดรับ เกียรติจากอาจารยจิรศักดิ์ ชุมวรานนทรักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เปนประธานในพิธีเปดงาน


สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๙

โดยภายในงานตลาดยอนยุค ไดจําลองบรรยากาศในสมั ยมณฑลกรุง เก า ประกอบด ว ย วิ ถี ชีวิ ต ชาวบ า น การคา ขาย และการแสดงมหรสพ และในการนี้ สถาบันฯขอเชิญ ชวนทุกทานรว มเยี่ยมชมตลาดมณฑลกรุง เก า ณ สถาบันอยุธยา ศึกษา

กิจกรรมอบรมเศรษฐกิจพอเพียงในกระแสการเปลี่ยนแปลง เมื่อวัน ที่ ๒๐ ธัน วาคม ๒๕๕๖ สถาบัน อยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมอบรม เศรษฐกิจพอเพียงในกระแสการเปลี่ยนแปลง ณ พิพิธภัณฑเกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จังหวัดปทุมธานี เพื่อใหเยาวชนที่ผานการอบรมไดรับ ความรู และมีความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปรัชญาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนําแนวคิดนี้มาปรับใชกับการดํารงชีวิตอยางถูกตอง ตลอดจนสามารถ นํามาใชแกปญหาของตนเองและชุมชนไดโดยใชหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป ถิ่นกรุงเก า เรื่อง ศาสตร ศิลป ภูมิป ญญาจากตู พระธรรมลายรดน้ํา เมื่อวัน ที่ ๒๑ ธัน วาคม ๒๕๕๖ สถาบัน อยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมอบรม หลักสูตรระยะสั้นงานศิลปถิ่น กรุงเกา เรื่อง ศาสตรศิลปภูมิปญ ญาจากตูพระธรรม ลายรดน้ํ า ณ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา และห อ งปฏิ บั ติ ก าร วิ ท ยาลั ย อาชี ว ะ พระนครศรีอยุธยา เพื่อใหผูเขารับการอบรมสามารถผลิตชิ้นงานลายรดน้ําปดทองได ดวยตนเอง ตามกรรมวิธีแบบโบราณ การรูจักแนวทางการในการแกไขปญหาตางๆ การอนุรักษลายรดน้ําโบราณ ผูอบรมสามารถที่จะนําไปประกอบอาชีพอิสระและยัง นําไปประยุกตกับงานอื่นๆได


40 I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗ วันที่ ๙-๑๐ มกราคม ๒๕๕๗ ๘-๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗

กิจกรรม

สถานที่

กิจกรรมคายเยาวชนอาสานําเที่ยวทาง วัฒนธรรม

สถาบันอยุธยาศึกษา และออกภาคสนาม

กิจกรรมอบรมการวิจัยทางประวัติศาสตร ทองถิ่น

สถาบันอยุธยาศึกษา และออกภาคสนาม ณ ตลาดหัวรอ – เกาะลอย สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลปถิ่น กรุงเกา เรื่อง แทงหยวก กิจกรรมการสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม หองประชุมตนโมก สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ กิจกรรมยกยองเชิดชูเกียรติบุคคลผูมีผลงาน หองประชุมอาคาร ๑๐๐ ป ดีเดนทางการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.