เอกสารประกอบการอบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำริ

Page 1


เอกสารประกอบการจัดกิจกรรม

หลักสูตรอบรมเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดาริ วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๗.๓๐ น. ณ สวนละอองฟ้า จังหวัดนครนายก

จัดพิมพ์โดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ จานวน ๑๐๐ เล่ม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ ฝ่ายบริหาร ดร.จงกล เฮงสุวรรณ อ.กันยารัตน์ คงพร อ.สุรินทร์ ศรีสังข์งาม อ.อุมาภรณ์ กล้าหาญ ฝ่ายวิชาการ พัฑร์ แตงพันธ์ สาธิยา ลายพิกุน ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่วิชาการ ปัทพงษ์ ชื่นบุญ อายุวัฒน์ ค้าผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว

ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ณัฐฐิญา แก้วแหวน สายรุ้ง กล่​่าเพชร ศรีสุวรรณ ช่วยโสภา ประภาพร แตงพันธ์ ยุพดี ป้อมทอง


๒I กาหนดการ กิจกรรม อบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดาริ วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๗.๓๐ น. ณ สวนละอองฟ้า จังหวัดนครนายก จัดโดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา *********************************

เวลา ๐๗.๐๐ น. เวลา ๐๗.๓๐ น. เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น.

เวลา ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. เวลา ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น.

เวลา ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น.

เวลา ๑๖.๐๐-๑๗.๓๐ น.

ลงทะเบียน ออกเดินทางจากสถาบันอยุธยาศึกษา สู่สวนละอองฟ้า จังหวัดนครนายก ศึกษาหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีเกษตรธรรมชาติ วิทยากรโดย นายชาตรี โสวรรณตระกูล ผู้มีผลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปญ ั ญาไทย บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๑ นางขนิษฐา โสวรรณตระกูล เกษตรกรจังหวัดนครนายก พักรับประทานอาหารกลางวัน ออกภาคสนาม ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแมลงกับมนุษย์ และการเกษตร วิทยากรโดย นายชาตรี โสวรรณตระกูล ผู้มีผลงานดีเด่นทางการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปญ ั ญาไทย บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๑ นางขนิษฐา โสวรรณตระกูล เกษตรกรจังหวัดนครนายก ทัศนศึกษาโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลฯอันเนื่อง มาจากพระราชดาริ จังหวัดนครนายก วิทยากรโดย เจ้าหน้าที่จากเขื่อนขุนด่านปราการชล เดินทางออกจากเขื่อนขุนด่านปราการชลฯ จังหวัดนครนายก กลับสู่สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


I๓ *** หมายเหตุ รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา ๑๐.๓๐ น และ ๑๔.๓๐ น.

สารบัญ หลักสูตรอบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดาริ

เศรษฐกิจพอเพียง

พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง

๑๓

เศรษฐกิจพอเพียง: ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

๑๙


การดาเนินงาน : ขัน ๔I

หลักสูตรอบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดาริ ๑.ชื่อหลักสูตร : อบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด่าริ : วิถเี กษตรธรรมชาติเพื่อ การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ๒.หน่ วยงานผู้รับ ผิ ดชอบ : ฝ่ ายวิชาการ และฝ่ ายส่ง เสริมและเผยแพร่วิชาการ สถาบันอยุธยาศึกษา ๓.หลักการและเหตุผล : “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เป็ น ปรั ช ญาที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานพระราชด่าริชี้แนะแนวทางการด่าเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ตั้งแต่ ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้่าแนวทางการแก้ไข เพื่ อ ให้ รอ ด พ้ น แ ละ ส าม ารถด่ ารงอ ยู่ ไ ด้ อ ย่ า งมั่ น ค งแล ะ ยั่ ง ยื น ภ ายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ความพอเพียง จึง มีความหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ่าเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัว ที่ ดี พ อสมควร ต่ อ การกระทบใดๆ อั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายในและ ภายนอก วิถเี กษตรธรรมชาติ หมายถึง การท่าการเกษตรที่ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี ทางการเกษตรทุกชนิด ตลอดจนไม่ใช้สิ่งขับถ่ายจากมนุษย์ แต่เน้นการปรับปรุงดิน ให้ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ มี พ ลั งในการเพาะปลูก เหมื อ นกั บ ดิ น ในป่ าที่ มี ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ ต ามธรรมชาติ โดยมี ก ารน่ า ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ อ ย่ า งจ่ า กั ด มาใช้ ใ ห้ เกิ ด ประโยชน์สูงสุด เป็นวิธีการที่ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ไม่เป็นอันตราย ต่อเกษตรกรและผู้บริโภค สามารถให้ผลผลิตทั้งปริมาณและคุณ ภาพ เป็นระบบ การเกษตรที่มีความยั่งยืน


I๕

เกษตรธรรมชาติ ก็เป็นหลักการที่มาจากป่าที่สมบูรณ์ ซึ่งจะประกอบด้วย การปฏิบัติการทางการเกษตรที่ค่านึงถึงดิน พืชและแมลง ไปพร้อมๆกัน คือ ๑. ปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งสามารถท่าได้โดยปรับปรุงดินโดย ใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ การคลุมดิน ท่าได้โดยใช้เศษพืชต่างๆ จากไร่ นา และการปลูกพืชหมุนเวียน “หัวใจของเกษตรธรรมชาติอยู่ที่ดินดี พืชที่ปลูกอยู่บน ดินที่ดีจะเติบโตแข็งแรง สามารถต้านทานการท่าลายของโรคและแมลงศัตรูพืชได้ และส่งผลให้ได้ผลผลิตดี” ๒. การปลูกพืชหลายชนิดเป็นการจัดสภาพแวดล้อมในไร่-นา ซึ่งจะช่วยลด การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชได้ เนื่องจากการปลูกพืชหลายชนิดจะท่าให้มี ความหลายหลายทางชีวภาพ มีแหล่งอาหารที่หลากหลายของแมลงจึงมีแมลงหลาย ชนิดมาอาศัยอยู่ร่วมกัน ในจ่านวนแมลงเหล่านี้จะมีทั้งแมลงที่เป็นศัตรูพืชและแมลง ที่ เป็ น ศั ต รู ธรรมชาติ ที่ ช่ วยควบคุ ม แมลงศั ต รู พื ช ให้ คล้ า ยคลึ ง กั บ ธรรมชาติ ที่ อุ ด ม สมบูรณ์ นั่นเอง การปลูกพื ชหลายชนิดสามารถท่าได้หลายรูปแบบ เช่น การปลูกพื ช หมุนเวียน การปลูกพืชแซม เป็นต้น ๓. อนุ รัก ษ์ แมลงที่ มีป ระโยชน์ ซึ่ งสามารถท่ าได้ โดยการไม่ใช้ส ารเคมี เนื่องจากสารเคมีท่าลายทั้งแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติที่มีประโยชน์ด้วย การไม่ใช้สารเคมีท่าให้มีศัตรูธรรมชาติตัวห้่าตัวเบียนมากขึ้น ศัตรูธรรมชาติเหล่านี้จะ ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ และการปลูกดอกไม้ สีสด ๆ เช่น บานชื่น ทานตะวัน บานไม่รู้โรย ดาวเรือง ดาวกระจาย เป็นต้น โดยปลูกไว้รอบแปลง หรือปลูกแซมใน แปลงเพาะปลู ก วิธี นี้ เป็ น การสร้า งสภาพแวดล้ อ มให้ แ มลงศั ต รู ธรรมชาติ ม ากขึ้ น เนื่องจากสีของดอกไม้จะช่วยดึงดูดแมลงนานาชนิด และในจ่านวนนั้นก็เป็นแมลงศัตรู ธรรมชาติด้วย จึงเป็นการเพิ่มจ่านวนแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงเพาะปลูกซึ่งจะช่วย ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้


๖I

สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษ า เป็ น ห น่ ว ยงาน ขอ งมห าวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรีอยุธยา มีพันธกิจในการส่งเสริม และสนับสนุนการน่าแนวพระราชด่าริ และข้อมูลทางวัฒนธรรมอยุธยามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสังคมปัจจุบันอย่างยั่งยืน จึงเห็นสมควรจัดอบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด่าริ : วิถีเกษตรธรรมชาติเพื่อ การพึ่ ง พาตนเองอย่ างยั่ ง ยื น เพื่ อ ให้ เยาวชนที่ ผ่ า นการอบรมได้ รั บ ความรู้ และ มี ค วามเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งเกี่ ย วกั บ หลั ก ปรั ช ญาแนวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สื บ สาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด่าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และวิถี เกษตรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างแมลงกับมนุษย์และการเกษตร และสามารถ น่าความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจ่าวันได้อีกด้วย ๔.วัตถุประสงค์ : ๑) เพื่อให้ความรู้แก่เยาวชนได้เข้าใจแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหลักปรัชญา แนวคิ ดเศรษฐกิจ พอเพี ยงและสืบ สานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด่า ริข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๒) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน เข้าใจแนวทางวิถีเกษตรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ ระหว่างแมลงกับมนุษย์และการเกษตร โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ และสามารถน่าความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจ่าวันได้อีกด้วย ๕.สาระสาคัญของหลักสูตร : หลักสูตรอบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด่าริ : วิถีเกษตรธรรมชาติเพื่อการพึ่งพา ตนเองอย่างยั่งยืน เป็นหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อ การให้บริการทางวิช าการแก่สัง คม ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยวิทยากรและผู้เข้ารับการ อบรม


I๗ ๖.หัวเรื่องและขอบข่ายเนื้อหา : หัวเรื่อง : อบรมเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด่าริ ขอบข่ายเนื้อหา : หลัก ปรัช ญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีเกษตรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างแมลงกับมนุษย์และการเกษตร

๗.รูปแบบและวิธีการฝึกอบรม ๗.๑ รูปแบบการฝึกอบรม : อบรมเชิงปฏิบัติการ และทัศนศึกษา ๗.๒ วิธีการฝึกอบรม : การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกีย่ วกับหลักปรัชญาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และวิถีเกษตรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างแมลงกับมนุษย์และการเกษตร โดยวิทยากรทีม่ คี วามรู้จากสวนละอองฟ้า จังหวัดนครนายก ๘.ระยะเวลาการฝึกอบรม : ๑ วัน ๙.จานวนผู้เข้ารับการอบรม : ๔๐ คน ๑๐.คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๑๑.ค่าใช้จ่าย :

งบประมาณจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จ่านวนเงิน ๓๕,๐๐๐ บาท (งบแผ่นดิน)


๘I ๑๒.การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม : ๑๒.๑ นักเรียน นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๒.๒ นักเรียน นักศึกษา มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๒.๓ นักเรียน นักศึกษา สามารถน่าความรู้ไปใช้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๓.ผลที่คาดว่าจะได้รับ : เยาวชนที่ผ่ านการอบรมได้รับ ความรู้ได้เข้าใจแนวคิ ดพื้ นฐานเกี่ยวกั บหลักปรัช ญา แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด่าริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ และเข้าใจแนวทางวิถีเกษตรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างแมลงกับมนุษย์และ การเกษตร โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และสามารถน่าความรู้ที่ ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจ่าวันได้อีกด้วย ๑๔.ข้อมูลวิทยากร : ๔.๑ นายชาตรี โสวรรณตระกูล ผู้ ได้ รั บ รางวัล เชิด ชู เกี ยรติ ผู้มี ผ ลงานดีเด่น ทาง การศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยบุษราคัมมณีศรีราชภัฏ ครั้งที่ ๑๑ ประจ่าปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ ๔.๒ นางขนิษฐา โสวรรณตระกูล เกษตรกรจังหวัดนครนายก ๑๕.สื่อการอบรม :

๑๕.๑ เอกสารประกอบการอบรม ๑๕.๒ สวนละอองฟ้า ๑๖.สถานที่ฝึกอบรม : ณ สวนละอองฟ้า จังหวัดนครนายก


I๙

เศรษฐกิจพอเพียง

จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิด การเปลี่ ย นแปลงแก่ สั ง คมไทยอย่ า งมากในทุ ก ด้ า น ไม่ ว่ า จะเป็ น ด้ า นเศรษฐกิ จ การเมื อ ง วั ฒ นธรรม สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม อี ก ทั้ ง กระบวนการของความ เปลี่ย นแปลงมีความสลั บ ซับซ้ อนจนยากที่ จะอธิบ าย ในเชิง สาเหตุและผลลัพ ธ์ไ ด้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ส่าหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการ เจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ความเจริ ญ ทางวั ต ถุ และสาธารณู ป โภคต่ า งๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือ การขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมาก


๑๐ I

ขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสใน สังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเสื่อมโทรมของ ทรัพ ยากรธรรมชาติระบบความสัมพั น ธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่ม กันตาม ประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตกสลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้ แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไป สิ่งส่าคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการด่ารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ท่า ให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และด่าเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อ่านาจและ ความมีอิสระในการก่าหนดชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและ จั ด การเพื่ อ ให้ ต นเองได้ รั บ การสนองตอบ ต่ อ ความต้ อ งการต่ า งๆ รวมทั้ ง ความสามารถในการจั ด การปั ญ หาต่ า งๆ ได้ ด้ ว ยตนเอง ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ ถื อ ว่ า เป็ น ศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่เดิมต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่ง วิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหา อื่นๆที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฏการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี เศรษฐกิจพอเพียง

“เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เป็ น ปรั ช ญาที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานพระราชด่าริชี้แนะแนวทางการด่าเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดนานกว่า ๓๙ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ ทรงเน้นย้่าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถด่ารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและ ยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ


I ๑๑

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพี ย ง เป็ น ปรัชญาชี้ถึงแนวการด่ารงอยู่ แ ละปฏิ บั ติต นของ ประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการ พั ฒ นาและบริ ห ารประเทศให้ ด่ า เนิ น ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพั ฒ นา เศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพี ยง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จ่าเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน่าวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการ ด่าเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส่านึกใน คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด่าเนินชีวิตด้วยความ อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการ รองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ที่ ไ ม่ น้ อ ยเกิ น ไปและไม่ ม าก เกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับ พอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค่านึงถึง ผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากการกระท่านั้นๆ อย่างรอบคอบ


๑๒ I

๓. ภู มิ คุ้ ม กั น หมายถึ ง การเตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มรั บ ผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยค่านึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต

เงื่อนไขของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เงื่อ นไขความรู้ ประกอบด้ ว ย ความรอบรู้เกี่ ย วกั บ วิช าการต่ างๆ ที่ เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน่าความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญ ญาในการ ด่าเนินชีวิต


I ๑๓

พระราชดาริ ว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพั ฒ นาประเทศจ่ าเป็ น ต้ อ งท่ า ตามล่ าดั บ ขั้ น ต้ อ งสร้า งพื้ น ฐานคื อ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีก ารและอุป กรณ์ ที่ ประหยัด แต่ถู กต้อ ง ตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อม พอสมควร และปฏิ บัติได้แล้ว จึงค่อ ยสร้างค่อ ย เสริม ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิ จขั้ น ที่ สูงขึ้นโดยล่าดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชด่าริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๙ ปี เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็ นแนวทางการพั ฒ นาที่ ตั้ งบนพื้ น ฐานของทางสายกลาง และความไม่ป ระมาท ค่านึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการด่ารงชีวิต ที่ส่าคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และ ความเพียร” ซึ่งจะน่าไปสู่ “ความสุข” ในการด่าเนินชีวิตอย่างแท้จริง


๑๔ I

“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่า เมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่ จะให้ เมื อ งไทย พออยู่ พ อกิ น มี ค วามสงบ และท่ างานตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานตั้ ง ปณิ ธ าน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามี ความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่ พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็ น ว่ า แนวทางการพั ฒ นาที่ เน้ น การ ขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน เมื่อมี พื้นฐาน ความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น ทรงเตื อ นเรื่ อ งพออยู่ พ อกิ น ตั้ งแต่ ปี ๒๕๑๗ คื อ เมื่ อ ๓๙ ปี ที่ แ ล้ ว แต่ ทิศทาง การพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง “...เมื่ อ ปี ๒๕๑๗ วั น นั้ น ได้ พู ด ถึ ง ว่ า เราควรปฏิ บั ติ ใ ห้ พ อมี พ อกิ น พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่ง ถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) “...เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาของเศรษฐกิจ การที่ต้องใช้รถไถต้องไปซื้อ เรา ต้องใช้ต้องหาเงินมาส่าหรับซื้อน้่ามันส่าหรับรถไถ เวลารถไถเก่าเราต้องยิ่งซ่อมแซม แต่เวลาใช้นั้น เราก็ต้องป้อนน้่ามันให้เป็นอาหาร เสร็จแล้วมันคายควัน ควันเราสูด เข้าไปแล้วก็ปวดหัว ส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้องป้อนอาหาร ต้องให้หญ้าให้อาหาร มันกิน แต่ว่ามันคายออกมา ที่มันคายออกมาก็เป็นปุ๋ย แล้วก็ใช้ได้ส่าหรับให้ที่ดินของ เราไม่เสีย...” พระราชด่ารัส เนื่องในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙


I ๑๕

“...เราไม่ เป็ น ประเทศร่​่ ารวย เรามี พ อสมควร พออยู่ ไ ด้ แต่ ไ ม่ เป็ น ประเทศที่ก้าวหน้าอย่างมาก เราไม่อยากจะเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก เพราะถ้า เราเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากก็จะมีแต่ถอยกลับ ประเทศเหล่านั้นที่เป็นประเทศ อุตสาหกรรมก้าวหน้า จะมีแต่ถอยหลังและ ถอยหลังอย่างน่ากลัว แต่ถ้าเรามีการ บริหารแบบเรียกว่าแบบคนจน แบบที่ไม่ติดกับต่ารามากเกินไป ท่าอย่างมีสามัคคีนี่ แหละคือเมตตากัน จะอยู่ได้ตลอดไป...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ที่เขาเรียกว่าเล็งผลเลิศ ก็เห็นว่าประเทศไทยเรานี่ก้าวหน้าดี การเงินการอุตสาหกรรมการค้าดี มีก่าไร อีกทาง หนึ่งก็ต้องบอกว่าเราก่า ลังเสื่อมลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎีว่า ถ้ามีเงินเท่านั้นๆ มีการกู้ เท่ านั้น ๆ หมายความว่าเศรษฐกิ จก้าวหน้ า แล้วก็ ป ระเทศก็เจริญ มี ห วัง ว่าจะเป็ น มหาอ่านาจ ขอโทษเลยต้องเตือนเขาว่า จริงตัวเลขดี แต่ว่าถ้าเราไม่ระมัดระวังใน ความต้องการพื้นฐานของประชาชนนั้นไม่มีทาง...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ “...เดี๋ยวนี้ประเทศไทยก็ยังอยู่ดีพอสมควร ใช้ค่าว่า พอสมควร เพราะเดี๋ยว มีคนเห็นว่ามีคนจน คนเดือดร้อน จ่านวนมากพอสมควร แต่ใช้ค่าว่า พอสมควรนี้ หมายความว่าตามอัตตภาพ...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙


๑๖ I

“...ที่เป็นห่วงนั้น เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ที่เป็นปีกาญจนาภิเษกก็ได้เห็นสิ่งที่ ท่ าให้ เห็ น ได้ ว่ า ประชาชนยั งมี ค วามเดื อ ดร้อ นมาก และมี สิ่ ง ที่ ค วรจะแก้ ไ ขและ ด่าเนินการต่อไปทุกด้าน มีภัยจากธรรมชาติกระหน่​่า ภัยธรรมชาตินี้เราคงสามารถที่ จะบรรเทาได้หรือแก้ไขได้ เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลาพอใช้ มีภัยที่มาจากจิตใจของคน ซึ่ง ก็แก้ไขได้เหมือนกัน แต่ว่ายากกว่าภัยธรรมชาติ ธรรมชาตินั้นเป็นสิ่งนอกกายเรา แต่ นิสัยใจคอของคนเป็นสิ่งที่อยู่ข้างใน อันนี้ก็เป็นข้อหนึ่ง ที่อยากให้จัดการให้มีความ เรียบร้อย แต่ก็ไม่หมดหวัง...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...การจะเป็นเสือนั้นไม่ส่าคัญ ส่าคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมี พ อกิน นั้ น หมายความว่า อุ้ มชู ตั วเองได้ ให้ มี พ อเพี ย งกั บ ตนเอง ความ พอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอ ผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอ่าเภอ จะต้องมีความพอเพียง พอสมควร บางสิ่ง บางอย่างผลิต ได้ม ากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไ ม่ ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...เมื่ อ ปี ๒๕๑๗ วั น นั้ น ได้ พู ด ถึ ง ว่ า เราควรปฏิ บั ติ ใ ห้ พ อมี พ อกิ น พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่ง ถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑


I ๑๗

“...พอเพียง มีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือค่าว่าพอ ก็พอเพียงนี้ก็ พอแค่นั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็ เบี ย ดเบี ย นคนอื่ น น้ อ ย ถ้ า ประเทศใดมี ค วามคิ ด อั น นี้ มี ค วามคิ ด ว่ าท่ าอะไรต้ อ ง พอเพี ยง หมายความว่าพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็ อยู่เป็นสุ ข พอเพียงนี้อาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...ไฟดับ ถ้า มีค วามจ่ าเป็ น หากมี เศรษฐกิจ พอเพี ย งแบบไม่ เต็ ม ที่ เรามี เครื่องปั่นไฟก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแก้ปัญหา เสมอ ฉะนั้ นเศรษฐกิ จพอเพี ยงก็มีเป็น ขั้นๆ แต่ จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพีย งนี้ ให้ พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์นี่เป็นสิ่งท่าไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมี การช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพียงใน ทฤษฎีในหลวงนี้ คือให้สามารถที่จะด่าเนินงานได้...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ “...โครงการต่างๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญ่ ต้องมีความสอดคล้องกันดีที่ไม่ใช่เหมือน ทฤษฎีใหม่ ที่ใช้ที่ดินเพียง ๑๕ ไร่ และสามารถที่จะปลูกข้าวพอกิน กิจการนี้ใหญ่กว่า แต่ก็ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไม่เข้าใจว่ากิจ การใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่าสักก็ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึ กว่าเป็นเศรษฐกิจสมัยใหม่ เป็นเศรษฐกิจที่ห่างไกล จากเศรษฐกิจพอเพียง แต่ที่จริงแล้ว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...” พระราชด่ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒


๑๘ I

“...ฉันพูดเศรษฐกิจ พอเพียงความหมายคือ ท่าอะไรให้เหมาะสมกั บฐานะของ ตัวเอง คือท่าจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขึ้นไปเป็นสองหมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอา ค่าพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือท่าเป็น SelfSufficiency มันไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้า เขาต้องการดูที วี ก็ควรให้ เขามี ดู ไม่ใช่ไปจ่ากั ดเขาไม่ให้ซื้อที วีดู เขา ต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉันไป เขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มี ไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency นั้น มีทีวีเขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีส ตางค์ไปตั ดสูทใส่ และยังใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อันนี้ก็เกินไป...”

พระต่าหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔


I ๑๙

เศรษฐกิจพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

บรรยายพิเศษ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๙ วันนี้ถือว่าเป็นเกียรติที่ได้รับเชิญมาให้มาเล่าสู่กันฟังเกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง และแนวทางการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ต้องขออภัยนิดหน่อยที่วันนี้อาจจะต้องมาแปลก ต้องใส่แว่นด่าเพราะเมื่อ คืนนี้จักษุแพทย์ได้ไปเจอแนวปริที่เยื่อตาเลยยิงเลเซอร์ซีล คือกันไว้ก่อน ตามปกติ ห้ามเดินทางแต่ว่าได้สัญญาไว้กับทางราชภัฏนี้แล้วว่าต้องมาบรรยาย ก็เลยต้องกัดฟัน


๒๐ I

มาบรรยายในวันนี้ เวลานี้เดินสายบรรยายไม่เว้นแต่ละวัน แต่เดิมเชิญถึงเที่ยงแต่ต้อง ขออภัยขอยุติตอนสิบเอ็ดนาฬิกาเพราะต้องเดินทางไปรอบบ่ายที่โรงเรียนวัฒนา และ ต้องเดิ นทางไปบรรยายที่ราชภัฏนครราชสีมาในวัน พรุ่ง นี้เช้าอีก ต้องฝากขออภั ย เพื่อนๆ ราชภัฏที่อยู่แดนไกลที่ไม่สามารถรับบรรยายได้ เพราะเวลาไม่ลงตัว ในฐานะ ที่เป็นนายกราชภัฏมาตลอดระยะเวลา ๙ ปีที่ราชภัฏเพชรบุรี เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงนั้นถือว่าพูดกันเยอะ เช่น เมื่อสักครู่เดินทางออก จากกรุง เทพฯ บนทางด่วนโทลเวย์ ก็มี ป้ายข้ อความต่างๆ เกี่ ยวกับเรื่องเศรษฐกิ จ พอเพียงเราะรายทางมาเรื่อยจนเข้าจังหวัดอยุธยา ก็มีเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เวลานี้ ไม่ว่าเดินทางไปที่ไหน รู้สึกว่าค่านี้เป็นแฟชั่นขึ้นมา แล้วผมก็ไม่ทราบว่าความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงนั้นมีมากน้อยแค่ไหน ตรงกับที่มีพระราชกระแสรับสั่ ง แนะน่าแนวทางนี้มาให้มาใช้หรือเปล่า เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ผมคิดว่า มีความเข้าใจ ผิดหลายประการทีเดียว เพราะเวลาไปที่ไหนพอมีค่าว่าเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมา ผม มักจะเห็นกองฟาง เห็นควาย เห็นวัว เห็นเป็ด เห็นไก่ เห็นกระต๊อบ เห็นไร่นา ก็ใช่ นะครับ แต่มั น ใช่ส่ าหรับ เกษตรกรเท่ านั้ น ไม่ ใช่ ท่ าซะกระทั่ ง ชวนคิ ดว่ าทุ กคนใน ประเทศไทยนี้คงจะต้องไปท่าไร่ ท่านา ท่าสวน เลี้ยงวัว เลี้ยงควาย แล้วถึงจะไปถึง เศรษฐกิจพอเพียงได้ เห็นผู้หลักผู้ใหญ่ในบ้านในเมืองไปเยี่ยมที่โน่นที่นี่ก็มีรูปนี้ออกมา ตลอดเวลา ต้ องขอเรีย นชี้แ จงในเบื้ อ งต้น ก่ อ นว่าเศรษฐกิจ พอเพี ยงนั้น เป็ น แนว ปรั ช ญาของทางด้ า นเศรษฐศาสตร์ ส่ า หรั บ ทุ ก คน ไล่ ตั้ ง แต่ เกษตรกร นั ก ธุ ร กิ จ ข้ า ราชการ พ่ อ ค้ า ประชาชน จนกระทั่ ง แนวทางในการพั ฒ นาของชาติ เ ลย เพราะฉะนั้นวันนี้ก็ดีแล้วนะครับที่ได้มีโอกาสได้มาขยายความเล่าสู่กันฟังบ้าง แต่ผม คิดว่าพูดเศรษฐกิจพอเพียงทันทีทันใดนั้นคงจะไม่เข้าใจ อยากจะวาดภาพให้พวกเรา รู้จักโลกซะก่อนว่าในขณะนี้โลกของเราอยู่ในสภาพอย่างไร โดยย่อๆสั้นๆ เพราะเวลา ไม่ เออ่ า นวยที่ จ ะวาดให้ เห็ น อย่ า งแจ่ ม ชั ด เพราะมั น มี ก ารบรรยายเรื่ อ งนี้ โดย เฉพาะเจาะจงจะต้องใช้เวลาถึงสามชั่วโมงที่จะชี้ให้เห็นว่าโลกก่าลังเดินทางไปสู่การ แตกดับ ไปสู่ความพินาศ หลังจากวาดภาพโลกให้ท่านฟังแล้ว อยากจะให้มองมาที่เรา


I ๒๑

ดูโลกเสร็จ แล้ว มาดู ตั วเราซิ ว่า ตั้ งแต่ อ ดี ต มาจนถึ งปั จ จุบั น นี้ ลั ก ษณะการพั ฒ นา ประเทศนั้นเป็นลักษณะไหนอย่างไรและผลพวงมันเป็นอย่างไรแล้วถึงตอนสุดท้ายจะ พูดถึงเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ท่านทั้งหลายครับ เวลานี้โลกนั้น ผมเป็นคนแรกที่ใช้ ซึ่งไม่สงวนลิขสิทธิ์ใคร อยากจะใช้ก็ได้บัดนี้มันเป็นโลกขั้วเดียว สมัยก่อนนี้มันโลกหลายขั้ว มีคอมมิวนิสต์ มี สังคมนิยม มีเสรีนิยม บัดนี้มันเหลือขั้วเดียว มิใยจะเรียกว่าเสรีนิยม ทุนนิยม หรือ แม้กระทั่งว่าบริโภคนิยม มันก็เป็นค่าเดียวกัน แม้กระทั่งบางประเทศที่เรียกตัวเองว่า เป็นประเทศคอมมิวนิสต์อยู่นั้นแท้ที่จริงภาคปฏิบัติก็เป็นทุนนิยมไปแล้ว จะเป็นจีน เป็นโซเวียตอะไรก็แล้วแต่ ทุนนิยมค่อนข้างจะสุดกู่ด้วย ถ้าใครไปเมืองจีนจะตกใจ เพราะร่องรอยของจีนแต่เดิมไม่เหลือเลย ลักษณะเสรีนิยม ทุนนิยม และบริโภคนิยม นี้ อยากจะกล่ า วทั น ที เลยนะครั บ ว่ า ปรั ชญาที่ ผ ลั ก ดั น ระบบดั ง กล่ า วนี้ ก็ ข อพู ด ตรงไปตรงมาว่าใช้กิเลสและตัณหาเป็นเครื่องน่าทาง ท่าไมผมพูดอย่างนั้น เพราะว่า ระบบเสรีนิยม ทุนนิยม และบริโภคนิยมนั้นต้องการความเจริญทางเศรษฐกิจแต่อย่าง เดียว หรือสร้างความร่​่ารวยอย่างเดียว ลองสังเกตดูซิครับ ถ้าเรามีสติสักนิดหนึ่ง จะ เห็นได้ว่าทุกวันนี้เราถูกกระตุ้นให้บริโภค ผ่านสื่อในรูปลักษณ์ต่างๆหลอกล่อด้วยวิธี ต่างๆบริษัทโฆษณาร่​่ารวยมาก สินค้าเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ packaging จะต้องสวย หลอกล่อด้วยตาก่อน ก็ต้องยอมรับ ว่าหลายครั้งเราซื้อเพราะ packaging หีบห่อดู สวยดี ผมเห็นหลายคนของข้างในไม่เอาหรอก เก็บหีบห่อเอาไว้ เพราะสวย ลองถาม ตัวเองซิว่าเคยประพฤติอย่างนั้นหรือเปล่า ของข้างในไม่เอาเก็บแต่หีบห่อ งบโฆษณา ของบริษัทแต่ละบริษัทมากมายมหาศาล มนุษย์ในขณะนี้ทั่วโลกนั้นบริโภคอย่ างเกิน เหตุ บริโภคด้วยกิเลสและตัณหา เอื้ออ่านวยความสุขให้กับตัวเองมากที่สุดเท่าที่จะ มากได้ สินค้าใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งมากขึ้นเพราะมันสะดวกดี ท่านเหลียวกลับมาค่านึง สักนิดนะครับว่า ไม่ว่าเราจะบริโภคอะไร เราบริโภคอยู่สามลักษณะด้วยกัน ของแข็ง ของเหลว แก๊ส เมื่อผ่านการบริโภคของมนุษย์แล้ว มันก็กลายเป็นขยะ คุณนั่งอยู่ที่นี่ ทั้งหมด คุณก็บริโภคอยู่โดยไม่รู้ตัว แล้วต้องบริโภคด้วยไม่อย่างนั้นถึงแก่ความตาย คุณบริโภคออกซิเจนอยู่ในขณะนี้ แล้วก็ปล่อยขยะคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา น้่ากิน


๒๒ I

อีกสักพักหนึ่งก็เป็นน้่าเสีย โต๊ะ เก้าอี้ ภาชนะทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรานี้มันมี อายุ ข องมั น ทั้ ง นั้ น ใช้ เสร็ จ ก็ ทิ้ ง ไป นั่ งอยู่ นี่ ดี น ะครั บ ดั บ ไปซะบ้ า ง เพราะเห็ น ว่ า ประหยัดพลังงานเห็นเปิดสว่างหมด นี่เราก็ใช้พลังงาน ท่านรู้ไหมครับเผาลิกไนต์ที่ต้น ตอ ร้อยหนึ่งนี่มันมาโผล่ที่ดวงไฟของเรา ไหนๆวันนี้เป็นวันวิทยาศาสตร์แล้ว อยากจะ ชักชวนให้ท่านมาดูในเชิงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงานซะหน่อย มันออกมาเหลือ ที่ดวงไฟไม่ถึงสิบเปอร์เซ็นต์นะครับ เผอิญไม่ได้เชิญมาบรรยายในข้อนี้มันมีตัวเลขให้ดู ครึ่งหนึ่ง ของพลัง งานเผาอยู่ที่ โรงงาน เผาไปเฉยๆเลย ระหว่างส่งพลังงานเดินตาม สายมานั้นเสียไปอีกสิบเปอร์เซ็นต์ ยี่สิบเปอร์เซ็นต์กว่าจะเดินทางมาถึงหลอดไฟกว่า จะอุ่นหลอดไหให้ร้อนแล้วเป็นแสงสว่างขึ้นมา พลังงานเหลือใช้ไม่ถึงหนึ่งเปอร์เซ็นต์ เพราะฉะนั้นเราใช้พลังงานเผาผลาญเหลือเกิน รถยนต์ที่ท่านใช้เมื่อสตาร์ทใช้ไปห้า สิบเปอร์เซ็นต์เพื่อให้เครื่องยนต์หมุน ยี่สิบเปอร์เซ็นต์ใช้กับแอร์ ลงไปที่ล้อเพื่อให้ล้อ หมุนเพื่อเดินทางให้มาถึงที่นี่แค่สิบเปอร์เซ็นต์แค่นั้น นักวิทยาศาสตร์ไปค้นดูก็แล้วกัน ตัวเลขอาจจะไม่ตรงนักแต่ก็ประมาณนั้น มนุษย์เราก่าลังบริโภคทุกสิ่งทุกอย่างต้นตอ ของ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่เราบริโภคอยู่ทุกนาที ทุกวินาที มนุษย์เราโกยมา จากไหนครับ โกยมาจากธรรมะ คือธรรมชาติ หรือทรัพยากรธรรมชาติ หรือดิน น้่า ลม ไฟ แล้วแต่เราจะเรียก ทุกอย่างเลยไม่มียกเว้นแม้กระทั่งเราเป็นโลหะ หรือเป็น อะไรมันก็เป็นบายโปรดักส์ ขุดมาจากดินบ้าง ปิโตรเคมีบ้าง เราโกยมาเป็นวั ตถุดิบ แปรสภาพ แล้วเอามาใช้ ใช้เสร็จเป็นขยะ แล้วก็เหวี่ยงทิ้งกลับไปเป็นธรรมะอีก คือ เหวี่ยงกลับไปที่ธรรมชาติ หลายคนนึกแย้งในใจว่า อ้าว ขยะแล้วก็บ่าบัดสิ บ่าบัดแล้ว ไปไหนครับ ก็เรียนมาแต่เล็กแต่น้อยแล้ว สสารไม่หายไปจากไหนในโลก คุณจะบ่าบัด อย่างไร แล้วถามจริง ๆเถอะ ไม่ว่าจะอยุธยา นครปฐม เชียงใหม่ กรุง เทพ ขยะนั้น ได้ รั บ การบ่ า บั ด สั ก กี่ เปอร์ เซ็ น ต์ แล้ ว เหลื อ อี ก กี่ เปอร์ เซ็ น ต์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การบ่ าบั ด มหาศาล ขยะเชียงใหม่เผลอแป๊ป เดียวไปโผล่ที่ล่าพู น ล่าพูนรู้ตัวก็เหวี่ยงกลับไปที่ เชียงใหม่ ใครเผลอก็ไม่รู้หรอกครับ ใครเผลอก็หน้าบ้านใครก็ทิ้งไปล่ะครับ


I ๒๓

นี่คือสภาพโลกที่เราก่าลังอยู่ ตัวเลขที่น่าตกใจเป็นอย่างยิ่งคือ มนุษย์ขณะนี้ ก่าลังบริโภคทรัพยากรในอัตรา สามต่อหนึ่ง หมายความว่าอย่างไรครับ หมายความ ว่าเราบริโภคทรัพ ยากรธรรมชาติ ดิ น น้่ า ลม ไฟ ไปสาม แต่ โลกสามารถชดเชย กลับ มาได้เพียงหนึ่ง ตัวเลขนี้ แสดงให้เห็ นชัดเจนว่ามนุ ษย์ก่าลัง เดินทางไปสู่ความ พินาศ พลังงานเริ่มหมดจากโลกแล้ว หลายประเทศในบ้านเมื่อหมดก็ไปตีหัวเอาใน บ้ า นคนอื่ น เขา เกิ ด สงครามแย่ ง พลั ง งานขึ้ น ที่ ร บกั น ตายทุ ก วั น นี้ ส งคราม ประชาธิปไตยอย่างที่เขาเอ่ยหรือครับ สงครามประชาธิปไตยหรือไปแย่งน้่ามันกัน ทศวรรษหน้าเขาบอกว่าเป็นยุคของสภาวะของสงครามแย่งน้่ากัน ผมว่าหนักหนายิ่ง กว่าแย่งน้่ามันอีก เพราะน้่ามันเป็นชีวิตไม่มีพลังงานเราก็เดือดร้อนหน่อยแต่ไม่ถึงตาย แต่น้่านี้ถึงตาย คนออยู่ต้นน้่าก็สบาย ทุกคนเห็นแก่ตัวก็กักต้นน้่าไว้หมด ปลายน้่าก็ ตายไป ต้องไปรบราห่าฟันกัน ผลสุดท้ายก็จบด้วยสงครามแล้วก็ล้างโลกกัน แล้วก็ ดู เสมือนไม่หยุดยั้งนะครับ เราบริโภค บริโภคอย่างไร้สาระ นี่คือสภาพโลกอธิบายอย่าง ย่ น ย่ อ เหลี ย วกลั บ มาดู ในประเทศของเรา เราก็ ต ามโลกอยู่ เราก็ ไ ปหลงกั บ ค่ า อันตรายที่สุด คือค่าว่า globalization โลกาภิวัตน์ เรามักจะได้ยินผู้น่าทั้ง หลายจะ พูด เสมอว่า กลัวจะไม่ ทัน โลก กลั วจะตกรถไฟโลกขบวนสุ ดท้ าย ตัวเองไม่ ได้ถ าม ตัวเองเลยว่าโลกมันเดินทางไปทางไหน รถไฟโลกนี้เดินทางไปทางไหน จะไปกระโดด เกาะมันเรื่องอะไร ฉุกคิดสักนิดได้ไหม เอาสติและปัญญามาคิดหน่อยได้ไหม อย่าเอา กิเลสและตัณหาเป็นเครื่องน่าทางอย่างที่เขาก่าลังท่าลายตัวเองอยู่ทั่วทุกมุมโลกใน ขณะนี้ โลกจะไปสู่ความพินาศแล้วยังจะวิ่งตามอีกหรือ ตามืดตามัวถึงขนาดนั้นหรือ เมืองของเราเป็นเมืองปราชญ์นะครับ แต่วัตถุนิยมมันท่วม กิเลสตัณหามันท่วม ท่าให้ หลงกระแสไปหมด หลงกระแสโลกาภิวัฒน์มันมาคู่ กบโลกาวินาศ ประเทศไทยของ เราตั้งแต่ปี ๒๕๐๒ แผนพัฒนาฉบับที่ ๑ เป็นต้นมา ก็เดินตามปรัชญาฝรั่ง บริโภค นิยม เอาความเจริญเติบโตเป็นที่ตั้ง ทุกวันนี้เปิดหนังสือพิมพ์ทุกเช้า จะมานั่งเถียงกัน ว่าความเจริญเติบโตปีนี้ ปีหน้าจะเท่าไรกี่เปอร์เซ็นต์เถียงกันอยู่แค่นี้ ลองถามตัวเอง ได้ไหมว่าทุกๆหนึ่งเปอร์เซ็นต์ที่มันโตขึ้นเราจะต้องใช้อะไรเผาผลาญพลังงานแค่ไหน วัตถุดิบต้องมีอะไร จะ input เข้าไป ใช้อย่างเหมาะสมหรือเปล่า โตแล้วจะได้อะไร


๒๔ I

กลับคืนมา ไม่เตยถาม มุ่งแต่โต มุ่งแต่รวยอย่างเดียวเหมือนฝรั่งคิด คนเราอยู่ในซีก ตะวันออกเป็นเมืองของปรัชญา เป็นเมืองของธรรมะ ผมคิดว่าเราน่าจะฉลาดกว่านั้น นะ เราก็เดินตามโมเดลฝรั่งมาเรื่อยตัวเลขสูงเชียวนะครับ ตอนเริ่มพัฒนาใหม่ๆ เจ็ด แปด สิบเอ็ดเปอร์เซ็นต์บางทีดีใจมากๆที่เห็นตัวเลขโตๆ ร่​่ารวยมาก แต่ไม่เคยถาม ตัวเองเลยว่าที่เราร่​่ารวยนั้น เราร่​่ารวยจากอะไร จากสติปัญญาของเราจริงๆหรือเปล่า ร่​่ารวยขึ้นมาจากฐานอันมั่นคงของพวกเราหรือเปล่า เมื่อเหลียวกลับไปดูในวันนี้ เมื่อ เหลียวกลับไปดูนั้น เรารวยจากอะไรครับ ขายทรัพยากรของเราเอง เราขายป่าไม้จน เกือบหมด ขณะนี้ เราขายดิน ขายน้่า ขายหมดทุกอย่าง แต่ไม่ใช่เงินที่เกิดจากขีด ความสามารถของเราเอง ขายจนเกลี้ยงไปหมดแล้ว น้่ าเน่ าเต็มบ้านเต็มเมือง ดิ น พังทลาย ป่าไม้ถูกท่าลาย อู่ข้าวอู่น้่าเราพูดไม่ค่อยเต็มปากแล้ว นี่คือสภาพที่เกิดขึ้น ยี่สิบปีที่แล้วเกิดความฝันใหม่ขึ้นมานานแล้ว เริ่มมาตั้งแต่เริ่มต้นของวางแผนแล้วอาการก่าเริบหนักขึ้น จ่าค่าว่า NICS ได้ ไหมครับ อยากจะเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ผมอยากจะใช้ค่าว่า “อุตส่าหากรรม ใหม่” อาการถัดมาอีกสามสี่ปี หนักเลย อาการหนักเลย มากขึ้นอีก ไม่อยากเป็นผู้ เป็นคนแล้ว อยากเป็นสัตว์ อยากเป็นอะไรจ่าได้ไหมครับ อยากเป็นเสือ ไม่อยากเป็น คนแล้ว อยากเป็นเสือตัวที่ ๕ พระธรรมปิฏก พระมหาประยุทธ์ บอกคนไทยยุคนี้ มองแคบ คิดสั้น ใฝ่ต่า พระท่านเทศน์ให้ฟังจับใจผมมาก อยากเป็นเสือเขียนไว้ใน แผนเลยไม่เอาเกษตร เกษตรซึ่งเป็น ฐานของเรา เป็นภูมิปัญญาของเรา เป็นชีวิตของ เรา ปั จ จั ย การผลิ ต ทั้ ง หมดเป็ น ของเรา ไม่ เอา ลดพื้ น ที่ ก ารเกษตรลดกิ จ กร รม การเกษตรไปเพิ่มอุตสาหกรรม นี่ผมเล่าประวัติศาสตร์ให้ท่านฟัง แค่นั้นเองนะครับ เตือนความจ่าของพวกท่าน ผมคิดว่าท่านนึกออก ท่านรู้แต่ลืมไปแล้ว แล้วคราวนี้ก็ เริ่มเลยไม่เอาแล้วที่แปดสิบเปอร์เซ็นต์ที่รายได้มาจากการเกษตร ไม่เอาแล้ว รวยช้า เอาเร็วๆแบบเพื่อนๆเราดีกว่ าเขาเป็นสัตว์ไปหมดแล้วทั้งสี่ตัว ท่าไมธุระอะไรเราจะ เป็นคน เป็นตามเขาดีกว่า พอเริ่มคิดจะพัฒนาอุตสาหกรรมเข้า มันก็ต้องการปัจจัย หลายอย่างหลายตัวด้วยกัน ประการแรกส่าคัญที่สุดก็คือการเงิน เงินลงทุนมีไหม มัน


I ๒๕

ก็พอมีแต่พอมีอยู่สบายๆเท่านั้น ไม่มีเงินลงทุนขนาดใหญ่ขนาดนั้น ไม่เป็นไร มีคนมี เงินให้เรายืม เราก็ต้องไปกู้เขา ถ้าเปรียบเสมือนการพัฒนาประเทศคือการสร้างบ้าน ซึ่งภาพมันคล้ายๆกัน สร้างบ้านสร้างเมือง สมัยโบราณก็ใช้ค่าอย่างนั้น ก่อนสร้างบ้าน สร้างเรือนก็ต้องปักเสาก่อน ตกลง เสาแรก เสาเงิน ยืมเขามา กู้เขามา ไม่ใช่ของเรา ยืมเสาเรือนคนอื่นเขามาปลัก มีเงินเสร็จแล้วท่าอุตสาหกรรมได้หรือยัง ยังครับมัน ต้ อ งการตั วที่ ส อง หั วข้ อ ในวั น นี้ คื อ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เรามี ไ หม นอกจากอีแต๋นหางยาวแล้ว เราท่าอะไรหรือเปล่า ขอพูดแรงๆอย่างนี้ ไม่มีไม่เป็นไร ซื้อเทคโนโลยีเขามา ถ้าเทคโนโลยีเปรียบเสมือนเสาเรือนที่สองนั้น ก็เป็นเสาเรือนของ คนอื่นเขาอีก ณ วั น นี้ เ รายั ง ใช้ ค่ า ว่ า transfer of technology อยู่ เ ลย เคลื่ อ นย้ า ย เทคโนโลยีมาใช้ ตกลงสองเสาแล้วนะ ไม่ใช่ของเราเงินของคนอื่นเขา เทคโนโลยีของ คนอื่น เขา มานั่ง อยู่ราชภั ฏเป็ นสถาบัน การศึก ษา ก็พู ดอย่างไม่เกรงใจ การศึกษา ระบบการศึกษาของเรานั้นผลิตคนระดับสูงขึ้นมาหรือไม่ จ่านวนมหาวิทยาลัยเพิ่ม มากขึ้นแต่คุณภาพการศึกษาผมอ่านเมื่อสองสามวันนี้ผมไม่ได้ท่าการศึกษาเอง เป็น รายงานของพวกเราท่ากันเองบอกคุณ ภาพการศึกษาลดลง ไม่มี ไม่เป็นไรอีก เสา เรือนคน ไม่ มีค น ก็ ฝรั่ง ญี่ ปุ่ นเขามาบริหารเงิน ของเขา เทคโนโลยีของเขา เราไม่ เป็นไรเรื่อยเลยนะครับ ตกลงเสาเรือน ตกลง เสาเรือนที่สามเป็นของคนอื่นอีก เหลือ เสาเรือนของเราอยู่เสาเดียว คนอื่นเขาเอาเงินมาลงทุน และเอาเทคโนโลยีมาใช้ พวก เราก็เป็นสตาฟ เป็นภารโรง เป็นยาม เป็นเลขา เศรษฐีก็ปลูกบ้านให้ฝรั่งเช่า ให้ญี่ปุ่น เช่า นี่คือเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้ น แล้วก็เริ่มบ้ ากระแสโลกาภิวัตน์ liberalization พวก สร้างระบบเสรีการเงินขึ้นมา อะไรขึ้น มา เรียกร้องกันหมด ผู้คนในวงการศึกษาก็ เรียกร้อง สื่อมวลชนก็เรียกร้องกันหมด โดยไม่ค่านึงเลยว่าตัวเราพร้อมหรือยังที่จะ เปิดเสรีขนาดนั้น แต่เปิดอ้าซ่าเลย เงินใครเข้ามาเท่าไหร่ก็ได้ จะเอาออกไปเท่าไหร่ก็ ได้ สมัยก่อนยุคเราจ่าได้ไหมครับ ท่านอาจารย์ทั้งหลายจะออกไปต่างประเทศ จะไป แลกเงินเท่าไหร่จะต้องประทับหลังพาสปอร์ต เดี๋ยวนี้เสรี ใครจะเอาเข้ามา ใครจะเอา ออกไปเชิญ ตามสบายครับ เราเสรีแล้ ว โดยไม่ ได้ ถามว่าระบบการควบคุ มของเรา


๒๖ I

เพียงพอไหม เราแข็งแรงพอที่จะสู้คนอื่นเขาไหม เราก็ต่อบ้านของเราไปเรื่อย ต่อฝา ต่อเสา ต่อชั้นขึ้นไปเรื่อย เพลิน ทุกคนได้เงินเดือนแพงๆ ซื้อทุกสิ่ง ทุกอย่างที่ขวาง หน้า คนไทยเราได้ชื่อว่ารายได้ต่ารสนิยมสูง แล้วหมอเขาพบว่ามีสารอะไรตัวหนึ่งอยู่ ในสมองกระตุ้นให้ชอบช้อปปิ้ง จริงเท็จอย่างไรถามตัวเองก็แล้วกัน ไปต่างประเทศที ไรแวะเมืองหนึ่งกระเปาคลอดลูกมาใบ ซื้อทุกอย่างที่ขวางหน้า ใช้หรือเปล่าก็ไ ม่รู้ ขอให้ได้ ซื้อไว้ก่อน โตเพลินมาเรื่อยขณะที่ระบบการบริหารนั้นเรื่องความโปร่ งใส เรื่องอะไรต่ออะไรต่างๆลดน้อยลง ระบบการควบคุมอะไรต่ออะไรต่างๆ การลงทุน มากมายขยายตัวขึ้นความพร้อมที่จะดูแลเรื่องราวต่างๆ ก็ยังไม่มี การทุจริตคอรัปชั่น ก็มีมากขึ้น การประท้วงการเดินขบวนของสหภาพของแรงงานก็มีมากขึ้น พอถึงจุดๆ หนึ่งนักลงทุนเขาบอกเขาไม่เอา แรงงานแพงเกินไป ต้องจ่ายบนโต๊ะใต้โต๊ะอะไรก็ไม่รู้ ไปจีนดีกว่า ไปเวียดนามดีกว่า เขาก็ถอนเงิน ย้ายฐาน เดี๋ยวนี้ย้ายกันง่ายๆ สบายมาก กดคอมพิ วเตอร์ส องสามครั้งก็ ย้ายแล้ ว พอเงินย้ ายออกไปเสร็จแล้ ว คนก็ ตามไป เทคโนโลยีไ ม่ต้อ งเอาไปทิ้งไว้ที่ นี่แหละเพราะอีก เจ็ดแปดเดือนถั ดมาก็เป็น ขยะไป หมดแล้ว เพราะว่าเทคโนโลยีมันเปลี่ยนเร็วเหลือเกิน เสาเรือนเงินเขาก็ถอนไป เสา เรือนคนถอนไปอีก เทคโนโลยีผุในตัวของมันเอง ตกลงบ้านเหลือเสาเดียวคือตัวของ เราเอง อยู่ได้ไหมครับ พัง ล้มตึง เมื่อสิบปีที่แล้วเราจ่าปี ๓๙ ปี ๔๐ ได้ แต่ขอยืนยัน ว่าไม่ได้เป็นการล้มครั้งแรกนะครับ ผมท่างานสภาพัฒน์ตั้งแต่ปี ๒๕๑๒ นั้น เป็นการ ล้มครั้งที่สาม แล้วน่ามหัศจรรย์ใจเมื่อย้อนกลับไปดูประวัติศาสตร์การพัฒนามันโต แล้วแตก ไม่ใช่เหี่ยวแล้วแตก นึกถึงค่าที่ฝรั่งเรียกเราได้ไหมครับ bubble economy ฟองสบู่ พัฒนาแบบฟองสบู่โตแล้วแตกข้างในไม่มีอะไรเลย เพราะไม่ได้มีฐานรองรับ อย่างแท้จริง ความจริงถ้ามันไม่มีเหลืออะไรเลยมันก็ยังดีนะครับ มันมีเหลือครับ ฟอง สบู่แตกโป๊ะ แต่ข้างในมันมีเหลือ อะไรนึกออกครับ หนี้ ยัง ไงครับ ล้มครั้งที่แล้วจ่า ตัวเลขไม่ค่อยได้สามล้านล้านบาท มีหนี้มาเป็นภาระอีกหวังที่จะเจริญเติบโตใช้เงินกัน อย่างบ้าเลือด จ่าได้ไหมครับ รถเบ๊นซ์สามพันคัน สองอาทิตย์ขายหมด เงินเดือนสูงๆ ผ่อนคอนโด ซื้ออะไรต่ออะไรไม่รู้ของแพงๆ เศรษฐกิจก็ล้มครืนลง หนี้ท่วมแล้วเราก็มี


I ๒๗

สติกลับคืนมา เริ่มท่าอะไรสุขุมรอบคอบ แต่คนไทยนี่แปลกสุขุม รอบคอบแป๊ปเดียว พอฟื้นตัวขึ้นมาหน่อยลืมอีกแล้ว ตอนนี้อ้าขา ผวาปีก เริ่มคิดฟุ้งซ่านไปอีกแล้ว เมื่อ ย้อนกลับไปดู วิกฤตแต่ละครั้งเมื่อล้มตึงขึ้นมาเหลียวหาเครื่องช่วยชีวิตเหลียวซ้ายแล ขวาดู ส มบั ติ อะไรต่ อ อะไรผมเห็ น พวกเราวิ่ ง ขายอะไรรู้ ไ หมครั บ ไม่ เห็ น สิ น ค้ า อุตสาหกรรมที่พัฒนากันไม่เห็นวิ่งขายเลย เพราะอะไร ไม่รู้จะวิ่งขายใครเพราะทุกคน พัฒนาเหมือนกันหมด ผลสุดท้ายอะไรรู้ไหมครับ สมบัติเก่า ไปจากแถวนี้ ขายข้าว สมบัติดั้งเดิม วิ่งขายข้าว ก่อนที่จะเกิดวิกฤตนี่บ้าเห่อกันมาก ส่านักส่งเสริมการลงทุน ประกาศเลย บริษัทนั้นไปลงทุนสองหมื่นล้าน ประเทศนั้นจะลงทุนสี่หมื่ นล้าน สาม หมื่นล้าน บริษัท ใหญ่ ๆมา พอระเบิดตู้ม ล้มพั บไป วันรุ่งขึ้ นพูดเรื่อง SME (small and medium enterprise) อยากบอก small and micro enterprise เล็กๆ จิ๋วๆ เนี่ ย แท้ จ ริ ง เราเก่ ง ไอ้ ใหญ่ ๆ โตๆ เราไม่ เก่ ง หรอก มั น ไม่ ใช่ พื้ น ฐานเรา โรงงาน electronic ship จะสร้างมาแข่งกับใคร ซีลีคอนวัลเลย์หรือไม่ต้อง เจอแค่บังกะลอ อินเดียเราก็น็อคแล้ว แต่ข้าวนี่ไม่มีใครสู้แต่เราก็ทิ้ง ละ สิ่งที่มีค่าดั้งเดิมของเรา จะ ยากดีมีจนอย่างไรก็ต้องกิน ผมจ่าได้กลับจากต่างประเทศเมื่อปี ๒๕๑๒ นั้นได้ยิน เพื่ อ นๆในสภาพั ฒ น์ พู ด กั น ด้ ว ยความภาคภู มิ ใ จ และยั ง รั ก ษาความภาคภู มิ ใ จ จนกระทั่งบัดนี้นะครับประเทศไทยเป็นหนึ่งในเจ็ดประเทศเท่านั้นที่มีอาหารเหลือกิน เอาไปขายชาวโลก เลี้ยงดูชาวโลก และบัดนี้ หนึ่งในเจ็ดก็ยัง คงอยู่แต่สภาพชักจะ หวั่นไหวลงไปทุกที แต่เรากลับไม่รักษาไว้ไปไขว่คว้าอะไรไม่รู้ นี่คือสภาพการพัฒ นาที่ ผ่านมา โตแล้วแตก เพราะไม่ได้พัฒนาจากฐานที่มั่นคงแข็งแรงและตรงกับศักยภาพ ของเรา บทเรียนที่ผ่านมาเราไม่เคยจ่า ทั้งที่สุภาษิตของเรา เจ็บแล้วต้องจ่านั้น มายุค นี้ก็ใช้ไม่ได้เพราะกระแส globalization ท่วมจนกระทั่ง หน้ามืดตามัวกันหมดแล้ว แม้กระทั่งระบบการศึกษาของเราสอนภูมิปัญญาไหม สอนภูมิปัญญาฝรั่งเท่านั้นเลย ราชภัฏเอง ปรัชญาของราชภัฏเองนั้น ต้องมุ่งมั่นกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ลองถามตัวเอง ซิครับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้สอนซักกี่เปอร์เซ็นต์ แล้วก็เขียนไว้เป็นปรัชญาของสถาบัน ต้องภู มิปัญ ญาท้องถิ่น ต้องอะไรต่ออะไร ผมไปที่ไหนก็ ไม่เห็นท่าจริง ๆจัง พอร่าง หลักสูตรทีไรคิดแบบฝรั่งอีกแล้ว ทั้งๆที่ตัวผมเองน่าจะคิดแบบนั้น เพราะตัวผมเองไม่


๒๘ I

เคยเรียนเมืองไทยเลยตั้งแต่มัธยมก็ไปเรียนเมืองนอกแล้ว แต่พอกลับมาผมกลับเห็น คุณค่าของสิ่งที่มีอยู่บนแผ่นดินไทย แน่นอน เราต้องเรียนรู้เขานะครับ ผมไม่ได้ให้ ละ ทิ้ง ไม่ใช่ให้ทิ้งความรู้ฝรั่งมั่งค่าเราต้องสู้กับเขา เราต้องร่วมกับเขา เราต้องรู้เขา แต่ เราไม่รู้เราเลย รู้แต่เขาอย่างเดียว แล้วไม่รู้เรามันไม่ไหวนะครับ ต้องรู้เรา รู้เรานี่น้อย มากเลยขอเรียน ท่านอาจจะเถียงในใจ ราชภัฏอยุธยาเราก็ภูมิปัญญาท้องถิ่น ราชภัฏ เพชรบุรีผมก็ บอกว่าต้องภูมิปั ญญาท้อ งถิ่น แต่มัน ท่าสักแค่ไหนอย่างไรลองมารับ ความจริงดูซิว่าท่าอย่างจริงจังหรือเปล่า ร่างหลักสูตรทีไรเห็นต่ารับต่าราฝรั่งทั้งนั้น เปรียบเทียบกันบ้างได้ไหม เพื่อจะได้มีข้อตัดสินที่ดีว่า เราอยู่ตรงนี้ตกลงเราจะเลือก เดินทางไหน จ่าได้เมื่อปี ๒๕๒๔ รัฐบาลได้คัดเลือกตัวผมไปให้ไ ปถวายในนามของ รัฐบาลในฐานะเลขาธิการ กพร.ส่านักงานเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด่าริ เมื่อทรงทราบว่ารัฐบาลจัดข้าราชการไปถวายงาน รับสั่งเรียกไปเลย จ่าฝัง แน่นเลยว่าวันแรกที่เข้าเฝ้านั้นรับสั่งว่าอะไร สั้นๆแต่มีความหมายลึกซึ้ง ประโยคแรก นั้นเป็นเรื่องเงื่อนไขในการท่างานกับพระองค์ท่าน รับสั่งประโยคหนึ่งยังฝังอยู่ในใจ ฝังในจิตวิญญาณและยึดเป็นหลักของชีวิต “ขอบใจที่มาช่วยฉันท่างาน แต่ขอบอกซะ ก่อนนะว่าท่างานกับฉันนั้น ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากความสุขที่จะมีร่ว มกันในการ ท่าประโยชน์ให้กับผู้อื่น” ประโยคอันยิ่งใหญ่เรียบง่าย ไม่มีอะไรจะให้นอกจากความสุขที่จะมีร่วมกัน ในการท่าประโยชน์ให้กับผู้อื่น ความสุขไม่ใช่ความรวย และนับแต่วันนั้นมาผมรู้สึกมี ความสุข เหนื่อย แสนเข็ญแต่มีความสุข และไม่ใช่ความสุขที่ท่าเพื่อตัวเอง ความสุขนี้ ท่ าให้ กั บ คนอื่น และความจริ งเราก็ ได้ ถ้ าคนอื่ น เขาดีส่ ว นรวมดี เราเป็ น หนึ่ ง ของ ส่วนรวมเราก็ดีด้วย ไม่ใช่ว่าเราไม่ได้หรอก ได้ แต่ทุกคนดูเหมือนค่อนข้างจะเห็นแก่ ตัว ท่าเพื่อตัวก็ได้เฉพาะตัว แล้วผลสุดท้ายระยะยาวก็ไปไม่ได้ นี่คือเงื่อนไขในการ ท่างานกับพระเจ้าอยู่หัว ข้อที่สองคือหลักการในการท่างานหลายท่านคงฟังมาแล้ว แต่ขอพูดอีกครั้ง เรื่องของพระเจ้าอยู่หัวผมจะพูดซ้่าอย่างนี้เป็นพันครั้งแล้วแต่ขอพูด


I ๒๙

อย่างนี้เพราะไม่เข้าหัวซักที วันนี้ขออนุญาตพูดซ้่าอีก “จ่าไว้นะจะท่าโครงการอะไร กิจกรรมอะไรที่ไหนก็ตามให้ยึดหลักภูมิสังคม” สั้นๆอย่างนี้ พระเจ้าอยู่หัวสอนอะไร สั้นๆไปคิดเองภูมิสังคมคืออะไร หนึ่งต้องให้ความเคารพ ภูมิ ในเบื้องต้นเลย ภูมิ คือ ภู มิ ศาสตร์ ภู มิ คื อทรัพ ยากรธรรมชาติสิ่ งแวดล้ อ ม ภู มิ คื อ ดิ น น้่ า ลม ไฟ ที่ อ ยู่ รอบๆตัวเราในทุกขณะที่เราจะท่ าอะไรก็แล้วแต่ ภูมิอยุธยาแบบหนึ่ง ภูมิ เพชรบุ รี แบบหนึ่ง ภูมิที่เชียงใหม่อีกแบบหนึ่ง ไม่ว่าแต่ละแห่ง แต่ละแห่ง ให้จังหวัดติดกันมัน ก็มีเหมือนกัน ลักษณะภูมิประเทศไม่เหมือนกันเลยแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ทางเหนือ เจอภูเขาสูง ทางอีสานก็สูงเหมือนกัน แต่ไม่ใช่ภูเขาสูงเป็นที่ราบสูงคนละเรื่องคนละ ราว กายภาพไม่ เหมือ นกัน เลย ณ ที่ เรานั่ งอยู่ที่ นี่ลุ่ มแม่น้่ าเจ้ าพระยา ลุ่ม น้่ าท่ว ม แน่นอน ภูมิปัญ ญาของคนไทยจะปลูกใต้ถุนสูงหมด แต่มายุคนี้เราใช้ภูมิปัญญาของ เราช่วยตัวได้ไหม ปลูกบ้านแบบฝรั่งติดดิน เรียบร้อยบ่นท่าไม เจอน้่าท่วมบ่นท่าไม ไปดูบ้ านเพชรบุรีไ ม่เคยกลั วน้่าท่ วม น้่าท่ วมทีไรสนุ กสนานปรับ ตัวเข้ ากับ ภูมิ โดย สิ้นเชิง คนสมัยโบราณฉลาด ยิ่งเจริญยิ่งโง่แปลกจังเลย เห็นไหมครับทรงสอนง่ายๆ โครงการส่วนมากที่มันประสบความล้มเหลวเพราะอะไรที่เราท่า เพราะส่าเร็จแห่ง หนึ่ งใช้ทั่ วประเทศเลย ก็ เรีย บร้ อยล้ มเหลวแน่น อน แต่ ละแห่ ง ๆนั้ น ไม่ เหมื อนกั น แน่นอน สังคม ค่าว่า สังคมคืออะไร คือคนครับ คนซึ่งเป็นปัจจัยหลักของการพัฒนา ทั้งหลายทั้งปวง การเคลื่อนไหวการเคลื่อนตัวทุกสิ่งทุกอย่างนั้นด้วยคน คนทางเหนือ คิดเหมือนคนทางใต้ไหมครับ คนอีสานตัดสินใจเหมือนคนภาคกลางเสมอไปไหมครับ ไม่เหมือนกันเลย แต่ละคนจะตัดสินใจ เขาจะคิด ไปตามวัฒ นธรรมประเพณี ค่านิยม ที่เขาถูกสั่งสอนมาแต่เล็กแต่น้อย ไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นต้องให้ความเคารพ แต่ ละแห่ง แต่ละทิศ แต่ละภูมิภาคเขาจะคิดไปคนละอย่าง อย่างนี้ต้องยึดถือปัจจัย แล้ว คิ ด ดู ซิ ค รั บ ฝรั่ ง มั ง ค่ า ก็ ยิ่ ง ต่ า ง นี่ ข นาดในบ้ า นในเมื อ งของเรายั ง ต่ า งกั น ขนาด นี้ นับประสาอะไรกับฝรั่งมังค่าเขาจะต่างกกว่าเราตั้งเยอะ แต่เราก็น่าเข้าสิ่งต่างๆมาใช้ อย่างหน้าตาเฉย วันดีคืนดีเราก็ลอกอะไรก็ไม่รู้ทุกสิ่งทุกอย่างก๊อปปี้เขามา ของดีๆมา ใช้ บอกประชาธิ ป ไตยเขาดี ม าก ก๊ อ ปปี้ เขามาใช้ ร่างรัฐ ธรรมนู ญ ที่ ดี ที่ สุ ด ในโลก ประกอบไปด้วย สามร้อยกว่ามาตรา แล้วไม่เข้าใจสักมาตรา วันนี้ก็ยังตีความกันอยู่


๓๐ I

เลย หยิบมาตราไหนขึ้นมา ส่งตุลาการรัฐธรรมนูญตีความว่ามันคืออะไร ออกแบบมา ดี ดีที่สุดในโลกแต่จะใช้แต่ละอันต้องส่งคนตีความ ก็ทะเลาะกันวุ่นซิครับ ของดีถ้าไม่ รู้จักใช่ก็ไม่ดีหรอกครับไม่มีประสิทธิภาพหรอกครั บ เชื่อผมสิ ผมสอนวิชานี้ด้วย มัน ต้องเข้าใจวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเอาเข้ามาแล้วไม่ได้ใช้มันเลยผมเห็นหลายคนซื้อ โทรศัพท์มือถือเครื่องละหมื่นสองหมื่น ในแคตตาล็อกบอกท่าอะไรได้มหาศาล แต่ใช้ แค่ โ ทรเข้ า โทรออก ซื้ อ แค่ เ ครื่ อ งละสามพั น ก็ พ อ ระบบคอมพิ ว เตอร์ ข อง กระทรวงศึกษาธิการก็ดี ของรัฐบาลก็ดี ถามจริงๆว่าเราใช้เต็มที่หรือไม่ ทุ่มเงินไป มหาศาลซอร์ฟ แวร์ ฮาร์ดแวร์เต็มไปหมด แต่ ว่าใช้เต็ มศัก ยภาพของมัน หรือเปล่ า จริงๆใช้ไม่ถึงห้าสิบ เพราะเรารู้จักมันแค่นั้น ความไม่คุ้มเกิดขึ้น พูดถึงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเราต้องใช้นะครับไม่ใช่ไม่ใช้ ทุกอย่างต้องคิดตรองอย่างมากว่าอะไรเหมาะ กับเรา ไม่ใช่เอาทันสมัยที่สุด อะไรเหมาะสมที่สุด มีประโยชน์ที่สุดตรงนี้ต่างหากที่ ส่า คั ญ ถามว่ าเดิน ไปข้า งหน้ า อย่า งไร ในเมื่ อ สภาพเป็ น เช่ น นี้ นี่ แ หละครับ พระ เจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางให้แล้ว ทรงส่องประทีปมาตลอดระยะเวลา หกสิบปี แต่คนไทยไม่ค่อยตามกันเลย ขนาดส่องทางสว่างโร่แล้ว ไปหลงเดินทางที่มืดๆมัวๆ ที่ ฝรั่งเขาชักน่าไป เศรษฐกิจพอเพียงนั้นทรงคิดมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ ทรงปฏิบัติมาตลอด พวกเรานี่เสียอย่างหนึ่งนะผมขอเตือน จะเป็นครูบาอาจารย์ จะเป็นนักศึกษา จะเป็น ใครก็แล้วแต่ ชอบเห็นพระเจ้าอยู่หัว แต่ไม่ค่อยมองพระเจ้าอยู่หัวหรอก เห็นแล้วชื่น อกชื่น ใจ เสด็ จที่ ไ หนจะวิ่งไปดู แต่ ไม่ค่ อยมอง ก็ เลยไม่ เข้า ใจว่าทรงท่ าอะไรและ หมายความว่าอย่างไร ชอบได้ยินพระเจ้าอยู่หัว รับสั่งทีไรก็ชื่นอกชื่นใจ แต่ได้ยินอย่าง เดียว ไม่เคยฟัง รับสั่งอะไรไม่เคยมาคิด ก็เลยไม่เข้าใจ ความจริงทุกสิ่งทุกอย่างท่าน ได้ทรงสอนตลอดระยะเวลาหกสิบปีที่ผ่านมา สอนแล้วสอนอีก หลายรูปหลายแบบ บางทีสอนสิ่งเดียวแต่ออกมาสิบแบบ ยี่สิบแบบ สอนอย่างเดียวน่ะ ไม่เข้าใจ แปลกจัง เลย แต่ทีฝรั่งเขามาพูดอะไรสนใจมาก เอาใหญ่เลย เชิญ เสียเงินมาตั้งกี่ล้านก็ไม่รู้ ให้ เขามาพูด แล้วก็ท่าไม่ได้ ที่ท่าไม่ได้และไม่เหมาะสมแต่พยายามจะตามเสียอีก ที่ตลก ที่สุดคือพยายามจะก๊อปปี้เขา เราต้องมีดีไซน์แต่ละอัน ต้องมาปรับใช้ให้สอดคล้องแต่


I ๓๑

ละวัฒนธรรม เราไม่เหมือนเขา เขาสอนอะไร ถึงบอกว่าเกิดวิกฤตขึ้นมาเรียนรู้แล้วนะ ใช้เศรษฐกิจพอเพียงได้ไหม ผมจะมาถึงส่วนที่สามแล้ว จะอธิบายค่าว่าเศรษฐกิจพอเพียง รายละเอียด ให้ ไปหาอ่ านเอานะครั บ ศึ ก ษาค้ น คว้ า หาไม่ ย าก มี เอกสารเยอะแยะ แต่ ข อเอา ประเด็ น สาระส่ า คั ญ มาตั้ ง เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมี ค่ า กุ ญ แจอยู่ ส ามค่ า คื อ ค่ า ว่ า พอประมาณ ค่าที่สองคือ ด้วยเหตุด้วยผล ค่าที่สามคือ มีภูมิ คุ้มกัน มาเข้าใจค่าง่ายๆ สามค่านี้ก่อน พอประมาณ ค่าโบราณเขาก็มีว่าท่าอะไรประมาณตนนะ เห็นไหมครับ ทรงใช้ค่าภาษาไทยแท้ๆ ภาษาไทยเก่าๆ ซึ่งผมคิดว่าเข้าใจง่ายแต่พวกเรากลับไม่นิยม ชอบนิยมภาษาไทยแผลงๆ โดยแปลงมาจากภาษาต่างประเทศ แล้วแปลกันเพลินเลย นะ แล้วใช้เสร็จแล้วเวลาสื่อ มางงเหมือนกันนะ ขนาดผมระดับด๊อกเตอร์ผมยังงงเลย นะ บางทีฟังอาจารย์เขาบรรยาย บรรยายภาษาไทยหรือเปล่า การพัฒนาต้อง พัฒ นาแบบองค์ รวมเพื่ อบูรณาการความคิดเพื่อสันดาปไปสู่พ ลัง ที่เป็น พลวัฒ น์ใน บริบทสังคมไทย พูดอะไรไม่รู้ แปลฝรั่งมาตรงตัว พอออกมาเป็นภาษาไทยอย่างนี้ถาม จริงๆเข้าใจหรือเปล่า ผมไปอบรมคนอีสานบางทีฟังเยอะๆเราก็เพลินเหมือนกัน การ พัฒนา เราต้องพัฒนาแบบองค์รวมเด้อ คนอีสานลุกขึ้นมา คือว่านิมนต์พระทั้งวัดบ่ องค์รวมน่ะ รวมทุกองค์ด้วยหรือเปล่า บางทีเราเข้าใจ แต่พอสื่อไปถึงชาวบ้านองค์นี่ องค์พระแน่ๆ พอองค์รวมต้องรวมทุกองค์แน่นอน ดีผมไม่เปล่งค่าว่าสันดาป คงจะ ลากดาบมาช่วยกันพัฒนา วิ่งกันกระจุยเลย เราเคยเรียกชาวไร่ชาวนาว่ากระดูกสัน หลังของชาติ พอมายุคนี้เรียกเขาว่ารากหญ้า ผมนี่เรียนจากเมืองนอกนะ กราสรูท (grassroot) ก็เข้าใจนะ แต่พอแปลออกมาเป็นไทยแล้วดูถูกกันน่ะ ไอ้พวกรากหญ้า หญ้ามันอาหารวัว ควาย สนามหญ้าสนามวิ่งเล่น เหยียบย่​่า นี่พอแปลแล้วแปลเพลิน พอออกมาเป็นภาษาไทย่ะ ไม่รู้นะคุณไม่รู้สึกกันแต่ผมรู้สึกนะ ไม่ใช่ ถ้าอยากจะบ้า ฝรั่งก็เอา ขอเปลี่ยนตั วอาร์เป็น ตั วแอลได้ไหม กลาสรูท (grassloot) รากแก้ว ให้ เกียรติเขาหน่อย เขาเป็นรากแก้วของชาติไม่ใช่รากหญ้า เขาผลิตข้าวให้เรากินทุกวัน แล้วยังไปเรียกเขารากหญ้า ลองตรองดูซิครับ ครูบาอาจารย์ก็พูดกันเฉย ขอต่อว่า


๓๒ I

หน่อยเถอะ ไม่มีใครหยิบยกขึ้นมากระตุ้นกันเลย ต้องระวังนะครับเวลาใช้ภาษาฝรั่ง พวกต่างประเทศเขาดูถูกคนจน ถ้าใครรู้รากศัพท์ค่าว่าวิลเลจหรือวิลเลจเจอร์จริงๆน่ะ คุณจะรู้รากศัพท์มันมาจากค่าว่าวิล ความชั่วร้าย เพราะสมัยก่อนนี้สมัยยุคขุนนาง ศั ก ดิ น า ชาวนาก็ เบี้ ย วค่ า เช่ า นา ไม่ ส่ ง อยู่ เรื่ อ ยเรี ย กว่า วิ ล พวกเล่ ห์ ก ระเท่ พวก หลอกลวง พวกไม่แน่นอน เราไม่รู้รากศัพท์เราก็เรียกเขาเพลิน จ่าเอาไว้นะถ้าอะไรรู้รู้ จริงๆ ไม่ใช่แต่พูดไทยค่าฝรั่งค่า รู้อะไรต้องรู้จริง ต้องระมัดระวัง ในค่าว่าพอประมาณ คือท่าอะไรอย่าเกินตัว ก่อนที่จะท่าอะไรนั้นตั้งแต่ระดับปัจเจกชนเลยนะครับเรียกว่า ระดับตัวเราๆท่านๆ ระดับองค์กร ระดับสถาบัน จนกระทั่งไปถึงระดับประเทศเลย นั้ น พู ด ง่ า ยๆว่ า ก่ อ นจะท่ า อะไร ตรวจสอบศั ก ยภาพของเราเสี ย ก่ อ น ว่ า ความ พอประมาณของเราอยู่ตรงไหนเรามีศักยภาพอะไรอยู่ในตัว ระดับประเทศก็ต้องดูว่า ทรัพยากรภูมิของเรามีศักยภาพอย่างไร สังคมเรามีศักยภาพอย่างไร ทรัพยากรใน แง่ มุ ม ต่ า งๆนั้ น ๆ ขี ด ความสามารถของคน หลั ก ประกั น ของเราอยู่ ต รงไหน ขี ด ความสามารถของเราอยู่ต รงไหน ราชภั ฏ อยุธ ยานี้ เช็ คดู ก่ อ นว่า ศัก ยภาพเราอยู่ ตรงไหน เราแน่ตรงไหน เพราะแต่ละแห่งไม่เหมือนกัน แต่จะมีจุดเด่นแต่ละอย่าง ไม่ เหมือนกัน แต่เวลานี้จุดบอดคือท่าทุกอย่างเหมือนกันหมด ใครจะเปิดคณะไหนขึ้นมา อีกสามสิบแห่งจะต้องเปิดเหมือนกันหมด มีครูอาจารย์อยู่สามคนก็เปิดใช่หรือเปล่า บางคณะเปิดขึ้นมาได้หลักสูตรหนึ่งมีสามคน และอีกสามคนมีชื่ออีกหลายหลักสูตร มี ชื่อเต็มไปหมดใช่หรือเปล่า เปิดหลักสูตรใหม่ขึ้นมาและล้มเลิกหลักสูตรเก่าหรือใหม่ เวลานี้เคยนั บบ้ างไหมว่ามีห ลักสู ตรเท่ าไร และที่มั นล้ าสมัยไปแล้วมีซั กเท่ าไรเคย ตรวจสอบหรือไม่ เคยมานั่งรวบรวมว่าอะไรที่เป็นหลัก ๆและที่สอดคล้องกับศักยภาพ ของเราไหม ในระดับจังหวัดเหมือนกันผู้ว่า รองผู้ว่า ซีอีโอ ก็ต้องมาดู จังหวัดอยุธยานี้ แน่อะไร ทุนมีอะไร เพราะแต่ละจังหวัดไม่เหมือนกัน จนกระทั่งระดับประเทศ ระดับ จังหวัด ระดับหน่วยงาน ระดับธุรกิจ จะท่าธุรกิจเราแน่อะไร ต้องเลือกอย่างนั้น อย่า ไปฝืนท่า เมื่อรู้ศักยภาพได้ข้อมูลครบถ้วนแล้ว ค่าที่สองตามา คือต้องเลือกแนวทาง เดินด้วยเหตุผล ไม่ใช่กระแส ที่แล้วมาเราเลือกเดินทางตามโดยกระแส ด้วยความโลภ


I ๓๓

ด้วยกิเลส ตามเขาไปเรื่อย โดยไม่รู้เขาไปที่ไหน เขาตกเหวยังวิ่งตามไป ต้องมีเหตุผล ใช้เหตุผลเป็นตัวตั้ง ด้วยเหตุด้วยผล ราชภัฏอยุธยาจะเลิศทางด้านนี้ เพชรบุรีจะเลิศ ทางด้านนี้ เอามันคนละอย่างไม่ต้องซ้่ากัน ซ้่ากันของเรียกของโหล ไม่มีมูลค่า อย่าง ต่างประเทศ ถ้าเรียนรัฐศาสตร์ต้องเรียนที่นี่แน่แต่ถ้าเรียนหมอต้องที่มหาวิทยาลัยนี้ ที่ยังเหลืออีกสิบแห่งไม่ใช่ เขายังเลือกเลย ของเรานี้ไปดูซิครับเหมือนกันหมด ไม่มี อะไรจะเด่นซักอย่าง โหลหมด ขอเรียนตามตรงอย่างนี้ เผื่อจะเลือกทางเดินได้ ผม เสียดายโอกาส เสียดายสภาพสิ่งแวดล้อมอันมีค่าเหลือเกิน เมื่อสักครู่ผมมาก่อนเวลา เดินดูรอบๆอยุธยาดูผิวเผินมีสิ่งปรักหักพังแต่ว่าคุณ ค่าที่ซ่อนใต้สิ่งปรักหักพังนั้น มี คุณ ค่ามหาศาล ผมดูก้อนหินที่หักแล้ว มันเป็นสมบัติแล้วแปลงมาเป็นสินทรัพย์ไ ด้ อย่างสบาย ต้องเอาสติปัญญา อย่าเอาของมาแปลงเป็นสินทรัพย์ ขอทีเถอะ โน่นก็จะ แปลง นี่ ก็ จ ะแปลงอยู่ เ รื่ อ ย เอาปั ญ ญาเอาไปใส่ ต รงนี้ บั ง เอิ ญ ไม่ ใ ช่ นั ก ธุ ร กิ จ ไม่อย่างนั้นจะพัฒนาอยุธยาให้ดังระเบิด ดังระเบิดจากสิ่งที่พังแล้ว เห็นไหมครับ สิ่งที่ พังแล้วเราก็ท่ามาได้ วันนี้ก็ต้องขอชมเชยรองผู้ว่าหน่อยว่าอยุธยาสะอาดสะอ้านขึ้น เยอะ ผมไปไหนผมชอบใช้เวลาแวะดูที่โน่นนิดที่นี่หน่อย ดูสมบัติของเรา ดังนั้นต้องใช้ เหตุผลเดิน ดูว่าพื้นฐานของเราเกษตร ถ้าเราจะไปเอาอุตสาหกรรม เราจะต่อยอด เป็ น อุ ต สาหกรรมเกษตรไหม ตอนเจอวิ ก ฤตเห็ น ไหมครั บ บริ ษั ท อาหารไม่ เจอ ผลกระทบเลย ไม่ล้มสักราย S&P ตอนนี้ไปทั่วโลก เปิดร้ านอาหาร รวยเอา รวยเอา ประเทศที่ร่ารวยอย่างไรก็ต้องกิน แล้วเราได้เปรียบบางประเทศเป็นทะเลทราย มี น้่ามัน กินได้หรือเปล่า ผลสุดท้ายเขาก็ต้องซื้อเรากินทั้งนั้น แล้วอาหารไทยสุดยอด ไม่มีใครสู้หรอก ฝากนักศึกษาไว้ด้วย ไปกินท่าไมแฮมเบอร์เกอร์ กินข้าวแกงดีกว่า เรา ต้ อ งใช้ เหตุ ผ ลในการเลื อ กทางเดิ น ทางเดิ น แต่ ล ะประเทศไม่ จ่ า เป็ น เหมื อ นกั น ประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศเล็กเขาเลือกทางเดินเขา ไม่มีทรัพยากรอะไรเลยเขาจะ ผลิตอะไร จะผลิตข้าวขายเหรอ มีแต่เกาะ มีแต่หิน เขาก็เป็นยี่ปั๊ว เห็นไหมด้วยเหตุ ด้วยผล เขาผลิตคนมาเป็นยี่ปั๊วตลอด ไม่มีโรงเรียนผลิตเกษตรหรอก ผลิตแต่โรงเรียน เรื่องพาณิชย์ตลอด แต่ละประเทศต้องเลือกทางเดินทั้งนั้นแหละ ของเรานี้ไม่มีเลือก เลย ตามฝรั่งเขาไป ถึงได้ล่มจม ต้องใช้เหตุผลในการเลือกทางเดินของเรา แม้กระทั่ง


๓๔ I

ระดับบุคคล เราก็ต้องเลือกความถนัดไม่เหมือนกัน น้องๆเวลาเลือกคณะไหนก็เ ลือก ตามความถนัดของตนเอง บางคนชอบภาษา บางคนชอบคณิต ต้องใช้เหตุผลในการ เลือกและความถนัด พอประมาณคือความถนัดและศักยภาพของเรา ข้อ ที่ ส ามคื อภู มิคุ้ ม กั น ต้ อ งระมั ด ระวัง ชี วิต ทุ ก สิ่ง ทุ กอย่ างไม่ ไ ด้ ราบรื่ น เหมือนอย่างเราคิด พรุ่งนี้อะไรจะเกิดขึ้นไม่รู้ มีใครบอกได้ไหมพรุ่งนี้เช้าราคาน้่ามัน จะราคาเท่าไร และชอบขึ้นตอนตีห้า ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เราหลับ พอลืมตาขึ้นมา อ้าว ขึ้นไปแล้ว เห็ นไหมครับ ต้องมีภู มิคุ้มกั น ศัพ ท์สมั ยใหม่เขาเรียกว่าอะไรรู้ไ หมครับ เวลาเราพูดภูมิคุ้มกันภาษาเก่าๆ ผมไม่รู้ภาษาเก่าด้วยซ้่าไป แต่พอพู ดภูมิคุ้มกันไป แล้วเข้าใจ สมัยนี้เขาเรียกว่า Risk management บริหารความเสี่ยง เห็นไหมเดี๋ยวนี้ ไปเรียนบริหารธุรกิจ เรีย นพาณิ ชย์เขาบอกมี Risk management มีบริหารความ เสี่ยง เพราะฉะนั้นเห็ นไหม สามค่านี้เป็น ส่าคัญ ปัจจัยใหญ่ ไม่ ได้ให้จน ไม่ได้ให้ กลับไปเลี้ยงควาย ไม่ได้ให้กลับไปท่าเกษตร ใครจะท่างานที่ไหนก็ได้ ในการลงทุน ใช้ได้หมด หลายคนบอกว่าอย่างนี้ก็ไม่รวยซิ เนี่ยพวกนี้ก็ตามืดตามัวอีก ไปที่ไหนก็จะ มีค่าถามอย่างนี้ พูดอธิบายเหนื่อยแทบตายตัวอย่างบริษัทปูนซีเมนต์ คุณว่าใหญ่ไหม ในประเทศไทยก็ ไ ม่ มี บ ริ ษั ท ไหนใหญ่ แ ล้ ว ใหญ่ ร ะดั บ อิ น เตอร์ แ ล้ ว ใช้ เศรษฐกิ จ พอเพียงและความยั่ง ยืนแปลกไหม ไหนบอกใช้ไม่ได้ จะเล่าเหตุการณ์ให้ฟัง ก่อน วิกฤตเมื่อปี ๒๕๓๙ – ๒๕๔๐ ตอนก่อนวิกฤตนั้นก็ตามโมเดลฝรั่ง บริษัทนี้เราจะเห็น ว่าบริษัทฝรั่งจะซื้อ มีบริษัทย่อยไปหมด ไม่รู้จะรวบเป็นคนเดียวหมดเลย มันใช้ความ โลภและกิเลสเป็นตัวตั้ง ทุกคนต้องท่าทุกอย่างหมด จะได้คอนโทรลตลาดได้หมด มี ซะไม่รู้กี่ร้อยบริษัท ท่า ท่าปูนอย่างเดียวนะคุณเอ่ยมาซิจอทีวี ยางรถยนต์ ฯลฯ ตั้งแต่ ไม้จิ้มฟันยันเรือรบ บริษัทปูนซีเมนต์ไม่ได้อะไรก็มีรู้หมดทุกอย่าง เกินประมาณ คม ไม่ได้ อะไรไม่ได้ แต่ลงทุนหมดใหญ่ อ้วนฉุ พอวิกฤต ยิ่งใหญ่เท่าไร ล้มดังเท่านั้น ล้ม ตึง วันแรกที่ผมไปนั่งเป็นกรรมการ เป็นตัวแทนของทรัพย์สินเข้าไปนั่งในนั้น ขาดทุน อยู่เท่าไรรู้ไหมครับ ตัวแดงสองหมื่นล้านนะครับ พอสติกลับคืนมา เขาไม่รู้เลยเรื่อง


I ๓๕

เศรษฐกิจพอเพียง ตอนนี้ แต่พอรู้เริ่มตกใจขึ้นมารีบประชุม เอากิจกรรมมาเรียงดู กี่ ร้อยบริษัทไม่รู้ แบกไม่ไหวแล้ว ยิ่งตัวใหญ่ก็ยิ่งกินมาก เพราะการขาดทุนมันทวีคูณขึ้น เล่น กับ เงินมันเบิ้ ลหมดตลอด เลยต้องกลับ มาดูว่าพอประมาณของเราอยู่ตรงไหน ตรวจสอบศั ก ยภาพอย่ า งที่ ผ มบอก เราเก่ ง ตรงไหน สิ่ ง ก่ อ สร้ า งเรี ย กว่ า core business คือกิจกรรมหลักที่เราถนัดที่สุดท่ามาตั้งแต่ดั้งเดิมคือ สิ่ง ก่อสร้าง เพราะ อะไร เราคุมตั้งแต่ภูเขา วัตถุดิบ จนกระทั่งถึงตลาด คนฝึกมาแล้ว ส่งไป ฮาร์เวิร์ด วา ตัน นักบริหาร คนผลิต คน skill โรงงาน เครื่องจักร เนี๊ยบ อันนี้เราเก่งเก็บไว้ อันนี้ คือศักยภาพของเรา พอประมาณของเราอยู่ตรงนี้ ปิโตรเคมี มีอนาคตไหม มี มีคน หรือเปล่า เราต้องถามให้รอบวงนะไม่ใช่มีอย่างเดียว มีคนบริหารไหม เตรียมคนไว้ แล้วหลายระดับชั้น มีคนแทนขึ้นไปเรื่อยๆ ต้นทุนวัตถุดิบอาจจะอ่อนไหวหน่อยแต่เรา คุมได้ เราลงทุนที่อิหร่านเพื่อจะเอาวัตถุดิบมา เรียบร้อย โอเค เก็บไว้ กระดาษ คนยัง ใช้อยู่ ขณะนี้ตลาดยังเหลืออีกเยอะแยะ มีปัญหาเรื่องวัตถุดิบอยู่หน่อย แต่ไม่เป็นไร เดี๋ ย วเราไปปลู ก ในลาวได้ พอมี ท าง ที่ เหลื อ ขายทิ้ ง หมด จากอ้ ว นฉุ ใช้ เศรษฐกิ จ พอเพียงเอาเหลือพอประมาณ ตอนนี้เหตุผลมันกลับ ค่าว่าสติกลับคืนมาคือเหตุผล ตอนนี้ เลื อกทางเดิ น ด้ว ยพอประมาณตั วลี บผอมเลยเดี๋ ยวนี้ รีด ไขมั น ออกหมด มี กล้ามเนื้อ มีแต่กล้ามไขมันไม่มี ขายไปเป็นสิบๆบริษัท เหตุการณ์ อะไรเกิดขึ้นครับ สองปีถัดมา ตัวแดงสองหมื่นล้านหายไปจากกระดาน เพียงสองปีเท่านั้น ปรากฏว่ า ลดหนี้ได้หมดเลย ลงทุนแต่เฉพาะตัวเองเก่งและคุมตลาดได้ ขาดทุนก็ไม่มี เอาแต่ที่ได้ ก่าไรเท่านั้น และวางภูมิคุ้มกันไว้หมดมีคนเฝ้าดูอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อลดอะไรต่อ อะไร ป้องกันไว้หมด นี่คือภูมิคุ้มกัน และเมื่อปีที่แล้วประกาศว่าปูนซีเมนต์ก่าไรสูงสุด ในรอบ ๓๕ ปี ก่อนวิกฤตอีก ก่อนที่อ้วนฉุอีก เอ๊ะ! ผอมลงตัวเล็กลงแต่แข็งแรงขึ้น ผล ก่าไรกลับสูงสุด เศรษฐกิจพอเพียงให้รวยครับ แต่มีค่าตามมาคือให้รวยอย่างยั่งยืน ไม่ใช่โต แล้ ว แตกอย่ างที่ แ ล้ วมา และวิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ มี หั ว ข้ อ นี้ จ ะเข้ ามามี บทบาทตลอด และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีหัวข้อนี้จะเข้ามามีบทบาทตลอด เลย จะเข้ามาดูแลสิ่ง ต่างๆนี้เพื่ อลดต้นทุน ลดคอร์สเชื้อเพลิง นี่จะท่าอย่างไร จะรี


๓๖ I

ไซเคิลกลับเข้าเครื่องใหม่ อันนี้เขาเรียกว่า พัพ ออฟพรอพิเอท เทคโนโลยี มันต้องมี ฐานตัวนี้เพื่อกลับมาใช้ในสิ่งที่เป็น โปรเทเชียล กับเรา ตัวนี้แหละครั บเป็นการใช้ที่มี ประโยชน์ คิดว่าคงเข้าใจแล้วนะครับเศรษฐกิจพอเพียงอธิบายเพียงแค่นี้เวลาไม่มี เอาเป็ น ของแกล้ ม ไปแล้ ว กั น แต่ ยั งมี เงื่ อ นไข ท่ านบอก ต้ อ งมี ค วามรู้ ร อบคอบ ระมัดระวัง และฐานรวมทั้งหมดต้องมีความสุจริต มี Good govermance บริหาร ด้วยธรรมะ อย่าคดอย่าโกงกัน ถึงอยู่ได้ แล้วคราวนี้เราจะรวยอย่างยั่งยืน อาจจะไม่ รวยพรวดพราด แต่เราจะสามารถรักษาความรวยนั้นได้ ไม่ใช่ว่ารวยหน่อยก็กู้เขามา ท่วมตัวเพื่อจะหวังผลอย่างที่นักธุรกิจหลายคนท่าในขณะนี้ ผลสุดท้ายก็ NPL = Non Performing Loan คือหมายความว่ากู้มาแล้วไม่สามารถด่าเนินการได้ ระมัดระวังไม่ แน่ ใจอย่ า เพิ่ ง อย่ า โลภ อย่ า ตาโต รั ก ษาไว้ ให้ ดี เพราะฉะนั้ น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีต่างๆ นั้นมีบทบาทมากครับ เพื่อน่าไปสู่เรื่องพอเพียง ยกตัวอย่างให้เห็น ชัดเจน สึนามิเข้าปัง เรือแตกไปสามพันกว่าล่า หน่วยราชการต่างๆ หน่วยงานเอกชน วิ่งไป ผลิตเรือเข้าป้อน เอาไม้จากไหนครับ ผลสุดท้ายไม้เมืองไทยไม่มี สั่งไม้จากลาวรู้ หรือ เปล่ าครั บ เกี่ ย วพั น กั บ อยุ ธยาด้ วย อาชี วะสร้า งเรื อ ที่ ล าวถู ก เรี ย กตั ว ไปช่ ว ย พระองค์ ท่ า นรั บ สั่ ง ว่ า อย่ างไร เลิ ก เรื อ ไม้ เอาเรื อ ไฟเบอร์ ม าแทน วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี เข้า มา เห็ น ไหมครับ เรีย กทหารเรื อ เรีย กอาชี วะอยุธ ยาสร้างเรือ โดย บังเอิญ ผมนึกปุ๊บปั๊บขึ้นมาได้เกี่ยวกับอยุธยา นะครับ กรมประมง ราชทัณฑ์ แปลก ไหม ฝึกนักโทษเลยให้ท่าเรือไฟเบอร์ เอานักโทษที่อยู่ริมทะเลทั้งหมดมาฝึกเรือไฟ เบอร์ ออกมาแล้วจะมีงานฝึก ซ่อมเรือไฟเบอร์ต่อ บางคนพบเรื่อ งวัส ดุดีไ ซน์ โดย ผสมผสานกัน ไฮเทคไปแบบตะวันตกฝรั่ง แต่รูปทรงยังเป็นเรือหัวธงอยู่ เพราะฉะนั้น ชาวบ้านเขาไม่มีความรู้สึกว่าเปลี่ยนเรือ เปลี่ยนแต่วัสดุ แต่รูปทรงเหมือนเดิมแถมเอา ไฮเทคเข้าไปอีก ท้าเลย ล่มเรือได้มีรางวัลให้ มันจะล่มได้อย่างไร เราเอาห้องลมไว้หัว ท้าย เอาทรายใส่ไว้ที่ใต้ท้ องถ่วงไว้ มันจะล่มได้อย่างไร มันก็กลับมาที่เดิม เหมือน ตุ๊กตาล้มลุก ตอนแรกๆไม่เอานะ ไม่เคยใช้ ชาวบ้านเคยใช้แต่เรือไม้ มาถึงเตะเรือเลย แกคงหวังว่าให้มันทะลุ น่ะ เรือพลาสติกในความรู้สึกชาวบ้านนะ ค่าว่าไฟเบอร์ไม่เข้า


I ๓๗

หูหรอก พลาสติกลองเตะดู เตะเปรี้ยงเลย สะดุ้ง เท้าเจ็บ ไม่ยอมใช้ เราลงให้ดูเลย สมเด็จพระเทพฯ ลงไปในเรือ มันเปราะบางใช่ไหม ส่งค้อนให้ทุบ เหวี่ยงสุดแรงหน้า เกือบแตกแน่ะ เพราะมันเด้งกลับ ค้อนมันเด้งกลับเกือบใส่ หน้าแก ลองจนกระทั่ง เดี๋ยวนี้เข้าคิวขอต่อซื้ออุตลุต ราคาก็พอๆกัน ยิงโป้งเดียว ไม่ต้องตัดต้นไม้ท่าลายป่า เรือแต่ละปีไม่ต้องเอามาขึ้นมาขูดเพรียง ท่ายาชันหมื่นกว่าบาททุกปีไป ตัดลดคอร์ส อัน นี้อ อกไปเลย กระแทกหน่อ ยซ่ อมหน่อ ยใช้ป ะนิ ดเดียวก็จบแล้ ว เห็น ไหมครั บ ไฮเทคเข้ามาพอสอดคล้องกับสภาวะสอดคล้องกับชีวิตก็ไปโลดแล้ว นี่ตอนนี้ผมเอา ใหม่อีกแล้ว ดีเซลแพง น้่ามันแพงท่าไมต้องไปพึ่ง ท่าไมต้องไปง้อ เวลานี้ตลกมากนะ ครับบ่นอยู่อย่างนั้นแหละ น้่ามันแพงแล้วเราแย่แล้ว อะไรต่ออะไร ไม่เคยท่าตาม ผม บอกนี่สมัยโบร่​่าโบราณ นี่เลยไอ้คูโบต้า ยันมาร์ อะไรต่ออะไร มีไหม ไม่มี แล้วปู่ย่าตา ทวดท่ายังไง พายเอามั้ง แล้วอะไรอีกล่ะ อ้าวนึกไม่ออก เรานึกให้ ไม่คิดจะใช้ใบบ้าง เหรอ แกก็คิดแบบชาวบ้าน บางที่ชาวบ้านเขาคิดสั้นๆ เอ๊ะ ลมมันไปทางเดียวแล้วเรา กลับเข้าฝั่งไม่ได้ ไม่ ไอ้ใบนะกลับได้ แกก็งงว่าวิ่งทวนลมได้อย่างไร อ้าวมันต้องลองถึง รู้ เราดีไซน์ใบใหม่พับเก็บง่ายอะไรขึ้นมา วิ่งได้ตั้ง ๔ น๊อตแน่ะ ซึ่งไม่เลว ลงในเรือ แล้วจะรีบเร่งอะไร แล่นไปเรื่อยๆปรากฏว่าเอียงใบมันแล่นกลับสวนทางได้ โอ้ ใช้ได้ ตอนนี้เริ่มแล้วอยากจะเป็นใบพระราชทานมาหรืออะไรมา เห็นไหมครับ มันต้องคิด หาภูมิคุ้มกันอย่างนี้ไม่จนปัญ ญา น้่ามันแพง วิ่งไปซื้อน้่ามันเถื่อนกลางทะเล อะไร อย่างนี้ มันไม่รู้จบไม่ใช่วิธีทางแก้ กลับมาถึง เอาขึ้น เครื่องก็ไม่ต้องเอาออก อยากรีบ ก็ติดอยากรีบก็ติดเครื่องไป เซฟน้่ามันได้ตั้งเยอะ ใช้ธรรมะนี่แหละ ดิน น้่า ลม ไฟ เนี่ย มีบ้านไหนพระอาทิตย์ส่งมาเก็บค่าไฟไหมครับ ค่าลมก็พระพายมาเก็บไหม ก็ไม่ เก็บอีกแหละ ท่าไมของฟรีไม่ใช้เนี่ย ห้องประชุมนี้ผมขอชม วันไหนไม่มีไฟก็ยังใช้ได้ มี ประตูหน้าต่าง แต่ตรงข้ามนะผมทายว่าในนี้ก็มี หอประชุมตึกใหม่ๆนะ บ้านตึกฝรั่ง เลย มีแต่ประตูทางเข้าไม่มีหน้ าต่างแปลกจังเลย วันไหนไม่มีไ ฟ เรียบร้อย จบ ใช้ ไม่ได้เลย เห็นไหมครับ นี่ถ้าท่าเสริมช่องรีเฟกเตอร์ มีแสงจากข้างนอกเข้ามา นี่แหละ ครับ ห้องประชุมพอเพียง ไม่มีพลังงาน ก็ใช้ห้องประชุมนี้ได้ มีแสงจากข้างนอก ของ ฟรีแท้ๆอยู่ข้างนอก พระอาทิตย์ท่านให้ทุกเช้าไปถึงเย็นอย่างน้อยที่สุด และก็มีสิ่ง


๓๘ I

อะไรต่ออะไรหลายอย่างทรงคิดทรงท่าขึ้นมาโดยมองรอบๆ มองเห็นน้่าเน่า น้่าเสีย พวกเรามองอะไร โรงบ่าบัดน้่าเสียกี่ร้อยกี่พันล้านครับ พระเจ้าอยู่หัวทรงมองเห็นน้่า เน่า น้่าเสีย ไปดูซิปรับผักตบชวาได้ไหม เพราะฉะนั้นพระองค์ท่านมอง ท่านคิดอะไร เป็นวิทยาศาสตร์หมด และสามารถจับวิทยาศาสตร์ที่อยู่รอบตัว ปัจจัยรอบตัว นั้นมา ผสมผสานในเชิ ง ทฤษฎี วิ ท ยาศาสตร์ อ อกมาได้ สุ ด ท้ า ยก็ พิ สู จ น์ ท ราบมาได้ ว่ า ผักตบชวาสามารถซึมซับดูดพร้อมกับพืชอีก ๒๒ ชนิด เราได้มาธูปฤาษี พุทธรักษา หญ้าลูซี่ อะไรต่ออะไร กรองน้่าได้หมดเลย ถ้าใครต้องการไปดู พาไปทัศนศึ กษาที่ แหลมผักเบี้ยที่หาดเจ้าส่าราญ มีการบ่าบัดน้่าเสีย น้่าเน่า จากจังหวัดเพชรบุรี ถูก น่ า ส่ ง มาจากท่ อ ใช้ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธ รรมชาติ ในโรงบ่ า บั ด น้่ า เสี ย ไม่ มี เครื่ อ งจั ก รเลย ใช้ พ ลั ง งานธรรมะหมดเลย คื อ พลั ง งานธรรมชาติ ห มด สายลม แสงแดด ใช้ระบบตกตะกอน มีห้าสระใหญ่ๆ น้่าเน่าเพชรบุรีมาถึง ลงบ่อแรก วัตถุก็ ตกมาข้างๆ เริ่มมีการตกตะกอน ออกซิเจนในผิวน้่าเริ่มกระทบ ล้นไป เติมไปเรื่อยๆ ให้ผิวหน้าใส แล้วผ่านไปบ่อที่สองตกตะกอนต่อท่าปฏิกิริยากับธรรมชาติต่อ ไปบ่อที่ สาม บ่ อ ที่ สี่ บ่ อที่ ห้ า เมื่ อ น้่ าใสมี ป ลาอยู่ได้ น่ ามาปลามาเข้ าห้ อ งแล็ ป (lap) เพื่ อ ตรวจดูว่ามีพิษมีภัยหรือเปล่า ปลอดสารพิษแสดงว่าได้มาตรฐาน ยังไม่ปล่อยน้่า น่า ส่งผ่านเข้าแปลงพืช แปลงผักตบชวา แปลงธูปฤาษี ฯลฯ กรองด้วยพืชไปอีก แล้วจึง ปล่อยน้่าผ่านป่าโกงกาง สะอาดแล้วได้มาตรฐานแล้ว แต่มีจุลินทรีย์อยู่ เลี้ยงต้นตอ ของชีวิตในทะเล กุ้ง หอย ปู ปลา ก่าเนิดจากป่าชายเลนทั้งนั้น เมื่อสองวันพระเทพฯ ไปป่าชายเลนดินงอกอีกเป็นร้อยๆไร่ ท่าไม ใช้ธรรมะหมด ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ทางชีวะเข้าไปเห็นไหมช่วยตัวเองได้ ถ้าคุณใช้บ่อบ่าบัดน้่าเสีย คุณก็ต้องใช้ พลั งงาน คุณ ก็ต้ องลงทุ น หากวัน หนึ่ งมั น เสี ย วั นหนึ่ ง คุณ ไม่ มี เงิน จ่าย แล้ วก็เป็ น อนุสาวรีย์ต่อ เจอเยอะ สถาบันการศึกษาควรท่าตัวอย่างให้ชาวบ้านดูเลย น้่าเน่า น้่า เสีย ถ้ามีที่เหลือๆใช้บ่อตกตะกอน สวย เดี๋ยวนี้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว คนเข้ามาดู ปีละเป็นแสน เมื่อปี สองปีที่แล้วผมเลี้ยงทูตกลางบ่อบ่าบัดน้่าเสีย เมื่อทานข้ าวเสร็จ ถามว่ารู้ไหมว่าทานข้าวที่ไหน บนบ่อบ่าบัดน้่าเสียนะ เขางงกันหมด มันสวย มีนก


I ๓๙

ทะเลมาเกาะ กลิ่นก็ไม่มี เนี่ยต้องใช้วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ไม่ใช่ไฮเทคอยู่ในห้องแล็ป แล้วก็ใช้ประโยชน์ไม่ได้ ไม่ใช่อย่างนั้น ปรับวิทยาศาสตร์ให้เข้ากับชีวิตของเรา เข้ากับ ศักยภาพความประมาณของเรา เราจะมุ่งทางไหนเอาทางนี้เข้าไปเสริม อย่างเรือเมื่อ ทดลองประสิทธิภาพของเรือจนกระทั่งยอมรับกันแล้ว แต่ตะขิดตะขวงใจ เห็นไหม เรื่อ งสั ง คมต้ อ งระวั ง ยัง ไม่ ย อมรับ อย่ างเต็ ม ใจชาวประมงแถวนั้ น เราก็ ง ง ไปนั่ ง ตะล่อม ไปนั่ ง ตะล่อมถาม ดีหรือเปล่า ดี รูป ร่างเป็ นหัวธง สวย แข็ง แรง ทนทาน ยอมรับหมด ตอนหลังกระซิบว่าไม่มีแม่ย่านาง ไม่รับเพราะไม่ได้ท่าจากไม้ ถ้าท่าด้วย ไม้มีวิญญาณติดกับไม้ มีแม่ย่านาง ไฟเบอร์ไม่มีแน่นอนเลย เราก็ต้องคิด โอ๊ยตายแล้ว ไฟเบอร์แม่ย่านางฝรั่งเราก็ไม่รู้จะเชิญมาได้อย่างไร ไม่เป็นไรเรื่องเล็ก เดี๋ยววันแจกนะ มีแม่ย่านางหมดเลย รับรองของจริงด้วย สัญญานะ สัญ ญา รับรองศักดิ์สิทธิ์แน่นอน ประจ่าทุกล่าเลย ไปกราบบังคมทูลสมเด็จพระเทพฯ คราวนี้สงสัยสมเด็จพระเทพฯ จะต้องเสด็จเป็นแม่ย่านางเองแล้วพะย่ะค่ะ วันพระราชทานเรือก็มีแถบผ้าแพร สธ (สิ รินธร) พระราชทานมัดหัวเรือ แม่ย่านางสมเด็จพระเทพฯ สถิตทุกล่าเลย ชาวบ้านก็ แฮปปี้เอาเรือขับไปหมด คุยเลย เรื่อสมเด็จพระเทพฯ ประจ่าหมดทุกเรือ เห็นไหม สังคมต้องมีแง่มุมเล็กๆ น้อยๆ ก็ตาม แต่ก็ส่าคัญในชีวิตจิตใจเขา เกิดศรัทธาขึ้น คราว นี้ขอจริง ๆ ผูกหั วเรือผ้าสีม่วงทุ กล่าเลย ไปดูหากเจอผ้าสีม่วง สธ (สิรินธร) ทางใต้ แสดงว่าเรือ เราทั้ง นั้ น เราต้ องมองทุ ก แง่ทุ กมุ ม เวลาพั ฒ นา ถึ ง บอกน่ า สนใจมาก เพราะฉะนั้นผมคิดว่าสิ่งต่างๆที่เล่ามาเพลินๆเช้าวันนี้ จับหลักๆไว้ละกัน นะครับ แต่ ส่าคัญคือตัดอิทธิพลทุนนิยม บริโภคนิยม ที่อยู่รอบๆตัวนี้ให้ได้เสียก่อน ตราบใดที่คุณ ยังตัดไม่ได้ คุณเห็นอะไรต่ออะไรคุณอยากได้ คุณยังอยากกอบโกย คุณท่าเศรษฐกิจ พอเพียงไม่ได้หรอก แล้วคุณจะพินาศ สุดท้ายหลงตัวเอา แล้วก็แตกโพละ ย้อนกลับ มาที่เดิม เพราะฉะนั้นคิดให้ดี ตรองให้ดี ใช้ฐานของเราให้มั่นคง อย่าโลภ ค่อยๆเขยิบ ไปเรื่อยๆ แล้ ววันนั้ นนะครับ เราจะเจอค่ าว่ า ที่เรานิ ยมพูด แต่ไ ม่เคยท่ ากั นเลยคื อ พัฒนาอย่างยั่งยืน ทรัพยากรของเราก็ยังอยู่ น้่าท่าเราก็ยังสะอาด และส่าคัญสูงสุดที่ จะสรุปในตอนนี้คือ เป้าหมายในชีวิตของคนเราก็ตาม เป้าหมายชีวิตของประเทศ ขององค์ ก ร จนกระทั่ งมาถึงตั วเราแต่ ละคนที่ ม านั่ ง อยู่ ในที่ นี้ อ ยากจะให้ ตามที่ ไ ด้


๔๐ I

พระราชทานแนวทางเอาไว้ ตั้งแต่วันแรกที่เสด็จครองราชย์ เราจะครองแผ่นดินโดย ธรรม ซึ่งคือฐานในการบริหาราชการแผ่นดินนั่นคือการใช้ธรรมะ วันนั้นได้ประกาศ Good governance แล้ว ก่อนฝรั่งอีก หลายสิบปี ท่านใช้ค่าว่าธรรมะ ไม่ต้องใช้ค่า ว่าธรรมาภิบาลหรอก ไม่ต้องแปลจาก Good governance หรอก ธรรมะคือความดี ความถูกต้องในการครองแผ่นดิน พร้อมกันนั้นวางเป้าหมายไว้ เพื่อประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยาม อยากจะชักจูงให้พวกท่านนั้นได้ยึดค่านี้เป็นเป้าหมายในชีวิต ทั้ง องค์ ก ร ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ทั้ ง บริ ษั ท ห้ า งร้ า น ทั้ งตั ว ของคุ ณ เอง ทั้ ง ระดับประเทศ ประโยชน์สุขคือ รวยแล้วให้มีความสุข เวลานี้ทั่วโลกก่าลังเริ่มพูดถึง เรื่องความสุข เห็นไหมครับ ท่านวังชุกมา มาถึงชนะใจคนหมด มาจากประเทศที่ ยากจนที่สุด แต่ชนะใจพวกเราทั้งประเทศเลย แค่ยกมือไหว้ มัธวะ มัธวังค์ หนึ่งใน ธรรมะทศพิธราชธรรมชนะใจหมดเลย แล้วเวลานี้ ทัวร์เต็มหมดแล้ว สามปีข้างหน้า ทุกคนจ่ายวัน ละ สองร้อยห้าสิบ เหรียญเพื่ อไปดูความจนว่าเขามีความสุขอย่างไร ประเทศไทยขณะนี้ล่าดับความสุขอยู่ที่ล่าดับ ๓๒ จาก ๑๗๐ ประเทศ ประหลาดไหม สหรัฐ ร่​่ารวยที่ สุ ด มี อ่ านาจมากที่ สุ ด ล่ าดั บ ความสุข อยู่ที่ ล่ าดั บ ๑๕๐ จาก ๑๗๐ ประเทศ รวยแบบทุนนิยมเอาไหม ผมกลับจากนิวยอร์คเมื่อเดือนที่แล้ว แทบจะแก้ผ้า เข้าประเทศแล้ว ถอดเสื้อ ถอดรองเท้า กลัวว่าจะซ่อนอะไรไปไม่รู้ ถอดเข็มขัด เราก็ ใจหานวาบ กลัวว่าจะให้ถอดเรื่อย อยู่ด้วยความหวาดระแวง ด้วยความกลัว เดินที่ ไหนในนิวยอร์คมีกล้องตามจับคุณ เงินทองที่ร่ารวยมาเกินครึ่ง ต้องมาใช้เพื่อพัฒนา ระบบเพื่อความปลอดภัย จะถูกระเบิดเมื่อไรก็ไม่รู้ ทุกคนอยู่ด้วยความระแวง รวย อย่างนั้นเอาไหม แล้วมีความสุขไหม ผมว่าคิดถึงความสุขเถอะครับ ถ้ารวยแล้วทุกข์ก็ ไม่มีประโยชน์อะไรหรอก แล้วพอร่​่ารวยเราก็ลืมตัว พอลืมตัวเราก็ทุกข์ ไปดูซิครับคน ที่นอนอยู่ในโรงพยาบาล ตัวเลขที่สภาพัฒนาเศรษฐกิจเขาส่ารวจมา ๕๗ คนที่นอน เจ็บป่ วยนั้ น ไม่ ได้ เจ็บ ป่วยจากไวรัส หรือ เชื้อโรค เจ็บป่ วยจากพฤติกรรม กิน อยู่ ดี เกินไป พอเป็นเศรษฐีแล้วกินอยู่ดีเกินเหตุ แล้วไขมันในเส้นเลือดก็เพิ่มขึ้น ความดัน ขึ้น โรคหัวใจกิน เบาหวาน อะไรก็ไม่รู้ พวกนี้มาจากความร่​่ารวยทั้งนั้น เพราะฉะนั้น


I ๔๑

รวยเถอะครับ ขออวยพรให้รวย แต่ให้อยู่แบบจน ให้อยู่แบบธรรมะ แบบธรรมชาติ ประเทศภูฏานบอกว่า เราเป็นประเทศที่ยากจน แต่คุณไม่มีอากาศจะหายใจ จ่ายเงิน สองร้อยห้าสิบเหรียญ หายใจอากาศบริสุ ทธิ์ที่ประเทศเราซิ อยากกินอาหารปลอด สารไหม มากินที่บ้านเราซิ เพราะบ้านเราไม่น่าเข้าสารเคมี ไม่น่าเข้าสารต่างๆ แล้ว เศรษฐีต้องจ่ายเงินแพงๆเพื่อไปนอนพักฟื้นที่ประเทศที่จนที่สุด คุณไปญี่ปุ่นเวลานี้ ของขายในเซเว่นอีเลฟเว่นที่ขายดีที่สุดคือ ออกซิเจนพกแพค เพราะพัฒนาจนกระทั่ง ไม่มีอากาศหายใจ เดินในโตเกียวเดินไปร้อยเมตร ควักออกซิเจนมาสูดที เอาไหม ที่ ผมพูดนี้ไม่ได้พูดให้คนหัวเราะ แต่ไปดูสภาพจริงๆ เดี๋ยวนี้เป็นอย่างนั้น พัฒนาเต็มที่ แล้วปรากฏว่าไม่มีอากาศหายใจ เห็นไหมว่าความสุขไม่ได้อยู่ที่วัตถุ เดี๋ยวนี้พอมาตร วัดใหม่ประเทศแถวนิวซีแลนด์ ประเทศสแกนดิเนเวียเล็กๆนี่ ปรากฏว่ามีความสุข มาก ไปไหนน้่าใส นิวซีแลนด์ทุ่งนาอากาศสบาย บริการของรัฐถึงบ้าน สะดวกสบาย อาหารการกินสะอาด ตรงนั้นต่างหากที่คนฉลาดต้องการ โลกมนุษย์ก่าลังฉลาดขึ้นๆ แต่ความโลภยังครอบง่าโลกอยู่ แต่เวลานี้มี Back to Basic กระแสกรีน เริ่มพัฒนา ตัวเอง มีมนุ ษย์กลุ่ม หนึ่งเริ่มตามแนวพระราชด่าริแล้ว ทางยูเอ็น โคฟี่ อันนั น มา ถวายรางวั ล พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เมื่ อ อาทิ ต ย์ ที่ แ ล้ ว เจ้ า หน้ า ที่ UNDP (United Nations Development Programme) มาหาผม เขาท่ า เอกสารเล่ ม เศรษฐกิจพอเพียงภาษาอังกฤษ ตอนนี้ให้ผมตรวจอยู่ เขาจะจัดสัมมนา เชิญผมไปที่ นิว ยอร์ค ที่ เจนี ว า เชิญ ประเทศต่ างๆ มาให้ ถาม เขาบอก globalization ท่ าโลก สลายแล้ว เห็นไหมครับ ต่างชาติเขายังรู้สึกตัวแล้วเลย และเริ่มกลับมาสนใจในสิ่งที่ พระเจ้าอยู่หัวรับสั่งวางแนวทางไว้ และศึกษาอย่างจริงจังเพื่อน่ามาใช้อย่างจริงจัง เรา เองเป็นเจ้าของพระประมุข เขาบอกอย่างนั้นนะ ประมุขของเรา ได้ทรงชี้น่าเราแล้ว ส่องทางเราแล้ว เหตุไฉนจึงไม่เดินตาม หรือเดินตามอย่างกะพร่องกะแพร่ง หรือผิดๆ อยู่ เดินตามกันเถอะครับ เศรษฐกิจพอเพียงถ้าท่าส่าเร็จจริงๆ ต้องเป็น Nation Movement กระแส ตั้งแต่ระดับบนขึ้นมาเลย เคลื่อนไป แต่ไม่ได้เคลื่อนโดยป้ายนะ ไม่ได้เคลื่อนด้วยกอง ฟาง หรือท่าอะไรมาเป็นของตัวอย่างนะครับ ต้องปฏิบัติกันหมดทั้งชาติ แล้วเราจะ


๔๒ I

ประสบกับค่าว่า ประโยชน์สุข คือร่​่ารวยด้วย และมีความสุข ต้องขอจบค่าบรรยาย เพียงแค่นี้นะครับ ขอบคุณมาก อ้างอิงจาก วารสารทางวิชาการ ราชภัฏกรุงเก่า ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๒๓/๒๕๕๐ หน้า ๑-๑๑


I ๔๓

บันทึก ...................................................................................................................... .................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................


๔๔ I

...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................


I ๔๕

...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ .................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................


๔๖ I ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.