energy forum ปี 2

Page 1

ไขโจทย อนาคต

มื่อโลกกําลังเผชิญหนากับความทาทายที่วา “ในไมชาหรือ เร็ว พลังงานฟอสซิลกําลังจะหมดไป” คําถามที่ตามมาก็คือ พลังงานทางเลือก และพลังงานทดแทนใดทีเ่ ปนคําตอบทีถ่ กู ตอง พลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก ถือเปนทางเลือก สําคัญที่จะนํามาใชในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจ โลกใหกา วเดินตอไปอยางไมหยุดยัง้ ซึง่ ปจจุบนั มีอยูห ลายแนวทาง ที่ถูกนํามาปรับใชใหเกิดความเหมาะสม ประการสําคัญยังชวยกู วิกฤติลดโลกรอนไดอีกดวย ตัวอยางเชน พลังงานจากเซลลแสงอาทิตย ซึ่งถือวากําลังรอนแรง โดดเดน รับบทเปนพระเอกอยูในเวลานี้ อันมีสาเหตุมาจากวัตถุดบิ ที่มีเหลือเฟอตลอดทั้งป นั่นก็คือ แสงแดด โดยมีโซลาเซลลมา ชวยเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟา ขณะเดียวกัน ทัว่ โลกก็หนั มาใหความสนใจพลังงานงานทดแทนตัวนีม้ ากขึน้ โดย เฉพาะในอเมริกา และในกลุม ประเทศยุโรปอยางเชน เยอรมนี ทีม่ ี แผนจะปดโรงไฟฟานิวเคลียรลง และหันมาใชพลังงานไฟฟาจาก เซลลแสงอาทิตยและพลังงานลมมากขึ้น ไบโอดีเซล ที่สามารถผลิตจากวัตถุดิบหลายอยาง เชน นํ้ามันพืชที่ใชแลว ไขมันวัว เมล็ดสบูดํา นํ้ามันปาลมดิบ หรือ นํ้ามันพืชที่ใชแลว พลังงานจากขยะ ภาครัฐและภาคเอกชนไดรว มกันศึกษาวิจยั ขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งไวจํานวนมากมายบนโลกวาสามารถนํามา สร า งประโยชน อ ะไรได บ  า ง ทั้ ง นี้ มี ก ารศึ ก ษาเรื่ อ งการ หลอมเหลวของพลาสติกในระบบไรอากาศที่เรียกกระบวนการวา “ไพโรไลซีส” ซึง่ จะชวยรักษาสิง่ แวดลอม ไมวา จะเปนการควบคุม การลดปญหาเรื่องกาซเรือนกระจกและปญหาโลกรอน นอกจากนี้ ขยะยังสามารถนํามาผลิตกระแสไฟฟา ดวยการ คัดขยะรีไซเคิลและขยะอินทรียนํามาหมักเปนไบโอกาซ ชีวมวล พลังงานจากเศษวัสดุเกษตร สามารถนํามาใชผลิต พลังงานได เชน เศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตร หรือกากจาก กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร เชน แกลบ กากออย เศษไม กากปาลม กากมันสําปะหลัง ซังขาวโพด และมะพราว นํ้าเสีย ระบบการบําบัดนํ้าเสียแบบมีลักษณะเปนถัง หรือ เปนบอดินทีม่ ผี นื ผาใบติดตัง้ ครอบไว สวนการไหลของนํา้ เสียทีม่ ี อยูมากมายนั้น ที่สุดจะเกิดเปนพลังงานทดแทนที่เรียกวา “กาซ ชีวภาพ” สามารถนํามาใชเปนพลังงานในกระบวนการผลิต ที่ สําคัญเปนการชวยลดการปลอยกาซมีเทนขึ้นสูบรรยากาศ และ ทําใหไมเกิดกลิ่นเหม็นอีกดวย มูลสัตว มูลสัตวทุกชนิดสามารถนํามาทําเปน กาซชีวภาพ ไดเชนเดียวกัน ไมวาจะเปนมูลของชาง มา วัว ควาย กระทั่ง

พลังงานทางเลือก-พลังงานทดแทน มูลของคน ก็สรางประโยชนไดทั้งสิ้น พลังงานนํา้ สิง่ กอสรางทีส่ ามารถ ผลิตกระแสไฟฟาไดเชนเดียวกับเขือ่ น ขนาดใหญ และเขือ่ นขนาดเล็ก ก็ คือ “ฝายนํ้าลน” ซึ่งนอกจาก ชวยกักเก็บนํา้ จากลํานํา้ แลว ยังออกแบบโดยอาศัยความ ตางระดับของนํา้ คือกําหนด ใหนาํ้ ไหลลงมาตามทางนํา้ ทีม่ คี วามชัน เพือ่ บังคับนํา้ ให ไหลไปรวมกันทีอ่ า งหรือถัง เก็บนํา้ ซึง่ นํา้ เหลานีจ้ ะไหล ผานทอนํา้ แรงดันไปหมุนกังหัน นํา้ แลวไปขับเครือ่ งกําเนิดไฟฟา ในอาคารโรงไฟฟาเพือ่ ผลิตกระแส ไฟฟาในอาคารโรงไฟฟา อยางไรก็ดี สวนใหญวิธีดังกลาว จะใชไดดกี บั ชุมชนขนาดเล็กๆ หรือที่ เรียกวา “โรงไฟฟาพลังงานนํ้าขนาด เล็ก” นั่นเอง สวน พลังงานจากโรงไฟฟานิวเคลียร ปจจุบนั แมจะมีการทดสอบและพิสจู นวา การ ผลิตไฟฟาโดยใชพลังงานนิวเคลียรนั้นสะอาด ปลอดมลพิษตลอดจนมีตนทุนที่ตํ่าก็ตาม แตก็ยัง ถูกมองวาเปนผูร า ย เนือ่ งจากยังเปนเรือ่ งใหมสาํ หรับ ประเทศไทยสงผลใหยังไมไดรับการยอมรับ เปนที่รับรูและพูดกันมายาวนานแลวเกี่ยวกับ กระแสของการรณรงค ใหทั่วโลกหันมาใชพลังงาน ทดแทนหรือพลังงานทางเลือกเพิ่มมากขึ้นเพื่อลด การใชพลังงานฟอสซิลที่มีอยูอยางจํากัด ขณะที่ ประเทศไทยเองก็มีความตื่นตัว รวมถึงสงเสริมการวิจัย เกี่ยวกับพลังงานทางเลือกเพื่อการพัฒนาไปสูเชิงพาณิชยใน อนาคต ซึ่งปจจุบันก็สามารถขยายผลสูเชิงพาณิชย ในหลาย ประเภท ทั้งนี้มีหลากหลายปจจัยสนับสนุนที่กอใหเกิดความสําเร็จ กระทัง่ ความลมเหลว ปจจัยแรกสืบเนือ่ งมาจาก กระทรวงพลังงาน ไดจดั ทํารางกฎหมายพลังงานทดแทนฉบับแรกของไทยขึน้ เพือ่ สง เสริมการลงทุนธุรกิจพลังงานทดแทนเปนการเฉพาะ โดยมีสวน ชวยผลักดันแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ป (พ.ศ.2555-2564)

ที่กําหนดเปาหมายใหเกิดการใชพลังงาน ทดแทนเพิ่มขึ้นเปน 25 เปอรเซ็นต จาก 20 เปอรเซ็นตของการใช พลังงานทัง้ ประเทศภายในป 2564 ใหบรรลุเปาหมาย ไดงายขึ้นและเร็วขึ้น ขณะที่ ป  จ จุ บั น ก็ ยั ง สามารถดําเนินการได เพียง 9.4 เปอรเซ็นต โดยรางกฎหมายดังกลาว มุงเนนการสงเสริมการ ลงทุนดวยการใหสิทธิ ประโยชน และสิทธิพิเศษ ในการนํ า เข า อุ ป กรณ การ ผลิตพลังงานทดแทน รวมถึง การกําหนดโครงสรางราคาซื้อ-ขาย พลังงานทดแทนที่เหมาะสมกับการ ลงทุน วิกฤติพลังงานทั่วโลก เปนอีก ปจจัยทีเ่ รงใหการพัฒนาพลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือกสามารถเดินหนาได อยางรวดเร็ว แตปญ หาสําคัญของการพัฒนา ธุรกิจพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกให มีความแข็งแกรงและเดินหนาไปไดอยางตอเนือ่ ง ก็คือ “แหลงเงินทุน” สําหรับประเทศไทยแลวเพิ่ง จะไดรบั การตอบรับและสนับสนุนจากสถาบันการ เงินไมนานนักภายหลังที่รัฐบาลเดินหนาอยาง จริงจังในการสนับสนุนสงเสริมพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือกอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น จนชวยสรางความเชื่อมั่นใหกับสถาบันการเงิน แหลงเงินทุน จึงนับวาเปนเรื่องที่มีความ สําคัญมากตอการสงเสริมพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกใหประสบความสําเร็จในเมืองไทย ตลาดทุนจึงเปน อีกแหลงเงินทุนทีจ่ ะสนับสนุนใหพลังงานทดแทนและพลังงานทาง เลือกเดินหนาไปไดอยางรวดเร็ว ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย(ตลท.)จึงรวมกับกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)กระทรวงพลังงาน สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน และการไฟฟาสวน ภูมภิ าค (กฟภ.) รวมบันทึกลงนามในขอตกลงความรวมมือในการ

ใหการสนับสนุนธุรกิจพลังงานทดแทน เพือ่ ใหสามารถเติบโตผาน ชองทางของตลาดทุน รวมถึงเสริมสรางความรูใหแกผูประกอบ การดานธุรกิจพลังงาน มาตรการสงเสริมทางดานภาษี ซึ่งกําหนดอัตราภาษีพิเศษ การนําเขาอุปกรณทเี่ กีย่ วของกับพลังงานทดแทน (ตองเปนอุปกรณ ที่ไมมีหรือไมสามารถผลิตไดในประเทศไทยจึงจะไดสิทธิพิเศษ ดานภาษี) และอนุญาตใหนําเขาผูเชี่ยวชาญพิเศษดานพลังงาน ทดแทนที่ไทยไมมีไดเทานั้น หนวยบริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) จากภาครัฐ ซึ่ง แตเดิมการขอใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานทดแทนตองดําเนิน การผาน 7 หนวยงาน และตองไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการ กวา 10 ฉบับ กฎหมายใหมจะทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็วดวย ขั้นตอนเดียว และทําใหเกิดแรงจูงใจในการลงทุน ความสนใจของนักลงทุนทัง้ ในประเทศและตางประเทศ ที่ให ความสนใจเขามาลงทุนในประเทศไทยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ก็ไดชวย กระตุนใหเกิดการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ในไทยกาวหนาไปอยางมาก การใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกมีแนวโนมปรับ ตัวเพิม่ สูงขึน้ ตอเนือ่ งในอนาคต เพราะวิกฤติดา นพลังงานและราคา นํา้ มันทีน่ บั วันจะยิง่ ปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ จะยิง่ เปนแรงสงเสริมใหคน ทั่วไปหันมาใหความสนใจพลังงานทางเลือกเหลานี้มากขึ้น ขณะที่ประเทศไทยเองไดผลักดันเพื่อใหเกิดการลงทุนเชิง พาณิชยอยางตอเนื่อง เปาหมายคือการใหเกิดการใชพลังงาน ทดแทนเพิ่มขึ้นเปน 25 เปอรเซ็นต จากพลังงานที่ใชทั้งหมด ของประเทศไทย ❖

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)


ฏิเสธไมไดวา การพัฒนาเศรษฐกิจของโลกตลอดจนประเทศไทย ใหเจริญรุดหนานั้น ขึ้นอยูกับ “พลังงาน” ขณะเดียวกัน อนาคตของพลังงานนั้นก็ขึ้นอยูกับยุทธศาสตรของภาครัฐ และการบริหารจัดการพลังงานใหเกิดความสมดุลระหวางความตองการ ใชพลังงาน (Demand Side) กับการจัดหาพลังงาน (Supply Side) อารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาววา กระทรวงพลังงานนั้น มีหนาที่หลักในการดําเนินการจัดหาพลังงานให เพียงพอตอความตองการใชไฟฟาของประชาชน หากแตในปจจุบนั การ กอสรางโรงไฟฟาขนาดใหญขึ้นชื่อวามีความยากลําบากยิ่งขึ้น สาเหตุเกิดจากภาครัฐยังขาดความรวมมือจากชาวบานในชุมชน ซึ่งขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรงไฟฟาแตละประเภท รวมถึงยัง ขาดความเขาใจถึงความจําเปนในการจัดหาพลังงานไฟฟา และทําให เกิดการตอตานขึ้นในหลายๆ พื้นที่ของประเทศไทย “ไทยเปนประเทศที่ตองพึ่งพาการนําเขานํ้ามันจากตางประเทศ และมีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องทุกๆ ป เนื่องจากการผลิต ในประเทศไมเพียงพอตอความตองการใชที่เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นหากไมมี การพัฒนาและสงเสริมพลังงานทดแทนอยางจริงจัง ทีส่ ดุ ก็จะสงผลเสีย ตอประเทศชาติในแงของความมัน่ คงทางดานพลังงานและตองสูญเสีย เงินตราเปนมูลคามหาศาล” รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานกลาว จากสมมติฐานการขยายตัวของความตองการใชพลังงานขั้น สุดทายของประเทศ ระหวางป 2552-2554 เทากับ 2 เปอรเซ็นต และ ป 2555-2565 อยูที่ 3 เปอรเซ็นต สงผลใหการใชพลังงานขั้นสุดทาย ของประเทศป 2554 อยูที่ 70,300 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบ และ ป 2559 อยูที่ 81,500 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบ และในป 2565 จะ อยูที่ 97,300 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบ จึงมีความจําเปนที่จะตอง พัฒนาแหลงพลังงานทดแทนเพิม่ ขึน้ เพือ่ ใหสอดคลองกับความตองการ เมื่อการกอสรางโรงไฟฟาขนาดใหญทําไดยากมากขึ้น ตลอด จนแนวโนมราคาของพลังงานโดยเฉพาะนํ้ามันปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นตอ เนื่องทุกๆ ป กระทรวงพลังงานจึงไดปรับเปลี่ยนทิศทางการพัฒนา พลังงานในประเทศดวยการมุงสงเสริมพลังงานหมุนเวียนที่เปนทาง เลือกใหม และมีการกําหนดเปนนโยบายสงเสริมพลังงานทดแทน 15 ป (2551-2565) เพือ่ เพิม่ สัดสวนการผลิตไฟฟาเปน 25 เปอรเซ็นต ภายในระยะเวลา 10 ป นับจากนี้ ภายใตแผนดังกลาวจะมีการสรางโรงไฟฟาชุมชน 500 เมกะวัตต ทั่วประเทศ เปนโรงไฟฟาขนาดเล็กในชุมชนตางๆ โดยใชวัตถุดิบใน พื้นที่ และใหเกษตรกรตลอดจนชุมชนเปนเจาของโรงไฟฟารวมกัน ปจจุบนั มีโรงไฟฟาทีเ่ ปดโอกาสใหเกษตรกรและชุมชนเปนเจาของ รวมกันเกิดขึน้ เพือ่ เปนโครงการนํารองแลว 4 แหง กระจายอยูในหลาย ภาคของประเทศไทย เชน พื้นที่นิคมสรางตนเองหวยหลวง จังหวัด อุดรธานี โครงการนีส้ ง เสริมใหชาวบานปลูกหญาเลีย้ งชางในพืน้ ทีท่ ี่ไม ไดใชประโยชน 1,000 ไร เพื่อนําหญามาเปนวัตถุดิบใชเปนเชื้อเพลิง หลักในการผลิตไฟฟาสําหรับโรงไฟฟาขนาด 1 เมกะวัตต โรงไฟฟา ดังกลาวนี้มีมูลคากอสรางประมาณ 60-70 ลานบาท โดยเอกชนและ

เป ดยุทธศาสตร

‘พลังงานชาติ’

พลังงานทดแทน ทางเลือกใหม

ชุมชนรวมกันเปนเจาของโรงไฟฟาในสัดสวน 80 ตอ 20 ทัง้ นี้ นโยบายสงเสริมพลังงานทดแทน 15 ป (2551-2565) ไดแบง การพัฒนาทั้งหมดออกเปน 3 ระยะ ไดแก แผนระยะสั้น (2551-2554) มุง เนนสงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่ไดรบั การยอมรับแลวและมี ศักยภาพเปนแหลงพลังงานทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงเชน กาซชีวภาพ และความ รอนจากชีวมวล โดยมีเปาหมายพัฒนาพลังงานทดแทน 10,961 ktoe หรือคิดเปน 15.6 เปอรเซ็นต ของการใชพลังงานทั้งหมด ซึ่งที่ผาน มาผลการดําเนินงานไดผลเปนที่นาพอใจ แผนระยะกลาง (2555-2559) ซึ่งปจจุบันอยูระหวางขั้นตอน ของการดําเนินงาน โดยมีการสงเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยี พลังงานทดแทนและสงเสริมเทคโนโลยีใหม ๆ เกี่ยวกับการพัฒนา พลังงานทดแทนที่ใหความคุมคาทางเศรษฐศาสตรที่สูงขึ้น รวมทั้ง การสงเสริมการใชเทคโนโลยีใหมดา นในการผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพ และ พัฒนาตนแบบที่เรียกวา Green City เพื่อนําไปสูการพัฒนาในระดับ ชุมชน โดยมีเปาหมายพัฒนาพลังงานทดแทน 15,579 ktoe หรือคิด

เปน 19.1 เปอรเซ็นตของการใชพลังงานทั้งหมด แผนพัฒนาระยะยาว (2560-2565) จะมีการสงเสริมใหใชเทคโนโลยี ใหม ๆ ที่มีความคุมคาทางเศรษฐศาสตร รวมถึงการขยายผล Green City และพลังงานชุมชน ใหกลายเปนปจจัยสนับสนุนประเทศไทยกาวขึ้น เปนศูนยกลางการสงออกพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพและสงออกเทคโนโลยี พลังงานทดแทนในภูมภิ าคอาเซียน โดยมีเปาหมายพัฒนาพลังงานทดแทน 4,237 ktoe หรือคิดเปน 20.3 เปอรเซ็นตของการใชพลังงานทั้งหมด รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาววา หากประเทศไทย สามารถเดินไปตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนฉบับนี้สําเร็จ บทสรุป ก็คือ ผลประโยชนมหาศาลทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจน ดานสิง่ แวดลอม และเมือ่ ประเมินออกมาเปนตัวเลขทางดานเศรษฐกิจ แลวจะสามารถลดการนําเขาพลังงานไดมากกวา 460,000 ลานบาทตอ ป โดยคาดวาในป 2565 จะสามารถสงเสริมใหเกิดการลงทุนของภาค เอกชนในโครงการที่เกี่ยวของกับพลังงานทดแทนมากกวา 382,240 ลานบาทตอป รวมถึงสรางรายไดจากการขายคารบอนเครดิตได 14,000

ลานบาทตอป ประการสํ า คั ญ ก็ คื อ สามารถลดการลงทุ น จากภาครั ฐ ใน การกอสรางโรงไฟฟาขนาดใหญที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิลไดถึง 3,800 เมกะวัตต คิดเปนมูลคามากกวา 100,000 ลานบาท นอกจากนีห้ ากมองในแงผลประโยชนทภี่ าคสังคมไดรบั แลวนัน้ ก็ มีมากมายเชนเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ สงเสริมใหเกษตรกรมีรายได ตอเนื่องมั่นคง และเพิ่มสูงขึ้นทุก ๆ ป ตามอัตราการเติบโตของความ ตองการใชพลังงาน ทั้งยังมีผลสืบเนื่อง นั่นคือ ชวยสงเสริมอาชีพให คนในทองถิ่นไดมีงานทํา ลดการเคลื่อนยายแรงงาน เปนตน นอกจากนีย้ งั สามารถพัฒนาไปสูก ารเปนสังคมทีม่ กี ารปลอยคารบอน ในระดับตํ่า (Low Carbon Society) ซึ่งเปนแนวทางหนึ่งที่จะทําให การพัฒนาพลังงานมีความยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย พลังงาน ถือเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศ ขณะทีพ่ ลังงาน ทดแทน ถือเปนกลไกที่ชวยเสริมสรางความมั่นคงดานพลังงาน และ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ❖


าจยังตองอาศัยระยะเวลาในการพิสูจนนโยบายการสงเสริม พลังงานทดแทน พลังงานทางเลือกของประเทศไทยวามา ถูกทางหรือไม ในเมื่อเปาหมายการใชพลังงานทดแทนบน ตัวเลขที่ 25 เปอรเซ็นต แตปจจุบันกลับยังมีการใชพลังงานทดแทน อยูเพียง 9.4 เปอรเซ็นตเทานั้น แลวจริงหรือ ที่พลังงานชีวภาพ และชีวมวลจะเปนกระแสหลัก ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ “ผมเชื่อวาพลังงานสะอาด พลังงานทดแทน หรือ พลังงาน ทางเลือกเปนเมกะเทรนดสาํ หรับโลกยุคปจจุบนั และในอนาคต โดยเปน กระแสที่คนทั่วโลกใหความสนใจ อีกทั้งยังมีคนสนใจอยากจะลงทุน เรื่องนี้มากขึ้น เมื่อมีคนสนใจมากขึ้นก็ทําใหการพัฒนาเทคโนโลยีมี ความทันสมัยและมีตนทุนที่ถูกลง” ยํา้ ถึงความเชือ่ มัน่ ของ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน กระทรวงพลังงาน โดยเขากลาว ตอวา ประเทศไทยมีความสนใจเกีย่ วกับพลังงานทดแทน และพลังงาน ทางเลือกมานานแลว เพียงแตในอดีตทีผ่ า นมานัน้ การพัฒนาไมสามารถ ทําไดอยางเต็มที่ เนื่องจากตนทุนยังคงอยูในระดับที่สูง ไมเกิดการ จูงใจตอการลงทุน จึงสงผลโดยตรงตอการพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกของไทยเดินหนาไดไมมากเทาที่ควร ในทางตรงขามประเทศไทยก็ยังคงมุงมั่นเดินหนาตามนโยบาย สงเสริมพลังงานทดแทนมาอยางตอเนื่อง โดยประเทศไทยนั้นถือวามี ความโดดเดนในเรื่องการพัฒนาพลังงานทดแทนเปนทุนเดิมอยูแลว ซึ่ง ในมุมมองของเขาเห็นวา “โรงไฟฟาชีวภาพ ชีวมวล” นาจะกลายเปน กระแสหลักของประเทศภายในอีก 1-2 ปขา งหนา และผลักดันใหประเทศไทย กาวสูยุค “Manufacture Biomass” ที่จะตองมีการวางแผนเพาะปลูกพืช เพื่อนํามาใชเปนวัตถุดิบในการผลิตพลังงานไฟฟาอยางเปนระบบ แทนที่ การนําวัตถุดิบเหลือใชจากภาคการเกษตรมาใชดังเชนทุกวันนี้ ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงกําลังอยูระหวางการศึกษาและพบ รูปแบบทีน่ า สนใจ ก็คอื การใหชมุ ชนทําครบวงจร ปลูก ขนสง ลําเลียง ผลิตเปนแทง และผลิตไฟฟา ขณะเดียวกันกระแสการตอบรับในสวนของโครงการลงทุน “ไฟฟา แสงอาทิตย” เองก็ไดรับความนิยมไมนอยคือมีอยูถึง 97 โครงการ ปจจุบันสามารถขายไฟเขาระบบแลว 158 เมกะวัตต จากที่มีผูยื่น เจตจํานงเซ็นสัญญากับภาครัฐอีก 2,240 เมกะวัตต “ผมถือวานโยบายดานพลังงานทดแทนของไทยเราเปนการเดินใน เวลาทีเ่ หมาะสมกับจังหวะทีท่ วั่ โลกหันมาใหความสนใจพลังงานทดแทน กันมากขึ้น และเปนปจจัยหนึ่งที่ชวยผลักดันใหการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือกของประเทศไทยเกิดขึ้นไดรวดเร็ว จน ทําใหไทยกลายเปนอีกหนึ่งประเทศในโลกที่มีความนาสนใจในการ ลงทุนดานพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานทดแทนจากเซลล แสงอาทิตย พลังงานชีวภาพ และชีวมวล เนื่องจากไทยเองมีวัตถุดิบ และทรัพยากรมากพอที่จะใชในการดําเนินงาน” ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานไดกําหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน

บทพิสูจน แห งความท าทาย พลังงานชีวภาพ-ชีวมวล คือกระแสหลัก? ในระยะ 10 ปขา งหนา (2555-2564) มุง เนนใหมกี ารใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะอยางยิ่งพลังงานไฟฟา ในสัดสวน 25 เปอรเซ็นตของการ ใชพลังงานไฟฟาที่มาจากพลังงานประเภทฟอสซิล หรือ ราว 1 ใน 4 ของพลังงานทั้งหมด ดร.ทวารัฐ อธิบายเพิ่มเติมวา ปจจุบันประเทศไทยมีการผลิต ไฟฟาอยูที่ประมาณ 31,000 เมกะวัตต ซึ่งในแตละปก็มีแนวโนมที่ จะปรับเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจที่มีการพัฒนาตอเนื่อง และคาดการณวาในอนาคตอาจเพิ่มมากถึง 40,000 เมกะวัตต และ เกิดความกังวลวาพลังงานไฟฟาที่มีอยูอาจมีไมเพียงพอ และที่สุด จะตองพึ่งพาการนําเขาพลังงานจากตางชาติมากขึ้น ซึ่งหมายถึงการ สูญเสียเงินตราเปนจํานวนมหาศาลและความไมมั่นคงดานพลังงาน กระทรวงพลังงานจึงวางแผนนําพลังงานทดแทนมาเปนอีกหนึ่ง ทางเลือกในการชวยลดการผลิตไฟฟาจากพลังงานฟอสซิล โดยใน แผนดังกลาวกําหนดวา จะตองมีการผลิตไฟฟาจากสวนนี้ประมาณ 9,200 เมกะวัตต แตปจจุบันมีเอกชนผูที่สนใจเขามาลงทุนเปนผูผลิต

ไฟฟาจากพลังงานทดแทนที่ไดยื่นขอรับในอนุญาตมากถึง 10,000 เมกะวัตต ซึ่งสูงกวาการรับซื้อไฟฟาในสัดสวนที่รัฐบาลกําหนดเอาไว “ความตองการจริงมีแค 1 ใน 4 ของพลังงานฟอสซิล แตตอนนี้ เรามีมากเกินความตองการ ซึ่งกระทรวงพลังงานจะพยายามขยายใน สวนนี้ใหมากขึ้น รวมถึงเขามาดูแลเพื่อใหเกิดความเปนธรรมแกทุกๆ ฝาย โดยหาวิธี หรือมาตรการปองกันไมใหเอกชนมีการไลซอื้ ใบอนุญาต มาเก็บเอาไวเพื่อผลิตเองแตเพียงผูเดียว รัฐจะพยายามกระจายให ทั่วถึงทุกคนที่สนใจเพื่อเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล” อยางไรก็ดเี มือ่ เปรียบเทียบสัดสวนทีร่ ฐั บาลตองการสงเสริมใหมี การใชพลังงานทดแทนบนตัวเลขที่ 25 เปอรเซ็นต ณ สิ้นป 2554 ถึง ปจจุบันยังมีการใชพลังงานทดแทนอยูเพียง 9.4 เปอรเซ็นตเทานั้น ดร.ทวารัฐ กลาววาจําเปนตองเรงผลักดันใหมีการใชใหมากขึ้น ซึ่งจะ เนนโยบายเชิงรุกในการพัฒนาพลังงานทดแทนและสงเสริมพลังงาน ทางเลือกมากขึ้น โดยอาศัยกลไกขับเคลื่อนหลักมาจากภาคเอกชน ลงทุนภาคการผลิตทุกรูปแบบ

ทวารัฐ สูตะบุตร

นอกจากนัน้ ยังตองกระตุน ใหเกิดการลงทุนของภาคเอกชนใหมาก ขึ้นดวย วิธีการก็คือเพิ่มคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานทดแทนกลับคืน หรือ Adder ซึ่งในปจจุบันรัฐบาลไดปรับเปลี่ยนเปนรูปแบบ Feed-in Tariff ที่มีความจูงใจมากขึ้นในระยะยาว แทนการลอยตัวตามราคา ไฟฟาดวย Adder ระยะสั้น “ประเทศไทยเราเนื้อหอมมากในเวลานี้ เพราะมีนักลงทุนทั้ง ในประเทศและตางประเทศสนใจจะเขามาลงทุนในธุรกิจนีม้ ากขึน้ สวน หนึง่ ตองยอมรับวากระทรวงพลังงานมีวสิ ยั ทัศนทกี่ วางไกลและกําหนด เปนนโยบายออกมาอยางชัดเจน ทําใหนกั ลงทุนเห็นวาไทยเรามีความ ตัง้ ใจจริง ผมเชือ่ วานโยบายการสงเสริมพลังงานทดแทน พลังงานทาง เลือกของไทยมาถูกทางแลว” ขณะที่เขาบอกวาเปาหมายในอนาคตของประเทศไทย ก็คือ การเปนศูนยกลางพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก รวมถึงการกาว เปนเบอรหนึง่ ในภูมภิ าคอาเซียนในสวนของพลังงานชีวภาพและชีวมวล ...ซึ่งสุดทายคงตองอาศัยระยะเวลาพิสูจนผลสําเร็จ ❖


วามสมดุลระหวางพลังงานฟอสซิลกับพลังงานทางเลือก ภาย ใตเงื่อนไขตองทําใหเกิดความสมดุลระหวางสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอม คือประเด็นทีน่ า สนใจทีเ่ กิดภายในงานสัมมนา “ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย?” หลายคนอาจมีขอ สงสัยเพราะมองวา เปนเรือ่ งทีด่ เู หมือนจะไกล ตัว และไมเกี่ยวกับประชาชนทั่วไป แตถาลองคิดดูกับคําถามงายๆ ที่ วา..หากไฟฟาดับจะเกิดอะไรขึน้ ? (ไฟฟาทีบ่ า น ทีท่ าํ งาน วัดวาอาราม โรงเรียน สถานที่ราชการ ไฟจราจรบนทองถนน ฯลฯ) รูหรือไมวา เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 เวลา 14.30 น. ประเทศไทยทุบสถิติการใชไฟฟาสูงสุดถึง 26,121 เมกะวัตต ซึ่งถือ เปนสถิติสูงสุดเทาที่เคยมี และเปนสัญญาณที่เตือนวาความตองการ ใชไฟฟานั้นไมมีวันลดตํ่าลงอยางแนนอน มีแตจะสูงขึ้นอยางตอเนือ่ ง ตามจํานวนประชากร และการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งหมายถึง ประเทศไทยมีความจําเปนอยางเรงดวนในการ วางแผนผลิตกระแสไฟฟาเพื่อรองรับความตองการดังกลาว ทุกวันนี้ประเทศไทยใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงในการผลิต ไฟฟามากทีส่ ดุ ถึง 67 เปอรเซ็นต อันดับสองคือ ถานหิน 20 เปอรเซ็นต และ พลังงานนํ้าเปนอันดับที่สามคือ 8 เปอรเซ็นต ขณะที่ภาพในอดีตและอนาคตของประเทศไทยกําลังจะสวนทาง กัน จากความโชติชวงชัชวาลในอดีต ประเทศไทยเคยเปนผูผลิตกาซ ธรรมชาติเพื่อนํามาเปนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาไดเอง เนื่องจากขุดพบ กาซธรรมชาติในอาวไทยเปนครัง้ แรกราว 30 ปทผี่ า นมา กําลังจะกลาย เปนประเทศทีต่ อ งพึง่ พาการนําเขา เพราะปจจุบนั ประเทศไทยสามารถ ผลิตกาซธรรมชาติไดเอง 80 เปอรเซ็นต และมีการนําเขาในสัดสวน 20 เปอรเซ็นต แตขาวรายก็คือในอีกไมชาก็จะอยูในอัตราสวน 50:50 ในไตรมาสแรกของป 2555 มีการผลิตกาซธรรมชาติในอาวไทย ไดในปริมาณ 3,776 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน จากการคาดการณความ ตองการใชกาซธรรมชาติในปนี้อยูที่ประมาณ 5,000 ลานลูกบาศกฟุต ตอวัน ประเด็นสําคัญทีส่ ดุ ก็คอื กาซธรรมชาติกาํ ลังจะหมดจากอาวไทย ภายในเวลา 15-20 ป สวนถานหินที่โรงไฟฟาแมเมาะก็กําลังจะหมด เชนกัน พรุงนี้ก็สายเสียแลว หากไมเริ่มเตรียมความพรอมตั้งแตวินาทีนี้ สาเหตุก็คือ กวาจะสรางโรงไฟฟาขึ้นมาสักหนึ่งโรง ตองใชระยะเวลา ขั้นตํ่า 5-6 ป เปนอยางนอย และในความเปนจริงก็คือ โรงไฟฟาเพื่อ รองรับความตองการในอนาคตก็ยงั ไมสามารถสรางขึน้ มาไดสกั โรงเดียว เนื่องจากเกิดการตอตานของประชาชนในพื้นที่ ที่สุดประเทศไทยจําเปนตองพึ่งพาการนําเขาพลังงานจาก ตางชาติมากขึ้น ตองสูญเสียเงินตราเปนจํานวนมหาศาล ตลอดจน

พลังงานทดแทน เพื่อไฟฟ าไทย ไมมีความมั่นคงดานพลังงาน และเปนจุดจบของขีดความสามารถ ในการแขงขันอยางนั้นหรือ? ปจจุบันโลกเราทั้งใบกําลังเผชิญวิกฤติการณตางๆ ไมวาจะเปน วิกฤติเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม ภัยพิบัติ ความอดอยาก ความขัดแยง ระหวางประเทศ และทําใหตองเผชิญหนาความทาทายที่ยิ่งรับมือยาก ยิ่งขึ้นทุกวัน ไมมีใครลวงรูไ ดเลยวาโลกในวันขางหนาจะเปนเชนไร จากวิกฤติ แฮมเบอรเกอร ซึง่ ลุกลามมาสูโ ซนประเทศยุโรป ปญหาตางๆ นานา จะ สามารถคลี่คลายไดหรือไม หากไมแลวจะเกิดอะไรขึ้นกับดาวรุงอยาง ประเทศในทวีปเอเซีย เชน จีน หรือ อินเดีย ตรงกันขาม ไฟฟาจะเริ่มติดๆ ดับๆ และจะดับสนิทแนๆ หากแตไฟฟาเปนเรื่องที่รับมือได โดยการเตรียมความพรอม กันเสียแตเนิ่นๆ แนนอนวาไมควรจะพึ่งจมูกคนอื่นหายใจ นั่นคือ หา หนทางเปนผูผลิตพลังงานขึ้นเอง รวมถึงตองพยายามลดความเสี่ยง โดยการสรางความสมดุลในการใชพลังงานดวย คือไมหวังพึ่งกาซ ธรรมชาติเปนหลักเพียงอยางเดียว แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ.2555-2564 ของกระทรวงพลังงานนัน้ ไดกาํ หนดสัดสวนการใชพลังงานทดแทน 25 เปอรเซ็นต ของพลังงานรวมในป 2564 (2021) จากประมาณ 7-10 เปอรเซ็นตในปจจุบัน พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกที่กําลังพูดถึงนั้น ไดแก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานนํ้า พลังงานนิวเคลียร

พลังงานชีวมวลและชีวภาพ พลังงานขยะ พลังงานถานหินสะอาด เปนตน ซึง่ ในแตละประเทศทัว่ โลกมีความสนใจและใหการสงเสริมสนับสนุน พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเหลานี้แตกตางกันไป อยางไรก็ดี คงไมมสี มการใดทีส่ ามารถนําใชไดอยางเหมาะสมกับ ทุกๆ ประเทศ ประเทศนั้นเลือกแบบนี้แลวดี แตดวยวิธีการเดียวกันนี้ กลับใชไมไดกับอีกประเทศหนึ่ง ดังนั้นประเทศไทยควรตองคิดสมการในแบบของตัวเอง โดย ตองหาความลงตัวใหไดจากสิ่งที่มีอยูจริง เชน จากจํานวนประชากร เทานี้ มีทรัพยากรเทานี้ จีดพี เี ปนอยางนี้ เปนประเทศกําลังพัฒนาเชน นี้ เปนตน หากแตทางตรงขามควรเดินตามหลักการนี้ใหมั่น (แมวาจะเปน คําคมของโลกตะวันตก) นัน่ คือ Don’t put all your Eggs in one basket ซึ่งหมายถึง การกระจายความเสี่ยง และ Balance is Beautiful ตอง

หมายเหตุ

สมดุล ยึดความพอดีเพราะโดยธรรมชาติแลวถาหากมากเกินไปหรือ นอยเกินไปไมเคยเกิดผลดีเลย อีกทั้งตองตระหนักถึงคําวา Know How กับ How Much นั่นหมายถึง หนวยงานที่รับผิดชอบตลอดจนประชาชนคนไทย ทั้งมวลตองรูดี รูจริง รูกวาง และรูลึกอยางแทจริงเกี่ยวกับพลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือก ..ที่คิดจะเลือก เมื่อชั่งตวงวัดแลวเห็นขอดีมากกวาขอเสีย สุดทายตองดูตนทุน ราคาวาคุมหรือไม ซึ่งบังเอิญดวยวาโลกนี้ไมเคยมีอะไรที่เลิศเลอ เพอรเฟคที่สุด ทุกคําตอบยอมมีขอดีขอเสียปะปนกันไป รวมถึงความ เสี่ยงก็มักจะมากับความคุมคาอยูเสมอ เหนืออื่นใด หนีไมพนที่คนไทยทุกคนตองตัดสินใจ “เลือก” โดย ปราศจากอคติ และเมือ่ เห็นชอบเลือกโดยการ “ไตรตรอง” มาเปนอยาง ดีแลวก็อยา “ตอตาน” ไมใชเห็นดวย ...แตตองไปสรางในพื้นที่อื่น เชนนั้นไฟฟาไทยจึง “รอด” ❖

เรียบเรียงจากมุมมองความคิดเห็นที่รอบดานของวิทยากรงานสัมมนาซึ่งเปนกูรู ผูเชี่ยวชาญ ไดแก ฯพณฯ อารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน, ประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานกรรมการมูลนิธิพลังที่ยั่งยืน, ดร.คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวง พลังงาน,สุนชัย คํานูณเศรษฐ รองผูวาการพัฒนาโรงไฟฟาการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, ศ.ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ นักวิชาการ สิ่งแวดลอม,พยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, ดร.สมศักดิ์ วิวัฒนพนชาติ รองประธานคณะกรรมการ พลังงาน หอการคาไทย และ สุวพร ศิริคุณ ผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม


าจดูไมนา สนใจหากวิทยากรหัวขอเสวนา “ขอเท็จจริงสถานการณ พลังงานประเทศไทย” ไมใช ประเสริฐ บุญสัมพันธ ผูซ งึ่ สัง่ สม ประสบการณความรูในแวดวงนี้มายาวนาน ปจจุบันดํารง ตําแหนง ประธานกรรมการมูลนิธิพลังที่ยั่งยืน เขากลาววา อุตสาหกรรมพลังงานโลกทุกวันนี้กําลังเผชิญหนา กับความทาทายที่เพิ่มมากขึ้น ตนตอสําคัญมีอยู 4 ประการ นั่นคือ ความผันผวน ความไมแนนอน ความซับซอน และความคลุมเครือ ประเทศไทยในวันนีม้ คี วามตองการพลังงานเติบโตตามการพัฒนา เศรษฐกิจ และสวนใหญความตองการอยูในภาคอุตสาหกรรมและภาค ขนสง เปนสัดสวนกวา 70 เปอรเซนต สวนที่เหลือกระจายอยูในภาค ที่อยูอาศัยและธุรกิจการคา ที่นาตกใจก็คือ ตนทุนพลังงานไทย ถือวาอยูในระดับสูง คิด เปนมูลคาการใชพลังงานถึง 2 ลานลานบาท หรือ ประมาณเกือบ 20 เปอรเซ็นตของจีดีพีประเทศ และกวา 50 เปอรเซ็นตเปนพลังงาน นําเขาคิดเปนมูลคากวาปละ 1 ลานลานบาท โดยนําเขาในรูปพลังงาน เชื้อเพลิงประเภทนํ้ามัน กาซธรรมชาติ ถานหินและลิกไนต ซึ่งเปน พลังงานหลัก หากแตในเวลาเดียวกัน ประเทศไทยกลับอุดหนุนให ขายในราคาถูก เมื่อความเปนจริงถูกบิดเบือน จึงสงผลใหไมเกิดความตระหนัก ไมประหยัดใชพลังงาน ทําใหยิ่งตองนําเขาพลังงานมากขึ้น เสียเงิน ตราตางประเทศจํานวนมากขึ้น ทีส่ ดุ แลวความเปนจริงทีถ่ กู บิดเบือน กลับสรางความทาทายมาก ถึงมากที่สุด เพราะนอกจากไมสรางความ “ตระหนัก” ที่สุดอาจจะกลายเปน ความ “ตระหนก” อีกขอเท็จจริงหนึ่งก็คือ ปจจุบันไทยนําเขานํ้ามันดิบมาจากตาง ประเทศ 8 แสนบาเรลตอวัน และผลิตเองไดประมาณ 2 แสนบาเรล ตอวัน ขณะทีก่ า ซธรรมชาติ ซึง่ ประเทศไทยใชวนั ละ 4,000 ลานลูกบาศก ฟุตตอวันนั้น ผลิตจากแหลงในประเทศประมาณ 80 เปอรเซ็นต สวน อีก 20 เปอรเซ็นต นําเขาจากประเทศพมา และในระยะยาวมีแนวโนม ที่จะนําเขาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเปน 50 เปอรเซ็นต ชัดเจนแลววาในอนาคตอันใกล ไทยจะเปนประเทศที่พึ่งพาการ นําเขาพลังงานมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากไทยสามารถผลิตกาซ ธรรมชาติไดลดลง อีกทัง้ ยังมีความเสีย่ งดานการจัดหากาซธรรมชาติใน ประเทศจากกรณีสมั ปทานใกลหมดอายุตามพระราชบัญญัตปิ โ ตรเลียม ทําใหเกิดความไมชัดเจนดานการลงทุน และอาจตองนําเขากาซ แอลเอ็นจี(กาซธรรมชาติเหลว) ซึ่งมีราคาแพงกวากาซธรรมชาติที่สง โดยทอสงจากแหลงผลิตประเทศเพื่อนบาน ประเสริฐเผยขอมูลวา กาซธรรมชาติ เปนพลังงานหลักที่นํามา ใชในการผลิตไฟฟาเปนหลักกวา 60 เปอรเซ็นต ในภาคอุตสาหกรรม

ประเสริฐ บุญสัมพันธ และ 20 เปอรเซ็นตในภาคขนสง สวนทีเ่ หลือนําไปสรางมูลคาเพิม่ หรือ ทํากาซหุงตม เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุมอาเซียน พบวา สวนใหญจะ นําเขาในรูปนํ้ามันดิบ ยกเวน ประเทศมาเลเซีย บรูไน ที่มีการสงออก นํ้ามันดิบ ประเทศอาเซียนสวนใหญนั้นสงออกกาซธรรมชาติ ยกเวน ไทย และสิงคโปร ที่มีการนําเขา ปริมาณสํารองทรัพยากรพลังงานของไทยก็มแี นวโนมลดลงเชน กัน ไมวาจะเปนกาซธรรมชาติ นํ้ามัน ถานหิน ประมาณการวา ปริมาณสํารองพลังงานของประเทศไทยจะลด ลง โดยนํ้ามัน ยังมีใชไดประมาณ 40 ปขางหนา กาซธรรมชาติ 50 ป และถานหิน 100 ป

“การที่ไทยมีปริมาณสํารองพลังงานไมสูง และมีแนวโนมลดลง ประกอบกับเปนประเทศกําลังพัฒนา จึงดูแลอุดหนุนราคาพลังงาน ในบางประเภท คือ กาซแอลพีจี และเอ็นจีวี คอนขางสูงมาก ทําให การใชพลังงานเติบโตมากเกินปกติและมีราคาถูกกวาประเทศในกลุม อาเซียน” ประเทศไทยนัน้ อุดหนุนกาซแอลพีจเี ปนมูลคาถึง 1 แสนลานบาท ตอป “ถาเปนแบบนีจ้ ะเปนการสรางปญหาในระยะยาว ทําใหไมประหยัด พลังงาน ผูป ระกอบการไมมกี ารปรับตัว และไมมศี กั ยภาพการแขงขัน ซึง่ ควรนําเงินทีอ่ ดุ หนุนไปพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานสาธารณูปโภคอืน่ ๆ เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน” เขาบอกวาธนาคารโลกเองไดเคยทําวิจยั เรือ่ งการอุดหนุนในภูมภิ าค เอเซีย และชี้วา เงินอุดหนุนเพียง 30 เปอรเซ็นตเทานั้นที่ตรงกลุมเปา หมาย โดยนัยหนึง่ ก็คอื อุดหนุนไดแตสาํ หรับกลุม คน หรือ ธุรกิจทีค่ วร อุดหนุนเทานั้น พรอมยํ้าวา ปญหาของพลังงานไทยในวันนี้เปนเรื่องความจริงที่ ถูกบิดเบือน และถาหากปรับใหถูกตองจะแกปญหาไดอยางแนนอน เขายังไดกลาวถึงแนวโนมเรื่องพลังงานที่มาจากผลการประชุม กลุมประเทศผูนําของโลก G20 ที่นําเสนอใหมีการสนับสนุนพลังงาน สะอาดและการอนุรกั ษพลังงานอยางจริงจัง ขณะทีค่ วรหยุดการอุดหนุน เงินทุนชวยเหลือพลังงานเชื้อเพลิงที่มาจากฟอสซิล แตควรนํามาใช เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีและงานวิจัยทดแทน ที่เปนเชนนี้เพราะโลกกําลังตื่นตัวกับภาวะโลกรอน เพราะแคเพียงอุณหภูมขิ องโลกเพิม่ ขึน้ 2 องศา สิง่ ทีอ่ าจเกิดขึน้

ก็คือ มหันตภัยทําลายลางที่รุนแรง ในเรื่องอาหาร ระบบนิเวศ ปญหา นํ้า ลม สังคม และการเติบโตของเศรษฐกิจ จะถูกผลกระทบอยางมาก สุดทายมนุษยเราจะอยูอยางยากลําบาก และการใชพลังงานก็คือ “ผูราย” ที่โดนกลาวหาวาปลอยแกส จํานวนมาก เปนสาเหตุทําใหโลกรอน แตการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและการใชพลังงานทาง เลือกทีเ่ หมาะสม จะชวยลดปญหาภาวะโลกรอนได โดยเฉพาะ “พลังงาน สะอาด” ที่จะชวยทําใหโลกมีการเติบโตอยางยั่งยืน ทั้งในดานความ มั่นคง เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ถือเปนการตีกรอบใหแคบลง และงายยิ่งขึ้น สําหรับคําตอบที่ วา พลังงานสะอาดนั้นมีอะไรบาง ❖

หมายเหตุ

G20 ประกอบดวยประเทศอุตสาหกรรมชัน้ นําของโลก ไดแก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี รัสเซีย ญี่ปุน แคนาดา สหภาพยุโรป (อีย)ู และกลุม ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม จีน อินเดีย เกาหลีใต อินโดนีเซีย ตุรกี บราซิล อารเจนตินา เม็กซิโก ออสเตรเลีย แอฟริกาใต และซาอุดิอาระเบีย เมื่อ 20 ประเทศนี้รวมกันจะมีขนาดเศรษฐกิจใหญที่สุด ในโลก ถึงรอยละ 85 มีมูลคาการคาโลกสูงถึงรอยละ 80 มี ประชากรรวมกันไดถึง 2 ใน 3 ของโลก และทรงอิทธิพลที่สุด ของโลก


พลังงานทดแทน อ

ะไรคือปจจัยที่ 5 ถัดจากอาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และ ยารักษาโรค สําหรับมนุษยเรา มีหลายคนบอกวา..รถยนต มีหลายคนทีบ่ อกวา..มือถือ แต กลับหลงลืมไปวา “ไฟฟา” นั้นเกี่ยวของกับชีวิตตั้งแตหลับกระทั่งตื่น ใครเห็นดวยยกมือขึ้น!! ประการสําคัญ ไฟฟายังมีความจําเปนตอความมัน่ คงดานพลังงาน ของประเทศ และรองรับการเติบโตของเศรษฐกิจ การวางแผนพลังงานไฟฟา จึงเปนเรื่องจําเปนและเรงดวนมาก ที่สุด ดร.คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน กลาวในงาน เสวนาหัวขอ “พลังงานทดแทน โอกาสประเทศไทย?” ถาไมเตรียม “ความพรอม” ก็อาจกลายเปนความ “พลั้งพลาด” โดยการวางแผนนัน้ จําเปนตองคํานึงถึงความตองการไฟฟา สูงสุด หากไมมีไฟฟาใชอยางสมํ่าเสมอ นอกจากคุณภาพชีวิต ของคนไทยในประเทศจะหดหายไปแลว ความเชือ่ มัน่ ของธุรกิจ ภาคการผลิต รวมทั้งประสิทธิภาพของการผลิตและการบริการ ก็จะตกตํ่าลง สุดทายประเทศไทยก็ ไมอาจเรียกคืนความ “เชื่อมั่น” จาก นักลงทุนได ถาไฟฟาดับวันละสามเวลา คงจะไมมโี รงงานใดฝนทนอยูไ ด ทุกวันนี้กําลังการผลิตไฟฟาของไทย มีการเติบโตเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง ตามจํานวนประชากรและตัวเลขเศรษฐกิจ เปนเหตุผลที่ คลายคลึงกันทุกประเทศ แมวาจะยากดีมีจนแตกตางกัน ประเทศที่มีพลเมืองรายไดตอหัวสูง อยางเชนญี่ปุน เกาหลี ไตหวัน สิงคโปร ความตองการใชไฟฟาก็ยิ่งสูงขึ้นเปนเงาตามตัว.. จีดีพีตอหัวสูงขึ้น การบริโภคพลังงานก็ยอมสูงขึ้น ปจจุบันไทยมีประชากรกวา 68 ลานคน ตัวเลขจีดีพี (ป 2554) อยูที่ 10.5 ลานลานบาท มีการใชไฟฟาที่ระดับสูงสุด เมื่อปลายเดือน เมษายน 26,121 เมกะวัตต จากกําลังผลิตไฟฟาทั้งหมด 3.1 หมื่น เมกะวัตต ดร.คุรุจิต บอกวา ตัวเลขการใชไฟฟาของไทยเพิ่มขึ้นตาม จํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ไมใชตามจีดีพี นับจากป 2524 ที่มีจํานวน ประชากร 45 ลานคน การใชไฟฟาอยูที่ 3,800 เมกะวัตต ตอมาในป 2534 จํานวนประชากรเพิ่มเปน 54 ลานคน การใชไฟฟาเปน 9,600 เมกะวัตต และในป 2554 จํานวนประชากรเพิ่มเปน 67 ลานคน การใช ไฟฟา 24,000 เมกะวัตต และ ป2555 ประชากร 68 ลานคน มีความ ตองการใชไฟฟา 26,000 เมกะวัตต “จะเห็นวา ในชวงป 2554-2555 การใชไฟฟาเพิ่มขึ้นเปน 1,600 เมกะวัตต ซึ่งเทากับกําลังการผลิตโรงไฟฟา 3 โรง หมายถึงกาซ ธรรมชาติ 240 ลานลูกบาทฟุตตอวัน ที่จะตองหามาเพิ่ม” เปนสัญญาณชัดเจนวา นอกจากราคากาซธรรมชาติจะไมลดลง แลว กลับตองหาพลังงานเพิม่ อีก ราคาพลังงานยอมตองแพงขึน้ อยาง แนนอน หากแตการวางแผนกําลังผลิตไฟฟา กลับเจอโจทยทยี่ าก เพราะ

ดร.คุรุจิต นาครทรรพ ในปจจุบันประเทศไทยตองพึ่งพากาซธรรมชาติเกือบ 70 เปอรเซ็นต เปรียบเปรยเรือ่ งนีเ้ หมือนการวางไขซอ นกันภายในตระกราเดียว ตรงกันขามความถูกตองก็คือ ตองยึดถือสุภาษิตสอนใจที่วา Don’t put all your eggs in one basket โปรดอยาไดวางไขแบบนั้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการกระจายความเสี่ยงของแหลง เชื้อเพลิงสําหรับผลิตไฟฟา แลวพลังงานทดแทนใด ที่เปนโอกาสของประเทศไทย? ในฐานะเปนตัวแทนของหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบการวางแผนกําลัง ผลิตไฟฟา ดร.คุรุจิต ฟนธงวา “ทางเลือกของประเทศไทยมีไมมาก” เนื่องจากพลังงานทดแทนเพื่อใชผลิตไฟฟามีขอจํากัดมากมาย ประการสําคัญก็คือมีตนทุนการผลิตที่สูง “ไมวาจะเปนกาซชีวมวล หรือกาซชีวภาพ ปจจุบันตนทุนราคา แกลบไดปรับตัวขึ้นไปถึงตันละพันบาท จากราคาเพียงไมกี่รอยบาท สวนพลังงานแสงอาทิตยแมจะมีศักยภาพ แตการสรางโรงไฟฟา โรงหนึ่งจําเปนตองใชพื้นที่ใหญมาก และแสงอาทิตยก็ไมฉายแสง ตลอดทัง้ วัน ตลอดจนยังมีขอ จํากัดในเรือ่ งของการเก็บพลังงานไฟฟา ที่ผลิตได”

รูหรือไม ประเทศไทยมีความตองการ โรงไฟฟาขนาดใหญที่สามารถผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง และตองมีตนทุนที่ราคาถูก ซึ่งพลังงานจาก กาซธรรมชาติ และถานหิน ในวันนี้สามารถตอบสนองไดดีที่สุด หากแตอุปสรรคที่ยากจะกาวขาม ก็คือ ทัศนคติ และความเชื่อ “แมวาการใชพลังงานถานหิน จะทําใหตนทุนการผลิตไฟฟา ถูกลง แตทุกวันนี้คนสวนใหญยังติดภาพพจนเดิมเรื่องเปนพลังงาน สกปรก และปลอยมลภาวะ แตในความเปนจริงแลว พลังงานถานหิน มีเทคโนโลยีสะอาด สามารถลดการปลอยมลพิษไดมาก” สวนพลังงานสะอาดอยาง “นิวเคลียร” นั้นเลา ถึงจะผานฝน ผานรอน ผานหนาวมาหลายฤดู คงปฏิเสธไมไดวาวินาทีนี้คนก็ยัง “หวาดเสียว” ไมเลิก ดร.คุรุจิต ยอมรับวา “หนักใจ” การขับเคลื่อนเรื่องนี้ยากเย็น เหมือนเชน “เข็นครกขึ้นภูเขา” แตอยางไรก็ตาม ก็ยงั คงยืนยันวาไทยตองเก็บพลังงานนิวเคลียร ไวเปนทางเลือกในอนาคต นั่นเปนเพราะแทจริงแลวนิวเคลียรเปน พลังงานสะอาดที่มีความปลอดภัย และเชื่อมั่นไดกับเทคโนโลยี

การผลิตที่กาวลํ้า “มีหลายประเทศไมทิ้งพลังงานจากนิวเคลียร เชน เกาหลี ที่ยัง คงเดินหนาตอไป เพราะเขาไมมีแหลงพลังงานในประเทศ และตลอด ระยะเวลา 30 ปที่เกาหลีผลิตพลังงานไฟฟาจากนิวเคลียร ก็ทําใหคา ไฟฟาเกาหลีไมขึ้นสูงแมเงินเฟอจะขึ้นไป 250 เปอรเซ็นตก็ตาม” ทุกสิ่งอยางยอมมีทั้งผลดีผลเสียที่ตองชั่งนํ้าหนัก อยางไรก็ตาม ดร.คุรุจิต ไดสรุปชี้ทางเลือก ทางรอดไฟฟาไทย วามีอยู 5 แนวทาง ไดแก 1. ตองรวมกันประหยัดพลังงาน โดยใชนอ ย ใชใหมปี ระสิทธิภาพ ใหไดผลผลิตที่สูง 2. ตองกระจายความเสี่ยงเชื้อเพลิงและเขาถึงแหลงผลิตใหได 3. ถานหิน ยังมีความสําคัญเพราะเปนพลังงานสะอาด และ ควบคุมได 4. ตองสงเสริมพลังงานทดแทนใหมากขึ้น และอยาลืมพลังงาน นิวเคลียร 5. ตองใชความรูแ ละเทคโนโลยีในการแกปญ หา ดวยเปนหนทาง ที่ดีที่สุดในการสรางความเชื่อมั่น ❖


ทางเลือก-ทางรอด เ

พราะนี่คือประเทศไทยของเรา... ประชาชนคนไทยทุกภาคสวนจึงตองรับรูและตองรวมกัน เพื่อหาทางออกกับขอเท็จจริงดานสถานการณพลังงาน ของประเทศไทย ที่ถูกเปดเผยโดย มนูญ ศิริวรรณ ซึ่งขึ้น ชื่อเปนผูเชี่ยวชาญดานพลังงาน ในกรณีที่วา.. ประเทศไทยนั้นบริโภคพลังงานมากเปนอันดับ 2 ใน กลุม อาเซียน เปนรองก็แคประเทศอินโดนีเซีย ทัง้ ๆ ที่ไทยมีพลเมืองนอย กวาหลาย ๆ ประเทศ ทั้ง ๆ ที่ไทยนั้นเปนประเทศที่ตองพึ่งพาการนําเขา พลังงานมาจากภายนอก ขอเท็จจริงก็คือ ความตองการพลังงานของไทยยังคงเติบโตอยาง ตอเนื่อง โดยเฉลี่ยยังมีอยูปละ 2.3 จนถึงป 2573 ขอเท็จจริงก็คือ ความตองการไฟฟาของประเทศนั้นก็ยังคงเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องเชนเดียวกัน ปจจุบันประเทศไทยนํากาซธรรมชาติ มาใชเปนพลังงานเพื่อการ ผลิตไฟฟาเปนสัดสวนถึงรอยละ 65 รองลงมาก็คือพลังงานถานหิน รอยละ 20 และพลังงานอื่นๆ ขาวรายก็คือ ถือเปนความเสี่ยงหรือไม ? เนื่องจากมีการคาดการณ กันวาปริมาณกาซธรรมชาติอาจจะหมดลงภายในอีก 20 ปขางหนา เมื่อเร็วๆ นี้หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ รวมกับสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดจดั เวทีเพือ่ นําเสนอขอเท็จจริงและฟงความคิด เห็น ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย? จากนักศึกษา นักธุรกิจ นักวิชาการ ผูน าํ ทองถิน่ กํานัน ผูใ หญบา น และภาคประชาสังคมและชุมชน ณ โรงแรม สุนียแกรนด จ.อุบลราชธานี และ พบวาเสียงสวนใหญของผูเขารวมงาน เห็นดวย กับการพัฒนา ‘พลังงานหมุนเวียน’ (ลม, แสงอาทิตย, ขยะ, ชีวมวล) แตอยางไรเสีย คงตองศึกษากันตอเพื่อหาวา พลังงานประเภทใดที่ควรนํามาพัฒนาและ มีความเปนไปไดจริง ซึง่ บนเวทีเดียวกันนีก้ ม็ คี วามคิดเห็นในเรือ่ ง “พลังงานทดแทน โอกาส ประเทศไทย?” ผานมุมมองผูรวมเวที 6ทาน ไดแก สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน สุเทพ ฉิมคลาย ผูชวย ผูว า การแผนงาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พงษศกั ดิ์ สายวรรณ กลุม เครือขายชุมชนเพือ่ การปฏิรปู สังคมและการเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ดร.เดชรัต สุขกําเนิด อาจารยประจําคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร รศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี และ ทศพล ไกรพันธุ ภาคประชาสังคม (ผูแทนจากบาน ศรีไคออก ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ) สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ อธิบายแนวความคิดในการวางแผนและ ดําเนินการเกี่ยวกับพลังงาน วาตองพิจารณาจาก 4 ประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1) ความเพียงพอ ซึ่งตองหาพลังงานใหไดตามความตองการของ ประชาชน 2) ความมั่นคง มองแหลงพลังงานสํารองในระยะยาว 3) ราคาที่ประชาชนยอมรับไดโดยไมเดือดรอน

ในเวทีอุบลราชธานี สุเทพ ฉิมคล าย

เดชรัต สุขกําเนิด

4) การยอมรับทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม สวน สุเทพ ฉิมคลาย ผูชวยผูวาการแผนงาน การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย ผูซ งึ่ มีบทบาทหนาที่ในการผลิตและจัดหาพลังงานไฟฟาให เพียงพอ มีความมัน่ คง และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ไดกลาววา ในสวนของ กฟผ.นัน้ ไดดาํ เนินการเกีย่ วกับพลังงานหมุนเวียนมาแลวอยางตอเนือ่ ง โดยมี กําลังผลิตทีม่ าจากพลังงานหมุนเวียนซึง่ มาจากเขือ่ นทัง้ หมด ประมาณ 3,400 เมกะวัตต สวนพลังงานหมุนเวียนอืน่ ๆ เชน แสงอาทิตย และลมนัน้ กฟผ. ทําเปนตัวอยางเพื่อศึกษาและใหเอกชนเปนผูดําเนินการตอไป อยางไรก็ดี ขอเท็จจริงก็คือ พลังงานหมุนเวียนมักมีขอจํากัดใน เรื่องเสถียรภาพ และความสามารถในการผลิตไฟฟาที่ไมคอยสูงนัก ยกตัวอยางกังหันลม จะมีไมถึง 17 เปอรเซ็นต พลังงานแสงอาทิตยมี 18-19 เปอรเซ็นต (คลิกดูรายละเอียดที่ website ของกระทรวงพลังงาน) ขณะที่ พงษศักดิ์ สายวรรณ ไดแสดงความเห็นวา กระบวนการ พัฒนาพลังงานตองดูขอมูลรอบดาน รวมถึงผลกระทบตอคนในทองถิ่น ตองดูสภาพและความเปนไปไดของประเทศตนเองกอน ในมุมมองของภาคประชาชนอยาง ทศพล ไกรพันธุ มองวาการ พัฒนาดานพลังงานมองเฉพาะตัวเลขทางธุรกิจ โดยไมไดมองผลกระทบ ตอประชาชน โดยเฉพาะผลกระทบตอการใชชีวิตประจําวัน พรอมไดนํา เสนอ 3 แนวทาง ดังนี้ 1) การรักษาความสมดุลระหวางการพัฒนาดานพลังงานกับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน 2) ตัดสินใจโดยอาศัยขอมูลรอบดาน โดยไมยึดเอาเฉพาะขอมูล เชิงปริมาณหรือจํานวนประชากรมาตัดสินใจเพียงอยางเดียว 3) เปดเผยขอมูลและขอเท็จจริง มีกระบวนการที่สรางความเขาใจ และสรางการมีสวนรวม

สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ

ดาน เดชรัต สุขกําเนิด ไดนาํ เสนอภาพทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของการใช พลังงาน คือ ภาพของการลงทุนดานพลังงานในอนาคต และการเติบโต ของพลังงานหมุนเวียนที่รวดเร็วมากโดยเฉพาะประเทศในยุโรป ปจจุบนั โปรตุเกสนัน้ จะไมเนนการรับซือ้ ไฟอยางเดียว แตจะเนนเรือ่ ง การสรางงานดวยการพัฒนาเทคโนโลยี สิ่งแวดลอมและความแข็งแกรง มั่นคงของประเทศดวย ขณะที่ประเทศไทยนั้น จากการศึกษาเมื่อป 2553 มีผลลัพธที่ชี้ให เห็นวาประชาชนสนับสนุนการใชพลังงานหมุนเวียน ตรงกันขามไมคอย มีความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มคาไฟฟา เห็นไดชัดวาผูบริโภคมีการเรียนรู และปรับตัวเพิ่มขึ้น พรอมทัง้ ไดนาํ เสนอแนวทางการบริหารพลังงานทีธ่ นาคารโลกชี้ วาจะสามารถดูแลภาวะโลกรอนและการลดภาวะเรือนกระจกไดอยาง เหมาะสมนั้น ควรมีสัดสวนดังนี้ คือ มาจากการใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพ 38 เปอรเซ็นต, พลังงานหมุนเวียน 23 เปอรเซ็นต, โรง ไฟฟานิวเคลียร 6 เปอรเซ็นต และ โรงไฟฟาจากฟอสซิสที่ปรับปรุง ใหมอีก 10 เปอรเซ็นต รศ.ดร. กุลเชษฐ เพียรทอง นําเสนอเกีย่ วกับความเปนไปไดในการนํา พลังงานทางเลือกมาใชวา ตองมีการพัฒนากระบวนการ เทคโนโลยี หรือ การผลิตที่ชัดเจน เพื่อใหสามารถจัดการไดตามความตองการของพื้นที่ (ตนทุน และปลายทาง) เพราะพลังงานหมุนเวียนนัน้ เปนเรือ่ งทีด่ ี เนือ่ งจากลดการปลอยกาซ คารบอน แตตอ งยอมรับวามีอปุ สรรค ทัง้ ในเรือ่ งความเสถียร ความพรอม ในการลงทุน และมูลคาของการลงทุน ขณะเดียวกันก็ไมควรปลอยใหมกี าร ใชเชือ้ เพลิงใดเชือ้ เพลิงหนึง่ เปนแหลงพลังงานหลัก เพราะหากเปนเชนนัน้ ปญหาจะตามมาอยางแนนอนในอนาคตอันใกลนี้

“การเลือก” จึงควรทําอยางรอบคอบที่สุด โดยไมวาแผนการพัฒนา พลังงานไฟฟาจะเดินไปในทางใดก็ตามแตนั้น ปจจัยสําคัญที่จะสงผล ตอความสําเร็จก็อยูท ี่ “คนไทยทุกคน” ทีจ่ ะตองชวยกันคิด รวมกันหาทางออก และทีส่ าํ คัญกวานัน้ คือการเลือกใชพลังงานเพือ่ ผลิตไฟฟาโดยคํานึง ถึงความ “ยั่งยืน” อยาง “สมดุล” ของโจทยหลักดานความมั่นคงพลังงาน ไฟฟา ตองเดินบนขอตกลงรวมที่วา “ราคา” ที่ผูบริโภคสามารถจายได และไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ปลายทางของทางออกไฟฟาไทย จึงยอมไมใชมเี พียงแคหนึง่ แนนอน หากแต “สัดสวนที่เหมาะสม” ระหวางพลังงานหมุนเวียน และพลังงาน หลักตางหากที่สําคัญกวา ❖ พลังงานหลัก หมายถึงพลังงาน ทีม่ าจากเชือ้ เพลิงฟอสซิล เชน กาซธรรมชาติ ถานหิน และนํ้ามัน พลังงานหมุนเวียน หมายถึง พลังงานที่ไดจากแหลงที่ใช แลวไมมีวันหมด หรือสามารถเกิดขึ้นไดใหมภายในระยะเวลา อันสั้น มีหมุนเวียนใชไปเรื่อย ๆ เชน สายลม แสงแดด พลัง นํ้า และความรอนใตพิภพ ซึ่งเกิดขึ้นเองในธรรมชาติ รวมถึง ชีวมวล(วัสดุเหลือทิ้งทางเกษตร) และขยะชุมชน ซึ่งเกิดขึ้น อยางตอเนื่อง พลังงานทดแทน หมายถึง แหลงพลังงานที่สามารถ ทดแทนพลังงานหลักที่ใชอยูในปจจุบนั เชน นิวเคลียร ถานหิน สะอาด กาซธรรมชาติเหลว (LNG) รวมถึงพลังงานหมุนเวียน เชน พลังนํ้าขนาดใหญ เปนตน


โรงไฟฟ าพลังงานนํ้า ค

ลองเรือ เปนเพียงหมูบานเล็กๆ ที่สงบเงียบ หากแตวันนี้ ไดรับการกลาวขานวาเปนชุมชนตนแบบที่สามารถแปร บทเรียนจากความผิดพลาดในอดีตเปนพลังใหลกุ ขึน้ สูจ นมี ความเขมแข็ง มีความสามัคคีเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน อีกทั้งเปนตัวอยางที่ดีของการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ และชาวบานอยางเขาใจ เหนืออืน่ ใด เปนชุมชนตัวอยางในการนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง มาประยุกตใชจนประสบผลสําเร็จ ยอนกลับไปในป 2518 หมูบานคลองเรือ ซึ่งอยูในอําเภอ พะโตะ จังหวัดชุมพร ไดถอื กําเนิดขึน้ มีชาวบานเพียงไมกคี่ รอบครัว อพยพเขาไปตัง้ บานบริเวณริมคลองเรือเพือ่ ยึดอาชีพรอนแรดบี กุ แต ภายหลังทีแ่ รหมดไป พวกเขาก็หนั มาแผวถางปาเพือ่ ทําไร ทําสวน ผลไม รวมถึงการปลูกเมล็ดกาแฟซึง่ ไดรบั ความนิยมเปนอยางมาก ในขณะนั้น ในชวงป 2528 - 2531 การบุกรุกทําลายปาในพื้นที่พะโตะ ทวีความรุนแรงมากยิง่ ขึน้ และดวยการสัญจรทีย่ ากลําบาก ไมมถี นน ตัดผาน ตองสัญจรไปมาดวยการเดินเทา หรือใชมา เปนยานพาหนะ จึงสงผลใหเจาหนาทีป่ า ไมในในขณะนัน้ ไมสามารถเขาปองกันและ ปราบปรามการบุกรุกทําลายปาได พืน้ ทีป่ า ตนนํา้ ของชุมชนบานคลองเรือทีเ่ ปรียบเสมือน “หัวใจ” ของอําเภอพะโตะ จึงเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็ว จนทําใหชาวบาน เริ่มขาดแคลนทั้งนํ้าดื่มและนํ้าใช “วิกฤติสรางโอกาส” ยังอมตะเสมอสําหรับคมคํานี้

เพราะเปนการจุดประกายใหชาวบานมีการคิด ทบทวน และพูด คุยกันมากขึ้น ชุมชนคลองเรือมีโอกาสไดเรียนรูบทเรียนของการทําลาย ธรรมชาติวา “ถามีนํ้าคนอยูได ถาไมมีนํ้าคนอยูไมได” ถาปาตนนํ้าถูก ทําลายพวกเขาก็ไมสามารถยังชีพตอไปได กระทั่งในป 2537 หนวยอนุรักษและจัดการตนนํ้าพะโตะ กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืชไดจัดทําโครงการ “คนอยูปายัง” ขึ้นเพื่อสรางการมีสวนรวมของชุมชนใหมีการจัดการในพื้นที่ เพื่อสามารถใชประโยชนและปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และ พื้นที่ทํากินไปพรอมๆ กัน ดวยการผสมผสานภูมิปญญาชาวบานและ เทคโนโลยีอยางเหมาะสม และนี่คือจุดเปลี่ยนที่สําคัญยิ่ง... ที่ทําใหชุมชนบานคลองเรือ พัฒนาความคิดและปรับกลไกในการดูแลตนเองทําใหชมุ ชนมีสว นรวม ในการบริหารจัดการในการใชทรัพยากรดินนํ้าและปาไมจนสามารถ ดํารงชีวิตอยูรวมกับปาไดอยางสมดุลตามแนวพระราชดําริในสมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ จากปาที่ถูกบุกรุกทําลายวันนี้คน คลองเรือมี “ประปาภูเขา” ที่ใชไดตลอดทั้งป ฝายชะลอนํ้าตามลําหวยตางๆ ในปาตนนํ้ากวา 300 ฝายที่ ชาวบานชวยกันสรางขึ้น ทําใหพื้นที่ปากลับมาชุมชื้นอุดมสมบูรณ อีกครั้ง ใชทําแนวปองกันไฟปาก็ได และสงผลใหมีแหลงนํ้ามากพอ สําหรับใชกินใชอยู รวมถึงใชทําการเกษตร นอกจากนี้แหลงนํ้าเล็กๆ บนภูเขาที่เกิดจากปาตนนํ้าบนภูเขา กวา 4,000 ไร ก็ไดกลายเปนตนกําเนิดของโรงไฟฟาพลังนํ้าขนาด 100 กิโลวัตตสําหรับใชในหมูบาน หรือ “โรงไฟฟาพลังนํ้าชุมชน” อีกดวย

โรงไฟฟาพลังนํ้าชุมชนบานคลองเรือ มีจุดเริ่มตนเมื่อป 2551 ดวยความรวมมือของ การไฟฟาผลิตแหงประเทศไทยกับ 3 องคกร ภาคี ไดแก คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และมหาวิทยาลัย ชีวติ นครศรีธรรมราช ซึง่ เขามาดําเนินโครงการจัดการความรูพ ลังงาน ไฟฟาในพื้นที่ภาคใต และทําการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบ โรงไฟฟาพลังนํ้าที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในชุมชน 12 แหง แนนอนวา ชุมชุนบานคลองเรือ คือหนึง่ ในชุมชนทีม่ คี วามพรอม และเหมาะสมมากที่สุดชุมชนหนึ่งในการเริ่มดําเนินการ การกอสรางโรงไฟฟาพลังนํ้าชุมชนแหงนี้ มีจุดเดนตรงการมี “สวนรวม” ในทุกกระบวนการ ทุกขั้นตอน และมีการวางบทบาทของ แตละสวนของชัดเจน โดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและ องคกรภาคี จะสํารวจศักยภาพทางกายภาพ วิศวกรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองทองถิน่ และออกแบบพิมพเขียว เพือ่ ใหชาวชุมชนคลอง เรือสรางอาคารโรงไฟฟา โดยใชทุนและแรงงานของตนเอง รวมถึงได มีการระดมทุนกันเองภายในชุมชนสําหรับเปนงบประมาณสนับสนุน เมือ่ กรมอุทยานแหงชาติและสัตวปา เห็นชอบในการผลิตกระแส ไฟฟาในพื้นที่ ซึ่งเปนแหลงเรียนรูดานการอนุรักษทรัพยากรแลว การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยยังสนับสนุนงบประมาณจํานวน 9 ลานบาท อีกทัง้ เครือ่ งกําเนิดไฟฟารวมถึงอุปกรณจาํ เปนตางๆ พรอม สงเจาหนาที่ผูเชี่ยวชาญมาใหคําแนะนําการกอสรางและใหความรูกับ ชาวบานตลอดการทํางาน ในที่สุดเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 โรงไฟฟาแหงนี้ก็ไดเดิน

เครือ่ งจายไฟฟาใหชาวชุมชนคลองเรือ จํานวนกวา 200 ครัวเรือนเปน ผลสําเร็จ ตอมาในวันที่ 5 มิถุนายน 2555 นายสุทัศน ปทมสิริวัฒน ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ก็ไดสงมอบโรงไฟฟา พลังนํ้าชุมชนบานคลองเรือใหแกผูแทนชุมชนในพื้นที่ ซึ่งประกอบ ดวย เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 100 กิโลวัตต จํานวน 1 เครื่อง และ อุปกรณสวนประกอบอื่นๆ เพื่อใหชาวชุมชนบานคลองเรือไดนําไป บริหารจัดการภายในชุมชนตอไป นอกจากนี้ ในชุมชนยังสามารถบริหารจัดการกันเอง ไมวาจะ เปนการจดมิเตอร เก็บคาไฟฟา และการออกแบบการใชงานใหเหมาะ สมกับชุมชนของตนเอง อาทิ ไมอนุญาตใหใชอปุ กรณไฟฟาทีส่ นิ้ เปลือง พลังงานเปนจํานวนมาก เชน แอร และ ตูแ ช รวมไปถึงการนําเงินที่ได จากการเก็บคาไฟฟา สวนหนึ่งนํามาใชเปนคาแรงงานกลับไปสูคนใน ชุมชนที่ชวยกันบํารุงรักษาโรงไฟฟา และอีกสวนหนึ่งนําไปใชสําหรับ การบํารุงรักษาในอนาคต ความสําเร็จของ “ชาวคลองเรือ” ในวันนี้ จึงถือเปนบทพิสูจนให เห็นถึงการเปนชุมชนที่เขมแข็ง และเปนตนแบบของการดําเนินงาน ที่ใชกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอยางแทจริง ❖ ติดตามเรื่องราวของโรงไฟฟ าพลังงานนํ้าชุมชนบ าน คลองเรือตอนต อไปได ในวันที่ 23 สิงหาคม 2555


โมเดลชุมชนเข มแข็ง แ

สงไฟที่สวางไสวในหมูบานคลองเรือวันนี้ ดึงดูดผูคนนับพัน หลั่งไหลเขามา อยางไมขาดสาย เพื่อที่จะนําไฟแหงความคิด และความสามัคคีของคนใน ชุมชนแหงนี้ เปนตนแบบแหงการเรียนรูแ ละนําไปปรับใชตามวิถที างของตนเอง วากันวา ความสําเร็จนัน้ ยากตอการลอกเลียนแบบ ในเมือ่ โรงไฟฟาพลังนํา้ ชุมชนบาน คลองเรือนั้นถูกออกแบบและพัฒนาใหมีความเหมาะสมกับทรัพยากรและสภาพภูมิประเทศ ของชุมชนแหงนี้เทานั้น โรงไฟฟาพลังงานสะอาดขนาดเล็กของชุมชนบานคลองเรือ คือโมเดลความสําเร็จ “โดยตนเอง เพื่อตนเอง” ลองมาฟงเคล็ดลับจาก ผูใหญมนัส คลายรุง ผูใหญบานแหงชุมชนบานคลองเรือ ผูเปนเรี่ยวแรงสําคัญอีกคนหนึ่ง ที่ชวยกอรางสรางความเขมแข็ง ความสามัคคีเปนนํ้าหนึ่ง ใจเดียวกัน อีกทั้งการทํางานรวมกันกับภาครัฐดวยการบริหารจัดการของคนในชุมชน รวมถึงการนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช เขาเลาใหฟงวา... การสรางความเขาใจกับคนในชุมชนควรเปนจุดเริ่มตนเสมอ เพราะ ถาขาดเรื่องนี้ยอมไมเกิดความสามัคคี รวมมือรวมใจ ในการกอสรางโรงไฟฟาแหงนี้ ไดเงินทุนเริ่มตนจากการระดมทุนกันเองของชาวบาน ในหมูบานคลองเรือ เปนจํานวน 80,000 บาท ขณะเดียวกันก็มชี าวบานบางสวนไปรับจางหนวยอนุรกั ษและจัดการตนนํา้ พะโตะ สราง ฝายตนนํ้าเพื่อนําเงินมาสมทบอีก 350,000 บาท โดยชาวบานแตละคนจะนําเงินที่ไดมาซื้อ อุปกรณ และวัสดุตา งๆ เพือ่ ใชในการกอสรางอาคารโรงไฟฟา ฝาย และบอตะกอน โดยเครือ่ ง กําเนิดไฟฟาพลังนํา้ ขนาด 100 กิโลวัตตพรอมอุปกรณนนั้ ไดรบั การสนับสนุนจากการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย ทั้งนี้ชาวบานไดชวยกันออกแรงทํางานโดยไมรับคาแรงเปนเงินสด แตจะมีการ จดบันทึกการทํางานไว เพือ่ นํามาคํานวณเปนมูลคาหุน โรงไฟฟา ซึง่ คิดคาแรงเทากับ 200 บาท ตอคนตอวัน และถึงแมวา ในวันนีช้ มุ ชนบานคลองเรือจะสามารถผลิตไฟฟาใชกนั ไดเองภายในชุมชน แตก็ไมไดหมายความวา ทุกคนจะสามารถใชไฟฟากันไดตามอําเภอใจ ผูใหญมนัสบอกวายังคงสงเสริมใหทุกบานทุกครัวเรือน รวมกันประหยัดไฟกันอยาง ตอเนื่อง เพราะปริมาณนํ้าในการผลิตกระแสไฟฟาจะมีความคงที่อยูราว 10 เดือนเทานั้น พื้นที่แหงนี้จะประสบกับอากาศที่แหงแลงอยูราว 2 เดือน ซึ่งถือเปน 50 เปอรเซ็นต ของ

ปริมาณนํ้าโดยรวม จึงเปนความจําเปนที่ผูนําชุมชน จะตองทําความเขาใจกับชาวบาน เพื่อใหเกิดการ จัดระเบียบการใชไฟเพื่อใหเพียงพอกับทุกคนในหมูบาน โดยอาศัยการประชุมหาทางออก รวมกัน และไดกําหนดออกมาเปนกติกาวา 1 หลังคาเรือนจะสามารถใชไฟฟาไดไมเกิน 300 วัตตเทานั้น ขณะที่ในหนาแลง จะตองลดการใชลงมาเหลือหลังคาเรือนละ 150 วัตต รวมถึงยังหามไมใหมีการใชเครื่องใชไฟฟาที่สิ้นเปลืองพลังงานมากอีกดวย นอกจากโรงไฟฟาพลังนํ้าแลว ชุมชนบานคลองเรือยังมี โครงการคนอยูปายัง ที่คน ภายนอกใหความสนใจเขามาศึกษาดูงานกันมากมาย โครงการนีฉ้ ายใหเห็นถึงบอเกิดชุมชนเขมแข็งของบานคลองเรือทีเ่ ปลีย่ นบทบาทของ ตัวเองจากผูทําลายปากลายมาเปนผูรักษาปาไดอยางยั่งยืน และกลมกลืน ทั้งขยายผลเปนโครงการตอยอดอีกหลากหลายโครงการที่ยิ่งเสริมสรางความเขมแข็ง ใหกับชุมชนมากขึ้น ไมวาจะเปน โครงการธนาคารตนไมสวนเกษตร 4 ชั้น ซึ่งเปนภูมิปญญาชาวบานที่มี คนภายนอกเขามาศึกษาดูงานกันอยางจริงจัง

หลักการของโครงการนีท้ เี่ กิดจากแนวคิดของชาวบานซึง่ เขาใจไดงา ยมาก เปนการนํา ความสูงของพืชแตละชนิดมาเปนตัวแบงชั้นการเพาะปลูก ดวยความสูงของพืชที่ไมเทากัน จะทําใหพืชไมแยงอาหารและขึ้นเบียดเสียดกันจนเกินไป สงผลใหในพื้นที่เล็กๆ เพียง 10 ไร สามารถปลูกพืชไดหลากหลายชนิด เทียบไดกับการปลูกพืชไดกวา 40 ไร การทองเทีย่ วเชิงนิเวศ ทีน่ บั วันจะไดรบั ความนิยมจากนักทองเทีย่ วทีห่ ลงใหลในความ งดงามของธรรมชาติ มากกวาความศิวิไลซที่เต็มไปดวยความฉาบฉวยในเมืองกรุง “ธนาคารตนไม” ของชุมชนบานคลองเรือ ถือเปนอีกหนึ่งโครงการที่มีความพิเศษ เพราะไดชวยสงเสริมชาวบานในชุมชนใหหันมาปลูกตนไมเศรษฐกิจที่ทางโครงการฯ และกรรมการหมูบานไดทําการวิจัยและพิจารณาแลววามีประโยชนทั้งทางดานเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม โครงการนี้จะมอบตนกลาใหชาวบานนําไปเพาะปลูกในพื้นที่ของตน โดยจะมีดอกเบี้ย จากการปลูกตนกลาเหลานีท้ กุ ๆ ปเพือ่ เปนแรงจูงใจ และเมือ่ ตนกลาเติบโตงอกงามชาวบาน ก็สามารถตัดเพื่อนําไปขายเปนการสรางรายไดอีกทางหนึ่ง อาจสงสัยวา ปลูกแลวตัด ที่สุดตนไมก็จะหมดไป แตผูใหญมนัส ไขขอสงสัยวา ชาวบานจะใชวิธีผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันตัด ไมไดตัดพรอมกันในคราวเดียว เพราะ ชาวบานเองก็มีความตองการจะเก็บเอาไวเปนดอกเบี้ยใหลูกใหหลานในภายหลัง และเพื่อ ทําใหชุมชนมีพื้นที่สีเขียวอยางตอเนื่อง และยั่งยืน ผูนําชุมชนทานนี้มีความเชื่อมั่นอีกดวยวา หากประเทศไทยนําโครงการนี้ขยายผลไป ใหทั่ว ประเทศไทยเราจะไมมีวันขาดแคลนปาไมอยางแนนอน ที่สําคัญ นี่คือเสนทางที่จะทําใหคนสามารถอยูรวมกับปาไดอยางถาวร ความพยายามของคนในชุมชน และความสามัคคีกันของคนในหมูบาน ทําใหใน วันนีช้ าวคลองเรือไดรบั รางวัลตอบแทนทีท่ าํ ใหชวี ติ ประจําวันของพวกเขาสะดวกสบายขึน้ กวาเดิม และยังสงผลทําใหเกิดความเปนนํา้ หนึง่ ใจเดียวกันในชุมชน ที่พรอมจะสงมอบ ความสุขเหลานี้ไปสูรุนลูกรุนหลาน เพื่อใหเปนมรดกทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตอไป ในวันนี้ชุมชนบานคลองเรือมีวิถีชีวิตที่ลงตัว และมีความสุข อีกทัง้ พวกเขายังไดรบั รางวัลแหงความภาคภูมิใจอยางประมาณคาไมได เพราะพวก เขาไดรบั พระราชทานธงพิทกั ษปา เพือ่ รักษาชีวติ จากสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ เมือ่ ป 2541 ในฐานะชุมชนทีร่ กั ษาปาตนนํา้ ไดอยางยอดเยีย่ มมาอยางยาวนาน ❖


แนวคิด “พ

ลังงานทางเลือก จะกลายเปนพระเอกที่มีบทบาทมาก ขึ้นในอนาคต” นี่คือบทสรุปความคิดเห็นของผูเขารวมประชุม ในเวทีสัญจร Energy Forum ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย? ณ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งงานในครั้งนี้นอกจากจะสานตอแนวคิดในการ กระตุน เตือนใหทกุ ภาคสวนเห็นความสําคัญของปญหาไฟฟาไทยแลว ยังเห็นทิศทางในการหาทางออกรวมกันอีกดวย เพราะเปนทีท่ ราบกันดีวา พลังงานจากฟอสซิล ทัง้ นํา้ มัน ถานหิน และกาซธรรมชาติ เปนพลังงานหลักที่ถูกนําใชผลิตกระแสไฟฟาของ ประเทศไทย แตพลังงานประเภทนี้ใชแลว มีวนั หมดไป จึงจําเปนตอง มองหาพลังงานอื่นมาทดแทน เวทีสัมมนา Energy Forum ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย? ณ จังหวัดพิษณุโลกนั้น เปนความรวมมือกันระหวางหนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจกับสถาบันวิจยั พลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ กระตุน เตือนใหทกุ ภาคสวนตระหนักถึงความสําคัญของปญหาไฟฟา ไทย โดยไดมกี ารพูดถึงทางออกของประเด็นดังกลาวไวอยางนาสนใจ “ไทยใชพลังงานจากฟอสซิลเปนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟาเปนหลัก โดยพึง่ พาพลังงานจากกาซธรรมชาติสงู ถึง 65 เปอรเซ็นต ถานหิน 20 เปอรเซ็นต นํา้ มัน 0.2 เปอรเซ็นต ซึง่ นากังวลวา จะเผชิญการสุม เสีย่ งกับ วิกฤติการสํารองพลังงานไฟฟา อยางชวงพมาไมสามารถสงกาซใหได หรือ ทอกาซในอาวไทยรัว่ ทําใหเมือ่ เมษายน 2555 ทีไ่ ทยมีการใชพลังงานไฟฟา สูงสุดถึง 26,000 เมกะวัตต ทําใหเราเหลือการสํารองไฟฟาแค 5 เปอรเซ็นต” มนูญ ศิรวิ รรณ ผูเ ชีย่ วชาญดานพลังงาน กลาว และเสริมวา ดังนั้น นโยบายดานไฟฟาไทยในอนาคต ควรลดการพึ่งพิง แหลงพลังงานจากกาซธรรมชาติลง โดยตองเรงสรางพลังงานทดแทน จากสวนตางๆ เขามาเสริม และตองสรางความรวมมือระหวาง ภาครัฐ กฟผ.และประชาชน ใหความรูก บั ประชาชนไดตระหนักถึงการ ใชพลังงานไฟฟาที่มีอยูใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด สอดคลองกับ ชวลิต พิชาลัย รองอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ที่กลาววา ปญหาหลักของพลังงานไฟฟาในประเทศไทย คือ มีการ

ชวลิต พิชาลัย

ดร.สุขฤดี สุขใจ

พึ่งพิงกาซธรรมชาติเปนแหลงเชื้อเพลิงมาก 65-70 เปอรเซ็นต ของ กําลังผลิตทัง้ ประเทศ ขณะทีท่ วั่ โลกใชกา ซธรรมชาติในการผลิตกระแส ไฟฟาเพียง 20-30 เปอรเซ็นต เทานั้น ทางออกของประเทศไทยในอนาคต จึงตองมีการกระจายแหลง เชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟาทีต่ อ งลดการใชกา ซธรรมชาติลงมา แนวทาง ก็คือ การเรงสรางแหลงพลังงานทดแทนจากแหลงพลังงานอื่นๆ ไมวา จะเปน พลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย พลังงานจากขยะ และ พลังนํ้าขนาดเล็ก ฯลฯ โดยขณะนี้มีการใชพลังงานทดแทนผลิตกระแสไฟฟามีกําลังการ ผลิตอยูที่ 2,000 เมกะวัตต แตในอีก 20 ป ขางหนา หรือในป 2564 ตองเพิม่ สัดสวนการผลิตไฟฟาเปน 9,000 เมกะวัตต เพิม่ ขึน้ จากปจจุบนั 15 เปอรเซ็นต อาจกลาวไมผิดนักที่พลังงานทดแทนก็คือพระเอกคน สําคัญในอนาคต ดร.สุขฤดี สุขใจ ผูอ าํ นวยการวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัย นเรศวร กลาววา ประเทศไทยยังใชพลังงานหมุนเวียนไมเต็มศักยภาพ และจากทีม่ หาวิทยาลัยนเรศวรไดดาํ เนินงานเรือ่ งพลังงานทดแทนมา ตลอดระยะเวลา 20 ปทผี่ า นมา เริม่ จากพลังงานแสงอาทิตย กอนขยาย มาสูพ ลังงานชีวมวล

สุรจิต วงศ กังแห “เรามีความเชื่อวา พลังงานเหลานี้มศี ักยภาพสามารถสรางเปน พลังงานทดแทนไดในอนาคต หากกระทรวงพลังงานมีแผนพัฒนาที่ ชัดเจนและลงมืออยางเปนรูปธรรม” ทนงศักดิ์ วงษลา ผูอํานวยการกลุมราคาไฟฟาและคุณภาพ บริการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กลาววา ตามแผนที่วาง ไวในอีก 10 ปขางหนา จะมีการสงเสริมใหมีการผลิตพลังงานไฟฟา จากพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงจากฟอสซิลในสัดสวน 25 เปอรเซ็นต ของกําลังผลิตทั้งประเทศ เพื่อสรางความมั่นคงใหกับพลังงานไฟฟา ของประเทศไทย โดยปจจุบนั พลังงานแสงอาทิตยเริม่ ผลิตกระแสไฟฟา เขาสูระบบแลว 2,000 เมกะวัตต สวนพลังงานจากลม และพลังงาน จากขยะยังมีการลงทุนนอย แตในอนาคตตองมีการสงเสริมใหมากขึน้ ซึ่งคา Adder ที่ใหนั้น จะรวมอยูในคาไฟฟาของประชาชน สําหรับตัวแทนจากภาคอุตสาหกรรม อยาง สุรจิต วงศกังแห ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก กลาววา ปจจุบนั มีภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรมหลายแหงสนใจอยากลงทุนโรงงานผลิตไฟฟา พลังงานชีวมวล โดยเฉพาะพลังงานชีวมวลจากขยะ ซึ่งประเทศไทย มีขยะปละ 16 ลานตัน หากนํากลับมาใชผลิตไฟฟาเพื่อเสริมกับพลังงาน หลักก็สามารถทําได

อยางไรก็ดี การคืนทุนที่ชา เปนสาเหตุใหเกิดความลังเลในการ ตัดสินใจ ดังนั้นหากภาครัฐมีมาตรการเสริมการลงทุนที่ดี เชื่อวา โรงไฟฟาจากพลังงานชีวมวลจะมีมากขึ้นแนนอน ยกตัวอยางที่ จังหวัดพิษณุโลก บริษัท วงษพาณิชยกรุป ผูรับซื้อของเการายใหญ ไดทําหนาที่รวบรวมวัตถุดิบชีวมวลสงปอนบริษัท เกาะแกว ที่จังหวัด พิจิตร ซึ่งเปนโรงงานผลิตไฟฟาพลังงานชีวมวล มีกําลังผลิตถึงวันละ 200 กิโลวัตต ฯลฯ สวนการสรางความมั่นคงดานพลังงานไฟฟาของประเทศไทย ในความเห็นของ สุเทพ ฉิมคลาย ผูชวยผูวาการแผนงาน การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย มองวายังจําเปนตองใชพลังงานจากฟอสซิล เปนพลังงานหลักในการผลิตไฟฟา ขณะที่พลังงานทางเลือก อยาง พลังงานหมุนเวียนจะเปนสวนเสริม เนือ่ งจากพลังงานดังกลาวยังขาด เสถียรภาพในการผลิต อีกทั้งตนทุนในการผลิตสูง ซึ่งถือเปนปญหา หนึ่งที่สําคัญในการผลิตไฟฟาก็วาได เชนเดียวกับ ดร.เดชรัต สุขกําเนิด อาจารยประจําคณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่กลาววา พลังงานจาก ฟอสซิลยังมีความจําเปน เพื่อรักษาฐานการผลิตไฟฟาของประเทศ ใหเกิดความมั่นคง ขณะเดียวกันก็ควรเริ่มดําเนินการจัดหาพลังงาน ทางเลือกอยางพลังงานหมุนเวียนเขามาทดแทน อยางหลายประเทศ ในยุโรปไดหันมาใชพลังงานชีวมวลมากขึ้น ตัวอยางเชน ประเทศเดนมารกใชพลังงานชีวมวลในการผลิตกระแส ไฟฟาอยูที่ 25เปอรเซ็นต ประเทศเยอรมนีประกาศจะหันมาใชพลังงาน ชีวมวลเปนพลังงานหลักในการผลิตไฟฟาถึง 80 เปอรเซ็นต ใน 30 ป ขางหนา ประเทศสวีเดน มีการตั้งเปาหมายชัดเจนวา ในป ค.ศ.2050 จะ ใชพลังงานหมุนเวียนผลิตไฟฟา 100 เปอรเซ็นต เปนตน การตอบโจทยวา อนาคตของพลังงานไฟฟาไทยจะรอดหรือไมนั้น ประเทศไทยตองมีการดําเนินการใหประชาชนทุกภาคใชพลังงานใหมี ประสิทธิภาพสูงสุด เชน มีแผนปฏิบัติการดานการประหยัดและอนุรักษ พลังงานที่ชัดเจน และการสรางความเขาใจในเรื่องพลังงานแกประชาชน อยางถูกตอง เพื่อทุกภาคสวนจะไดหาทางออกรวมกัน ❖


โรงไฟฟ าพลังนํ้า คุ

ณประโยชนของเขื่อนเจาพระยา จังหวัดชัยนาท ในวันนี้ มีอยูอยางมากมาย ไมวาจะเปนเพื่อการชลประทาน ทดนํ้า ใหพื้นที่ทําการเกษตร เพื่อชวยการระบายนํ้าเมื่อยามเกิด อุทกภัย และเขื่อนแหงนี้ยังมีทัศนียภาพที่สวยงามเหมาะแก การทองเที่ยวอีกดวย ประการสําคัญ เขื่อนเจาพระยายังทําหนาที่ผลิตไฟฟา ซึ่งนับ เปนโรงไฟฟาพลังนํ้าที่สะอาด ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด จากการเผาไหมเชื้อเพลิงที่กอใหเกิดภาวะโลกรอนถึง 35,624 ตัน ตอป อีกทั้งชวยลดการนําเขานํ้ามันจากตางประเทศถึง 15 ลานลิตร ยอนรอยเสนทาง..กวาเปนเขื่อนเจาพระยา แมนํ้าเจาพระยานั้นมีตนกําเนิดจากแมนํ้า 4 สาย คือ ปง วัง ยม และนาน โดยมีจุดกําเนิดอยูที่ตําบลปากนํ้าโพ อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ไหลจากทิศเหนือลงสูอาวไทยผานจังหวัดตางๆ ในที่ราบภาคกลาง เรื่อยมาจนถึงกรุงเทพมหานคร และลงสูทะเล อาวไทยที่ อําเภอปากนํา้ จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีความยาวทัง้ สิน้ ประมาณ 370 กิโลเมตร และตลอดเสนทางที่ไหลผาน แมนาํ้ เจาพระยา ไดสรางความอุดมสมบูรณใหดิน สามารถหลอเลี้ยงพื้นที่เกษตรกวา 1 แสนตารางกิโลเมตร ซึ่งเปนแหลงอาหารของประชากรครึ่งหนึ่ง ของประเทศ

จากจังหวัดนครสวรรค แมนาํ้ เจาพระยาจะไหลลงใต ผานจังหวัดที่ ตัง้ อยูร มิ ฝง เจาพระยา ตัง้ แต อุทยั ธานี ชัยนาท สิงหบรุ ี อางทอง อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ เรื่อยไปจนถึงสมุทรปราการ แตจังหวัดที่ สามารถเขาถึงสายนํ้าเจาพระยาไดมากที่สุด เพราะตั้งอยูใจกลางของ ลุม แมนาํ้ เจาพระยาตอนบน ก็คอื จังหวัดชัยนาท จึงเปนเหตุผลวาทําไม ที่จังหวัดชัยนาทแหงนี้ ถึงอุดมสมบูรณเปนอยางมาก ลุมแมนํ้าเจาพระยาตอนบน ถือเปนลุมแมนํ้าที่สําคัญที่สุดของ ประเทศ กินพื้นที่มากถึง 30 เปอรเซ็นตของพื้นที่ทั้งหมด และเปนที่ อยูอ าศัยของประชากร 40 เปอรเซ็นต ของจํานวนประชากรทัง้ ประเทศ ขณะที่ 90 เปอรเซ็นตของปริมาณนํา้ จะถูกนํามาใชเพือ่ การเกษตร รัฐบาล ไทยจึงไดสรางเขือ่ นทดนํา้ บริเวณทีร่ าบลุม แมนาํ้ เจาพระยาอยูห ลายแหง ตัง้ แตป พ.ศ.2493 เพือ่ ควบคุมปริมาณนํา้ และสงนํา้ สูล าํ คลองในระบบ ชลประทานสําหรับพื้นที่ทําการเกษตรกวา 1 ลานไร เขื่อนเจาพระยา จึงถือกําเนิดขึ้น

เขื่อนแหงนี้เปนเขื่อนทดนํ้าขนาดใหญที่สรางขึ้นเปนแหงแรก ของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยูที่บริเวณคุงบางกระเบียน หมูที่ 3 ตําบล บางหลวง อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ไดเสด็จพระราชดําเนิน เปนองคประธานเปดเขือ่ นเจาพระยาเมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ พ.ศ. 2500 ลักษณะของเขือ่ นเจาพระยานัน้ เปนเขือ่ นคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 237.50 เมตร สูง 16.5 เมตร ติดตั้งบานประตูเหล็กรูปโคงสูง 7.50 เมตร มีชองระบายใหนํ้าไหลผานขนาดกวาง 12.50 เมตร จํานวน 16 ชอง ประตูนํ้าสําหรับเรือสัญจรติดกับเขื่อนดานขวากวาง 14 เมตร ยาว 170.50 เมตร เรือขนาดใหญสามารถผานเขาออกได บนสันเขือ่ น มีสะพานกวาง 7 เมตร รับรถนํ้าหนักบรรทุกไมเกิน 20 ตัน และมี ทางระบายนํา้ ลนฉุกเฉินสรางบนคันกัน้ นํา้ ซายมือเหนือเขือ่ นเจาพระยา กวาง 10 เมตร ยาว 1,000 เมตร เพื่อชวยระบายนํ้าเมื่อเกิดอุทกภัย อัตราการระบายนํ้าผานเขื่อนสูงสุดประมาณ 3,300 ลูกบาศกเมตรตอ

วินาที แตการปลอยนํา้ จะควบคุมใหอยูในระดับไมเกิน 2,500 ลูกบาศก เมตรตอวินาที เพื่อมิใหกระทบตอพื้นที่ลุมตํ่าริมแมนํ้าเจาพระยา ทัศนียภาพรอบเขื่อนสวยงาม โดยเฉพาะชวงเดือนมกราคม บริเวณแมนาํ้ เหนือเขือ่ นจะมีฝงู นกเปดนํา้ นับหมืน่ มาอาศัยหากิน เขือ่ น นีส้ รางประโยชนดา นการชลประทานเปนหลัก โดยระบายนํา้ จากแมนาํ้ ในภาคเหนือสูภาคกลางและอาวไทย สงนํ้าไปในพื้นที่เพาะปลูกภาค กลางเขาคลองสงนํ้าสายใหญรวม 5 สาย คือ แมนํ้านอย แมนํ้าทาจีน คลองมะขามเฒา-อูท อง คลองชัยนาท-ปาสัก และคลองชัยนาท-อยุธยา จุดเปลี่ยนที่นาสนใจเกิดขึ้นในป พ.ศ.2551 ดวยการไฟฟาฝาย ผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) มีโครงการกอสราง “โรงไฟฟาพลังนํ้า” ขึ้นที่ทายเขื่อนเจาพระยา ในชื่อ “โรงไฟฟาพลังนํ้าเขื่อนเจาพระยา เฉลิมพระเกียรติ 60 ปบรมราชาภิเษก” และทีส่ ดุ ก็ไดกอ ใหเกิดประโยชนสงู สุดทัง้ ดานการเกษตร อุปโภค บริโภค และดานพลังงาน จวบถึงวันนี้ ❖


โรงไฟฟ าพลังนํ้าเขื่อนเจ าพระยาฯ

ารกิ จ สํ า คั ญ ของ “โรงไฟฟ า พลั ง นํ้ า เขื่ อ นเจ า พระยา เฉลิมพระเกียรติ 60 ปบรมราชาภิเษก” ก็เพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนที่ไมสงผลกระทบตอ การบริหารจัดการลุม นํา้ เจาพระยา และเพือ่ ขยายกําลังการผลิตกระแส ไฟฟาเพื่อรองรับความตองการที่เพิ่มขึ้น เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดโรงไฟฟาพลังนํ้า ดังกลาว ที่สรางเสร็จ และพรอมใชงาน โครงการ “โรงไฟฟาพลังนํ้าเขื่อนเจาพระยา เฉลิมพระเกียรติ 60 ปบรมราชาภิเษก” นั้นเปนความรวมมือเพื่อการพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนระหวาง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กับ กรมชลประทาน เพื่อสนองนโยบายดานพลังงานของรัฐบาล ที่มุง สงเสริม และพัฒนาศักยภาพของพลังงานหมุนเวียน และลดการนํา เขาพลังงานจากตางประเทศ หลักการก็คือ บริหารจัดการนํ้าในเขื่อนเจาพระยา เพื่อกอให เกิดประโยชนใน 3 ดาน ไดแก ดานการเกษตร ดานอุปโภคบริโภค และดานพลังงาน กรมชลประทาน และ การไฟฟาฝายผลิตฯ ไดมีการลงนาม บันทึกขอตกลงเห็นชอบรวมกันตามโครงการแผนพัฒนาโรงไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียนเพื่อทดแทนพลังงานที่ขาดแคลน เปนไปตาม มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2550 ที่มีมติใหจัดตั้งโรงไฟฟา

พลังนํ้าทายเขื่อนชลประทาน 6 เขื่อนไดแก เขื่อนเจาพระยา จังหวัด ชัยนาท, เขื่อนนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก, เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัด ลพบุรี, เขื่อนแควนอยบํารุงแดน จังหวัดพิษณุโลก, เขื่อนแมกลอง จังหวัดกาญจนบุรี และเขื่อนขุนดานปราการ จังหวัดนครนายก การบริหารจัดการนํ้าเพื่อนํามาใชในการผลิตไฟฟานั้น เปนการ นํานํ้าที่เขื่อนระบายลงทางทายนํ้า มาผานเครื่องผลิตไฟฟา กอนที่ จะระบายลงทายนํ้าตามเดิม วิธีการดังกลาวจะทําใหนํ้าไมสูญหายไป ไหน และไมมีการปนเปอน อีกทั้งอุณหภูมินํ้าจะไมสูงขึ้น นํ้าจึงถูกใช ประโยชน และมีคณ ุ คามากขึน้ ไมสง ผลกระทบตอการนําไปจัดสรรเพือ่ ทําการเกษตร เพราะโดยปกติแลว นํ้าจากเขื่อนเจาพระยาที่ถูกปลอย ทิ้งลงทายนํ้าจะมีปริมาณ 10,000 ลานลูกบาศกเมตรตอป อยางไรก็ดีกําลังการผลิตไฟฟาที่ผลิตไดแมยังไมสูงมากนัก แต นับไดวา เปนการแสดงใหเห็นถึงความตระหนักใสใจตอสิง่ แวดลอมและ ชุมชน อยางแทจริง สุรศักดิ์ นิ่มวิลัย หัวหนาแผนกเดินเครื่องกะ 1 กองเดินเครื่อง เขื่อนภูมิพล สะทอนใหเราเห็นถึงความสําคัญของโรงไฟฟาขนาดเล็ก แหงนี้วา ถึงแมจะมีขนาดที่เล็กมาก เมื่อเทียบกับโรงไฟฟาขนาดใหญ ทัว่ ๆ ไป แตโรงไฟฟาพลังนํา้ เขือ่ นเจาพระยาฯ แหงนี้ ก็ถอื เปนตัวชวย สําคัญอีกสวนหนึง่ ในการเขาไปทดแทนการใชพลังงานจากโรงไฟฟาเดิม ที่ตองอาศัยทั้งนํ้ามัน และกาซธรรมชาติ ซึ่งมีตนทุนที่สูงมาก และถึง จะไมไดเขาไปลดการใช หรือการผลิตของโรงไฟฟาเดิม แตกเ็ หมือนได

เขาไปชดเชยกําลังการผลิต ที่นับวันจะยิ่งเพิ่มมากขึ้น เพราะมีความ ตองการในการใชไฟฟาเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยความที่เปนโรงไฟฟาขนาดเล็ก จึงมีการนําเอาเทคโนโลยี การควบคุมโรงไฟฟามาใช โดยสามารถควบคุมการทํางานของ โรงไฟฟาแหงนี้ ไดจากโรงไฟฟาเขื่อนภูมิพล ซึ่งในขั้นตอนนี้ จะ

เปนการลดตนทุนดานทรัพยากรบุคคล ทําใหเกิดความคลองตัวใน การทํางาน และทําใหการจัดการดานปญหาที่เกิดขึ้นภายในโรงไฟฟา ไดผลดี และมีประสิทธิภาพ โรงไฟฟาพลังนํ้าเขื่อนเจาพระยา เฉลิมพระเกียรติ 60 ป บรมราชาภิเษก นับเปนโรงไฟฟาพลังนํา้ ทีส่ ะอาด อีกทัง้ ยังชวยลดการ นําเขานํา้ มันจากตางประเทศไดถงึ 15 ลานลิตร หรือถาคิดเปนตัวเงิน ก็รว มรอยลานบาท อีกทัง้ ยังชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด จากการเผาไหมเชื้อเพลิงที่กอใหเกิดภาวะโลกรอนไดถึง 35,642 ตัน ตอป นอกจากนีย้ งั ชวยสรางความมัน่ คงใหระบบไฟฟาของจังหวัดชัยนาท สงเสริมการศึกษาวิจยั ดานการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน และ สรางรายไดใหแกแรงงานทองถิ่น เพิ่มศักยภาพดานการทองเที่ยวให จังหวัดชัยนาท นอกจากนั้น ประชาชนยังไดประโยชนจากการนํานํ้า ในการชลประทานมาใชอปุ โภคบริโภค ถือเปนการใชทรัพยากรใหเกิด ประโยชนสูงสุดอยางคุมคาอีกดวย ไมเพียงแคนํ้ามันเทานั้นที่จะสามารถผลักดันโลกใหพัฒนากาว ไปขางหนาในทุกๆ ดาน เพราะในวันขางหนานํ้ามันดิบ และกาซ ธรรมชาติ ยอมมีวันหมดไป แตเรายังมีพลังงานทดแทนที่รอคอยการพัฒนา ซึ่งโรงไฟฟา พลังนํ้าเขื่อนเจาพระยา เฉลิมพระเกียรติ 60 ปบรมราชาภิเษก ก็คือ ตัวอยางที่ดีๆ ❖


โรงไฟฟ าเซลล แสงอาทิตย

นชีวิตประจําวันของมนุษยเรา ตั้งแตตื่นเชากระทั่งลมตัวลง นอน ลวนไดรับประโยชนจากดวงอาทิตย ไมวามนุษยหรือ สัตวทอี่ าศัยอยูบ นโลกใบนีต้ า งสามารถดํารงชีวติ อยูไ ดกเ็ พราะ แสงจากดวงอาทิตย แสงสวางในเวลากลางวันนัน้ ชวยทําใหการดําเนินกิจกรรมตางๆ เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว และราบรื่น แมในยามพลบคํ่าที่ดวง อาทิตยลบั ขอบฟาไปแลว ในหวงเวลาแหงการพักผอนมนุษยเรายังคง ไดรบั ความอบอุน จากพลังความรอนของดวงอาทิตยทพี่ นื้ โลกไดดดู ซับ เอาไว ไมเชนนั้นอาจตองนอนหนาวจนแข็งตาย เหมือนนอนอยูที่ ขั้วโลกเหนือหรือขั้วโลกใตเลยทีเดียว ซึง่ หากตองการจะแบงประโยชนของแสงอาทิตยใหชดั เจนยิง่ ขึน้ ควรแบงออกเปนประโยชนทางตรง และประโยชนทางออม สําหรับประโยชนทางตรงนั้น มนุษยเรารูจักนําพลังความรอน ของแสงอาทิตยมาใชตั้งแตสมัยโบราณ ตัวอยางเชน ใชตากผาเพื่อ ใหแหง ทําอาหารตากแหง ทํานาขาว ทํานาเกลือ การทําชองใหแสง อาทิตยลอดเขามาภายในบาน เพราะนอกจากจะไดแสงสวางแลวยัง ทําใหหองหับในบานไมเหม็นอับอีกดวย นอกจากนีแ้ สงอาทิตยยงั ถูกนํามาใชกลัน่ และฆาเชือ้ โรคในนํา้ ดืม่ ใช ในการแสดงหนังตะลุง หรือภาพยนตรที่ใชแสงเพื่อทําใหสรางเงาใหเกิด บนจอ กระทั่งการมองเห็นของมนุษยกถ็ ือวาเปนการใชประโยชนทางตรง สวนประโยชนจากแสงอาทิตยทางออม ยกตัวอยางเชน การชวย ทําใหเกิดวัฏจักรของนํ้า หรือ ทําใหเกิดฝนตก แมแตพืชและสัตวที่ มนุษยเรารับประทานทุกวันก็ไดรับการถายทอดพลังงานมาจากแสง อาทิตยเชนเดียวกัน แสงอาทิตยนั้นเปนพลังงานธรรมชาติ และมีปริมาณมากมาย มหาศาล ถือเปนพลังงานที่มีความสะอาดบริสุทธิ์ ไมสรางมลพิษ แนนอนวามนุษยสามารถนําไปผลิตพลังงานไฟฟาไดทุกหนทุกแหง ตราบที่มีแสงอาทิตย ไมวาจะอยูบนยอดเขาสูง หรืออยูบนเกาะแกง ตางๆกลางทะเล แมกระทั่งในอวกาศก็ยังสามารถผลิตพลังงานไฟฟา จากแสงอาทิตยไดเชนเดียวกัน

เขื่อนสิรนธร จ.อุบลราชธานี (1) พลังงานแสงอาทิตย คือ แสงสวาง และความรอน ทีถ่ กู สรางขึน้ โดยดวงอาทิตยในทุกๆ วัน โดยที่มนุษยเราไมตองลงทุนควักกระเปา จาย เดินทางไปหาซื้อ หรือนําเขาเหมือนกับพลังงานชนิดอื่นๆ กลาวไดวานี่คือแหลงพลังงานขนาดมหึมาที่ไดมาแบบเปลาๆ ปจจุบนั มนุษยเรามีการประดิษฐเครือ่ งมือตางๆ เพือ่ นําเอาพลังงาน แสงอาทิตยมาใชประโยชน เชน เครื่องทํานํ้ารอนแสงอาทิตยสําหรับบาน โรงพยาบาล หรือโรงแรม เครื่องตมนํ้าแสงอาทิตย เตาแสงอาทิตยหรือ เตาสุริยะ เครื่องกลั่นนํ้าแสงอาทิตย เครื่องอบแหงผลิตผลเกษตรกรรม เครื่องคิดเลข นาฬกา ปุมสะทอนแสงบนผิวจราจร โดยที่ไมตองอาศัย เทคโนโลยีสงู หรือสลับซับซอนมากนัก เพียงใชอปุ กรณผลิตกระแสไฟฟา จากแสงอาทิตย เพื่อแปรสภาพแสงอาทิตยใหเปนกระแสไฟฟาโดยตรง อุปกรณดังกลาวก็คือ “โซลาเซลล” โซลาเซลลเปนเซลลรบั แสงอาทิตย ซึง่ จะเก็บพลังงานไดมากนอย ตามขนาดของมัน ถาเปนแผนเล็กๆ ก็เหมาะสําหรับการสรางพลังงาน ใหกับเครื่องคิดเลข นาฬกาขอมือหรือไฟจราจร แตหากตองการผลิต กระแสไฟฟาเพือ่ ใชภายในบานทีพ่ กั อาศัยจะตองใชแผงทีม่ ขี นาดใหญ ขึ้น และตองใชพื้นที่ขนาดใหญในการสรางโรงงานผลิตกระแสไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยถือวาเปนพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง สําหรับประเทศไทย เนือ่ งจากประเทศเราตัง้ อยูในบริเวณเขตเสนศูนยสตู ร พลังงานแสงอาทิตยที่ไดรับตอปมีคาเฉลี่ยคอนขางสูง ซึ่งในแตละวัน จะมีแสงแดดประมาณ 8 ถึง 9 ชั่วโมง และมีความเขมขนเพียงพอตอ การผลิตพลังงานแสงอาทิตย ไดถึง 5 ชั่วโมง นับวามีปริมาณมากที่สุด ประเทศหนึ่งของโลกเลยทีเดียว ขาวดีก็คือ ประเทศไทยปจจุบันสามารถผลิตโซลารเซลลไดเอง แลว และมีอายุการใชงานนานถึง 20 ป ซึ่งหากไมนับคาซอมบํารุง การติดตัง้ โซลาเซลลจะเสียคาติดตัง้ ครัง้ แรกเพียงครัง้ เดียวเทานัน้ จึง ใชเงินลงทุนไมมากเหมือนในอดีต “พลังงานแสงอาทิตย” จึงนับวาเปน ทางเลือกพลังงานทดแทนที่นาสนใจในยุคสมัยปจจุบัน ยิ่งธรรมชาติใหมาฟรีๆ อยางนี้ คงตองฟนธงวา “คุมคาและนา ลงทุน” ❖


โรงไฟฟ าเซลล แสงอาทิตย

ลังงานแสงอาทิตยอกี หนึง่ พลังงานทางเลือกทีห่ ลายๆ ประเทศ ทัว่ โลกหันมาจับตามองมากขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ประเทศ ในแถบภูมิภาคอาเซียนซึ่งมีคาเฉลี่ยของปริมาณและคา ความเขมของแสงอาทิตยตอวันที่สูงมาก จึงไมนา แปลกใจในเมือ่ ประเทศไทยเอง ก็กาํ ลังจับตามองพลังงาน ทางเลือกจากแสงอาทิตยเชนเดียวกัน ประเทศไทยเรา ถึงแมปจจุบันจะมีโครงการเซลลแสงอาทิตยใน หลายๆ พื้นที่ แตที่ถือวาเปนโครงการตนแบบ ซึ่งแมจะมีมูลคาการ ลงทุนทีส่ งู มาก หากแตมผี ลลัพธเปนทีน่ า พึงพอใจ นัน่ ก็คอื โครงการ “โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยเขื่อนสิรินธร” โครงการโรงไฟฟาแหงนี้ อยูหางจากเขื่อนสิรินธรไปทางทิศ ตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 25 ไร ตั้งอยูที่ อําเภอสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี เปนโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ที่ใหญที่สุดในประเทศไทย ซึ่งการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ติดตัง้ แลวเสร็จ และเชือ่ มโยงเขากับระบบจําหนายไฟฟาของการไฟฟา สวนภูมิภาค ตั้งแตวันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ลักษณะของโรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยแหงนี้ ประกอบดวย แผง เซลลแสงอาทิตยกวา 7,476 แผง ใหกาํ ลังการผลิตของแผงเซลลไฟฟา ที่ประมาณ 1 เมกะวัตต ไดพลังงานไฟฟาประมาณ 4,000 หนวยตอ วัน โดยการเปลีย่ นพลังงานแสงสวางของดวงอาทิตยเปนไฟฟากระแส ตรง และผานเขาเครื่องแปลงกระแสไฟฟา ใหเปนไฟฟากระแสสลับ 400 โวลต ขนานเขาระบบไฟฟา และหมอแปลงไฟฟาขนาด 1,000 เควีเอ แปลงแรงดันเปน 22 เควี จายเขาระบบจําหนายของการไฟฟา สวนภูมิภาค ชาวอําเภอเมืองสิรนิ ธรจึงไดมไี ฟฟาใชไดทวั่ ทัง้ อําเภอ นอกจากนี้ อําเภอใกลเคียงยังไดรับประโยชนจากโรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยแหง นี้อีกดวย โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตย มีการติดตั้งอยู 2 ระบบคือ ระบบที่ ติดตั้งคงที่ และระบบติดตามดวงอาทิตยแบบถวงนํ้าหนัก ใชหลักการ ถวงนํ้าหนักดวยนํ้า ตอนเชา...ทอนํา้ ถวงนํา้ หนักทีต่ ดิ ตัง้ ไวทางทิศตะวันออกจะมีนาํ้ อยู ทําใหโครงสรางรองรับแผงและแผงเซลลแสงอาทิตย หันหนาไป ทางทิศตะวันออก เปนการเพิ่มนํ้าหนักดวยนํ้า ชุดเซ็นเซอรที่ติดตั้ง และหันหนาทางเดียวกับแผงเซลลแสงอาทิตย จะทําหนาทีเ่ ปนตัวตรวจ

เขื่อนสิรนธร จ.อุบลราชธานี (2)

จับตําแหนงดวงอาทิตย เมือ่ เซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงดวงอาทิตยได ก็จ ะสง ใหร ะบบควบคุมประมวลผลและสั่ ง ใหโ ซลิน อยด วาลว (Solenoid Valve) ปลอยนํ้าออกจากทอนํ้าถวงนํ้าหนัก เปนการลด นํ้าหนักนํ้าในทอนํ้าถวงนํ้าหนัก ทําใหโครงสรางรองรับแผงและแผง เซลลแสงอาทิตยเคลื่อนที่ตามดวงอาทิตยไปทางทิศตะวันตก ตอนกลางคืน ปมนํ้าจะทําหนาที่เติมนํ้าเขาชุดทอนํ้าถวง นํ้าหนัก เปนการเพิ่มนํ้าหนักดวยนํ้าทางดานทิศตะวันออก ทําให โครงสรางรองรับแผง และแผงเซลลแสงอาทิตยเคลือ่ นทีก่ ลับไปทางทิศ ตะวันออก เพื่อเตรียมรับแสงอาทิตยในเชาวันตอไป นวัตกรรมนีเ้ ปนการคิดคนโดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดยไดมีการจดอนุสิทธิบัตร และไดรับรางวัล ASEAN Energy Award เมื่อป พ.ศ. 2548 และไดรับรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเดน ประจําป 2554 ประเภทรางวัลนวัตกรรมดีเดนอีกดวย จึงมีโครงการจะขยายผลกอสราง ไปในอีกหลายพื้นที่ ดวยนวัตกรรมของแผงเซลลแสงอาทิตยตดิ ตามดวงอาทิตยแบบ ถวงนํา้ หนักดวยนํา้ นีเ่ อง จึงสามารถเพิม่ คาประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา แบบติดตั้งคงที่ไดรอยละ 15 สามารถผลิตไฟฟาจากพลังงานสะอาด ไดปละ 1.66 ลานหนวย ทดแทนการใชนํ้ามันเตาในการผลิตไฟฟาได ปละเกือบ 400,000 ลิตร และชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ลงไดปละกวา 900 ตัน อยางไรก็ดี การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ยังคงมีความ มุงมั่นในการคิดคน วิจัยและพัฒนา เพื่อนําพลังงานที่มีอยู ใน ธรรมชาติอนื่ ๆ มาใชอยางคุม คา ใหเกิดประโยชนสงู สุด แมวา พลังงาน ไฟฟาที่สามารถผลิตไดจากแสงอาทิตย จะเปนพลังงานหมุนเวียน ที่คงไมมีวันหมดไปจากโลกไปงายๆ แตกําลังการผลิตในปจจุบันยัง คงมีนอย เนื่องจากมีขอจํากัดเรื่องพื้นที่กอสรางที่ตองใชพื้นที่มาก และมีตนทุนสูง พลังงานแสงอาทิตย จึงเปนเพียงพลังงานเสริม ซึง่ ตองใชควบคู ไปกับพลังงานหลักอยางกาซธรรมชาติ และถานหิน ฯลฯ เพื่อความ มั่นคงในระบบไฟฟา คําถามก็คอื หากวันนีเ้ ราพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเต็มศักยภาพ ที่รัฐบาลตั้งเปาไว คือ รอยละ 25 แลว ขณะที่พลังงานหลักอยาง กาซธรรมชาติในอาวไทยก็กําลังจะหมดไปในอีก 10 กวาปขางหนา แลวเราจะเลือกใชพลังงานใด มาทดแทนดี..? ❖


ลังงานทดแทนตองสวมบทบาทเปนพระเอก อีกทัง้ นโยบาย อนุรกั ษพลังงานควรตองนําไปสูก ารลงมือปฏิบตั อิ ยางจริงจัง คือเสียงสะทอนบนเวที Energy Forum ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย? ลาสุดจัดขึ้นเปนครั้งที่ 4 ที่จังหวัดชุมพร เวที Energy Forum ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย? นั้นถูก จัดขึ้นภายใตวัตถุประสงค เพื่อกระตุนเตือนใหทุกภาคสวนตระหนัก ถึงปญหาการขาดแคลนพลังงานไฟฟา ตลอดจนรับฟงความคิดเห็น จากตัวแทนของแตละภาคสวนในการรวมคนหาทางออกดานพลังงาน ไฟฟารวมกันอยางยัง่ ยืน และทีผ่ า นมาไดมกี ารสัญจรไปจัดแลว 3 ครัง้ เริ่มตนที่กรุงเทพฯ อุบลราชธานี และพิษณุโลก ตามลําดับ สําหรับเวทีที่จังหวัดชุมพร มนูญ ศิริวรรณ ผูเชี่ยวชาญดาน พลังงาน ไดยํ้าใหเห็นถึงปญหาดานพลังงานของประเทศไทยวา หลักๆ คือ มาจากการใชพลังงานอยางไมมคี ณุ ภาพและพึง่ พิงพลังงาน จากประเทศเพื่อนบานมากจนเกินไป ยกตัวอยางในกรณีนํ้ามันดิบ ที่มีการนําเขาถึง 85 % เชนเดียวกันกับการนําเขากาซธรรมชาติที่ มีการนําเขาในสัดสวนที่สูงมาก และการนําเขาสวนใหญเปนการนํา มาบริโภคภายในประเทศ สิ่งเหลานี้ เปนภาพสะทอนใหเห็นถึงการบริโภคพลังงานอยาง ไมมีคุณภาพของประเทศไทย “เงินที่เราตองนําเขาพลังงานในแตละปประมาณ 1.2 ลานลาน บาท ซึ่งสูงกวางบพัฒนาประเทศเสียอีก ดังนั้นหากสามารถประหยัด ไดเราจะมีงบประมาณในการใชพฒ ั นาประเทศดานตางๆ มากขึน้ และ ผมมองวา การประหยัดพลังงานจะเปนทางออกที่ดีที่สุด” ดาน ณรงค สุวรรณกําเนิด ตัวแทนภาคประชาชน จังหวัดชุมพร กลาววา ปฏิเสธไมไดวา เราจําเปนตองใชพลังงานไฟฟา เพียงแตตอ ง มีวิธีการในการบริหารจัดการใหไมกระทบกับชุมชนและสิ่งแวดลอม โดยพิจารณาวา มีพลังงานตัวใดที่สามารถใชไดอีก เพื่อลดการพึ่งพิง พลังงานหลักที่กําลังหมดไป และพลังงานหลักบางตัวมีผลกระทบตอ ชุมชนและสภาพแวดลอม รวมถึงตองตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานและวิธีการใชใหมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยตองมีความจริงจังในการดําเนินการตามแผน อนุรักษพลังงาน ที่จะชวยลดการใชพลังงานไดถึงรอยละ 25 จาก ตัวเลขที่เพิ่มขึ้น (Elasticity of Electricity Consumption) ในขณะที่ การลงทุนในเชิงโครงสรางตางๆ ก็จะคุมคามากกวา นอกจากนี้ยัง ตองมีการแกไขปญหาการสูญเสียไฟฟารอยละ 10 จากการผลิต ซึ่ง จะชวยลดความจําเปน หรือความตองการในการจัดสรางโรงงาน หรือ การพัฒนาและผลิตพลังงานขนาดใหญได “หากพูดถึงความมั่นคงทางพลังงาน ตองดูวา ปจจุบันมีการ ผลิตไฟฟาอยูที่เทาใด และเปนตัวเลขที่แทจริงหรือไม เนื่องจากมัก

สรุปแนวคิดฝ าวิกฤติไฟฟ าไทย ในเวทีสัญจรจังหวัดชุมพร

มีคําโฆษณาวา หากไมมีการสรางโรงไฟฟา จะมีไฟฟาไมเพียงพอ ตอการใช เมื่อไดขอมูลที่แทจริงแลว ตองดูวิธีในการบริหารรวมกัน สรางการมีสวนรวม หรือการยอมรับในพื้นที่ อยางที่ชุมพรทางออก ของพลังงานไฟฟา คือ การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนในพืน้ ที่ แบบ 100 เปอรเซ็นต” ตัวแทนจากภาครัฐที่มีบทบาททั้งกํากับและกําหนดยุทธศาสตร ดานพลังงานของประเทศอยาง เสมอใจ ศุขสุเมฆ รองผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ได สนับสนุนขอเสนอในการอนุรักษพลังงาน และปรับพฤติกรรมการใช ไฟฟาใหเกิดขึน้ อยางจริงจัง เนือ่ งจากเปนยุทธศาสตรทดี่ ีในการแกไข ปญหาดานพลังงานไฟฟา และถือเปนการสรางความคุมคามากกวา การลงทุนในการผลิตไฟฟาใหเพิ่มขึ้น ที่ผานมากระทรวงพลังงานไดมีการรณรงคอยางตอเนื่องผาน หลายโครงการ อาทิ รณรงคฉลากประหยัดพลังงาน ฯลฯ รวมถึงนํา

มาตรการเสริมทั้ง Adder และ SMART Grid เขา มาชวยใหการบริหารจัดการไฟฟามีความมั่นคงมาก ยิ่งขึ้น นอกจากมาตรการการอนุรักษและใชพลังงาน ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแลว เขามองวาจําเปนตอง มีการนําพลังงานทดแทนเขามาเปนสวนเสริม โดยทาง ภาคใตถือวามีการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนอยางตอเนื่อง ทวาพลังงานดังกลาวที่ผลิตไดยังไมเพียงพอตอการใช จึงยังจําเปน ตองพึ่งพาพลังงานหลักจากภาคอื่นๆ อยู แตมั่นใจวา ทายที่สุดแลว พลังงานหมุนเวียน จะเปนสวนสําคัญที่ทําใหเกิดความมั่นคงมากขึ้น อยางแนนอน เชนเดียวกับ ดร.เดชรัต สุขกําเนิด อาจารยคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่กลาววา พลังงานทดแทน โดยเฉพาะ พลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติ จะมีบทบาทเปนพระเอกในอนาคต

ซึ่งหากพิจารณาจากขอมูลการวิจัยยุทธศาสตรพลังงานหมุนเวียนใน ป 2552 พบวา จังหวัดชุมพร สามารถผลิตพลังงานหมุนเวียนได 264 ลานหนวย คิดเปน 44 % ของความตองการใชไฟฟาที่อยูที่ 600 ลานหนวย นับเปนความสามารถในการผลิตพลังงานหมุนเวียนที่สูง และยังมีศักยภาพพัฒนาไดอีก 2,120 ลานหนวย แมพลังงานหมุนเวียนทางธรรมชาติอาจจะมีความไมแนนอน ในเชิงกําลังการผลิต แตหากมีการเชื่อมโยงและปรับระบบการผลิต ไฟฟาใหดี มีการนําเทคโนโลยีเขามาชวยใหสามารถสะสมพลังงาน เก็บไวไดอยางมีประสิทธิภาพ ก็จะเปนทางออกของปญหาดังกลาว สวนเรื่องราคา หรือมูลคาในการลงทุน อยามองเรื่องราคาแพงหรือ ถูกเปนโจทยหลัก แตควรมองหาราคาที่เปนจุดยอมรับได และหาก สามารถดูแลได เรื่องมูลคาในการลงทุนก็ไมใชปญหา สุลีวรรณ ไววัฒนากร ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชุมพร กลาววา “เรามีสว นทีต่ อ งการใชพลังงานมากยิง่ ขึน้ นอกจากนัน้ ลักษณะ ของธุรกิจในพื้นที่ตองการใชพลังงานมากอยางตอเนื่อง กรณีของ โรงอบไมยางพารา หรืออื่นๆ ซึ่งหากมีปญหากระแสไฟฟาขัดของ ก็จะสงผลกระทบมาก” สําหรับภาคอุตสาหกรรมในชุมพรไดเห็นความสําคัญของ ไบโอแกส เพราะสามารถผลิตไดจากแหลงพลังงานหมุนเวียนตางๆ ซึ่งก็มีหลายแหงที่สามารถผลิตจนสามารถขายไฟใหกับทาง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยได แตก็มีอีกหลายแหง ที่ยังขายไมได เพราะติดขัดที่ระเบียบตางๆ สหรัฐ บุญโพธิภักดี วิศวกร ระดับ 12 การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย หรือ กฟผ. กลาววา ตามแผน PDP 2010 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3 จะมีการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เพิม่ อีก 30 เปอรเซ็นต ทัง้ นีต้ วั เลขดังกลาวเปนการคาดการณ ทางวิชาการ และเทคโนโลยี แตในสวนของการผลิตจริงก็จะมี ตัวแปรอืน่ ๆ มาเกีย่ วของ และในฐานะที่ กฟผ.เปนหนวยงานใน การผลิตและจัดหาไฟฟาใหเพียงพอตอการบริโภคของคนใน ประเทศ ทาง กฟผ.เองมีความพยายามใหเอกชนเขามาเพิ่ม กําลังการผลิตทัง้ ทีเ่ ปนผูล งทุนรายใหญ และผูล งทุนรายยอย โดย ปจจุบนั กฟผ.มีกาํ ลังผลิตทัว่ ประเทศ 45 เปอรเซ็นต อีก 55 เปอรเซ็นต มาจากภาคเอกชน และซื้อขายไฟฟาจากตางประเทศ แมวาประเทศไทยเรากําลังเผชิญความทาทายในวิกฤติไฟฟา แตในวันนี้ก็เริ่มเห็นแสงสวางที่ปลายอุโมงค จากเสียงสะทอนของ ผูมีสวนไดเสียทุกคนบนเวทีจังหวัดชุมพร ที่คิดเห็นตรงกันวา ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย อยูในความรับผิดชอบของคนไทยทุกคน ทีต่ อ งตระหนักถึงการอนุรกั ษพลังงาน อีกทัง้ ยังตองคํานึงถึงชุมชนและ สิ่งแวดลอม ❖


นวันที่ 8 พฤษภาคม 2554 กรมทรัพยสินทางปญญา ประกาศ ใหลพบุรีเปน 1 ใน 10 เมืองตนแบบ เศรษฐกิจสรางสรรค ที่มี ความโดดเดนทางภูมิปญญา ศิลปวัฒนธรรม ที่สามารถนําไป พัฒนาสรางจุดเดนและมูลคาเพิ่มใหแกสินคาหรือบริการของจังหวัด ซี่งจะมีสวนในการสรางรายไดใหแกทองถิ่น และประเทศ และจากการเปดตัวของ “ลพบุรี โซลาร” ตนแบบโครงการ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งของไทย นับเปน อีกหนึ่งความโดดเดนที่ทําใหลพบุรีไดชื่อวาเปน “เมืองนวัตกรรม แหงพลังงานทดแทน” นอกจากนั้น “ศูนยการเรียนรูกรีน เอ็ดดูเคชั่น” ซึ่งตั้งอยูภายใน พืน้ ที่โครงการ “ลพบุรี โซลาร” และกําลังจะเปดตัวอยางเปนทางการใน ชวงปลายปนี้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหความรูด า นมรดกทางวัฒนธรรม ของลพบุรี รวมถึงเปนแหลงเรียนรูปญหาภาวะโลกรอนและพลังงาน ทดแทน โดยเนนความรูเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตยเปนหลัก ในวันขางหนา สถานที่แหงนี้จึงฉายแวววา ตองเปนอีกหนึ่งจุด ทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมของจังหวัดลพบุรีอยางไมตองสงสัย เชน เดียวกับ เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ และทุงดอกทานตะวัน เทคโนโลยีสะอาด... เพื่อโลกสีเขียว ดวยศักยภาพของจังหวัดลพบุรี ทั้งในเรื่องความเขมของแสง อาทิตยทอี่ ยูในระดับสมบูรณ และเปนไปตามขอมูลขององคการบริหาร การบินและอวกาศแหงชาติ หรือ นาซา และกระทรวงพลังงาน อีกทั้ง ยังเปนพื้นที่ที่มีฝุนละอองนอย และมีความพรอมในการเชื่อมตอกับ ระบบสายสง ทั้งหมดคือเหตุผลที่ บริษัท พัฒนาพลังงานธรรมชาติ จํากัด ภายใตความรวมมือของ เอ็กโก กรุป ผูผลิตไฟฟาเอกชน รายใหญแหงแรกของไทย ซีแอลพี จากฮองกง และดีจีเอ จากญี่ปุน ตัดสินใจเลือกพื้นที่กวา 1,200 ไรแหงนี้เปนที่ตั้งของ โรงไฟฟาลพบุรี โซลาร ขนาดกําลังการผลิต 55 เมกะวัตต ใชแผงโซลาร จํานวนกวา 540,000 แผง ซึ่งใชเทคโนโลยีการผลิตลาสุดแบบฟลมบาง “ลพบุรี โซลาร” เริ่มผลิตและจําหนายไฟฟาเขาระบบใหแกการ ไฟฟาสวนภูมภิ าค เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2554 ทีผ่ า นมา โดยสงไฟฟา ผานสายสง ระยะทาง 15 กิโลเมตร กอนจะเขาสูสถานีไฟฟายอยของ การไฟฟาสวนภูมิภาค จากนั้นก็ไดนําสงกระแสไฟฟาไปยังบานเรือน ของประชาชนตอไป การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยของลพบุรี โซลาร เปน ตนแบบของการใชพลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งจะชวยเสริมระบบดานพลังงานไฟฟาแก ประเทศในระยะยาวได และในอนาคตภายในป 2564 หากภาครัฐและเอกชนรวมกัน

โรงไฟฟ าพลังงานแสงอาทิตย ลพบุรี โซลาร (ตอนที่ 1) ผลักดันการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยไดตามแผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25 เปอรเซ็นต ภายในระยะ เวลา 10 ป ของกระทรวงพลังงาน ประเทศไทยจะมีกําลังการผลิต ไฟฟาที่มาจากพลังงานแสงอาทิตยรวมกันกวา 2,000 เมกะวัตต เลย ทีเดียว การผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยของโรงไฟฟาลพบุรี โซลาร มีอปุ กรณทสี่ าํ คัญ ประกอบดวย แผงเซลลแสงอาทิตย อุปกรณเปลีย่ น ไฟฟาจากกระแสตรงใหเปนไฟฟากระแสสลับ หรือที่เรียกวา Inverter และหมอแปลงไฟฟาที่ตอเขากับระบบจําหนายไฟฟา สําหรับการติดตั้งแผงโซลารเซลลนั้นเปนแบบอยูกับที่ หรือ Fixed system โดยใชการเก็บขอมูลและคํานวณคาเฉลี่ยระดับความ เขมของแสงในพื้นที่ เพื่อกําหนดองศาของการติดตั้งแผงใหทาํ มุมรับ แสงอาทิตยไดอยางมีประสิทธิภาพที่สุด สวนแผงโซลารเซลลที่ใชนั้น เปนแบบฟลมบาง หรือ Thin Film ซึง่ เปนเทคโนโลยีลา สุดที่ไดรบั การคิดคนและพัฒนาขึน้ มีลกั ษณะเปน ฟลมบาง และมีนํ้าหนักเบา การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา ในพื้นที่ ที่ความเขมของแสงแดดที่มีศักยภาพมากที่สุดแหงหนึ่งอยางจังหวัด ลพบุรี รวมทั้งการเลือกใชเทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตยแบบฟลมบาง หรือ Thin Film Solar Cell ซึ่งเปนเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหมที่ใช วัตถุดิบราคาแพงอยางซิลิคอนนอยกวาการผลิตแบบเดิม รวมถึงการ ติดตั้งที่งาย และเหมาะสมกับสภาพอากาศที่รอนของประเทศไทย ทําใหโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแหงนีส้ ามารถลดตนทุนการพัฒนา โครงการไดมากและขณะเดียวกัน ยังคงประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาได ตามเปาที่ตองการอีกดวย นอกจากนั้น ตลอดอายุการดําเนินโครงการ 25 ป ของ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแหงนี้ จะมีสว นชวยประเทศไทยในการลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูชั้นบรรยากาศไดมากกวา 1.3 ลานตัน และชวยลดการนําเขาเชื้อเพลิงไดมากถึงปละ 3.5 แสนตัน สอดคล อ งกั บ การที่ ป ระเทศไทยได ใ ห คํ า มั่ น สั ญ ญากั บ ประชาคมโลกที่เมืองโคเปนเฮเกน ในเรื่องของการรวมกันดูแล การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศโลก เพื่อเสริมความรวมมือระหวาง ประเทศพั ฒ นากั บ ประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นา ในการร ว มกั น ยั บ ยั้ ง การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศบนโลกใบนี้ของเรา ถาหากใครมีโอกาสแวะไปลพบุรี อยาพลาด! ควรหาโอกาสเขาไป เยี่ยมชม สถานที่ซึ่งเปนตนแบบพลังงานเพื่อคนไทย เพื่อโลกสีเขียว แหงนี้ ❖


ารรักษาความสมดุลระหวางการดําเนินธุรกิจ ชุมชน สังคม และสิง่ แวดลอม ทีส่ ดุ จะเปนไปไดดว ยการทําความเขาใจ และ รวมมือซึง่ กันและกันซึง่ ไมงา ยเลย เพราะตองใชเวลาเปนอยาง มากในการศึกษาผลกระทบตางๆ กอนเริ่มดําเนินธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ธุรกิจทางดานพลังงานที่ตองอาศัยความ เขาใจ และความรวมใจของคนในชุมชน และในปจจุบันมีหนึ่งตัวอยางดีๆ ที่แสดงถึงการดําเนินธุรกิจ ที่หวงใยตอสังคมและชุมชนไดเปนอยางดีนั่นคือ โรงไฟฟาเซลล แสงอาทิตยโครงการ “ลพบุรี โซลาร” แนนอนวาการสรางโรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยแตละแหง รวมถึงโครงการ “ลพบุรี โซลาร” ผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรงก็คง หนีไมพนชาวบานชุมชนโดยรอบในพื้นที่นั่นเอง จากเมือ่ แรกเริม่ แมวา ชุมชนทีอ่ ยูร ายรอบโครงการแหงนีจ้ ะเต็มไป ดวยความสงสัย ความไมเขาใจ แตปจจุบันสถานการณเปลี่ยนไปเปน ตรงกันขามเพราะชุมชนไดถือเอาโรงไฟฟาพลังงานเซลลแสงอาทิตย “ลพบุรี โซลาร” เปนเสมือนแหลงเรียนรูดานพลังงาน ที่ใหประโยชน กับทั้งชุมชน ตนเอง และสังคม เรื่องราวเหลานี้สะทอนใหเห็นไดจากโครงการตางๆ ที่เกิดขึ้น ภายใน “โรงเรียนบานเขาเตียนมิตรภาพที่ 134” ซึ่งเปนโรงเรียน ตนแบบทีม่ กี ารนําเอาความรูด า นพลังงานแสงอาทิตยจากภาคเอกชน มาบูรณาการรวมกับการเรียนการสอน เพือ่ ใหนกั เรียนเกิดความเขาใจ ในเทคโนโลยีการผลิตพลังงานดวยเซลลแสงอาทิตยใหดียิ่งขึ้น คุณครูชาญ ชาลี คุณครูภาควิชาวิทยาศาสตร แหงโรงเรียน บานเขาเตียนมิตรภาพที่ 134 สะทอนความคิดดานการอยูรวมกัน ของโรงไฟฟาและชุมชนใหฟงวา ชาวชุมชนที่นี่รูสึกตื่นเตน และ ดีใจกันมาก เพราะกอนหนานีแ้ ทบจะไมมีใครเคยรูจ กั โซลารเซลล หรือ คําวาพลังงานแสงอาทิตยกันเลย พอรูวาจะมีโรงไฟฟาที่ใหญติดอันดับโลกมาตั้งอยูในพื้นที่ก็รูสึก ดีใจในแงที่วา นักเรียนจะไดมีแหลงเรียนรูดานพลังงานทดแทน เขา มาอยูในพื้นที่ “สิ่งที่ทําใหชุมชนและโรงเรียนประทับใจคือ กระบวนการมีสวน รวมกับทางชุมชน โดยมีการสนับสนุนในเชิงนโยบาย เชิงงบประมาณ รวมถึงสงเสริมใหโรงเรียนมีกระบวนการสราง และใชพลังงานทดแทน ภายในโรงเรียน รวมถึงศูนยการเรียนรู กรีน เอ็ดดูเคชัน่ ทีจ่ ะมีประโยชน มาก ไมเฉพาะกับเด็ก ๆ ในชุมชนนี้ แตจะมีประโยชนอยางมากแนนอน ตอเด็กนักเรียนในจังหวัดลพบุรี” อยางไรก็ดีคุณครูชาญ ชาลี บอกวาในระยะแรกเองเจาหนาที่ ของโครงการแหงนีต้ อ งทําความเขาใจกับชาวชุมชนในพืน้ ทีพ่ อสมควร เพราะชาวชุมชนแหงนีม้ คี วามเชือ่ วา ทีอ่ ากาศบริเวณโดยรอบรอนขึน้ อยางผิดหูผดิ ตา เปนเพราะวาแผงเซลลแสงอาทิตยเหลานีเ้ ปนตนเหตุ

โรงไฟฟ าพลังงานแสงอาทิตย ลพบุรี โซลาร (ตอนที่ 2) จึงเกิดความไมแนใจวา จะปลอดภัยสําหรับชุมชนหรือไม จนเมื่อทาง บริษทั พัฒนาพลังงานธรรมชาติ ไดเขามาทําความเขาใจ ใหความรูก บั ชาวบานวา การที่อากาศในพื้นที่รอนขึ้นนั้น ไมไดเปนผลกระทบจาก การติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยแตอยางใด เมื่อไดเห็น ไดเรียนรูชาวบานจึงตระหนักถึงประโยชนที่แทจริง วาแผงเซลลแสงอาทิตยนั้นมีผลดีมากกวาผลเสีย ดังนัน้ ชาวชุมชนโดยรอบ รวมถึงโรงเรียนบานเขาเตียนมิตรภาพ ที่ 134 แหงนี้ จึงไดนําความรูที่ ไดรับมานั้นสรางเปนแผง โซลารเซลลติดภายในโรงเรียน และภายในชุมชน กระจายกัน ออกไปในหลายๆ บาน จนปจจุบัน ชาวบานในจังหวัดขางเคียง ก็ใหความสนใจ เขามาศึกษาหาความรูกับทางชุมชน เพื่อจะไดนํา ไปปรับใชในพื้นที่ของตนเชนกัน การเรียนรูแ บบบูรณาการของทางโรงเรียนกับโครงการลพบุรี โซลารนั้น เกิดขึ้นจากการที่คุณครูชาญ ชาลี นําเอาเทคโนโลยี เหลานี้มาผลิตเปนกระแสไฟฟาใชภายในโรงเรียน และทําให เกิดโครงการตางๆ ตามมาอีกหลายโครงการ เชน โครงการจักรยาน ปน ปม นํา้ ลดโลกรอน โครงการเรือนเห็ดและผักสวนครัวเพือ่ อาหาร กลางวันของโรงเรียน ซึ่งคุณครูชาญ ชาลี บอกวา ในอนาคตมี แผนจะขยายกําลังการผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยใหมากขึ้น เพื่อรองรับความตองการในการใชพลังงานไฟฟาภายในโรงเรียน ใหครอบคลุมมากขึ้น แมขณะนี้ตนทุนการผลิตแผงโซลารเซลลยังมีราคาสูง ทําให ตนทุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยยงั คงสูงตาม และตองได รับการสนับสนุนสวนหนึง่ จากภาครัฐ แตการพัฒนาโครงการพลังงาน แสงอาทิตยก็ยังไดรับความสนใจจากทั้งภาคเอกชนที่จะเขามาลงทุน และภาคประชาชนที่ใหการยอมรับ เพราะเปนพลังงานหมุนเวียน ทดแทนพลังงานอื่นๆ ที่มีศักยภาพและเปนพลังงานสะอาด พลังงานแสงอาทิตย จึงถือเปนทางเลือกหนึง่ ของแหลงพลังงาน ใหมแหงศตวรรษที่ 21 ❖

มุมมองพลังงานทางเลือก

เอ็กโก กรุ ป

สหัส ประทักษนุกูล ในฐานะกรรมการ บริษัท พัฒนาพลังงาน ธรรมชาติ จํากัด และยังเปนกรรมการผูจัดการใหญ เอ็กโก กรุป ซึ่งเปนบริษัทรายใหญรายหนึ่ง ที่ใหบริการดานพลังงาน ในประเทศไทย ไดใหมุมมองดานพลังงานทางเลือกในอนาคต ของประเทศไทยวา เนือ่ งจากการเติบโตของไฟฟาของประเทศไทยมีอยูป ระมาณ 5-6 เปอรเซ็นต คือเฉลี่ยปละ 1,000 เมกกะวัตต ดังนั้นภาครัฐ ควรตองมองในสองดาน ดานแรก ก็คือความมั่นคงของการใช ไฟฟา สวนดานที่สองนั้นเปนเรื่องของการหาพลังงานทดแทน เพราะแมวา ปจจุบนั การใชพลังงานทดแทนยังไมถอื เปนพลังงาน หลัก เหตุผลมาจากราคาซึ่งมีตนทุนที่สูง และความไมแนนอน ของสภาพอากาศที่สงผลตอการทํางานของโรงไฟฟาโดยตรง แตเชือ่ แนวา ในอนาคตอันใกลนี้ ตนทุนของการผลิตไฟฟา ดวยพลังงานทดแทนเหลานี้จะใกลเคียงกับการผลิตไฟฟาดวย กาซธรรมชาติ หรือถานหินอยางแนนอน เพราะดวยตนทุนการ ผลิตไฟฟาแบบเดิมทีต่ อ งใชนาํ้ มันเปนวัตถุดบิ ในการผลิตนัน้ นับ วันก็จะสูงขึน้ เรือ่ ยๆ ในขณะเดียวกันตนทุนในการผลิตไฟฟาจาก พลังงานทดแทนก็จะคอย ๆ ลดลง จนกระทั่งระดับราคาของทั้ง สองแบบไมเกิดความแตกตางกันมาก และมี คํ า แนะนํ า สํ า หรั บ ผู  ที่ ส นใจมาลงทุ น ในธุ ร กิ จ ดานพลังงานทดแทนวา ผูที่สนใจลงทุนตองมีความพรอมใน หลายๆ ดาน เชน การมีที่ดินที่มากพอตอการผลิตไฟฟา รวม ไปถึงตองทําการศึกษาสภาพพืน้ ที่ในการสรางโรงไฟฟาวามีความ เหมาะสมมากนอยแคไหน และเทคโนโลยีที่จะใชในการกอสราง ก็มคี วามสําคัญไมแพกนั รวมไปถึงคาการบํารุงรักษา เพราะเซลล แสงอาทิตยที่จะมีอายุราวๆ 20-25 ปเทานั้น สงผลใหคา การบํารุงรักษาในแตละปจึงคอนขางสูง


นเวทีสัมมนา Energy Forum : ทางเลือก ทางรอด ไฟฟา ไทย? ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช หลายฝายยังมองพลังงาน หมุนเวียน เปนพระเอกทีม่ าชวยกูว กิ ฤติปญ หาพลังงานไฟฟา ไทยในอนาคต แมในปจจุบันจะยังคงมีขอจํากัดก็ตามที หากยอนกลับไปดูเวที Energy Forum : ทางเลือก ทางรอด ไฟฟาไทย? ใน 4 เวทีที่ผานมา ทั้งในจังหวัดกรุงเทพฯ และเวทีสัญจร ในตางจังหวัดตั้งแตจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด ชุมพร ตางมีบทสรุปที่ตรงกันวา พลังงานหมุนเวียน จะสามารถชวย แกปญหาพลังงานไฟฟาของไทยในอนาคต ไมแตกตางจากเวทีลาสุด ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งมีความเห็นไปในทิศทางนี้เชนเดียวกัน “เรามีการใชไฟฟามากขึ้น ดูจากกําลังผลิตไฟฟาปจจุบันนั้น มีประมาณ 32,000 เมกกะวัตต ขณะที่เดือนเมษายนที่ผานมามี ยอดใชไฟฟาในวันที่รอนที่สุดของปสูงถึง 26,000 เมกกะวัตต เกือบ เทากับกําลังการผลิตที่ผลิตได เปนสัญญาณที่เราตองหาแหลงผลิต ไฟฟาเพิ่มเติม ที่ตองเพียงพอกับการบริโภคและกระจายความเสี่ยง ปองกันไมใหคาไฟฟาผูกกับเชื้อเพลิงอยางใดอยางหนึ่ง” ดร.คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน กลาว เพื่อแกไขปญหาดังกลาว แหลงพลังงานที่ผานการพิจารณา จากกระทรวงพลังงาน ก็คือ พลังงานทดแทน โดยมุงดําเนินการ ภายใตแผนพัฒนาพลังงานทดแทนซึง่ ตัง้ เปาหมายไววา ในป 2564 จะ ตองมีการใชพลังงานทดแทนอยูที่ 25 เปอรเซ็นต เพื่อนําไปทดแทน ใน 3 สวนหลักๆ ไดแก ใชในการผลิตไฟฟา ใชในภาคอุตสาหกรรม และใชในภาคขนสง ดานตัวแทนภาคประชาชน นายรอง แกวสกุล ผูประสานงาน เครือขายรักษบา นเกิดลุม นํา้ ปากพนัง กลาววา การผลิตพลังงานไฟฟา สวนใหญถูกปอนใหกับภาคอุตสาหกรรม แตผลกระทบที่เกิดขึ้นกลับ ตกมาที่ชุมชน ดังนั้นหากการผลิตไฟฟามาจากพลังงานบริสุทธิ์คง ไมใชปญหา ทวาสิ่งที่เกิดขึ้นในจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ การสราง โรงไฟฟาถานหินที่สงผลกระทบโดยตรงกับสิ่งแวดลอมและสภาพ ความเปนอยู ซึง่ เปนสิง่ ทีภ่ าคประชาชนไมเห็นดวยและไมอาจยอมรับ สําหรับทางออกในเบือ้ งตน ไดมกี ารนําเสนอใหภาครัฐสงเสริมการ พัฒนากังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟา ดังเชน กังหันลมใน อ.หัวไทร ที่ไดมีการทดลองผลิตกระแสไฟฟาแลว มาเปนตัวอยางแกเอกชนที่ ตองการลงทุน และจากการศึกษาขอมูลพลังงานลมในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครศรีธรรมราช ของทีมวิจัย ดร.จอมภพ แววศักดิ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ พบวา แนว ชายฝงทะเลทางอาวไทยอยาง 2 จังหวัด ไดแก นครศรีธรรมราช และสงขลา สามารถสรางโรงไฟฟาฟารมกังหันลมได 25 ตําบล ใน 8 อําเภอ

พลังงาน หมุนเวียน พระเอก(?) ไฟฟ าไทย

โดยพื้นที่ดังกลาวสามารถพัฒนาเปนโรงไฟฟาฟารมกังหันลม ที่ติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาขนาด 1.0 เมกะวัตต มีกําลังการผลิต ทั้งสิ้น 1,321 เมกะวัตต และหากติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาขนาด 1.5 เมกะวัตต มีกําลังการผลิตทั้งสิ้น 1,354.5 เมกะวัตต หรือหากติดตั้ง กังหันลมผลิตไฟฟาขนาด 2.0 เมกะวัตต ก็จะมีกําลังการผลิตทั้งสิ้น 1,294 เมกะวัตต ซึ่งกําลังผลิตไฟฟารวมจากกังหันทุกขนาดจะอยูที่ 3,969.5 เมกะวัตต ขณะที่ นายศุภกิจ นันทะวรการ ผูจ ดั การฝายนโยบายสาธารณะ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ ยํ้าถึงศักยภาพในการผลิตไฟฟาจากพลังงาน หมุนเวียนในภาคใตวา ถือเปนภาคที่มีศักยภาพในเรื่องนี้ที่นาสนใจ ดูไดจากงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงทีเ่ ปรียบเทียบ การใชไฟฟาและการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนในป 2552 พบวา จังหวัดนครศรีธรรมราชมีการใชไฟฟาอยู 1,555 ลานหนวยตอป ขณะ ที่สามารถผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนได 114 ลานหนวยตอป เขาเชื่อวาในการศึกษาครั้งนี้หากไดรับการสนับสนุนและมีการ พัฒนาจะสามารถผลิตพลังงานหมุนเวียนไดถึง 2,454 ลานหนวยตอ ปเลยทีเดียว “เราทําพลังงานหมุนเวียนได ยกตัวอยาง การทํากาซชีวภาพ จากขยะอินทรีย เชน ที่ อบต.คลองรี อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา, การผลิตไฟฟาจากแกสซิฟเคชั่น และกาซชีวภาพ เหมือนที่ชุมชน

ปาเด็ง จังหวัดเพชรบุร,ี กังหันนํา้ ผลิตไฟฟาขนาดเล็กขนาด 200-1,000 วัตต ที่บานคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนตน” อยางไรก็ตาม แมพลังงานหมุนเวียนจะเปนทางเลือกที่หลาย คนสนใจ ทวาก็ยังมีขอจํากัดในหลายประเด็น อาทิ ความสมํ่าเสมอ ในการผลิต เชน พลังงานลม จะสามารถผลิตพลังงานไดเฉพาะบาง เวลา หรือพลังงานแสงอาทิตย ที่สามารถผลิตพลังงานไดเฉพาะชวง เวลากลางวัน และการทําโซลารฟารม ที่ตองใชพื้นที่กลางแจงเปน จํานวนกวางจนอาจเขาไปแยงพื้นที่ทํากินของชาวบาน ฯลฯ ดังนั้นการใชพลังงานหมุนเวียนในการเปนแหลงผลิตไฟฟา จึงจําเปนตองมีพลังงานหลักเขามาเกีย่ วของและใชเปนแหลงพลังงาน ควบคูกันไป “เราสนับสนุนเรื่องพลังงานหมุนเวียน และพลังงานทดแทน เต็มที่ แตเนื่องจากมีการใชไฟจํานวนมาก และพลังงานหมุนเวียน ก็มีขอจํากัดในตัวของมันเอง การผลิตพลังงานไฟฟาจึงตองอาศัย การจัดการที่สมํ่าเสมอเชื่อมโยงกันอยางมีระบบ เพื่อใหประเทศไทย เรามีไฟฟาใชอยางพอเพียงและไมดับ” นายภัทรพงศ เทพา ผูชวย ผูอํานวยการฝายวางแผนระบบไฟฟา-แหลงผลิต การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย(กฟผ.) กลาว ขณะที่ ดร.เลิศชาย ศิริชัย อาจารยสํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ กลาววา ปจจุบันการพูดถึงเรื่องพลังงาน

ไฟฟา ไมสามารถพูดลอยๆ ได จะตองดูบริบทของความเปนจริงดวย โดยขอมูลตางๆ ตองมีการตีแผใหสังคมรูวา พลังงานไดมีการถูกใช อยางมีประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด นอกจากนีย้ งั ตองพิจารณาดวยวา พลังงานที่ใชมคี วามเปนธรรม มากนอยหรือไม อยางไร และการที่กระทรวงพลังงานวางเปาหมาย ไววา ในอีก 10 ปขางหนา (ป 2564) จะมีสัดสวนการใชพลังงาน ทดแทนอยูที่ 25 เปอรเซ็นต ของพลังงานทั้งหมด แตในความเปน จริงแลวพลังงานอื่น ๆ ก็มีสัดสวนในการใชสูงขึ้น ดังนั้น หากพูดถึง ทางออกก็ควรตองใหความสําคัญในเรื่องการลดการสูญเสียและลด การใชพลังงานดวย เชนเดียวกับ นางสาวสุวพร ศิริคุณ ผูอํานวยการบริหารมูลนิธิ พลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม ที่กลาววา ทางออกของไฟฟาไทยนอกจาก ตองรีบจัดหาพลังงานใหเพียงพอ ทางกระทรวงพลังงาน ซึ่งเปน หนวยงานหลักทีร่ บั ผิดชอบในเรือ่ งนี้ จําเปนตองหันมาทบทวนวา ทีผ่ า น มาการใชพลังงานมีประสิทธิภาพหรือไม โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ก็เพื่อชวยลดการใชไฟฟาไปในตัว รวมถึงตองมีมาตรการบังคับใหมีการใชไฟฟาอยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งไมไดหมายความวา จะสั่งใหประชาชนลด การใช แตควรพิจารณามาตรฐานการผลิตและการใชให มีประสิทธิภาพขึ้น ดังเชน มาตรการหลอดไฟประหยัด พลังงาน เปนตน ถึงบรรทัดนี้ พลังงานหมุนเวียน จึงอาจเปน ไดเพียง “พระรอง” ถาหากประเทศไทยยังขาด มาตรการอนุรักษและลดการใชพลังงาน อยางเปนรูปธรรม และทุกฝายก็ลว น ตางความคิดไมมองเห็นโดยองครวมเดียวกันทัง้ ประเทศ อีก ทั้งไมไดลงมือปฎิบัติอยางจริงจัง ปญหาขาดแคลนไฟฟาก็ อาจกลายเปนแผลเรื้อรัง ❖


โรงไฟฟ ากังหันลมลําตะคอง จ.นครราชสีมา (ตอนที่ 1) พ ลังงานลมเปนพลังงานธรรมชาติทสี่ ะอาดและบริสทุ ธิ์ ซึง่ ใชแลวจะไมมวี นั หมดไป เชนเดียวกับพลังงาน หมุนเวียนอื่นๆ เชน แสงอาทิตย และนํ้า จึงเปนเหตุผลที่ทําใหพลังงานลมกลายเปนหนึ่งในพลังงานทดแทนที่ไดรับความสนใจเปนอยางมาก ปจจุบันแมจะมีทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ไดทําการศึกษา วิจัย และพัฒนาพลังงานลมอยางตอเนื่อง เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุด อยางไรก็ตามประเทศไทยก็ยงั มีหนวยงานทีท่ าํ การศึกษาเกีย่ วกับการใชประโยชนจาก พลังงานลมไมมากนัก สืบเนื่องจากลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ซึ่งมีขอจํากัดในหลายๆ ดานในการ ผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานลม เรียนรูจากตนแบบ โรงไฟฟากังหันลมลําตะคอง... โรงไฟฟากังหันลมที่ใหญที่สุดแหงแรกของประเทศไทย จากการเก็บสถิติความเร็วลมที่ระดับความสูง 45 เมตรของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เพื่อตรวจ วัดศักยภาพพลังงานลมสําหรับผลิตไฟฟาทั่วประเทศมาตั้งแตป พ.ศ.2547 พบวา ที่บริเวณอางพักนํ้าตอนบน โรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา ตําบลคลองไผ อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา มีศักยภาพพลังงานลมดีที่สุด แหงหนึ่งของประเทศไทย ดวยมีลมพัดถึง 2 ชวง ในชวงแรก คือ ชวงฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนมีนาคม สวนชวงที่สอง คือ ชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต (ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) โดยมีความ เร็วลมเฉลี่ย 5-6 เมตรตอวินาที การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จึงไดดําเนินโครงการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ กําลังผลิต 1.25 เมกะวัตต จํานวน 2 ชุด รวมกําลังผลิต 2.5 เมกะวัตต ที่บริเวณอางพักนํ้าตอนบนโรงไฟฟาลําตะคอง ชลภาวัฒนา โดยติดตั้งแลวเสร็จพรอมทั้งเชื่อมโยงเขาสูระบบการจําหนายของการไฟฟาสวนภูมิภาค ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2552 เปนตนมา โครงการโรงไฟฟากังหันลมลําตะคอง นอกจากจะจายกระแสไฟฟาใหกับประชาชนในเขตจังหวัด นครราชสีมาถึงประมาณ 4,800 ครัวเรือนแลว ยังสามารถทดแทนการนําเขาเชื้อเพลิงไดถึง 0.82 ลานลิตรตอป อีกทั้งโรงไฟฟาแหงนี้ยังชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เปนสาเหตุของภาวะโลกรอนไดประมาณ 2,011 ตันตอป และยังถือเปนแหลงเรียนรูดานพลังงานทดแทนแกนักศึกษา และผูสนใจทั่วไป ในอนาคต โรงไฟฟากังหันลมลําตะคองที่สุดจะกลายเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษอีกดวย เชื้อเพลิงที่ประเทศไทยเรานํามาใชในการผลิตไฟฟาในปจจุบัน สวนใหญมาจากนํ้ามัน กาซธรรมชาติ และ ถานหิน ซึ่งนับวันจะมีปริมาณนอยลงทุกที และจะตองหมดไปในอนาคต รวมถึงราคาของเชื้อเพลิงดังกลาวยังมี แนวโนมที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยมีการนําเขานํ้ามันดิบถึงรอยละ 90 ซึ่งสงผลตอการขาดดุลการคาของประเทศเปนอยาง มาก พลังงานทดแทน และพลังงานหมุนเวียนเหลานี้ ไมวาจะเปนพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังนํ้า ขนาดเล็ก หรือแมกระทั่งพลังงานจากขยะ และชีวมวล จึงลวนมีความสําคัญเปนอยางมาก ที่จะนํามาเสริมกําลัง การผลิตไฟฟาใหกับประเทศ อีกทั้งยังชวยลดตนทุนในการผลิตไฟฟา อาจกลาวไดวา นี่ก็คือยาขนานดีที่จะชวยบรรเทาภาวะโลกรอน (Global warming) และสภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ที่ทําใหเกิดฝนกรดที่โลกกําลังเผชิญอยูในขณะนี้ไดอยางชะงัด ❖


โรงไฟฟ ากังหันลมลําตะคอง จ.นครราชสีมา(ตอนที่2)

ากใครไดเคยไปทองเที่ยวตามแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มีอยูอยางมากมายบนเขา ยายเที่ยง ในเขตจังหวัดนครราชสีมา นอกจากทิวเขาที่เต็มไปดวยปาไมเขียวขจีที่ เห็นไดตามรายทางแลว สิ่งที่สะดุดตานักทองเที่ยวเปนอยางมากก็คือกังหันลม 2 ตัว ที่ตั้งตระหงานอยางโดดเดน ซึ่งบงบอกใหรูวา ไดเดินทางมาถึงยังที่ตั้งของโรงไฟฟากังหันลม ลําตะคอง โรงไฟฟากังหันลมที่ใหญที่สุดแหงแรกของประเทศไทยแลว เฉลิมชัย กองเมือง วิศวกรระดับ 8 หนึ่งในทีมวิศวกรที่ดูแลโรงไฟฟากังหันลมแหงนี้ เลาให ฟงถึงประสิทธิภาพของกังหันลมเหลานีว้ า นีค่ อื กังหันลมรุน D6-1250 เปนเทคโนโลยีจากประเทศ เยอรมนี ซึ่งผลิต และนําเขามาจากประเทศจีน มีขนาดกําลังผลิต 1.25 เมกะวัตต และเปนกังหัน ชนิดแกนนอน ที่จะประกอบไปดวยใบกังหันลม 3 ใบ ตัวใบกังหันลมทําดวยวัสดุสังเคราะหเสริม ใยแกว มีเสนผาศูนยกลางใบกังหันลม 64 เมตร ความสูงของเสากังหันลม 68 เมตร การทํางาน ของกังหันลมจะเปนแบบอัตโนมัติ โดยจะเริ่มผลิตไฟฟาที่ความเร็วลม 2.8 เมตรตอวินาที และ สูงสุดที่ความเร็วลม 12.5 เมตรตอวินาที กังหันขนาดใหญจํานวน 2 ตัวนี้ เมื่อรวมกําลังการผลิตแลวจะอยูที่ราวๆ 2.5 เมกะวัตต สามารถผลิตไฟฟาไดประมาณปละ 4.6 ลานหนวย ซึง่ แมจะเปนจํานวนไมมาก หากเทียบเคียงกับ โรงไฟฟาพลังงานทดแทนอืน่ ๆ แตกถ็ อื เปนการเสริมระบบการผลิตไฟฟาในเขตจังหวัดนครราชสีมา ไดเปนอยางดี อะไรคือปญหาของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม? เฉลิมชัยบอกวา จากประสบการณของ เขาพบวา ปญหาของพลังงานลมโดยมากจะคลายๆ กันก็คือ พลังงานลมยังมีความไมแนนอนสูง ทําใหปริมาณการผลิตไฟฟาไมสมํ่าเสมอตามไปดวย ยิ่งไปกวานั้นปริมาณลมที่ไดยังผันแปรในทางลบกับความตองการ เชน ในวันที่มีอากาศ รอนซึ่งมีความตองการไฟฟาจํานวนมากเพื่อใชเปนพลังงานในเครื่องปรับอากาศ กลับเปนวันที่มี แนวโนมวาลมจะพัดออน ทําใหผลิตไฟฟาไดจํานวนนอย ในทางกลับกันในวันที่มีอากาศเย็น และ มีความตองการไฟฟานอย กลับเปนชวงที่ลมพัดแรง เปนตน นอกจากนี้ตนทุนการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม ยังสูงกวาพลังงานทดแทนชนิดอื่นกวา เทาตัว แตสามารถผลิตไฟฟาไดเฉลี่ยเพียง 30 - 40 เปอรเซ็นตของกําลังผลิตเทานั้น ทําให กระทรวงพลังงานจึงไดใหสวนเพิ่มคาไฟฟากับผูลงทุน เพื่อเปนการสนับสนุนใหเอกชนหันมา ลงทุนดานพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น ซึ่งเงินสนับสนุนสวนนี้มาจากเงินคาไฟฟา หรือคา FT เพราะหากวางแผนไวมากเกินไป อาจสงผลกระทบกับประชาชน และอุตสาหกรรมในการแบก รับภาระคาไฟฟาที่สูงขึ้นได

อีกหนึง่ ปญหาของกังหันลมก็คอื ขณะทีก่ ารหมุนของใบพัดกังหันลมยังมีเสียงทีค่ อ นขางดัง และมีผลกระทบตอทัศนียภาพ อยางไรก็ดี ดวยผลกระทบดังกลาว ทางการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดใหความ สําคัญเปนอยางมาก และไดดําเนินการตรวจวัดระดับเสียง และคลื่นแมเหล็กไฟฟา (EMF) ซึ่ง เปนการดําเนินการตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมของโรงไฟฟากังหันลม ลําตะคอง โดยมีจุดตรวจวัดจํานวน 3 จุด คือ บริเวณที่ติดตั้งกังหันลม, บริษัทบานเขายายเที่ยงเหนือ และบริเวณบานเขายายเที่ยงใต พบวาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาอยูระหวาง 52.4 ถึง 54.2 เดซิเบล ซึ่งเปนคาที่อยูในเกณฑมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปตามประกาศของกระทรวง อุตสาหกรรม ปพ.ศ. 2548 ที่กําหนดใหคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ตองไมเกิน 70 เดซิเบล และในสวนของคาสนามแมเหล็กไฟฟา ก็ตรวจไมพบในบริษัทจุดติดตั้งกังหันลมอีกดวย นี่คือสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงความตระหนักและใสใจในคุณภาพชีวิตของชุมชนโดยรอบ โรงไฟฟา รวมถึงสิ่งแวดลอมเปนอยางมาก พลังงานทดแทนไมใชเรื่องไกลตัวเราอีกตอไป หากเราเริ่มตนวิจัย และพัฒนาตั้งแต วันนี้ เพราะในวันขางหนาเราอาจมีเทคโนโลยีที่เปนของตัวเอง โดยแมจะเปนการ เริ่มดวยกาวเล็กๆ แตเชื่อแนวานี่คือการกาวไปบนเสนทางแหงความยั่งยืน และ ชวยสรางความมั่นคงของพลังงานภายในประเทศ ❖


เรียบง ายและยิ่งใหญ (ตอน1)

วามแปรปรวนของแรงลม รวมถึงเม็ดเงินลงทุนที่สูงมาก ทําใหธุรกิจพลังงานลมเพื่อผลิตไฟฟา ในประเทศไทยยังไมเปนที่แพรหลายมากนัก แตมีบริษัทเอกชนหลายแหงที่หันมาใหความสนใจ และสามารถผลิตไฟฟาจากพลังงานลมจนจายไฟฟาเขาระบบได มารูจักบริษัทผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานลมที่ใหญที่สุดในประเทศไทยกัน นพพร ศุภพิพัฒน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บริษัท Wind Energy Holding จํากัด เลาใหฟง ถึงที่มาที่ไปในการทําธุรกิจวา เขามีแนวคิดทําธุรกิจพลังงานลมเมื่อป พ.ศ.2548 ซึ่งในเวลานั้นคนสวน ใหญลวนคิดวาธุรกิจนี้คงไมสามารถเกิดขึ้นไดจริงในประเทศไทย “ความเปนไปของประเทศไทย รวมถึงภาวะผันผวนของราคานํ้ามันที่เกิดขึ้นทั่วโลกในขณะนั้น ทําให ผมสนใจพลังงานทดแทน และทําการศึกษา คนควา งานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวกับการทํา Wind Farm อีกทั้ง เดินทางไปดูงานในหลายๆ ประเทศเพื่อนํามาปรับใชกับสภาพพื้นที่ของประเทศไทย” จนเมื่อเกิดความมั่นใจ แนใจ เขาจึงนําเสนอโครงการลงทุนที่ตองใชเม็ดเงินสูงถึง 13,000 ลานบาท ใหกับทางรัฐบาลและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเพื่อพิจารณา ปจจุบันบริษัทฯ มีโครงการที่เริ่มดําเนินการจายไฟฟาใหแกการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยแลว ทั้งสิ้น 3 โครงการ โดยโครงการแรกตั้งอยูในพื้นที่ อําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ มีกําลังการผลิตขนาด 60 เมกะวัตต และอีก 2 โครงการตั้งอยูในพื้นที่ ตําบลหวยบง อําเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา นั่นคือ โครงการเฟรตโคราชวิน และ โครงการ KR-2 ซึ่งทั้งสองโครงการมีกําลังการผลิตโครงการละ 90 เมกะวัตต รวมทั้งสิ้น 180 เมกะวัตต นพพรยืนยันวาในอนาคตพลังงานลมยังมีโอกาสเติบโตสูง ดวยประเทศไทยยังมีพื้นที่มีศักยภาพ ในการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลมอีกมาก “หากเทียบในเมืองไทยแลว การผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย หรือโซลาร ปจจุบันมีสัญญาในการ ซื้อขายไฟอยูที่ประมาณ 2,000 เมกะวัตต สวนพลังงานลมนั้นมีไมถึงครึ่งของโซลาร ซึ่งโดยความเปนจริง แลว ควรที่จะมีปริมาณเทียบเทากับโซลารเซลล เพราะดวยศักยภาพลมในบานเรานั้นสามารถผลิตไฟฟา ไดมากกวา 2,000 เมกะวัตตแนนอน”

และโครงการของ Wind Energy Holding ทั้ง 3 โครงการนั้น มีกําลังการผลิตอยูที่ 240 เมกะวัตต ซึ่งแสดงใหเห็นวายังสามารถเติบโตไดอยางตอเนื่อง หากสนใจลงทุนดานพลังงานลมในประเทศไทยควรพิจารณาถึง 5 ปจจัยหลัก นี่คือขอแนะนําจาก นพพรสําหรับนักลงทุนที่สนใจ โดย 5 ปจจัยในการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลมนั้น ไดแก ปจจัยแรก ศักยภาพความเร็วลมในพื้นที่ ที่ตองการติดตั้งโครงการตองไดมาตรฐาน และเหมาะสมกับขนาดของโครงการ ปจจัยที่สอง เงื่อนไข ทางกฎหมายของที่ดินที่ใชตั้งโครงการ วาสามารถจัดตั้งไดถูกตองตามกฎหมายหรือไม เพราะดวย สภาพภูมิประเทศของไทย พื้นที่ที่ลมมีศักยภาพก็มักจะอยูในอาณาเขตของกรมปาไม หรือที่ราบบนเขา หรือเชิงเขาเปนสวนใหญ ปจจัยที่สาม ตองคํานึงถึงการเชื่อมโยงระบบเขาสูระบบของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย วาอยูในเสนทางที่ระบบสามารถเขาไปถึงไดหรือไม ปจจัยที่สี่ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ เนื่องดวย การติดตั้งกังหันลมที่มีขนาดใหญมากๆ จะมีปญหาในเรื่องของการขนยายมากเปนพิเศษ และปจจัยที่หา เรื่องของสภาพชุมชนและสิ่งแวดลอมโดยรอบโรงไฟฟา กอนเริ่มดําเนินการโครงการ จําเปนตองมีการทําประชาพิจารณอยางถี่ถวนและรอบคอบ รวมถึงเรื่องของผลกระทบดานสิ่งแวดลอม หรือ EIA ตองมีความถูกตองและรัดกุม “โรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียนเหลานี้ คนไทยบางสวนอาจยังมองวาเปนเรื่องใหม แตหากเอยถึงคําวา โรงไฟฟา คนก็มักมีความคิดในแงลบกอนเสมอ เพราะฉะนั้น การทําความเขาใจกับชาวชุมชนจึงถือไดวา เปนสิ่งสําคัญมาก” แมวาในวันนี้ การนําพลังงานลมมาใชในการผลิตไฟฟาจะยังไมสามารถทดแทนความตองการใช พลังงานของประเทศไทยที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นทุกที หากแตกรณีของ Wind Energy Holding ก็ถือเปน กาวสําคัญอีกกาวของไทยในการเขาใกลเทคโนโลยีสะอาดที่ทั่วโลกใสใจกันในเวลานี้ ประการสําคัญก็คอื พลังงานลมนัน้ คือทางเลือกทีม่ าจากธรรมชาติ แนนอนวาจะชวยลดภาวะโลกรอน ไดอยางไมมีขอสงสัย ❖


เรียบง ายและยิ่งใหญ (ตอน2)

ลังงานลม...ฟน ฟูวถิ ชี วี ติ คํากลาวนีค้ งไมเกินเลยความเปนจริงนัก เนือ่ งจาก ปจจุบันชาวตําบลหวยบง อําเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมาซึ่งอยู โดยรอบโรงไฟฟา Wind Energy Holding มีความเปนอยูที่ดีขึ้นมาก สิ่งแรกที่เห็นไดอยางเดนชัดคือ ถนนหนทางจากเดิมที่เคยเปนหินลูกรังและ สัญจรลําบาก ทําใหในแตละครั้งที่ชาวบานนําขาวโพดซึ่งเปนผลผลิตหลักภายใน พื้นที่ ออกไปขายยังตลาดสวนกลางเกิดความลาชาเปนอยางมาก แตภายหลังที่ โรงไฟฟาไดจัดตั้งขึ้น ไดมีการสรางถนนใหม สงผลใหทุกวันนี้การคมนาคมภายใน ตําบลสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ชาวบานยังมีโอกาสสรางรายไดจากพื้นที่ทางการเกษตรที่เหลือใช เนือ่ งจากโรงไฟฟามีการจายคาตอบแทนสําหรับการติดตัง้ เสากังหันลมตามจุดตางๆ ในพื้นที่ของตําบลหวยบง อีกทั้งยังมีการจายเงินตอบแทนใหกับชาวบานครัวเรือน ละ 2,000 บาท ตลอดระยะเวลา 25 ป ของโครงการ รวมถึงมีการจัดตั้งมูลนิธิกองทุนของชาวชุมชน เพื่อนําเงินที่บริษัทบริจาค นํามาพัฒนาพื้นที่ตางๆ ภายในชุมชน มีการสรางวัดแหงใหม มีการสรางหองสมุด ชุมชน รวมถึงสาธารณูปโภคตางๆ ภายในชุมชนอีกมากมาย นพพร ศุภพิพัฒน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท Wind Energy Holding จํากัด กลาววา นับเปนความโชคดีอยางหนึ่งของบริษัท ที่ชาวชุมชนดานขุนทด แหงนี้ มีทัศนคติที่เปดกวาง ยอมรับฟง โดยสิ่งแรกที่บริษัททําคือ เขาไปทําความ เขาใจกับชาวชุมชน อธิบายถึงประโยชนที่ชุมชนจะไดรับ อยางไรก็ดี คงไมสามารถใชวิธีการอธิบายที่ไมสามารถสรางภาพใหเห็น อยางเปนรูปธรรมไดเพียงอยางเดียว บริษัทจึงดําเนินการพาชาวบาน และผูนํา ชุมชน เดินทางไปศึกษาดูงานในหลายๆ พื้นที่ ทั้งตัวกังหันรุนแรกๆ ของการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย ที่จังหวัดภูเก็ต รวมถึง กังหันลมลําตะคอง บริเวณ อางพักนํ้าตอนบนของโรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนาอีกดวย การรวมเดินทางในการศึกษาดูงานในลักษณะนี้ นอกจากชาวบานจะไดความรู

โดยตรงจากเจาหนาที่ภาครัฐแลว ก็ยังกอใหเกิดความรูสึกไวเนื้อเชื่อใจ และผูกพัน กันระหวางบริษัทและชุมชนมากขึ้น และนี่ก็คือปจจัยสําเร็จที่ชวยทําใหโครงการ โรงไฟฟากังหันลมแหงนี้ สามารถดําเนินการไดอยางราบรื่น พลังงานลม...ความเรียบงายที่ยิ่งใหญ นพพรอธิบายถึงกระบวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมใหฟงวา แทจริงก็ เหมือนการทํางานของพัดลม แตมีลักษณะตรงขามกัน โดยเริ่มจากการที่ลมจะ เขาไปหมุนใบพัด จากนัน้ ใบพัดก็จะหมุนแกนเจเนอเรเตอรดา นในของเครือ่ งกําเนิด ไฟฟา สรุปก็คือ มีหลักการที่เรียบงายมาก แตความยากอยูต รงทีว่ า ตองทําอยางไรจึงจะทําใหกระแสไฟฟาที่ไดมคี ณุ ภาพ ที่ดี เปนที่ยอมรับของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ซึ่งดวยเทคโนโลยีตางๆ ในปจจุบันที่ทางบริษัทไดนํามาใชนั้นมีคุณภาพเปนที่ยอมรับได และยังมีสวนชวย ใหระบบการผลิตไฟฟามีเสถียรภาพมากขึ้นอีกดวย ทวาพลังงานลมยังมีตน ทุนทีส่ งู กวามาก เมือ่ เทียบกับพลังงานอืน่ ๆ อยางเชน ถานหิน หรือกาซธรรมชาติ นพพรใหมุมมองในเรื่องนี้อยางนาสนใจวา หากเทียบกันแลว การผลิตไฟฟา ดวยพลังงานลมนัน้ เหมือนการกินอาหารเพือ่ สุขภาพ โดยธรรมชาตินนั้ คนเราจําเปน ตองกินอาหารหลายๆ ชนิด เพื่อใหรางกายอยูรอด ซึ่งก็ไมตางจากการที่เราบริโภค ถานหิน หรือ กาซธรรมชาติ ในทางตรงขามรางกายของเราก็ยอมตองการสิ่งดีๆ เชนเดียวกัน แนนอนอาหารสุขภาพยอมมีราคาคางวดที่สูงกวา แตผลลัพธที่ไดมา ยอมคุมคาและดีกวาแนนอน ดังนั้นหากเราเริ่มตนวิจัยและพัฒนาพลังงานหมุนเวียนตั้งแตวันนี้ ก็เทากับ วาในอนาคต เราอาจมีเทคโนโลยีดานพลังงานหมุนเวียนเปนของตัวเอง แมวา การเริม่ ตนอาจเปนเพียงกาวเล็กๆ แตเชือ่ แนวา นีค่ อื การเริม่ ตนของ กาวที่ยั่งยืน ที่จะมาชวยเสริมสรางความสมดุลและความมั่นคงของพลังงาน ประเทศไทย ❖


โรงไฟฟ าพลังงานชีวมวล

‘ด านช าง ไบโอ เอ็นเนอร จี’ จ.สุพรรณบุรี ตอนที่ 1

ากวัตถุดิบ...สูการตอยอดดานพลังงานทดแทน เมื่อไรก็ตาม ที่เราสามารถสรางวัตถุดิบไดเองจากธุรกิจ เราก็จะมี ความมัน่ คงและยัง่ ยืน เชนเดียวกับผูผ ลิตนํา้ ตาลทีเ่ รารูจ กั กันดีในชือ่ แบรนด “มิตรผล” ทีม่ แี นวคิดในการทีจ่ ะนําวัสดุเหลือใชจากการผลิตนํา้ ตาลซึง่ เปนอุตสาหกรรมหลักอยางออย นํามาแปรเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟา เพื่อใช ภายในอุตสาหกรรมการผลิต และคืนกลับสูส งั คม โดยมีการกําหนดเปาหมาย ใหมีการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟาชีวมวล ควบคูไปกับอุตสาหกรรม ออยและนํ้าตาลในประเทศไทย ธุรกิจไฟฟาชีวมวลของกลุมบริษัทมิตรผลแหงนี้ ถือเปนหนึ่งในธุรกิจ พลังงานหมุนเวียนที่พัฒนาขึ้นดวยการนําชานออยจากกระบวนการผลิต นํ้าตาล และชีวมวลทางการเกษตรมาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไอนํ้าและ กระแสไฟฟา เพื่อนํ้ากลับมาใชในกระบวนการผลิตนํ้าตาลและอุตสาหกรรม ตอเนื่องอื่นๆ ของกลุมมิตรผล นอกจากนี้ ยังมีการจําหนายไฟฟาใหกับทางการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทยและการไฟฟาสวนภูมิภาค เพื่อแจกจายความสวางไสวเหลานี้

กลับไปยังชุมชนแวดลอม และสรางความมั่นคงดานพลังงานใหกับประเทศ ของเรา โรงไฟฟาในกลุม มิตรผลทีเ่ ราเรียกกันวา ไบโอ พาวเวอร นี้ จะใชเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัยรวมถึงมีประสิทธิภาพสูง ทําใหสามารถผลิตไฟฟาไดมากขึน้ ในขณะ ที่ใชวัตถุดิบในจํานวนเทาเดิม นอกจากนี้ ยังมีการดําเนินงานตามระบบการจัดการสิ่งแวดลอมสากล หรือที่เราเรียกกันวา ISO 14001 และมาตรฐานการจัดการของกระทรวง ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับการรายงานการวิเคราะหผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมหรือ EIAอยางเครงครัด ธุรกิจไฟฟาชีวมวลของกลุมมิตรผลแหงนี้ นอกจากจะชวยรักษาสมดุล ทางธรรมชาติและสรางรายไดใหกับชุมชนในทองถิ่นแลว ยังสงผลใหเกิด โอกาสใหมทางดานเศรษฐกิจ นั่นคือ การพัฒนา “ธุรกิจคารบอนเครดิต” ซึ่งเปนธุรกิจที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ปจจุบัน กลุมมิตรผล มีโรงไฟฟาชีวมวลทั้งหมด 5 แหง ในจังหวัด สุพรรณบุรี สิงหบุรี ขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ และที่กําลังอยูในระหวาง กอสรางอีก 1 แหงที่ จังหวัดเลย โดยมีกําลังการผลิตอยูที่ 307 เมกะวัตต ตอป โดยในชวงฤดูหีบออยจะสามารถสงไฟฟาใหกับการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย ไดถึง 131 เมกะวัตต และ 134 เมกะวัตต ในชวงนอกฤดูหีบออย นอกจากความกาวหนาดานพลังงานไฟฟาชีวมวลภายในประเทศของ เราแลว กลุมมิตรผลยังไดมีการตอยอดการผลิตพลังงานไฟฟาชีวมวลไปสู ตางประเทศอีกดวย โดยมีการจัดตั้งโรงไฟฟาชีวมวลจากชานออยแหงแรก ในเมืองฝูหนาน มณฑลกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน มีกําลังการผลิต 32 เมกะวัตตตอ ป โดยไดทาํ การจําหนายไฟฟาใหกบั การไฟฟามณฑลกวางสี 30 เมกะวัตตตอป และโรงไฟฟาชีวมวลแหงแรกในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว กําลังการผลิต 9 เมกะวัตตตอ ป จําหนายไฟฟาใหกบั รัฐวิสาหกิจ ไฟฟาลาว 3 เมกะวัตตตอป ทั้งหมดนี้คือจุดเริ่มตนจากแนวคิดที่คํานึงถึงการรักษาสภาพแวดลอม จนกระทั่งนําทรัพยากรที่เหลือใชและรอการทําลายทิ้ง มาใชใหเกิดประโยชน สูงสุดในธุรกิจ รวมไปถึงการสงตอความสวางไสวใหแกชุมชน ❖


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.