กรุงเทพธุรกิจ Bizweek

Page 1

ผ่าแผนลงทุน 3 ปี ‘กบข.’ ชนะเงินเฟ้อ 7

6 เดือนที่เหลือ ของ

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์

3 www.bangkokbiznews.com

หนังสือพิมพ์ธุรกิจรายสัปดาห์ กรุงเทพธุรกิจ BizWeek : bizweek@nationgroup.com ปีที่ 6 ฉบับที่ 355 วันที่ 4 เมษายน 2554

Go Gas ‘No Choice’

‘แฮปปี้นอย’ คอนวีเนียน สโตร์ คนจน ‘ตากาล็อก’

4

ทางเลือกที่ต้อง ‘เลือก’ สุกัญญา ศุภกิจอ�ำนวย

ปัญหานิวเคลียร์ในญี่ปุ่น ยิ่งท�ำให้ทั่วโลกรวมถึงไทยขยาดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ไม่นับโรงไฟฟ้าถ่านหิน “ก๊าซ” จึงกลายเป็นค�ำตอบของพลังงานในอนาคตของไทย ประเมินว่า สัดส่วนการใช้ก๊าซผลิตไฟฟ้าจะสูงขึ้นถึง 71% ในปี 2573 ในจ�ำนวนนี้เป็นการน�ำเข้ามากถึง 60% ที่ส�ำคัญราคาจะ “สูง” ลิบ เมื่อเทียบกับก๊าซในอ่าวไทย วิกฤติค่าไฟ-ขาดดุลการค้า ก�ำลังจะเกิดขึ้น หรือไม่ ในภาวะที่...ต้องการไฟฟ้า แต่ไม่เอา “โรงไฟฟ้า”

ถอดวิถีรอด ธุรกิจ

‘เพลง-หนังไทย’

5 แรงต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้าถ่านหินในเมืองไทย ส่งผลให้ “ทาง 39% ในปี 2573 ซึง่ จะถูกทดแทนด้วยการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้า

‘ธรรมดา’ ที่ ‘ไม่ธรรมดา’

3

เลือก” ในการผลิตไฟฟ้าเหลือน้อยเต็มที ขณะที่พลังงานทดแทน (Renewable Energy) ได้แก่ พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวภาพ ชีวมวล ฯลฯ แม้รัฐจะมีทิศทางที่ชัดเจนในการส่งเสริมการผลิต และการใช้ แต่ส�ำหรับประเทศไทยพลังงานประเภทนี้ถือว่าเป็นพลังงานที่เพิ่ง “ตั้งไข่” ไม่นับปัญหานานาประการ ไล่ตั้งแต่ ต้นทุนการผลิตที่ยังคงสูงกว่าเชื้อเพลิงอื่น ก�ำลังการผลิตที่ผลิต ได้แต่น้อย ปัญหาวัตถุดิบที่ยังไม่เพียงพอ เทคโนโลยีรองรับที่ประเทศไทยยังต้องการเวลาในการพัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี การพึ่งพาการน�ำเข้าวัสดุ-อุปกรณ์ ก๊าซธรรมชาติจึงยังคงเป็น “ตัวเลือก” ที่จ�ำต้องเลือก แม้วา่ รัฐบาลมีความพยายามจะ “จัดสมดุล” การใช้พลังงาน โดยเฉพาะการใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้า ไม่ให้ “เอียง” ไปในเชื้อเพลิงใดเชื้อเพลิงหนึ่งมากเกินไป เพื่อต้องการสร้าง “เสถียรภาพ” ในการผลิตไฟฟ้า กรณีที่เชื้อเพลิงใดเชือ้ เพลิงหนึ่งเกิดปัญหา จะมีเชือ้ เพลิงอื่นมารองรับการผลิตไฟฟ้าได้ทันท่วงที เพราะรู้ดี ว่าในสถานการณ์ปัจจุบันไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าเกินไปแล้ว ดังนั้น ตามแผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้า (PDP 2010) ซึ่งเป็นแผนระยะ 20 ปีที่ ระหว่างปี 25532573 จึงก�ำหนดให้มีการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จ�ำนวน 5 โรง ก�ำลังการผลิตรวม 5,000 เมกะวัตต์ และ โรงไฟฟ้าถ่านหินจ�ำนวน 9 โรง ก�ำลังการผลิตโรงละ 800 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ ยังก�ำหนดสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าลดลงจาก 66% ในปัจจุบัน เหลือ

‘ทรู คอร์ปอเรชั่น’ เกมของ ‘เจ้าสัว’ ‘ถอนเงิน’ รายย่อย ‘เติมทุน’ กลุ่มทรู บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน่ เพิ่งได้ เงินกู้ก้อนใหญ่จากธนาคารไทย พาณิชย์มาหยกๆ แถมแต่งตัง้ SCB เป็ นที่ปรึกษาทางการเงินในการ ระดมทุนโครงการ 3G อย่างเป็ นทางการ แต่ไหง! กลายเป็ นว่า เจ้ าสัว ‘ธนินท์ เจียรวนนท์ ’ เลือกที่จะกด ATM ถอนเงินนักลงทุนรายย่อยมา “เติมทุน” กลุม่ ทรู รายย่อย ‘ตกกระไดพลอยโจน’ จะ ‘ถอย’ ก็ขาดทุน ไม่ใช้ สทิ ธิเพิ่มทุนก็ยิ่ง ‘ขาดทุนหนัก’ 8

จากพลังงานทดแทน ทว่า เมือ่ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ เกิดการรัว่ ไหลของสารกัมมันตรังสี จากเหตุการณ์แผ่นดิน ไหว และคลื่นยักษ์สึนามิ ยิ่งท�ำให้ทั่วโลกเริ่มขยาดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กระทรวงพลังงานเองก็โหนกระแส ในเรื่องนี้ด้วยการตัดสินใจทบทวนแผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้า PDP2010 ใหม่ “ณอคุณ สิทธิพงศ์” ปลัดกระทรวงพลังงาน ออกมาบอกเองว่า... “เมื่อเราไม่เอาโรงไฟฟ้า แต่เราเอาไฟฟ้า” ท�ำให้ประเทศไทยอาจจะมีความจ�ำเป็นต้อง “ขยับ” แผนการน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas-LNG) ให้เร็วขึ้น จากความไม่แน่นอนใน การสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้าถ่านหิน โดยในแผนเดิม ปตท.จะต้องน�ำเข้า LNG เฟสแรกจ�ำนวน 5 ล้านตันภายในปี 2563 และเริ่มท�ำสัญญา รับซื้อ LNG ในอีก 5 ล้านตันในปี 2563 ขณะในปี 2568 จะต้องก่อสร้างสถานีรับก๊าซธรรมชาติเหลวแห่งที่ 2 (Second LNG Receiving Terminal) เพื่อรองรับปริมาณการน�ำเข้า LNG อีก 10 ล้านตัน ที่จะเข้ามา ในปี 2570 ปริมาณดังกล่าว อยู่บนสมมติฐานของการเกิดขึ้นของโรงไฟฟ้าถ่านหินและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใน

2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
กรุงเทพธุรกิจ Bizweek by nktnews bangkokbiznews - Issuu