Bookmoby Review Issue 2 (2015)

Page 1

1


In the Beginning

Beautiful Books and Passionate Bookmakers แด่คนโง่ที่รักและจ�ำเป็น “คนหนังสือ” ทีท ่ ำ� งานอย่างพิถพ ี ถ ิ น ั และให้ความส�ำคัญกับ รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ในทุกขัน ้ ตอนการผลิตหนังสือ เช่น การเลือกเฟ้นกระดาษทีแ่ ตกต่าง สัมผัสรูถ ้ งึ ความหนาบาง สีออ ่ น เข้ม เกรนความเหนียว ทดลองการเข้าเล่มหลากหลายแบบเพือ ่ ความ คงทนและความเหมาะสมของขนาดหนังสือ เล็งเห็นคุณค่าของการลงทุน กับปกและนักออกแบบปก มีความรูเ้ กีย ่ วกับหมึกทีใ่ ช้พม ิ พ์ ไปจนถึงให้ เวลาในการบรรณาธิการ ค้นคว้าตรวจสอบข้อมูลอย่างถีถ ่ ว้ น ครุน ่ คิด เรือ ่ งขนาดและรูปแบบตัวอักษร ความห่างของช่องว่างระหว่างบรรทัด ฯลฯ กับหนังสือทุกเล่มทีท ่ ำ� ต้องถือว่าเป็นคนพันธุโ์ ง่ โง่ เพราะหากมองในเชิงธุรกิจ การให้เวลามากและ ลงทุนกับทุกรายละเอียดของหนังสือหนึ่งเล่ม นอกจากจะท�ำให้ ได้ปริมาณผลผลิตน้อยและช้า ยังไม่เกี่ยวกับการกระตุ้นให้หนังสือ เล่มนั้น “ขายดี” แต่อย่างไรเลย หากเป้าประสงค์คือการท�ำ ธุรกิจที่ได้ก�ำไรมาก หรือเพื่อให้ได้เงินก้อนมาหมุนเวียนส�ำหรับ ประกอบการขนาดใหญ่ คนท�ำหนังสือหรือส�ำนักพิมพ์ต้องลดทอน เวลาและงบประมาณในรายละเอียดทั้งหมด เร่งผลิตหนังสือให้ได้ ปริมาณมากที่สุด ด้วยต้นทุนน้อยที่สุด เนื้อหาสอดคล้องกับ หนังสืออื่นๆ ในกระแสมากที่สุด จึงจะถือว่าเป็นการท�ำธุรกิจ อย่างมีไหวพริบและชาญฉลาด แม้ว่าการผลิตหนังสือตามสูตรส�ำเร็จแบบ “แมส” หรือแบบผู้ประกอบการรายใหญ่ จะมีคุโณปการบางอย่างต่อ วัฒนธรรมการอ่านและการซื้อหนังสือ เช่น ท�ำให้หนังสือมีราคา

2

2015

Special Thanks: ขอขอบคุณ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภาพพิมพ์ ส�ำหรับความอนุเคราะห์การจัดพิมพ์ทั้งหมด ใน bookmoby REVIEW ฉบับ 2/2015

วารสาร Bookmoby Review • บรรณาธิการบริหาร ปราบดา หยุ่น บรรณาธิการ รังสิมา ตันสกุล กองบรรณาธิการ ธนาคาร จันทิมา l ณัฐกานต์ อมาตยกุล l วลาภา จงจารุนันท์ l ธีระศิลป์ ค�ำปัน l สิรินารถ อินทะพันธ์ นักเขียนและนักแปลรับเชิญ อติภพ ภัทรเดชไพศาล บัญชา สุวรรณานนท์ l วิภว์ บูรพาเดชะ l ธาริตา อินทนาม l จิดาภา บางนาชาด l น�้ำส้ม สุภานันท์ l จันทร์อัมพร เงินศรีสิทธิ์ ออกแบบ มานิตา ส่งเสริม ผู้พิมพ์ บริษัท บุ๊คโมบี้ จ�ำกัด 7/54 ซอยร่วมฤดี ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 02-106-3671, 08-6374-3464 โทรสาร 02-106-3671 อีเมล teambookmoby@bookmoby.com เว็บไซต์ bookmoby.com เฟซบุ๊ก facebook.com/bookmoby ทวิตเตอร์ twitter.com/bookmoby อินสตาแกรม instagram.com/bookmoby พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภาพพิมพ์ 45/14 หมู่ 4 ถ.บางกรวย-จงถนอม ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 l โทรศัพท์ 02-879-9154, 02-433-8586 l โทรสาร 02-879-9153

ถูก กระจายทั่วถึง ช่วยกระตุ้นให้เกิดบุคลากร สร้างอาชีพใหม่ๆ ให้ผู้คน แต่การ ขับเคลื่อนอย่างถาวรของ “วงการหนังสือ” จะเกิดขึ้นอย่างฝังรากลึกไม่ได้เลย หากปราศจากคนท�ำหนังสือพันธุ์โง่ที่ลุ่มหลงในความงามของหนังสือ และมี ความสุขกับการทุ่มเทอุทิศตนชนิดหลังขดหลังแข็ง (การท�ำหนังสือเป็นอาชีพ หนึ่งที่คนท�ำต้อง “หลังขดหลังแข็ง” จริงๆ) เพราะไม่ว่าสภาพเศรษฐกิจและ สถานการณ์ทางธุรกิจของวงการหนังสือจะเป็นเช่นไร ก็ไม่กระทบต่อความ ลุ่มหลงและความทุ่มเทของคนเหล่านี้ พวกเขาหลงรักหนังสือและมีความสุข กับการท�ำงานหนังสือโดยไม่หวั่นไหวต่อการเคลื่อนมาหรือเกิดขึ้นของเภทภัยใดๆ เชื่อว่ากลุ่มคนท�ำหนังสือ “ส่วนน้อย” หรือ “ตัวเล็กๆ” เหล่านี้ นอกจาก จะโง่แล้ว ยังเป็นคนพันธุ์ที่ไม่ได้ทุ่มเทเพราะต้องการค�ำสรรเสริญเยินยอ หากแต่ ท�ำเพราะหลงเพราะรัก เพราะเป็นธรรมชาติที่ผลักดันจากภายใน เพราะต้องท�ำ เพราะจ�ำเป็นต่อปริมาณความสุขของการด�ำรงชีวิต แต่กระนั้นนานๆ ที การมีเสียงชื่นชม สนับสนุน ส่งสัญญาณให้รู้ เป็นครั้งคราวว่ามีคนเห็นค่าของการมีอยู่และความทุ่มเทของพวกเขา ก็น่าจะ เปรียบเหมือนการตบหลังเบาๆ ช่วยส่งก�ำลังใจแทรกซึมเข้าไปในความลุ่มหลง และทุ่มเทนั้นได้ไม่น้อย ไม่มีใครในวงการหนังสือ แม้แต่คน “ตัวใหญ่ๆ” ที่จะปฏิเสธว่า หนังสือเล่มยังมีลมหายใจต่อไปได้ก็เพราะมีกลุ่มคนที่เห็นหนังสือเป็นศิลปะ เป็นงานฝีมือ เป็นวัฒนธรรมที่สามารถท�ำให้คนตาบอดและโง่เง่าได้เช่นเดียว กับความรักประเภทอื่นๆ ปราบดา หยุน ่ บรรณาธิการบริหาร

กรุงเทพฯ ร้าน Bookmoby หอศิลปกรุงเทพฯ ร้าน Gallery กาแฟดริป หอศิลปกรุงเทพฯ ร้านกาแฟสาขาในเครือ Tom N Toms ร้านบางหลวง ร้านกาแฟนรสิงห์ ร้านศึกษิตสยาม ร้าน Candide Books&Café ร้านหนังสือเดินทาง ร้านสวนเงินมีมา ร้าน Café Little Spoon ร้านต้นซอย39 สุขสวัสดิ์ 39 ร้านริมขอบฟ้า ร้านมะลิมะลิ ร้าน Hemlock พระอาทิตย์ ร้าน Dialogue Coffee and Gallery ผ่านฟ้า ร้าน Old Town เฟื่องนคร

ร้าน Old Man Café บางขุนนนท์ ร้าน Lamune สยามสแควร์ ร้านประตูสีฟ้า เอกมัย ร้าน Ceresia พร้อมพงษ์ HHOM Cafe House Rama RCA Too Fast To Sleep

ต่างจังหวัด ร้าน Lonely Pai by Freeform แม่ฮ่องสอน ร้านเล่า เชียงใหม่ ร้าน Book Re:public เชียงใหม่ ร้านฟิลาเดลเฟีย Book&Bar อุบลราชธานี ร้าน Booktopia อุทัยธานี ร้านกาลครั้งหนึ่ง อุทัยธานี ร้านเฟื่องนคร นครราชสีมา ร้าน Buku Books&More ปัตตานี



เรื่อง ธนาคาร จันทิมา, ณัฐกานต์ อมาตยกุล

เรือนร่างของหนังสือ โลกยุคโบราณ การอ่านเป็นกระบวนการรับรู้ผ่านงานท�ำมือทั้งสิ้น ก่อนหนังสือจะมีขนาดและรูปทรงอย่างทุกวันนี้ มนุษย์ทดลอง ออกแบบเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและประโยชน์ ใช้สอยของหนังสือมาแล้วนับพันปี หนังสือถือก�ำเนิดมาแล้ว หลายครั้ง เช่นเดียวกับที่สูญพันธุ์ไปแล้วหลายหน ต้นก�ำเนิดของหนังสืออาจเริ่มเมื่อช่างฝีมือชาวสุเมเรียนริเริ่ม ประดิษฐ์อักษรลิ่มสลักทิ่ม “ลง” ในแผ่นจารทรงสี่เหลี่ยมหรือวงรี ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นการเขียน “บน” แผ่นหนังและกระดาษ ในเวลาต่อมา หรืออาจเป็นวินาทีที่จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar) แห่งจักรวรรดิโรมัน ริเริ่มการพับม้วนอักขระ (scroll) ให้เป็น แผ่นเพื่อให้ทหารซ่อนข้อความในชุดเกราะได้สะดวกและส่งข่าว ถึงกองทัพโดยเร็ว การปฏิวัติการอ่านเกิดขึ้นตลอดมาพร้อมการคิดนวัตกรรมใหม่ รูปร่างหนังสือที่เราคุ้นเคยเกิดขึ้นเมื่อคนขี้ร�ำคาญคนหนึ่งต้อง คลี่ม้วนกระดาษออกอ่าน (ซ้าย-ขวา) ขณะที่อีกมือก็ม้วนกลับ เข้าไปทีละบท แม้จะใกล้เคียงวิธีที่เราอ่าน (ขึ้น-ลง) จากหน้าจอ ทุกวันนี้ แต่ก็มีข้อจ�ำกัดและความยุ่งยาก ต่อมาหนังสือถูก ออกแบบให้เกิดการ “พลิก” หน้ากระดาษเป็นครั้งแรกและเกิด กรอบที่มีขอบเขตกั้นไว้ส�ำหรับการเขียน ความภูมิใจระคนหวงแหนของพระเจ้าปโตเลมี (Claudius Ptolemy) แห่งอียิปต์ได้ผลักหนังสือไปสู่ทางเลือกที่หลากหลาย การสงวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการท�ำหนังสือไว้ส�ำหรับห้องสมุด อเล็กซานเดรียเท่านั้น ท�ำให้การท�ำกระดาษปาริรุสเป็นเทคโนโลยีที่มีต้นทุนสูง แผ่นดินเหนียวที่เคยใช้กันมาก็ไม่เหมาะพก ติดตัวเพราะมีน�้ำหนักมาก หนังสัตว์จึงได้กลายมาเป็นทางเลือก ยอดนิยม ส่งผลให้เกิดวิชาชีพท�ำหนังสือผูกจากแผ่นหนังที่ ทนทานและยืดหยุ่น นี่อาจเป็นอีกจุดก�ำเนิดหนึ่งที่เราใช้ค�ำว่า “หนังสือ” ในภาษาไทย ยุโรปยุคกลาง หนังสือมีบทบาทเกี่ยวข้องกับศาสนา เป็นสมบัติ ชนชั้นสูง เล่มที่สาธารณชนจะได้สัมผัสใกล้ชิดมากที่สุดคือหนังสือ สวดมนต์ที่สร้างขึ้นและประดับประดาอย่างประณีต มีขนาดใหญ่ พิเศษ เปิดกางไว้ในโบสถ์เพื่อให้ถูกอ่านได้จากระยะไกล 4

เทคโนโลยีการพิมพ์ จากหนังสือหนึ่งเล่มที่มีเอกสิทธิ์ถือครองได้เพียงผู้เดียว การมาถึง ของเทคโนโลยีแท่นพิมพ์แบบกดของโยฮันน์ กูเทนแบร์ก (Johannes Gutenberg) นักประดิษฐ์ชาวเยอรมันในช่วงกลาง คริสต์ศตวรรษที่ 15 ท�ำงานพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์โลหะถอดได้ และ หมึกพิมพ์ท�ำจากน�้ำมัน ซึ่งมีทั้งความแม่นย�ำ สวยงาม และ รวดเร็ว ได้สั่นสะเทือนโลกสิ่งพิมพ์อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน หนังสือกลายเป็นสินค้าตลาดที่ใครก็อาจซื้อ ดังที่คัมภีร์ไบเบิล ฉบับกูเทนแบร์ก (The Gutenberg Bible) พิมพ์ออกมา 800 เล่ม และหมดอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะวางขายในตลาดกรุง มาดริด หรืออยู่บนฝ่ามือของบิชอปแห่งวาติกันก็ล้วนเป็น หนังสือเล่มเดียวกัน หนังสือในฐานะสินค้าตลาด (mass product) ได้ปลดปล่อย การอ่านและการเขียนจากกิจกรรมที่สงวนไว้เพียงชนชั้นสูง ยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยาการของยุโรปอาจไม่รุดหน้าเลยหากปราศจากเทคโนโลยีที่ช่วยกระจายข่าวสารและเผยแพร่ความรู้ออกไปได้อย่าง กว้างขวาง

เทคโนโลยีมาพร้อมการปรับตัวของช่างฝีมือ มีค�ำพยากรณ์ว่า การผงาดขึ้นมาของงานพิมพ์จะท�ำลายงานเขียนด้วยลายมือให้ สูญพันธุ์ ตรงกันข้าม กูเทนแบร์กกลับพยายามรักษาความงาม ของต้ น ฉบั บ ลายมื อ ไว้ ด ้ ว ยการเลี ย นแบบลายมื อ ของเหล่ า อาลักษณ์ลงในหนังสือกลุ่ม Incunabula นั่นหมายถึงการ พัฒนาทางเทคโนโลยีที่รุดหน้าไม่จ�ำเป็นต้องกั้นขวางทักษะที่ เป็นงานฝีมือเสมอไป ที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี อัลดัส มานูติอุส (Aldus Manutius) ช่างพิมพ์ผู้ประดิษฐ์อักษรตัวเอนรวมถึงรูปแบบตัวอักษรอื่นๆ ได้จัดพิมพ์งานคลาสสิกครั้งแรกจากภาษาแม่ อาทิ งานของ โซโฟคลิส อริสโตเติล เพลโต โอวิด เวอร์จิล โฮเรซ ซึ่งกลายเป็น ข้อต่อภูมิปัญญาให้ยุคสมัยและสร้างสรรค์ไว้ในรูปแบบงานพิมพ์ ที่งดงาม กระทั่งเซอร์ฟรานซิส เมย์เนลล์ (Sir Francis Meynell) นักวิจารณ์ชาวอังกฤษยังให้ความเห็นถึงอักษรตัวเอนที่ดึงดูด สายตานักอ่านว่า “ช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้ซึมซาบความงาม ของข้อเขียนได้มากขึ้น”

ยุคดิจิตัลได้สร้างค�ำว่า “Print is Dead” ออกมาหลอกหลอนคนท�ำสื่อ สิ่งพิมพ์ แต่ความตั้งใจและความพิถีพิถันของคนท�ำหนังสือไม่เคยจางหาย จากยุคสมัย ล่วงถึงศตวรรษที่ 17-18 ยุโรปเกิดกระแสแข่งขันผลิตหนังสือ จ�ำนวนมาก เน้นพิมพ์แต่หนังสือขายดี และเกิดส�ำนึกใหม่คือ หนังสือไม่จ�ำเป็นต้องอ่านในบ้านหรือห้องสมุดอีกต่อไป ส�ำนักพิมพ์ จึงเริ่มหันมาผลิตหนังสือปกอ่อนฉบับกระเป๋า (Pocket Book) ส�ำหรับพกพาไปอ่านขณะเดินทาง หนังสือกลายเป็นสิ่งประกอบ กิ จ กรรมพั ก ผ่ อ นที่ ม าพร้ อ มการขยายตั ว ของชนชั้ น กลางซึ่ ง คึกคักอย่างมากโดยเฉพาะอังกฤษในศตวรรษที่ 19 ความนิยมของการอ่านท�ำให้เกิดอาชีพกลุ่มพ่อค้าเร่ขายหนังสือ เล่มเล็กจ�ำพวกนิทาน เพลงพื้นบ้าน และวรรณกรรมคลาสสิก ซึ่งถูกเรียกว่า “แชปบุ๊ค” (มาจากค�ำว่า chapmen หรือ หนุ่ม พเนจร) ถือเป็นร้านหนังสืออิสระเคลื่อนที่ยุคบุกเบิก ขนาดหนังสือ ที่นิยมคือ 16 หน้ายก ต่อมาเมื่อนักอ่านโหยหาเรื่องเล่าที่มี ความยาว กระดาษจึงถูกพับสิบสองทบเป็น 24 หน้า และหนา ขึ้นเรื่อยๆ แสดงถึงความเบ่งบานของสิ่งพิมพ์และความกระหาย ของนักอ่านที่มีอยู่จ�ำนวนมาก ปี 1935 อัลเลน เลน (Allen Lane) ส�ำรวจตลาดที่เริ่มเฟ้อของ หนังสือจนพบช่องว่างท�ำตลาด เขาต้องการท�ำหนังสือปกอ่อน ราคาย่อมเยาให้มีรูปลักษณ์เรียบง่าย สีสันสดใส ไม่ขึงขังหรือ โอ้อวดความคลาสสิกเหมือนเจ้าอื่นๆ ที่มักเน้นปกแข็ง เขาจึง ตัดสินใจพิมพ์ปกอ่อนจ�ำนวนมากถึง 20,000 เล่ม เพื่อให้ได้ต้นทุน ต่อเล่มต�่ำที่สุด ทั้งนี้ยังเลือกใช้โลโก้เป็นสัตว์นั่นคือ “เพนกวิน” เพื่อเป็นมิตรกับผู้อ่านทั้งคนมีการศึกษาสูงและคนรายได้น้อย แต่รักการอ่าน เลนตีตลาดด้วยการฝากหนังสือไปวางขายในร้าน สะดวกซื้อที่มีหลายสาขาปะปนไปกับถุงเท้าและกล่องใบชา เพื่อให้หนังสือกลายเป็นของใช้ในชีวิตประจ�ำของผู้คน หนังสือ ปกอ่อนสไตล์เพนกวินก็ได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งโลกการอ่าน ในภาษาอังกฤษจวบจนปัจจุบัน


5


กลับมาดูวิชาชีพนักท�ำหนังสือในไทยที่เรา คุ้นเคย สนทนากับ กรมัยพล สิริมงคลรุจิกุล หรือ เบิ้ม – wrongdesign กราฟิกดีไซน์เนอร์ ผู้สวมหมวกหลายใบในวงการหนังสือ การท�ำ รูปเล่มในฐานะงานคราฟต์ยังจ�ำเป็นหรือไม่ ในยุคที่ตลาดหนังสือแข่งขันกันสูงเช่นนี้-

เช่นการพิมพ์หรือการเข้าเล่ม ก็เป็นทักษะที่ดีไซน์เนอร์ไม่ควร มองข้าม เพื่อให้การเปิดอ่านที่สัมพันธ์กับคนอ่าน เช่น เมื่อจับ แล้วรู้สึกว่าขนาดเหมาะสม ใช้กระดาษที่ดี เราแนะน�ำให้คนท�ำหนังสือรุ่นใหม่ๆ สร้างงานขึ้นมาก่อน ไม่ว่า ยอดพิมพ์จะมีเท่าไรก็ตาม เมื่อถึงวันหนึ่ง การยืนระยะและ คุณภาพของงานจะเป็นตัวพิสูจน์เอง แต่จ�ำเป็นที่ส�ำนักพิมพ์หรือ นักเขียนจะต้องสร้างคาแรกเตอร์ให้ชัดเจน ควรหาดีไซน์เนอร์ ที่ตัวเองเชื่อใจ งานออกแบบปกหนังสือจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีใคร ชวนเขาไปออกแบบ สร้างงานไปด้วยกัน ไม่ใช่แค่ดีไซน์ แต่มัน คือชื่อเสียง ถ้าคนอ่านเคยอ่านเล่มที่ผ่านมาแล้วชอบ เขาก็จะ สนใจหนังสือเล่มอื่นๆ ได้เร็วขึ้น เป็นผลดีต่อธุรกิจสิ่งพิมพ์ใน ระยะยาว

วงการหนังสือไทยเจอปัญหาอะไรอยู่ ในยุคที่เราเริ่มท�ำหนังสือใหม่ๆ ยอดพิมพ์หนังสืออยู่ที่ประมาณ 3,000 เล่ม ปัจจุบันถอยมาถึง 2,000 หรืออาจจะ 500 เล่ม ข้อดี คือเมื่อเรื่องนี้มันบีบส�ำนักพิมพ์ บีบนักเขียนมากขึ้น เราเริ่มเห็น การปรับตัวของนักเขียนหลายคน จากเมื่อก่อนจะสนใจแต่ เรื่องงานของตัวเอง ไม่ได้สนใจเรื่องการขาย หรือการสื่อสารกับ คนอ่านเท่าไรเพราะเป็นหน้าที่ของส�ำนักพิมพ์ คนท�ำงานหนังสือรู้กันดีว่า หลังจากหนังสือใหม่ขึ้นชั้นในเวลา เพียง 2 สัปดาห์จะถูกเสียบสัน โอกาสที่คนจะเห็นก็น้อยลง หนังสือคงคลังจะไม่ถูกถ่ายออกไป กว่าจะได้เงินคืนเพื่อมาลงทุน พิมพ์เล่มถัดไปจึงยากมาก นี่คือระบบธุรกิจของวงการหนังสือเล่ม สะท้อนว่าท�ำไมส�ำนักพิมพ์กับนักเขียนจึงต้องปรับตัวและตามหา ที่มั่นอื่นๆ ยกตัวอย่างโมเดลที่น่าสนใจในสายวรรณกรรม เช่น การพรีออเดอร์ของพี่ม่อน (อุทิศ เหมะมูล) ก่อนจะท�ำก็โพสต์ปก ลงเฟซบุ๊ก สื่อสารกับช่องทางที่เขามี เริ่มเห็นว่าหนังสือมียอดคน สั่งมาเท่าไร หรือการพิมพ์จ�ำกัดแบบพี่ปอ (นิวัต พุทธประสาท) ที่พิมพ์ 500 เล่ม แต่มีฐานคนอ่าน สามารถจัดการหนังสือ ทั้งหมดโดยไม่ต้องเอาเข้าสายส่งทั่วไป มีทางใดที่น่าจะน�ำมาใช้ได้อีก

6

วิธีคิดที่น่าสนใจและได้ผลส�ำหรับ Openworlds คือการสร้าง คาแรกเตอร์ให้กับส�ำนักพิมพ์หรือตัวนักเขียนเอง การที่เราลด สัดส่วนงานพิมพ์ลง เราน่าจะโฟกัสที่การสร้างรูปแบบหรือหน้าตา ของหนังสือให้ชัดเจนขึ้น เพราะว่าในตลาดที่มีผู้เล่นเยอะและ ยังมีสื่ออย่างอื่นมาดึงคนอ่าน การสื่อสารที่ชัดเจนเป็นเรื่องส�ำคัญ ส�ำนักพิมพ์ก�ำมะหยี่เป็นตัวอย่างที่ดี เขาใช้เวลาสื่อสารจนชัดเจน ว่าเขาพิมพ์หนังสืออะไร หรือรูปลักษณ์หนังสือของเขาเป็นแบบไหน การใช้สันสีม่วง แรกๆ อาจว่าแปลก แต่พอระยะยาวมันช่วยได้มาก เมื่อคนอ่านไปร้านหนังสือ มองไปบนชั้นเห็นแค่สันเสียบอยู่ก็รู้เลย ช่วยให้คนท�ำกับคนอ่านเชื่อมโยงกันได้เร็วขึ้น ดีไซน์ส�ำคัญกับหนังสืออย่างไร ดีไซน์เป็นการสื่อสาร มันคือน�้ำเสียง อย่างเช่นเราไปเดินร้าน หนังสือต่างประเทศ เห็นปกเล่มหนึ่ง เราไม่เข้าใจภาษาหรอกว่า มันพูดว่าอะไร แต่ภาพที่อยู่บนปกคือน�้ำเสียงที่บอกเราว่ามัน ก�ำลังพูดด้วยโทนแบบไหน ฉันน่ารัก ฉันลึกลับ ฉันน่ากลัว ฉันน่าสนใจ หรือ ดูจัดจ้าน พวกนี้คือสิ่งที่มันคุยกับเรา หนังสือเป็นสื่อที่แปลก สามารถเสพจนจบโดยไม่ต้องซื้อก็ได้ ดีไซน์น่าจะเป็นแรงจูงใจอย่างยิ่งยวดทีท่ ำ� ให้ใครสักคนทีอ่ ่านแล้ว ชอบอยากจะซื้อกลับบ้าน กระตุ้นความต้องการ ส่วนเทคนิคอื่นๆ

ในอนาคตส�ำนักพิมพ์น่าจะเริ่มใส่ใจการออกแบบ หนังสือมากขึ้นไหม ที่ผ่านมา หนังสือถูกผลักไปอยู่ในเรื่องการขายอย่างเดียว เทศกาลหนังสือกรุงเทพฯ ซึ่งจะมาแสดงภาพการท�ำหนังสือที่ให้ ความใส่ใจกับกระบวนการผลิต ก็น่าจะท�ำให้คนอ่านเห็นว่าหนังสือ พวกนี้ก็มีชีวิตในมิติอื่นๆ หนังสือที่ไม่เคยถูกดึงขึ้นมาเล่า บางเล่ม ไม่ใช่หนังสือขายดี แต่คนท�ำละเอียด มีกระบวนการคิดที่น่า สนใจ จะได้มีโอกาสน�ำเสนอตัวเองมากขึ้น แผนกออกแบบของส�ำนักพิมพ์ต่างประเทศ เช่น Random House ประสบความส�ำเร็จแทบจะเป็นสถาบันเลย คนที่ท�ำงานนี้ มีบทบาทและมีเสียงในการสื่อสารกับตัวบรรณาธิการเล่ม อย่าง ชิป คิดด์ (Chip Kidd) ได้จ้างปีเตอร์ เมลดิซึน (Peter Mendelsund) เข้ามา ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรม หนังสือเล่มหนึ่งจะบอกได้ว่าดีหรือไม่ ต้องใช้เวลา ขึ้นชั้น รอ คนอ่าน คนพูดถึง แต่ปกหนังสือเวลาออกไปกระทบต่อสายตา จะเป็นที่พูดถึงได้อย่างรวดเร็ว เป็นข้อพิสูจน์ว่า ส�ำนักพิมพ์ที่ ให้ความส�ำคัญต่อการออกแบบไม่แพ้ต้นฉบับ สามารถสร้าง ผลกระทบต่อคนอ่านและโลกการอ่านได้

หนังสือเป็นสื่อที่แปลก สามารถเสพจนจบโดย ไม่ต้องซื้อก็ได้ ดีไซน์น่าจะเป็นแรงจูงใจอย่าง ยิ่งยวดที่ท�ำให้ใครสักคนที่อ่านแล้วชอบอยาก จะซื้อกลับบ้าน กรมัยพล สิริมงคลรุจิกุล (wrongdesign) กราฟิกดีไซเนอร์


7


บทบาทของเทศกาลวรรณกรรมในตลาด ความสร้างสรรค์ - อาวุธใหม่ในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจของทุกประเทศ-

Creative Economy เมื่อเศรษฐกิจแบบผลิตเพื่อเน้นปริมาณไม่เอื้อต่อการเติบโต ของประเทศก�ำลังพัฒนาอย่างที่เคยเป็น เพราะแรงงานมนุษย์ ถูกเบียดขับออกไปด้วยเครื่องจักรกล ทรัพยากรร่อยหรอ และ เศรษฐกิจก็อ่อนไหวต่อกลไกตลาดโลกที่มีแข่งขันกันสูง จอห์น ฮาวกินส์ (John Howkins) ผู้เขียน The Creative Economy: How People Make Money from Ideas ชี้แนะให้รัฐต่างๆ เริ่มผลักนโยบาย “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” น�ำหน้า นั่นคือการให้ คุณค่ากับไอเดียและความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งในอดีตอาจถูกมอง ข้ามเพราะดูเป็นเรื่องนามธรรม แต่ท้ายสุดแล้วสิ่งเหล่านี้จะเข้ามา เพิ่มมูลค่าให้เศรษฐกิจในองค์รวม ในบรรดาศิลปะกระตุ้นต่อม จินตนาการทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์ ดนตรี การละคร หรือหนังสือสื่อสิ่งพิมพ์ ถือเป็น 1 ใน 4 อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เป็นทุนทางวัฒนธรรมที่หลายรัฐเริ่มให้การสนับสนุน Literary Markets แล้วเทศกาลวรรณกรรมซึ่งก�ำลังผลิบานมีบทบาทอย่างไรกับ ความเคลื่อนไหวที่น่าจับตามองนี้ ซาราห์ บรุยแย็ตต์ (Sarah Brouillette) อาจารย์ภาควิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยคาร์ลตัน มองว่านี่คือพื้นที่นัดพบกันระหว่างโลกวรรณกรรมกับโลกธุรกิจ ซึ่งเป็นสองโลกที่เหมือนอยู่คู่ขนานกันมานาน แวดวงวรรณกรรม ถูกมองว่าถีบตัวห่างขึ้นไปอยู่บนหอคอยงาช้าง เป็นผลผลิตที่ เสพกันเองในหมู่ชนอีกระดับ อาจเป็นผลพวงมาจากความคิด ว่าวรรณกรรมที่มีคุณค่าไม่ควรมาแปดเปื้อนกับความต้องการ ของตลาด ศิลปินต้องแสดงตัวตนออกมาอย่างบริสุทธิ์ งานเขียน จึงจะเป็นวรรณกรรมที่แท้

8

แต่ต้องยอมรับว่าในท้ายที่สุด หนังสือที่ได้รับการตีพิมพ์ออกมา ล้วนเป็นสินค้าที่ผู้ผลิตต้องการให้ขายได้ เทศกาลวรรณกรรม จึงเสมือนทางสายกลางที่ผู้เขียน ผู้ขาย และนักอ่าน ได้มาเห็นหน้า ค่าตากัน โอกาสนี้นักเขียนผู้สร้างสรรค์ก็จะได้ฟังเสียงตอบรับ จากสังคมที่ผลงานของเขาไปปรากฏอยู่ว่าเป็นอย่างไร โดยไม่ได้ ดูเพียงยอดขาย และก็ไม่ได้จ�ำนนให้กับความต้องการของตลาด อย่างที่เคยขยาดกัน ในทางกลับกัน ผลงานที่ออกมาเหล่านี้ก็จะ กลายเป็นบรรทัดฐานของความสร้างสรรค์ในสังคม ป้อนไอเดีย ใหม่ๆ ลงไปให้ผู้อ่านได้เสพชม Branding Books มองไปรอบๆ ไม่ว่าวงการไหน เราจะเห็นว่ามีคนมากมายเริ่ม โบกมือลาการท�ำงานกับองค์กรขนาดใหญ่ แล้วเริ่มท�ำอะไรที่ เป็น “ของตัวเอง” ไม่ว่าเงินทุนจะตั้งต้นอยู่ที่ระดับใด พวกเขาก็ มีส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนเศรษฐกิจสมัยใหม่ วิถีการท�ำงาน ของคนยุคนี้อาจไม่ต้องอิงกับการงานมั่นคง แต่เป็นจ�ำนวน โครงการที่พวกเขาท�ำส�ำเร็จเป็นชิ้นเป็นอัน ปัจเจกชนเหล่านี้จึง ให้ความส�ำคัญกับการสร้างแบรนด์ให้ตัวเองอย่างมาก ไม่ต่าง จากยี่ห้อสมาร์ทโฟนซึ่งไม่ได้ผลิตเพียงวัตถุ แต่สร้างอัตลักษณ์ ออกมาขายด้วย

ในแวดวงหนังสือ ชื่อนักเขียนก็ถือเป็นแบรนด์ที่ปะหราบนหน้าปก นักเขียนเริ่มให้ความส�ำคัญกับการปรากฏตัวต่อหน้าสาธารณชน โต้ตอบกับผู้อ่านมากขึ้น ตระหนักว่าชื่อของตนมีอิทธิพลต่อการ ซื้อหนังสือหรือได้รับเชิญไปพูดในงานต่างๆ เทศกาลวรรณกรรม น่าจะเป็นประตูลัดที่นักอ่านมีโอกาสได้เข้าไปประชิดตัวผู้ผลิต ผลงานนั้นได้เลย เทศกาลวรรณกรรมยังเป็นบ่อเกิดของการสร้างเชื้อไฟให้เกิด นักเขียนรุ่นใหม่ๆ ขึ้นมา ผ่านงานเสวนา นิทรรศการ การได้ เข้าใกล้มนุษย์ที่คลุกคลีอยู่ในภาคงานสร้างสรรค์หรือกิจกรรม

เทศกาลวรรณกรรมคือพืน ้ ทีน ่ ด ั พบกัน ระหว่ า งวรรณกรรมกั บ โลกธุ ร กิ จ สองโลกที่เหมือนอยู่คู่ขนานกันมานาน ซาราห์ บรุยแย็ตต์ มหาวิทยาลัยคาร์ลตัน สนับสนุนการเขียนอื่นๆ ยกตัวอย่างเช่น กิจกรรม Lit Mart ที่ Bangalore Literature Festival ซึ่งเปิดให้นักอ่านที่อยากเป็น นั ก เขี ย นได้ ล องขายผลงานต่ อ ส� ำ นั ก พิ ม พ์ แ ละเอเจนซี่ ต ่ า งๆ นักเขียนเกิดใหม่เหล่านี้เองจะกลายเป็นผู้ผลิตคอยเติมไอเดีย เพิ่มเข้าไปให้กับระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เทศกาลวรรณกรรมแต่ละครั้งจึงไม่ได้หยุดเพียงแค่ความครื้นเครง ไม่กี่วันในเทศกาล แต่มันหมายถึงการส่งระลอกคลื่นแห่งความ สร้างสรรค์ทบทวีเข้าไปในมูลค่าโดยรวมของทั้งเศรษฐกิจ

“A book c o v e r i s a dis t illat i on. It is a h ai ku o f the stor y . ” Chip Kidd “ปกหนังสือคือการกลั่นกรอง เป็นบทกวีไฮกุของเรื่องราว” - ชิป คิดด์


9


ย้อนไปเมื่อศตวรรษที่ 15 ไม่ไกลจากเมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศ เยอรมนี โยฮันน์ กูเทนแบร์ก ได้ผลิตแท่นพิมพ์แบบจัดเรียง อักษรได้เครื่องแรก สถานที่ดังกล่าวจึงกลายเป็นต้นก�ำเนิด October / Annually ศูนย์กลางเมืองหนังสือต่อเนื่องมา จนในที่สุดก็พัฒนาเป็น Next event: เทศกาลอายุกว่า 60 ปี ปัจจุบันนี้แฟรงก์เฟิร์ตบุ๊กแฟร์เป็นบริษัท 14-18 October จัดเทศกาลจริงจังเนื่องจากหนังสือคือสินค้าที่ซื้อหากันอย่าง 2015 คึกคักในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ มีเงินไหลเวียนอยู่ไม่ใช่น้อยๆ แต่ อย่าเพิ่งคิดภาพคนเดินแออัดเบียดเสียดกันเพื่อหยิบหนังสือใส่ กระเป๋าลาก แฟรงก์เฟิร์ตบุ๊กแฟร์คือจุดนัดพบที่นักเขียน ผู้จัด จ�ำหน่ายหนังสือ เอเจนซี่ ส�ำนักพิมพ์ และผู้ที่อยู่ในวงการสื่อ ต่างๆ มาซื้อขายลิขสิทธิ์ ติดต่อหาสายสัมพันธ์ และเปิดหูเปิดตา หาความสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในระดับสากล จนแฟรงก์เฟิร์ตขนาน นามตัวเองว่า “เมืองแห่งไอเดียของโลก” (Global City of Ideas)

More info: tokyolitfest.com/en Stats ผู้เข้าร่วมงานประมาณ 2,500 คน ใน 3 วัน ตั้งแต่ครั้งแรกก็มีนักเขียนโนเบลอย่าง เจ.เอ็ม. โคทซี (J. M. Coetzee) มาร่วมงาน

Frankfurt Book Fair

More info: buchmesse.de/en/fbf Stats มีผู้เข้าร่วมงาน 269,534 คน ผู้ออกบูท 7,300 ราย จาก 132 ประเทศ

Ubud Writers' and Readers' Festival Annually Next event: 28 October 1 November 2015

เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา เหล่าโยคีโลกวรรณกรรมพากัน ตบเท้า เดินเข้าสู่นครสีชมพูกันอย่างคึกคัก กลิ่นเครื่องเทศและ คราบลาสซี่อาจได้สัมผัสกับริมฝีปากของนักเขียนมากมายกว่า 300 ชีวิต ซึ่งนักเขียนไทยอย่าง ชาติ กอบจิตติ เรวัตร์ พันธุ์January / Annually พิพัฒน์ และอุทิศ เหมะมูลก็เคยได้ไปเยือนเทศกาลวรรณกรรม Next event: แดนส่าหรีที่ว่านี้และน�ำมาเล่าให้ฟังในวารสารปรากฏมาแล้ว 21-25 January แม้จะจัดมาเพียง 8 ครั้ง แต่ผู้จัดงานเทศกาลวรรณ2016 กรรมชัยปุระแห่งอินเดียก็ประกาศกร้าวว่างานนี้เป็นงาน เทศกาลหนังสือ “เข้าร่วมฟรี” ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใหญ่ขนาดที่มี กิจกรรมถึง 209 รายการจัดในสถานที่ 10 แห่ง ซึ่งรวมถึง “Hawa Mahal” แลนด์มาร์กส�ำคัญของนครชัยปุระแห่งนี้ด้วย เรียกได้ว่า ต่อให้เป็นทศกัณฐ์มีสิบหน้าก็ไม่สามารถจะหันไปฟังได้ครบ Jaipur Literature Festival

More info: jaipurliteraturefestival.org Stats ผู้เข้าร่วม 245,000 คน นับจากการผ่านประตู ผู้เข้าร่วมงานต่างชาติกว่า 50 ประเทศ 5,000 กว่าคน คือจ�ำนวนคนที่เข้าฟังเวที วี.เอส. ไนพอล (Sir V.S. Naipaul) ขึ้นพูด 10

Tokyo International Literary Festival March / Annually Next event: ยังไม่ประกาศ

แปลกใจไหม ถ้าจะบอกว่าเทศกาลวรรณกรรมของโตเกียวเพิ่งจัด เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2013 นี่เอง สาเหตุมาจากเดวิด คาราชิม่า (David Karashima) ผู้จัดการโครงการนานาชาติ Read Japan มักถูกสื่อต่างชาติไถ่ถามอยู่เสมอว่า ท�ำไมเมืองแห่งการอ่านอย่าง โตเกียวจึงไม่มีงานแบบนี้เสียที และนักเขียนคนใดในวงการเล่า จะเป็นฮารูกิ มูราคามิคนต่อไป ค�ำถามที่สองนั้น เขาตอบไม่ได้ แต่เขาตอบค�ำถาม แรกด้วยการสร้างมันขึ้นมา เทศกาลวรรณกรรมนานาชาติ โตเกียวเปิดฉากด้วยสารพัดกิจกรรมแหวกแนวที่ดึงเอามวลชน เข้ามาร่วมปะปนไม่เฉพาะวงหนอนหนังสือ เช่น การอ่านบทกลอนญี่ปุ่นผ่านล�ำโพงในห้างสรรพสินค้า น�ำหนังสือไปจัดวาง ในพื้นที่ต่างๆ ในเมือง ฉายวีดิทัศน์และการแสดงสดในย่าน ครึกครื้นอย่างย่านรปปงงิ ให้นักเขียนอิชี่ ชินจิ (Ishii Shinji) เขียนเรื่องสั้นบนรถไฟและบันทึกภาพไว้ตลอดทาง แล้วแยก ชิ้นส่วนงานเขียนมาให้ผู้ร่วมงานปะติดปะต่อเรื่องราวกันเอง เพื่อให้พวกเขาพูดคุยกัน ทั้งหมดนี้เพื่อ "ดึงหนังสือที่ดูเป็นของหรูหราลงมาคลุกคลีกับคนทั่วไป" ละเมียดละไมสมเป็นญี่ปุ่นคูลๆ

หลังเหตุการณ์ระทึกขวัญจากการก่อการร้ายบนเกาะบาหลี อินโดนีเซีย เมื่อปี 2002 เจเน็ต ดินีฟ (Janet Deneefe) เกิด ความคิดจะฟื้นฟูเศรษฐกิจและจิตใจของชนชาวอูบุดด้วยพลัง สร้างสรรค์ทางวรรณกรรม ปี 2004 กลิ่นดินปืนอาจยังไม่จาง ไปส�ำหรับใครบางคน แต่เทศกาลวรรณกรรมครั้งแรกก็เกิดขึ้น บนดินแดนแห่งป่าดิบชื้น เมืองท่องเที่ยว และรังสร้างสรรค์แห่ง ศิลปินนี้ โดยเลี่ยงไม่ได้ที่จะผนวกประเด็นทางการเมืองเข้ามา ในบทสนทนาด้วย ธีมในการจัดงานคือสุรัสวตี เทพแห่งศิลปวิทยาการ แห่งฮินดู สะท้อนบริบทวัฒนธรรมของเกาะบาหลีที่เป็นฐาน ที่มั่นของชาวฮินดูซึ่งอยู่ในอินโดนีเซีย ตลอดงาน 5 วัน มีทั้งกิจกรรมเสวนา เวิร์กช็อป ฉาย ภาพยนตร์ และพิเศษไปกว่านั้นคือกิจกรรมสอนท�ำอาหาร เอมิลี โซอี เบเกอร์ (Emilie Zoey Baker) นักเขียนชาวออสเตรเลียน ผู้ร่วมงานแสดงความประทับใจ บอกว่างานเทศกาลวรรณกรรมนี้ ไม่เหมือนที่ใด เพราะมันคือการปะทะกันของวัฒนธรรมหลากหลายในพื้นที่เมืองเล็กๆ อย่างอูบุด

Irrawaddy Literary Festival 4th Quarter/ Annually Next event: ยังไม่ประกาศ

More info: ubudwritersfestival.com Stats 237 กิจกรรมในสถานที่มากกว่า 50 แห่ง นักเขียน 165 คนจาก 25 ประเทศ ผู้เข้าร่วมชมงานประมาณ 26,884 คน ราคาตั๋วเข้างานที่ถูกที่สุดส�ำหรับชาวต่างชาติ คือ 850 บาทต่อวัน (ราคานักศึกษา)

ส�ำหรับสื่อต่างชาติอย่าง เดอะการ์เดียน เทศกาลวรรณกรรม นานาชาติอิรวดีที่เมียนมาร์ ดูเป็นเรื่องเหนือความคาดหมาย เพราะการเมืองที่ยังคุกรุ่นด้วยกลิ่นอายเผด็จการและความ หวาดกลัวที่ยังเกาะกุมใจเหล่านักเขียน กวี และศิลปินที่เพิ่งพ้น สภาพนักโทษมาหมาดๆ มาร์กาเร็ต ไซมอนส์ (Margaret Simons) ผู้สื่อข่าว เขียนบรรยายสถานการณ์ตงึ เครียดภายในงานครัง้ แรกเมือ่ น�ำ้ เปล่าขาดแคลน คาดว่ามีเงื่อนง�ำเกี่ยวข้องกับรัฐบาล เพราะ ก่อนหน้านี้ผู้น�ำทหารอาจไม่รู้ว่างานวรรณกรรมที่พวกเขาอนุญาต ให้จัดนั้นจะไปไกลถึงขั้นถกเถียงเรื่องเสรีภาพในการแสดงออก งานเทศกาลจัดตั้งขึ้นโดยเจน ไฮน์ (Jane Heyn) ภริยาทูตสหราชอาณาจักรในเมียนมาร์ และสนับสนุนโดย อองซาน ซูจี มีขึ้นครั้งแรกในปี 2013 แม้จะขลุกขลักตามปัจจัย ไม่แน่นอนต่างๆ ทั้งงบประมาณและบรรยากาศทางการเมือง ที่ยังมั่นใจอะไรไม่ได้ แต่พวกเขาก็ท�ำส�ำเร็จ มีผู้เข้าร่วมถึง หนึ่งหมื่นคนและจัดต่อเนื่องมาจนขึ้นปีที่สาม พันธกิจที่ผู้จัดงานคาดหวังมากกว่าปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ใดๆ คือการฟื้นฟูขุมทรัพย์วรรณกรรมที่สูญหายจากเมียนมาร์ ไปหลายปี และเชื่อมโลกวรรณกรรมเมียนมาร์กับประชาคมโลก อีกครั้งหลังจากโดนปิดกั้นมาเนิ่นนาน More info: irrawaddylitfest.com Stats จัดเพียงครั้งแรกก็มีผู้เข้าร่วมถึงกว่า 10,000 คน ประกอบด้วยบุคลากรในวงการวรรณกรรมพม่า 120 คน และต่างชาติอีกประมาณ 25-30 คน


Bangkok Book Festival 2015 งานเทศกาลหนังสือกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 ซึ่งจัดขึ้นวันที่ 17-19 กรกฎาคม 2558 ที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร นับเป็นความพยายามครั้งแรกในการเปิดพื้นที่เพื่อแสดงมิติอื่นๆ ของวงการหนังสือ ในฐานะที่ หนังสือเป็นงานศิลปะที่ต้องใช้ความทุ่มเทในเชิงช่าง ทั้งการเขียน การออกแบบ การแปล การวาดภาพประกอบ การบรรณาธิการ ฯลฯ รูปแบบงานจึงเน้นไปที่บทบาทส�ำนักพิมพ์ขนาดเล็กและร้านหนังสืออิสระอันมีเอกลักษณ์ และใส่ใจศิลปะการท�ำหนังสือ เพื่อสร้างบรรยากาศให้ผู้ชมงานได้พบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนในวิชาชีพ เหล่านี้ได้โดยตรง ความพิเศษในงานครั้งแรกนี้ ได้แก่ การเสวนาและเวิร์กช็อปที่น่าสนใจกว่าสิบรายการ รวมทั้งแขกรับเชิญ ต่างชาติอย่าง Ume Kayo ช่างภาพชาวญี่ปุ่น และ Kenny Leck เจ้าของร้านหนังสือ BooksActually ที่สิงคโปร์ งานนี้เข้าร่วมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ

More info: bangkokbookfestival.com

Unclimbed Mountain :WIPAS SRITHONG วิภาส ศรีทอง (นักเขียนรางวัลซีไรต์ ปี 2555) คือ นักเขียนไทยเพียงคนเดียวที่ได้รับเชิญไปพูดในงาน Jaipur Literature Festival 2015 ประเทศ อินเดีย งานมหกรรมทางวรรณกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด งานหนึ่งของโลกบรรยากาศภายในงานเป็นอย่างไร ผมสัมผัสได้ถึงความทะเยอทะยานของอินเดียที่ปรารถนาให้ ตนเองเป็นศูนย์กลางวรรณกรรมและวัฒนธรรมของเอเชีย จะเห็น ว่าที่นั่นมีส�ำนักพิมพ์ Random House และ Penguin เปิด ท�ำการอยู่ ช่วงที่จัดงาน เมืองไจเปอร์ (Jaipur) ทั้งเมืองคึกคักมาก คนหนุ่มสาวนักศึกษาทั่วประเทศเดินทางมาที่นี่จนเที่ยวรถไฟและ โรงแรมเต็มหมด ผู้จัดงานดึงดูดคนที่มาฟังด้วยนักเขียนชื่อดัง แต่ไม่มีพิธีรีตองเยอะเหมือนบ้านเรา ประกอบกับธรรมชาติของ คนอินเดียเป็นคนช่างซักถาม ไม่ขี้อาย อาจเพราะรับวัฒนธรรม การอ่านการวิจารณ์ที่เข้มแข็งจากอังกฤษ บางเวทีที่มีหัวข้อ เข้มข้นเกี่ยวกับพรมแดน หรือประเด็นอ่อนไหวเรื่องชาติพันธุ์ ผู้ฟังอาจถกเถียงกันดุเดือด จากพูดภาษาอังกฤษก็เปลี่ยนเป็น ทะเลาะกันด้วยภาษาถิ่นของตัวเองเลยก็มี น�ำเสนอประเด็นอะไรบนเวทีเสวนาบ้าง ผมน�ำเสนอว่าวัฒนธรรมเหมือนยอดภูเขาที่ซ่อนฐานรากไว้ใต้ มหาสมุทร เราไม่จ�ำเป็นต้องรักษามันไว้เสมอไป หากมันท�ำให้ เราเป็นอย่างที่เป็นทุกวันนี้ เราควรกลับไปตั้งค�ำถามกับสิ่งที่เคย เป็นมากกว่า เช่นว่าขนบประเพณีการไหว้ หรือการนับพี่เรียกน้อง มันช่วยท�ำให้เกิดระบบอุปถัมภ์ขึ้นหรือเปล่า สัตว์ประหลาดอย่าง เผด็จการ ไม่ใช่ว่าจะเกิดขึ้นมาได้เอง มันเป็นเพียงแค่ปลายยอด ของสิ่งที่ใหญ่โตกว่ามาก วัฒนธรรมจ�ำเป็นยิ่งยวดส�ำหรับความก้าวหน้า เป็นผลรวมแห่ง ความส�ำเร็จที่ผ่านความล้มเหลวมามากมาย แต่ปัญหาคือ วัฒนธรรมของเราปฏิเสธการวิพากษ์ ไม่เปิดพื้นที่ส�ำหรับการ

วิจารณ์ ไม่ยอมรับความเห็นที่แตกต่าง จนกลายเป็นก้อนแข็ง ตายตัวสูญค่า พวกเขาสร้างเรื่องเล่าแข็งเกร็งหล่อเลี้ยงและรักษา ภาพลวงตา ด้วยหวังผลตามค�ำกล่าวที่ว่า หากคุณจะก�ำหนด อนาคต คุณต้องควบคุมอดีตไว้ให้ได้ มุมมองต่อวรรณกรรมไทยปัจจุบันเป็นอย่างไร เราก�ำลังอยู่บนระลอกคลื่นของความขัดแย้งทางการเมืองอยู่ดีๆ ก�ำลังเกิดการถกเถียงและความหวังที่จะเป็นสังคมประชาธิปไตย พอเกิดรัฐประหาร ปี 2557 ประเทศไทยยังคงกฎอัยการศึกใน ระบอบเผด็จการ งานของผมและใครอีกหลายคนก�ำลังอธิบาย ให้เห็นว่าเกิดอะไรขึ้นกับประเทศนี้ มันเป็นความเศร้าที่กินลึก ผมเรียกงานกลุ่มนี้ว่า "วรรณกรรมหลังรอยแผล" (Post-Wounded Literature) ซึ่งมีมากขึ้นเป็นล�ำดับ งานของผมจัดเป็นวรรณกรรมซีเรียส มีหน้าที่ตั้งค�ำถามกับสิ่งต่างๆ เพื่อชวนสังคมให้สงสัยว่าแบบแผนความคิด ค่านิยม หรือองค์ประกอบใดกรุยทางมายังจุดที่เรายืนอยู่ ผมเขียนเพื่อแสดงให้เห็น อันตรายจากการประนีประนอม เขียนเพื่อทลายกรอบเกณฑ์ ที่จ�ำกัดเราไว้ วิพากษ์วิจารณ์ ตรวจสอบ และตั้งค�ำถามวัฒนธรรม ที่ต่อต้านการใช้เหตุผลและเป็นอริต่อการสร้างส�ำนึกประชาธิปไตย นั่นคือภูเขาสูงชันที่สังคมไทยยังไม่อาจก้าวข้ามไป งาน ลักษณะนี้ต่างหากที่ต่างชาติก�ำลังจับตามองและรอคอยอ่าน จากนักเขียนไทย เพื่อท�ำความเข้าใจสิ่งที่เราก�ำลังเผชิญอยู่ เสียงของนักเขียนไทยในเวทีโลก ในสายตานานาชาติ ประเทศไทยเป็นประเทศเล็กๆ อาจเป็นหรือ เคยเป็นจุดศูนย์กลางของการท่องเที่ยวแถบอาเซียนเท่านั้นเอง นอกจากนี้ เสียงของนักเขียนไทยไม่มีอะไรให้เขาสนใจ เราไม่มี งานเขียนที่ดีพอและงานแปลมากพอให้เขาท�ำความรู้จัก สิ่งที่ ผมเตรียมไปพูดไม่ใช่การโฆษณางานของตัวเอง ผมต้องการให้ ต่างชาติรู้ว่านักเขียนไทยไม่ได้เป็นเหมือนกันหมด ไม่ได้คิดหรือ เห็นด้วยกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ผมท�ำได้เพียงบอกพวกเขา ว่าหากเมืองไทยยังเป็นเช่นนี้อยู่ กรุณาอย่าเดินทางมาที่นี่เลย

11


Book Binding

ที่ไร้แดดและคืนที่ไร้ดาว “ปราก” เมืองโรแมนติกแห่ง ยุโรปตะวันออกจะถูกปกคลุมด้วยความเหน็บหนาวแทบไร้เสียง ผูค ้ น ท่ามกลางบรรยากาศทีเ่ หมือนมีมนต์สะกดนัน ้ คุณอาจ ได้ยินชายผู้หนึ่งนั่งสนทนาอยู่ริมหน้าต่างกับครูของเขาด้วย เสียงแผ่วเบาในตึกเก่ากลางใจเมือง หรืออาจจะสัมผัสได้ถึง ความปวดร้าวแบบทีเ่ ขาเคยรูส ้ ก ึ ยามต้องเดินฝ่าความเย็นเยียบ ลัดเลาะไปตามตรอกแคบเสมือนเขาวงกตทีไ่ ม่อาจหลุดพ้น ชาย คนนัน ้ คือ คาฟกี้ (หากเรียกแบบชาวเช็ก) หรือ ฟรันซ์ คาฟคา (1883-1924) นักเขียนคนส�ำคัญที่คุณรู้จักดีจากนวนิยาย หลายเล่ม เช่น กลาย (Die Verwandlung) ปราสาท (Das Schloß) หรือความเรียงขนาดสัน ้ อย่าง จดหมายถึงพ่อ (Brief an den Vater)

อาณาจักรเหนือจริงของคาฟคา และคนรักคาฟคา

12

คาฟคาเกิด เติบโต เรียนหนังสือ ท�ำงาน และใช้ชีวิตอยู่ในกรุงปราก แต่บั้นปลายชีวิตของเขาไปจบลงที่กรุงเวียนนา งานเขียนที่เขา รังสรรค์ขึ้นปรากฏต่อสายตานักอ่านรุ่นหลังเพราะเพื่อนสนิท ที่ชื่อ มักซ์ โบร็ท ไม่ยอมท�ำลายต้นฉบับตามที่คาฟคาสั่งเสีย ไว้ก่อนที่เขาจะเสียชีวิต ผลงานเหล่านั้นจึงกลายเป็นมรดกทาง วรรณกรรมชิ้นส�ำคัญตกทอดผ่านกาลเวลามาจนถึงปัจจุบัน ส�ำหรับผู้ที่สนใจภาษาและวรรณคดีเช็ก ปรากคือศูนย์กลางการ ศึกษาประวัติศาสตร์ทางวรรณกรรมของยุโรปอีกแห่งหนึ่งที่เปิดรับ ทุกคนให้มีโอกาสใกล้ชิด และท�ำความเข้าใจแนวคิดและอิทธิพล ต่างๆ ที่มีต่องานเขียนของคาฟคารวมถึงนักเขียนในแถบยุโรป ตะวันออกคนอื่นๆ ถึงแม้จะผ่านมาหลายทศวรรษ แต่ดูเหมือนอารมณ์ความรู้สึก ของคาฟคาจะยังอบอวลให้สัมผัสได้ การมีโอกาสเยี่ยมเยือน สถานที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเขา ไม่ว่าจะทั้งทางตรงและทางอ้อม ยิ่งท�ำให้เราได้รับรู้ถึงแรงขับที่ท�ำให้เกิดวรรณกรรมอมตะเหล่านั้น เริ่มที่บ้านเกิดของคาฟคา ซึ่งเป็นตึกเก่าอายุนับร้อยปี ปัจจุบัน ตึกนี้ได้รับการบูรณะซ่อมแซมใหม่หลังจากที่โดนอัคคีภัยท�ำให้ เสียหายจนแทบไม่เหลือเค้าเดิม และแปรสภาพเป็นร้านกาแฟ คาฟคา หรือ Kafka Café เชื้อเชิญให้ทุกคนเข้าไปหลบหนาว ด้วยภาพของคาฟคาในวัยหนุ่มที่กระจกด้านหน้า ภายในคาเฟ่


เรื่องและภาพ อาทิตยา ตันสกุล

Book Binding

ตกแต่งอย่างเรียบง่าย (หันไปทางไหนก็จะเห็นแต่รูปของคาฟคา) ราคาอาหารและเครื่องดื่มสบายกระเป๋า บริกรจะปล่อยให้เรา ซึมซับความเป็นปราก ความเป็นคาฟคาตามอัธยาศัย การได้นั่ง จิบกาแฟอุ่นๆ ในร้านหัวมุมถนนแบบนี้ในยามบ่ายจึงเป็นทางเลือก ที่ไม่เลวนักในวันหนาว ห่างจากคาฟคา คาเฟ่ไปเพียงสิบก้าวคือจัตุรัสเก่ากลางเมือง หรือที่เรียกว่า โอลด์ ทาวน์ สแควร์ ที่นักท่องเที่ยวคุ้นเคยกันดี จัตุรัสแห่งนี้โอบล้อมด้วยตึกรามร้านรวง ทั้งร้านขายกระดาษ โบราณและงานฝีมือ ร้านขายสินค้าและอาหารตามแบบฉบับ ดั้งเดิมของชาวเช็ก ห้องแสดงงานศิลปะ ร้านขายเสื้อผ้าและ ของที่ระลึก หรือแม้แต่ร้านนวดแผนไทย (ซึ่งค่อนข้างกว้างขวาง จนน่าสงสัยว่าเป็นเพราะคนไทยมาเดินเที่ยวเยอะมากกว่าชาติ ไหนๆ หรือเปล่า) ตัดภาพไปร้อยปีก่อน ร้านรวงสมัยใหม่เหล่านี้ คือชุมชนใหญ่ซึ่งเป็นที่เกิด ที่อยู่อาศัย และที่สุดท้ายของชีวิต ของตระกูลคาฟคาแทบทุกคน เพราะความที่ครอบครัวคาฟคา เป็นพ่อค้าและมีการโยกย้ายเปลี่ยนแปลงที่อยู่บ่อยๆ จึงกล่าว ได้ว่าทุกอณูเนื้อบรรยากาศจะมีกลิ่นอายของความเป็นคาฟคา อยู่บนถนนแทบทุกสายที่ทอดตัวออกไปจากจัตุรัสแห่งนี้ แต่หากต้องการท�ำความรู้จักคาฟคาอย่างกระชับ ณ มุมหนึ่ง ของจัตุรัสนี้เองเป็นที่ตั้งของร้านหนังสือคาฟคา หรือ Kafka Bookshop มองจากด้านนอกจะเห็นหน้าต่างกระจกบานใหญ่ มีโปสเตอร์ข่าวและประกาศต่างๆ แปะติดไว้ดูไม่ต่างจากร้าน หนังสืออื่นๆ ในปราก ร้านหนังสือขนาดเล็กแห่งนี้คือแหล่ง รวบรวมผลงานของคาฟคาทุกเรื่อง ทุกเล่มล้วนถูกคัดสรรมา จากส�ำนักพิมพ์ต่างๆ จากทั้งในและนอกประเทศ สามารถเลือก ซื้อผลงานของคาฟคาและหนังสือที่เกี่ยวกับคาฟคาที่เพิ่งตีพิมพ์ ใหม่หรืออิดิชั่นดั้งเดิมได้อย่างจุใจ ทั้งฉบับภาษาเช็ก ภาษา เยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ฯลฯ รวมทั้งเครื่องเขียน ของที่ระลึกที่เกี่ยวกับคาฟคาน่าสะสม เช่น ที่คั่นหนังสือ ดินสอ ปากกา โปสการ์ด โปสเตอร์ สมุดบันทึก ฯลฯ ซึ่งสามารถจับจ่าย ด้วยเงินสกุลยูโรและโคลูนาเช็ก

และถ้าอยากย้อนเวลาไปหาคาฟคาเพื่อให้เห็นภาพชัดกว่าเดิม พิพิธภัณฑ์คาฟคา หรือ Kafka Museum ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ วอลทาว่า อีกฝั่งของสะพานชาลส์บริดจ์ จะท�ำให้คุณประทับใจ เมื่อได้เข้าไปเยี่ยมชม ประตูเข้าด้านหน้ามีโปสเตอร์ภาพถ่าย คาฟคาติดที่ริมก�ำแพง ข้างประตูทางเข้าตัวตึกมิวเซียมมีอักษร รูปตัว K ท�ำด้วยเหล็กขนาดใหญ่ตั้งใจสื่อความหมายถึงตัวคาฟคา และตัวละครของเขา เจ้าหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใส คอยดูแลให้ ค�ำแนะน�ำผู้มาเยือนเป็นอย่างดี ก้าวแรกเมื่อเดินเข้าไปด้านใน ทีแ่ สดงนิทรรศการ คุณจะเห็นแต่ความมืดมิดและได้ยนิ เสียงสายน�ำ้ ป้ายแรกที่มีให้อ่านนั้นเล่าถึงเรื่องราวในวัยเด็กของคาฟคา และ ความรู้สึกที่เขามีต่อบิดาผู้เข้มงวดกวดขัน ป้ายนั้นแนะน�ำให้คุณ หลับตา แล้วลองฟังเสียงน�้ำไหล ซึ่งนั่นคือปฐมบทที่จะเริ่มท�ำให้ คุณรู้ได้ว่าคาฟคาคือใคร (และคาฟคารู้สึกอย่างไรเมื่ออยู่กับพ่อ ของเขา) ใกล้ๆ กันมีต้นฉบับจดหมายที่คาฟคาเขียนถึงพ่อ แสดง ความอัดอั้นตันใจกับการต้องใช้ชีวิตอยู่ใต้บิดาอาณัติ ความรู้สึก ของคุณจะเริ่มเปลี่ยนไปเมื่อผัสสะทุกอย่างค่อยๆ โดนทุกสิ่งใน พิพิธภัณฑ์เร่งเร้า เชื้อเชิญ และบีบคั้น จดหมาย ไดอารี ภาพถ่าย ครอบครัว คนรัก หนังสือฉบับพิมพ์แรกทุกเล่ม ภาพวาดลายเส้น ตัวอย่างลายมือของคาฟคา รวมทั้งภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ที่แสดง ผ่านสื่อมัลติมีเดียที่บิดเบี้ยวผิดรูป ทุกอย่างที่แสดงอยู่นั้นคือ ค�ำอธิบายถึงความส�ำเร็จในอดีตที่หม่นหมองและจิตใจอันสั่นคลอน ของคาฟคา รวมทั้งมุมมองของเขาที่มีต่อตัวเอง ครอบครัว และ สังคมรอบข้าง พิพิธภัณฑ์คาฟคาคือแหล่งศึกษาความหมายของค�ำว่า “Kafkaesque” ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของโลก และนิทรรศการ The City of K. Franz Kafka and Prague ที่แสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์นี้ด�ำเนินงาน โดยศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยแห่งบาร์เซโลน่า (Centre de Cultura Contemporània de Barcelona หรือ CCCB) ซึ่งเป็นหน่วยงาน ภาคเอกชนที่เกิดจากการรวมกลุ่มกันของสถาบันการเงิน ใน ประเทศสเปน ได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากรัฐบาลสเปน จุดประสงค์หลักของ CCCB คือการเชื่อมโยงและน�ำเสนอองค์ ความรู้ทางวิชาการสู่ประชาชนทั่วไปด้วยวิธีการและขั้นตอน การน�ำเสนอที่สร้างสรรค์และทันสมัย ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ และ มีวิธีเล่าเรื่องด้วยภาษาปัจจุบัน ก่อนหน้านิทรรศการคาฟคา CCCB เคยไปร่วมจัดนิทรรศการลักษณะแบบเดียวกันนี้มา แล้วที่พิพิธภัณฑ์เจมส์ จอยซ์ ในกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ และพิพิธภัณฑ์เฟอร์นันโด เปสโซอา ในกรุงลิสบอน ประเทศ โปรตุเกส ส�ำหรับคอวรรณกรรมหรือบุคคลที่สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ ยุโรปและประวัติศาสตร์โลกผ่านสายตาของฟรันซ์ คาฟคา กรุงปรากคือจุดหมายปลายทางที่ไม่อาจมองข้าม อาณาจักร เหนือจริงทั้งสามแห่งจะท�ำให้คุณรู้ว่าเรื่องเล่าของคาฟคาไม่เคย จบสิ้นและจะยังมีอยู่ต่อไปอย่างไร้กาลเวลา

kafka.org franzkafka-soc.cz kafkamuseum.cz

13


Book Binding

] เป็นสื่ออัศจรรย์ที่สามารถเดินทางข้าม เวลาจากอดีตมาสูป ่ จั จุบน ั หรือจากปัจจุบน ั ไปสูอ่ นาคต แต่มอี ก ี สิง่ ที่น่าอัศจรรย์ไม่แพ้กัน คือ “ร้านหนังสือ” ซึ่งเปรียบเสมือน “บ้าน” หรือทีพ ่ ำ� นักชัว่ คราวของหนังสือก่อนทีจ่ ะออกเดินทาง ร่วมกับนักอ่าน ในทวีปที่มีประวัติศาสตร์ทางความคิดและวัฒนธรรมยาวนาน เช่นยุโรป บรรดาร้านหนังสือเก่าแก่ทั้งหลายไม่ได้วัดคุณค่าจาก อายุเท่านั้น แต่ร้านเหล่านี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในประวัติศาสตร์ ของประเทศนั้นๆ ผ่านช่วงเวลาทั้งดีและร้ายร่วมกับคนในชุมชน มายาวนาน เช่นเดียวกับร้านหนังสือที่เก่าแก่ที่สุด 5 แห่งในยุโรป ร้านหนังสือต่อไปนี้ยังคงเป็นประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต ซึ่งพร้อมเปิดรับ และแบ่งปันเรื่องราวสุดพิเศษให้ลูกค้าทั่วโลกอยู่เสมอ ประวัติศาสตร์หน้าแรกของร้านหนังสือในยุโรปเริ่มต้นขึ้นที่กรุง ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ณ ร้านหนังสือชื่อ Librairie Galignani หรือ “Galignani” ร้านหนังสือภาษาอังกฤษแห่งแรกในภาค พื้นทวีป เรื่องราวของที่นี่ย้อนกลับไปได้ถึงช่วงศตวรรษที่ 16 เมื่อ Simone Galignani เริ่มพิมพ์หนังสือขึ้นในปี 1520 ที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี ครอบครัว Galignani ถือเป็นกลุ่มแรกๆ ที่พิมพ์ หนังสือด้วยแท่นพิมพ์กูเทนแบร์ก อันเป็นแท่นพิมพ์แบบเรียงตัว อักษรที่เปลี่ยนโฉมการพิมพ์ของโลกในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ โดยความส�ำเร็จสูงสุดของส�ำนักพิมพ์คือหนังสือ Geographia ของปโตเลมี นักคิดชาวกรีกที่กลายเป็นหนังสือขายดีตลอด สองศตวรรษ แต่หลังจากเวนิสเริ่มสูญเสียอ�ำนาจทางเศรษฐกิจ Giovanni Antonio Galignani ผู้เป็นทายาทรุ่นหลังจึงย้ายมา ตั้งรกรากที่ปารีสและเปิดร้านหนังสือขึ้นในปี 1801 ในตอนแรก ร้านหนังสือแห่งนี้เป็นโรงพิมพ์ไปด้วยในตัว รวมถึงมีห้องสนทนา และห้องอ่านหนังสือภาษาอังกฤษโดยเฉพาะอีกด้วย

ความเก่าและแกร่งของร้านหนังสือ ที่มีชีวิตยืนยาวที่สุดในยุโรป

14

ธุรกิจอีกสาขาหนึ่งของครอบครัว Galignani คือการจัดท�ำ หนังสือพิมพ์รายวัน Galignani’s Messenger ที่มีกลุ่มเป้าหมาย เป็นชุมชนคนพูดภาษาอังกฤษทั้งในปารีสและทั่วประเทศ โดย มีกวีชื่อดังอย่าง William Wordsworth และ Lord Byron ร่วม เขียนด้วย แม้ว่าธุรกิจการพิมพ์และหนังสือพิมพ์ฉบับนี้จะยุติลง ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 แต่ร้านหนังสือแห่งนี้ยังยืนหยัดผ่าน สงครามโลกครั้งที่ 1 ด้วยการเป็นแหล่งขายหนังสือภาษาอังกฤษ ให้ทหารอังกฤษและอเมริกันที่ประจ�ำการในปารีส และแม้จะเผชิญ เหตุการณ์นาซีบุกยึดปารีสในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางร้าน ก็ปรับตัวด้วยการหันมาขายหนังสือหมวดศิลปะและหนังสือ ภาษาฝรั่งเศสแทนหนังสือภาษาอังกฤษที่ถูกห้ามขาย ปัจจุบัน ร้าน Galignani ขึ้นชื่อเรื่องการจัดแสดงหนังสือหน้าร้านเข้ากับ

เหตุการณ์ส�ำคัญต่างๆ และเมื่อก้าวเท้าผ่านรูปปั้นครึ่งตัวของ ผู้ก่อตั้งเข้าไปในร้าน หนังสือราว 50,000 เล่มบนชั้นวางล้วน เชิญชวนให้ผู้มาเยือนได้น�ำเรื่องราวในนั้นกลับออกไปด้วย เช่นเดียว กับลูกค้าที่เคยมาเยือนที่นี่ตลอด 200 ปีที่ผ่านมา เมื่อเดินทางลงใต้ต่อไปยังประเทศกรีซ ซึ่งเป็นแหล่งก�ำเนิดอารยธรรมของโลกตะวันตกและมีร้านหนังสือเก่าแก่อันดับต้นๆ ของ ทวีป นักอ่านที่ไปเยือนกรุงเอเธนส์จะได้ค้นพบสรวงสรรค์ 8 ชั้น ในร้าน Eleftheroudakis ที่ถือก�ำเนิดขึ้นตั้งแต่ปี 1898 จาก ความรักหนังสือของชายนักวิชาการนาม Costas Eleftheroudakis แม้ร้านสาขาใหญ่ที่ถนน Panepistimiou และอีกกว่า 20 สาขา ในเอเธนส์จะเพิ่งตั้งขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก็ตาม ในช่วง ทศวรรษที่ 1910 ทางร้านได้ตีพิมพ์ทั้งหนังสือ คู่มือน�ำเที่ยว แผนที่ และแม้แต่ไปรษณียบัตรออกจ�ำหน่าย ในทศวรรษ ถัดมา สารานุกรมชุด Eleftheroudakis Encyclopaedia จ�ำนวน 24 เล่ม ก็ได้รับการตีพิมพ์ขึ้น ร้านแห่งนี้ถือว่ามีบทบาทส�ำคัญ ทางจิตวิญญาณและวัฒนธรรมต่อผู้คนในเอเธนส์ เนื่องจากเป็น ศูนย์กลางกิจกรรมเกี่ยวกับหนังสือที่ส�ำคัญและบ่อยครั้งก็จัดขึ้น เป็นภาษาอังกฤษอีกด้วย เราอาจเริ่มต้นท�ำความรู้จักเอเธนส์ และประเทศนี้ผ่านหนังสือคัดสรรเกี่ยวกับประเทศกรีซ ซึ่งเป็น จุดเด่นของร้าน หรือเลือกซื้อหนังสือภาษาอังกฤษและภาษา อื่นๆ กว่า 200,000 เล่ม ไม่ก็หาหนังสือที่ถูกใจสักเล่มแล้วนั่งอ่าน ในคาเฟ่ที่ชั้น 6 ของร้าน ทั้งนี้ สิ่งที่น่าชื่นชมอย่างยิ่งคือการ บริหารงานของครอบครัว Eleftheroudakis ที่รู้จักปรับตัวให้เข้า กับยุคสมัยและใช้เทคโนโลยีร่วมกับเทคนิคทางการตลาดเพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า นั่นท�ำให้ที่นี่กลายเป็นเครือ ร้านหนังสือที่ใหญ่ที่สุดในกรีซ โดยไม่ได้ละทิ้งความรักหนังสือ อันเป็นจุดเริ่มต้นของร้านแห่งนี้ไปเลย ลัดเลาะจากดินแดนติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียนมายังริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นทางสายประวัติศาสตร์ของร้านหนังสือ ทอดยาวมาสู่เมืองปอร์โต ประเทศโปรตุเกส ร้านหนังสือ Livraria Lello ที่มีรูปลักษณ์โดดเด่นด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอ-กอธิก คือร้านหนังสือที่มีอายุกว่าหนึ่งศตวรรษ ร้านแห่งนี้เปลี่ยนทั้ง เจ้าของและชื่อหลายครั้ง จนกระทั่งตกมาถึง José de Sousa Lello ซึ่งได้ย้ายร้านมาอยู่ ณ ที่ตั้งปัจจุบันในปี 1906 ตัวร้านนี้เอง


เรื่อง จันทร์อัมพร เงินศรีสิทธิ์ l ภาพ กองบรรณาธิการ

Book Binding

ท�ำหน้าที่บอกเล่าประวัติศาสตร์ศิลปะที่งดงามและน่าทึ่ง อันเป็น ผลงานออกแบบของ Francesco Xavier Esteves สถาปนิก และวิศวกรชื่อดังชาวโปรตุเกส เมื่อก้าวเข้าไปข้างใน มนต์เสน่ห์ ของ Livraria Lello ก็พร้อมสะกดนักอ่านทันที ตั้งแต่เพดาน จดพื้นของร้านตกแต่งด้วยไม้แกะสลัก มีรูปสลักทองแดงนูนต�่ำ ของนักเขียนชื่อดังในประเทศประดับอยู่ตามเสาต่างๆ ส่วนหน้าต่าง และเพดานเป็นกระจกสีที่ประกาศค�ำขวัญของร้านอย่างภาคภูมิ ว่า “Vecus in Lobore” หรือ “เกียรติยศในผลงาน” เอกลักษณ์ ภายในร้านอีกอย่างหนึ่งคือบันไดโค้งแบบอาร์ตนูโว ที่ขั้นบันได สีแดงน�ำผู้มาเยือนขึ้นไปยังชั้นสองที่มีคาเฟ่เล็กๆ ตั้งอยู่ ว่ากันว่า รายละเอียดของบันไดแห่งนี้ได้ไปปรากฏอยู่ในโรงเรียนเวทมนตร์ ฮอกวอตส์ในวรรณกรรมเยาวชนชุด Harry Potter ของ J.K. Rowling ซึ่งอาจได้รับแรงบันดาลใจกลับไป หลังจากแวะมาจิบกาแฟที่นี่ บ่อยๆ ตอนที่เธอท�ำงานเป็นครูสอนภาษาอังกฤษในปอร์โต เมื่อย้อนกลับไปในวันเปิดร้านหนังสือ ทั้งชาวเมือง บุคคลที่มีชื่อเสียง และสื่อ ต่างๆ ล้วนตื่นเต้นและมาร่วมงานกันอย่างคับคั่ง จนข่าวโด่งดังข้ามน�้ำข้าม ทะเลไปถึงอาณานิคมของโปรตุเกสในสมัยนั้นอย่างบราซิลเลยทีเดียว จวบจน ทุกวันนี้ ชื่อเสียงของร้านหนังสือ Livraria Lello หรือที่เรียกติดปากว่า “Lello” ก็ไม่ได้ลดน้อยถอยลง เมื่อปี 2010 นิตยสาร Lonely Planet ได้จัดให้ที่นี่เป็น ร้านหนังสือที่ดีที่สุดในโลกอันดับ 3 แสดงให้เห็นว่าอายุที่ยืนยาวนับศตวรรษ และการปรับปรุงซ่อมแซมหลายครั้งไม่ได้หมายถึงความเสื่อมโทรมเสมอไป เพราะร้านแห่งนี้ยังคงตระหง่านเป็นโบสถ์วิหารของหนังสือทั้งภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษอย่างไม่มีวันเสื่อมมนต์ขลัง หากหั น เหขึ้ น ไปทางเหนื อ สู ่ ดิ น แดนกว้ า งใหญ่ ไ พศาลอย่ า ง รัสเซีย เราจะพบว่าร้านหนังสือเก่าแก่ไม่ได้มีเพียงความรุ่มรวย ทางศิลปะเป็นเสน่ห์มัดใจนักอ่าน แต่การยืนหยัดต่อสู้กับอุปสรรค ที่ถาโถมเข้ามาท�ำให้ร้านเหล่านี้ยิ่งใหญ่ไม่แพ้กัน ณ ใจกลางเมือง เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ร้านหนังสือ Dom Knigi หรือ “House of Books” ผ่านช่วงเวลาส�ำคัญทางประวัติศาสตร์มาอย่างโชกโชน ไม่แพ้แผ่นดินบ้านเกิด ร้านแห่งนี้ครองพื้นที่ทั้ง 7 ชั้นของอาคาร แบบอาร์ตนูโว ซึ่งเคยเป็นของบริษัทผลิตเครื่องจักรเย็บผ้าชื่อดัง อย่าง Singer และโดดเด่นด้วยหอคอยที่ยอดเป็นโดมแก้วอยู่ ตรงหัวมุมอาคาร นับตั้งแต่เปิดร้านในปี 1919 ร้าน Dom Knigi ต้องตกอยู่ในความควบคุมของพรรคคอมมิวนิสต์และกลายเป็น ส�ำนักงานขององค์กรเกี่ยวกับการพิมพ์ต่างๆ ของรัฐ ส่วนใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เมืองถูกปิดล้อมนานถึง 872 วัน ร้านหนังสือแห่งนี้ก็ยังคงเปิดให้บริการต่อไป แม้พนักงานหลายคน จ�ำต้องไปรบที่แนวหน้า อีกทั้งมีระเบิดตกลงในละแวกร้านจน ท�ำให้หน้าต่างกระจกแตกและน�้ำท่วมห้องเก็บของก็ตาม มีเพียง ฤดูหนาวและภาวะขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าของรัสเซียเท่านั้นที่ ท�ำให้ร้านต้องปิดตัวลงช่วงหนึ่งในปี 1942 ก่อนจะกลับมาเปิด บริการอีกครั้งในปี 1948 พร้อมการปรับปรุงและวิธีการโฆษณา ใหม่ๆ กระนั้น สงครามเย็นที่ตามมาอีกระลอกท�ำให้ร้านขาย หนังสือภาษาอังกฤษได้อย่างจ�ำกัด เพราะต้องได้รับอนุญาต จากเจ้าหน้าที่เสียก่อน แต่หลังทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา ร้าน Dom Knigi เริ่มมีอิสระมากขึ้นและพร้อมต้อนรับผู้มาเยือน ทุกชาติทุกภาษา นอกจากหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาอื่นๆ หลายหมื่นเล่มแล้ว ไปรษณียบัตร หนังสือรวมภาพถ่ายของ เมือง และหนังสือเด็กภาษารัสเซียของที่นี่ล้วนเป็นของที่ระลึก ที่สามารถสื่อสารกับผู้คนได้จากดินแดนหลังม่านเหล็กแห่งนี้ สมศักดิ์ศรีร้านหนังสือที่เก่าแก่ที่สุดในรัสเซีย ไม่ใกล้ไม่ไกลนัก ไฟสงครามและการลิดรอนอิสรภาพทางการอ่าน ได้ลุกลามมาถึงร้านหนังสือในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนีด้วย

เช่นกัน แต่ร้านหนังสือ Marga Schoeller Bücherstube บนถนน Knesebeckstrasse สามารถข้ามผ่านประวัติศาสตร์ อันโหดร้ายได้อย่างสง่างามและด�ำรงอยู่มากว่า 80 ปีแล้ว ที่แห่งนี้เปิดให้บริการในปี 1929 โดย Marga Schoeller หญิงสาววัย 24 ปี ที่ตั้งชื่อร้านดังกล่าวตามชื่อของเธอ ร้านแห่งนี้ต้องเผชิญบททดสอบด่านแรกเมื่อฮิตเลอร์และพรรค นาซีเรืองอ�ำนาจ ซึ่งมีการออกรายการหนังสือต้องห้ามไปจนถึง การเผาหนังสือที่ขัดกับอุดมการณ์นาซีราวกับเป็นงานเฉลิมฉลอง ในยุคสมัยแห่งเผด็จการและความบ้าคลั่งนี้เอง Schoeller ได้ แสดงความกล้าหาญและไม่ยอมจ�ำนนต่อการจ�ำกัดเสรีภาพ ทางความคิดด้วยการแอบซ่อนหนังสือต้องห้ามไว้ในห้องใต้ดิน เพื่อขายให้ลูกค้าที่ไว้วางใจ อีกทั้งยังปฏิเสธที่จะขายวรรณกรรม ชวนเชื่อของพรรคนาซีอีกด้วย หลังสงครามสิ้นสุดลง ที่นี่จึงเป็น ที่แรกที่ได้รับอนุญาตจากฝ่ายสัมพันธมิตรให้ขายหนังสือภาษา อั ง กฤษและกลายเป็ น ที่ ร วมตั ว ของบุ ค คลส� ำ คั ญ ในวงการ วรรณกรรม เช่น Samuel Beckett, Hermann Hesse, T.S. Eliot และ W.H. Auden ต่อมา ภายหลังการล่มสลายของสหภาพ โซเวียตและก�ำแพงเบอร์ลิน ร้าน Marga Schoeller Bücherstube ได้ก้าวสู่อนาคตใหม่เช่นเดียวกับเยอรมนีที่รวมเป็น หนึ่งเดียวกันอีกครั้ง ยังคงมีการคัดสรรหนังสือภาษาอังกฤษที่ดี ที่สุดมาวางเคียงข้างหนังสือภาษาเยอรมัน และรักษาชื่อเสียง ในการเป็ น แหล่ ง รวมวรรณกรรมยุ โ รปและการละครชั้ น เลิ ศ ไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ร้านที่ติดอันดับร้านหนังสือที่ดีที่สุด ในยุโรปแห่งนี้ไม่ได้ให้อารมณ์ขึงขังจริงจังเสียทีเดียว เพราะใน บางโอกาส ทางร้านได้มอบบรรยากาศเป็นมิตรและใกล้ชิดกับ นักอ่านด้วยการบริการเค้กและกาแฟให้ชิมฟรีด้วย ความเก่าแก่ที่วัดกันด้วยตัวเลขนั้นอาจ “ขาย” เราได้ในแวบแรก เหมือนกับป้ายโฆษณาสินค้า แต่ประสบการณ์ต่างๆ ทั้งขวากหนามและกลีบกุหลาบที่ร้านหนังสือเหล่านี้ผ่านพบต่างหากที่มี ความหมายและ “ซื้อ” ใจเราได้อย่างแท้จริง เพราะร้านหนังสือ มีชีวิตเช่นเดียวกับผู้อ่าน ที่ต้องหัดเดิน เติบโต และปรับตัวให้เข้ากับ ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ตลอดเวลา ร้านหนังสือเก่าแก่ทั้ง 5 แห่งในยุโรปนี้จึงเป็นดังผู้อาวุโสที่มอบแรงบันดาลใจให้ร้าน หนังสือเล็กๆ ที่ยังเยาว์วัยทั่วโลก ด้วยบทเรียนที่ว่าการบริหาร ที่ดีและความรักความศรัทธาจะท�ำให้ร้านหนังสือไม่มีวันตาย ดับ และสามารถข้ามผ่านกาลเวลาไปสู่ความทรงจ�ำในหัวใจของ นักอ่านอย่างไม่รู้ลืม

15


Big Talk

เรื่อง ณัฐกานต์ อมาตยกุล, ธนาคาร จันทิมา l ภาพ ณัฐชานันท์ กล้าหาญ

ชีวต ิ ทีไ่ ม่ตอ้ งร่างของ ช่วง มูลพินจิ

ผ่านเข้ามาในรัว้ บ้านร่มรืน ่ ต้นไม้เขียวแซมอยูห ่ ลายจุด ผุดไม้ดอกประดับ ประดาอยูร่ ม ิ รัว ้ ทีน ่ เี่ ป็นทัง้ บ้านและหอศิลป์ของ ช่วง มูลพินจิ ทีใ่ ครๆ ต่างรู้จักในฐานะศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ผู้มีผลงาน เส้นสายลายไทยประยุกต์โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์-

16

หากมีโอกาสได้ขึ้นไปชม “หอศิลป์ ช่วง มูลพินิจ” ก็จะได้เห็นผลงานที่มีความ ประณีตและบรรจุความคิดล�้ำลึกลงลวดลาย จน ’รงค์ วงษ์สวรรค์ เคยกล่าวชม เขาว่าเป็น “จิตรกรที่เห็นมดยิ้มสวย” ส่วนในแวดวงสิ่งพิมพ์ ช่วง มูลพินิจได้ฝากผลงานภาพประกอบ และภาพปกไว้จ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งแม้จะไม่ได้ท�ำเป็นอาชีพ แต่ก็เป็นที่จดจ�ำและ ตามหากันในหมู่นักสะสมหนังสือ จบจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ช่วง มูลพินิจเข้าบรรจุเป็นข้าราชการ รั บ เงิ น เดื อ นประจ� ำ อยู ่ ที่ ศู น ย์ อ อกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม แล้วมีโอกาสเริ่มต้นเข้ามาท�ำงานหนังสือจากการเขียนรูปลง หนุ่มเหน้าสาวสวย ของสุจิตต์ วงษ์เทศ กับ ขรรชัย บุนปาน ได้ไม่นาน สุลักษณ์ ศิวรักษ์ จึงชักชวนให้มาเขียนภาพลายเส้นประกอบหนังสือ สยามสมัย ต่อมา ได้เขียนภาพลายเส้นลงในหนังสือและนิตยสารต่างๆ เช่น ช่อฟ้า, ชาวกรุง, เฟื่องนคร และสยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ซึ่งเขามองว่าเป็นเพียง “ภาพประดับ” นั่นคือการแทรกภาพดอกไม้ใบไม้ลงไปบนที่ว่างในหน้ากระดาษตามแต่อารมณ์ ศิลปินของตน โดยไม่มีโจทย์เคร่งครัดคอยบังคับ แม้ได้สร้างผลงานมากมาย บนเส้นทางนี้ เขาก็ยืนยันว่าไม่ใช่งานที่ท�ำเป็นอาชีพ “ผมไม่สามารถท�ำตามความต้องการของตลาดได้ ผมท�ำแต่งานที่ ผมถนัดเท่านั้น ทั้งนี้อาจเป็นความจ�ำกัดในความสามารถเฉพาะ จึงไม่อาจ สนองความต้องการของคนทั่วไปได้ เขาเลยต้องสนองความสามารถเท่าที่มี ของผม” ใบหน้าสงบนิ่ง ประดับเรียวเคราสีงาช้างนั้นส่งสายตาหนักแน่น จินดารัตน์ มูลพินิจ ผู้เป็นภรรยา หยิบหนังสือสิบกว่าเล่มออกมา วางบนโต๊ะ หน้าปกยังสะอาดเรียบร้อยดี มีรอยต�ำหนิเล็กน้อยที่ขอบมุม ส่วน ผิวกระดาษนั้นออกน�้ำตาลหม่นตามกาลเวลาที่ล่วงมากว่า 40 ปี งานออกแบบปกที่โดดเด่นของช่วง ได้แก่ หนังสือของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์ ตีพิมพ์เมื่อ ปี 2512 เช่น เสเพลบอยชาวไร่, สนิมสร้อย, ผู้มียี่เกในหัวใจ ฯลฯ ความโดดเด่นคือลายเส้นที่วาดแบบไม่มีการร่าง (ฟรีแฮนด์) จากปลาย ปากกาส�ำหรับเขียนแบบซึ่งเป็นที่ถูกอกถูกใจของ ’รงค์ เป็นอย่างมาก ด้วย เหตุนี้ นักอ่านจึงได้เห็นช่วง มูลพินิจฝากผลงานวาดปกของพญาอินทรีไว้ หลายต่อหลายเล่ม งานเหล่านี้มีเอกลักษณ์ที่คล้ายกันคือเรือนร่างเปลือยเปล่า ของหญิงสาวท่ามกลางพื้นหลังธรรมชาติ ลายเส้นหนักแน่นทว่าแสดงถึง ความพลิ้วไหวไม่สะดุดอยู่บนภาพนิ่ง “หนังสือบางปกเช่น สนิมสร้อย ว่าด้วยเรื่องราวของผู้หญิงหากิน ผมวาดในลักษณะที่ตัวผมเห็นว่ามันงาม มันสวย ค�ำว่า ‘อิโรติก’ เป็นค�ำจาก ฝรั่ง ไม่ใช่งานที่วาดได้ง่ายๆ ท�ำไม่ได้ก็กลายเป็นภาพลามกไป รูปคนแก้ผ้า ถ้าไม่มีศิลปะอยู่ในนั้นก็จะกลายเป็นอุจาด” กระบวนการท�ำงานเริ่มจากการวาดลายเส้นลงไปในกระดาษ ทั้ง รูปวาดและแบบตัวอักษรบนปก ส�ำเร็จออกมาเป็นรูปขาวด�ำ จากนั้นส่งให้โรงพิมพ์ น�ำไปกัดลายท�ำบล็อกตะกั่ว ช่างโรงพิมพ์ตั้งเครื่องจักรผสมสี่สีออกมาทาทาบ บนปกหนังสือตามส่วนที่ก�ำหนดไว้ แต่ด้วยข้อจ�ำกัดของยุคสมัย ลายเส้นที่ ออกมาจึงไม่ค่อยคมชัด รายละเอียดอาจไม่มากเท่างานวาดต้นฉบับ

ความอิโรติกยังปรากฏในผลงานปกหนังสืออีกหลายเล่มของ อุษณา เพลิงธรรม ในลักษณะการลงสีน�้ำเพิ่มเข้าไปจากงานวาดลายเส้นปกติ ส่งผลให้ ภาพเกิดสีสันนวลเนียน ขับเน้นเรื่องราวส่งจินตนาการผู้อ่านตามชื่อบนปก หนังสือ เช่น พรูควั่งถั่งนรกแลสวรรค์ ตราบเดือนตะวันฟั่นฟ้าแลดิน ฯลฯ ที่ ตีพิมพ์ออกมาไล่เลี่ยกันในช่วงปี 2512-2513 “ตราบเดือนตะวันฟั่นฟ้าแลดิน นักเขียนใช้ภาษาสวย ต้องอาศัย การตีความ อารมณ์ของภาพคือการพรั่งพรูหลั่งไหลของอารมณ์ การร่วม สังวาสผู้หญิงกับผู้ชาย เกาะเกี่ยวฟั่นกันไปมาเหมือนเชือกไปสู่ทั้ง ‘นรกแล สวรรค์’ เหมือนบทอัศจรรย์ในวรรณคดี งานแบบนี้ถือเป็นศิลปะ จัดเป็น erotic art ส่วนงานเขียนก็ประพันธ์อย่างมีวรรณศิลป์” นอกจากศิลปะของการเขียนภาพแล้ว ช่วง มูลพินิจยังพูดถึงศิลปะ ของการประพันธ์หนังสือที่เขาจับสังเกตจากลายมือของนักเขียนยุคก่อนว่า “นักเขียนสมัยก่อนมีลายมือแตกต่างกัน ช่างเรียงพิมพ์ต้องอาศัย ความช�ำนาญเฉพาะตน อย่างคุณคึกฤทธิ์ลายมือสวย คุณมาลัย ชูพินิจ ลายมือหวัดเพราะเขียนเร็ว ส่วนลายมือคุณ ’รงค์จะอ่านง่าย แกเป็นคนละเอียด หลายชั้น ท�ำงานด้วยดินสอ ยางลบ พิมพ์ดีด ลักษณะนี้เรียกว่างานประพันธ์ ของแท้ คือแต่งหนังสือเพื่อให้สละสลวย” ระหว่างบทสนทนา เรามองทอดสายตาไปที่โต๊ะวาดเขียนที่ลาดเอียง และอยู่ในมุมสงบ หันหน้าสู่หน้าต่าง มองออกไปเห็นสวนหน้าบ้าน เราเอ่ย ถามว่า ศิลปินคนไทยหรือต่างชาติท่านใดหรือ ที่บันดาลใจให้เกิดลายเส้น ทรงเสน่ห์ที่เป็นลายเซ็นของช่วง มูลพินิจ “ผมได้แรงบันดาลใจจากธรรมชาติรอบตัว ต้นไม้ใบหญ้ารอบบ้าน ของผมคือธรรมชาติที่แท้ บรรดารถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ ไม่สามารถกระตุ้น ความรู้สึกอยากจะเขียนของผมออกมาได้” แม้ช่วง มูลพินิจจะคลุกคลีท�ำงานภาพแก่วรรณกรรม แต่เขากลับมี มุมมองต่อวรรณกรรมส่วนใหญ่ทุกยุคสมัยของโลกว่า มักเป็นเรื่องกระตุ้นกิเลส ตัณหา ท�ำให้จิตใจผิดไปจากปกติซึ่งมักเป็นที่ชอบของมนุษย์ ส่วนวรรณกรรม ที่ช่วยยกระดับจิตใจผู้อ่านกลับไม่ค่อยเป็นที่สนใจ “ผมไม่ชอบอ่านหนังสือเท่าไร โดยเฉพาะหนังสือที่เราไม่ค่อยหลงใหล แต่หนังสือ เสเพลบอยชาวไร่ ของคุณ’รงค์ ที่ผมเขียนเพราะมีเนื้อหาบางส่วน พ้องกับชีวิตบ้านนอกของผม หนังสือทั้งเล่ม เราอาจจะไปเจอเพียงประโยคเดียว ที่ประทับใจก็สามารถเอามาท�ำงานเขียนรูปได้แล้ว” หลังจากท�ำงานที่กระทรวงอุตสาหกรรมนาน 9 ปี ช่วง มูลพินิจ ลาออกมาเริ่มงานใหม่ที่บริษัทโฆษณาอีก 3 ปี หลังจากนั้นก็ผันมาเป็นศิลปิน อิสระเต็มตัว โดยที่ไม่เคยมองงานวาดเขียนเป็นงานอาชีพที่ต้องรับจ้างท�ำ “เราท�ำงานของเรา แล้วคนอื่นเห็นประโยชน์ของมัน ผมคิดว่ามันเป็น ความต้องการที่บริสุทธิ์กว่าการวาดรูปตามที่คนอื่นเขาสั่ง เพราะหากท�ำตาม เขาสั่ง ถ้าไม่ได้อย่างใจเขาก็อาจไม่ได้อย่างใจเราเหมือนกัน ป่วยการท�ำ ตามใจคนอื่น” ทุกวันนี้ ช่วง มูลพินิจใช้เวลาอยู่ที่บ้านร่วมกับภรรยาและท�ำงาน ศิลปะส่วนตัวอย่างเงียบๆ คอยดูแลหอศิลป์ซึ่งเปิดไว้ให้คนรุ่นใหม่ได้เข้ามา ศึกษาเรียนรู้เสมอ ชายวัยอาวุโสยิ้มอ่อน ก่อนแสดงความคิดเห็นทิ้งท้ายว่า “ขี้เกียจยังจะดีเสียกว่า ปล่อยเวลาให้สะอาดดีกว่าใช้เวลาไปเร่ง ท�ำงานหาเงิน ชื่อเสียง ค�ำสรรเสริญ อย่าท�ำให้เวลาในชีวิตสกปรกไปด้วย ความต้องการ”


เรื่อง กองบรรณาธิการ

Big Talk

Kenny Leck เจ้าของ BooksActually ร้านหนังสืออินดีท ้ ส ี่ งิ คโปร์

BMR:สิง่ ทีท ่ ำ� ให้คณ ุ อยากท�ำธุรกิจร้านหนังสือคืออะไร จริงๆ มันมีเหตุผลหลายอย่างผสมกันอยู่นะ จากความรักหนังสือที่ ผมเริ่มมีตั้งแต่ยังเด็ก แล้วก็การที่ผมมีพี่ชายซึ่งอายุมากกว่าผมหลายปี ก็เลย ท�ำให้ผมหันไปสนใจหนังสือและมีหนังสือเป็นเพื่อน หลังจากนั้นก็ไปท�ำทั้งงาน ประจ�ำและงานพาร์ตไทม์ที่ร้านหนังสือเชนสโตร์หลังเรียนจบเมื่ออายุ 19 ปี และการที่ได้รับรู้ว่างานที่ดีที่สุดส�ำหรับผม งานที่จะท�ำให้ผมมีความสุขกับมัน ทุกวันเป็นระยะเวลานานๆ คืองานของคนขายหนังสือ เหตุปัจจัยทั้งหมดนี้ ท�ำให้ผมกลายมาเป็นคนขายหนังสือ และผมก็มั่นใจมากเลยว่าต่อให้ผมไม่มี ร้านหนังสือเป็นของตัวเอง ผมก็คงท�ำงานอยู่ในร้านหนังสือที่ไหนสักแห่งแน่ๆ BMR: ชือ่ ร้าน BooksActually มีทม ี่ าอย่างไร มันเป็นเรื่องไม่คาดคิดที่ฮามากๆ เราเริ่มธุรกิจขายหนังสือด้วยการไป ตั้งแผงขายในมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ เราต้องไปที่นั่นประมาณ 3-4 วัน ตั้งโต๊ะยาวสองตัวเพื่อขายหนังสือ และต้องตั้งหนังสือโชว์จ�ำนวนมาก แต่จะ ด้วยเหตุผลอะไรก็ไม่ทราบได้นะครับ จะมีนักศึกษาปริญญาตรีเข้ามาถามเรา ที่โต๊ะบ่อยมากว่าเราขายอะไร ดูแวบแรกก็รู้แล้วว่าเราก�ำลังขายหนังสือ และ แน่นอนว่าเราก็ต้องตอบว่าขายหนังสือไงครับ แต่พอโดนถามแบบนี้ซ�้ำๆ กัน บ่อยเข้า เราก็เลยตอบไปสั้นๆ แค่ว่า “หนังสือน่ะสิ” ที่มาของชื่อร้าน BooksActually เป็นแบบนี้ล่ะครับ BMR: เรือ่ งทีย่ ากทีส ่ ด ุ ส�ำหรับการก่อตัง้ ร้านหนังสือ ส�ำหรับผม จริงๆ แล้วเรื่องที่ยากที่สุดไม่ใช่ช่วงของการก่อตั้งนะ แต่ เป็นการท�ำอย่างไรให้ร้านอยู่ได้อย่างมั่นคงมากกว่า ผมเป็นพวกชอบลิ้มลอง ความเสี่ยง ดังนั้นการเปิดร้านหนังสือจึงไม่ใช่การตัดสินใจที่ยุ่งยากอะไร ผมรู้ละว่าผมต้องลงมือท�ำเพราะผมรู้ว่านี่คือสิ่งที่จะท�ำให้ผมมีความสุขกับมัน ได้ตลอดเวลา การประคับประคองให้ร้านด�ำเนินกิจการต่อไปโดยที่ราคาสินค้า และค่าเช่าที่เพิ่มขึ้นๆ อย่างบ้าคลั่งน่ะ คือเรื่องที่ยากที่สุดของจริงครับ BMR: เหตุผลใดทีท่ ำ� ให้คณ ุ คิดว่าเมืองเมืองหนึง่ ควรมีรา้ นหนังสือ อิสระ มันช่วยเพิ่มความหลากหลายให้กับวัฒนธรรมการอ่าน และที่ส�ำคัญ ยิ่งกว่านั้น คือช่วยเพิ่มความสมดุลของการอ่านให้กับคนในประเทศ เพราะ ระบบธุรกิจของพวกร้านค้าปลีกใหญ่ๆ ท�ำให้พวกเขาต้องเน้นการขายสินค้าที่ อยู่ในกระแสมากกว่า เพื่อให้ผลประกอบการในแต่ละวันแข็งแรง ร้านหนังสือ อิสระต่างๆ จึงไม่สามารถแข่งขันเรื่องค้าเรื่องขายกับพี่เบิ้มเหล่านั้นได้เลย ดังนั้น เราจึงต้องจัดวางรูปแบบและท�ำการค้าปลีกสิ่งที่เราเชื่อว่าทัดเทียมกันและให้ ความรื่นรมย์ได้เหมือนกัน นั่นคือหนังสือดีๆ มีคุณภาพ บรรดาหนังสือที่มีการซื้อขายไหลเวียนท�ำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า ระบบ นิเวศของการอ่าน หรือ reading ecosystem of the city คือมันคงดีมากเลย นะครับ ถ้าผมได้ทราบว่ามีนักอ่านในกรุงเทพฯ หรือสิงค์โปร์มาบอกว่าเขาหรือ เธออ่านทั้ง Fifty Shades of Grey ซึ่งเป็นนิยายอิโรติกขายดี และ Delta of Venus หนังสืออิโรติกที่ซับซ้อนลึกล�้ำ ขึ้นชั้นคลาสสิกไปแล้ว ผมคิดว่านี่แหละ คือภาพของเมืองแห่งการอ่านที่ค่อนข้างสมบูรณ์

การประคับประคองให้รา้ นด�ำเนินกิจการต่อไปโดยที่ ราคาสินค้าและค่าเช่าทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ๆ อย่างบ้าคลัง่ น่ะ คือ เรือ่ งทีย่ ากทีส ่ ด ุ ของจริงครับ BMR: อะไรทีค ่ ณ ุ คิดว่าเป็นสิง่ คุกคามร้านหนังสืออิสระ เวลาเจอค�ำถามแบบนี้ ผมมักจะโทษพวกเราเหล่านักขายหนังสือ กันเองมากกว่านะครับ สิ่งคุกคามที่เห็นได้ชัดที่สุดแน่นอนว่าคือเรื่องค่าเช่า หรือแม้แต่การเป็น เจ้าของที่เองก็ตาม แม้ว่าปัญหาแบบนี้จะได้รับการแก้ไข เช่นตอนนี้พวกเรา ท�ำงานกันอย่างหนักเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายใน 3-5 ปีข้างหน้าที่จะซื้อที่ทางไว้ เป็นทรัพย์สินของเราเองให้มีร้านหนังสืออย่างถาวร มันก็ไม่ได้ท�ำให้เราหลุดพ้น ไปจากความเสี่ยงที่จะล้มหรือพลาดเลย คนขายหนังสือสมัยนี้ไม่ค่อยมีความรู้เกี่ยวกับหนังสือสักเท่าไร แล้วก็ไม่มีความเชื่อว่าท�ำไมหนังสือ (รวมทั้งอีบุ๊ค) และร้านหนังสือจึงมี ความส�ำคัญ ถ้าหากว่าเรายังไม่เข้าใจว่าการขายหนังสือคือการค้าที่ต้องการ ทักษะและความรู้ที่ต้องใช้เวลาและประสบการณ์สะสมให้เพิ่มพูน เมื่อนั้น อุตสาหกรรมหนังสือคงสูญสิ้นไปตลอดกาล การฝากความหวังไว้แต่กับหนังสือ ขายดีเล่มถัดไป เช่นในหมู่คนขายหนังสือบางคนที่ผมรู้จัก พวกเขาเพียงแค่ รอคอยและบ่นๆ กันว่าเมื่อไรจะมีหนังสือที่สร้างกระแสได้เปรี้ยงๆ แบบหนังสือ ชุด Harry Potter อีก ผมก็เลยถามพวกเขาว่าท�ำไมไม่ลองมาอ่านหนังสือ เรื่องอื่นๆ ที่มีอยู่แล้วแต่ถูกมองข้าม หรือหนังสือที่ครั้งหนึ่งก็เคยเป็นที่นิยม อย่างเมื่อเร็วๆ นี้ ผมค้นพบหนังสือส�ำหรับเด็กเรื่องหนึ่งชื่อ A Wrinkle in Time เขียนโดย Madeline L’Engle ซึ่งตอนนี้เราขายหนังสือเล่มนี้ได้ดี ด้วยการเอา มันออกมาท�ำให้มันโดดเด่นอีกครั้งและสั่งสต็อกมาจ�ำนวนมาก BMR: ลูกค้าของคุณคือใคร จะว่าไปแล้ว เราเจอลูกค้ามาทุกรูปแบบ และผมคิดว่ามันก็เป็น อย่างนี้มาตั้งแต่วันเปิดร้านวันแรก พวกเราอาจจะอยู่ในธุรกิจหนังสือที่มีแนวทาง เฉพาะ แต่ตราบใดที่คุณเป็นนักอ่านอายุระหว่าง 8-80 ปีที่สามารถอ่านหนังสือ ภาษาอังกฤษได้ เราก็ยินดีที่จะดูแลคุณเสมอครับ (ยิ้ม) BMR: คุณจะแนะน�ำคนทีต ่ อ้ งการท�ำธุรกิจร้านหนังสืออย่างไรบ้าง ท�ำเพราะรักที่จะท�ำได้ทั้ง 7 วันต่อสัปดาห์ มันไม่ใช่งานครับ มันคือ ชีวิตของคุณ BMR: คุณจะนิยามประสบการณ์ที่ BooksActually ในช่วง หลายปีนอี้ ย่างไร ทุกวันนี้ผมยังรู้สึกว่ามีหลายอย่างที่ต้องเรียนรู้ แม้ว่าจะท�ำร้าน BooksActually มาสิบปีแล้วก็ตาม และผมก็ไม่คิดเลยว่าเวลาที่ผ่านมามันจะ ท�ำให้อะไรๆ ง่ายดายขึ้น แต่ผมมั่นใจมากๆ ว่าผมยังมีความสุขมากเท่าๆ กับ วันแรกที่ผมเริ่มต้น BMR: อะไรคือสิง่ ที่ BooksActually สอนคุณ การได้สนุกกับสิ่งที่ท�ำคือหัวใจส�ำคัญ ผมต้องเรียนรู้ที่จะลด ละ เลิก สิ่งที่บางครั้งอาจจะไม่ช่วยให้เกิดความสุขกับการเดินทางบนถนนหนังสือสายนี้ BMR: คุณคิดว่าหนังสือเล่มก�ำลังจะตายหรือเปล่า ไม่มีทางเลยครับ ทั้งหมดแสดงถึงข้อเท็จจริงที่ว่า มนุษย์เราทุกคน มีความต้องการพื้นฐานที่จะรับสัมผัสจากวัตถุ พวกเราไม่เคยเอาตัวเองออก ห่างไปจากการรับรู้ของความเป็นมนุษย์ทั้งห้าประการ นั่นก็คือ การมองเห็น สัมผัส ได้กลิ่น รับรส และได้ยิน โดยทั่วไป การอ่านหนังสือก็ต้องใช้ประสาท รับรู้เหล่านั้นไปอย่างน้อยสามหรือสี่อย่างแล้ว คุณอ่านหนังสือ คุณก็ได้กลิ่น กระดาษของหนังสือเล่มนั้น คุณสามารถสัมผัสลูบไล้แต่ละหน้าของหนังสือ เล่มนั้น และคุณก็จะได้ยินเสียงเปิดพลิกกระดาษเวลาที่คุณเปลี่ยนหน้าด้วย เพราะประสบการณ์การอ่านให้ความรู้สึกมากมายแบบนี้ และเพราะ หนังสือแต่ละเล่มไม่เหมือนกัน หนังสือเล่มจึงไม่มีวันตายแน่นอน

17


Around the World in 2 Pages

“หนึง่ ร้อยปีแห่ง ความโดดเดีย่ ว” ถูกขโมย!

18

ผลงานมาสเตอร์พีซของกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ (Gabriel García Márquez) เรื่อง หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว (One Hundred Years of Solitude) ฉบับพิมพ์ครั้งแรก หายไปอย่างไร้ร่องรอยจากกล่องจัดแสดงที่ล็อกไว้อย่าง แน่นหนาภายในงานมหกรรมหนังสือโบโกตา ประเทศ โคลอมเบีย หนังสือเล่มที่หายไปนั้นเป็นฉบับพิมพ์ครั้งแรก ในปี 1967 โดยส�ำนักพิมพ์ Sudamericana ของ อาร์เจนตินา พิมพ์ออกมาเพียง 8,000 เล่ม เล่มดังกล่าวที่ หายไปมีลายมือชื่อมาร์เกซอยู่ด้วย ปัจจุบันราคาซื้อขาย หนังสือรุ่นนี้มีราคาสูงถึง 23,000 ดอลลาร์ ซึ่งหนังสือ เล่มนี้เป็นของนักสะสมหนังสือหายากชื่อว่า อัลวาโร คาสติลโล่ เขาใช้เวลาตามล่าฉบับพิมพ์ครั้งแรกอยู่หลายปี จนไปพบเล่มหนึ่งที่อุรุกวัย เมื่อได้มา เขาก็ขอให้มาร์เกซ ช่วยเขียนค�ำอุทิศและเซ็นชื่อก�ำกับลงไว้ในเล่มนั้น ต�ำรวจยังไม่สามารถอธิบายได้ว่าหนังสือหาย ไปจากกล่องที่ล็อกอย่างแน่นหนาได้อย่างไร แต่ต�ำรวจ ก�ำลังเร่งตรวจดูกล้องวงจรปิดบริเวณทางเข้าศูนย์จัดแสดง มาคอนโดเพื่อหาเบาะแส และเรียกการโจรกรรมนี้ว่า “อาชญากรรมร้ายแรงต่อมรดกทางวัฒนธรรม" และระบุ โทษคดีนี้ให้จ�ำคุกตั้งแต่ 6 ถึง 20 ปี ในระหว่างนี้ ผู้จัดงาน หนั ง สื อ ได้ ข อโทษกั บ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น และขอร้ อ งให้ ผู ้ ที่ น�ำ หนังสือไปน�ำกลับมาคืน เพราะเป็นไปได้ยากที่จะขาย หนังสือที่มีความพิเศษเฉพาะตัวเล่มนี้ออก ที่มา:

theguardian.com

ไทม์ เลือกมูราคามิ เป็นหนึง่ ใน 100 ผูท ้ รง อิทธิพลของโลก นักเขียนชาวญี่ปุ่นชื่อดัง ฮารูกิ มูราคามิ ติดโผหนึ่งในร้อย ผู้ทรงอิทธิพลของโลก จัดอันดับโดยนิตยสารไทม์ (TIME) 100 บุคคลทรงอิทธิพลของโลก จัดอันดับ โดยนิตยสารไทม์ ประจ�ำปี 2015 นี้ แบ่งออกเป็น 5 หมวด ได้แก่ ผู้ขับเคลื่อนโลก ผู้น�ำโลก ผู้บุกเบิก ศิลปิน และ บุคคลต้นแบบ ฮารูกิ มูราคามิ นักเขียนชาวญี่ปุ่น อยู่ใน หมวดบุคคลต้นแบบ ร่วมกับคนดังอีกมากมาย อาทิ

บียอร์ค, เทย์เลอร์ สวิฟต์ รวมถึงมาลาลา ยูซาฟไซ เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ปีที่ผ่านมา ไทม์ เลือกแขกรับเชิญมาเขียนค�ำนิยมให้กับ บุคคลที่ได้รับคัดเลือก 100 คน โดย โยโกะ โอโนะ นักร้องชาวญี่ปุ่นและภรรยาคนที่สองของจอห์น เลนนอน เขียนค�ำนิยมแก่มูราคามิว่า “เขาเป็นนักเขียนที่สร้างสรรค์ จินตนาการสุดลึกล�้ำ สร้างเสริมความเห็นอกเห็นใจระหว่าง เพื่อนมนุษย์ ขณะเดียวกันก็ตรึงใจนักอ่านนับล้านด้วย โลกที่สมมติขึ้นมาในรูปแบบที่เฉพาะตัว” โอโนะยังกล่าว อีกว่า มูราคามิมีมุมมองเกี่ยวกับวัฒนธรรมร่วมสมัยที่ดี พอกันกับความเข้าใจที่ลึกซึ้งในธรรมเนียมดั้งเดิมของญี่ปุ่น ตัวของมูราคามิเองแม้จะใช้ชีวิตส่วนใหญ่ใน สหรัฐอเมริกาและได้รับอิทธิพลความเป็นสากล แต่ตัวตน และหนังสือของเขากลับมีข้าวของเครื่องใช้ รายละเอียด และกลิ่นอายความเป็นญี่ปุ่นสูงมาก สอดคล้องกับในปี ที่ผ่านมาที่รัฐบาลพรรคอนุรักษ์นิยมของญี่ปุ่นนิยามว่า เขาคือ “ตัวแทนที่ล�้ำค่าแห่งความเป็นสันติภาพ” ที่มา:

theguardian.com

โต๊ะท�ำงานของ ชาลส์ ดิกคินซ์ ถูกเก็บเข้าพิพธิ ภัณฑ์ โต๊ะเขียนหนังสือที่ชาลส์ ดิกคินซ์ นักเขียนนวนิยายชาว อังกฤษใช้สร้างสรรค์งานเขียนชิ้นส�ำคัญอย่าง Great Expectations, Our Mutual Friend และ The Mystery of Edwin Drood ถูกซื้อมาเก็บรักษาและจัดแสดงโดยพิพิธภัณฑ์ชาลส์ ดิกคินซ์ในกรุงลอนดอน ซึ่งดัดแปลงมาจาก บ้านหลังเดิมของนักเขียนชื่อดัง The National Heritage Memorial Fund (NHMF) กองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวบรวมข้าวของเครื่องใช้ หรือผลงานของบุคคลส�ำคัญมาจัดแสดงสาธารณะ ได้มอบ เงินบริจาคกว่า 780,000 ปอนด์ให้พิพิธภัณฑ์ชาลส์ ดิกคินซ์ ในกรุงลอนดอน จัดการประมูลซื้อโต๊ะและเก้าอี้ชุดนี้

มาเก็บรักษาไว้ โต๊ะชุดนี้ตกทอดมายังครอบครัวของ นักเขียนหลังจากที่เขาเสียชีวิตในปี 1870 ตอนนั้นมันถูก ประมูลไปโดยบริษัทหลักทรัพย์ Great Ormond Street และเมื่อปี 2004 โต๊ะชุดนี้ก็ถูกน�ำมาออกประมูลสาธารณะ เพื่อการกุศล หลังจากที่มันถูกเก็บไว้เป็นสมบัติส่วนบุคคล นานกว่า 150 ปี โต๊ะและเก้าอี้ชุดนี้คือทรัพย์สินล่าสุดที่ถูกจัดเก็บ รวมไว้กับข้าวของเครื่องใช้และผลงานของบุคคลส�ำคัญ ของชาติกว่า 1200 ชิ้นในการดูแลของกองทุน NHMF ที่นี่ ของทุกชิ้นจะถูกเก็บและอนุรักษ์ไว้เป็นสมบัติชาติและ ความทรงจ�ำที่ทรงคุณค่าของประเทศอังกฤษ ที่มา:

telegraph.co.uk


เรื่อง วลาภา จงจารุนันท์

Around the World in 2 Pages

วินนี-เดอะ-พูห์ ตอนใหม่มาแล้ว เจ้าหมีสีเหลืองตัวอ้วนกลมขนฟูฟ่องขวัญใจของทุกคน ก�ำลังจะกลับมา! ทุกคนต่างเห็นพ้องกันว่า วินนี-เดอะ-พูห์ คือ หนังสือเด็กที่เต็มไปด้วยแง่คิดที่ดีเหมาะกับผู้ใหญ่ เพราะ คุณจะได้เรียนรู้บทเรียนชีวิตจากเจ้าหมีพูห์ ความซื่อสัตย์ จากหมูแคระชื่อ พิกเล็ต ความฉลาดเฉลียวจากลุงนกฮูก ความขยันขันแข็งของเจ้ากระต่ายแรบบิท ความสนุกสนานของเจ้าเสือทิกเกอร์ และแน่นอน ความเศร้าหมอง ของลาซื่อชื่ออียอร์ เจ้าของลิขสิทธ์หนังสือยืนยันว่าจะออกเรื่อง ใหม่ซึ่งเป็นเรื่องราวภาคต่อจาก Winnie-the-Pooh (1926) และ The House at Pooh Corner (1928) หนังสืออมตะ ส�ำหรับเด็กที่สร้างขึ้นโดย เอ. เอ. มิลน์ (A. A. Milne)

โดยตอนใหม่ (ที่ยังไม่มีชื่อเรื่อง) นี้จะกลายเป็นภาคต่อ จากเรื่องแรกก่อนหน้านี้คือ Return to the Hundred Acre Wood โดยเดวิด เบเนดิกต์ ซึ่งตีพิมพ์ปี 2009 ใน โอกาสฉลองการสร้างสรรค์ผลงานของ เอ. เอ. มิลน์ ครบ 90 ปี ทางส�ำนักพิมพ์แอกมอนต์บอกว่าหนังสือเล่มใหม่นี้ จะมีเรื่องราวสอดคล้องกับเล่มก่อน และผู้ท�ำหน้าที่ วาดภาพประกอบคือ มาร์ค เบอร์เกส นักวาดคนเดิม จากผลงานปี 2009 นั่นเอง แต่ยังไม่ขอประกาศว่าใครจะ รับหน้าที่ผู้แต่งแต้มเรื่องราวหนังสือเล่มนี้ แย้มเพียงว่า “เป็นสุดยอดนักเขียนที่เข้าใจโลกและตัวละครของมิลน์ อย่างแท้จริง” ที่มา:

bustle.com

พร้อมตีพม ิ พ์หนังสือเด็ก ของพระราชินวี ก ิ ตอเรีย

เรื่องราวจากปลายปากกาที่ไม่เคยมีใครพบเห็นมาก่อน ของพระราชินีวิกตอเรียเมื่อพระชนมายุ 13 พรรษา ก�ำลังถูกตีพิมพ์เป็นครั้งแรก The Adventures of Alice Laselles คือผลงาน ที่ประพันธ์โดยเจ้าหญิงองค์น้อยชื่อ อเล็กซานดริน่า วิกตอเรีย ซึ่งต่อมาเธอได้กลายมาเป็นพระราชินีวิกตอเรีย ผู้ยิ่งใหญ่แห่งอังกฤษ ผลงานชิ้นนี้ว่าด้วยเรื่องราวของ เด็กสาวคนหนึ่งที่ถูกส่งไปอยู่ที่โรงเรียนสตรี Mrs Duncombe เพราะพ่อของเธอก�ำลังจะแต่งงานใหม่ เดิมที เรื่องนี้จะใช้ชื่อว่า The School จนกระทั่งวิกตอเรียตัดสินใจ ใช้ชื่อตามตัวละครเอกในเรื่อง งานเขียนชิ้นนี้ถือว่าเป็นสิ่งที่ “หาได้ยาก” เพราะ ต้องใช้ความพยายามมากในการรวบรวมเรื่องราวจาก บันทึกส่วนตัวซึ่งพระราชินีวิกตอเรียเขียนบันทึกมาตั้งแต่

พระชนมายุ 13 พรรษา มีบันทึกถึง 141 ชุด รวมแล้ว มากกว่า 43,000 หน้า เรื่อง The Adventures of Alice Laselles นี้เขียนอยู่ในสมุดบันทึกเล่มสีแดงที่พระองค์ ได้ตัดสินใจมอบให้พระมารดา ปัจจุบันสมุดบันทึกสีแดง เล่ ม นี้ ถู ก เก็ บ รั ก ษาไว้ โ ดยส� ำ นั ก ราชเลขาธิ ก ารแห่ ง พระราชวังวินด์เซอร์ของอังกฤษ นักเขียนผู้ท�ำหน้าที่ เขียนบทเปิดเรื่องให้หนังสือดังกล่าวบอกว่า “หากวิกตอเรีย ไม่ได้ถูกก�ำหนดชะตาให้เป็นพระราชินีแล้วละก็ เธอต้อง กลายเป็นนักเขียนที่น่าทึ่งอย่างแน่นอน” ภาพประกอบของ The Adventures of Alice Laselles จะใช้เทคนิคผสมผสานด้วยระบบดิจิตัล โดย ใช้วิธีการพิมพ์แบบกัดโลหะ และคัดลอกแบบวาดจาก ตุ๊กตากระดาษที่ท�ำขึ้นจากฝีมือพระราชินีวิกตอเรียใน วัยเด็กและพระพี่เลี้ยงของพระองค์ ที่มา:

telegraph.co.uk

เปิดห้องสมุด สาธารณะ 24 ชัว่ โมงเพือ่ วัยรุน ่ ไร้บา้ น โปรแกรมการชี้แนะแนวทางชีวิตเหล่าวัยรุ่นไร้บ้านเริ่ม ด�ำเนินการแล้วในห้องสมุดสาธารณะเปิดบริการ 24 ชั่วโมง แห่งเมืองเซาท์ เลค ซิตี้ สหรัฐอเมริกา รู้กันดีว่าห้องสมุดสาธารณะคือส่วนประกอบ ส�ำคัญอย่างหนึ่งที่ท�ำให้ชุมชนเกิดความก้าวหน้า ซึ่ง ห้องสมุดสาธารณะของเมืองเซาท์ เลค ซิตี้ รัฐยูธาห์ สหรัฐอเมริกา ก็คาดหวังไว้ว่าโปรแกรมชี้แนะแนวทาง ชี วิ ต ที่ ก� ำ ลั ง คิ ด ด� ำ เนิ น การอยู ่ นี้ จ ะช่ ว ยการสร้ า งพื้ น ที่ ส�ำหรับการพัฒนาที่สอดคล้องกับท้องถิ่น ทางห้องสมุด วางแผนเอาไว้ว่าจะให้ที่นี่เป็นห้องสมุดสาธารณะแรก ของประเทศที่เปิดบริการ 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ มีการจัดตั้ง โปรแกรมชี้แนะแนวทางชีวิตที่จะกลายเป็นหนทางช่วย เหลือวัยรุ่นไร้บ้านในเมืองเซาท์ เลคซิตี้ โดยโปรแกรม ดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากกองทุน Downtown Alliance แม้ว่าตามกฎหมาย รัฐยูธาห์จะช่วยดูแลและ ปกป้องวัยรุ่นอายุต�่ำกว่า 18 ปี ที่หนีออกจากบ้านเป็น เวลามากกว่า 48 ชั่วโมง แต่เซาท์ เลค ซิตี้ ในปัจจุบันยัง ไม่มีที่พักอาศัยส�ำหรับกลุ่มประชากรวัยรุ่นเร่ร่อนอย่าง จริงจัง จุดนี้เองที่ห้องสมุดสาธารณะของเมืองเซาท์ เลค ซิตี้ คาดหวังว่าจะขยายเวลาท�ำการซึ่งจะท�ำให้ที่นี่เป็น จุดหมายปลายทางที่ปลอดภัยส�ำหรับวัยรุ่นไร้บ้านทุกคน สมาชิกสภาสตรีเมืองเซาท์ เลค ซิตี้ บอกว่า นี่เป็นแนวคิดที่ยากต่อการปฏิบัติ ห้องสมุดควรขยายเวลา ถึงแค่ห้าทุ่มหรือเที่ยงคืน ไม่ควรปิดดึกกว่านั้น เพราะ ห้องสมุดแห่งนี้จะไม่ใช่ที่พักพิงของเด็กวัยรุ่น แต่อาจ กลายเป็นแหล่งซ่องสุมของเหล่าคนไร้บ้านทั่วไปในที่สุด ทั้งนี้ได้แนะน�ำว่าควรน�ำเงินไปดูแลเรื่องที่พักของกลุ่ม คนไร้บ้านโดยตรง ไม่ใช่น�ำเงินมาใช้รวมกับส่วนของ ห้องสมุด ทั้งนี้ฝ่ายผู้อ�ำนวยการห้องสมุดกล่าวว่าไม่ต้อง กังวลเพราะจะมีการเพิ่มการรักษาความปลอดภัยให้กับ ห้องสมุดนี้เป็นอย่างดี

ที่มา:

bustle.com

19


Translated Literature

ความทรงจ�ำจากร้านหนังสือ จอร์จ ออร์เวลล์ ตีพิมพ์ในนิตยสาร Fortnightly Review ฉบับเดือนธันวาคม 1936 “Bookshop Memories” - “ความทรงจ�ำจากร้านหนังสือ” เป็นความเรียง ที่เขียนโดยจอร์จ ออร์เวลล์ (George Orwell) ชื่อจริงว่า เอริก แบฺลร์ (Eric Blair, 25 มิถุนายน ค.ศ. 1903 – 21 มกราคม ค.ศ. 1950) พิมพ์เผยแพร่ ครั้งแรกในนิตยสาร Fortnightly Review ฉบับประจ�ำเดือนธันวาคม ค.ศ. 1936 (นิตยสารนี้ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1865 เป็นที่นิยมยกย่องและมีอิทธิพล ในอังกฤษสมัยศตวรรษที่ 19) เนื้อหาของความเรียงเป็นเรื่องความทรงจ�ำ ถึงช่วงเวลาเมื่อปี 1934 ที่ผู้เขียนเป็นพนักงานประจ�ำร้านหนังสือมือสอง ชื่อ Booklover's Corner (มุมคนรักหนังสือ) ที่ถนนเซาท์ เอ็นด์ในย่านแฮมป์สเตด กรุงลอนดอน โดยท�ำงานเฉพาะช่วงบ่ายเพื่อมีเวลาเขียนหนังสือช่วงเช้า และไปสังสรรค์ตอนค�่ำ ระหว่างท�ำงานที่ร้านหนังสือแห่งนี้ ออร์เวลล์ก�ำลัง ประพันธ์นวนิยายเรื่อง Keep the Aspidistra Flying (1936) ซึ่งตัวละครเอก ท�ำงานในร้านหนังสือท�ำนองเดียวกันนี้

ครั้งที่ผมท�ำงานในร้านหนังสือมือสอง ซึ่งผู้ไม่ได้ ท�ำงานทีน ่ น ั่ มักจะนึกภาพว่าเป็นเหมือนแดนสวรรค์ มีพวกสุภาพบุรษ ุ ชราผูน ้ า่ รักมาเดินดูหนังสือปกแข็งหุม ้ หนังเล่มต่างๆ กัน อยูเ่ ป็นนิจ ผมรูส ้ ก ึ สะดุดใจอยูเ่ รือ ่ งหนึง่ เป็นส�ำคัญ คือทีน ่ น ั่ เราหานักอ่านตัวยงได้ยากยิง่ ร้านเรามีหนังสือน่าสนใจเป็นพิเศษ กระนั้นผมก็ยังสงสัยว่าลูกค้าของเรามีจ�ำนวนถึงร้อยละสิบ หรือไม่ที่สามารถแยกแยะระหว่างหนังสือดีกับหนังสือเลวได้ มักจะมีแต่พวกขีโ้ อ่ทชี่ อบล่าหนังสือฉบับพิมพ์ครัง้ แรกเสียมากกว่า พวกคอวรรณกรรม แต่ที่พบได้บ่อยกว่านั้นอีกคือ นักศึกษา ชาวตะวันออกทีม ่ าต่อรองซือ้ ต�ำราเรียนราคาถูกๆ และทีพ ่ บได้บอ่ ย ทีส ่ ด ุ ก็คอ ื พวกผูห ้ ญิงความคิดเลือ ่ นลอยทีเ่ ข้ามาหาของขวัญ วันเกิดให้หลานชาย

George

Orwell

20

ผู้มาเยือนร้านของเราหลายคนเป็นคนประเภทที่คงจะ น่าร�ำคาญในที่อื่นทุกแห่ง แต่กลับสบโอกาสเหมาะเป็นพิเศษใน ร้านหนังสือ ยกตัวอย่าง หญิงชราผู้น่ารักที่ “ต้องการหาหนังสือ ให้คนพิการ” (มีมาถามแบบนี้บ่อยมาก) และหญิงชราผู้น่ารัก คนหนึ่งที่เคยอ่านหนังสือที่ดีเหลือเกินเล่มหนึ่งเมื่อปี 1897 และ อยากทราบว่าเราจะหาหนังสือนั้นให้แกสักเล่มหนึ่งได้ไหม แต่ โชคร้ายที่แกจ�ำไม่ได้เลยทั้งชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง และเนื้อหาว่า เกี่ยวกับเรื่องอะไร จ�ำได้แต่ว่าปกสีแดง นอกจากนี้แล้วก็ยังมี พวกน่าร�ำคาญซึ่งเป็นที่รู้กันดีอีกสองจ�ำพวกที่คอยมาป้วนเปี้ยน อยู่ตามร้านหนังสือมือสองทุกร้าน จ�ำพวกหนึ่งคือคนโทรมๆ ร่าง โชยกลิ่นเปลือกขนมปังหืนๆ คนพวกนี้จะแวะเวียนเข้ามาทุกวัน บางวันหลายครั้ง พยายามมาขายหนังสือไร้ค่า อีกจ�ำพวกคือคน ที่สั่งหนังสือจ�ำนวนมากที่ตนไม่ได้ตั้งใจจะช�ำระเงินซื้อเลยสักนิด ร้านของเราไม่ขายของเงินเชื่อ แต่เราจะเก็บหนังสือไว้ให้หรือ หากจ�ำเป็นก็จะสั่งมาให้ลูกค้าที่สั่งไว้ว่าจะมาซื้อไปในภายหลัง คนที่สั่งหนังสือจากเรามีไม่ถึงครึ่งที่หวนกลับมาซื้อจริง เรื่องนี้ใน ตอนแรกก็เคยท�ำให้ผมพิศวง เขาท�ำอย่างนี้กันท�ำไมหรือ เข้ามา สั่งหนังสือหายาก ราคาแพง แล้วให้เราสัญญาเป็นมั่นเป็นเหมาะ ว่าจะเก็บไว้ให้ จากนั้นก็หายหน้าไปไม่ย้อนกลับมาอีกเลย แต่ แน่ละ ไม่ต้องสงสัยเลยว่าคนพวกนี้จ�ำนวนไม่น้อยเป็นพวกโรคจิต หวาดระแวงที่มีอาการหลงผิดคิดว่าตนเขื่อง ชอบพูดถึงตนเอง

อย่างเลิศหรูและเล่าเรื่องแยบคายเพื่ออธิบายว่าออกจากบ้านมาได้อย่างไร โดยบังเอิญไม่ได้พกเงินมาด้วย ซึ่งในหลายกรณีผมมั่นใจว่าเขาก็เชื่อเรื่องที่ ตนเองเล่า ในเมืองเช่นลอนดอนมีคนที่ไม่เชิงจะเรียกได้ว่าบ้าอยู่มากมายเสมอ และคนเหล่านี้ก็มักจะมาป้วนเปี้ยนตามร้านหนังสือเพราะเป็นสถานที่เพียงไม่ กี่แห่งให้มาเอ้อระเหยอยู่ได้นานๆ โดยไม่ต้องเสียเงิน สุดท้ายแล้วเราก็ดูคน พวกนี้ออกตั้งแต่แวบแรก ไม่ว่าจะคุยเขื่องสักเพียงใดคนพวกนี้ก็ยังดูซอมซ่อ และเคว้งคว้าง เมื่อเราต้องรับมือกับคนที่เห็นได้ชัดว่าเป็นพวกหลงผิดคิดว่า ตนเขื่อง เราก็มักจะเก็บหนังสือที่เขาขอให้เก็บไว้ให้ แต่พอเขาลับหลังไป เราก็ เอากลับไปวางคืนที่เดิมบนชั้นหนังสือ ผมสังเกตว่าพวกนี้ ไม่มีคนใดเคย พยายามเอาหนังสือไปโดยไม่ช�ำระเงิน เพียงแค่ได้สั่งให้จัดไว้ให้ เขาก็พอใจแล้ว ผมเดาว่าเนื่องจากการท�ำเช่นนั้นช่วยลวงให้เขารู้สึกราวกับได้ใช้เงินไปจริงๆ ก็เช่นเดียวกับร้านขายหนังสือมือสองทั้งหลายคือเรามีงานเสริม อย่างอื่นๆ ด้วยหลายงาน ยกตัวอย่าง เราขายเครื่องพิมพ์ดีดมือสองและ ขายตราไปรษณียากร ผมหมายถึงตราไปรษณียากรที่ใช้แล้ว นักสะสมตรา ไปรษณียากรเป็นพวกที่ประหลาด เงียบ เหมือนปลา เป็นเช่นนี้ทุกวัย แต่มี เฉพาะพวกผู้ชายเท่านั้น ผู้หญิงดูจะไม่เห็นว่าการน�ำชิ้นกระดาษสีมาติดอัลบั้ม เป็นเรื่องน่าพิสมัยเป็นพิเศษแต่อย่างใด เราขายค�ำพยากรณ์ดวงชะตาตาม จักรราศีด้วย ราคาหกเพ็นนี เรียบเรียงโดยใครคนหนึ่งที่อ้างว่าเคยท�ำนาย การเกิดแผ่นดินไหวในญี่ปุ่นมาแล้ว ค�ำพยากรณ์บรรจุใส่ซองปิดผนึก ผมไม่เคย เปิดดูสักซอง แต่คนที่ซื้อไปมักจะกลับมาบอกเราว่าท�ำนายได้ “แม่น” เพียงใด (ค�ำพยากรณ์ดวงชะตาใดๆ ก็ดูจะ “แม่น” หากบอกว่าเราดึงดูดใจเพศตรงข้าม เป็นอย่างยิ่งและข้อบกพร่องประการส�ำคัญของเราคือเป็นคนใจอารีเกินไป) เราค้าขายหนังสือเด็กจ�ำนวนมากมาย ส่วนใหญ่เป็นพวกหนังสือ “ค้างสต๊อก” หนังสือสมัยใหม่ส�ำหรับเด็กเป็นสิ่งที่ออกจะน่าแขยงอยู่ โดยเฉพาะเมื่อเห็น เป็นจ�ำนวนมากๆ โดยส่วนตัวผมอยากจะเอาหนังสือของเปโตรเนียส อาร์บิเตอร์1 ให้เด็กมากกว่าหนังสือเรื่อง ปีเตอร์ แพน แต่แม้แบร์รี่2 ก็ยังดูเป็นผู้ใหญ่และ ส่งเสริมศีลธรรมอันดีเมื่อเทียบกับคนในยุคหลังบางคนที่ลอกเลียนแบบเขา ช่วงคริสต์มาส เราต้องรับมือกับการขายบัตรอวยพรและปฏิทินกันอย่างเป็นบ้า เป็นหลังสิบวัน ของพวกนี้น่าเอือมระอาแต่ก็ขายดีในช่วงเทศกาล ผมเคย สนใจสังเกตท่าทีดูแคลนค่านิยมของผู้คนอย่างแรงที่คนเราใช้หาประโยชน์ จากอารมณ์อ่อนไหวของชาวคริสต์ พนักงานขายบัตรอวยพรคริสต์มาสของ บริษัทต่างๆ มักจะเอาแค็ตตาล็อกมาเร่งรัดการขายแต่เนิ่นๆ ตั้งแต่เดือน มิถุนายนเลยทีเดียว วลีหนึ่งจากใบเรียกเก็บเงินของบริษัทพวกนี้ยังติดตรึงใน ความทรงจ�ำผมคือ “2 โหล กุมารเยซูกับกระต่าย”


แปล บัญชา สุวรรณานนท์

Translated Literature

แต่งานเสริมที่เป็นหลักของเราคือการให้เช่าหนังสือ แบบเดียวกับ ร้านให้เช่าหนังสือร้านต่างๆ ที่พบได้ทั่วไป คือให้เช่าในราคา “สองเพ็นนี ไม่มี มัดจ�ำ” และมีหนังสือราวห้าถึงหกร้อยเล่มที่ล้วนเป็นหนังสือบันเทิงคดี พวก นักขโมยหนังสือต้องชอบร้านแบบนี้มากทีเดียว! การยืมหนังสือจากร้านหนึ่ง ด้วยต้นทุนเพียงสองเพ็นนี แกะตราของร้านออกไป แล้วเอาไปขายให้ร้านเช่า หนังสืออีกร้านหนึ่งในราคาหนึ่งชิลลิ่ง นับเป็นอาชญากรรมที่ท�ำได้ง่ายที่สุดในโลก กระนั้นโดยทั่วไปแล้วผู้ขายหนังสือก็ยังเห็นว่าการยอมโดนขโมยหนังสือไปบ้าง (ร้านเราโดนขโมยราวเดือนละสิบสองเล่ม) ก็ยังคุ้มค่าดีกว่าท�ำให้ลูกค้าขยาดหนี เพราะเรียกเก็บค่ามัดจ�ำหนังสือ ร้านของเราตั้งอยู่ตรงชายเขตแฮมป์สเต็ดที่ติดกับแคมเด็นทาวน์ ลูกค้าของร้านมีตั้งแต่ขุนน�้ำขุนนางตราตั้งไปจนถึงคนขับรถโดยสารประจ�ำทาง สมาชิกผู้เช่าหนังสือจากร้านของเราน่าจะครอบคลุมนักอ่านในลอนดอนทุกชนชั้น และอาชีพอย่างครบครัน ฉะนั้นจึงน่าสังเกตว่าในบรรดานักประพันธ์ของหนังสือ ทั้งปวงในร้านเรา คนที่ “ขายดี” ที่สุดคือใครกัน พริสลี? เฮมิงเวย์? วอลโพล? วูดเฮาส์? หามิได้ เอ็ตเทิล เอ็ม. เดลล์ ต่างหาก รองลงมาไล่เลี่ยกันคือวอร์ริก ดีปพิง และผมคิดว่าอันดับสามคือเจฟฟรีย์ ฟาร์นอล แน่นอนว่านวนิยายของ เดลล์นั้นผู้อ่านส่วนใหญ่มิใช่เพียงเป็นสตรีเท่านั้น แต่เป็นสตรีทุกจ�ำพวกและ ทุกวัย มิใช่อย่างที่เราอาจจะคิดว่าคงมีแต่เพียงพวกสตรีโสดที่ละห้อยเพ้อ ละเมอฝันหรือสตรีอ้วนภรรยาเจ้าของร้านขายยาสูบเท่านั้น ส่วนที่ว่าผู้ชาย ไม่อ่านนวนิยายนั้นก็ไม่จริงเลย แต่จริงที่ว่ามีหนังสือบันเทิงคดีในแนวต่างๆ ทีผ่ ู้ชายหลีกเลี่ยง กล่าวอย่างคร่าวๆ คือ หนังสือที่เราอาจจะเรียกว่านวนิยาย “พื้นๆ” คือพวกเรื่องดาดๆ เรื่องความดี-ความเลว เรื่องแบบกอลสเวอร์ทีผสมน�้ำ3 ซึ่งเป็นบรรทัดฐานของนวนิยายอังกฤษนั้น ดูเหมือนว่าจะมีไว้เพื่อสตรีเท่านั้น ผู้ชายมักอ่านนวนิยายที่พอจะน่ายกย่องได้หรือไม่ก็อ่านนวนิยายสืบสวน โดย มักอ่านนวนิยายสืบสวนกันอย่างมหาศาล เท่าที่ผมทราบ สมาชิกคนหนึ่ง ของเราอ่านนวนิยายสืบสวนสี่ถึงห้าเล่มทุกสัปดาห์ตลอดปี นอกเหนือจากเล่ม อื่นๆ ที่เขาเช่าจากที่อื่น เรื่องที่ผมประหลาดใจเป็นส�ำคัญคือเขาไม่เคยอ่าน หนังสือเล่มเดิมซ�้ำเลย เห็นได้ว่างานขยะน่าขยาดอันมากมายมหาศาลทั้งหมด นั้น (ผมค�ำนวณว่าหน้าหนังสือที่เขาอ่านไปในแต่ละปีคงจะเกือบคลุมพื้นที่ เศษสามส่วนสี่ของเอเคอร์ได้) เก็บอยู่ในความทรงจ�ำของเขาไปตลอดกาล เขา ไม่ใส่ใจชื่อเรื่องหรือชื่อผู้ประพันธ์ แต่เขาแค่เปิดหนังสือดูเพียงคร่าวๆ เขาก็บอก ได้ว่า “เคยเอาไปแล้ว” หรือยัง ตามห้องสมุดเราจะได้เห็นรสนิยมอันแท้จริงของคน ไม่ใช่รสนิยมที่ เขาอวดอ้าง และเรื่องหนึ่งที่เราจะรู้สึกสะดุดใจคือนักเขียนนวนิยายคลาสสิก ของอังกฤษช่างพ้นจากความนิยมไปโดยสิ้นเชิงได้อย่างไร คือเรียกว่าไร้ประโยชน์ โดยแท้ หากว่าเราจะเอาหนังสือของดิกคินซ์, แท็กเคอเรย์, เจน ออสเต็น, ทรอลโลป ฯลฯ มาบรรจุไว้ในร้านเช่าหนังสือที่เป็นร้านแบบธรรมดาทั่วไป เพราะว่า จะไม่มีใครสนใจเช่าไปอ่าน แค่ได้เห็นหนังสือนวนิยายสมัยศตวรรษที่สิบเก้า เข้าเท่านั้น คนก็ว่า “เออ แต่นั่นเก่าแล้วนี่!” แล้วก็ผละหนีไปทันที กระนั้น ดิกคินซ์ ก็ออกจะขายได้ง่ายอยู่ เช่นเดียวกับเชกสเปียร์ที่ขายได้ง่ายเสมอ ดิกคินซ์เป็น หนึ่งในนักประพันธ์ที่คน “ตั้งใจอยู่เสมอว่าจะ” อ่าน และก็เช่นเดียวกับพระคริสต์ธรรมคัมภีร์คือคนมักซื้อที่เป็นหนังสือมือสอง คนมักจะฟังเขามาอีกทีจึงรู้ว่าบิลล์ ไซคฺส์เป็นโจรลักทรัพย์และนายมิคอเบอร์ศีรษะล้าน4 เช่นเดียวกับที่อาศัยได้ฟัง เขาพูดกันจึงรู้ว่ามีคนพบโมเสสในตะกร้าสานด้วยต้นกกและโมเสสได้เห็น “ด้านหลัง” ของพระผู้เป็นเจ้า อีกเรื่องที่สังเกตเห็นได้ชัดมากคือ คนไม่นิยม หนังสือของอเมริกันยิ่งขึ้นทุกที และอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งพวกผู้จัดพิมพ์วิตกเดือดร้อน เพราะเรื่องนี้อยู่ทุกสองหรือสามปี คือเรื่องที่ว่าคนไม่นิยมเรื่องสั้น ลูกค้า ประเภทที่ขอให้บรรณารักษ์ของร้านเช่าหนังสือช่วยเลือกหนังสือให้ รายไหน รายนั้นมักเริ่มด้วยการกล่าวว่า “ฉันไม่เอาเรื่องสั้นนะ” หรือแบบที่ลูกค้าชาว เยอรมันของร้านเรามักจะพูดคือ “ฉันไม่อยากได้เรื่องเล็กๆ” ถ้าเราถามว่า ท�ำไม คนเหล่านี้บางครั้งก็อธิบายว่าเพราะระอิดระอาที่ต้องคอยจ�ำตัวละคร ชุดใหม่ในทุกๆ เรื่อง เขาอยากจะ “ดื่มด�่ำ” กับนวนิยายแบบที่ไม่บังคับให้ต้องใช้ ความคิดอะไรหลังจากบทแรก กระนั้นผมก็เชื่อว่าเรื่องนี้ต้องโทษผู้ประพันธ์ มากกว่าผู้อ่าน เรื่องสั้นสมัยใหม่ส่วนใหญ่ไม่ว่าจะของอังกฤษหรืออเมริกา ช่างไร้ชีวิตชีวาและไร้คุณค่าโดยสิ้นเชิง ยิ่งกว่านวนิยายส่วนใหญ่เป็นอย่างมาก เรื่องสั้นที่มีแก่นสารนั้นคนก็นิยมกันอยู่พอควร ขอให้ดูอย่างเรื่องสั้นของ

ดี.เอช. ลอว์เร็นซ์ ซึ่งเป็นที่นิยมทัดเทียมกับนวนิยายของเขา ผมอยากประกอบอาชีพขายหนังสือหรือไม่ กล่าวโดยรวมแล้วก็ ไม่อยาก ทั้งที่นายจ้างเมตตาและมีบางวันในร้านที่ผมมีความสุข ถ้ารู้จักพูดจาขายของได้เก่งและมีทุนรอนพอเหมาะ คนที่มีการศึกษา คนใดก็น่าจะสามารถพอหาเลี้ยงชีพได้จากร้านหนังสือ ถ้าไม่ไปจับทางขาย หนังสือ “หายาก” แล้วก็นับว่าเป็นการค้าที่หัดได้ไม่ยาก อีกทั้งเรายังเริ่มต้น อย่างได้เปรียบถ้าเรารู้เนื้อหาข้างในหนังสือต่างๆ (ผู้ค้าหนังสือส่วนใหญ่ไม่รู้ เราจะเห็นได้ว่ารู้แค่ไหนเมื่อดูที่ผู้ค้าหนังสือโฆษณาขายหนังสือลงในหนังสือ ปกอ่อน ถ้าเราไม่เห็นโฆษณาหนังสือ ดิไคลน์ แอนด์ ฟอลล์ ของบอสเวลล์ ก็จะเห็นโฆษณาหนังสือ เดอะ มิลล์ ออน เดอะ ฟลอสส์ ของ ที. เอส. เอเลียต)5 การท�ำร้านหนังสือยังเป็นการค้าที่มีมนุษยธรรม อันไม่อาจท�ำให้หยาบช้าลงไปได้ เกินจุดหนึ่ง กลุ่มกิจการใหญ่ๆ ไม่มีวันจะบีบผู้ค้าหนังสืออิสระรายเล็กๆ ให้หาย ไปได้เหมือนที่บีบร้านของช�ำและคนส่งนม แต่ชั่วโมงท�ำงานนั้นก็ยาวนานยิ่ง ผมเป็นเพียงลูกจ้างท�ำงานไม่เต็มเวลา แต่นายจ้างของผมท�ำงานถึงสัปดาห์ละ เจ็ดสิบชั่วโมง ไม่นับที่ต้องเดินทางนอกเวลาท�ำงานเพื่อไปซื้อหนังสือ นอกจากนี้ก็ยัง เป็นชีวิตที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพ โดยทั่วไปร้านหนังสือหนาวเย็นจัดในฤดูหนาว เพราะถ้า อุ่นเกินไปหน้าต่างร้านจะเป็นฝ้าจับจนมัว คนขายหนังสือต้องพึ่งหน้าต่างร้าน อีกทั้ง หนังสือก็มีฝุ่นคลุ้งมากกว่าและน่าชังยิ่งกว่าวัตถุประเภทอื่นใดที่มนุษย์ประดิษฐ์ คิดค้นขึ้นมา ด้านบนของหนังสือยังเป็นที่ซึ่งแมลงวันหัวเขียวทุกตัวชอบมาตาย แต่เหตุผลแท้จริงว่าเหตุใดผมจึงไม่ควรอยากท�ำอาชีพค้าหนังสือ ไปตลอดชีวิตก็คือ ตอนที่ท�ำงานเช่นนี้ ผมสูญเสียความรักหนังสือไป คนขาย หนังสือจ�ำต้องโกหกเรื่องหนังสือต่างๆ และนั่นท�ำให้เขารังเกียจหนังสือ ที่แย่ ยิ่งกว่านั้นคือเรื่องที่เขาต้องคอยปัดฝุ่นหนังสืออยู่เสมอและต้องคอยหยิบจาก ตรงนี้ไปตรงนั้น มีครั้งหนึ่งที่ผมเคยรักหนังสือจริงๆ คือรักการได้เห็น ได้ดมกลิ่น ได้สัมผัสหนังสือ นี่ผมหมายถึงว่าหากหนังสือนั้นอายุห้าสิบปีหรือมากกว่านั้น ไม่มีอะไรท�ำให้ผมพอใจมากเท่าการได้ซื้อหนังสือเป็นตั้งๆ ด้วยเงินเพียงหนึ่ง ชิลลิ่งจากการขายเลหลังตามชนบท หนังสือต่างๆ ที่เราไม่คาดคิดว่าจะได้ เจอะเจอ ซึ่งมีสภาพโทรมๆ ที่เราหาได้จากการเลหลังดังกล่าวนั้น มีรสชาติเป็น พิเศษ อาทิ งานของกวีที่ไม่โด่งดังจากศตวรรษที่ 18 อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ที่ล้าสมัย นวนิยายที่คนลืมเลือนไปแล้วบางเล่ม นิตยสารสตรีจากยุคทศวรรษ 1860 ที่เย็บเล่มรวมกัน ถ้าจะอ่านเล่น ตัวอย่างเช่น ในเวลาที่อาบน�้ำแช่อยู่ใน อ่าง หรือตอนดึกๆ เมื่อเรารู้สึกล้าเกินกว่าจะเข้านอน หรือในช่วงเวลาเล็กน้อย สักแค่สิบห้านาทีก่อนกินอาหารเที่ยงก็ไม่มีอะไรสู้นิตยสารเกิลส์ โอน เพเพอร์ 6 เล่มเก่าๆ แต่ทันทีที่ผมไปท�ำงานในร้านขายหนังสือผมก็เลิกซื้อหนังสือ เมื่อเรา เห็นหนังสือกองพะเนิน ครั้งละห้าพันหรือหมื่นเล่ม หนังสือก็กลับน่าเบื่อจนถึง กับน่าคลื่นเหียนอยู่บ้าง ทุกวันนี้ผมซื้อหนังสือบ้างเป็นบางครั้ง โดยซื้อแต่ เฉพาะหนังสือที่ผมต้องการอ่านและหายืมไม่ได้ และผมไม่เคยซื้อหนังสือขยะ กลิ่นหอมหวานของกระดาษที่ก�ำลังเสื่อมสภาพไม่ดึงดูดใจผมอีกต่อไปแล้ว เพราะชวนให้ผมนึกถึงพวกลูกค้าที่หลงผิดคิดว่าตนเขื่องและแมลงวันหัวเขียว 1

Gaius Petronius Arbiter (ราว ค.ศ. 27 – 66) ข้าราชส�ำนักโรมันในรัชสมัยของจักรพรรดิเนโร เชื่อกันว่าเป็นผู้แต่ง นวนิยายเสียดสีเรื่องซาตีริกอน (Satyricon) 2 Sir James Matthew Barrie (ค.ศ. 1860 – 1937) นักประพันธ์ชาวสก็อต ผลงานโด่งดังคือ ปีเตอร์ แพน 3 Galsworthy-and-water stuff หมายถึงพวกนวนิยายแบบของจอห์น กอลสเวอร์ที แต่ไม่ดีเท่า สรุปคือเป็น นวนิยายพื้นๆ วลีนี้ออร์เวลล์กล่าวติดตลก ฟังคล้ายการสั่งวิสกี้ผสมน�้ำ ประหนึ่งว่ากอลสเวอร์ทีเป็นวิสกี้ยี่ห้อหนึ่ง ออร์เวลล์เห็นว่าผลงานในช่วงหลังๆ ของกอลสเวอร์ทีด้อยคุณภาพ (John Galsworthy, 1867-1933; นักเขียน รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจ�ำปี 1932 ผู้แต่งนวนิยายเรื่อง The Forsyte Saga) 4 ตัวละครจากนวนิยายของชาลส์ ดิกคินซ์เรื่อง โอลิเวอร์ ทวิสต์ (Oliver Twist) และเรื่อง เดวิด ค็อปเปอร์ฟีลด์ (David Copperfield) ตามล�ำดับ 5 ผู้โฆษณาเขียนชื่อผู้ประพันธ์หนังสือทั้งสองเล่มนี้ผิด ที่ถูกคืออีฟเวอลิน วอ และจอร์จ เอเลียต ตามล�ำดับ ความ เสื่อมถอยและล่มสลาย หรือ Decline and Fall (1928) แต่งโดยนักประพันธ์ชายชาวอังกฤษชื่ออีฟเวอลิน วอ (Evelyn Waugh) ชื่อเต็มคือ Arthur Evelyn St. John Waugh (1903–1966) ผลงานอื่น เช่น นวนิยายเรื่อง Brideshead Revisited (1945) เรื่อง Decline and Fall เป็นนวนิยายตลกเสียดสีสังคมล้อเลียนสังคมอังกฤษใน ยุคทศวรรษ 1920 ชื่อนวนิยายเรื่องนี้เลียนชื่อหนังสือประวัติศาสตร์ที่เขียนโดย Edward Gibbon (1737-94) คือ The History of the Decline and Fall of the Roman Empire (1776) ที่บางครั้งเรียกย่อๆ ว่า Decline and Fall of the Roman Empire โรงสีริมแม่น�้ำฟลอสส์ หรือ The Mill on the Floss (1860) คือนวนิยายที่ประพันธ์โดย George Eliot ซึ่งเป็น นามปากกาของนักประพันธ์หญิงยุควิกตอเรียนชื่อ Mary Ann Evans (1819-1880) นวนิยายเรื่องอื่นๆ ที่มีชื่อ เสียงของเธอ เช่น Adam Bede (1859) และ Silas Marner (1861) 6 Girl's Own Paper นิตยสารสตรีของอังกฤษ จัดพิมพ์ในช่วงปี 1880-1956 นิตยสารนี้นับจากทศวรรษ 1930 เป็นต้นมาเน้นกลุ่มผู้อ่านวัยเยาว์ มีเรื่องเกี่ยวกับชีวิตในโรงเรียน เจ้าหญิงโดนลักพาตัว เรื่องดาราภาพยนตร์ เป็นต้น แม้ว่าต่อมาเนื้อหาจะเคร่งขรึมจริงจังมากขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

21


Screen Reader

ก�ำแพงเก่าทีย่ งั ไม่ถก ู ท�ำลาย

Stardust (2007)

ตั้งแต่วรรณกรรมเยาวชนชุด Harry Potter โด่งดังเมื่อปี 1997 ดูเหมือนว่าขนบของวรรณกรรมเยาวชนจะได้รบ ั อิทธิพลจากเรือ ่ งราว ของพ่อมดน้อยแฮร์รี่อย่างจัง เราเริ่มได้อ่านวรรณกรรมเยาวชนที่ เพิม ่ ความทันสมัยของโลกปัจจุบน ั ใส่ความมืดหม่นลงในเนือ ้ หา และมี กระทัง่ ความซับซ้อนทีบ ่ างครัง้ ผูใ้ หญ่ยงั อ่านแทบไม่เข้าใจ นิยายทีว ่ าง พล็อตเรือ ่ งให้ตว ั เอกเป็นเด็กธรรมดาๆ ในโลกยุคปัจจุบน ั ซึง่ กลายเป็น คนพิเศษในโลกแฟนตาซีตา่ งๆ เกิดขึน ้ หลายต่อหลายเรือ ่ ง แทบทัง้ หมด เป็นนิยายทีม ่ ภ ี าคต่อ ไม่วา่ จะเป็นไตรภาคหรือมากกว่านัน ้ ต่างก็ถก ู ระดมผลิตกันออกมาจนนักอ่านรุน ่ ใหม่รส ู้ ก ึ คุน ้ ชิน

22

หรือว่าโลกของวรรณกรรมเยาวชนได้เปลี่ยนไปแล้ว หรือว่าวันเวลา ของเทพนิยายที่ว่าด้วยเจ้าชาย เจ้าหญิง พ่อมด แม่มด มังกรไฟ และโจรสลัด เหมือนยุคก่อนหน้านี้จะเป็นเรื่องล้าสมัยไปเสียแล้ว ใช่ว่านักเขียนทุกคนจะคิดเช่นนั้น อย่างน้อยในปี 1999 นักเขียน ชาวอังกฤษชื่อ นีล เกแมน (Neil Gaiman) ก็ได้ประพันธ์วรรณกรรมเยาวชน ขึ้นมาเรื่องหนึ่งโดยใช้ขนบเก่าๆ ในแบบที่นักวิชาการเรียกว่า pre-Tolkien คือ เป็นการเดินเรื่องตามแบบนิทานเจ้าชาย-เจ้าหญิงยุคก่อนที่จะมีวรรณกรรม แฟนตาซีสุดซับซ้อนอย่าง The Lord of the Rings ออกมาสร้างมาตรฐานใหม่ นีล เกแมนตั้งชื่อนิยายของเขาแบบเฉิ่มๆ ว่า Stardust (แปลเป็นไทยให้เฉิ่ม ตามกันไปก็คงแปลได้ว่า “ละอองดาว” หรือ “ธุลีดาว”) ในเวอร์ชั่นแรกเขาออก นิยายเรื่องนี้โดยมีภาพประกอบสวยๆ ฝีมือของชาลส์ เวสส์ (Charles Vess) เป็นจุดขายที่ทัดเทียมกัน แต่ภายหลัง ด้วยเนื้อหาที่โดดเด่นของ Stardust ก็ ท�ำให้มีส�ำนักพิมพ์ชักชวนให้เขาออกหนังสือในเวอร์ชั่นที่เป็นตัวหนังสือล้วนๆ ด้วย แล้วมันก็เป็นวรรณกรรมเยาวชนที่ได้รับเสียงชื่นชมถึงขนาดที่ได้รางวัล ทางวรรณกรรมติดไม้ติดมือไปหลายรายการ Stardust เล่าเรื่องของหนุ่มน้อยที่ชื่อว่า ทริสตรัน ธอร์น ในหมู่บ้าน เล็กๆ แห่งหนึ่งในจักรวรรดิอังกฤษ ย้อนยุคไปราว 200 ปี หมู่บ้านแห่งนี้มี ก�ำแพงเก่าแก่ที่ทอดยาวอยู่ข้างหมู่บ้าน เป็นก�ำแพงที่ขวางกั้นระหว่างโลก มนุษย์กับโลกแฟนตาซีที่ชื่อว่า “แฟรี่” และหมู่บ้านแห่งนี้ก็มีชื่อที่เข้าใจง่ายๆ ว่า หมู่บ้านวอลล์ หรือ “ก�ำแพง” นั่นเอง ทริสตรันมีชาติก�ำเนิดที่ลึกลับ แม้เขาจะดูฉลาดเฉลียว แต่ก็ยังเป็น เพียงเด็กหนุ่มสามัญที่ความใฝ่ฝันสูงสุดคือการเอาชนะใจสาวงามในหมู่บ้าน การผจญภัยของทริสตรันเริ่มต้นขึ้นเมื่อเขาดันไปสัญญากับหญิงสาวว่าจะไป เก็บดวงดาวมาให้เธอ เป็นจังหวะเดียวกับที่เขาเห็นดาวตกร่วงลงมายังพื้นที่ หลังก�ำแพงเก่าแก่ข้างหมู่บ้าน ทริสตรันจึงฝ่าข้ามก�ำแพงต้องห้าม แล้วออก เดินทางไปหาดาวที่ร่วงลงมาเพื่อจะน�ำมาก�ำนัลแด่หญิงสาว แต่เมื่อไปถึงจุด ที่ดวงดาวตกลงมา เขากลับพบผู้หญิงคนหนึ่งแทน ทริสตรันรู้ทันทีว่าหญิงสาว คนนี้คือดวงดาว และเขาต้องพาเธอกลับไปให้คนรักของเขาให้ได้ การเดินทางของทริสตรันด�ำเนินไปพร้อมกับเรื่องวุ่นวายในโลกแฟรี่ เพราะเป็นห้วงเวลาที่กษัตริย์ชราก�ำลังจะสิ้นลม จึงตัดสินใจเขวี้ยงอัญมณี คู่บัลลังก์ขึ้นไปบนฟ้า (เป็นเหตุให้ไปโดนดวงดาว จนเกิดดาวตกให้ทริสตรัน

เรื่อง วิภว์ บูรพาเดชะ

ได้เห็น) แล้วให้เจ้าชายทั้งหลายแข่งกันตามหาอัญมณีนั้น เพื่อผู้ที่พบก่อนจะ ได้สิทธิ์ในการครองบัลลังก์ต่อไป ในขณะที่อีกมุมหนึ่งของแฟรี่ แม่มดชราสามนางก็เห็นดาวตกเช่นกัน พวกแม่มดรู้ว่าเคล็ดลับของการมีชีวิตยืนยาวก็คือการได้กินหัวใจ ของดวงดาว ดังนั้น พวกเธอก็เป็นอีกฝ่ายที่ตามล่าดาวตกดวงนี้เช่นกัน การต่อสู้แย่งชิงดวงดาวของทั้งสามฝ่ายด�ำเนินไปอย่างสนุกสนาน มีการหักเหลี่ยมเฉือนคม มีเรื่องดุเดือด เรื่องรักหวานซึ้ง และเรื่องตลกขบขัน เกิดขึ้นอย่างครบรส ตัวละครเปี่ยมสีสันอีกหลายตัวถูกเติมเข้ามาอย่างเหมาะเจาะ ทั้งแก๊งโจรสลัด แก๊งผีเจ้าชายผู้ล่วงลับ และแม้จะเดินตามขนบนิทานเก่าๆ แต่จังหวะลีลารวมทั้งประเด็นใหม่ๆ ก็ถูกเติมเข้าไปอย่างไม่ขัดแย้ง น่าเสียดายที่แม้จะประสบความส�ำเร็จในระดับน่าชื่นใจ คือเป็น หนังสือที่ได้ทั้งเงินและกล่อง หากแต่เมื่อเทียบกับกระแสของพ่อมดน้อยแฮร์รี่ แล้ว Stardust ก็ยังถือว่าห่างไกลอยู่ดี Stardust ถูกน�ำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี 2007 โดยฝีมือของ ผู้ก�ำกับ แมทธิว วอห์น (Matthew Vaughn) ที่เคยก�ำกับหนังบู๊ฟอร์มขนาด กลางมาเพียงเรื่องเดียวคือ Layer Cake (2004) และมีเครดิตเป็นโปรดิวเซอร์ หนังห่ามๆ ของ กาย ริทชี่ มาบ้าง เรียกว่าดูจากเครดิตแล้วไม่น่าจะเหมาะกับ การท�ำหนังแฟนตาซีเรื่องนี้ด้วยประการทั้งปวง หนังได้พระเอกหน้าใหม่อย่าง ชาร์ลี ค็อกซ์ มารับบทน�ำ และได้ดาราชื่อดังที่อาจจะไม่ค่อยฮอตแล้วในช่วงนั้น อย่าง แคลร์ เดนส์, มิเชลล์ ไฟเฟอร์ และโรเบิร์ต เดอ นีโร มาร่วมแสดง ดูจากหน้าหนัง คนที่ไม่เคยได้ยินชื่อหนังสือเล่มนี้มาก่อนก็คงจะเห็น เพียงภาพคร่าวๆ ของหนังแฟนตาซีเชยๆ เรื่องหนึ่งที่มีดาราน่าสนใจพอ ประมาณกับพล็อตเรื่องที่คงจะเฉิ่มๆ เท่านั้น แต่ปรากฏว่าเมื่อหนังเข้าฉาย มันก็ค่อยๆ ได้รับเสียงชื่นชมแบบปากต่อปาก จนท�ำรายได้ไปถึง 135 ล้านเหรียญ ในบ็อกซ์ออฟฟิศ และยังได้รับเสียงชื่นชมจากนักวิจารณ์ไปพองาม ถึงปลายปี หนังเรื่องนี้ก็ได้รางวัลมาประดับเครดิตไปไม่น้อย และน่าจะเป็นผลให้แมทธิว วอห์น ได้ก�ำกับหนังที่ฟอร์มใหญ่ขึ้นอีกอย่าง Kick-Ass (2010) และ X-Men: First Class (2011) ในเวลาต่อมา ส�ำหรับคนที่เข้าโรงไปชมภาพยนตร์ Stardust ในตอนที่มันเข้าโรง ในปีนั้นโดยที่ไม่รู้อะไรเลย จะพบว่านี่เป็นหนังที่ดูสนุกมากๆ เรื่องหนึ่ง ตั้งแต่ ตอนเริ่มเรื่องที่หนังค่อยๆ พาเราเข้าสู่โลกของเทพนิยาย ค่อยๆ แนะน�ำ ตัวละคร และเพิ่มความเข้มข้นในเนื้อหาจนมาถึงการหักมุมในบางขณะที่ท�ำให้ เราเริ่มรู้สึกว่านี่ไม่ใช่เทพนิยายแบบเดิมๆ เสียทีเดียว ก่อนจะไปถึงจุดไคลแมกซ์ ที่ท�ำให้เราลุ้นเต็มที่ แล้วค่อยคลี่คลายด้วยความอิ่มเอมแบบเทพนิยายชั้นดี ซึ่งมีบทสรุปแบบ “เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า” ให้กับคนดูในแบบที่ไม่รู้สึกว่าถูกยัดเยียด แน่นอนว่าในภาพยนตร์ไม่สามารถจะเก็บรายละเอียดของหนังสือ ไว้ได้ครบครัน อย่างประเด็นที่ทริสตรันมีความรู้มากมายจากการอ่านหนังสือ ท�ำให้เขาเอาตัวรอดได้ในหลายเหตุการณ์ก็ไม่ได้ถูกขับเน้นออกมาสักเท่าไร แต่ก็ถือว่าแมทธิว วอห์นเก็บความสนุกของนิยายเรื่องนี้ได้ครบถ้วน และยัง ถ่ายทอดมันออกมาแบบเด็กดูได้ผู้ใหญ่ดูดี คือไม่มีการตัดต่อที่ฉับไวและอารมณ์ กวนประสาทแบบหนังที่เขาเคยโปรดิวซ์เหลืออยู่เลย จะมีก็แต่ความกลมกล่อม ครบรส และความรู้สึกที่ท�ำให้ผู้ชมอยากจะบอกต่อคนอื่นๆ ให้ได้รู้จักหนัง เรื่องนี้บ้าง Stardust อาจเทียบได้กับหนังเทพนิยายที่กลายเป็นงานคลาสสิก ในป๊อปคัลเจอร์ไปแล้วอย่าง The Never Ending Story (1984) และ The Princess Bride (1987) คือมันเป็นหนังที่มีหน้าหนังดูเฉิ่มเชย แต่ คุณภาพและความตรึงใจกลับมีล้นเหลือจนกลายเป็นหนังในดวงใจของใคร ต่อใครเมื่อได้ดูจนจบ ภาพยนตร์ Stardust ยังคงได้รับการแนะน�ำบอกต่อจากเพื่อน สู่เพื่อนอยู่เรื่อยๆ หนังสือ Stardust ก็ยังมีการจัดพิมพ์อย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ ในเมืองไทยเองก็เพิ่งมีการแปลออกมาขายโดยส�ำนักพิมพ์ Words Wonder Publishing ซึ่งใช้ชื่อภาษาไทยว่า สตาร์ดัสท์ เมื่อปีที่แล้ว ทั้งหนังและหนังสือที่มีชื่อแปลได้เชยๆ ว่า “ละอองดาว” หรือ “ธุลีดาว” ล้วนเป็นดั่งตัวแทนที่ยืนยันกับเราได้ว่า เรื่องเก่าๆ หรือสิ่งเก่าๆ บางอย่างที่คนรุ่นใหม่มองว่าเป็นดั่ง “ก�ำแพง” ที่ต้องทุบท�ำลายอาจไม่จ�ำเป็นต้อง ถูกท�ำลายไปจนหมดสิ้น ในเมื่อยังมีคนอีกไม่น้อยที่ยังคงเห็นคุณค่าของมันอยู่


เรื่อง อติภพ ภัทรเดชไพศาล

Re-Sound

เบาหวิวหรือหน่วงหนัก!?

Muss es sein? / Es muss sein!

ในโน้ตเพลงท่อนสุดท้ายของ String Quartet Op. 135 มีขอ ้ ความ ของเบโธเฟนเขียนไว้ทห ี่ ว ั กระดาษว่า Der schwer gefaßte Entschluß (The difficult decision) และแนะน�ำชุดโน้ตทีเ่ ป็น เนือ ้ หาหลักของเพลงด้วยประโยคถาม-ตอบ คือ Muss es sein? (Must it be?) / Es muss sein! (It must be!) ดังภาพประกอบ Anton Schindler (ผู้ช่วยเบโธเฟนและต่อมาเป็นผู้เขียนชีวประวัติ ของเบโธเฟน) เล่าถึงที่มาของค�ำถามนี้ว่า มาจากกรณีที่หญิงรับใช้ของเบโธเฟน ขอเงินค่าจ้างเพิ่ม แต่ในขณะเดียวกัน Schindler ก็พาดพิงถึงอีกเรื่องเล่าหนึ่ง ของ Karl Holz ด้วย Karl Holz เป็นนักดนตรีในวง Schppanzigh Quartet ซึ่งเป็นวง ดนตรีที่บรรเลง string quartet ของเบโธเฟนเป็นประจ�ำ Holz เล่าความเป็นมา ของประโยคถาม-ตอบนี้ว่ามาจากการที่นาย Ignaz Dembscher ชนชั้นผู้มี เงินและเป็นนักดนตรีสมัครเล่นไม่ได้เข้าฟังการแสดง String Quartet Op. 130 รอบปฐมทัศน์ของเบโธเฟนเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ปี 1826 แต่ในภายหลัง กลับส่งคนมาขอยืมโน้ตเพลงของเบโธเฟนเพื่อไปให้นักดนตรีของตนบรรเลง ให้ฟังเป็นการส่วนตัว ณ ที่พ�ำนัก (อนึ่ง ควรทราบว่าส�ำหรับเบโธเฟนแล้วการเข้าฟังการแสดงรอบ ปฐมทัศน์ของงานมีความส�ำคัญ เพราะถือเป็นการให้เกียรติและแสดงความ สนใจในงานประพันธ์ของนักแต่งเพลงอย่างจริงใจ นอกจากนั้นแล้วรายได้ ส่วนหนึ่งจากการแสดงยังตกเป็นของนักแต่งเพลงด้วย) เบโธเฟนปฏิเสธไม่ให้ยืมโน้ตเพลง และเสนอว่าหากนาย Dembscher ต้องการโน้ตเพลง ก็ต้องจ่ายเงินค่ารับชมการแสดงรอบปฐมทัศน์มา ก่อนเป็นเงิน 50 florins Karl Holz รับหน้าที่เป็นผู้น�ำเรื่องนี้ไปบอกนาย Dembscher และ กลับมาเล่าให้เบโธเฟนฟังว่า หลังจากที่ได้ยินข้อเสนอนี้ นาย Dembscher ก็ ถามออกมาว่า Muss es sein? Karl Holz เล่าว่าเบโธเฟนรู้สึกขบขันกับปฏิกิริยาของนาย Dembscher มาก จนถึงกับหัวเราะออกมาดังๆ พร้อมกับร้องค�ำว่า Es muss sein! ออกมาเป็นเพลง และต่อมายังได้บันทึกเพลงนี้ไว้ในรูปแบบเพลงร้องส�ำหรับ เสียง 4 เสียง โดยมีเนื้อร้องสั้นๆ ว่า Es muss sein, ja, ja, ja, heraus mit dem Beutel! Heraus, heraus, es muss sein! มันต้องเป็นอย่างนั้นแหละ, ใช่, ใช่, ใช่, ควักกระเป๋าออกมา! เอา (เงิน) ออกมา, เอาออกมา, มันต้องเป็นอย่างนั้นแหละ! (ฟังงานชิ้นนี้ได้ที่ http://www.beethoven-haus-bonn.de/) ต้นฉบับระบุว่างานชิ้นนี้ถูกเขียนขึ้นในเดือนสิงหาคม ปี 1826 และ อุทิศให้แก่นาย Dembscher ต่อมา ท�ำนอง Es muss sein! สามตัวโน้ตนี้ถูกเบโธเฟนน�ำกลับมา ใช้อีกครั้งในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน ใน String Quartet Op. 135 ที่กล่าวถึง แล้วข้างต้น String Quartet Op. 135 เป็นผลงานเต็มเพลงชิ้นสุดท้ายที่เบโธเฟน แต่ง ก่อนจะถึงแก่กรรมในเดือนมีนาคมปีถัดมา (1827)

และด้ ว ยความที่ นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ด นตรี ส ่ ว นใหญ่ มั ก ให้ ค วาม ส�ำคัญมากกับงานชิ้นสุดท้ายของนักแต่งเพลง งาน String Quartet Op. 135 จึงถูกตีตราเป็นงานในระดับส�ำคัญมาก ประกอบกับความเคร่งเครียดจริงจังในงาน string quartet ส่วนมาก ของเบโธเฟน จึงท�ำให้ประโยค Es muss sein! อันมีที่มาจากเหตุการณ์ตลก ขบขัน (หากเราเชื่อเรื่องเล่านั้น) กลายเป็นประโยคที่เต็มไปด้วยบรรยากาศ ของอภิปรัชญา ดังที่คุนเดอราเขียนไว้ใน ความเบาหวิวเหลือทนของชีวิต ว่าใน String Quartet Op. 135 นั้น : “ค�ำว่า Es muss sein! มีกังวานเคร่งขรึมจริงจังกว่าเดิมมาก ราวกับ เปล่งจากริมโอษฐ์ของเทวีแห่งชะตากรรมทีเดียว” คุนเดอราสรุปเรื่องราวของชุดโน้ต Es muss sein! ไว้ว่า “ด้วยประการฉะนี้ บีโธเฟนได้แปรเปลี่ยนแรงดลใจอันไร้สาระ ให้กลายเป็นดนตรีบรรเลงควอเต็ทที่เคร่งขรึมจริงจัง เปลี่ยนเรื่องตลกให้กลาย เป็นความจริงทางอภิปรัชญา นี่เป็นต�ำนานน่าสนใจของการที่เรื่องเบาหวิว กลายเป็นเรื่องหนักหน่วง” เทียบเคียงกับเรื่องความบังเอิญ (อันเบาหวิว) ของความรักระหว่าง โทมัสกับเทเรซา ที่สุดท้ายแล้วพลิกผันกลายมาเป็นน�้ำหนักที่เหลือทนส�ำหรับ โทมัส และรวมไปถึงคุณสมบัติของความเป็นทวิลักษณ์ในกรณีอื่นๆ ของ เรื่องราวในนิยายที่สามารถพลิกผันสับเปลี่ยนต�ำแหน่งกันไปมาได้ตลอดเวลา อย่างน่าฉงน อย่างไรก็ตาม “ความเคร่งขรึมจริงจัง” ของเสียงดนตรีในท่อน สุดท้ายของ String Quartet Op. 135 จะเป็นจริงอย่างที่คุนเดอรากล่าวไว้ หรือไม่ เรื่องนี้ยังไม่จบลงง่ายๆ เพราะในปัจจุบัน นักวิชาการดนตรีหลายคน เห็นว่าบุคลิกของ String Quartet Op. 135 ในท่อน Es muss sein! นั้นหาได้มีลักษณะที่ เคร่งขรึมจริงจังแต่อย่างใดไม่ และยังมีท่าทีไปในแบบชวนหัวหรือ comedy ด้วยซ�้ำ มีการวิเคราะห์ว่า สาเหตุที่ท�ำให้นักประวัติศาสตร์รุ่นก่อนพยายาม กล่าวอ้างถึงความ “เคร่งเครียดจริงจัง” ของ string quartet บทนี้ เกิดขึ้นจาก การพยายามเชื่อมต่อผลงานการประพันธ์ของเบโธเฟนเข้ากับเรื่องราวในชีวิต ส่วนตัวของเขามากเกินไป (string quartet บทนี้ถูกเขียนขึ้นในช่วงที่เบโธเฟนประสบปัญหา ชีวิตขั้นร้ายแรง จากเหตุการณ์พยายามฆ่าตัวตายของบุตรบุญธรรม) นอกจากนั้น ภาพลักษณ์ความเป็นวีรบุรุษของเบโธเฟนที่ทุกคน พยายามเสกสร้าง ยังไปกันไม่ได้โดยสิ้นเชิงกับการเขียนงานง่ายๆ ตลกขบขัน ปิดท้ายเป็นงานก่อนมรณกรรมอีกด้วย ดังนั้น ในขณะที่นักวิชาการฝ่ายหนึ่งพยายามยืนยันถึงความเคร่งเครียด จริงจังของ String Quartet Op. 135 งานชิ้นเดียวกันนี้เองกลับถูกนักวิชาการ อีกฝ่ายหนึ่งปฏิเสธว่าไม่มีความเคร่งเครียดจริงจังอันใด ซึ่งเรื่องนี้ก็ไม่ต่างไปจากประเด็นความเป็นทวิลักษณ์ในนิยายของ คุนเดอรานั่นเอง

23


Big Review

เรื่อง ธาริตา อินทนาม

451 องศาฟาเรนไฮต์ -

เผาท�ำลายให้เป็นจุณ Fahrenheit 451 Ray Bradbury เขียน ส�ำนักพิมพ์ Ballantine Books ตีพิมพ์ครั้งแรก 1953

“การเผาไหม้ที่ 451 องศาฟาเรนไฮต์คอ ื ระดับความร้อนทีห ่ นังสือไหม้ เป็นจุณ” คือค�ำตอบทีเ่ รย์ แบรดบิวรี (Ray Bradbury) ได้รบ ั จาก เจ้าหน้าทีด ่ บ ั เพลิง เมือ ่ เขาโทรศัพท์ไปถามเรือ ่ งการเผาหนังสือเพือ ่ หา ข้อมูลในการเขียน และเป็นทีม ่ าของชือ ่ นวนิยายเล่มนี-้

24

กรณีเดียวกับจอร์จ ออร์เวล (George Orwell) และนักเขียนวรรณกรรมดิสโทเปียคนอื่นๆ ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเย็น แบรดบิวรีรู้สึกอัดอั้นกับสภาวะการถูกควบคุมและถูกจับตามอง (surveillance) จากรัฐที่ใช้อ�ำนาจก�ำจัดคนที่คิดต่างในนามของการรักษา “ความสงบเรียบร้อย” ผ่านการใช้อ�ำนาจของเจ้าหน้าที่รัฐใน “สภาวะฉุกเฉิน” ของบ้านเมือง เช่น การเผาหนังสือและการที่นาซีขับไล่เหล่านักคิดและนักเขียน หรืออาการหวาดกลัว ผู้คนและงานเขียนที่ถูกแปะป้ายว่าเป็นคอมมิวนิสต์ในยุคสมาชิกวุฒิสภา แมคคาร์ธี (McCarthyism) ในอเมริกา สภาวะไร้เสรีภาพทางความคิดและ การแสดงออก รวมถึงสภาวะความกลัวที่ท�ำให้คน (ตั้งใจ) “หลงลืม” ความเป็น มนุษย์ไปชั่วครั้งบางคราวจนเกิดผลที่เป็นรูปธรรมอย่างสงครามการฆ่าล้าง เผ่าพันธุ์ชาวยิวหรือการยิงระเบิดปรมาณูถล่มฮิโรชิมาและนางาซากิ กระตุ้นให้ แบรดบิวรีออกมาสะท้อน บันทึก และย�้ำเตือนถึงหายนะที่ก�ำลังเกิดว่าจะ รุนแรงมากขึ้นจนถึงจุดจบของโลกหากปัญหาเหล่านี้ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนั้นในทศวรรษ 1950 ยังมี “การคุกคาม” อีกแบบหนึ่งที่ แบรดบิวรีเชื่อว่าจะเป็นตัวการที่ท�ำให้หนังสือสูญพันธุ์ นั่นคือการก�ำเนิดและ แพร่หลายของสื่อโทรทัศน์ ที่เหมือน “มีมนต์สะกด” ให้คนต้องนั่งจ้องมันทั้งวัน ทั้งคืน และเลือกที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับโทรทัศน์มากกว่าการอ่านหนังสือ หรือ แม้แต่มากกว่าการคุยกับคนด้วยกันเอง แบรดบิวรีระบายความอัดอั้นที่มี ต่อความเปลี่ยนแปลงนี้ด้วยการเชื่อมโยงงานวรรณกรรมมากมายเข้ากับ นวนิยายเล่มนี้ โดยใช้วิธีทั้งอ้างอิงชื่อ ยกบทหรือบางส่วนของชิ้นงาน ไปจนถึง ให้ตัวละครในเรื่องท่องจ�ำและเป็นตัวแทนของวรรณกรรมแต่ละชิ้น หรือถึงขั้น ยอมตายเพื่อปกป้องหนังสือ จนนักวิจารณ์บางคนมองนวนิยายเล่มนี้ว่าเป็น อาเศียรวาทหรือจดหมายรักของแบรดบิวรีที่เขียนถึงหนังสือ สิ่งที่คุกคามความเป็นมนุษย์และความรักการอ่านหนังสือที่กล่าว มานี้ถูกสรุปและดัดแปลงออกมาเป็น 2 ค�ำถามหลักคือ จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคน ไม่อ่านหนังสืออีกต่อไป และจะเกิดอะไรขึ้นหากนักดับเพลิง (ผู้รักษาความ ปลอดภัย) กลายเป็น “มือเผา” เสียเอง ค�ำถามเหล่านี้เป็นแรงผลักดันให้แบรดบิวรีเขียนเรื่องสั้นหลายเรื่องที่คล้ายเป็น “บรรพบุรุษ” ของนวนิยายเรื่องนี้ เช่น เรื่อง “The Pedestrian” (1951) เล่าเรื่องชายคนหนึ่งที่ถูกเจ้าหน้าที่รัฐจับกุม ฐานออกมาเดินเล่นคนเดียวในยามวิกาล ซึ่งเป็นประสบการณ์ตรงของแบรดบิวรีเอง และเรื่อง “Bright Phoenix” (1963) เล่าเรื่องการเผชิญหน้ากันของ บรรณารักษ์ผู้รักหนังสือกับนักเผาหนังสือ ซึ่งต่อมากลายเป็นโครงเรื่องและ ตัวละครหลักในนวนิยายเรื่องนี้ ซึ่งฉากของเรื่องแสดงถึงสังคมที่ “ผู้ปกครอง” ห้ามคนอ่านและครอบครองหนังสือ หนังสือเป็นภัยต่อความมั่นคงเพราะมัน ท�ำให้คนมีความคิดหลากหลายและเกิดการตั้งค�ำถาม ซึ่งจะน�ำไปสู่ความขัดแย้ง และความวุ่นวาย โดยมีเจ้าหน้าที่รัฐอย่าง “นักผจญเพลิง” ท�ำหน้าที่เหมือน “ผู้รักษาความสงบ” ที่คอยสอดส่อง จับกุมผู้ฝ่าฝืน และเผาท�ำลายหนังสือ นอกจากนั้น เรื่องยังเผยให้เห็นว่าโลกก�ำลังถูกคุกคามด้วยสงคราม แต่

ประชาชนถูกปิดหูปิดตาไม่ให้รับรู้ความเป็นไป สื่อโทรทัศน์ถูกใช้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความบันเทิงเพื่อกล่อมให้ประชาชนไม่คิดแสวงหาความจริงใน โลกภายนอก Fahrenheit 451 แบ่งออกเป็น 3 บท ได้แก่ “เตาผิงกับซาลาแมนเดอร์” (The Hearth and the Salamander) “ตะแกรงร่อนกับเม็ดทราย” (The Sieve and the Sand) และ “ลุกโชน” (Burning Bright) ซึ่งแสดงให้เห็นพัฒนาการ ของตัวละครเอกอย่าง กาย มอนแท็ก “นักผจญเพลิง” ผู้รักการเผาหนังสือและ ท�ำหน้าที่ของตนอย่างแข็งขันประหนึ่งหุ่นยนต์ที่เชื่อฟัง ใช้อำ� นาจรัฐอย่างเต็มที่ เพราะคิดว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องและชอบธรรม เขาค่อยๆ กลายเป็นคนคิดสงสัย ตั้งค�ำถามกับอ�ำนาจนั้นโดยได้รับความช่วยเหลือจากแคลรีส หญิงสาวโลกสวย และเฟเบอร์ อดีตอาจารย์สอนวรรณคดี (ชื่อ Faber นี้ แบรดบิวรีจงใจยืมมา จากยี่ห้อเครื่องเขียน) และมอนแท็กต้องต่อสู้กับการขัดขวางจากมิลเดรด ภรรยาผู้เกลียดการอ่านหนังสือและเสพติดการดูโทรทัศน์จนคิดว่าตัวละครในนั้น เป็นคนในครอบครัวของเธอ รวมทั้งกัปตันบีทที หัวหน้า “หน่วยผจญเพลิง” ผู้ทั้งรักและเกลียดงานวรรณกรรม สุดท้ายมอนแท็กก็ตระหนักถึงความโหดร้าย และต่อต้านอ�ำนาจรัฐแบบสุดโต่งด้วยการก่ออาชญากรรมและหนีหัวซุกหัวซุน เข้าป่าไปอยู่กับกลุ่ม “มนุษย์หนังสือ” ที่ก�ำลังด�ำเนินภารกิจท่องจ�ำสิ่งที่อยู่ใน หนังสือและส่งต่อให้กับคนรุ่นหลังด้วยความเชื่อที่ว่า หนังสือจะไม่สามารถ ถูกท�ำลายได้และสิ่งที่อยู่ในหนังสือจะเป็นรากฐานในการสร้างโลกใบใหม่ที่ดี กว่าในปัจจุบัน บทบุพวาทะ (epigraph) ก่อนเริ่มเรื่องที่แบรดบิวรีอ้างค�ำพูดของ ฆวน รามอน ฆิเมเนซ (Juan Ramón Jiménez) กวีชาวสเปนว่า “หากพวกเขา ให้สมุดตีเส้นกับเรา จงเขียนด้านอื่น” มีความหมายตรงไปตรงมาถึงการต่อต้าน (เบาๆ) ต่อ “กฎเกณฑ์หรือบรรทัดฐาน” ที่ถูกยัดเยียดมาจากผู้มีอ�ำนาจ การต่อต้านอาจไม่ถึงกับต้องเอาสมุดนั้นมาฉีกทิ้ง เพียงแค่การ “ตระหนักรู้” ว่าเราก�ำลังถูกควบคุมด้วยอ�ำนาจบางอย่าง ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญยิ่งยวด แล้วส�ำหรับการเป็นมนุษย์

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคนไม่อ่าน หนังสืออีกต่อไป และจะเกิด อะไรขึ้ น หากนั ก ดั บ เพลิ ง (ผู ้ รั ก ษาความปลอดภั ย ) กลายเป็น “มือเผา” เสียเอง


Big Review

เรื่อง จิดาภา บางนาชาด

นัก-

(รัก)-

หนังสือ-

bookmoby REVIEW ขอขอบคุณ ส�ำนักพิมพ์ก�ำมะหยี่ ส�ำหรับหนังสืออภินันทนาการ มา ณ ที่นี้

ศาสดาของคนที่หลงใหลเสียงเพลงจะเป็นอะไรได้นอกจากเสียงเพลง ศาสดาของคนรักแมวจะเป็นอะไรได้นอกจากท่านแมวทีเ่ ขารัก ศาสดา ของคนรักหนังสือจึงต้องเป็นหนังสือเท่านัน ้ สวรรค์ที่เราต้องการจะไป ศาสดาของเราต้องสถิตอยู่ที่นั่น สวรรค์ ที่เต็มไปด้วยหนังสือจะเป็นอย่างไร นักบุญหนังสือที่ก�ำลังเผยแผ่วจนะให้บรรดา ผู้นับถือ และถกเถียงตัวบทกันอย่างเอาเป็นเอาตายด้วยสีหน้าแห่งความสุข ภาพฝันเกิดขึ้นได้ ณ ที่ใด นอกจากในจินตนาการของเราเอง หนังสือที่ ไม่ได้พูดถึงปรัชญา ไม่ต้องใช้เวลาเป็นสัปดาห์ส�ำหรับการอ่าน และไม่ต้อง ใช้ เ วลาอี ก หนึ่ ง เดื อ นส� ำ หรั บ การตี ค วาม หนั ง สื อ ส� ำ หรั บ คนรั ก หนั ง สื อ ที่ ต้องการเพื่อนคุยที่ถูกคอ เล่าเรื่องราวหนังสืออะไรก็ตามให้เราได้ล่องลอยอยู่ ในโลกจินตนาการว่าสักวันเราจะออกเดินทางและหาเมืองหนังสือหรือร้าน หนังสือที่เราชอบใจเพื่อมาแบ่งปันแก่เพื่อนคนอื่นได้บ้าง เฮย์-ออน-ไวย /เมือง/รัก/หนังสือ คือหนึ่งในหนังสือประเภทนั้น พอล คอลลินส์ (Paul Collins) เริ่มเล่าเรื่องราวการเดินทางกลับไปเมือง เฮย์-ออน-ไวย อีกครั้งหนึ่ง หลังจากเคยไปมาแล้วสองครั้ง แต่การเยือนครั้งนี้ เขาแบกชีวิตทั้งชีวิตของเขา ภรรยาและลูกเล็กมาด้วย จากสหรัฐอเมริกาสู่ เมืองเล็กๆ ในแคว้นเวลส์แห่งสหราชอาณาจักร เฮย์-ออน-ไวย คือเมืองที่ มีประชากร 1,469 คน (ปี 2001) แต่ที่ส�ำคัญมีร้านหนังสือมากถึง 40 ร้าน นั่นเป็นเหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้พอลตัดสินใจย้ายถิ่นฐาน การเดินทางตามหาบ้าน ย้ายจากอพาร์ตเมนต์สู่บ้านหลังเก่า จากบ้านหลังเก่าสู่อพาร์ตเมนต์ ด�ำเนินไป เหมือนไม่มีที่สิ้นสุด เหมือนเราก�ำลังฟังเพลงจากอัลบั้ม Awake (2014) ของ Tycho หรือถ้าจะเก่าหน่อย คงเป็นเสียงประกอบบรรยากาศ (ambient) ของ Brian Eno เหมือนฟังเพื่อนเล่าเรื่องราวการเดินทาง และพอลเป็นเพื่อนคนที่ เล่าเรื่องได้ดี พอลไม่อยากให้เราพลาดสิ่งที่เขาเห็น แต่เขาไม่ใช่คนยืดเยื้อ พอลรวบรวมสิ่งที่ส�ำคัญและน่าสนใจ เล่าให้เราฟังในภาษาที่ไม่ยากและไม่ ซับซ้อน พอลพาเราไปสู่ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ หรือการเมืองระดับ จุลภาค การเมืองในเมืองหนังสือนั่นล่ะ การตามหาบ้านในเมืองที่เต็มไปด้วย ร้านขายหนังสือ ครั้งหนึ่งพอลได้ท�ำงานคัดแยกประเภทหนังสือ หรือที่เขา เรียกว่า “แยกขยะออกจากหนังสือ” พอลกล้าเรียกหนังสือไม่ดีว่าขยะ หรือนี่ จะเป็นบุคลิกภาพของคนที่คลั่งไคล้หนังสือจริงๆ หนังสือทุกเล่มที่พอลเอ่ยถึง จะดึงความทรงจ�ำของคุณออกมา นั่นท�ำให้คุณอมยิ้มเหมือนเจอเพื่อนที่ไม่ได้ เจอกันมานาน และทุกครั้งที่พอลพูดถึงชื่อหนังสือเรื่องใด เหมือนเขาก�ำลัง ถามว่า คุณก็เคยอ่านมันใช่ไหม เฮย์-ออน-ไวย /เมือง/รัก/หนังสือ เป็นหนังสือ ท่องเที่ยวที่พาเราท่องไปในเมืองหนังสือที่มีอยู่จริงบนโลกนี้ หรือหนังสือเรื่องเล่า ที่เล่าเรื่องหนังสือ หรือสารานุกรมรวมรายชื่อหนังสือก็ได้ ความเป็นอเมริกันของพอลถูกเอ่ยขึ้นซ�้ำไปซ�้ำมา และทุกครั้งจะมี ค�ำพูดตามมาท�ำนองว่า “คุณต้องชอบวรรณกรรมอเมริกันสินะ ถ้าอย่างนั้นจง คัดแยกพวกมันซะ” (คนไทยเหรอ ชอบวรรณกรรมไทยสินะ ถ้าอย่างนั้นจงคัด แยกพวกมันซะ) หนังสือของพอลสร้างแรงบันดาลใจให้บรรดานักรักหนังสือมีความหวัง มากขึ้น เฉกเช่นเดียวกับหนังสือของเจเรมี เมอร์เซอร์ (Jeremy Mercer) ที่ชื่อ ปารีสพ�ำนัก คน/รัก หนังสือ หนังสือทั้งสองเล่มนี้เติมแต่งโลกยูโทเปียให้คนที่รัก

เฮย์-ออน-ไวย เมือง/รัก/หนังสือ Sixpence house : Lost in a Town of Books Paul Collins เขียน; ศรรวริศา แปล ส�ำนักพิมพ์ก�ำมะหยี่, 2554

ปารีสพ�ำนัก คน/รัก หนังสือ Time Was Soft There Jeremy Mercer เขียน; ศรรวริศรา แปล ส�ำนักพิมพ์ก�ำมะหยี่, 2552

หนังสืออย่างแท้จริง ทั้งผู้ที่ชอบอ่านและเขียน คงไม่มีนักเขียนคนไหนที่ไม่ เป็นนักอ่าน หรือนักอ่านคนไหนที่ไม่เคยฝันอยากจะเขียนหนังสือสักเล่ม จุดร่วม เดียวกันของนักเขียนและนักอ่านคือหนังสือ เมืองที่มีร้านหนังสือทุกตรอก ซอกซอย มีห้องสมุดทุกมุมตึก มีชั้นหนังสือในทุกบ้านที่ไปเยือน มีห้องหนังสือ ในบ้านของตัวเอง หรือแค่ความคิดว่าถ้าได้ชั้นหนังสือเพิ่มอีกสักชั้นก็คงจะดี เราเดินทางจากเฮย์-ออน-ไวย เมืองหนังสือแห่งเวลส์ สู่ร้านหนังสือ ชื่อดังในปารีส ใครบ้างที่เป็นคนอ่านหนังสือแล้วไม่รู้จักร้านหนังสือ“เชกสเปียร์ แอนด์คัมพานี” (แต่คุณไม่ผิดที่ไม่รู้จัก ไม่ต้องรู้สึกผิด) ร้านหนังสือที่ “ดัง” ที่สุด ในโลกด้วยเหตุผลที่ไม่อาจทราบได้ ส�ำหรับคนที่ไม่เคยไปเยือนที่นั่น เจเรมี เมอร์เซอร์สามารถน�ำคุณไปได้ทุกซอกทุกมุม แม้แต่คนที่ไปมาแล้วก็อาจยังไม่รู้ เจเรมีจับพลัดจับผลูเดินทางไปปารีส และในระหว่างที่เขาหลบฝนอยู่ที่ร้าน หนังสือแห่งหนึ่ง เขาได้รับค�ำเชิญจากสาวในร้านหนังสือนั้นให้เข้าร่วมงาน จิบน�้ำชาประจ�ำสัปดาห์ที่ห้องชั้นบนของร้านหนังสือ เขาตัดสินใจขอพักอาศัย ทีร่ า้ นนัน้ ระยะหนึง่ มีมมุ ไหนกันบ้างทีเ่ ขาได้ใช้เป็นทีพ่ กั นอน ใต้โต๊ะตัวนัน้ หรือ สักหลืบใดหลืบหนึ่งที่ว่างพอส�ำหรับการนอน โชคดีที่เป็นฤดูหนาว คนเข้าพัก ไม่มาก จึงไม่ต้องนอนตามทางเดินหรือบันได ถึงจะโชคดีที่ไม่ต้องแย่งที่นอน ใครมาก แต่กม็ โี ชคร้าย เพราะคุณต้องหนาวจับใจในห้องทีไ่ ร้เครือ่ งท�ำความร้อน หรือจะให้นอนที่อพาร์ตเมนต์ชั้นบนคงไม่ได้เพราะต้องสงวนสิทธิ์ไว้ส�ำหรับ นักเขียนชื่อดังเท่านั้น เจเรมี พาคุณไปยังกล่องสมบัติของ จอร์จ วิตแมน บุคคลที่คุณอาจไม่เคยได้ยินชื่อมาก่อนเลย แต่วางใจเจเรมีและล่องลอยไป กับเขา โลกความฝันของเหล่านักอ่านผู้ไม่รู้อิโหน่อิเหน่หรือบรรดานักเขียน ที่ก�ำลังไล่ล่านามธรรมที่จะจรรโลงตัวเองแม้ยามเกิดหรือดับ ความฝันอันยิ่งใหญ่ ที่ยังถูกเหยียบย�่ำด้วยการเมือง การต่อสู้แย่งชิงตึกอพาร์ตเมนต์เพื่อขยาย ร้านหนังสือกับนายทุนที่ต้องการกว้านซื้อที่ดินเพื่อท�ำโรงแรมสี่ดาว เจเรมี พาเราไปพบกับความเจ็บปวด ไม่อาจท�ำให้ร้องไห้ แต่ก็ท�ำให้คร�่ำครวญออกมา บ้างว่านั่นถูกต้องแล้วหรือ ส�ำหรับพวกเขา ส�ำหรับร้านหนังสือที่เต็มไปด้วย ประวัติศาสตร์และความทรงจ�ำ ดินแดนยูโทเปียของบรรดาผู้ต้องการประสบการณ์อันมหัศจรรย์ อาจเป็นการผจญภัยครั้งแรกของนักเขียนนักอ่านหน้าใหม่ หรือใครก็ตามที่ต้องการท้าทายสังคมประสบการณ์อย่างที่จอร์จมอบให้ อย่าง น้อยๆ ภาพความทรงจ�ำยังคงอัดแน่นอยู่ในสี่หมื่นคนที่ผ่านมาค้างแรมที่นี่ เชื่อว่านี่คือประสบการณ์สุดยอดที่คนรักหนังสืออยากลิ้มรสมันบ้าง หนังสือจ�ำนวน 339 หน้า ของเจเรมี เมอร์เซอร์ อ่านสนุกอย่าง ไม่น่าเชื่อ อ่านจบแล้วอยากจะตีตั๋วไปปารีสให้ได้เสียเดี๋ยวนี้ หนังสือทุกเล่ม นักเขียนทุกคนที่เจเรมีกล่าวถึง ส่วนหนึ่งเราอ่านไปพลางยิ้มไป หยุดชะงัก การอ่านแล้วย้อนนึกถึงเรื่องราวในหนังสือเล่มนั้นที่เราอาจเคยอ่านมาเมื่อ สามปีที่แล้วหรือเมื่อวานซืน นักเขียนคนนี้ที่เคยได้ยินเรื่องลับๆ เกี่ยวกับเขา มาบ้างใช่ไหม หรือรายชื่อหนังสือและนักเขียนอีกจ�ำนวนหนึ่งที่ไม่มักคุ้นเท่าไร เราก็ยินดีขวนขวายมาท�ำความรู้จักเองให้จงได้ เจเรมีท�ำให้เรามั่นใจในรสนิยม และความเป็นคนรักหนังสือเหมือนกัน ท้ายที่สุดเพื่อสุนทรียะของการอ่านขออุทิศความดื่มด�่ำนี้ให้กับเบียร์ ชิงเต่า เบียร์จีนล�้ำค่าของจอร์จและผู้พักอาศัยในร้านหนังสือเชกสเปียร์แอนด์ คัมพานี จอร์จจะเปิดมันให้แขกพิเศษและในโอกาสพิเศษเท่านั้น เหมือนถูก สะกดจิตให้คุณจงไปหาเบียร์ชิงเต่ามาลิ้มรสให้ได้

25


Little Review

เดอะ รีดเดอร์

ถนนหนังสือสายคาบูล

The Reader

The Bookseller of Kabul

เขียน สมชัย วิพศ ิ มากูล แปล ส�ำนักพิมพ์มติชน Bernhard Schlink

เมื่อเริ่มรักคุณอาจไม่ถามหาเหตุผลจากการกระท�ำของอีกฝ่าย ไมเคิลก็เป็นเช่นนั้น เขาไม่ เคยถามฮันนาว่าท�ำไมเธอจึงขอให้เขาอ่านหนังสือให้เธอฟัง ไมเคิลต้องอ่านวรรณกรรม สักเรื่องก่อนร่วมรักเสมอ เขาไม่รังเกียจที่ต้องอ่าน กลับมีความสุขไปกับฮันนาด้วยซ�้ำ การอ่านเหมือนการเล้าโลมและปลอบประโลมเธอผ่านถ้อยค�ำ เราคงเคยได้ยินประโยค ที่ว่าความลับไม่มีในโลก แต่ฮันนาก็ไม่เคยยอมให้โลกรับรู้ความลับว่าท�ำไมเธอถึงต้อง ให้ไมเคิลอ่านหนังสือให้ฟัง ถึงแม้ความลับนี้จะสร้างความทรมานและความเจ็บปวด แก่ฮันนา เธอก็น้อมรับมันไว้อย่างคนที่ไม่มีทางเลือก แม้เธอจะเลือกได้ก็ตาม

เขียน จิระนันท์ พิตรปรีชา แปล ส�ำนักพิมพ์มติชน Åsne Seierstad

เมื่อพูดถึงร้านหนังสือ โดยในทั่วๆ ไปแล้วเรามักจะนึกถึงบรรยากาศเงียบสงบไร้พิษภัย แต่ร้านหนังสือในกรุงคาบูล ประเทศอัฟกานิสถานกลับตรงกันข้าม เพราะสงครามไม่เคย ท�ำให้ที่ไหนสงบ ถึงอย่างนั้นสุลต่าน คาน ผู้หลงใหลการอ่านก็ยังเลือกที่จะเปิดร้าน หนังสือ แม้บางครั้งจะต้องหลบๆ ซ่อนๆ เพื่อขายหนังสือบางประเภท และบ่อยครั้งที่ เขาต้องเสี่ยงถูกจับกุม แต่เขาก็หวังว่าร้านหนังสือของเขาจะเป็นฟันเฟืองเล็กๆ ในการ ฟื้นฟูและพัฒนาประเทศได้ นวนิยายเรื่องนี้แต่งขึ้นโดยอ้างอิงมาจากเรื่องจริงที่ผู้เขียน ได้รับการถ่ายทอดมาจากบุคคลในเหตุการณ์

บิเบลีย บันทึกไขปริศนาแห่ง ร้านหนังสือ

แม้มด ื มิด เงียบงัน มิอาจขวางกัน ้

Biblia Koshodō no Jiken Techō

Helen Keller

เขียน พลอยทับทิม ทับทิมทอง แปล ส�ำนักพิมพ์ animag books Mikami En

บิเบลียคือชื่อร้านหนังสือมือสองในเมืองคามาคุระ มีเจ้าของร้านเป็นสาวสวยขี้อายนามว่า ชิโอริโกะ และมีพนักงานขายที่ไม่สามารถอ่านหนังสือได้นามว่า ไดสึเกะ ท�ำหน้าที่เป็น ผู้ช่วย บิเบลีย เป็นนิยายสืบสวนสอบสวนซึ่งมีปริศนาเกี่ยวข้องกับหนังสือ ผู้แต่งสามารถ ร้อยเรื่องราวได้อย่างน่าติดตาม ทั้งปูมหลังของตัวละคร และรายละเอียดของหนังสือเก่า แต่ละเล่มที่เป็นต้นเหตุของปริศนา และถึงแม้ผลงานเล่มนี้จะเป็นนิยายญี่ปุ่นแต่ก็มีการ พูดถึงวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงระดับโลกไว้ด้วย ท�ำให้เราสามารถเข้าไปมีความรู้สึกร่วม และได้รับเกร็ดความรู้ของหนังสือแต่ละเล่มที่เราอาจไม่เคยรู้หรือไม่เคยสนใจมาก่อน

The Story of My Life

เขียน นายเจนจบ แปล ส�ำนักพิมพ์ Oh My God

Books

การเกิดมาร่างกายสมบูรณ์ครบถ้วนนั้นอาจเป็นความโชคดีอย่างหนึ่ง แต่เฮเลน เคลเลอร์ โชคดีอยู่ได้ไม่นานนัก เพราะเมื่ออายุ 19 เดือน เฮเลนล้มป่วยจนเป็นเหตุให้หูหนวกตาบอด เธอกลายเป็นเด็กเลี้ยงยากและไม่สามารถสื่อสารกับคนรอบข้างได้ แต่พออายุ 7 ขวบ แอนน์ ซัลลิแวน ก็เข้ามาเปลี่ยนแปลงชีวิตเธอ เราคงเคยถามตัวเองว่าหากวันหนึ่งเราตาบอด เราจะยังอยากมีชีวิตอยู่หรือใช้ชีวิตอย่างมีความสุขได้ไหม ฟังดูเป็นเรื่องยากและน่าเศร้า แต่ เฮเลนกลับไม่เคยปล่อยให้ตัวเองท้อแท้จนไม่อยากมีชีวิต โลกของเธออาจมืดมิด แต่เธอกลับ ค้นพบแสงสว่างในตัวเอง แสงสว่างที่น�ำทางเธอไปสู่ความส�ำเร็จ ที่แม้แต่โลกยังต้องจดจ�ำ

26

ประวัตศ ิ าสตร์กระดาษโลก Paper: An Elegy

เขียน พลอยแสง เอกญาติ แปล ส�ำนักพิมพ์ openworlds Ian Sansom

ถ้าโลกนี้ไม่มีกระดาษเราจะสร้างทุกอย่างได้อย่างไร สมัยก่อนมนุษย์อาจอยู่ได้โดย ไม่ต้องพึ่งพากระดาษ แต่นั่นก็เมื่อสองพันปีมาแล้ว กระดาษเข้ามามีบทบาทอย่างมาก ในการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ ท�ำหน้าที่แทรกซึมอยู่ในชีวิตประจ�ำวันของเรา ตั้งแต่เป็น สื่อกลางในการเผยแพร่ค�ำสอน เป็นอุปกรณ์ส�ำคัญส�ำหรับศิลปินในการบันทึกภาพ เป็น ธนบัตรมีค่าเพื่อการแลกเปลี่ยน กระดาษสามารถแปรรูปเป็นอย่างอื่นได้อีกมากมาย มนุษย์กลายเป็นทาสกระดาษไปอย่างไม่รู้ตัว แล้วลองจินตนาการดูเถิดว่าหากกระดาษ หมดไป โลกนี้จะยุ่งเหยิงขนาดไหน

ฉันรักเธอ เพราะเธอรักหนังสือ ‘ปราย พันแสง แปล ส�ำนักพิมพ์ฟรีฟอร์ม

หนังสือในโลกมีมากมายหลายล้านเล่ม บางเล่มอาจจะท�ำให้เราหลงรักจนหมดหัวใจ หรือจงเกลียดจงชังจนไม่อยากจะพลิกอ่าน คนเราจึงอาจจะชอบหนังสือไม่เหมือนกัน แต่เมื่อเรื่องราวของหนังสือเหล่านั้นถูกหยิบยกขึ้นมาเล่าผ่านปลายปากกาของ ‘ปราย พันแสง ผู้น�ำเราไปรู้จักกับความจริงจังแสนละเอียดอ่อนอึดทระนงของผู้หญิงในนิยาย ของเอมี ตัน พาไปเจอเรื่องราวสุดมันของวายร้ายที่กลายมาเป็นนักเขียน กระหายไป กับความปรารถนาของนักอยากเขียนหนุ่มที่ตั้งค�ำถามมากมายอย่างเฮมิ่งเวย์ และอีก มากมายที่หนังสือเล่มนี้จะท�ำให้เราหลงรักหนังสือเล่มเดียวกัน


เรื่อง สิรินารถ อินทะพันธ์, ธีระศิลป์ ค�ำปัน

Little Review

The Writer’s Secret

วรพจน์ พันธุพ ์ งศ์ สัมภาษณ์ ส�ำนักพิมพ์บางล�ำพู

มีคนเคยบอกว่าความลับไม่มีในโลก เพราะเมื่อใดที่มีความลับย่อมมีคนรู้อย่างน้อย “หนึ่ง” คน และนั่นก็จะผิดคอนเซ็ปต์ของความลับและมันจะไม่ใช่ความลับอีกต่อไป ไม่เว้น แม้แต่ความลับของนักเขียนที่ถูกเปิดเปลือยชีวิตและความคิดออกมาจากบทสัมภาษณ์ โดยนักสัมภาษณ์มือหนึ่ง ที่น�ำพาถ้อยค�ำที่กลั่นกรองของนักเขียนสิบคนมาร้อยเรียงเป็น ข้อความให้เรารับรู้และรู้สึกกับเรื่องราวที่เป็นความลับของพวกเขาที่กระหวัดเกี่ยวกับ เรื่องราวของวัฒนธรรม สังคม การเมือง โลกียะ โลกุตระ ความโดดเดี่ยว ความทรงจ�ำ และอีกมากมายที่ถูกถ่ายถอดออกมาผ่านงานสัมภาษณ์นักเขียนที่ดีที่สุดในยุคของเรา

ชายชราผูอ้ า่ นนิยายรัก Un viejo que leía novelas de amor

เขียน สถาพร ทิพยศักดิ์ แปล ส�ำนักพิมพ์ผเี สือ้ สเปน Luis SepÚlveda

ณ ดินแดนห่างไกลในส่วนลึกของเอกวาดอร์ ชายชรานาม อันโตนิโอ โฆเฆ่ โบลิบาร์ โปรอานโญ่ ผู้มีความสุขกับการค่อยๆ ละเลียดนิยายรักเพื่อปลอบประโลมจิตใจ ที่เปลี่ยวเหงา เมื่อครั้งอดีตเขามีความหวังกับดินแดนแห่งนี้ว่าจะสร้างเงินทองให้ เมื่อ เวลาผ่านไป เขาเปลี่ยนจากผู้ท�ำลายเป็นผู้รักษาและอยู่ร่วมกับธรรมชาติ แต่สถานที่ที่ งดงามกลายกลับเป็นความทรุดโทรมเพราะชาวนิคมที่หลั่งไหลเข้ามาบุกเบิกป่าเพื่อ ผลประโยชน์ ธรรมชาติที่ถูกท�ำลายด้วยน�้ำมือมนุษย์หวนกลับมาแก้แค้น ชายชราจึง ต้องกล�้ำกลืนฝืนใจท�ำบางอย่างเพื่อหยุดยั้งสิ่งที่มนุษย์ได้กระท�ำไว้กับธรรมชาติ

เมือ่ ข้าพเจ้าอยากเป็นนักประพันธ์ ชาลี เอีย่ มกระสินธุ์ เขียน ส�ำนักพิมพ์ศยาม

บทบันทึกว่าด้วยเรื่องราวความทะยานอยากเป็นนักประพันธ์และแรงบันดาลใจในชีวิต ของนักเขียนชั้นครูนาม ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์ ที่หยิบยกประวัติศาสตร์ในชีวิตว่าด้วย เส้นทางวรรณกรรมของตนมาเล่าทั้งที่เป็นเรื่องราวน่าพิสมัย โกลาหล อลหม่าน สุดเร้าใจ บางเรื่องหัวร่อออกมาเบาๆ เพราะความน่าขบขันในแวดวงน�้ำหมึก สอดแทรกไปกับ เรื่องสั้นชั้นครูมากมายที่เป็นแรงผลักดันท�ำให้เขาย�่ำเดินอย่างแข็งขันในวงการวรรณกรรม ที่เต็มไปด้วยขวากหนามเพียงเพื่ออยากจะเป็นนักประพันธ์ที่ยืนหยัดไปกับโลกและ ชีวิตอย่างบริสุทธิ์ใจ

อ่านแล้ว อ่านเล่า: ปริทศ ั น์หนังสือ เก่าและหนังสือหายาก ศรีดาวเรือง เขียน ส�ำนักพิมพ์อา่ น

วันดา นักอ่านสาวผู้หยิบหนังสือเก่า หนังสือหายากมาอ่านและน�ำเรื่องราวระหว่างบรรทัด มาเล่าให้ฟัง เธอน�ำพาเราสู่อดีตที่เต็มไปด้วยเรื่องราววกวนของประวัติศาสตร์ที่ไม่ต่าง จากปัจจุบัน ทั้งการปฏิวัติ รัฐประหาร การไล่ล่า การหลบหนีและค�ำพิพากษาในยุค แห่งการเปลี่ยนผ่านของประชาธิปไตย และพาเราไปซาบซึ้งกินใจกับเรื่องราววรรณกรรม ที่เติมเต็มหัวใจของผู้คนกับบทบันทึกชีวิตของนักประพันธ์ ชวนให้เราอยากหยิบหนังสือ เก่าและหนังสือหายากมาอ่านแล้วอ่านเล่าได้ไม่รู้เบื่อ

27

1.ความทรงจ�ำถึงกะหรี่ที่แสนเศร้า...........l สามัญชน 2.หากค�ำ่ คืนหนึง่ ในฤดูหนาว นักเดินทางคนหนึง่ ..Iบทจร 3. WRITER ปีที่ 3 ฉบับที่ 34 The Writer’s Secret .I ไรเตอร์ 4. ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 13 ฉบับที่ 1............... I ฟ้าเดียวกัน

เดือนเมษายน - มิถุนายน 2558

5. จดหมายถึงพ่อ.................................I ไลต์เฮาส์ 6. ที่ใดมีความเศร้า.............................. I ฟรีฟอร์ม 7. โจนาทาน ลิฟวิงสตัน :นางนวล................... I จินด์ 8. พม่าร�ำลึก.......................................... I ไต้ฝนุ่ 9.หญิงสาวในแสงตะวัน..............................Iไต้ฝนุ่ 10. ปรารถนา...................................... I บางล�ำพู


Author’s Lounge

เรือ่ งเล่าระหว่างทาง -จากโรงพยาบาลสู่ -ร้านหนัง(สือ)2521

หลายคนคุ้นหูชื่อนายแพทย์ผู้นี้ในนาม “หมอนิล” บุรุษผู้เป็นที่รัก ของชาวบ้านบนเกาะยาวใหญ่ หมอนิลไม่เพียงท�ำหน้าทีร่ ก ั ษาโรคทางกาย เท่านัน ้ แต่ยงั ดูแลรักษาจิตใจของคนไข้ไปด้วย ความฝันของหมอนิล ไม่เคยหยุดนิง่ ความคิดไม่เคยหยุดเดิน และความฝันอย่างหนึง่ ทีบ ่ รรลุ ผลส�ำเร็จแล้วก็คอ ื การเปิดร้านหนังสือ BMR: จุดเริม ่ ต้นของร้านหนัง(สือ)2521 เมื่อสิบกว่าปีก่อน ตอนที่เริ่มเปิดร้านครั้งแรก ผมกับตั้ม นันทวุทธ์ สงค์รักษ์ ที่ตอนนี้เป็นคนท�ำขนมประจ�ำร้าน ไปได้ที่เช่าตึกย่านเมืองเก่า พอเห็นสถานที่แล้วเรารู้สึกชอบเลย แม้ตอนนั้นใครๆ จะบอกว่าท�ำเลไม่ดี เพราะไม่มีที่จอดรถ แต่เราดึงดันจนได้เช่าที่นั่น ผมเอาหนังกับหนังสือทั้งหมด ที่มีมาวางบนชั้นท�ำเป็นร้านเช่า ตั้มจะมาช่วยเปิดร้านหลังเลิกงานทุกวัน พอถึง วันเสาร์อาทิตย์ผมก็จะไปเฝ้าร้านแทน ท�ำไปสักพัก ผมได้เจอกับพี่ชาย (วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา) เขาเอาหนังสือที่เขาเขียนมาให้ นั่นเป็นครั้งแรกที่เราเจอกัน แล้วหลังจากนั้นพี่ชายก็เอาหนังมาไว้ที่ร้านมากขึ้นเรื่อยๆ จนวันหนึ่งผมได้ โอกาสย้ายร้านมาเช่าตรงที่อยู่ปัจจุบัน ผมจึงชวนเพื่อนอีก 2-3 คน ซึ่งเป็น ลูกค้าประจ�ำที่ร้านเดิม รวมถึงพี่ชายมาท�ำร้านหนัง(สือ)2521 ใหม่ด้วยกัน เพื่อให้ร้านมีคนเข้ามาช่วยจัดการเพิ่มขึ้น เพราะส่วนใหญ่เราต่างก็มีงาน ประจ�ำท�ำทุกคน

28

BMR: เอกลักษณ์ของร้านหนัง(สือ)2521 ทีอ่ ยากให้คนทีม ่ าร้าน รูส ้ ก ึ คืออะไร หนังสือวรรณกรรมที่ร้านเราไม่มีวันหมดอายุ ไม่มีวันกองอยู่ในโกดัง อย่างเงียบเหงาเศร้าสร้อย ไม่มี shelf life ถ้าเราสังเกตการวางของขายในร้าน สะดวกซื้อ สินค้าขายดีจะถูกวางไว้ในที่ที่หยิบง่าย สินค้าไหนขายไม่ได้ก็จะ ถูกลบออกไป เราก็รู้นะแต่เราไม่ท�ำอย่างนั้น หากถามว่าอะไรเป็นเอกลักษณ์ ผู้คนอาจมีภาพจ�ำของร้านหนัง(สือ) 2521 แตกต่างกันออกไป จริงๆ เราไม่ได้มุ่งเป็นร้านหนังสือตั้งแต่แรก หากแต่ เราเสนอ “พื้นที่และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน” ซึ่งในความหมายจริงๆ ก็คือเราท�ำในสิ่งที่เราชอบใช้ชีวิตอยู่กับมัน เช่น กาแฟ หนังสือ หนัง BMR: ถ้าให้เลือกหนังสือหนึง่ เล่มทีม ่ ี “บรรยากาศ” คล้ายกับ การมานัง่ อยูใ่ นร้านหนัง(สือ)2521 สาวโรงงานชื่อฝ้าย ของ ทศพล บุญสินสุข ครับ หนังสือมีบรรยากาศ แปลกพิลึกชวนสงสัย บางครั้งก็เหนือจริง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะสงบสบายและ ให้แรงกระตุ้นบางอย่าง BMR: ตัง้ แต่เปิดร้านมามีความประทับใจอะไรบ้าง คงเล่าได้ไม่มีวันหมดทั้งเรื่องน่ายินดีและน่าเศร้าใจ เราได้พบเจอ มิตรสหายหลายท่าน ได้จัดงานแสดงดนตรีเล็กๆ ของมาชารี พิบูลศักดิ์ ละครพล

สัมภาษณ์ สิรินารถ อินทะพันธ์

และศุ บุญเลี้ยง ได้ทดลองท�ำในสิ่งต่างๆ มากมาย เช่น residency program ที่ให้นักศึกษาหรือศิลปินรุ่นใหม่มาพ�ำนักอยู่ เขียนไดอารี ออกไปเจอผู้คน และกลับมาท�ำงานศิลปะ เป็นสถานที่ฉายหนังที่น่าสนใจ จัดแสดงงาน ศิลปะทดลองน�ำเสนอหนังสือบทกวีใกล้กาลนาน ของอุเทน มหามิตร และ หนังสือโรงแรมอัลฟ่าวิลล์ ของวิวัฒน์ เลิศวิวัฒนวงศา ได้ชงกาแฟดีๆ ให้ผู้คน มากหน้าหลายตาพร้อมกันนั้นยังมีค�ำชมกลับมาว่ารสชาติเยี่ยม เราไม่เคย เชื่อว่าสิ่งหนึ่งๆ จะเป็นได้เพียงสิ่งเดียว หลายคนบอกว่าร้านหนังสือ กาแฟคง ไม่อร่อย แต่เราพยายามพิสูจน์ให้เห็นว่าไม่จริง สิ่งเหล่านี้คงห่างไกลจากร้าน หนังสือมาก แต่ทั้งหมดนี้คือเรื่องราวประทับใจของร้านหนัง(สือ)2521 BMR: การวางแผนอนาคตของร้านไว้อย่างไรบ้าง ตอนนี้เราก�ำลังท�ำโรงหนังอยู่ครับ ตอนที่วารสารเล่มนี้ออก เราคง ฉายภาพยนตร์สารคดีชีวประวัติของวิเวียน มายเออร์ ซึ่งได้รับการสนับสนุน จาก Documentary Club มีอีกโครงการที่จะท�ำร่วมกับอาจารย์สันติ ลอรัชวี แห่ง Practical Design Studio ชื่อโครงการ RECOVER คือเอาหนังสือดีที่ ขายยาก น�ำมาให้นักออกแบบออกแบบปกห่อหุ้มหนังสือใหม่ และจัดแสดง ปกเหล่านั้นในฐานะงานศิลปะเพื่อเป็นการเอาหนังสือเหล่านั้นกลับคืนชั้น หนังสืออีกครั้งหนึ่ง ส่วนอีกงานหนึ่งคือเราก�ำลังท�ำหนังสือให้ป๊อก ทศพล บุญสินสุขด้วยครับ BMR: เป็นคนท�ำอะไรหลายอย่าง ถ้าอยูใ่ นโลกทีต ่ อ้ งเลือกท�ำเพียง อย่างเดียว คิดว่าจะเลือกอะไร “การให้ความหมายใหม่จากสิ่งที่เคยถูกให้ความหมาย” ประโยคนี้ มาจากรากของค�ำว่า de-sign จะเห็นว่าทั้งหมดที่ผมท�ำคือสิ่งนั้น งานของหมอคือการหาสาเหตุของความเจ็บป่วยและการแก้ไขให้ ดีขึ้น การท�ำโรงพยาบาลให้ดีขึ้นด้วยการออกแบบความสัมพันธ์ใหม่ระหว่าง ผู้คนที่เกี่ยวข้องกัน งานเขียนหรืองานด้านภาพยนตร์ของผมก็คือการทดลอง เล่าเรื่องหนึ่งเพื่อพูดถึงอีกเรื่องหนึ่ง การตีตรา (signed) นั้นตรึงบางสิ่งเอาไว้ การแก้ไขปัญหาหรือการท�ำให้มันดีขึ้นก็ต้องการความเปลี่ยนแปลง BMR: การเป็นหมอมีความเชือ่ มโยงกับการเขียนหนังสือบ้างไหม อาจจะต้องถามพี่วิภาส ศรีทอง (หัวเราะ) แต่ส�ำหรับผมแล้วการรักษา เยียวยาที่ดีก็เหมือนกับสิ่งที่บาริสต้าดีๆ กระท�ำกัน นั่นคือการหาความเฉพาะตัว ที่เชื่อมโยงกับจักรวาลของความเหมือน หารสชาติเฉพาะตัวที่คนดื่มกาแฟ คนนั้นชอบ หาความเป็นเฉพาะตัวของคนไข้แต่ละคนเพื่อแก้ไขปัญหาของเขา ให้ตรงจุด หาความเฉพาะตัวของโรงพยาบาลเพื่อให้เหมาะกับชุมชน ผมว่านี่คือ สิ่งเดียวกับค�ำว่าการออกแบบหรือศิลปะทุกชนิด BMR: มีความทะเยอทะยานอยากเขียนงานแนวไหนเป็นพิเศษไหม ถึงที่สุดแล้วผมอยากเขียนถึงสิ่งที่ผมขลาดกลัวที่จะเล่ามัน BMR: มีความคิดเห็นอย่างไรเกีย่ วกับเทศกาลหนังสือกรุงเทพมหานคร ครัง้ ที่ 1 (Bangkok Book Festival 2015) ผมขอบคุณมากที่เทศกาลหนังสือกรุงเทพฯ ไม่ใช่การขายหนังสือ อย่างเดียว และนี่คือเทศกาลที่ให้แรงบันดาลใจจากสิ่งที่เกี่ยวข้องกับหนังสือ ให้ความส�ำคัญกับการออกแบบ คนที่ชอบการอ่านและหลงใหลในการจับต้องหนังสือ เทศกาลนี้คือ พื้นที่ส�ำหรับพวกเขา ว่าไปแล้วผมก็อยากไปชงกาแฟให้คนที่มาชมงานดื่ม เหมือนกัน (หัวเราะ)

- นฆ ปักษนาวิน คือนามปากกาในวงการน�้ำหมึกของ นพ.มารุต เหล็กเพชร หรือหมอนิล - หมอนิลเป็นนายแพทย์ นักเขียน นักท�ำหนังสั้นและเจ้าของร้านหนังสือ - ปัจจุบันหมอนิลรับต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์แพทย์ชุมชนพรุใน ต.เกาะยาวใหญ่ จ.พังงา - รางวัลที่เคยได้รับ ได้แก่ รางวัลสร้างเสริมความฝันสร้างสรรค์ความคิดยอดเยี่ยม ประเภทบทกวี รางวัล MBK Independent Book Award รางวัลพานแว่นฟ้า และรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด


เรื่อง อาทิตยา ตันสกุล

Write Lines

ไม่มน ี าวาใดเปรียบได้ดงั่ หนังสือ

เอมิลี ดิกคินสัน (1830–1886) คือกวีส�ำคัญคนหนึ่งของแวดวงวรรณกรรม อเมริกันในศตวรรษที่ 19 ใช้ชีวิตเรียบง่าย เก็บตัวเขียนบทกวีอยู่ในบ้านแถบเมือง แอมเฮิร์สท์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ มีคัมภีร์ไบเบิลและบทละครของเชกสเปียร์เป็น อิทธิพลส�ำคัญต่อแนวคิด มักน�ำเสนอประเด็นความตาย อมตภาพ ธรรมชาติ ของดอกไม้ และความผิดปกติวิสัยของความนึกคิดมนุษย์ รูปแบบของงาน ฉีกขนบกวีนิพนธ์แบบกวีโรแมนติกฝั่งอังกฤษอย่างเวิร์ดสเวิร์ทและคีตส์ (ที่รุ่มรวย ไปด้วยถ้อยค�ำถาโถมหลั่งไหล) ด้วยค�ำแสนสั้นเรียบง่าย ไร้ชื่อเรียกขานตัวบท มีเครื่องหมายวรรคตอน – ยัติภังค์ – ที่ขีดคั่นหรือเว้นช่องว่างระหว่างค�ำและ บรรทัดเป็นลักษณะส�ำคัญที่ชวนตีความ ในบรรดาผลงานเกือบสองพันชิ้นของดิกคินสัน There is no Frigate like a Book เป็นบทกวีที่โดดเด่นที่สุดชิ้นหนึ่ง การอุปมาให้หนังสือเป็น เสมือนยวดยานประเภทต่างๆ และแต่ละหน้ากระดาษที่มีผู้พลิกอ่านคือ ค่าผ่านทางราคาถูกที่สุดนั้นถือเป็นความเปรียบที่ยากต่อการโต้แย้ง ส�ำหรับ ดิกคินสัน หนังสือเป็นมากกว่าภาชนะชิ้นหนึ่งที่มีไว้บรรจุ กักเก็บ หรือบันทึก ตัวอักษร เป็นมากกว่าชนวนน�ำความรู้และความบันเทิงแก่ผู้อ่าน สถานะและ หน้าที่ที่แท้จริงของหนังสือ – ไม่ว่าจะเป็นประเภทใด นวนิยาย บทกวี ความเรียง หรือแม้แต่หนังสือภาพ – คือยวดยานทรงประสิทธิภาพที่มนุษย์สามารถเลือกใช้ เพื่อโดยสารออกไปนอกเส้นทางและพื้นที่ดั้งเดิม พาทุกคนโลดแล่นไปใน อาณาจักรอื่น ออกส�ำรวจดินแดนเสรีและเขตหวงห้ามที่ไม่เคยคุ้น หรือแม้แต่ จะใช้เพื่อเบิกทางให้ก้าวเข้าไปภายในตัวตน เพื่อทบทวนความนึกคิดจิตใจ หากจินตนาการตามตัวบท ดิกคินสันก�ำลังพาเราออกนอกชายฝั่ง ลอยล�ำล่องเรือแห่งการเรียนรู้อยู่กลางมหาสมุทรกว้าง และทะยานไปกับรถม้า แห่งประสบการณ์บนเส้นทางลัดด่วน เพื่อแสวงหาความหมายของชีวิต และ คุณค่าทางจิตวิญญาณของมนุษย์ผู้ไม่ยอมหยุดนิ่งและมีความคิดไร้ขีดจ�ำกัด – ผ่านการอ่าน ผ่านตัวอักษร ด้วยยานพาหนะชั้นดี ที่เรียกว่า – หนังสือ –

Emily Dickinson

29

Emily Dickinson Everyman's Poetry Emily Dickinson

เขียน

ส�ำนักพิมพ์ Everyman

Paperbacks, 1997


เรื่องและภาพ กองบรรณาธิการ

Goeth e N e w Library สถาบันเกอเธ่ กรุงเทพฯ คือองค์กรที่เปิดด�ำเนินงานเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้าน ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันในประเทศไทยมาอย่างยาวนาน ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา การด�ำเนินงานของเกอเธ่ได้สร้างคุณูปการให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา บุคคลทั่วไปและผู้ที่สนใจภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันตลอดมา กิจกรรมมากมายหลากหลายที่ทางสถาบันจัดขึ้นทุกปีและมีการตอบรับอย่างดีนั้น ยังแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าความสนใจของคนไทยที่มีต่อ “ความเป็น เยอรมัน” ด้านต่างๆ ไม่เคยเสื่อมคลาย ใต้เงาร่มรื่นในอาณาบริเวณของสถาบันที่ตั้งอยู่ในซอยสาทร 1 หน่วยงาน ส�ำคัญของสถาบันคือ ศูนย์ข้อมูลและห้องสมุด ซึ่งเพิ่งปรับปรุงโฉมใหม่ (และมี งานเปิดตัวไปเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา) เพราะต้องการอ�ำนวยความสะดวก แก่ผู้ใช้และสมาชิกด้วยการจัดเรียงหมวดหมู่หนังสือรวมทั้งสื่อดิจิตัลให้ง่าย ต่อการใช้งาน มีการคัดสรรหนังสือทั้งภาษาเยอรมันและภาษาไทยให้เหมาะสม กับผู้ใช้บริการมากขึ้น รวมทั้งยังต้องการส่งเสริมให้นักอ่านเปิดพรมแดนการเรียนรู้ และมีทางเลือกกับการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ อย่างไร้ขีดจ�ำกัดด้วยการเพิ่มมุม “gadget bar” เพื่อการสืบค้นข้อมูลออนไลน์ผ่าน “electronic device” และยัง สร้างบรรยากาศสบายตาด้วยการใช้สีขาวเป็นหลัก รวมถึงการเพิ่มพื้นที่ว่าง ระหว่างชั้นหนังสือและพื้นที่ส่วนกลางเพื่อให้ผู้ใช้บริการรู้สึกปลอดโปร่งโล่ง สบายยิ่งขึ้น ส�ำหรับผู้ที่สนใจและต้องการเข้าถึงความเป็นเยอรมัน สามารถเข้ามาเยี่ยมชม และเลือกยืมหนังสือและสื่อต่างๆ ได้ที่ห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ 18/1 ซอยเกอเธ่ สาทร 1 กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์: 0-2108-8200 โทรสาร: 0-2108-8299 เว็บไซต์: goethe.de

30


สั่งซื้อโดยตรงท่ี่ส�ำนักพิมพ์แสงดาว

• โทรศัพท์ 0-2954-9841-3

•โทรสาร 0-2954-9844

•E-mail : info@saengdao.com

•บริการจัดส่งทางไปรษณีย์โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย

ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก จูเลียส ซีซาร์ Julius Caesar มัณฑิรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 192 หน้า / ราคา 130 บาท ISBN : 9786163880123

ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก วินสตัน เชอร์ชลิ มัณฑิรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 184 หน้า / ราคา 130 บาท ISBN : 9786163880109

เรื่องราวแห่งความเกรียงไกร เกียรติยศ ความจงรักภักดีและ การหักหลังเข้มข้นในชีวิตของ จูเลียส ซีซาร์ กับเหตุผลที่ชื่อ ของนักรบ นักปกครอง นักพูดผู้ยิ่งใหญ่คนนี้ไม่เคยตกหล่น ไปจากหน้าประวัติศาสตร์พร้อมกับกาลเวลา

วินสตัน สเปนเซอร์ เชอร์ชิล ขุนนางตระกูลนักรบมีชื่อเสียง ที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ จากเด็กที่มีชีวิตกระท่อนกระแท่น และไม่รักการเรียน กลายมาเป็นวีรบุรุษของชาติ และรัฐบุรุษ ของโลกได้อย่างไร ศึกษาเส้นทางความส�ำเร็จของผู้เอาชนะ ทุกวิกฤตได้ในเล่มนี้

ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก ไอเซนฮาวร์ EiSenhower มัณฑิรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 208 หน้า / ราคา 140 บาท ISBN : 9786163880109

ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก พระเจ้าเฟรเดริคมหาราช มัณฑิรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 216 หน้า / ราคา 150 บาท ISBN : 9786163880147

วีรบุรุษผู้สยบสงครามโลกครั้งที่ 2 ขุนศึกผู้ยิ่งใหญ่ที่เป็นพระเอก คอยจัดการยุติสงครามด้วยวิธีการทางทหารและด้วยศิลปะ อันชาญฉลาด พบวิธีการใช้ปัญญา ความเพียร ความอดทน อดกลั้น และการเสียสละ ของผู้ชายที่ชื่อ ไอเซนฮาวร์ ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาคนที่ 34

ความเข้าใจของคนทั่วไปนั้น นักรบกับนักปราชญ์ไม่น่าจะใช่ คนเดียวกัน แต่ส�ำหรับ พระเจ้าเฟรเดริคมหาราช เป็นข้อ ยกเว้น พบเรื่องราวน่าศึกษาของมหาราชผู้นี้เปลี่ยนแปลง โฉมหน้าของยุโรปและขยายอาณาจักรเพิ่มขึ้นเกือบหนึ่งเท่า ตัวก่อนสวรรคต

ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก เจงกีสข่าน Genghis Khan มัณฑิรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 200 หน้า / ราคา 140 บาท ISBN : 9786163880116

ชุด บุคคลส�ำคัญของโลก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มัณฑิรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 208 หน้า / ราคา 140 บาท ISBN : 9786163880154

เจงกีสข่าน นักรบมองโกเลียที่ยิ่งใหญ่ระดับโลก รวมชนเผ่า ต่างๆ ให้มาอยู่ภายใต้การปกครอง โดยใช้หัวใจส�ำคัญของ การเป็นผู้น�ำ เขาท�ำอย่างไรจึงเปลี่ยนศัตรูให้เป็นมิตรและท�ำ อย่างไรให้ผู้แพ้ยอมรับท่านด้วยหัวใจแห่งภักดี ศึกษาทั้งเส้น ทางของการรบและการสร้างสันติภาพได้ในเล่มนี้เล่มเดียว

หนังสือเล่มนี้เสนอเรื่องราวชีวิตแต่หนหลังตั้งแต่วัยเด็กจนถึง วาระสุดท้ายของของบุรุษชื่อ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้สร้างประวัต-ิ ศาสตร์ที่สั่นสะเทือนไปทั้งโลก ค้นหาปมเหตุของความโหดเหี้ยม กระหายอ�ำนาจ บนเส้นทางการก้าวขึ้นเป็นผู้น�ำเยอรมนีและ ผู้จุดชนวนสงครามโลกครั้งที่ 2

cover tomrapichai IM3.pdf

1

9/29/14

10:36 AM

145mm

23mm

145mm

THE BOSS บริหารคนสไตล์เจ้าสัว ยุคโลกออนไลน์

กลัน ่ สามก๊ก ฉบับนักบริหาร (พิมพ์ครัง้ ที่ 3)

ต�ำราพิชยั สงครามสามก๊ก (พิมพ์ครัง้ ที่ 2)

อดุลย์ รัตนมัน ่ เกษม : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 240 หน้า / ราคา 190 บาท ISBN : 9786165089937

บูรชัย ศิรม ิ หาสาคร : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 304 หน้า / ราคา 240 บาท ISBN : 9786165089609

สุภาณี ปิยพสุนทรา : เขียน ปกอ่อน / จ�ำนวน 464 หน้า / ราคา 370 บาท ISBN : 9786165089364

C

M

Y

CM

CY

210mm

MY

CMY

K

26426 cover tomrapichai IM3 aon 26-9-57

THE BOSS คือหนังสือที่น�ำเสนอปัญหาข้อเท็จจริงพร้อม ทางออกอย่างเป็นรูปธรรมด้วยหลักการส�ำคัญ 16 ประเด็น ทั้งทางด้านจิตวิทยาและสรีระวิทยาเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารของนายจ้างและการท�ำงานของลูกน้องในองค์กรไป พร้อมๆ กัน

หนังสือเล่มนี้กลั่น “สามก๊ก” ประดิษฐกรรมอันยิ่งใหญ่จาก ปลายปากกาของมนุษย์ออกมาให้เข้าถึงง่าย เข้าใจได้อย่าง ลึ ก ซึ้ ง ดุ จ แหล่ ง รวมสรรพศาสตร์ แ ละศิ ล ป์ ท างการบริ ห าร ศูนย์กลางของกุศโลบาย และเล่ห์การท�ำศึก ซ่อนภูมิปัญญา ของปราชญ์โบราณสมเป็นสุดยอดต�ำราพิชัยสงครามทั้งฝ่ายบู๊ และฝ่ายบุ๋น

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเอาสุดยอดกลยุทธ์ต่างๆ ในศึกสามก๊ก มาวิเคราะห์เจาะลึก สรุปเป็นบทเรียน โดยเริ่มตั้งแต่เริ่มท�ำศึก จนกระทั่งสงครามสงบ แม้แต่ท่านที่ไม่เคยอ่านสามก๊ก หากได้ อ่านต�ำราพิชัยสงครามสามก๊กเล่มนี้ ท่านก็จะรู้เรื่องสามก๊กเหมือน อ่านบทคัดย่อพร้อมๆ กับได้อ่านต�ำราศึกษาผู้คนอย่างถี่ถ้วน รู้ความคิด อ่านจิตใจ รวมถึงวางอุบายพิชิตใจคนได้อย่างถ่องแท้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.