Bookmoby Review issue 1 (2014)

Page 1

1

เรื่องสั้นอเมริกัน ที่ดังที่สุดในจีน เจ.เค. โรลลิ่ง บอก ตอนจบ แฮร์รี่ คิดผิด! วรรณกรรมคลาสสิก การผจญภัยของฮัคเคิลเบอร์รี่ ฟินน์ เริ่มต้นตั้งแต่ฉบับนี้


2

วารสาร Bookmoby Review • บรรณาธิการบริหาร ปราบดา หยุ่น บรรณาธิการ อนรรฆ พิทักษ์ธานิน กองบรรณาธิการ ธนาคาร จันทิมา นักเขียนและนักแปลรับเชิญ สุริยาพร เอี่ยมวิจิตร์ ปาลิดา พิมพะกร กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์ ที่ปรึกษา วินัย ชาติอนันต์ ทิ​ิชากร ชาติอนันต์ ออกแบบ Bookmoby Design ผู้พมิ พ์ บริษทั บุค๊ โมบี้ จ�ำกัด 7/54 ซอยร่วมฤดี ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทรศัพท์ 02-106-3671, 086-374-3464 โทรสาร 02-106-3671 อี เมล contact@bookmoby.com เว็ บ ไซต์ www.bookmoby.com เฟซบุ๊ค facebook.com/bookmoby ทวิ ต เตอร์ twitter.com/bookmoby อิ น สตาแกรม instagram.com/bookmoby พิมพ์ที่ บริษัท แกรนด์พ้อยท์ จ�ำกัด 36 ซ.บรมราชชนนี 6 แขวงบางบ�ำหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 โทร. 089-070-7744 FAX: 02-117-1570 1

เรื่องสั้นอเมริกัน ที่ดังที่สุดในจีน เจ.เค. โรลลิ่ง บอก ตอนจบ แฮร์รี่ คิดผิด! วรรณกรรมคลาสสิก การผจญภัยของฮัคเคิลเบอร์รี่ ฟินน์ เริ่มต้นตั้งแต่ฉบับนี้


เรื่อง กองบรรณาธิการ

ช่วงเวลาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 “หนังสือ” ได้กลายเป็น เครื่องมือส�ำคัญของนักคิดทางการเมืองในการเสนอ/ถ่ายทอดความคิด ความเชือ่ และอุดมการณ์ ทีส่ ว่ นหนึง่ ได้กลายมาเป็น “ลัทธิทางการเมือง” ดังตัวอย่างที่เห็นอย่างชัดเจนในกรณีของคาร์ล มาร์กซ์ และเฟรชดริช เองเกลส์ ที่เสนอแนวทางของ “มาร์กซิสต์” และการวิเคราะห์ปัญหาของ ระบบทุนนิยมทีค่ รอบง�ำยุโรปขณะนัน้ ผ่าน “หนังสือ” หลายต่อหลายเล่ม ยิง่ ไป กว่านัน้ หนังสือหลายเล่มทีเ่ ป็นประกายแห่งความคิดของการเคลือ่ นไหว ของมวลชนในอดีตยังได้รบั การตีพมิ พ์ซ�้ำอีกครัง้ ในช่วงเวลานี้ และได้เป็น แรงบันดาลใจของผูน้ ำ� การเคลือ่ นไหวและผูน้ ำ� การปฏิวตั ใิ นหลายประเทศ นับแต่นั้นเป็นต้นมา “หนังสือ” และ “การอ่าน” จึงได้ลงหลัก ปั ก ฐานถ่ า ยทอดอุ ด มการณ์ อารมณ์ ค วามรู ้ สึ ก เป็ น แรงบั น ดาลใจ เป็นรากฐานหนึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของส่วนผสมอันหลากหลาย ของการ เคลือ่ นไหว การลุกฮือ และการปฏิวตั ขิ องประชาชน ทีม่ ตี อ่ รัฐอ�ำนาจนิยม ความฉ้อฉล และความอยุติธรรมทั้งหลายบนโลกใบนี้ Bookmoby Review ฉบับปฐมฤกษ์ ขอพาผู้อ่านทุกท่านไป รู้จักกับ “หนังสือ” เล่มส�ำคัญ ทีเ่ ป็นแรงผลักส�ำคัญต่อการลุกฮือและปฏิวตั ิ ของประชาชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยหนังสือบางเล่มได้ถูกผลิตซ�้ำ มานานนั บ ทศวรรษและเป็ น งาน “คลาสสิ ก ” ที่ ห ลายขบวนการใน หลายสมัย ได้หยิบยืมแนวคิดเพื่อขับเคลื่อนสังคมและมวลชน

การลุกฮือของ “มวลชน/ประชาชน” เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา หลายพันปีของประวัตศิ าสตร์มนุษยชาติ แรกเริม่ การลุกฮือฯได้รบั การขับเน้น จากความต้องการพืน้ ฐานในชีวติ เช่น อาหารและทีอ่ ยูอ่ าศัย หรือความต้องการ อ�ำนาจของผูน้ ำ� มวลชน จวบจนเมือ่ มนุษย์เริม่ รูจ้ กั “การอ่าน” มากขึน้ ทีม่ า ในการขับเคลื่อนมวลชนจึงเริ่มขยายเข้าสู่ “หนังสือ” การขยายตัวของ “หนังสือ” ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา หลัง การพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ในยุโรป ได้ทำ� ให้หนังสือกระจายตัวและหาอ่านได้ ไม่ยากเหมือนในอดีต เกิดนักคิดจ�ำนวนหนึง่ ทีเ่ ริม่ เผยแพร่ความคิดของตนเองผ่าน การพิมพ์หนังสือ อย่างไรก็ดี ในช่วงแรกหนังสือทีต่ พี มิ พ์ดจู ะมีขนาดใหญ่เทอะทะ และความรูท้ เี่ ผยแพร่ผา่ นหนังสือกระท�ำโดย “การอ่าน” ต่อหน้ากลุม่ คนเป็นหลัก -- ความคิดเรื่อง “สัญญาประชาคม” ของฌอง ฌาคส์ รุสโซ ก็ถูกถ่ายทอดโดยวิธี นี้จนกลายเป็นรากฐานส�ำคัญหนึ่งของการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี 1789 พัฒนาการของหนังสือทีเ่ ริม่ มีขนาดเล็กลงและง่ายต่อการพกพา ผนวก กับ “การรู้หนังสือ” ที่มากขึ้นของคนทั่วไปในเวลาต่อมา ได้ท�ำให้ “การอ่านในใจ” หรือ “การอ่านคนเดียว” เริม่ แพร่หลายมากขึน้ หนังสือกลายเป็นทัง้ สือ่ บันเทิง การ ศึกษา และความรู้ รวมถึงเป็น “สือ่ ทางอุดมการณ์” ทีส่ ามารถสร้างอารมณ์รว่ มให้ กับนักอ่านที่เสพหนังสือคล้ายๆ กันได้ บทบาทของหนังสือในฐานะ “สื่อทางอุดมการณ์” เริ่มเห็นได้อย่าง ชัดเจนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 หนังสือทั้งวรรณกรรมและความเรียงหลายเล่ม ได้ถูกอ่านและกลายเป็นจุดเชื่อมโยงอารมณ์ของขบวนการชาตินิยมในดินแดน อาณานิคม รวมถึงขบวนการด้านสิทธิที่เริ่มก่อตัวในยุโรปและอเมริกาเหนือ ใน ทางเดียวกัน การอ่านวารสารและหนังสือพิมพ์ ที่เริ่มผลิตเป็นภาษาถิ่นของดิน แดนอาณานิคมในปลายคริสต์ศตวรรษนี้ ก็ยังเป็นหนึ่งในการสร้าง “ส�ำนึกความ เป็นชาติ” อันเป็นรากฐานหนึ่งที่หนุนเสริมขบวนการชาตินิยมด้วยเช่นกัน


แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์

Das Kommunistische Manifest

คาร์ล มาร์กซ์ และ เฟรชดริช เองเกลส์

1848

ปีศาจแห่งกาลเวลา

“ปีศาจตนหนึ่ง ปีศาจแห่งลัทธิคอมมิวนิสต์ก�ำลังวนเวียนอยู่ในยุโรป…” บทเปิดของหนังสือเล่มเล็กแต่ทรงอิทธิพลมหาศาลแห่งศตวรรษที1่ 9 ร่วมกันเขียนโดย คาร์ล มาร์กซ์ และเฟรชดริช เองเกลส์ แห่งสันนิบาตคอมมิวนิสต์ เริม่ ต้นจากค�ำถามว่า มนุษย์จะสร้างโลกที่ดีกว่าได้อย่างไร พวกเขาชี้ให้เห็นความทรงพลังและข้อเสีย ของทุนนิยม เป็นปากเสียงให้ “ชนชั้นกรรมาชีพ” ซึ่งล้วนเป็นคนส่วนใหญ่ของโลก ให้ลุกขึ้นปลดแอกตนเองผ่านการต่อสู้กับชนชั้นนายทุน สร้างระบอบการเมือง และเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมทีท่ ำ� ให้คนเท่ากัน ทฤษฎีมาร์กซิสต์ (Marxism) ถูก น�ำไปปรับใช้โดยผู้น�ำลัทธิคอมมิวนิสต์ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นการปฏิวัติบอลเชวิค รัสเซีย ปฏิวัติวัฒนธรรมในประเทศจีน รวมถึงการก�ำเนิดพรรคคอมมิวนิสต์แห่ง ประเทศไทย ที่หลอกหลอนชนชั้นน�ำไทยในช่วงทศวรรษ 2510 มาร์กซิสต์ ยังสร้างอิทธิพลทางวรรณกรรมทีแ่ จ่มชัด เป็นแรงบันดาลใจไม่มากก็ น้อยให้ เสนีย์ เสาวพงศ์ สร้าง “ปีศาจ” ผ่านตัวละครชื่อ สาย สีมา ที่กล่าววลีอมตะ ต่อหน้าตัวละครผูเ้ ป็นชนชัน้ ฐานันดรของสังคมในตอนจบว่า “ผมเป็นปีศาจทีก่ าลเวลา ได้สร้างขึ้นมาหลอกหลอนคนที่อยู่ในโลกเก่า ความคิดเก่า” เสนีย์ เสาวพงศ์เคย ให้สัมภาษณ์ว่าปีศาจอาจมีได้หลายตัว ไม่ใช่ตัวเดียว ค�ำถามที่ว่าเราจะสร้างโลก ที่ดีกว่าได้อย่างไร จึงยังหลอกหลอนสังคมที่ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงตัวเองได้เสมอ

4

“ชนชัน้ ปกครองจงล่มสลาย โดยการปฏิวัตคิ อมมิวนิสต์ กรรมาชนไม่มสี งิ่ ใดต้องเสีย นอกจากโซ่ตรวนที่ล่ามรัด พวกเขาเอาไว้ ”

สามัญส�ำนึก

Common Sense

ธอมัส เพน

1776

ผู้ท�ำคลอดประชาธิปไตยแก่อเมริกา ก่อนเสรีภาพ เสมอภาค และอิสรภาพ จะกลายเป็นความภาคภูมิใจของ อเมริกันชนในวันนี้ ต้องขอบคุณถ้อยค�ำเผ็ดร้อนแต่ลุ่มลึกของเพน ที่ท�ำหน้าที่แทน ปากเสียงแทนของชาวอเมริกันที่อัดอั้นต่อ “ความไม่เป็นธรรม” “ความเหลื่อมล�้ำ” และ “ความต้องการอิสรภาพ” ภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรอังกฤษ ธอมัส เพน เสนอว่า อุดมการณ์ที่ส�ำคัญที่สุดเมื่อมนุษย์อยู่ร่วมกัน คือ สิทธิ เสรีภาพ และ ความเสมอภาค ค�ำเหล่านีล้ ว้ นระคายหูผมู้ อี ำ� นาจในศตวรรษที่ 18 แม้ตอ่ มาจะกลาย มาเป็น สามัญส�ำนึก ของประชากรค่อนโลกในศตวรรษที่ 21 ก็ตาม ธอมัส เพน เป็นนักคิด นักเขียนชาวอังกฤษ ผู้ชูคบเพลิงคนแรกๆ ในยุค แสงสว่างทางปัญญาของอเมริกา (American Enlightenment) ปลุกให้คนจ�ำนวนมาก หันมาสนใจเรือ่ งการเลิกทาส การเหยียดสีผวิ ตืน่ ตัวเรือ่ งสิทธิสตรี ตระหนักถึงการมีอยู่ ของเพศอันหลากหลาย และเปิดกว้างแก่การนับถือศาสนา ที่ส�ำคัญคือการต่อสู้เพื่อ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นแก่ประชาชนทุกคน แต่สกั กีค่ นจะรูว้ า่ ตลอดชีวติ ชายผูม้ อี ทิ ธิพลต่อการปฏิวตั อิ เมริกาคนนีเ้ ต็มไป ด้วยศัตรู ไร้มติ รแท้ ขืน่ ขมกับข้อครหา ต้องโทษจ�ำคุกจากการท้าทายสังคมกระแสหลัก และกลายเป็นบุคคลเลือนลางทางประวัติศาสตร์ที่ถูกท�ำให้ลืม

“เพราะมนุษย์ลว้ นเกิดมาเท่าเทียมกันแต่แรก จึงไม่มผี ู้ใดมีสทิ ธิแต่กำ� เนิดในการก�ำหนดให้ ครอบครัวของตนได้รับอภิสิทธิ์เหนือผู้อื่น ตลอดไป”


สัญญาประชาคม Social Contract

ฌอง ฌาคส์ รุสโซ

เสรีภาพภายใต้พันธนาการ

หนังสือเล่มนี้บอกเล่าชะตากรรมรันทดของครอบครัวทาสผิวด�ำที่ถูกใช้งาน จากนายทาสในเขตอเมริกาฝ่ายใต้อย่างทารุณ ลีโอ ตอลสตอย นักเขียนรัสเซีย กล่าว ยกย่องให้หนังสือเล่มนี้คือแบบฉบับดีงามของงานศิลปะที่สะท้อนความรักระหว่าง พระเจ้ากับมนุษย์ ลุงทอมเป็นทาสผู้ศรัทธาพระเจ้าอย่างมิสั่นคลอน นั่นท�ำให้ผู้อ่าน ยิง่ สะเทือนใจกับบุคลิกของเขาซึง่ ไม่ตา่ งจากพระเยซูผยู้ อมรับการเฆีย่ นตีจากพระเจ้า พร้อมทั้งยังหันแก้มอีกข้างให้ความโหดร้ายตบหน้าเขาอย่างอดทน ยิ่งกว่าการบันทึกความปวดร้าวในประวัติศาสตร์อเมริกา หนังสือเล่มนี้ก่อ แผ่นดินไหวในหัวใจนักอ่านมากมายจนเกิดปฏิกิริยารุนแรงทั้งสนับสนุนและต่อต้าน กระท่อมของลุงทอม พิมพ์ครั้งแรก ขายหมด 5,000 เล่มภายใน 2 วัน และพิมพ์ซ�้ำถึง 300,000 เล่มภายในปีเดียว ไม่เพียงเป็นหนังสือ ‘ต้องห้าม’ ส�ำหรับอเมริกาฝ่ายใต้ 1762 หากยังกระเพือ่ มไกลถึงส�ำนักวาติกนั กระเทือนพระราชวังของพระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย นั่นยิ่งไม่ต้องสงสัยเลยเมื่อเราได้ยินว่า กระท่อมของลุงทอม คือหนังสือโปรดเล่มหนึ่ง ในวัยหนุ่มของวี ไอ เลนิน ที่ต่อมาเป็นผู้น�ำการปฏิวัติรัสเซีย

สัญญาประชาคม คือ ท่อนฮุคแห่งการปฏิวัติฝรั่งเศส (1789) วลีส�ำคัญ จ�ำนวนมากในหนังสือเล่มนี้ถูกกล่าวอ้างอย่างกว้างขวางในฐานะขอบฟ้าสีทองแห่ง การเปลีย่ นแปลงสังคม รุสโซฝังรากความคิดว่า “มนุษย์เกิดมาล้วนมีเสรีภาพเท่าเทียม” ให้แก่คนฝรัง่ เศสและคนทัว่ โลก เขาเชือ่ ว่าสิง่ ทีท่ ำ� ให้มนุษย์ไม่เท่าเทียมคือเงือ่ นไขของ กฎหมายและรูปแบบการปกครองของรัฐ ซึง่ ถ่างชนชัน้ ให้กว้างออก และเอือ้ ประโยชน์ ให้แต่อภิสทิ ธิช์ น/ผูป้ กครองเท่านัน้ รุสโซเป็นหนึง่ ในปัญญาชนแนวหน้าสมัยนัน้ ทีเ่ ชือ่ ว่าไม่มใี ครสมควร “รวยจนซือ้ เท่าไหร่กไ็ ม่หมด” หรือ “ยากจนแทบไม่เหลือสิง่ ใดให้ขาย” ข้อเสนอของรุสโซคือการจัดระเบียบรัฐบาลโดยมอบอ�ำนาจชอบธรรมให้แก่ บุคคลที่มาจากความเห็นชอบของประชาชนส่วนใหญ่ โดยสัญญาจะรักษาสิทธิและ เสรีภาพของมนุษย์อย่างเท่าเทียม แม้เราอาจเกิดไม่ทันเห็นภาพเหตุการณ์ แต่ก็สามารถได้ยินเสียงร้องของ ประชาชนกูต่ ะโกนไปบนท้องถนนจากนิยาย เหยือ่ อธรรม (Les Misérables) มาสเตอร์พีซ ของ วิกตอร์ อูโก นักเขียนฝรัง่ เศส สะท้อนภาพตัวละครทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากแนวคิดของ รุสโซ แม้นิยายเขียนขึ้นภายหลังปฏิวัติฝรั่งเศสกว่าหนึ่งร้อยปี แต่ใจความบรรทัดเเรก The Story of My Experiments with Truth ของ สัญญาประชาคม ที่ว่า “มนุษย์เกิดมาเสรี แต่อยู่ในพันธนาการทุกแห่งหน ใคร คิดว่าตนเป็นนายเหนือผูค้ น ผูน้ นั่ ย่อมไม่วายกลายเป็นทาสยิง่ กว่า” ก็กงั วานอยูใ่ นทุกที่ มหาตมะ คานธี 1921 ทีม่ นุษย์ยังปรารถนาความเท่าเทียม

ข้าพเจ้าทดลองความจริง

“ผูท้ ี่ไม่มอี ะไรต้องเสีย ย่อมยอมเสี่ยงได้กับ ทุกอย่าง”

กระท่อมน้อยของลุงทอม Uncle Tom’s Cabin

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์

1852

ลุงทอม ทาสผู้ปลดปล่อยอเมริกา แม้จะมีการตัง้ ค�ำถามถึงความสมจริงและการเป็นโฆษณาชวนเชือ่ ให้อเมริกา ฝ่ายเหนือของนิยาย กระท่อมของลุงทอม เขียนโดย แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ แต่สาระ ส�ำคัญของเรือ่ งก็ชวนให้ขบคิดถึงการปฏิบตั ติ อ่ เพือ่ นมนุษย์อย่างเท่าเทียม เป็นพายุลกู แรกๆ ทีป่ ลุกกระแสต่อต้านการค้าทาสและเรียกร้องสิทธิทางกฎหมายให้ทาสผิวด�ำ ก่อน สงครามกลางเมืองอเมริการะหว่างฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้จะกัดกินคนในชาติยาวนาน กว่า 5 ปี (1861-1865) คร่าชีวิตชาวอเมริกันร่วมหกแสนคน

ปฏิวัติสีขาว บันทึกชีวประวัติส่วนตัวของ มหาตมะคานธี ผู้ต่อสู้กับมหาอ�ำนาจของโลก ด้วยมือเปล่า ตามหลักสัตยาเคราะห์ (Satyagraha) แปลตามศัพท์วา่ ยึดมัน่ ในความจริง ส�ำหรับคานธี เขามีความจริงสูงสุดคือพระเจ้า และเลือกเผชิญหน้าความอยุติธรรม ด้วยการไม่ใช้ความรุนแรง (non-violence) คานธีไม่ใช่ตน้ ทางของแนวคิดนี้ แต่หลอม รวมจากอิทธิพลความคิดอันหลากหลาย มาจากทั้งคัมภีร์ภควัทคีตา ค�ำเทศนาของ พระเยซู ข้อเขียนของเฮนรี เดวิด ธอโร งานเขียนบางชิน้ ของจอห์น รัสคิน และไม่นอ้ ยที่ ได้อิทธิพลจากปรัชญาของ ลีโอ ตอลสตอย โดยออกแบบกระบวนการเคลื่อนไหวทาง สังคมและการเมืองจากประสบการณ์ชีวิตตนเอง การเคลือ่ นไหวประท้วงด้วยวิธแี บบสันติและอารยวิถี ของคานธี เป็นชัยชนะสีขาว ทีโ่ ลกไม่เคยรูจ้ กั มากก่อน ไม่มเี ชือ่ ว่าการอดอาหาร ท�ำนาเกลือ ทอผ้า หรือกิจกรรมธรรมดา ที่สุดอย่างการเดินไปตามท้องถนนจะสร้างแนวร่วมจากประชาชนจ�ำนวนมหาศาล และน�ำมาสู่ชัยชนะต่ออังกฤษ ปลดปล่อยอินเดียจนได้รับเอกราชในที่สุด วิธกี ารต่อสูข้ องคานธี กลายเป็นต�ำราให้นกั สันติวธิ แี ละนักต่อสูอ้ ารยะขัดขืน ทั่วโลกเดินตาม เพราะเป็นหนทางของผู้กล้าหาญ เรียกร้องวินัยและต้องใช้ความอด กลัน้ ขัน้ สูง เพือ่ เผชิญหน้าความรุนแรงทุกรูปแบบ ดังภาพสุดท้ายของคานธีทคี่ นทัง้ โลก จดจ�ำ หลังถูกมือปืนคลัง่ ศาสนายิงกระสุนสังหารใส่สามนัด คานธีเข้าถึงความจริงของตน ด้วยการกล่าวค�ำสวดมนต์ “เห ราม” อย่างสงบ ซึง่ แปลว่า “ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า” นัน่ เอง

5


โนโลโก้

No Logo

นาโอมิ ไคลน์

1999

แบรนด์แห่งการต้านแบรนด์ “โนโลโก้” หรือ “ไร้ยี่ห้อ” คือ ฉลากที่นาโอมิ ไคลน์ ผู้เขียนใช้ประกาศกร้าว เป็นปรปักษ์กบั ตลาดเสรีนยิ มใหม่ซงึ่ เชือ่ ว่าการท�ำให้ทกุ สิง่ เป็นสินค้าจะช่วยท�ำให้ชวี ติ มนุษย์ดีขึ้นและช่วยเปลี่ยนโลกให้ดีกว่าเดิม หนังสือเล่มนี้เปรียบดังแถลงการณ์ที่ปลุกพลเมืองโลกให้ตื่นขึ้นมาตอบโต้ นายทุนข้ามชาติทงั้ หลาย ดงั ปรากฏการณ์ Occupy Movement ทีเ่ กิดขึน้ ตามมหานคร ทัว่ โลก ขบวนการต่อต้านโลกาภิวตั น์ดว้ ยการประท้วงหลายหลากรูปแบบบนท้องถนน ก�ำลังลุกลามเป็นการเคลื่อนไหวแห่งศตวรรษที่ 21 โนโลโก้ แบ่งเป็น ไม่มที วี่ า่ ง, ไม่มที างเลือก, ไม่มงี าน, ไม่มโี ลโก้ ทงั้ สีส่ ว่ นเผย ให้เห็นการท�ำงานระหว่างตลาดการเงินกับแบรนด์ขนาดยักษ์ แปรรูปทุกอย่างให้เป็น สินค้า ยึดโยงกับอัตลักษณ์และพืน้ ทีว่ ฒ ั นธรรมของผูค้ น จ�ำกัดทางเลือกสาธารณะและ เสนอตัวเพือ่ เป็นทางออกแก่พลเมืองโลก หนังสือเล่มนีเ้ รียกร้องผูบ้ ริโภคให้รเู้ ท่าทัน และ V for Vendetta ลุกขึ้นมาทวงสิทธิคืน น�ำเสนอการประท้วงที่เกิดขึ้นแล้วทุกระแหง รวมถึงชี้ให้เห็น เครือข่ายแบรนด์ชื่อดังต่างๆ ที่มีรัฐบาลประเทศโลกที่สามคอยปกป้อง เอื้อประโยชน์ และไม่สนใจผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในประเทศ อลัน มัวร์ และเดวิด ลอยด์ 1982 แล้วมันเกี่ยวอะไรกับเรา แน่นอนว่านี่ไม่ใช่ฮาวทูเพื่อแนะวิธีเลือกบริโภค แบรนด์อย่างฉลาด แต่มนั ตัง้ ค�ำถามกับศักดิศ์ รีความเป็นพลเมืองโลกของทุกคน เมือ่ คุณสนับสนุนสินค้าแบรนด์หนึ่ง คุณอาจมีส่วนร่วมกับอาชญากรรมข้ามชาติ หรือ ไม่เคยรับรูว้ า่ ตนกลายเป็นส่วนหนึง่ ของฉากโรงงานนรกในอีกทวีป คุณอาจตัดสินด้วย สายตาว่าเราก�ำลังอยู่ในยุคที่มนุษย์สุขสบายดี ต้องไม่ลืมว่า ความอยุติธรรมนั้น การใช้สัญลักษณ์ “หน้ากากขาว” ของผู้ชุมนุมประท้วงรัฐเป็นปรากฏการณ์ ไม่เคยตาย มันเปลี่ยนใบหน้าหลอกลวงเราทุกศตวรรษ ที่เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ของโลก ตั้งแต่การประท้วง ระบอบทุนนิยมในสหรัฐอเมริกา หรือ Occupy Wall Street และการประท้วงรัฐบาลในยุโรป ตะวันออกกลาง จนถึง ประเทศไทย เจ้าของรอยยิม้ เหีย้ มเกรียมบนใบหน้าสีขาวนัน้ คือ ชายผูม้ ชี อื่ ว่า กาย ฟอว์กส (Guy Fawkes) ย้อนกลับไปในปี 1605 เขาถูกตัดสินโทษประหารชีวติ พร้อมพรรคพวก กลุม่ กบฏดินปืน หลังพยายามวางระเบิดอาคารรัฐสภาในรัชสมัยพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เพือ่ โค่นล้มระบอบทรราชย์ของกษัตริย์ซึ่งกดขี่ประชาชน ในปี 1982 หนังสือของอลัน มัวร์ และลายเส้นของเดวิด ลอยด์ ชุบชีวิตให้ ชายชือ่ กาย ฟอว์กส อีกครัง้ ด้วยการจ�ำลองใบหน้าขึน้ ใหม่ แล้วใส่จติ วิญญาณลงไปภาย ใต้หน้ากากของ V ตัวละครเอกในนิยายภาพชุด V for Vendetta เพื่อต่อสู้กับรัฐบาล ฟาสซิสต์ของอังกฤษในโลกอนาคต หลังบันดาลใจจากเหตุการณ์ประท้วงรัฐบาลมาร์กาเรต แทตเชอร์ของมวลชนอังกฤษอย่างต่อเนื่องในทศวรรษที่ 1980 นิยายภาพเล่มนี้ส่ง อิทธิพลต่อนักประท้วงทั่วโลกเมื่อถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี 2005 ตามหนังสือ V for Vendetta คือการช�ำระความแค้นพยาบาทอันลึกซึ้งของ ชายชื่อ V ที่มีต่อรัฐ เขาได้กลายเป็นตัวแทนแนวคิดอนาธิปไตย (Anarchism) ที่เลือก ใช้ความรุนแรงตอบโต้ความไม่เป็นธรรม และเป็นสัญลักษณ์ของการต่อสูท้ างชนชัน้ ใน โลกสมัยใหม่ กาย ฟอว์กส ทีเ่ กิดใหม่ภายใต้หน้ากาก V จึงเป็นอุดมคติทที่ รงพลังยิง่ กว่า เช กูวารา ไม่ใช่เพราะไม่มีวันตาย แต่ V สามารถเกิดใหม่ได้ในเราทุกคน

นิรนามชื่อวี

6


ปฏิวัติ 2.0

Revolution 2.0: The Power of People Is Greater Than the People in Power

วาเอล โกนิม

2012

ปฏิวัติการปฏิวัติ ต้นศตวรรษที่ 21 กล่าวได้วา่ เป็นช่วงส�ำคัญหนึง่ ของ “การปฏิวตั ”ิ และ “การลุกฮือ” ของประชาชน ทีป่ ะทุขนึ้ ในหลายภูมภิ าคของโลก แม้จะได้รบั อิทธิพล อย่างส�ำคัญจากความคิดเกีย่ วกับความเท่าเทียมและสิทธิทางการเมืองของนักคิด ในอดีตหลายคน เพื่อต่อต้านเผด็จการอ�ำนาจนิยมและความไม่เป็นธรรม ในรูปแบบต่างๆ ทว่า “การปฏิวัติ” ในห้วงเวลานี้ก็มี “ความพิเศษ” กว่าในอดีต เพราะพัฒนาการทางเทคโนโลยีและการสือ่ สารได้ทำ� ให้กระแสความคิดของการ ปฏิวตั ไิ หลบ่าเชือ่ มโยงระหว่างผูค้ นอย่างรวดเร็ว และรัฐแทบจะหมดความสามารถ ในการปิดกัน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ความรวดเร็วของการสือ่ สารและการส่งต่อข้อมูลยัง ส่งผลให้ “การปฏิวตั ”ิ กลายเป็นกระแสทีล่ กุ ลามข้ามจากทวีปหนึง่ ไปยังอีกทวีป หนึ่งอย่างฉับพลัน Bookmoby Review ได้คัดเลือกหนังสือ 3 เล่มที่คิดว่า เป็นประโยชน์ตอ่ การช่วยท�ำความเข้าใจการปฏิวตั ใิ นศตวรรษที่ 21 และเปรียบดัง่ บันทึกการปฏิวัติแห่งยุค “หลังสมัยใหม่” นี้ได้

หลายคนเรียกพืน้ ทีโ่ ซเชียลเนตเวิรก์ ว่า “โลกเสมือน” แต่พนื้ ทีเ่ ดียวกันนีเ่ องที่ เป็นจุดเริม่ ต้นการปฏิวตั บิ นท้องถนนของมวลชน กลายเป็นแรงกระเพือ่ มในโลกอาหรับ (Arab Spring) และเป็นกรณีศึกษาไปทั่วโลก แม้อียิปต์จะเป็นศูนย์กลางอารยธรรม ปิรามิด แต่การปฏิวัติ ปี 2011 ก็แสดงให้เห็นว่าการขับโค่นฟาโรห์แห่งศตวรรษที่ 21 ของประชาชนไม่จำ� เป็นต้องเป็นการเคลื่อนไหวจากบนลงล่างเสมอไป นี่เองคือนิยาม ของการปฏิวัติ 2.0 แล้วการปฏิวัติ 1.0 เป็นอย่างไรหรือ? มันคือการปฏิวัติแบบปิรามิดที่น�ำโดย ผู้มีบารมีอยู่ในภาคการเมืองและการทหาร ต่อสู้กับระบอบทรราชย์ที่พยายามแยก ประชาชนภาคส่วนต่างๆ ออกจากกัน เซ็นเซอร์ข้อมูลข่าวสาร ปกปิดเรื่องฉ้อฉล และ ใช้โฆษณาชวนเชื่อ แต่การปฏิวัติ 2.0 ได้เปลี่ยนประชาชนที่มีหลากหลายสาขาอาชีพ เพศ และวัย ให้กลายเป็นผู้น�ำการปฏิวัติบนท้องถนน การปิดกั้นท�ำได้ยาก ไม่มีใคร เป็นวีรบุรุษของการเคลื่อนไหว เพราะทุกคนเป็นวีรบุรุษ ยุคสมัยที่เทคโนโลยีไม่ได้ตอบสนองความสบายในชีวิตเพียงอย่างเดียว แต่ ยังช่วยท�ำให้อุดมคติทางการเมืองของผู้คนจ�ำนวนมากเป็นเรื่องจริงด้วย หนังสือเล่ม นีเ้ ป็นมากกว่าบันทึกเหตุการณ์ เพราะแสดงให้เห็นกระบวนการปฏิวตั กิ ารปฏิวตั ผิ า่ น เฟซบุ๊ค การใช้นวัตกรรมเป็นเครื่องมือเชื่อมโยงผู้คนและกระจายข้อมูลข่าวสาร ล้วน เอื้อให้ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมสามารถเกิดขึ้นได้จริง ขอเพียงให้ประชาชนเข้า ถึงเทคโนโลยีอย่างทั่วถึงและได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม

7


จากการปฏิวัติถึงโลกาภิวัตน์:

Arab Spring: การลุกฮือที่เปลี่ยนโฉมหน้าของโลกอาหรับ

ความรู้เบื้องต้นการเมืองเชิงวิพากษ์ผ่านสื่อภาพยนตร์ สรวิศ ชัยนาม

8

จรัญ มะลูลีม

2012

2014

ปฏิวัติผ่านดวงตา

ฤดูผลิแห่งการต่อสู้

ไม่ใช่เรื่องบังเอิญแน่ๆ ที่รากศัพท์ค�ำว่า “ทฤษฎี” จะเกี่ยวข้องกับ การมอง เห็น (i see) ในยุคที่วัฒนธรรมสายตา (visual culture) ก�ำลังครองทุกพื้นที่ในโลกนี ้ ภาพยนตร์ ถือเป็นสื่อที่ทรงอานุภาพอย่างยิ่ง (mass media) ส�ำหรับการส่งสาร เชิงอุดมการณ์ไปสู่ผู้ชมอย่างแนบเนียน หนังสือเล่มนี้กลั่นจากประสบการณ์กว่าสิบปีของผู้เขียนในฐานะอาจารย์ ประจ�ำ คณะรั ฐ ศาสตร์ ผู้ส อนวิชา “การเมือ งโลกผ่านสื่ อภาพยนตร์ ” ส�ำ หรั บผู ้ สนใจกรอบแนวคิดภาพยนตร์ศึกษา, ความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมถึ ง การประยุ ก ต์ ท ฤษฎี เ ชิ ง วิ พ ากษ์ ที่ สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ของสลาวอย ชิเช็ค นักปรัชญาสายมาร์กซิสต์ มาวิพากษ์การเมืองโลก อย่างจัดหนัก ผ่านภาพยนตร์ที่คัดเลือกมา ดังนี้ Borat, Children of Men, V for Vendetta, Capitalism: A LoveStory, The Hurt Locker, Osama, Avatar และ I Don’t Want to Sleep Alone ผู้เขียนอธิบายภาพยนตร์ทั้ง 8 เรื่อง โดยยึ ด โยงกั บ ปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ เสนอทางเลือกส�ำหรับ นั ก ปฏิ วั ติ ใ น ระหว่ า ง ยุ ค สมั ย ของเราว่ า สิ่ ง ที่ ต ้ อ งเลื อ กไม่ ใ ช่ ส องแพร่ ง ประชาธิปไตยกับทุนนิยม (เนือ่ งจากทัง้ สองล้วนท�ำให้เกิด วงจร ชั่วร้าย) แต่เป็นการตัดสินใจเลือก คอมมิวนิสต์ หรือ ทุนนิยม/ ประชาธิปไตย แต่ละบทความได้ฉีกภาพลวงตาของ “สันติภาพ แบบเสรีนิยม” ให้เราเห็นความอยุติธรรมที่ซ่อนเร้นอยู่ ตามนัยยะ ปรัชญาของคอมมิวนิสต์ ซึง่ เป็นแนวคิดทีผ่ เู้ ขียนเชือ่ ว่าไม่เคยดับสูญ (การปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส การปฏิวตั บิ อลเชวิค การปฏิวตั พิ ฤษภาคม ปี ’68 หรือ ชือ่ เรียกเฉพาะอย่าง สปาตาคัส โรเบสปิแอร์ เลนิน เหมา เช กูวารา) และ เสนอความเป็นไปได้เพื่อน�ำระบอบคอมมิวนิสต์มาปรับใช้ในศตวรรษ ที่ 21 แทนระบอบทุนนิยม/ประชาธิปไตย ที่มีข้อบกพร่องทัง้ ยังเป็นภัย ต่อมนุษยชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ไม่วา่ คุณจะมีอดุ มการณ์ทางการเมืองอย่างไร หนังสือเล่มนีช้ วนคุณ ถกเถียง ท้าทาย ด้วยการเห็นโลกผ่านภาพยนตร์และใช้ดวงตามองหาโลกที่ดี กว่าเดิม

เหตุการณ์ทางการเมืองที่สำ� คัญที่สุดแห่งต้นศตวรรษที่ 21 เห็นจะไม่มีอะไร เทียบเคียงได้กับ “Arab Spring” ที่ปะทุในดินแดนเกือบตะวันตกสุดของโลกอาหรับ ก่อนจะลุกลามข้ามมายังอีกฝั่งของอาหรับ รวมถึงเป็นแรงบันดาลใจ แรงกระตุ้นให้ กับการลุกฮือของประชาชนในอีกหลายภูมิภาค แต่อะไรเล่าคือรากฐานของ Arab Spring? หนังสือเล่มนี้ดูจะให้ค�ำตอบได้ เป็นอย่างดี และพยายามปูพื้นค�ำอธิบายเพื่อชี้ให้เห็นว่า Arab Spring มิใช่เหตุการณ์ เฉพาะหน้า หากแต่เป็นเหตุการณ์ที่เปรียบได้กับ “จุดแตกหัก” ของพลังทางการเมือง และการเคลือ่ นไหวของกลุม่ อิสลามการเมืองในโลกอาหรับทีบ่ ม่ เพาะมาเป็นเวลาเกือบ ค่อนศตวรรษ แม้จะมีอะไรหลายอย่างร่วมกัน ทว่า Arab Spring ก็มีลักษณะที่แตกต่าง กันออกไปในแต่ละประเทศ บางประเทศ Arab Spring ประสบผลส�ำเร็จและสามารถ ล้มเผด็จการอ�ำนาจนิยมลงอย่างรวดเร็ว บางประเทศต้องใช้เวลาหลายเดือน และบาง ประเทศกลับประสบความล้มเหลว ทั้งนี้ โลกอาหรับหลัง Arab Spring น่าจะเปลี่ยน ไปอย่างแน่นอน แต่แทบไม่มีใครสามารถคาดเดาได้ว่าจะเปลี่ยนไปเช่นไร

Aiman Abubaker Ahmed Abushahma จาก BBC News

สนใจหนังสือ สัญญาประชาคม ข้าพเจ้าทดลองความจริง โนโลโก้ จากการปฏิวัติถึงโลกาภิวัตน์ ปฏิวัติ 2.0 และ อาหรับสปริง ดูรายละเอียดได้ที่ www.bookmoby.com


ไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกว่า พระนางมารี อ็องตัวแน็ต เคยกล่าววลี “Let them eat cake.” (“ก็ให้พวกเขากินเค้กสิ”) ที่ลือกันว่าทรงกล่าวเมื่อมีคนทูลว่า ชาวบ้านอดอยากยากไร้ ไม่มีขนมปังกิน วลีนี้พบในหนังสืออัตชีวประวัติของรุสโซ แม้รุสโซจะระบุว่า “เจ้าหญิง” เป็นผู้ตรัส แต่ ไม่น่าจะหมายถึงพระนางมารี เพราะขณะที่รุสโซเขียนนั้น พระนาง มีพระชนม์ 9-10 พรรษา

ในกรุงปารีสทศวรรษ 1730 ช่างโรงพิมพ์กลุ่มหนึ่งออกล่าและฆ่าแมว อ้างว่าพวกมันเป็นสมุนของแม่มด ท�ำให้เจ้าของโรงพิมพ์ต้องมนตร์แม่มดจนนอนไม่หลับ (ความจริงพวกช่างเป็นฝ่ายกลั่นแกล้งเจ้าของโรงพิมพ์เอง ด้วยการส่งเสียงเหมียวๆตอนกลางคืน รบกวนการนอนของ นาย เป็นการแก้แค้นที่นายจ้างดูแลอย่างรันทด โดยเลี้ยงด้วยอาหารแมวรสชาติแมวไม่รับประทานแทนข้าว) นักประวัติศาสตร์บางคนยกเหตุการณ์นี้ เป็นจุดเริ่มแรกๆของการต่อสู้ทางชนชั้น ที่จะตามมาด้วยปฏิวัติฝรั่งเศส

หนังสือ “เบสเซลเลอร์” ของ ฌอง ฌากส์ รุสโซ ผู้เขียน สัญญาประชาคม คือนวนิยายโรมานซ์ เรื่อง Julie, or the New Heloise พิมพ์เมื่อปี 1761 และอาจเป็นนวนิยาย ที่ขายดีที่สุดของศตวรรษนั้น โรงพิมพ์ถึงกับต้องให้คนอ่านเช่าหนังสือเป็นรายชั่วโมง เพราะพิมพ์ ไม่ทันตามความต้องการ เป็นหนังสือที่คน อ่านแล้วคลั่งไคล้จนท�ำให้รุสโซกลายเป็น “นักเขียนซุปตาร์” คนแรกๆ

การที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กษัตริย์ฝรั่งเศส ช่วงปฏิวัติฝรั่งเศสปี 1789 บันทึกในสมุดประจ�ำวัน ของวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 (วันทลายคุกบาสตีย์ที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส และต่อมาเป็นวันชาติฝรั่งเศส) ว่า “ไม่มีอะไร” มักถูกมองว่าทรงเย็นชาต่อวิกฤตในชาติ แต่ความจริงบันทึกนั้นเป็นการจดจ�ำนวนสัตว์ ที่ทรงล่าในแต่ละวัน ซึ่งวันนั้นล่าสัตว์ ไม่ ได้ ไม่ใช่ความเห็นทางการเมือง

เมื่อข่าวเกี่ยวกับ การประกาศอิสรภาพของอเมริกา เดินทางมาถึงนิวยอร์ก ในวันที่ 9 กรกฎาคม 1776 ผู้คนพากันตอบรับอย่างตื่นเต้น จนเกิดการลุกฮือขนาดย่อมๆ ถึงขั้นมีการโค่นรูปปั้น พระเจ้าจอร์จที่ 3 ลง

จอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของอเมริกา ไม่เคยอาศัยอยู่ในกรุงวอชิงตัน ที่เขามีส่วนช่วยก่อตั้งเป็นเมืองหลวง (ในยุคที่เขาเป็นประธานาธิบดี นิวยอร์คเป็นเมืองหลวง)

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ ช่วยเหลือทาสผิวด�ำที่ก�ำลังหลบหนี โดยให้ซ่อนตัวที่บ้านของเธอในคืนหนึ่ง และนั่นอาจจุดประกายให้เธอเขียน กระท่อมของลุงทอม

ธอมัส เพน ผู้เป็นทั้งแรงบันดาลใจ ให้เกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส การก่อตั้ง สหรัฐอเมริกา และการเลิกทาส มีคนมาร่วมพิธีศพเขาเพียง 6 คน และ 2 คนในนั้นไม่ใช่ญาติมิตร หากแต่เป็นคนผิวด�ำ ที่เคยเป็นทาสมาก่อน

วอลแตร์ ไม่เคยพูดหรือเขียนว่า “ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่ท่านกล่าว แต่ก็จะปกป้องเสรีภาพในการแสดงออก ของท่านอย่างถึงที่สุด” หากแต่เป็นประโยคที่ปรากฏในหนังสือ เกี่ยวกับวอลแตร์ ชื่อ สหายของวอลแตร์ เขียนโดยเอเวลิน บีเอทริซ ฮอลล์

แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ แม้จะเขียนในภาษาเยอรมัน แต่ตีพิมพ์ครั้งแรกในกรุงลอนดอน

ลูกสาวคนสุดท้องของคาร์ล มาร์กซ์ เขียนบรรยายไว้ว่าบิดาของเธอเป็นคน “อารมณ์ดี เป็นคนร่าเริงที่สุดที่เคยมีมา” มาร์กซ์มักอ่านหนังสืออย่าง อาหรับราตรี และ ดอน กีโฆเต้ และร่ายบทละครเช็กส์เปียร์ ให้เธอฟังบ่อยๆ นอกจากนั้นยังเล่นเป็นม้า ให้เธอขี่หลัง ให้เธอขึ้นนั่งบนไหล่ และพาเธอเดินชมสวนเป็นประจ�ำ

เมื่อครั้งเป็นนักศึกษา เหมา เจ๋อตุง เขียนกราฟฟิตี้วิพากษ์การสอนของอาจารย์ และวิจารณ์สังคมจีน ด้วยความยาวกว่า 4,000 ตัวอักษร ถือว่าเป็นกราฟฟิตี้ที่ยาวที่สุด ในประวัติศาสตร์

คานธีเขียนจดหมาย ถึงอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 1939 เพื่อขอร้องให้ฮิตเลอร์ตรึกตรอง การก่อสงครามโลก แต่ฮิตเลอร์ ไม่ ได้รับจดหมาย ฉบับนั้น

คานธี กับ ลีโอ ตอลสตอย เป็นเพื่อน ทางจดหมาย ของกันและกัน

ก่อนจะมีภาพลักษณ์นักปฏิวัติ เช (เออร์เนสโต) กูวารา เป็นเด็กเรียน ชอบเล่นและแข่งหมากรุก หลงใหลในบทกวี เก่งคณิตศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์

อัลแบร์ โต คอร์ดา ช่างภาพหนังสือพิมพ์ ผู้ถ่ายภาพใบหน้าอันโด่งดังของเช กูวารา ไม่เคยได้เงินจากภาพที่กลายเป็นไอคอนนั้น จนกระทั่งเขาฟ้องเอเจนซี่โฆษณาในปี 2007 ฐานน�ำภาพเชของเขาไปใช้โฆษณาวอดก้า เขาชนะและได้เงินราว $50,000 ซึ่งเขาบริจาคให้การกุศล

ค�ำว่า “อาหรับสปริง” เป็นศัพท์ที่ถูกสร้างขึ้นโดยตะวันตก ในสื่อของกลุ่มประเทศอาหรับ ไม่ ได้ ใช้ค�ำนี้ มีแต่เพียงการบรรยาย ว่าเป็น “การปฏิวัติ” “การลุกฮือ” “การตื่นตัว” หรือ “การกบฏของมวลมหาประชาอาหรับ” เท่านั้น

ทุกครั้งที่ หน้ากากขาว “กาย ฟอว์กส” (ที่ผลิตถูกต้องตามลิขสิทธิ์) ถูกซื้อ บริษัท Time Warner จะได้ส่วนแบ่งจากรายได้ เนื่องจากเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์

แฟรงก์ มิลเลอร์ ผู้เขียนการ์ตูน ที่โด่งดังอย่าง The Dark Knight Returns (ฺBatman), Sin City และ 300 แสดงความเห็นต่อต้านการประท้วงของกลุ่ม Occupy Wall Street ว่าเป็นการกระท�ำของ “พวกงี่เง่า หัวขโมย และนักข่มขืนช�ำเรา เป็นม็อบดื้อรั้น ถูกป้อนด้วยอารมณ์ ถวิลหายุคฮิปปี้ และความส�ำคัญตน ว่าเป็นคนดีที่น่าขยะแขยง”

9


เมื่อไม่นานมานี้ The Pew Research Center ได้รายงานว่าเกือบ 1 ใน 4 หรือร้อยละ 23 ของผู้ใหญ่วัยท�ำงานชาวอเมริกัน ไม่ได้อ่านหนังสือสักเล่มในช่วงปี ที่ผา่ นมา พวกเขาไม่ได้จบั หนังสือ เปิดคินเดิล หรือกดฟังออดิโอบุค๊ ตอนขับรถแม้สกั เล่ม อัตราดังกล่าวนีเ้ พิม่ ขึน้ จากการส�ำรวจในปี 2011 ซึง่ มีผไู้ ม่อา่ นหนังสืออยูร่ อ้ ยละ 18 อย่างไรก็ดี ข้อมูลดังกล่าวอาจไม่สามารถอนุมานว่าอวสานของหนังสือก�ำลังจะมาถึง เพราะคนส่วนใหญ่ของประเทศยัง คงอ่านหนังสือ ทัง้ นีร้ ายงานฉบับนี้ ได้ชใี้ ห้เห็นอีกว่า จ�ำนวนหนังสือที่ ชาวอเมริกันอ่านมีความสัมพันธ์ อย่างแนบชิดกับระดับการศึกษา ยิ่ ง เรี ย นสู ง เท่ า ไรยิ่ ง มี อั ต ราการ อ่านสูงขึ้นซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการที่ต้องอ่านหนังสือในชั้นเรียนด้วย อ่านรายงานนี้ แล้วอยากท�ำการส�ำรวจในไทยบ้าง http://www.theatlantic.com/business/archive/2014/01/ the-decline-of-the-american-book-lover/283222/

10

กลางปี 2013 หลังจากสัปดาห์ของการปะทะกันรุนแรงระหว่างต�ำรวจและ ผู้ประท้วงในตุรกีได้เกิดการชุมนุมต่อต้านรูปแบบใหม่ นั่นคือ การยืนประท้วง การ ประท้วงเริม่ ต้นขึน้ เมือ่ ศิลปินคนหนึง่ ยืนประท้วงเงียบเชียบกลางสีแ่ ยกทีร่ ฐั เพิง่ กระท�ำ การรุนแรงต่อประชาชนของตนเอง หลังจากนัน้ ไม่นานผูค้ นเริม่ ทยอยออกจากบ้านเรือน ของตน เลียนแบบการกระท�ำของเขา มีใครบางคนหยิบหนังสือขึ้นมา แล้วเริ่มต้นอ่าน หนังสือ เกิดแนวร่วมกลายเป็นชุมนุมต่อต้านรัฐบาลใจกลางเมืองทีเ่ รียกว่า The Taksim Square Book Club การต่อสู้เชิงสัญลักษณ์ด้วยการยืนอ่านหนังสือของคนนับพัน ความสงบเยือกเย็นของผู้ประท้วงตรงกันข้ามกับภาพควันจากแก๊สน�้ำตา และแรงอัดจากปืนฉีดน�ำ้ แรงสูงของเจ้าหน้าทีภ่ ายใต้หน้ากากนิรภัยทีไ่ ร้อารมณ์สะทก สะเทือน หนังสือแต่ละเล่มสั่นคลอนอ�ำนาจรัฐด้วยความหมายเชิงสัญญะ อาทิ 1984 ของ George Orwell ว่าด้วยดิสโทเปียของโลกทีผ่ มู้ อี ำ� นาจปกครองบังคับเผด็จการให้ทกุ คน เป็นไปในสิ่งเดียวกัน, The Metamorphosis ของ Franz Kafka เรื่องราวเหนือจริงที่จบ ลงด้วยความตายของเซลส์แมนคนหนึ่งที่ตื่นเช้ามากลายเป็นแมลงยักษ์ สะท้อนการ ผลัดเปลี่ยนสถานะเชิงอ�ำนาจระหว่างเขากับพ่อตัวเอง หรือ The Myth of Sisyphus ของ Albert Camus ทีค่ น้ หาความหมายของการด�ำรงอยูโ่ ดยปราศจากพระเจ้า เป็นต้น ขณะทีฉ่ ากความรุนแรงยังคงด�ำเนินไปทัว่ เมืองอิสตันบูล คนกลุม่ หนึง่ เลือกทีจ่ ะใช้ “การ อ่าน” เป็นอาวุธทางการเมือง เพื่อเปลี่ยนแปลงความรุนแรงเชิงกายภาพด้วยอานุภาพ ของหนังสือในฝ่ามือ http://www.aljazeera.com/indepth/inpictures/2013/06/2013624105477515.html#.UcyH5RPjp1A.facebook

http://www.ibtimes.com/papertab-tablet-flexible-paper-debuts-ces-2013-vid

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยควีนส์ ประเทศแคนาดา ได้คิดค้น วัสดุใหม่แทนกระดาษได้ส�ำเร็จ เพื่อให้มวลมนุษย์หนอน หนังสือได้รสู้ กึ ใกล้เคียงสัมผัสทีไ่ ด้จากการอ่านหนังสือมาก ทีส่ ดุ โดยเจ้ากระดาษอิเล็คทรอนิกส์นสี้ ามารถบรรจุหนังสือ ได้นับหมื่นพันเล่มในเครื่องเดียว ขณะเดียวกันก็ประหยัด ไฟไม่ต้องชาร์ตบ่อย แสดงผลนุ่มนิ่งคล้ายหน้าจอ Talking Dictionary ตัวอักษรที่ ปรากฏบนหน้าจอเกิดจากแคปซูลขนาดจิ๋วที่มีอนุภาคสีขาวและสีด�ำ เป็นมิตรต่อ ดวงตาเพราะสะท้อนแสงกลับ แทนที่จะเปล่งแสงออกมาตรงๆ แบบจอ LED ทั้งนี้ วัสดุดังกล่าวเป็นพลาสติกที่มีความยืดหยุ่นสูง ไม่เป็นรอยหรือแตกเปราะ สามารถ ม้วนอ่านได้สบายเหมือนหนังสือพิมพ์ ขณะเดียวกันก็ทนทานขนาดใช้ตยี งุ ได้โดยไม่ ต้องหวัน่ ว่าเจ้าสิง่ นีจ้ ะเสียหายแต่อย่างใด นอกจากจะเหมือนกระดาษจริงมากแล้ว ยังเปลี่ยนหน้าใหม่เพียงแค่งอกระดาษ หรือเอาสองแผ่นแตะกันเพื่อส่งไฟล์ ใช้นิ้ว drag and drop เพื่อ upload เข้าไปสู่เครื่องแท็บเล็ตได้ง่ายดายเสียด้วย


นักเขียนชาวอังกฤษผู้เคยเป็นนักแสดงและนางแบบมาก่อน เธอเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และบทภาพยนตร์ นวนิยายที่ได้ รับค�ำชื่นชมมากที่สุดคือ The Cazalet Chronicle สะท้อนภาพ ครอบครั ว อั ง กฤษในช่ ว งสงคราม โฮวาร์ ด เคยแต่ ง งานกั บ นั ก เขียนดัง Kingsley Amis และ Martin Amis ลูกของ Kingsley ผู้เป็นนักเขียนดังเช่นกัน บอกว่าโฮวาร์ด (ในฐานะแม่เลี้ยง) เป็น ผู้สนับสนุนให้เขาอ่านและเขียนหนังสือ เธอจากไปในวัย 91 ปี

เมื่อต้นปีที่ผ่านนมา นักวิทยาศาสตร์จาก MIT ได้ขยาย พรมแดนรั บ รู ้ ข องมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยการผลิ ต หนั ง สื อ ที่ ท� ำ ให้ ค นอ่ า นมี ประสบการณ์ร่วมไปกับตัวเอกในนวนิยายวิทยาศาสตร์ เมื่อหนังสือ ไม่ได้มีไว้แค่ถือ แต่สวมใส่ได้ นักอ่านสามารถร่วมรับรูป้ ระสบการณ์เดียวกับตัวละครจาก แผงวงจรควบคุมเพือ่ จ�ำลองอารมณ์ของตัวเอกในเรือ่ ง โดยปรับเปลีย่ น สีของดวงไฟและการสั่นสะเทือนไปตามเรื่องราวแต่ละหน้า ขณะ เดียวกันผู้อ่านจะรับรู้จังหวะการเต้นของหัวใจ แรงสั่นสะเทือนจาก ความกดดัน รวมถึงอุณหภูมแิ ละเสียงจากสายรัดทีเ่ ชือ่ มต่อกับเสือ้ กัก๊ ที่สวมไว้ขณะอ่าน โดยตั้งฉายาว่า “นิยายประสาทสัมผัส” (Sensory Fiction) เริม่ พัฒนากับนวนิยายแนววิทยาศาสตร์ในเบือ้ งต้น โดยเลือก The Girl Who Was Plugged In ของ James Tiptree, Jr. (ตีพิมพ์ ปี 1974) ผู้วิจัยเชื่อว่าเครื่องมือนี้จะเปิดกว้างให้การสร้างหนังสือสื่อสาร มากกว่ารูปภาพและถ้อยค�ำ อย่างไรก็ดี มีนกั เขียนและนักวิทยาศาสตร์จำ� นวนหนึง่ ออกมา แสดงความเห็นว่า อารมณ์ของมนุษย์เริ่มต้นในหัวและส่งผ่านไปสู่ ร่างกาย การกระตุ้นให้ผู้อ่านมีอารมณ์ตอบสนองผ่านไฟกะพริบและ แผ่นส่งแรงดัน อาจไม่ใช่ความสุขที่แท้จริงที่หนอนหนังสือปรารถนา จะได้รับจากการอ่าน http://www.theguardian.com/books/2014/ jan/28/sensory-fiction-mit-technology-wearable-fiction-books

กุมภาพันธ์ (2014) เจ.เค.โรลลิ่ง ผู้สร้าง โลกเวทมนตร์ ขึ้ น ในจิ น ตนาการเด็ ก ทั่ ว โลกจาก นวนิยายชุด Harry Potter ให้สมั ภาษณ์กบั นิตยสาร Wonderland ว่ า ตนรู ้ สึ ก เสี ย ใจที่ ว างโครงเรื่อง ตอนจบผิดพลาด โดยจับคูเ่ ฮอร์ไมโอนี่ (เอ็มมา วัตสัน) สาวน้อยผมประกายเพลิงให้ลงเอยกับเพือ่ นพระเอก รอน วิสลีย์ แทนทีจ่ ะจับคูก่ บั แฮร์รี่ พอตเตอร์ ทั้งนี้ เจ.เค. โรลลิง่ แสดงเหตุผลทีเ่ ลือกจับคูเ่ ฮอร์ไมโอนี่กับ รอน วิสลีย์ ว่าเพียงต้องการรูปแบบความสัมพันธ์ ที่เติมเต็มกันและกัน เหตุผลนี้ดูน้อยนิดเมื่อเทียบ กับสิ่งที่เธอท�ำลงไปกับวรรณกรรม ซึ่งเธอยอมรับ ว่านี่เป็นเหตุผลส่วนตัวและท�ำให้โครงเรื่องตอนจบ ต่างจากที่เคยจินตนาการไว้แต่แรก เธอเสียใจทีท่ ำ� ให้ นักอ่านผิดหวัง ขณะที่นักแสดงเอ็มมา วัตสัน ให้ สัมภาษณ์กับนิตยสาร Sunday Times ว่าตนก็รู้สึก ไม่แน่ใจว่าความสัมพันธ์ของทั้งคู่จะยืนยาวได้จริง และคิดว่ายังมีแฟนหนังสืออีกเป็นจ�ำนวนมากที่ สงสัยว่ารอนจะสามารถท�ำให้เฮอร์ไมโอนีม่ คี วามสุข ได้จริงหรือ http://www.theguardian.com/ books/2014/feb/02/jk-rowlinghermione-harry-ron-married

http://www.theguardian.com/ world/2014/feb/14/penguinindia-pulping-book-wendydoniger?CMP=twt_fd

เมื่ อ กลางเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ (2014) ส�ำนักพิมพ์เพนกวินอินเดียออกมาต�ำหนิความไม่ อดกลัน้ และการกระท�ำเกินกว่าเหตุของรัฐบาล อินเดียต่อกรณีสั่งเก็บหนังสือ The Hindus: An Alternative History ของ Wendy Doniger นั ก เขียนอเมริกัน ที่มีเนื้อหาว่าด้วย ประวัติศาสตร์ศาสนาและการอ้างถึงต�ำนาน ปกรณัมในฐานะเรื่องแต่ง ท�ำให้กลุ่มชาวฮินดู หัวอนุรกั ษ์ไม่พอใจ เหตุการณ์ดงั กล่าวสร้างความ ตื่นตระหนกแก่บรรดานักเขียนและปัญญาชน ในอินเดียจ�ำนวนมาก หลังจากส�ำนักพิมพ์ เพนกวินอินเดียได้พยายาม เจรจาและสูค้ ดีมาตลอดระยะ เวลาสี่ปี สุดท้ายได้ตัดสินใจ ยกเลิกการจ�ำหน่ายในอินเดีย เนื่ อ งจากหวั่ น ต่อสัญญาณว่าจะน�ำไปสู่ความขัดแย้งภายใน ประเทศ ทั้งนี้ ส�ำนักพิมพ์ได้ออกมาตอบโต้ต่อ กรณีนวี้ า่ ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในความเชือ่ ส่วน บุคคล เช่นเดียวกับสิทธิในความคิดและเสรีภาพ ในการแสดงความเห็นตามรัฐธรรมของประเทศ อินเดีย ผลจากการเอาผิดทางอาญาครั้งนี้ อาจ ท�ำให้การรักษามาตรฐานของการแสดงความ คิดเห็นตามหลักสากลของอินเดียเป็นเรื่องยาก ยิ่งขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ หนังสือของ Wendy Doniger ไม่ใช่กรณีแรก ปี 2011 หนังสือของ Joseph Lelyveld ถูกแบนโดยรัฐคุชราต เนือ่ งจากมีขอ้ เขียน อ้างถึงมหาตมะ คานธี มีความสัมพันธ์แบบ รักร่วมเพศ และย้อนกลับไปในปี 1998 หนังสือ The Satanic Verses ของ Salman Rushdie ก็ เคยถูกแบนข้อหาหมิ่นศาสนามาแล้ว อย่างไรก็ดี ส�ำนักพิมพ์เพนกวินยืนยัน ว่า หนังสือ The Hindus: An Alternative History ยังคงมีจ�ำหน่ายนอกประเทศอินเดียแน่นอน

11


12

ไม่รู้จักผมหรอก เว้นแต่คุณจะเคยอ่านหนังสือเรื่อง การผจญภัยของ ทอม ซอว์เยอร์ มาก่อน แต่ไม่เป็นไร เล่มนัน้ คุณมาร์ค ทเวน เขาเป็นคนเขียน และเขาก็เล่า ความจริงเสียเป็นส่วนใหญ่ บางเรือ่ งก็โม้ไปหน่อยน่ะนะ แต่สว่ นใหญ่เขา ก็เล่าเรื่องจริงเกือบทั้งหมด แต่นั่นไม่ส�ำคัญหรอก ผมเองก็ไม่เคยเจอใคร ที่ไม่เคยโกหกเลยสักครั้งเหมือนกัน อาจจะยกเว้นน้าพอลลี่ ไม่ก็แม่ม่าย ดักลาส หรืออาจจะเป็นแมรี่ เรือ่ งของน้าพอลลี่ ของทอม แมรี่ แล้วก็แม่มา่ ย ดักลาสอยูใ่ นหนังสือเล่มนัน้ หมด และมันก็เป็นหนังสือทีเ่ ล่า เรือ่ งจริงแบบ ใส่ไข่บ้างอย่างที่ผมบอกไปแล้วนั่นแหละ ตอนจบของหนังสือเล่มนั้นเป็นอย่างนี้ ทอมกับผมเจอเงินที่โจร ซ่อนไว้ในถ�้ำ เงินนั่นท�ำให้เราร�่ำรวยเลยทีเดียวละ เราเจอเงินตั้งหกพัน ดอลลาร์ เป็นเหรียญทั้งนั้น มันเป็นเงินกองโตเชียวตอนเอามาวางเรียง เป็นตัง้ ผูพ้ พิ ากษาแททเชอร์เขาเอาไปลงทุน พวกเราเลยได้ดอกเบีย้ วันละ หนึ่งดอลลาร์ทั้งปี เป็นจ�ำนวนเงินมากกว่าที่พวกเราจะนึกออกว่าจะเอา ไปท�ำอะไร แม่มา่ ยดักลาสรับผมเป็นลูกและตกลงว่าจะ “อบลมบ่มเพาะ” ผม แต่ให้ผมอยู่ในบ้านนั้นตลอดเวลาก็ทรมานเหลือทน เพราะแม่ม่ายช่าง เถรตรงและเป็นคนดีกับทุกเรื่องตลอดเวลา พอผมทนไม่ไหวผมก็ชิงหนี ไปที่อื่น ผมกลับไปใส่ชุดรุ่งริ่งของผมและกลับไปสิงที่ถังบ่มเหล้าเหมือน แต่กอ่ น ผมรูส้ กึ เป็นอิสระและมีความสุข แต่ทอม ซอว์เยอร์ มาตามตัวผม และบอกว่าก�ำลังจะตั้งก๊วนโจร ทอมบอกผมว่าถ้าผมกลับไปหาแม่ม่าย และท�ำตัวดีดี เขาจะให้ผมเข้าก๊วนด้วย ผมเลยกลับไป แม่มา่ ยร้องไห้ใส่ผมยกใหญ่ เธอเรียกผมว่าเจ้าแกะน้อยหลงทาง และดุด่าผมนู่นนี่นั่นอีกเยอะแยะ แต่เธอไม่ได้อะไรหรอก เธอจับผมแต่ง ตัวอีกรอบ ผมเองก็ได้แต่เหงื่อแตก รู้สึกอึดอัดไปหมด แล้ววงจรเดิมๆ ก็เริ่มอีกครั้ง แม่ม่ายสั่นกระดิ่งเรียกให้กินข้าวเย็น เราก็ต้องไปให้ทัน เวลา เมื่อถึงโต๊ะก็ยังกินไม่ได้หรอกนะ ต้องรอให้แม่ม่ายก้มหัวสวดงึมง�ำ ใส่อาหารก่อน ทัง้ ๆ ทีม่ นั ก็ไม่มอี ะไรผิดปกติกบั อาหารเลยสักนิด เว้นแต่ว่า อาหารแต่ละอย่างวางแยกกันหมด เลยอร่อยไม่เท่ากับทีเ่ วลาเอาอาหาร หลายๆ อย่างมาผสมปนเปกันน่ะนะ

หลังจากกินข้าวเสร็จ เธอก็หยิบหนังสือออกมาเล่าเรื่องก�ำเนิดโมเสส ตอนแรกผมตื่น เต้นมากกับเรื่องของเขา จนเธอบอกว่าโมเสสตายไปนานแล้วนี่แหละ ผมเลยเลิกสนใจ ผมไม่ สนใจเรื่องของคนที่ตายไปแล้ว ต่อมาผมก็อยากลองสูบยา ผมเลยไปขออนุญาตแม่มา่ ย เธอไม่ยอม เธอบอกว่ามันเป็น นิสัยที่น่ารังเกียจและสกปรก และห้ามไม่ให้ผมลองอีกเป็นอันขาด ผมว่าคนบางคนก็เป็นแบบ นีแ้ หละ พวกเขาประณามสิง่ ทีไ่ ม่รจู้ กั สักนิด นีเ่ ธอก็จริงจังเหลือเกินกับเรือ่ งโมเสส เป็นญาติเธอ รึก็ไม่ใช่ โมเสสเองก็ไม่ได้ทำ� ประโยชน์ให้ใคร เพราะตายไปนานแล้ว แต่เธอกลับมาต�ำหนิที่ผม จะท�ำเรื่องมีประโยชน์อยู่บ้าง แล้วเธอเองก็สูบยานัตถุ์เหมือนกัน แต่แหงละ ว่านั่นไม่เป็นไร เพราะเธอเป็นคนสูบเอง คุณวัตสันน้องสาวของเธอ รูปร่างผอมแห้งและใส่แว่น เพิง่ ย้ายมาอยูก่ บั เธอและตกลง จะสอนผมเขียนหนังสือ เธอสอนผมอย่างขันแข็งเป็นเวลาประมาณหนึง่ ชัว่ โมงก่อนทีแ่ ม่มา่ ยจะ ให้เธอไปพัก ผมเองก็ทนต่อไม่ไหว เพราะหนึ่งชั่วโมงกับคุณวัตสันก็ทรมานเหลือทน ผมอยู่ ไม่สุขระหว่างเรียน คุณวัตสันก็จะเอ็ดว่า “ฮัคเคิลเบอร์รี่ อย่าวางเท้าไว้ตรงนั้น” และ “อย่า นั่งหลังงุ้มอย่างนั้นสิ นั่งตรงๆ หน่อย” และประเดี๋ยวเธอก็จะพูดว่า “อย่านั่งแผ่หลาอย่างนั้นสิ ฮัคเคิลเบอร์รี่ ท�ำไมไม่ทำ� ตัวดีดกี บั เขาบ้างนะ” หลังจากนัน้ เธอก็เล่าถึงเรือ่ งสถานทีไ่ ม่ดที งั้ หลาย เมื่อผมบอกว่าผมอยากไปมั่ง เธอก็โมโหผมใหญ่เลย แต่ผมไม่ได้จะไปท�ำอะไรไม่ดีสักหน่อย ผมก็แค่อยากไปไหนสักที่ แค่ต้องการความเปลี่ยนแปลงสักอย่าง เธอบอกว่าผมแย่มากที่พูด อย่างนั้น เธอบอกว่าเธอจะไม่มีวันพูดแบบนั้นเด็ดขาด เพราะเธอจะใช้ชีวิตที่ดีเพื่อที่จะได้ขึ้น สวรรค์ ผมไม่ยักเห็นข้อดีของการไปสวรรค์เลย ผมเลยตัดสินใจว่าผมจะไม่ไปที่ดีดีแบบนั้น แต่ ผมก็ไม่ได้บอกเธอหรอกนะ เพราะมันคงก่อปัญหาเปล่าๆ และคงไม่มีประโยชน์อะไร ตอนนีเ้ ธอเริม่ พูดต่อเรือ่ งสวรรค์ เธอบอกว่าคนทีอ่ ยูบ่ นนัน้ จะได้รอ้ งเพลงและเล่นฮาร์ป ทัง้ วันชัว่ กัลปาวสาน ผมไม่เห็นอยากท�ำแบบนัน้ สักนิดแต่ก็ไม่ได้พูดอะไรออกไป ผมถามเธอ ว่าทอม ซอว์เยอร์ จะได้ขนึ้ สวรรค์ไหม เธอตอบว่าเท่าทีเ่ ห็นคงไม่ ผมรูส้ กึ ดีใจมากเพราะผมอยาก ให้ทอม ซอว์เยอร์ อยู่ด้วยกันกับผม


คุณวัตสันบ่นผมต่อไปเรื่อยๆ ผมรู้สึกทั้งเหนื่อยทั้งเดียวดาย หลังจากนั้นคุณวัตสัน และแม่ม่ายก็เรียกคนด�ำมาเพื่อสวดมนต์พร้อมกันก่อนนอน ผมถือเทียนขึ้นไปบนห้อง วางไว้ บนโต๊ะ นัง่ บนเก้าอีร้ มิ หน้าต่างและพยายามนึกถึงสิง่ ทีท่ ำ� ให้รสู้ กึ ดี แต่ไม่สำ� เร็จ ผมเหงาจะตาย อยู่แล้ว ท้องฟ้าเต็มไปด้วยแสงดาว เสียงใบไม้ลล่ ู มในป่าฟังดูเศร้าสร้อย ไกลออกไปในความมืดผม ได้ยนิ เสียงนกฮูกกูร่ อ้ งราวกับว่ามีใครตาย หมาก็หอนราวกับมีใครสักคนก�ำลังจะตาย ผมได้ยนิ เสียงลมพยายามกระซิบอะไรบางอย่างกับผม แต่ผมไม่เข้าใจว่ามันคืออะไร ผมรู้สึกหนาวสั่น สะท้านไปทั้งตัว ในป่าผมได้ยนิ เสียงทีภ่ ตู ผีวญ ิ ญาณมักท�ำเวลามันต้องการบอกอะไรบางอย่าง แต่ไม่สามารถสือ่ สารได้ วิญญาณพวกนีจ้ งึ ไม่ไปสูส่ ขุ คติและต้องออกมาหลอกหลอนผูค้ นทุกคืน ตลอดกาล เสียงทั้งหมดนี้ท�ำให้ผมรู้สึกหดหู่และหวาดกลัวมากจนผมอยากให้มีใครสักคน มาอยู่ด้วย เจ้าแมงมุมตัว หนึ่ ง ไต่ ขึ้ น บนไหล่ ข องผม ผมเผลอปั ด มั น ตกลงในเปลวเทียน และก่อนที่ผมจะช่วยมันออกมาได้ มันก็ไหม้ไปหมดแล้ว ผมรู้ดีว่านี่เป็นลางร้ายและมันจะน�ำ โชคร้ายมาให้ผม ผมตัวสั่นจนเสื้อผ้าแทบหลุด ผมลุกขึ้น ท�ำสัญญาณไม้กางเขนสามครั้ง เอาด้ายมาผูกปอยผมไว้เพื่อกันแม่มดร้าย แต่ก็ยังไม่รู้สึกดีขึ้น วิธีนี้เอาไว้ใช้เวลาท�ำเกือกม้าที่ แขวนไว้หน้าประตูหาย แต่ผมไม่เคยได้ยินใครบอกวิธีสะเดาะเคราะห์จากการฆ่าแมงมุมตาย ผมนั่งลงอีกครั้ง ตัวสั่นงันงก หยิบกล้องยาสูบออกมาสูบอีกครั้ง ตอนนี้ทั้งบ้านเงียบ สงัดราวกับทุกสิ่งอยู่ในความตาย แม่มา่ ยไม่นา่ จะรูห้ รอก หลังจากนั้นเป็นเวลานาน ผมได้ยิน เสียงนาฬิกาในเมืองตี ตูม ตูม สิบสองครัง้ และทุกอย่างก็กลับสูค่ วามเงียบเหมือนเดิม เงียบงัน ยิ่งกว่าเดิม ผมได้ยินเสียงกิ่งไม้ในความมืด มีอะไรบางอย่างก�ำลังเคลื่อนไหว ผมนั่งนิ่งและ เงี่ยหูฟัง ผมได้ยินเสียง “เมี้ยว เมี้ยว” ข้างล่าง ดีจัง ผมกระซิบ “เมี้ยว เมี้ยว” กลับด้วยเสียง แผ่วเบาทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ หลังจากนัน้ ผมดับเทียนและปีนออกจากหน้าต่างลงไปยังโรงเก็บของ ก่อนจะไถลตัวลงพืน้ คลานไปในพุ่มต้นไม้ ผมมั่นใจว่าทอม ซอว์เยอร์ รอผมอยู่ที่นั่น

(อ่านต่อฉบับหน้า)

13


สุริยาพร เอี่ยมวิจิตร์ แปล

แต่ในขณะทีผ่ มก�ำลังปลาบปลืม้ กับความได้เปรียบของตนเองอย่างเงียบๆ มีกระแสความกังวลใจก�ำลังก่อตัวในส่วนลึกของความปีตนิ นั้ เรือ่ งกังวลใจของผมมา จากข่าวลือทีว่ า่ ผมมีความสัมพันธ์สนิทสนมกับพวกคนมือสกปรกพวกนี้ นับวันผมยิง่ รูส้ กึ ไม่สบายใจมากขึน้ ทุกทีจนในทีส่ ดุ ผมตัดสินใจเขียนจดหมายระบายความอึดอัด ให้คุณยายของผมทราบ ท่านตอบกลับมาอย่างรวดเร็วและเฉียบคมดังนี้ หลานเป็นคนใจซื่อมือสะอาด ทั้งชีวิตหลานไม่เคยท�ำเรื่องเสียๆ หายๆ สักครั้ง หลาน ลองเปิดหน้าหนังสือพิมพ์ดสู ิ แล้วหลานจะพบว่าคนแบบคุณสมิธและคุณแบลงค์เป็น คนแบบไหน หลานตัดสินใจเองก็แล้วกันว่าหลานอยากจะลดตัวลงไปคลุกโคลนตม ในที่สาธารณะไปกับพวกเขาจริงหรือ ผมเองก็คิดเช่นเดียวกัน ทั้งคืนผมข่มตานอนไม่หลับ มาถึงขั้นนี้ผมคงถอย มาร์ค ทเวน เป็นนักเขียนผู้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้บุกเบิกวรรณกรรมอเมริกัน อย่างไรก็ตาม ไม่ได้ ผมลงสนามแข่งเต็มตัวแล้ว และคงต้องสูไ้ ปจนสุดทาง แต่ขณะทีผ่ มก�ำลังกวาด งานเขียนที่ท�ำให้เขาเป็นที่รู้จักในจีนมากที่สุด กลับเป็นเรื่องสั้นชิ้นเล็กชื่อว่า “Running for Governor” สายตาอ่านหนังสือพิมพ์ระหว่างมือ้ เช้า ผมบังเอิญไปเห็นย่อหน้าหนึง่ ในหนังสือพิมพ์ เรื่องสั้นเสียดสีเกี่ยวกับการเลือกตั้งผู้ว่าการรัฐนิวยอร์คในปี 1870 เรื่องนี้ เป็นแบบเรียนบังคับ พูดตรงๆ เลยว่าผมไม่เคยประหลาดใจกับอะไรเท่านี้มาก่อน ควบคู่ไปกับงานเขียนของเหมาเจ๋อตุง รวมถึงงานของนักปรัชญาและนักเขียนชาวจีนมากว่าสี่สิบปี ท�ำให้ มาร์ค ทเวน เป็นหนึ่งในนักเขียนต่างชาติที่ดังที่สุดในจีนและเรื่องสั้น “Running For Governor” กลายเป็น งานของทเวนทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั มากทีส่ ดุ ด้วยจ�ำนวนผูอ้ า่ นหลายล้านคนทัว่ ประเทศ งานเขียนชิน้ นีเ้ ป็นภาพสะท้อน ความฉ้อฉลของระบบเลือกตัง้ ความสกปรกของพรรคการเมือง รวมถึงบทบาทของสือ่ ในอเมริกา หลังจากจีน ปฏิวตั ปิ ระเทศในปี 1949 เรือ่ งสัน้ เรือ่ งนีก้ ลายเป็นตัวบทบังคับในโรงเรียนมัธยมทัว่ ประเทศควบคูก่ บั งานเขียน ชิ้นอื่นที่มีเนื้อหาต่อต้านตะวันตก ต่อต้านทุนนิยม และเน้นย�้ำปัญหาระหว่างชนชั้นเช่นเรื่องสั้น “My Uncle Jules” ของ Guy de Maupassant นักเขียนชาวฝรั่งเศส หรือเรื่องสั้น “A Chameleon” ของ Anton Chekov นักเขียนชื่อดังชาวรัสเซีย

คดีให้การเท็จ – เนื่องจากตอนนี้นาย มาร์ค ทเวน ได้ปรากฏตัวต่อหน้า สาธารณชนในต�ำแหน่งผูส้ มัครรับเลือกตัง้ ผูว้ า่ การรัฐ เขาจ�ำต้องออกมาชีแ้ จง เหตุที่มีพยานจ�ำนวนสามสิบสี่รายจากเมืองวากาวัก สาธารณรัฐเวียดนาม กล่าวหาว่าเขาได้ให้การเท็จต่อศาลในปี 1863 โดยมีเจตนาเพื่อยึดไร่กล้าย เล็กๆของแม่มา่ ยชาวพืน้ เมืองแสนยากจนผูห้ นึง่ และครอบครัวแสนยากไร้ของ นางเป็นของตนเอง นายทเวนได้ยึดเอาไร่กล้ายอันเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่ง หารายได้แหล่งเดียวของครอบครัวนีเ้ ป็นของทัง้ ตนและได้แบ่งเป็นสินบนให้ คนใหญ่คนโตในศาล นายทเวนจะยอมออกมาชีแ้ จงเรือ่ งนีใ้ ห้กระจ่างหรือไม่? ผมแทบจะหัวเราะออกมาด้วยความทึง่ นีเ่ ป็นข้อกล่าวหาทีโ่ หดร้ายไร้หวั ใจ ผมไม่เคยแม้แต่จะเห็นแผ่นดินเวียดนาม ผมไม่เคยได้ยนิ ชือ่ เมืองวากาวักอะไรนัน่ ผม ไม่รู้ด้วยซ�ำ้ ว่าไร่กล้ายคืออะไร ผมไม่รู้จะท�ำอย่างไรกับข่าวนี้ดี ผมหัวเสียจนท�ำอะไร ไม่ได้ทั้งวัน เช้าวันรุ่งขึ้นหนังสือพิมพ์ฉบับเดิมยังคงพาดหัวข่าวเรื่องนี้อยู่ ข้อสังเกต: เห็นได้ว่านายทเวนยังคงปิดปากเงียบอย่างมีพิรุธเรื่องคดีให้การ เท็จที่เวียดนาม (ป.ล. เนือ้ หาทีเ่ หลือของบทความในหนังสือพิมพ์นไี้ ม่เคยเรียกผมด้วยชือ่ อืน่ นอกจาก “ทเวนจอมฉ้อฉล”)

14

เมื่อไม่กี่เดือนที่แล้วผมได้รับเสนอชื่อลงสมัครรับ เลือกตั้งต�ำแหน่งผู้ว่าการรัฐนิวยอร์คในฐานะผู้สมัครจาก พรรคอิสระแข่งกับนายจอห์น ที สมิธ และนายแบลงค์ เจ แบลงค์ ผมรูส้ กึ ว่าผมได้เปรียบผูส้ มัครสองท่านนีต้ รงทีผ่ ม เป็นคนดี ผมอ่านข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ผมก็เข้าใจว่า ผู้สมัครทัง้ สองท่านคงหลงลืมไปแล้วว่าการรักษาภาพลักษณ์ ที่ดีนั้นเป็นอย่างไร เห็นได้ชัด ว่าช่วงปี หลั ง ๆ นี้ ผู ้ ส มั คร ทั้งสองท่านมีสว่ นเกีย่ วข้องกับเรือ่ งผิดกฎหมายทุกรูปแบบ

ต่อมามีหนังสือพิมพ์อีกฉบับเขียนถึงผมดังนี้

ประชาชนรอฟังค�ำตอบ — ท่านผู้สมัครทเวนจะยอมลดตัวลงมาชี้แจงให้ ชาวบ้านที่จะลงคะแนนเลือกเขาหรือไม่ ถึงเรื่องที่มีทรัพย์สินชิ้นเล็กชิ้นน้อย จ�ำนวนมากของบรรดาผู้ร่วมอาศัยในกระท่อมตากอากาศที่รัฐมอนทานากับ เขาสูญหายบ่อยครัง้ ก่อนทีจ่ ะพบว่าทรัพย์สนิ เหล่านีไ้ ปอยูก่ บั ลูกน้องของนาย ทเวน หรือไปอยู่กับกองหนังสือพิมพ์ที่เขาห่อกับดักสัตว์เอาไว้ ผู้ร่วมอาศัย เหล่านี้รู้สึกว่าต้องตักเตือนนายทเวนเสียบ้างเพื่อประโยชน์ของตัวนายทเวน เองโดยการน�ำน�้ำมันดินราดตัวเขาแล้วโรยด้วยขนนก ก่อนน�ำไปประจานบน รถไฟและขอร้องให้เขาย้ายออกจากทีพ ่ กั ประจ�ำในค่ายตากอากาศอย่างถาวร นายทเวนจะยอมออกมาชี้แจงเรื่องนี้หรือไม่? ผมว่าไม่มีข่าวไหนที่เลวร้ายไปกว่านี้แล้ว ตัวผมเองไม่เคยไปมอนทานา สักครั้งในชีวิต (หลังจากข่าวนีต้ พี มิ พ์ หนังสือพิมพ์รายนีม้ กั จะเรียกผมว่า “ทเวนโจรมอนทานา”) ผมเก็บหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นอย่างระมัดระวังราวกับก�ำลังหยิบผ้าห่มที่มีงู หางกระดิ่งซ่อนอยู่ ต่อมาวันหนึ่งผมพบพาดหัวข่าวว่า


จับไต๋ได้แล้ว: จากค�ำให้การเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากทนายไมเคิล โอ ฟลาเนแกน จากไฟว์ พ อยต์ จากนายสนั๊บ รัฟเฟอร์ตี และนายแคตตี มั ล ลิ แกนจาก วอเตอร์สตรีท พบว่าค�ำให้การอันโฉดช้าของของนายทเวนที่กล่าวหาว่าปู่ ของนายแบลค์ เจ แบลงค์ผู้แทนพรรค ถูกตัดสินโทษประหารชีวิตโดยการ แขวนคอ จากคดีชิงทรัพย์บนทางหลวงนั้นเป็นเรื่องโกหกหยาบช้าทั้งเพ เป็นความเท็จทีไ่ ม่มมี ลู ความจริงเลยแม้แต่นอ้ ย นับเป็นเรือ่ งสลดใจอย่างยิง่ ส�ำหรับบรรดามวลชนคนดีทงั้ หลายทีต่ อ้ งทนเห็นนักการเมืองใช้วธิ สี กปรกเพือ่ บรรลุเป้าหมายทางการเมืองของตนด้วยการใส่ร้ายคนตาย เหยียบย�่ำเกียรติ ของผู้ตายด้วยการป้ายสี แค่นึกถึงความคับแค้นใจของญาติมิตรผู้ตายที่ไม่ รู้อิโหน่อิเหน่แล้ว พวกเราก็แทบอยากจะปลุกระดมพี่น้องมวลชนผู้เหลืออด และถูกหมิน่ เกียรติทงั้ หลายให้ออกมาทวงคืนความชอบธรรมจากคนชัว่ นีด้ ว้ ย วิธีนอกกฎหมาย แต่อย่าเลย ปล่อยให้นายทเวนทนทุกข์กับสามัญส�ำนึกที่ ขาดวิน่ ของเขาไปเถิด (แม้ความจริงต่อให้มวลชนทีท่ ราบเรือ่ งโกรธเกรีย้ วทน ไม่ไหวจนพากันออกมาท�ำร้ายร่างกายนายทเวนด้วยโทสะแล้วจะไม่มศี าลไหน ตัดสินโทษมวลชนเหล่านี้ลงคออย่างแน่นอนก็ตาม) ประโยคสุดท้ายอันแสนเชือดเฉือนท�ำให้ผมถูกหมายไล่ให้ออกจากบ้าน ภายในคืนนั้น ผมต้องหนีออกจากบ้านทางประตูหลัง ในขณะที่ “พี่น้องมวลชนผู้ เหลืออดและถูกหมิน่ เกียรติ” ทัง้ หลาย ต่างกรูกนั เข้ามาทางประตูหน้า พากันท�ำลาย เครือ่ งเรือนของผม ทุบกระจกหน้าต่างบ้านด้วยความโกรธแค้นอันถูกต้องชอบธรรม ของพวกเขา อีกทั้งยังหยิบฉวยทรัพย์สินทั้งหมดของผมที่พวกเขาพอจะถือติดตัวได้ ไปด้วย แต่ถึงอย่างนั้น ผมยังคงกล้าสาบานว่าผมไม่เคยใส่ร้ายปู่ของนายแบลงค์ ยิง่ ไปกว่านัน้ ผมไม่ได้ยนิ ชือ่ ปูข่ องนายแบลงค์ และไม่ได้กล่าวถึงท่านเลยในวันทีเ่ กิด เหตุนั้น (ผมขอสรุปสั้นๆว่าหลังจากนั้น หนังสือพิมพ์ที่ลงข่าวนี้ได้เรียกผมว่า “ทเวน หมิ่นศพ” เสมอมา ) บทความในหนังสือพิมพ์อีกฉบับที่สะดุดตาผม เขียนถึงผมดังนี้ นักการเมืองเมาหย�ำเป: นายมาร์ค ทเวน ผู้ต้องท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนกล่าว แถลงการณ์กบั สมาชิกพรรค ไม่ออกมาปรากฏตัวเมือ่ ถึงเวลากล่าวแถลงการณ์ โดยมีโทรเลขจากแพทย์ประจ�ำตัวของนายทเวนอ้างว่านายทเวนถูกรถม้าชน ท�ำให้มกี ระดูกขาหักสองที่ มีอาการปวดมาก ตามด้วยอาการอืน่ ๆ อีกมากมาย บรรดาสมาชิกพรรคพยายามอย่างยิ่งที่จะท�ำใจเชื่อเรื่องโกหกพกลมนี้ และ แสร้งท�ำเป็นไม่รวู้ า่ สาเหตุจริงๆ ทีจ่ อมโกหกผูซ้ งึ่ ทัง้ พรรคอุตส่าห์เลือกให้เป็น ผู้แทนพรรคหายตัวไปคืออะไร อย่างไรก็ตาม มีรายงานว่าพบชายผู้หนึ่งเดิน โซเซเข้าไปในห้องพักของนายทเวนเมื่อคืนในสภาพเมาขาดสติ ทางพรรค ต้องออกมาพิสูจน์ให้ได้ว่าชายเมาสุราผู้นั้นไม่ใช่นายมาร์ค ทเวน มวลชน ผู้ขุ่นเคืองทั้งหลายก�ำลังรอฟังค�ำตอบจากทางพรรคว่าชายปริศนาผู้นั้นเป็น ใครกันแน่ มันช่างเป็นเรื่องเหลือเชื่อเหลือเชื่อเหลือเกินที่ชื่อของผมไปพัวพันกับเรื่อง ฉาวเช่นนี้ ผมมานั่งทบทวนได้ว่าสามปีที่ผ่านมาผมไม่ได้สัมผัสกับ เหล้าเอล เบียร์ ไวน์ สุรา หรือเครื่องดื่มมึนเมาใดๆ เลย (จากประสบการณ์ที่ผมเจอในช่วงเวลาที่ผ่านมา เมื่อผมเห็นหนังสือพิมพ์ ฉบับนี้เรียกผมว่า “กุ๊ยทเวน” ผมรู้ทันทีว่าหลังจากนี้ หนังสือพิมพ์รายนี้คงยึดมั่นที่ จะเรียกผมว่ากุ๊ยเป็นการถาวร) ช่วงนี้มีจดหมายลึกลับไม่ระบุชื่อคนส่งถึงผมจ�ำนวนมากครับ เนื้อความ ข้างในมีเนื้อหาคล้ายๆ กันหมด เช่นแบบนี้ แกจ�ำเรือ่ งทีแ่ กเคยไล่เตะหญิงชรายากจนคนหนึง่ ทีเ่ คยมาขอทานแถวบ้านแกได้ไหม จากคนใหญ่คนโตคนหนึ่ง

มันช่างเป็นเรื่องเหลือเชื่อเหลือเกิน ที่ชื่อของผมไปพัวพันกับเรื่องฉาวเช่นนี้

และแบบนี้

มีเรื่องฉาวที่คุณเคยก่อไว้ที่ไม่มีใครรู้นอกจากผม คุณควรจะตอบจดหมายผม ไม่ อย่างนั้นเรื่องลับของคุณได้ลงหน้าหนังสือพิมพ์แน่ จาก นายช่างแอนดี้ จดหมายอื่นๆ ก็เกี่ยวกับภาพลักษณ์ของผมครับ ถ้าผู้อ่านอยากทราบ ผม สามารถอ่านจดหมายพวกนี้ต่อไปได้อีกเรื่อยๆ จนผู้อ่านเอียนเลยทีเดียว หลังจากนัน้ ไม่นาน หนังสือพิมพ์หลักทีส่ นับสนุนพรรครีพบั ลิกนั ได้ออกมา โจมตีผมเรือ่ งทุจริต ในขณะทีห่ นังสือพิมพ์หลักทีส่ นับสนุนพรรคเดโมแครตได้ออกมา “แฉ” เรื่องที่มีจดหมายข่มขู่ส่งมาถึงผม (หลังจากนั้นผมจึงได้ฉายาเพิ่มมาสองฉายาดังนี้: นายทเวนคนโกง และ นายทเวนฮั้วศาล) ตอนนี้มีมวลชนร้องหา “ค�ำชี้แจง” จากผมต่อบรรดาข้อกล่าวหาอันเหลือ เชื่อเหล่านี้เป็นจ�ำนวนมากจนกระทั่งโฆษกและผู้น�ำพรรคของผมเตือนว่าอนาคต ทางการเมืองของผมคงดับวูบเป็นแน่หากผมยังคงปิดปากเงียบไม่ออกมาชี้แจงแก่ สาธารณชน เพราะนั่นจะท�ำให้ข้อกล่าวหาทั้งหมดทวีความรุนแรงมากขึ้น วันต่อมา ค�ำเตือนของโฆษกและผู้นำ� พรรคของผมได้เป็นจริงในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง ดังนี้ ระวังชายผู้นี้ไว้ให้ดี: ผู้สมัครจากพรรคอิสระรายนี้ยังคงปิดปากเงียบ คาดว่า เพราะเขาขีข้ ลาดเกินกว่าจะออกมายอมรับความจริงเป็นแน่ ทุกข้อกล่าวหาต่อ นายทเวนได้รบั การพิสจู น์วา่ เป็นความจริงทัง้ หมด ตัวนายทเวนเองได้ยอมรับ ข้อกล่าวหาเหล่านีด้ ว้ ยการปิดปากเงียบไม่ออกมาชีแ้ จงอะไรทัง้ สิน้ จนถึงวันนี้ สมาชิกพรรคอิสระทัง้ หลาย มองผูส้ มัครจากพรรคของท่านอีกครัง้ ให้ดี มองดู จอมฉ้อฉล โจรมอนทานา คนหมิ่นศพ พิจารณากุ๊ยขี้เมา คนโกง และคนฮั้ว ศาลผูน้ ใี้ ห้ดี แล้วกลับไปทบทวนอีกครัง้ ว่าท่านยังจะใช้สทิ ธิข์ องท่านเลือกคน สารเลวทีไ่ ด้ฉายาทัง้ หมดนีม้ าจากความชัว่ ของตัวเอง และไม่แม้แต่กระทัง่ จะ ปริปากแก้ตัวให้กับตัวเองสักเรื่องอยู่ไหม ด้วยความอับอายอย่างถึงทีส่ ดุ ผมไม่มที างเลือกอืน่ อีกแล้วครับ ผมเตรียม “ค�ำตอบ” ส�ำหรับบรรดาข้อกล่าวหาเท็จสกปรกเหล่านี้ แต่ผมไม่เคยเตรียมค�ำตอบจน เสร็จเสียที เพราะรุง่ เช้าวันต่อมาหนังสือพิมพ์หลายฉบับก็จะพาดหัวข่าวฉาวใหม่ของ ผม ความชั่วช้าเรื่องใหม่ของผม เช่นกล่าวหาว่าผมได้เผาโรงพยาบาลจิตเวชรวมถึง ผูป้ ว่ ยข้างในทัง้ หมดด้วยสาเหตุวา่ โรงพยาบาลแห่งนีบ้ งั ทัศนียภาพจากบ้านของผม ข้อกล่าวหานีท้ ำ� ให้ผมตกใจมาก ต่อมามีขอ้ กล่าวหาว่าผมได้วางยาลุงของผมเองเพือ่ ชิงมรดก พร้อมกับเสนอข้อเรียกร้องให้มีการขุดหลุมศพของลุงผมเพื่อตรวจสอบข้อ เท็จจริง ข่าวนี้ท�ำให้ผมแทบไม่มีกะจิตกะใจท�ำงาน นอกจากนี้ผมยังถูกกล่าวหาว่า ผมได้วา่ จ้างปูย่ า่ ตายายทีแ่ ก่ชรามากและช่วยเหลือตัวเองแทบไม่ได้ให้ทำ� หน้านีเ้ ป็น คนครัวในโรงเลี้ยงเด็กก�ำพร้าที่ผมเป็นผู้ดูแลอยู่ ผมเหนื่อยใจกับข่าวนี้จริงๆ ครับ และสุดท้าย พรรคตรงข้ามทีด่ จู ะเกลียดชังผมเข้าไส้ได้ปดิ ท้ายเรือ่ งใส่รา้ ย ผมทัง้ หมดนีด้ ว้ ยการส่งเด็กวัยเตาะแตะหลายเชือ้ ชาติหลากวรรณะจ�ำนวนเก้าคนให้ วิง่ มาเกาะแข้งเกาะขาผมขณะทีผ่ มก�ำลังอ่านแถลงการณ์พรรคในทีส่ าธารณะ แล้ว เรียกผมด้วยเสียงกระจองอแงว่า “พ่อจ๋า พ่อจ๋า” ผมยอมแพ้แล้วครับ ผมยกธงขาวยอมแพ้อย่างราบคาบแล้ว ผมคงไม่มี คุณสมบัตพิ อทีจ่ ะลงสมัครผูว้ า่ การรัฐนิวยอร์คอีกต่อไป ผมตัดสินใจส่งจดหมายลาออก จากการเป็นผู้สมัครลงเลือกตั้ง และเซ็นท้ายจดหมายด้วยความขมขื่นใจว่า ด้วย ความเคารพอย่างสูง จากชายผู้ครั้งหนึ่งเคยเป็นคนดี แต่บัดนี้ได้กลายเป็น มาร์ค ทเวน จอมฉ้อฉล โจร คนหมิ่นศพ กุ๊ย คนโกง และคนฮั้วศาลไปเสียแล้ว

15


เรื่ อ งราวสมมติ ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยการคาดการณ์ เคยตั้งค�ำถามอะไร แต่วินสตันไม่ใช่คนประเภทนี้ เขาช่างคิดสงสัย หนึ่งเก้าแปดสี่ (1984) เขาไม่เชือ่ พรรค เขาปรารถนาจะเป็นอิสระ วันหนึง่ เขาก็พบกับจูเลีย ผิด พลาดมากมายนี้มีดีอะไรถึงท�ำให้มันคงทน หญิงซึง่ มีความปรารถนาอย่างยิง่ ทีจ่ ะเป็นตัวของตัวเอง ในทีส่ ดุ เขา จอร์จ ออร์เวลล์ เขียน ทั้งสองก็ก่อกบฏขึ้นเงียบๆ ชายหญิงสองคนตกหลุมรักกัน ลักลอบ ถาวรมาจนถึงปีทหี่ กสิบสาม รัศมี เผ่าเหลืองทอง และ อ�ำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงษ์ แปล

16

(พ.ศ. 2555) บางทีการหาค�ำตอบดังกล่าวอาจไม่ใช่เรื่องยากหาก ผู้อ่านจะติดตามข่าวสารความเป็นไปในบ้านเมืองโดยตลอดและ ส�ำนักพิมพ์สมมติ มีความรู้ประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์การเมืองไทยอยู่ 488 หน้า กรกฎาคม 2555 บ้าง แต่เราแน่ใจได้หรือว่าพฤติกรรมใฝ่รู้เยี่ยงนั้นคือสิ่งที่เกิดขึ้น ISBN: 9786167196152 อย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่องในปริมณฑลของพงศ์พันธุ์นี้ ตัวเอกของ 1984 เป็นชายวัยกลางคนนาม “วินสตัน สมิธ” 1984 : เรื่องราวสมมติที่(อาจ)เกิดขึ้นจริง เขาท�ำงานให้กับ “กระทรวงแห่งความจริง” ในรัฐที่ชื่อ “โอชันเนีย” โดย กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์ (Oceania) ซึง่ เป็นรัฐแบบเผด็จการทีร่ วบอ�ำนาจเบ็ดเสร็จ ผ่านการ BIG BROTHER IS WATCHING YOU! ปกครองโดยพรรคๆเดียวคือ “อิงซ็อค” (Ingsoc) ผู้น�ำสูงสุดคือ “พี่ เบิม้ ” หรือ “big brother” ซึง่ รูปภาพใบหน้าของเขาปรากฏอยูท่ วั่ ทุก “พี่เบิ้มก�ำลังจับตาดูคุณ” 1984 เป็ น นวนิ ย ายชิ้ น สุ ด ท้ า ยของจอร์ จ หัวระแหงในโอชันเนีย ประหนึ่งการจ้องมองดูทุกผู้คนอยู่ทุกขณะ ออร์เวลล์ (George Orwell) นักประพันธ์ชาวอังกฤษซึ่ง จิต การใช้ชีวิตในโอชันเนียล้วนเต็มไปด้วยพิธีกรรมมากมาย พิธี มีนามจริงว่าเอริค อาร์เธอร์ แบลร์ (Eric Arthur Blair) ส�ำคัญอย่างหนึง่ ก็คอื “รายการความเกลียดสองนาที” ซึง่ ประชาชน งานเขี ย นชิ้ น นี้ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ ค รั้ ง แรกในปี 1949 ต้องมารวมตัวกันเพื่อดูเรื่องราวต่างๆที่พรรคอยากให้ดู สิ่งที่ทุกคน (พ.ศ. 2492) สี่ปีหลังจากการตีพิมพ์นวนิยายที่เป็นที่ ต้องดูเป็นประจ�ำคือใบหน้าและเรื่องราวของ “เอ็มมานูเอล โกลด์ส รู้จักที่สุดของเขาอีกชิ้นหนึ่ง นั่นคือ Animal Farm และ ไตน์” บุคคลที่พรรคชูขึ้นศัตรูหมายเลขหนึ่งของโอชันเนีย เมื่อใดที่ พิธีถูกจัดขึ้นผู้คนก็ต้องมาร่วมกันก่นด่าสาปแช่งโกลด์สไตน์ และ เป็นหนึ่งปีก่อนที่เขาจะเสียชีวิต นวนิ ย ายเรื่ อ ง 1984 บรรยายถึ ง เรื่ อ งราว ตบท้ายด้วยสรรเสริญเยินยอพี่เบิ้ม ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่า สมมติที่ผู้เขียนจินตนาการว่าเกิดขึ้นไปปี 1984 อันเป็น โกลด์สไตน์มีตัวตนอยู่จริงๆหรือไม่ แต่นั่นไม่ส�ำคัญ สิ่งส�ำคัญก็คือ อนาคตกาล คือราวๆสามสิบห้าปีนับจากหนังสือได้ มี “ศัตรูร่วม” ด�ำรงอยู่ในใจของประชาชนหรือไม่ การด�ำรงอยู่ของ รับการตีพิมพ์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการคาดการณ์ของ สิ่งนี้เป็นหลักประกันความมั่นคงในอ�ำนาจของโอชันเนียนั่นเอง การด�ำรงชีวิตในโอชันเนียไม่ยากหากท่านไม่ใช่คนชอบ ออร์เวลล์จ�ำนวนมากจะได้รับการพิสูจน์ในเวลาต่อมา คิ ด อยู ่ ใ นรั ฐนี้อย่าตั้งค�ำถามอย่าสงสัย พรรคว่าอย่างไรก็ตามนั้น ว่ า ผิ ด พลาด แต่ ก ระนั้ น ผู้ค นก็ยัง คงอ่า น 1984 กัน ต่ อ ไป เหตุใดเรื่องราวสมมติ--ทีค่ รัง้ ล่าสุดนีต้ พี มิ พ์โดย การคิดสงสัยเป็นสิ่งไม่ดี ความรัก การวิจารณ์ การมีเพศสัมพันธ์ ส�ำนักพิมพ์สมมติ--จึงยังคงได้รับการอ่านและพูดถึง นอกสมรส การสังวาสโดยมิได้เป็นไปเพื่อการมีบุตร และอะไร ยาวนานข้ามกาลเวลา มันได้รับการน�ำไปสร้างเป็น อย่างอื่นอีกมากมายอันแสดงลักษณะของตัวตนหรือความเป็น ภาพยนตร์ซึ่งออกฉายในปี 1984 ตามชื่อเรื่องและปี ปัจเจกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของพรรคเป็นสิ่งไม่ดี พรรคเรียก ที่เรื่องราวสมมติขึ้น กระทั่งปัจจุบันความคิดเรื่อง Big พฤติการณ์เหล่านีว้ า่ เป็น “อาชญากรรมความคิด” (thoughtcrime) Brother กลายมาเป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดัง ส่วน ทัว่ ทัง้ โอชันเนียจะมี “ต�ำรวจความคิด” (Thought Police) ออกไล่ลา่ ฮารูกิ มูราคามิก็น�ำ 1984 มาล้อโดยแต่งเป็นนิยาย บรรดาขบถนอกคอกทัง้ หลายเพือ่ น�ำตัวมาฟอกความคิดให้สะอาด 1Q84 เรื่องราวสมมติที่เต็มไปด้วยการคาดการณ์ผิด ในการทีจ่ ะธ�ำรงรักษาระเบียบเหล่านีไ้ ว้ให้ได้พรรคจ�ำเป็นต้องคิดรูปแบบ พลาดมากมายนี้มีดีอะไรถึงท�ำให้มันคงทนถาวรมา ของภาษาขึ้นมาใหม่ เรียกว่า “นิวสปีค” (Newspeak) โดยการตัด จนถึงปีที่หกสิบสาม และยังมีทีท่าว่าจะถูกอ่านต่อไป และลดทอนค�ำศัพท์ตา่ งๆให้นอ้ ยลง ค�ำใดทีท่ ำ� ให้คนสามารถคิดถึง สิ่งที่ท�ำให้ขบถหรือแหกคอกได้ก็ให้ตัดทิ้งไป วิธีการนี้เป็นผลเชิง ไม่รู้จบ ไม่เพียงแต่ผอู้ า่ นทัว่ ไปทีส่ งสัย ผูแ้ ปลวรรณกรรม ปฏิบตั ทิ พี่ รรคน�ำมาจากหลักการทีว่ า่ ภาษาเป็นตัวก�ำหนดความคิดคน เรือ่ งนีก้ เ็ ช่นกัน ผู้แปล 1984 เป็นภาษาไทยมีสองท่าน เพราะฉะนัน้ หากไม่มคี ำ� ศัพท์คำ� นัน้ ๆให้ใช้คนก็ไม่อาจมีความคิดถึง คือรัศมี เผ่าเหลืองทองและอ�ำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงศ์ สิ่งนั้นได้ มีผู้คนจ�ำนวนมากในโอชันเนียที่อยู่ไปโดยไม่เคยตั้ง ในช่วงหนึ่งของค�ำน�ำฉบับพิมพ์ครั้งที่สาม (พ.ศ. 2555) นั้นรัศมีถึงกับกล่าวว่า “แปลกใจระคนดีใจที่ได้ทราบ ค�ำถาม มีอีกมากหลายที่กลืนกินทุกสิ่งทุกอย่างที่พรรคสอนเอาไว้ ว่า 1984 ฉบับพิมพ์ครัง้ ทีส่ องหมดลงในเวลาไม่นานนัก เด็กๆเกิดและโตมากับความคิดแบบนี้ทั้งระบบจึงสามารถท�ำการ ใครจะนึกว่านิยายการเมืองแห่งอนาคตที่แสนจะหดหู่ ตรวจสอบและไล่ล่าได้แม้กระทั่งบุพการีของตน ประชาชนจ�ำนวน เล่มนี้ ได้กลายเป็นหนังสือต้องอ่านส�ำหรับเมืองไทย ไม่นอ้ ยในโอชันเนียเป็นเช่นนี้ เป็นฟันเฟืองทีค่ อยอาละวาดตรวจจับ ในพุทธทศวรรษ 2550” เมื่อพิจารณาถึงจังหวะเวลา อาชญากรทางความคิดด้วยความหวาดระแวง เป็นตัวแทนต�ำรวจ ที่งานชิ้นนี้ถูกเขียนที่อังกฤษ เวลาที่งานชิ้นนี้เริ่มเข้าสู่ ความคิดอย่างไม่เป็นทางการทีแ่ พร่กระจายอยูเ่ ต็มรัฐ เพือ่ นของวินสตัน กระบวนการแปลเป็นไทย (พ.ศ. 2520) การถูกน�ำมา ชื่อ “พาร์สัน” ก็เป็นหนึ่งในคนประเภทนี้ เขาคิดและเชื่อตามพรรค พิมพ์ซ�้ำครั้งที่สอง (พ.ศ. 2551) การพิมพ์ซำ�้ ครั้งที่สาม ทุกอย่าง เป็นมวลชนผูก้ ระตือรือร้นเอาการเอางานของพรรคโดยไม่

ได้เสียกัน แอบอ่านหนังสือของโกลด์สไตน์ กินอาหารดีๆทีล่ อบเอา มาจากพรรคชั้นใน พวกเขาสร้างโลกลับส่วนตัวขึ้น คอยหาโอกาส มาใช้เวลาด้วยกัน แต่ทว่าโชคชะตาไม่เข้าข้างเขาไปตลอด เมื่อใน ที่สุดต�ำรวจความคิดก็จับตัวทั้งสองคนได้ และน�ำตัวทั้งคู่ส่งไปให้ พรรคพิจารณาโทษ การพิจารณาโทษของพรรคไม่ง่ายอย่างที่ใครคิด ว่า กันตามจริงแล้ว กระบวนการส�ำคัญไม่ใช่การท�ำโทษ แต่คือการ ล้างสมองครั้งยิ่งใหญ่ต่างหาก ทั้งคู่ถูก “โอไบรอัน” สมาชิกชั้นใน ของพรรคผู้เลือดเย็น เขาเป็นสมาชิกระดับสูง เป็นกลจักรส�ำคัญ ในการพยุงภารกิจของพรรคให้ธ�ำรงอยู่อย่างมั่นคงได้ แต่ภายใต้ ภาพลักษณ์งามงดดั่งนักบุญของโอไบรอันนั้นมีสมิงร้ายซ่อนอยู่ เขาท�ำการทรมานวินสตันกับจูเลียเพื่อให้การรับสารภาพ มากไป กว่านั้น การทรมานยังคงหนักขึ้นๆ เพื่อจุดมุ่งหมายในการเปลี่ยน มนุษย์คนหนึ่งให้กลายมาเป็นวัตถุเดินได้ที่ปราศจากการคิด การ ถาม ความรัก ความใคร่ พลเมืองชั้นดีที่ไม่ต่างอะไรจากผีดิบเดิน ได้ซึ่งคอยเป็นมือเป็นไม้ให้พรรค อาจมีคำ� ตอบหลายประการผุดขึน้ เมือ่ มีคำ� ถามว่าเหตุใด 1984 จึงอยู่ยั้งยืนยงข้ามผ่านกาลสมัย แต่ค�ำตอบหนึ่งที่เด่นชัด ขึ้นมาแน่ๆก็คือเพราะ “ความจริง” ของมันนี่เอง แน่ล่ะ ทั้งหมดนี้ คือเรื่องสมมติ และเรื่องสมมตินี้หลายอย่างก็ผิดพลาด แต่มีอะไร บางอย่างที่มันไม่เคยผิดเพี้ยนไปเลย อะไรเล่า? เพราะในทุกสังคม ก็มโี อกาสทีจ่ ะเป็นโอชันเนียหรือเปล่า เป็นโอชันเนียนัน้ แยกได้สอง ความหมาย อย่างแรกคือมี “ความเป็น” โอชันเนียกับอย่างทีส่ องคือ เป็นโอชันเนียจริงๆทางกายภาพ ทั้งสองอย่างนี้ไม่เหมือนกัน และ แน่นอนเราก�ำลังพูดถึงอย่างแรก นอกเหนือ ไปจากนี้ เราพบว่ารอบตัวเราเต็มไปด้วย คนอย่าง “วินสตัน” “จูเลีย” “พาร์สัน” “โอไบรอัน” หรือแม้กระทั่ง “Big Brother” ดังนั้น ที่ 1984 อยู่ยั้งยืนยงอยู่ได้อาจไม่ใช่เพราะว่า ออร์เวลล์วาดภาพอนาคตเชิงรูปธรรมถูกต้องหรือไม่ (แน่นอน มัน ไม่ถูก) แต่ใน “ความเป็น” โอชันเนีย ไม่ว่าจะเป็นอ�ำนาจ ข่าวสาร การโฆษณาชวนเชื่ อ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ธรรมชาติ ข องบุ ค ลิ ก และ ลักษณะนิสัยของผู้คนนั้นออร์เวลล์ฉายแสดง “ตัวแบบ” เหล่านี้ได้ ส�ำเร็จ และนี่คือเหตุผลที่ท�ำให้มันยืนยง เมื่ออ่านนวนิยายจบแล้ว หากสนุกสนานเพลิดเพลินก็ นับว่าดี แต่จะมีประโยชน์กว่านัน้ หากถามตัวเองด้วยว่าเราเป็นคน แบบไหน เป็นแบบวินสตัน จูเลีย โอไบรอัน พาร์สัน หรือไม่เป็นใคร เลย ขณะเมื่อมีโอกาสคิดใยไม่คิด มีโอกาสถามใยไม่ถาม มีโอกาส รักใยไม่รกั เนือ่ งจากเชือ่ ว่าเป็น “มนุษย์” จึงได้คดิ เชือ่ ว่าเป็นมนุษย์ จึงได้ถาม แต่หากต้องการคิดแล้วพบว่าคิดไม่ได้ อยากถามแล้ว ถามไม่ได้ อยากแตกต่างก็ไม่ได้ อยากเลือกรักหรือไม่รักก็ไม่ได้ ค�ำตอบย่อมเป็นที่ประจักษ์ชัดว่าเราอยู่ในโอชันเนีย เอาล่ะ หากยังไม่เคยอ่าน 1984 นี่เป็นเวลาดีที่จะเริ่มต้น บนเส้นทางสายยาวแห่งชีวติ หากพบว่าตัวเองเป็นเฉกเช่นอย่างวินสตัน ก็ขอให้โชคดี และรอดพ้นจากโศกนาฏกรรมอย่างทีว่ นิ สตันประสบ แต่ระวังตัวให้ดดี ว้ ยล่ะ เพราะเรายังไม่รวู้ า่ อยูท่ ไี่ หน เรือ่ งราวสมมติ อาจไม่ใช่เรือ่ งสมมติ มันอาจเกิดขึน้ จริง ไม่แน่ทา่ นอาจยืนอยูใ่ นโอชันเนีย และนั่นก็หมายความว่า… BIG BROTHER IS WATCHING YOU!


ณ ที่สิ้นสุดของบางสิ่ง The Sense of an Ending จูเลียน บาร์นส์ เขียน | โตมร ศุขปรีชา แปล ส�ำนักพิมพ์ไลต์เฮาส์

หญิงเสาและเรื่องราวอื่น กล้า สมุทวณิช เขียน ส�ำนักพิมพ์มติชน

ค�ำสารภาพที่ท�ำให้เราเห็นเส้นบอบบางระหว่างค�ำว่า ‘ส�ำนึกผิด’ กับ ‘ละอายใจ’ ของโทนี เว็บสเตอร์ ชายวัยเกษียณผู้ดึงเราเข้าไปมีส่วนร่วมกับ ประวัติศาสตร์ความทรงจ�ำของเขา ผ่านประสบการณ์การอ่าน เพื่อเป็นประจักษ์ พยานแห่งการเยียวยาบาดแผลด้วยเรือ่ งเล่าทีถ่ กู ตัดต่อและแต่งเติม เพือ่ ปิดซ่อน ความสัมพันธ์ร้าวลึก ตราบาปแห่งมิตรภาพ ความรักและความคั่งแค้นที่ไม่อาจ แก้ไขในอดีต มีเพียงการช�ำระผ่าน ‘เรื่องเล่า’ หรือ อดีตที่เราสร้าง เท่านั้นที่จะเป็น หนทางบ่งจิตใจของเขาไม่ให้กลัดหนองเน่าใน... ขอเชิญรวดร้าวอารมณ์ไปกับ ผลงานนักเขียนรางวัล The Man Booker Prize ประจ�ำปี 2011 ไปพร้อมกับส�ำนวน แปลของ โตมร ศุขปรีชา

รวมเรื่ อ งสั้ น ที่ เ ปล่ ง ปลั่ ง สุ ก งอมท่ า มกลางเหตุ ก ารณ์ ค วามขั ด แย้ ง ทางการเมืองไทย ผลิตผลจากปรากฏการณ์ความจริงย้อนเเยงช่วงทศวรรษที่ ผ่านมา น�ำเสนอผ่านสายตานักเขียนหนุ่ม กล้า สมุทวณิช นักเขียนมือรางวัล ผู้พาเราไปส�ำรวจความแหว่งวิน่ แห่งจิตใจมนุษย์ โดยเฉพาะสังคมเมืองใหญ่ ด้วย กลวิธีเล่าเรื่องแนวเหนือจริง (Surreal) เปิดพื้นที่ให้ซ่อนใส่สัญญะระหว่างบรรทัด อย่างซับซ้อนและคลุมเครือ ภาษาที่หนักแน่น แม่นย�ำของเขา ท�ำให้จังหวะตลก ร้ายและขันขืน่ เกิดขึน้ อย่างมีพลังและหวังผล และนัน่ อาจเป็นวิธเี ดียวทีเ่ ราสามารถ ใช้รับมือกับโลกแห่งความจริงโดยที่เราไม่เป็นบ้าไปเสียก่อน

ไม่มีใครน�ำหน้าม้าหมุน Dead Heat on a Merry-Go-Round ฮารูกิ มูราคามิ เขียน | มุทิตา พานิช, ปิยะณัฐ จีระกูรวิวัฒน์ กนกวรรณ เกตุชัยมาศ, พีรวัธน์ เสาวคนธ์, พรรษา หล�ำอุบล, ปาลิดา พิมพะกร แปล ส�ำนักพิมพ์ก�ำมะหยี่

‘ปาป้า’ เฮมิ่งเวย์ อหังการแห่งชีวิตห้าว พิมาน แจ่มจรัส เขียน ส�ำนักพิมพ์แสงดาว

นี่เป็นหนังสือที่แตกต่างจากผลงานเล่มอื่นๆ ของเฮียมู เขาเปิดพื้นที่ให้ นักอ่านมีโอกาสได้นงั่ จรดเข่า ค่อยๆ ฟังเขาเรียบเรียงเรือ่ งราวของบุคคลทีผ่ า่ นพบ ในชีวิต ฮารูกิ มูราคามิเปิดสมุดสเกตช์ตัวละครของเขาให้เราชมทีละเรื่อง ผลจาก การฟังผูค้ นมากมาย เรือ่ งเล่าได้ตกตะกอนทับถมบนพืน้ ผิวจิตส�ำนึก และถูกปลด ปล่อยออกมาในเรือนร่างประหลาด ผิดเพี้ยนจากธรรมชาติ แต่กลับสะท้อนภาพ ความเป็นจริงในสังคมปัจจุบนั ได้เป็นอย่างดี สังคมทีเ่ ราดิน้ รนอยูบ่ นม้าหมุนขนาด มหึมา ไม่มีหยุด ไม่มีแซงหน้า ไม่ไปไหน ท�ำได้เพียงควบไล่คู่แข่งในจินตนาการ เพราะไม่มีใครลงจากตรงม้าหมุนของตนเองได้

หนังสือว่าด้วยชีวประวัติ เออร์เนสต์ เฮมิ่งเวย์ ฉบับสมบูรณ์ นักเขียนผู้ กล่าวอหังการ์วลี “มนุษย์ไม่ได้ถกู สร้างขึน้ มาให้ยอมแพ้ มนุษย์ถกู ท�ำลายได้ แต่แพ้ ไม่ได้” ชีวติ ของเขาไม่ตา่ งจากนวนิยายทีเ่ คีย่ วจนรสเข้ม ชีวติ สัน้ ๆ แต่มนั หยด บรรยาย แต่นอ้ ย แล้วต่อยปลายคาง หนังสือสารคดีเล่มนีเ้ กิดจากการเดินตามรอยและสืบค้น ข้อมูลอย่างหนัก เริม่ เล่าอย่างสนุกถึงเรือ่ งราววัยเด็ก ช่วงชีวติ นักหนังสือพิมพ์ และ อีกไม่กี่ปีที่แสนยาวนาน เมื่อเขาสวมชุดทหารเข้าสู่สมรภูมิสงครามโลก มิตรภาพ ระหว่างเขากับครอบครัวฟิตเจอรัลด์ รวมถึงแรงบันดาลใจของนักเขียน นั่นคือ ชีวติ รักและหญิงสาวทีท่ ำ� ให้คนอย่างเฮมิง่ เวย์กล่าวว่า “สตรีเป็นมิตรทีย่ งิ่ ใหญ่ แต่ เป็นศัตรูที่ร้ายกาจ” หากคุณชอบกระดกวอดก้าพรวดเดียว อ่านหนังสือเล่มนี้เถิด ดุเดือด เร่าร้อน วูบวาบหัวใจไม่แพ้กันเลย

มาเคียแวลลี: เจ้าทฤษฎีการเมืองสมัยใหม่ Machiavelli: A Biography ไมลส์ เจ. อังเกอร์ เขียน | ศิริรัตน์ ณ ระนอง แปล ส�ำนักพิมพ์มติชน

ออล เดอะ เนมส์ All The Names โฆเซ่ ซารามาโก เขียน | ศิริรัฐ ทองใหญ่ ณ อยุธยา แปล ส�ำนักพิมพ์ซิลค์เวิร์ม

หลังยุคฟืน้ ฟูศลิ ปวิทยาการเป็นต้นมา แทบไม่มผี นู้ ำ� ทางการเมืองคนไหน ไม่รู้จักชื่อ นิกโกเลาะ มาเคียแวลลี เขาได้รับเกียรติให้เป็นบิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์ สมัยใหม่ ผู้เขียนหนังสือชื่อ เจ้าผู้ปกครอง (The Prince) ว่าด้วยทฤษฎีปรัชญา การเมืองที่ฉำ� แหละธรรมชาติของหัวใจมนุษย์ ฮาวทูส�ำหรับผู้ต้องการเล่นแร่แปร อ�ำนาจเป็นของตนโดยปฏิเสธแนวคิดเชิงศีลธรรม ศาสตร์และศิลป์แห่งการเป็น ทรราชอย่างสมบูรณ์ หนังสือเล่มนีเ้ ผยประวัตชิ วี ติ เบือ้ งหลังทุกแง่มมุ อย่างมีเลือด มีเนือ้ ข้าราชการสามัญชนแห่งเมืองฟลอเรนซ์ผเู้ ป็นทีม่ าของค�ำว่า Machiavellian สมญาใช้เรียกมนุษย์ผู้มากด้วยเล่ห์เหลี่ยม พบชีวิตอันรุ่งโรจน์และช่วงเวลาที่มืด หม่นที่สุดของ มาเคียแวลลี ประกอบการวิเคราะห์งานเขียนอันลือลั่นของเขาได้ ภายในเล่มเดียว

นีเ่ ป็นเรือ่ งราวชีวติ ธรรมดาชีวติ หนึง่ นายโฮเซ่ เสมียนผูน้ อ้ ยในส�ำนักงาน ทะเบียนราษฎร์ ใช้ชวี ติ เดินผ่านบัตรแจ้งเกิดและแจ้งตายอยูท่ กุ วีว่ นั เขาเป็นชายโสด วัยดึกทีห่ มกมุน่ อยูก่ บั การกรอกข้อมูลสูตบิ ตั ร ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า และใบ มรณบัตร มีงานอดิเรกคือการตัดรูปสะสมภาพคนมีชื่อเสียง ดาราที่ก�ำลังโด่งดัง หรือคนทีก่ ำ� ลังมีขา่ วฉาวโฉ่ จนเมือ่ เขาพบใบสูตบิ ตั รของหญิงสาวคนหนึง่ เข้าโดย บังเอิญ เขาตัดสินใจว่าต้องค้นหาดูและรู้ให้ได้ว่าเธอคือใคร โฮเซ่ถูกครอบง�ำด้วย ความอยากรู้ ตัดสินใจสืบเสาะหาหญิงนิรนามผู้นี้ กิจกรรมดังกล่าวเปลี่ยนชีวิตที่ จ�ำเจและน่าเบื่อของเสมียนผู้นี้ทันที พบการผจญภัยที่ล่อแหลมต่ออาชญากรรม ไล่ลามไปถึงการค้นพบตนเองอย่างลึกซึง้ ค�ำถามถึงการด�ำรงอยูซ่ งึ่ เขาเองไม่เคย ตอบมาก่อนเลยตลอดชีวิต

17


อะไรท�ำให้คุณไม่ใช่พุทธ WHAT MAKES YOU NOT A BUDDHIST ซองซาร์ เคียนเซ เขียน | รวิวาร โฉมเฉลา แปล ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา ท�ำไมพระทิเบตจึงมีหนังสือวิพากษ์ศาสนาของตนมากมายนัก ทั้งที่ การกระท�ำนัน้ มันท�ำลายความมัน่ คงของจุดทีพ่ วกเขายืนชัดๆ เหมือนกับต�ำรวจที่ ตัง้ ค�ำถามว่าตัวเองมีสทิ ธิอ์ ะไรไปใช้กฎหมายกับผูค้ น ครูเป็นใครจึงมีสทิ ธิล์ ะเลง สีบนผ้าขาว หนังสือเล่มนี้เริ่มต้นจากค�ำถามว่า ความเป็นพุทธ คืออะไร น�ำไปสู่ การหาค�ำตอบว่า “สิทธัตถะ” ค้นพบอะไรเกี่ยวกับ ชีวิตและความทุกข์ รวมถึง ถอดรื้อความเข้าใจต่อ “พระพุทธเจ้า” เสียใหม่ เปลี่ยนชาวพุทธให้เป็นที่รักของ โลก ไม่ใช่คนดีกว่าใคร เปลี่ยนความภูมิใจ เป็น ความเข้าใจ ไม่ลุ่มหลงความดี และตระหนักว่าศีลธรรมคืออาหารของอัตตา แม้หนังสือเล่มนีอ้ า้ งอิงบริบทสังคม อเมริกันเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็เข้าใจแนวคิดได้ไม่ยาก ไม่มีศัพท์แสงเชิงศาสนาทิ่ม แทงเรา มีเพียงเรือ่ งเล่าด้วยภาษาง่ายๆ ทีด่ งึ เราเข้าไปสูค่ วามลึกโดยไม่รตู้ วั ร่วม ตรวจสอบ “ความเชือ่ ” ด้วย “เหตุผล” และท้าทาย “ศรัทธา” ของเราด้วย “ปัญญา” เพื่อพบว่า อะไรคือแก่น อะไรเกินจ�ำเป็น และค้นหาความเป็นพุทธในแบบของ คุณเอง

ฝนเอยท�ำไมจึงตก วิรชา ดาวฉาย เขียน ส�ำนักพิมพ์เยติ

18

อาจเพราะไม่เคยเชือ่ ตามใครว่าท�ำไมฝนจึงตกเพราะกบร้อง วิรชา ดาวฉาย นักเขียนหนุ่ม ผู้เขียนได้ลุกขึ้นตั้งค�ำถามกับรูปแบบความเชื่อส�ำเร็จรูปในชีวิต ผู้คนร่วมสมัย เขาเผยให้เห็นผลสะเทือนที่เกิดกับมนุษย์ เมื่อใครสักคนค้นพบ ว่าวันหนึ่งรูปทรงของความเชื่อที่ตนยึดมั่นมาตลอดก็อาจแปรเปลี่ยนไปได้เช่น เดียวกับน�้ำ สิบเรื่องสั้นภายในเล่มนี้บรรจุอักขระสลักเสลาเกลากลึง โดดเด่น ด้วยอุปมารสแปลก และท่วงท�ำนองที่เขียนก็เหมาะแก่การอ่านออกเสียงเป็น อย่างยิ่ง เกิดเป็นภาวะพิเศษดังที่บรรณาธิการเล่มนี้กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า ภาษา ของผูเ้ ขียนได้เปลีย่ นอากาศรอบตัวและวิธที เี่ ราใช้หายใจขณะอ่าน ผลงานรวมเรือ่ งสัน้ เล่มแรกของส�ำนักพิมพ์เยติ

อัตลักษณ์และความรุนแรง: ภาพลวงของชะตาลิขิต Identity and Violence อมารตยา เซ็น เขียน | ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ แปล สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ความรุนแรงทั่วโลกทุกวันนี้สืบรากลึกไปถึงปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ อมารตยา เซ็น แสดงให้เห็นปัจจัยที่ทำ� ให้โลกเผชิญหน้ากับความขัดแย้งอย่าง โกลาหล ปัญหาหลักเกิดจากการมองภาพคนแบบเหมารวม หรือที่ในหนังสือ เล่มนีเ้ รียกว่า “การจับคนใส่กล่องอัตลักษณ์เชิงเดีย่ ว” อันน�ำมาซึง่ การมองข้าม

ความเป็นมนุษย์อย่างรอบด้าน และพยายามควบรวมด้วยระบบจัดการครอบง�ำ เพียงระบบเดียว หนังสือเล่มนีแ้ จกแจงให้เห็นความซับซ้อนเรือ่ งพหุสภาพของอัตลักษณ์ ในสังคมพหุวัฒนธรรม ดังที่เราเป็นส่วนหนึ่งของทุกกลุ่มรวม (collectivity) และ แต่ละกลุม่ รวมก็ได้มอบอัตลักษณ์เฉพาะแก่เราอัตลักษณ์หนึง่ ด้วยเช่นกัน สิง่ เหล่านี้ คือเสรีภาพทางวัฒนธรรมทีเ่ ราต้องเรียนรูค้ วามแตกต่าง ยอมรับความหลากหลาย และจ�ำเป็นต้องปกป้องรักษาไว้ เพราะนีอ่ าจเป็นหนทางเดียวทีพ่ ลเมืองโลกจะหยุดยั้ง ความรุนแรงที่รอปะทุอยู่ในอนาคตอันใกล้นี้ได้เท่าทัน

ยามซากุระร่วงโรย 5 Centimeters Per Second มาโคโตะ ชินไค เขียน | ณรรมล ตั้งจิตอารี แปล ส�ำนักพิมพ์อนิแม็กบุ๊คส์ แทนทีเ่ ราจะได้กลิน่ ซากุระ กลับเป็นความเหงาทีล่ อ่ งลอยเข้ามา ชายหนุม่ คนหนึ่งกับรักครั้งแรกมิรู้ลืมในวัยเด็ก เขาพรากจากเธอหลายปีและโหยหาจะได้ กลับมาพบตามค�ำสัญญาอีกครั้ง พบกับความสัมพันธ์ที่เวลาไม่ช่วยเยียวยาอะไร หากเหวีย่ งทัง้ คูอ่ อกไปห่างไกลจากชีวติ กันและกัน ภายใต้บรรยากาศเจ็บปวดชนิด ชวนอึดอัด กลับท�ำให้เราได้ทบทวนถึงอดีตตัวเองว่าเคยท�ำหัวใจของใครหล่นหาย ไปบ้างไหมในวัยเยาว์ นวนิยายเล่มนีท้ ำ� ให้ชวั่ ขณะทีก่ ลีบดอกซากุระร่วงหล่นสูพ่ นื้ กลายเป็นช่วงเวลาสุดเศร้าแสนสั้นอันเนิ่นนาน หนังสือเล่มนี้เรียบเรียงใหม่จาก ภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม รางวัล Asia Pacific Screen Awards ปี 2550 และรางวัลชนะเลิศ Lancia Platinum ณ เทศกาล Future Film Festival ปี 2551

“เสด-ถะ-สาด ฉบับชีวิตรัก” [เสด-ถะ-สาด].com เขียน ส�ำนักพิมพ์ SidEA "ความรัก" สามารถมองผ่าน “แว่น” ของความรู้ในหลากหลายแขนง ตั้งแต่ชีววิทยา จิตวิทยา รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษาศาสตร์ จนถึงเศรษฐศาสตร์ ซึ่งบางสาขาความรู้ก็ได้พัฒนาการศึกษา “ความรัก” ขึ้นมาจนแทบจะกลายเป็น “ศาสตร์” หนึ่งเลยทีเดียว “เสด-ถะ-สาด ฉบับชีวิตรัก” คือ หนังสือรวมบทความเกี่ยวกับ “ความ รัก” จาก [เสด-ถะ-สาด].com (www.setthasat.com) เวบไซต์เศรษฐศาสตร์ยอด นิยมของเมืองไทย ที่พยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ในชีวิตของผู้คนผ่าน มุมมองของเศรษฐศาสตร์ ด้วยภาษาที่สนุกและการร้อยเรียงที่ชวนติดตาม และ ท�ำให้รู้สึกว่า เศรษฐศาสตร์ไม่ใช่เรื่องของตัวเลข/ก�ำไร/ขาดทุนแต่เพียงอย่างเดียว เศรษฐศาสตร์ไม่ใช่เพียงศาสตร์ที่ไกลตัวและไร้จิตใจ หากแต่เศรษฐศาสตร์เป็น เรื่องของการอธิบายความสัมพันธ์ในสังคม เป็นเรื่องใกล้ตัวและวนเวียนอยู่กับ ชีวิตเราตลอดเวลา อ่านรีวิว หนังสือรวมเรื่องสั้น “กลับบ้านก่อนค�่ำ และสระว่ายน�้ำหลังเที่ยงคืน” โดย เคอิ มิยามะ และ ปราบดา หยุ่น


1

ม(า)นุษย์โรแมนติก

ธเนศ วงศ์ยานนาวา | ศยาม

2

ยูโทเปียช�ำรุด

3

ประวัติศาสตร์ปรัชญา ฉบับกะทัดรัด

4

ตอบโจทย์ประเทศไทย

5

เขียนหญิง: อ�ำนาจ โยนีและการเขียนของลึงค์

6

เสียงพูดสุดท้าย ’รงค์ วงษ์สวรรค์

7

ลึกลับ.โตเกียว.เรื่องสั้น.

8

เก้าเรื่องสั้น

9

ปรัชญาประโลมใจ

10 โต๊ะก็คือโต๊ะ

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา | เม่นวรรณกรรม

ไนเจล วอร์เบอร์ตัน | ไต้ฝุ่น

ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา | openbooks 

ธเนศ วงศ์ยานนาวา | Unfinished Project

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ | บางล�ำพู

ฮารูกิ มูราคามิ | ก�ำมะหยี่

เจ.ดี. ซาลินเจอร์ | Lighthouse 

Alain de Botton | Enlighten

ปีเตอร์ บิคเซล | Writer

11 ประชาธิป ไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง 12 เมตามอร์โฟซิส

ธงชัย วินิจจะกูล | ฟ้าเดียวกัน

ฟรันซ์ คาฟคา | สามัญชน

13 การศึกษาและสาระส�ำคัญของชีวิต 14 อะไรท�ำให้คุณไม่ใช่พุทธ

กฤษณมูรติ | มูลนิธิอันวีกษณา

ซองซาร์ เคียนเซ | สวนเงินมีมา

15 ไอออน บทสนทนาว่าด้วยแรงดลใจของกวี 16 ความรักและปีศาจตัวอื่นๆ

เพลโต | ๑๐๐๑nights editions

กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ | บทจร

17 กลับบ้านก่อนค�่ำ และสระว่ายน�ำ้ หลังเที่ยงคืน 18

ปราบดา หยุ่น | ไต้ฝุ่น

MAX WEBER วิถีแห่งการบ�ำเพ็ญตบะและอาชีพการเมือง  ธเนศ วงศ์ยานนาวา | ศยาม

19 Okinawa Holiday

ปาลิดา พิมพะกร | Sunday Afternoon

20 จะเป็นผู้คอยรับไว้ ไม่ให้ใครร่วงหล่น

เจ.ดี. ซาลินเจอร์ | Lighthouse

จากอันดับขายดีของร้าน Bookmoby Readers’ Café ในช่วงปีที่ผ่านมา คงไม่มีอะไรโดดเด่นมากเท่าผลงานของบุรุษผม ยาวนามว่า “ธเนศ วงศ์ยานนาวา” ที่มีหนังสือติด TOP 20 ถึง 3 เล่ม และ ม(า)นุษย์โรแมนติค ติดอันดับ 1 แซงหน้าผลงานของนักเขียน และนักวิชาการชื่อดังหลายต่อหลายคน ก่อนหน้านี้สัก 10 ปี ธเนศ วงศ์ยานนาวา คงไม่ใช่ชื่อที่จะ คุน้ หูใครนอกจากลูกศิษย์ลกู หาของธเนศ นักอ่านทัว่ ไปคงแทบไม่เคย ได้ยินชื่อ ธเนศ วงศ์ยานนาวา หรือกระทั่งคุ้นหูกับนามปากกา ธนา วงศ์ญาณณาเวช ผู้เขียน “วิจารณ์” ภาพยนตร์ได้อย่างปวดเศียร เวียนเกล้าและไม่สจู้ ะเกีย่ วกับภาพยนตร์เท่าไร ในสายตานักวิจารณ์ ทั่วไป แม้ความนิยมในงานของธเนศจะปรากฏหลังรัฐประหาร 2549 แต่การเมืองดูจะไม่ใช่ค�ำตอบเพราะงานของธเนศก็ดูจะเป็น งานวิชาการในท้องตลาดหนังสือไทยที่ห่างไกลการเมืองไทยที่สุด กระแสของการเอานักวิชาการน้อยใหญ่ไปออกสือ่ ทีต่ อ่ เนือ่ ง และขยายตัวจนถึงทุกวันนี้ก็ดูจะไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกับชื่อเสียงของ ธเนศ เพราะธเนศน่าจะเป็นนักวิชาการคนหนึ่งที่ไม่เคยออกโทรทัศน์ เลยแม้แต่ครั้งเดียว การขยายตัวของการใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บเครือข่าย สังคมก็ดจู ะไม่ใช่คำ� อธิบายทีด่ นี กั เพราะธเนศก็ไม่ใช่นกั วิชาการทีจ่ ะ มีปฏิสมั พันธ์กบั สาธารณชนหรือมีขอ้ เสนอต่อสาธารณะผ่านช่องทางนี้ บ่อยๆ (ปรากฏการณ์ “ถาม-ตอบปัญหากับ ธเนศ” ในกลุม่ เฟซบุค๊ ก็ดู จะเป็นสิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงปลายปี 2556) ดังนัน้ อะไรเล่าคือสิง่ ทีท่ ำ� ให้ ธเนศ วงศ์ยานนาวา กลายมา เป็นนักวิชาการ “เซเลบฯ” ในช่วงไม่ถึงทศวรรษที่ผ่านมา ค�ำตอบของความฮิตต่องานธเนศดูจะเกิดจาก “ตลาด นักอ่านที่มองไม่เห็น” ที่มีมาตลอดในไทย กล่าวคือ มีความต้องการ อ่านงานต่างๆ ในประเด็นที่ธเนศเขียนนั้นมีอยู่แล้วในไทย เพียงแต่ ไม่มีใครเขียน (เพศ, ผู้หญิง, อาหาร, ฯลฯ) ในทางเดียวกัน การสั่งสม บารมีของธเนศผ่านการสอนหนังสือในแบบที่ไม่เหมือนใครมาอย่าง ต่อเนื่องกว่า 20 ปียังได้สร้างฐานผู้อ่านให้กับงานประเภทนี้อย่าง มหาศาล ยิ่งไปกว่านี้ถ้ามองในส่วนผลงาน งานเก่าๆ ของธเนศก็ยัง สามารถถูกอ่านทุกวันนี้ได้อย่างร่วมสมัยและ “สดใหม่” อยู่ตลอด และนี่คือที่มาของปรากฏการณ์ธเนศ วงศ์ยานนาวา

อ่านบทความ ว่าด้วย “เขียนหญิง”

19


พื้นที่นี้เปิดรับงานเขียนสร้างสรรค์ ความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 (พิมพ์เป็นไฟล์ Word ขนาดตัวหนังสือ 14 พอยท์) ส่งมาให้ทีมงานพิจารณาที่ contact@bookmoby.com ภาพประกอบ Jira Koo

ชุติเดช ยารังษี

20

ฉันชอบมันอย่างไม่มีเหตุผลใดมารองรับอารมณ์หลงใหลอันรุนแรง นี้ได้หมดสิ้น มันสวยงามเกินความปรารถนาลึกล�้ำจากภายในจะเอ่ยถ้อยค�ำ ปฏิเสธ ความปรารถนาด�ำมืดกระซิบบอกฉันให้ต้องท�ำอะไรสักอย่างแล้ว เวลาฉันจ้องมองมันอย่างเพ่งพินิจ ให้ตายสิ มันช่างน่าทะนุถนอมเสียนี่กระไร ฉันอยากครอบครองมันไว้แต่เพียงผู้เดียว ทว่าฉันจะท�ำเรื่องบัดสีเช่นนั้นได้ อย่างไร มันมีเจ้าของแล้ว เจ้าของทีห่ น้าตาเหมือนมันอย่างกะแกะ และเข้ากับ มันได้ดอี ย่างเหลือเชือ่ ไม่เหมือนฉันซึง่ แตกต่างมันราวฟ้ากับเหว ใช่อย่างที่คุณ คิดนัน่ แหละ ฉันก็เป็นเพียงมนุษย์คนหนึง่ ผูม้ รี กั โลภ โกรธ หลงเช่นปุถชุ นทุกผู้ ทุกคนบนผืนพิภพ เพียงความรักของฉันออกจะรุม่ ร้อนรุนแรงไปหน่อยเท่านัน้ ฉันเคยคิดเห็นแก่ตวั อย่างร้ายกาจ คิดฉกฉวยขโมยมันมาเป็นของตนตลอดกาล ฆ่าเจ้าของมันเสียสิ: ก้นบึง้ แห่งก้นบึง้ แห่งก้นบึง้ ของหัวใจฉันออกค�ำสัง่ กังวาน ทว่าร่างกายกลับยังภัคดีไม่ไหวติง มันไม่ยอมท�ำตามค�ำสัง่ ระย�ำในทันทีทนั ใด ฉันคงต้องติดคุกหัวโตข้อหาฆ่าผู้อื่นตายโดยเจตนาถ้าคิดกระท�ำการอุกอาจ โจ่งแจ้ง ศาลคงไม่ฟังค�ำแก้ตัวหน้าด้านหน้าทนของฉันหรอกคุณ เชื่อขนมกิน ได้เลย ได้โปรดอย่าเข้าข้างคนอย่างฉันเลยนะ ขอร้อง ฉันควรยกเหตุผลใดมา เอ่ยอ้าง คุณจึงจะเข้าใจว่าฉันรักมันอย่างหักห้ามใจไม่ได้แม้แต่วนิ าทีเดียว เรือ่ ง นี้มันน่าตลกขบขันไม่น้อยเลยใช่ไหม ในเมื่อโลกนี้ยังมีมันและมันและมันอีก มากมายให้ฉันเลือกนิยมชมชอบตามใจอยาก หากฉันกลับไม่เคยคิดสนใจใน มันเหล่านัน้ มาก่อน ฉันสนเพียงมัน—มันเพียงผูเ้ ดียว! ฉันไม่เคยท�ำใจรับรักมัน คนอืน่ แล้วริทรยศต่อความรูส้ กึ ตัวเองได้สกั ครัง้ แม้พยายามกีห่ นก็ไม่เคยชนะ ฉันเคยเป็นคนมีตรรกะในชีวติ ชนิดเหลือล้น มีเหตุผลอยูเ่ หนือจิตใต้สำ� นึก หาก ประหลาดเหลือเกิน คราวเจอมันครัง้ แรก ฉันกลับเปลีย่ นจากหน้ามือเป็นหลัง ตีน ฉันกลายเป็นคนเต็มเปีย่ มด้วยจินตนาการยามดึก ยามคิดถึงมันนัน่ แหละ และเมื่อพบเจอมันเข้าโดยบังเอิญที่ไหนสักแห่ง อารมณ์ความรู้สึกภายในก็ พลันพรัง่ พรูเอ่อล้นรุมเร้า มันทะลักออกมาเป็นท่วงท�ำนองความห่วงหาอาลัย อาวรณ์ ถึงขั้นเสียสติชั่ววูบชั่วขณะ ตกลงฉันคลั่งไคล้มันเข้าจริงๆ แล้วหรือนี่ ฉันอยากจับมันเข้ามาซุกกอด เล้าโลม และสูดกลิ่นหอมเย้ายวนใจนั่นให้หาย คิดถึง ฉันอยากหอมแก้มมันฟอดใหญ่ดว้ ยนะคุณ—จริงๆ แล้วฉันอยากกินมัน ไปทั้งตัว แต่อีกใจหนึ่งก็ไม่อยากท�ำร้ายมันให้ได้รับแม้แต่รอยขีดข่วน ฉันอยากดูแลมันอย่างทะนุถนอม มอบรักอันละมุนละไมให้มนั ตราบชั่วฟ้าดินสลาย หรือฟ้าผ่าตายกันไปข้างหนึ่ง

ฉันได้แต่อดทนและกลัน้ ใจ เพิง่ ตระหนักว่าการใฝ่ปองอะไรสักอย่างมันทรมานเจียน ชักดิน้ ชักงอแบบนีน้ เี่ อง พอรูส้ กึ รันทดกับชีวติ อันอับเฉา ฉันก็รอ้ งไห้คร�ำ่ ครวญปาน คนบ้า ขณะเสียงฟ้าร้องค�ำรามน่ากลัว หัวใจฉันพลันตะโกนตอบโต้ไม่ต่างจากสัตว์ ร้ายผู้โกรธเกรี้ยว รู้สึกอยากฆ่าคนบนฟ้า ผู้บันดาลพรหมลิขิตบ้าบอให้คนอย่างฉัน ต้องประสบพบเผชิญ จนเจ็บปวดใจกายเจียนตายเจียนคลั่ง จวบน�ำ้ ตาหยดสุดท้าย แห่งค�ำ่ คืนสับสนแห้งเหือด ฉันจึงตัดสินใจใหม่อกี ครัง้ มันเป็นการตัดสินใจทีเ่ ข้าท่าทีเดียว ฉันจะเอามันมาเป็นของฉันให้ได้ คอยดูสิ ฉันจะหล่อหลอมรวมมันเป็นหนึง่ เดียวกับ เลือดเนื้อและผิวหนังของฉันให้จงได้ ปรารถนาให้ มั น อยู ่ ใ นอณู ขุ ม ขน ปะปนขน ทุกเส้นในกาย ยามฉันสะบัดผม มันต้องเริงร่าพลิ้วสลวยพร้อมฉันเสมอ ยามฉันขี้ เยี่ยว มันต้องยอมจ�ำทนสูดกลิ่นไม่พึงประสงค์พร้อมฉันด้วยเช่นกัน มันต้องอยู่กับ ฉันตราบชัว่ กัลปาวสาน ฉันครุน่ คิดล�ำดับเหตุการณ์อย่างถีถ่ ว้ น แล้ ว ตั ด สิ น ใจออก เดินทางสู่ความมืดมิด บังคับยานพาหนะอย่างเร่งรีบ จนหยุดจอดอยู่ ณ จุดหมาย ปลายทาง ฉันหยุดหายใจหอบ สูดลมหายใจเข้า ถอนลมหายใจออก พักเหนื่อยชั่ว ครู่หน้าบ้านหลังใหญ่ซึ่งมันพักอาศัยอยู่ ก่อนย่องเบาเข้าหามันที่ก� ำลังหลับปุ๋ยไม่ ได้สติอย่างเชื่องช้า เจ้าของมันคงก�ำลังอยู่ในภวังค์นิทรารมณ์ไม่รู้เนื้อรู้ตัวเช่น กัน ฉันยิ่งโกรธเกรี้ยว ความเกรงกลัวหดหายอย่างรวดเร็ว กล้าหน่อย กล้าอีกนิด: ฉันบอกตัวเองเป็นร้อยเป็นพันรอบ ถ้าหากเจ้าของมันเกิดดันโผล่ออกมาไม่ถกู จังหวะ ฉันคงได้ดงึ มีดพกออกจากฝัก แล้วกระหน�ำ่ แทงหัวใจเขาตายเสียให้รแู้ ล้วรูร้ อด ทันใด นั้นฉันได้ยินเสียงการเคลื่อนไหว เป็นอย่างที่คาดคิดไว้ไม่มีผิด เจ้าของมันรับรู้ถึง การปรากฏตัวโดยไม่ได้นัดล่วงหน้าของฉันแล้ว ฉันลังเลอย่างไม่เคยลังเลมาก่อน ตัดสินใจแน่วแน่อีกหน วิ่งเข้าประชิดตัว กระหน�่ำแทงมีดเล่มเล็กจ้วงทะลวงอกซ้าย เจ้าของมันไม่ยั้งมือ เลือดสดๆ พุ่งกระฉูดกระเด็นโดนหน้า แทนที่จะแสยะยิ้มสะใจ ฉันกลับตื่นตระหนกอย่างหนัก มือไม้สั่นเทา ก่อนลมหายใจเฮือกสุดท้ายของเขาจะ ขาดห้วง ดวงตาคูน่ นั้ เบิกโพลงมองฉันด้วยแววอาฆาตราวเนตรปีศาจ ดัง่ ม่านกระจก สะท้อนให้รสู้ กึ สะทกสะท้าน ฉันเห็นภาพน่าสมเพชของตนเองฉายชัดในดวงตาของ เขา ในภาพนั้น ดวงตาฉันแดงก�่ำดุจสีเลือด เบิกกว้างราวซาตานร้ายเพิ่งคลานขึ้น จากหลุมนรกใหม่หมาด แล้วผุดสูโ่ ลกมนุษย์สำ� หรับการสร้างบาปเพือ่ สัง่ สมบุญ ช่าง มันเถอะ ฉันไม่มีเวลาหวาดหวั่นสั่นกลัวต่ออีกแม้แต่วินาทีเดียว ไม่มีเวลาเช็ดเลือด แดงฉานบนใบหน้าตัวเองด้วยซ�้ำ ฉันจ�ำเป็นต้องพามันกลับไปพร้อมกันเดี๋ยวนี้ ฉัน ต้องหาทีซ่ อ่ นตัวหลบความผิดก่อนถึงรุง่ เช้า เสียงนาฬิกาแขวนผนังโบราณตีบอกเวลา หกนาฬิกาห้านาที เสียงเพลงฟังดูเศร้าสลดคล้ายท�ำนองสวดศพ ฉันหันมองโดยรอบ อย่างไม่เชือ่ สายตา ความสลัวรางเลือนใกล้ถกู แสงแรกแห่งอรุณปกคลุม ฉันหลุดเสียง อุทาน มันอยู่ไหน มันหายไปไหน มันหายไปได้อย่างไร: ฉันวิ่งวนทั่วบริเวณนับสิบ รอบ สุ่มเสียงความสับสนวิ่งวุ่นในใจแข่งกับเสียงฝีเท้า และแล้วมือข้างที่เปื้อนเลือด ก็ปล่อยมีดปลายแหลมตกพื้นดังเคร้ง ฉันตัวสั่นงกงัน สติสัมปชัญญะกระโดดหนี ออกจากร่าง แท้จริงมันกับเจ้าของมัน—รวมเป็นหนึง่ เดียวกันมาโดยตลอด หนึง่ เดียว ผูไ้ ม่เคยพรากจากกันชั่วนิจนิรันดร์ และถึงแม้ความตายได้พรากเจ้าของมันไปอย่าง ไม่มวี นั หวนกลับ ฉันก็ยงั เอามันมาเป็นของฉันไม่ได้อยูด่ ี พลางหันสบตาเงาสะท้อน น่าเกลียดของคนหลงตัวเองในกระจกบานยาวซึง่ ตัง้ วางอยูบ่ ริเวณมุมห้อง นั้นอย่างพอเหมาะพอเจาะ แล้วทรุดตัวลงนั่งกอดเข่า ปล่อยโฮ และกรีดร้อง ไม่—ไม่จริง: ที่ผ่านมาใครๆ ก็พูดเป็น เสียงเดียวกันว่า ฉันมันอัปลักษณ์ที่สุดในโลก


21

ปกหนังสือ จนกว่าเราจะพบกันอีก ฉบับพิมพ์ปี 2496 นวนิยายขนาดสั้นของ ศรีบูรพา ที่ยอมรับกันว่าเป็นจุดเริ่มของนวนิยาย “เพื่อชีวิต”

ภาพจากหนังสือ คืออิสสรชน คือคนดี คือศรีบูรพา เนื่องในโอกาส 100 ปีชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) โดย คณะอนุกรรมการฝ่ายจัดพิมพ์หนังสือที่ระลึก พ.ศ. 2548 ดร. ตรีศิลป์ บุญขจร บรรณาธิการ


เรื่องและภาพ ปาลิดา พิมพะกร (instagram.com/foneko) นางแบบ ฉัตรรวี เสนธนิสศักดิ์

“คนทีม่ านัง่ คนเดียวค่อนข้างเยอะ คนทีม่ าคนเดียวจะนัง่ เคาน์เตอร์บาร์ดา้ นหลัง ตอนแรกก็คิดว่าจะเป็นปัญหาหรือเปล่า เพราะไม่เคยเห็นว่าคนไทยจะชอบนัง่ คนเดียว แต่ปรากฏว่าคนที่เค้ามากับหนังสือ เค้าก็ จะนั่งคนเดียว หรือถ้านั่งโต๊ะใหญ่ แล้ว คนมาเยอะ คุณลูกค้าก็นา่ รัก เค้าก็แชร์กนั ท�ำให้ได้อ่านหนังสือและได้เพื่อนใหม่”

22

“ลิตเติ้ล สปูน” คาเฟ่ขนาดเล็กที่แสนจะเรียบง่ายและ นั่งสบายแห่งนี้ เป็นเสน่ห์ที่หลบซ่อนจากความวุ่นวาย ของถนนอโศก คุณสรวง-กมลสรวง มานะวงศ์สกุล เจ้าของร้าน เล่าให้ฟังว่า เธอเคยเปิดร้านไอศกรีมโฮมเมดขนาดเล็กแถว มหาวิทยาลัย ก่อนที่จะย้ายโลเคชั่นและพัฒนาเป็นคาเฟ่ที่มี ทัง้ เมนูขา้ ว ขนม ไอศกรีม และเครือ่ งดืม่ ทีใ่ ห้บรรยากาศสไตล์ ญี่ปุ่น โดยมีเธอเป็นผู้เริ่มต้นและออกแบบเองทุกสิ่งอย่าง ภายในร้านใช้สีขาว เฟอร์นิเจอร์ไม้สีโทนธรรมชาติ ไม่มีของตกแต่งรุงรัง บวกกับกระจกบานกว้างที่แสงแดดส่อง ลอดเข้ามาได้เต็มทีห่ รือมองออกไปเห็นต้นไม้เขียวๆ ด้านนอก ท�ำให้ “ลิตเติ้ล สปูน” อบอวลไปด้วยบรรยากาศอบอุ่น น่านั่ง อ่านหนังสือ ฟังเพลงเบาๆ กินขนมอร่อยๆ ในวันทีไ่ ม่ตอ้ งเร่งรีบ นอกจากไอศกรีมโฮมเมดที่มีให้เลือกหลายรส ยังมี Iced Matcha Latte เป็นเมนูเครื่องดื่มยอดนิยมของร้าน ส่วน Americano Pure Vanilla Float ก็น่าจะเป็นที่ชื่นชอบส�ำหรับ

คุณผูช้ าย และทีต่ อ้ งไม่พลาดด้วยประการทัง้ ปวง ส�ำหรับเพือ่ นๆ ที่จะแวะมาทานมื้อเที่ยงด้วย เราขอแนะน�ำเมนูข้าวปลาซาบะ ย่างในซอสมิโซะ (Grilled Saba with Miso Sauce) และตบ ท้ายด้วยของหวานอย่าง Strawberry Fresh Cream Waffle ที่ ทุกคนจะต้องตกหลุมรัก ส�ำหรับคนทีอ่ ยากแวะมาชิมขนมและอ่านหนังสือ คุณ สรวงแนะน�ำว่าวันธรรมดาช่วงบ่ายสองเป็นต้นไป หรือวันเสาร์ อาทิตย์ตั้งแต่เปิดร้านจนถึงบ่ายสอง ซึ่งเป็นช่วงเวลาเงียบๆ ที่ จะท�ำให้คุณสบายอารมณ์และสบายใจอย่างแน่นอน

สุขุมวิท 21 ซอย 3 (รถไฟฟ้า BTS สถานีอโศก ทางออก 3 เดิน 10 นาที) โทร. 0879839001 เปิดวันอังคาร - วันอาทิตย์ เวลา 10.00 - 21.00 น. (วันศุกร์และเสาร์ปิดเวลา 22.00 น.) อีเมล: cafelittlespoon@gmail.com เฟซบุ๊ค: facebook.com/cafelittlespoon




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.