ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
สาขา
วรรณศิลป์
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
พระเดชวโรภุกข (อินตา กวีวงศ์์) ( วรรณกรรมพื้นบ้าน )
ภูมิลำ�เนาเดิม เกิดวันที่ 13 กันยายน 2468 ปัจจุบันอายุ จ.ร้อยเอ็ด 85 ปี ที่บ้านกุดกว้าง ต.กุดกว้าง อ.เมือง จ.ขอนแก่น เป็นบุตร ในปี พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัด ของ นายเสา นางทองสี กวีวงศ์ มีพี่น้อง 6 คน (ถึงแก่กรรม) สะอาดสมบูรณ์ สอนนักธรรมตรี โท เอก เป็นกรรมการอบรมชาว บ้านประจำ�ตำ�บลสะอาดสมบูรณ์ รางวัลและผลงาน ประวัติ ปี พ.ศ. 2483 จบประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียน ธาตุกุดกว้าง (สมัยใช้ศาลาวัดเป็นโรงเรียน) พ.ศ. 2541 เขียนหนังสือเรื่อง นิทานท้าวเสียวสวาสดิ์ - ปี พ.ศ. 2485 บรรพชาเป็นสามเณร สอบได้นักธรรม พ.ศ. 2542 เขียนหนังสือเรื่อง นิทานนางผมหอม คำ� ชั้นเอก กลอนโบราณอีสาน เขียนหนังสือเรื่อง นิทานท้าวนกกระจอก คำ� - ปี พ.ศ. 2489 อุปสมบทเป็นพระ ที่วัดบ้านกุดกว้าง กลอนโบราณอีสาน เขียนหนังสือเรื่อง นิทานท้าวขุนทึก ขุนเทียง และเป็นครูสอนปริยรรตธรรม 5 ปี คำ�กลอนโบราณ ภาคอีสาน พ.ศ. 2543 เขียนหนังสือเรื่อง นานาปัญหา - ปี พ.ศ. 2473 ลาสิกขา - ปี พ.ศ. 2495 สร้างครอบครัวและมีบุตรสาว 2 คน ต่อ พ.ศ. 2548 เขียนหนังสือเรื่อง ท้าวจักรษิณพรหมริน เขียน มาในปี พ.ศ. 2512 ภรรยาเสียชีวิต หนังสือเรื่อง นิทานสุริยะคราส จันทรคราส เขียนหนังสือนิทา - ปี พ.ศ. 2513 สร้างครอบครัวและมีบุตรชาย 1 คน ที่ นอื่นๆ อีกกว่า 80 เรื่อง อาทิ ผาแดงนางไอ่ จำ�ปาสี่ต้น ปลาบู่ บ้างสะอาดสมบูรณ์ อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด มีบุตรชาย 1 คน ปี พ.ศ. ทอง พระอภัยมณี รามเกียรติ์ นางประกายแก้ว ท้าวโสวัตร แก้ว หน้าม้า ท้าวกำ�กาดำ� ท้าวคัดทะนาม จันทโครบ ทำ�นายโลกพระ 2534 ภรรยาเสียชีวิต ปี พ.ศ. 2536 อุปสมบทที่วัดสะอาดสมบูรณ์ อ.เมือง สีอาน พระสีอานมาเป็นเจ้าโลก ฯลฯ
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
นายป่วน เจียวทอง
( ประเภทหัตกรรมพื้นบ้านเครื่องเงินโบราณ )
สาขา
ศิลปะการแสดง
นายป่วน เจียวทอง อายุ 68 ปี เกิดเมื่อวันที่ 1 เดือนตุลาคม พุทธศักราช 2484 ที่บ้านโชค อำ�เภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สำ�เร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนเขวา และ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์เมื่อ พุทธศักราช 2548 นายป่วน เจียวทอง เริ่มฝึกทำ�เครื่องทองรูปพรรณตั้งแต่ อายุ13 ปี จากพี่เขยและเริ่มเรียนรู้ที่จะประยุกต์การทำ�เครื่องทอง มาเป็นเครื่องเงิน โดยยึดแบบโบราณและวิธีการทำ�แบบดั้งเดิมของ หมู่บ้านโชคที่สืบต่อมาแต่โบราณ ฝีมือการทำ� “ประเกื๊อม” หรือ “ประคำ�” ที่ทำ�จากฝีมือของป่วน เจียวทองนี้ มีลวดลายวิจิตร บรรจง แสดงให้เห็นถึงความละเอียด ความประณีตและความ อุตสาหะของผู้ทำ�อย่างเห็นได้ชัดผลงานภาคภูมิใจที่สุดคือ เข็มขัด เงินที่ทำ�ขึ้นพิเศษมีลวดลายไม่ซ้ำ�กันถึง 20 ลวดลายในเส้นเดียว ซึ่ง ทำ�ไว้ 2 เส้นเพื่อขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี และพระองค์ได้พระราชคืนเก็บไว้ 1 เส้น เพื่อให้เป็น มรดกแผ่นดินและให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
นายป่วน เจียวทอง เป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการสร้างงาน หัตถกรรมพื้นบ้าน โดยรักษารูปลักษณ์ดั่งเดิมไว้ได้อย่างสวยงามและ สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชน จนได้รับรางวัล “คนดีศรีเมืองช้างจังหวัด สุรินทร์” จากสภาวัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร์ รวมถึงรางวัล “ผู้สร้าง ชื่อเสียงให้กับจังหวัดสุรินทร์” ด้วยการถ่ายทอดประสบการณ์การ ทำ�เครื่องเงินโบราณให้กับเยาวชนและผู้ที่สนใจทั่วไป โดยการเป็น วิทยากรฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาความรู้ แบะทักษะการเป็นช่างเครื่องเงินของจังหวัดสุรินทร์ มาโดยตลอด และได้เข้าร่วมสาธิตและแสดงผลงานในงานเทศกาลวิถีชีวิตชาวบ้าน ของสถาบันสมิธโซเนียน “เรื่องแม่น้ำ�โขง” : เชื่อมสายใยวัฒนธรรม “ณ กรุงวอชิงตันดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับรางวัลบุคคล ผู้ทำ�ประโยชน์แก่กระทรวงแรงงานจากกระทรวงแรงงานใน พ.ศ. 2551 นายป่วน เจียมทอง จึงได้รับได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินมรดกอีสานสาขาทัศนศิลป์ ประเภทหัตถกรรมพื้นบ้าน (เครื่อง เงินโบราณ) ประจำ�ปีพุทธศักราช 2552จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
นายสมาน หงษา ( ลำ�กลอน )
ภูมิลำ�เนาเดิม บ้านดงบาก ตำ�บลหนองแสงใหญ่ อำ�เภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2485 ปัจจุบันอายุ 68 ปี ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้าน ดงบาก ตำ�บลหนองแสงใหญ่ อำ�เภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี อาชีพ หัวสำ�นักงานสมานหงษา รองนายกสมาคมหมอลำ�ถู ทาบริการ เลขานุการสามพันธ์สามคมหมอลำ�แห่งประเทศไทย รางวัลและผลงาน ปี พ.ศ. 2525 ปี พ.ศ. 2528 และ ปี พ.ศ. 2529 ได้รับโล่เกียรติยศ ชนะเลิศการประกวดหมอลำ�หมู่ ใน งานกาชาดและงานประจำ�ปี ที่ทุ่งศรีเมือง จากผู้ว่าราชการจังหวัด อุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2531 ได้รับโล่เกียรติยศ ชนะเลิศการแต่ง กลอนหมอลำ� เรื่องการป้องกันควบคุมโรคท้องถิ่น ของสำ�นักงาน สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี จากนายอุทัย สุดสุข อธิการ ดีกรมควบคุมโรคติดต่อ ปี พ.ศ. 2536 ได้รับโล่รางวัลชนะเลิศ ประกวดลำ�กลอน เนื่องในงานประประกวดการแสดงพื้นบ้านโดย สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ร่วม มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม จาก นายสมคิด โชติกวนิชย์ เลขาธิการกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2536 ได้รับโล่เกียรติยศ จากการประกวดหมอลำ�
กลอนเพื่อการพัฒนา โดยกรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย จาก ฯพณฯ นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ รัฐมนตรีประจำ�นักนายกรัฐมนตรี ณ ศูนย์ประชาสัมพันธ์เขต 2 ปี พ.ศ. 2537 ได้รับโล่เกียรติยศ ผู้มีผลงานดีเด่น สาขาภาษาและ วรรณกรรรม (แต่งกลอน) ของสถาบันวิจัยศิลปวัฒนธรรมอีสาน ปี พ.ศ. 2537 ได้โล่เกียรติยศ ผู้ชนะเลิศการประกวดลำ�กลอนเรื่อง งาน ประกันสังคม ของสำ�นักงานประกันสังคม ร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์ จาก ฯพณฯ เสริมศักดิ์ การุณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคม ณ ศูนย์ประชาสัมพันธ์ 1 ปี พ.ศ. 2539 ได้รับ โล่เกียรติยศชนะเลิศการประกวดหมอลำ�กลอนแห่งประเทศไทย ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จัดโดยสำ�นักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ ผลงานด้านหมอลำ�ที่บันทึกเสียงเป็นเทป แผ่นเสียงและซีดี เช่น หมอลำ�หมู่ เรื่อง แม่เฒ่ากัลป์ลูกเขย แม่ฮ้างสามผัวเจ้าหัวสาม โบสถ์ สากกะเบือล้างแค้น (เมียซาอุ) ลำ�เต้ย ชุดหัวหงอกหยอกสาว ชุดตื่นแมว ชุดปลาบู่พี่อ้ายตลก ชุดเจ้าภาพขี้ตั๋ว หมอลำ�มักย่อง ชุดตี ท้ายครัว ชุดหมอลำ�สัมมะปิ ชุดเว้านิทานดังแหมบปล้นเมียลำ�กลอน ชุดท้าวขุนกลม ชุดประวัติศาสตร์เมืองเวียงจันทน์ บันทึกซีดีที่ประเทศอังกฤษ ชุดประวัติศาสตร์เมืองจันทน์
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
นายสังวาล ผ่องแผ้ว ( หุ่นกระบอกอีสาน )
ภูมิลำ�เนาเดิมเกิดที่ตำ�บลหนองเรือ อำ�เภอหนองเรือ จังหวัด ขอนแก่น เกิดเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2492 ปัจจุบัน 61 ปี ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนสนามบิน ตำ�บลเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อาชีพ รับแกะสลักและทำ�หุ่นกระบอก รับงานแสดงหุ่น กระบอก และรับฝึกสอนดนตรีและการเชิดหุ่นให้นักเรียน รางวัลและผลงาน ปี พ.ศ. 2540 ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้าน การแสดงหุ่นอีสาน จากสมเด็จพระเพทรัตนราชสุดาฯสยามบรม ราชกุมารี ปี พ.ศ. 2547 โล่สุดยอดศิลปะพื้นบ้านอีสาน สาขาการ แสดง จากมหาลัยขอนแก่น ปี พ.ศ. 2548 เกียรติบัตรฝึกสอน นักเรียนเชิดหุ่น และทำ�หุ่นในโรงเรียน จากโรงเรียนชุมชนหนองเรือ อำ�เภอหนองเรือ จังหวัดแขนแก่น และเกียรติบัตรฝึกเป่าแคนฝึก ซ้อมให้นักเรียน จากโรงเรียนบ้านเหล่าประชานุเคราะห์อำ�เภอ หนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ปี พ.ศ. 2548 เกียรติบัตรโครงการ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น จากสภาวัฒนธรรม อ.หนองเรือ จ.แขน แก่น ปี พ.ศ. 2551 ได้รับโล่เชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน จาก สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลงานในปี พ.ศ. 2510 ตั้งวงหนังตะลุงเป็นของตนเอง ปี พ.ศ. 2526 ทำ�หุ่นกระบอกอีสาน เป็นคณะแรกของภาคอีสาน ปี พ.ศ. 2534 แสดงมหกรรมรามายณะนานาชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ. 2535 แสดงหน้าพระที่นั่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ณ ศูนย์วัฒนธรรมและทูลเกล้า ฯ ถวายตัวหุ่นแด่ สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ. 2539 แสดงงาน มหกรรมหุ่นนานาชาติ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในโอกาส ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ครองสิริราชสมบัติ ครบปี 50 ปี พ.ศ. 2545 เป็นตัวแทนประเทศไทยเพียงคณะเดียว ไปแสด งงหุ่นนานาชาติศูนย์วัฒนธรรม 15 ประเทศ ปี พ.ศ. 2548 ทำ�คุณ ประโยชน์ โดยการแสดงงานสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น หุ่นกระบอก อีสาน ณ โรงเรียนขามแก่นนคร จังหวัดแขนแก่น เป็นครูฝึกการเชิด หุ่นและการทำ�หุ่นการสอนให้นักเรียนโรงเรียนขามแก่นนครและ โรงเรียนชุมชนหนองเรือ จังหวัดขอนก่น เป็น ครู ฝึกการเป่าแคน และสีซอ ให้นักเรียนบ้านเหล่าประชานุเคราะห์จังหวัดขอนแก่น และบันทึกวีดีทัศน์ “หุ่นกระบอก” ให้กับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี พ.ศ.2549 ทำ�คุณประโยชน์ โดยการสาธิตหุ่นอีสาน ให้กับนักเรียน อนุบาลสุดรัก อำ�เภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ปี พ.ศ. 2552 เผย แพร่ความรู้เรื่อง “ หุ่นกระบอกและหนังตะลุง” โดยการออกอากาศ รายการ “ไทยโชว์” ในวันที่ 9 สิงหาคม วันที่ 10 สิงหาคม วันที่ 4 ตุลาคม และวันที่ 5 ตุลาคม ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีไทย
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
นายบุญศรี พลตรี
( ดนตรีพื้นบ้าน แคน )
ภูมิลำ�เนาเดิมบ้านเลขที่ 169 หมู่ที่ 3 ตำ�บลเขื่อนอุบลรัตน์ อำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น เกิดเมื่อวันที่ 15 เดือนตุลาคม พุทธศักราช 2492 ปัจจุบัน 60 ปี ประวัติด้านการศึกษา ปี พุทธศักราช 2502 สำ�เร็จการศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านโนนจิก ตำ�บลเขื่อน อุบลรัตน์ อำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น และสำ�เร็จการศึกษาชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นในระบบการศึกษานอกโรงเรียนเป็นลำ�ดับต่อมา อาชีพนายบุญศรี พลตรี เป็นศิลปินอิสระด้านการดนตรี พื้นบ้านอีสานด้านเป่าแคนและพัฒนามาสู่การเป่าแคนในรูปแบบ ประยุกต์มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ในการทำ�หน้าที่ในด้านการ ปกครองท้องถิ่นในปี พ.ศ. 2545 ได้รับความไว้วางใจให้เป็นสารวัตร กำ�นันต่อเนื่อง 4 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 ได้รับเลือกให้เป็น กรรมการ ก.ท.ม. ในระดับหมู่บ้าน และในปี พ.ศ.2550 ถึงปัจจุบัน
ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมสภาวัฒนธรรมของอำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัด ขอนแก่น แม้ว่าจะมีบทบาทด้านอื่นแต่นายบุญศรี พลตรี ยังรับหน้าที่ เป็นวิทยากรเผยแพร่วัฒนธรรมอีสานการเป่าแคนให้กับโรงเรียนและ หน่วยงานภาครัฐมาโดยตลอด รางวัลและผลงาน ปี พ.ศ. 2517 เริ่มพัฒนาด้านแสดงดนตรี พื้นบ้านอีสานด้านการเป่าแคน ปี พ.ศ. 2524 เป็นศิลปินอิสระด้าน การแสดงการเป่าแคนและประยุกต์สู่การนำ�กลอนลำ�มาใส่ในการ เป่าแคน ปี พ.ศ. 2533 ได้รับรางวัลชมเชย จากการประกวดหมอลำ� กลอนระดับภูมิภาค จากสถานีโทรทัศน์ช่อง 4 ขอนแก่น ปี พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน มีบทบาทด้านการส่งเสริมศิลปะพื้นบ้านด้านดนตรี อีสาน โดยเฉพาะการเป่าแคน จนได้รับเชิญเป็นวิทยากรเผยแพร่ ความรู้ให้กับโรงเรียน สถาบันการศึกษา และร่วมเข้าแสดงเป่าแคน ในงานประเพณีที่สำ�คัญของท้องถิ่นและในระดับภูมิภาคมาโดยตลอด
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
นางสุนีย์ บุตรทา ( ลำ�เรื่อง )
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553
ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน 2553