แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน-ลาว

Page 1



-ว่าง-


คำนิยม ศิล ปวัฒ นธรรม เป็ น ความงดงาม เป็ น มรดกอั น ทรงคุ ณค่า เป็ น ภู มิ ปั ญ ญาที่ ส่ ง ต่ อ จากบรรพชน ทั้ ง ยั ง เป็ น เครื่ อ งหลอมคนในชุ ม ชนเพื่ อ สานสัมพันธภาพ ซึมซับซาบซึ้งจรรโลงชีวิตจิตใจตลอดมา มหาวิ ทยาลั ย ขอนแก่น ในฐานะสถาบั นอุดมศึกษา ที่ขึ้ นชื่อว่ าเป็ น “ขุมปัญญาแห่งอีสาน” ได้ทาหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานการเรียนรู้ ต่อยอด ผลงานและองค์ความรู้นานัปการด้านศิลปวัฒนธรรม ทั้งทานุบารุงประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และการละเล่นมิได้ขาด “แคน” เป็น มรดกร่ วมทางวัฒ นธรรม เป็นเครื่องดนตรีใช้ขับล านา ลากล่อม “จิตวิญญาณ” ของผู้คนจากอดีตจนปัจจุบัน องค์การยูเนสโก จึงได้ ประกาศให้ “เสี ย งแคน” เป็ น มรดกโลกทางวั ฒ นธรรมที่ จับ ต้ อ งไม่ ไ ด้ ข อง ชนชาติลาว ในโอกาสที่ม หาวิท ยาลั ย ขอนแก่ น โดยฝ่ ายการต่างประเทศ ฝ่ า ย ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ และศู น ย์ วั ฒ นธรรม ได้ จั ด โครงการ ประชุ ม สั ม มนาวิ ช าการ “ขอนแก่ น – ลาวศึ ก ษา” : “แคน” มนต์ เ สน่ ห์ ศิล ปวั ฒ นธรรมอีส าน - ลาว ในวัน พฤหั ส บดี ที่ 13 กัน ยายน พ.ศ. 2561 ถือเป็นอีกเวทีที่จะร่วมสรรค์สร้างสืบสานคุณค่าของ “ศิลปวัฒนธรรม” ให้ดารง คงอยู่ รวมถึงการต่อยอดและพัฒนา ทั้งในเชิงวิชาการและสุนทรียศาสตร์ของ วิถีชุมชนวัฒนธรรม


2

ขอขอบคุณผู้จัดงานและทุกภาคส่วนที่ได้เตรียมการ และดาเนินงาน ให้สาเร็จลุล่วง บังเกิดผลดีแก่ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างไทย – ลาว ให้วัฒนาสถาพร ทรงคุณค่า สง่างาม สืบไป รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


คำนิยม ศูนย์ข้อมูลลาว ฝ่ายการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เป็น เจ้ า ภาพร่ ว มจั ด การประชุ ม สั ม มนาวิ ช าการเรื่ อ ง “แคน” มนต์ เ สน่ ห์ ศิลปวัฒนธรรมอีสาน – ลาว อัน เป็นส่ วนหนึ่งของการสานสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างประเทศ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่ างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมรดกร่วมทางวัฒนธรรม อันจะเป็นกลไกหนึ่งที่ช่วยสร้าง สัมพัน ธภาพที่ดี ลดข้อจ ากัดของเขตแดนแห่งรั ฐ ขจัดเงื่อนไขของพรมแดน ทางการปกครอง แต่เห็นพ้องต้องกันทางศิลปวัฒนธรรม ขอให้ การจั ดงานในครั้ ง นี้ บ รรลุ เ ป้ าหมายที่ตั้งไว้ เกิดผลดีกับทุ ก ภาคส่ว น ในการร่วมกันอนุรักษ์ สื บสาน ส่ งเสริม และสร้างสัมพันธภาพที่ดี ให้แนบแน่น ยั่งยืน รองศาสตราจารย์ ทพญ. ดร.นวรัตน์ วราอัศวปติ เจริญ รองอธิการบดีฝ่ายการต่างประเทศ


คำนิยม “แล่นแตร แล่นแตร แต้ตูแล้ ตูแล่นแตร” เสียง “แคน” เซ็งแซ่ขับขาน ผสานกลอนลา เชื้อเชิญชี้นาชนชาวอีสาน – ลาวล้านช้าง มาแต่บรรพกาล หนุ่มสาวพ่อแก่แม่เฒ่าต่างเคยขับขานผสานจังหวะ ท่วงทานอง ยกแขนขยับ ให้สอดคล้องวาดลีล่าท่าฟ้อนราอยู่ มิขาด เสียงลาย “แคน” ทาหน้าที่มิขาด คลอเคล้าการ “ขับ - ลา” ทานองที่หลากหลายใต้ชายคาร่มเงาของบรรพชน เป็นภูมิปัญญาอันมีค่ามากล้นเกินจะประมาณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย ศูนย์วัฒนธรรม ได้จัดประชุมสัมมนา วิชาการ “ขอนแก่น – ลาวศึกษา” สาหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อ “แคน” มนต์ เ สน่ ห์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมอี ส าน – ลาว โดยมุ่ ง หวั ง การแบ่ ง ปั น แลกเปลี่ยน เพื่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม และสืบสานเรื่องราวของ “แคน” ให้ยั่งยืน สืบไป ในนามคณะผู้จัดงาน ขอขอบคุณทุกภาคีเครือข่ายที่เป็นกาลังสาคัญใน การร่วมเป็นเจ้าภาพ รวมถึงผู้สนับสนุนการจัดงาน วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และ ผู้เข้าร่วมการประชุมสัมมนา ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์ สืบสานและส่งต่อ คุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมคารบหนึ่ง รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์


กำหนดกำร โครงกำรประชุมสัมมนำวิกำหนดกำร ชำกำร “ขอนแก่น – ลำวศึกษำ” :

โครงกำรประชุ สัมมนำวิ – ลำวศึ “แคน” มมนต์ เสน่หช์ศำกำร ิลปวัฒ“ขอนแก่ นธรรมอีนสำน - ลำวกษำ” : “แคน” มนต์ เสน่ทีห่ ์ศ13ิลปวั นธรรมอี - ลำว วันพฤหั สบดี กันฒยำยน พ.ศ.สำน2561 วันพฤหัสบดีรีสทีอร์่ 13 กันยำยน พ.ศ.จัง2561 ณ โรงแรมรำชำวดี ท แอนด์ โฮเทล หวัดขอนแก่น ณ โรงแรมรำชำวดี รีสอร์ท แอนด์ โฮเทล จังหวัดขอนแก่น วันพฤหัสบดี ที่ 13 กันยำยน พ.ศ. 2561 วันพฤหั สบดีน.ที่ 13 กันยำยน พ.ศ.ย2561 เวลา 08.30 ลงทะเบี น เวลา 08.30 น. ลงทะเบี เยี ่ยมชมนิยนทรรศการ แคน โดย สาขาดนตรีพื้นบ้าน เยี ่ยมชมนิ ทรรศการ แคน โดยทยาลั สาขาดนตรี คณะศิ ลปกรรมศาสตร์ มหาวิ ยขอนแก่พนื้ บ้าน ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เวลา 09.15 น. พิคณะศิ ธีเปิดลงาน เวลา 09.15 น. พิธาีเปิวรายงานการจั ดงาน กล่ ดงาน โดย กล่กาวรายงานการจั ดงานยขอนแก่ โดย น อธิ ำรบดีมหำวิทยำลั อธิดกงานโดย ำรบดีมหำวิ ทยำลัลยใหญ่ ขอนแก่ น เปิ ท่ำนกงสุ สปป.ลำว เปิดงานโดย นกงสุลนใหญ่ สปป.ลำว ประจ ำจังหวัท่ดำขอนแก่ (ฝ่ายลาว) ร่วมด้วย ำจังหวัดงขอนแก่ น (ฝ่านยลาว) ร่วมด้วย ผูประจ ้ว่ำรำชกำรจั หวัดขอนแก่ (ฝ่ายไทย) ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดร.ฉวี ดขอนแก่ น (ฝ่พัานยไทย) ชมการแสดงจาก วรรณ ธุ ศิลปินแห่งชาติ ชมการแสดงจาก ดร.ฉวี นธุ ศิลยปิว) นแห่งชาติ และอำจำรย์ พงศธร อุปวนิรรณ (อ้น พัแคนเขี พงศธร (อ้นทธิแคนเขี ร่และอำจำรย์ วมด้วย ดร.รำตรี ศรีวอุิไปลนิบงสิ พร ศิลยปิว)นมรดก ย ดร.รำตรีศรีวิไลาจับงสิ ธิพร ศิลนปินมรดก อีร่วสมด้ านวและสมาคมหมอล งหวัทดขอนแก่ อีสาน และสมาคมหมอล าจังหวัดขอนแก่ญนต้นทำง เวลา 10.00 น. บรรยายพิ เศษเรื่อง “หมอแคนหมอขวั เวลา 10.00 น. บรรยายพิ ่อง “หมอแคนหมอขวัญ ต้นทำง สร้ ำงสรรค์เศษเรื วรรณกรรมและเพลงดนตรี นำนำ สร้ำงสรรค์ รรณกรรมและเพลงดนตรี นำนำ ชำติ พันธุ์”วโดย อำจำรย์สุจิตต์ วงษ์เทศ ชำติพันธุ์” โดย อำจำรย์สุจิตต์ วงษ์เทศ


2

เวลา 12.00 น. เวลา 13.00 น.

เวลา 17.00 น. เวลา 18.00 น.

เวลา 21.00 น.

รับประทานอาหารเที่ยง เสวนาในหัวข้อ “แคน” มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรม อีสำน - ลำว วิทยากรโดย รศ.วีณำ วีสเพ็ญ ผศ.ดร.เจริญชัย ชนไพโรจน์ หมอแคนสมบัติ สิมหล้ำ และ อำจำรย์พงศธร อุปนิ (อ้น แคนเขียว) ผู้ดาเนินรายการ คุณสุมำลี สุวรรณกร จบการสัมมนา บายศรีสู่ขวัญ (พาแลง) ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม เสียงลำเสียงแคน โดย หมอลำฉวีวรรณ ดำเนิน หมอลำรำตรี ศรีวิไล หมอแคนสมบัติ สิมหล้ำ หมอแคนอ้น แคนเขียว สมำคมหมอลำจังหวัดขอนแก่น และการแสดงจากเครือข่ำยศิลปวัฒนธรรม ปิดงาน

พิธีกร นำงสำวชุตินันท์ พันธ์จรุง (พิธีเปิด) นำยวิทยำ วุฒิไธสง (สัมมนา) นำยวรศักดิ์ วรยศ (บายศรีสู่ขวัญ) (กาหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม)


สารบัญ เรื่อง หมอแคน หมอขวัญ ต้นทางสร้างสรรค์วรรณกรรม และเพลงดนตรีนานาชาติพันธุ์ สุจิตต์ วงษ์เทศ แคน การอนุรักษ์ การประยุกต์ใช้ และการพัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจริญชัย ชนไพโรจน์ กลอนลาและทานองลา ดร.ราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจริญชัย ชนไพโรจน์ เค่ง เสียงสุดท้ายแห่งกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเพชรบูรณ์ : อัตลักษณ์และภูมิปัญญา อาจารย์กาพร ประชุมวรรณ สังคีตลักษณ์การลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน ปิยะนันท์ แนวคาดี เสียงแคน : มนต์เสน่ห์ในงานวรรณกรรม รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ ณัฐพงค์ มั่นคง และ ปกรณ์ ปุกหุต วาดแต่แถน แคนแต่ฟ้า : คีตะมนตรา เสน่หาวรรณกรรม อาจารย์ ดร.แก้วตา จันทรานุสรณ์

หน้า

1

19 41

87

111 135

159


2

แคนคือคนอีสานนักเขียนอีสานจึงมีสัญลักษณ์คือ “แคน” สุมาลี สุวรรณกร แคนในฮูปแต้มอีสาน ณัฐพงค์ มั่นคง จิตรกรรมเทวดาเป่าแคน ในวัดบวรนิเวศวิหารกับสายธารประวัติ “พระคณะลาว” แห่งธรรมยุติกนิกายยุคแรก พระวโรตม์ ธมฺมวโร คณะทางาน

187 195 211

235


หมอแคนหมอขวัญ ต้นทางสร้างสรรค์วรรณกรรมและเพลงดนตรีนานาชาติพันธุ์ สุจิตต์ วงษ์เทศ ห ม อ แ ค น ห ม อ ข วั ญ ร่ ว มกั น สื่ อ สารถึ ง ผี ฟ้ า ผู้ มี อ านาจ เหนือธรรมชาติ ด้วยภาษาพิเศษมี สาเนี ย งเสนาะ ต่างจากภาษาพูด ในชีวิตประจาวัน ล้วนเป็นต้นทาง สร้ า งสรรค์ ว รรณกรรมและเพลง ดนตรี ของนานาชาติพันธุ์ปั จจุ บั น พยานสาคัญเป็นที่รู้กันกว้างขวาง คือ หมอลาอินเตอร์ แต่ ร ะบบการศึ ก ษาไทยก าหนด แคน, หมอแคนหมอขวั ญ เป็ น วัฒนธรรมพื้นบ้านพื้นเมือง ซึ่งมีความหมายอย่างเหยียด ๆ ว่า ไม่ไทย นิยามความเป็นไทย มีพื้นที่จากัดจาเพาะบริเวณลุ่มน้าเจ้าพระยา ภาคกลาง โดยไม่รวมลุ่มน้าอื่น ดังเห็นจากดนตรีไทยมี 3 กลุ่มเท่านั้น คือ มโหรี ปี่พาทย์, เครื่องสาย นอกจากนี้ ไม่ไทย ทั้งนี้มีต้นเหตุจากประวัติศาสตร์แห่งชาติของไทยกีดกันคนส่วนใหญ่ อยู่นอกความเป็นไทย แถมยังเหยียดศักดิ์ศรีซ้าเติมด้วย


2 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

1. แคนมีกาเนิดในศาสนาผีหลายพันปีมาแล้ว แคนมีกาเนิดในศาสนาผี เป็นเครื่องมือสื่อสารกับผีฟ้าซึ่งมีอานาจเหนือ ธรรมชาติ ด้วยสาเนีย งภาษาพิเศษ เพื่อวิงวอนร้ องขอความอุดมสมบูร ณ์ใน พืชพันธุ์ธัญญาหารเลี้ยงคนในชุมชน โดยมีพัฒนาการลองผิดลองถูกยาวนาน หลายพันปีมาแล้ว เป็นเครื่องเป่าศักดิ์สิทธิ์ และเป็นวัฒนธรรมร่วมอุษาคเนย์ มีในทุกเผ่าพันธุ์ ทั้งภาคพื้นทวีปและกลุ่มเกาะ

(แคนแบบต่าง ๆ ใช้ลูกน้​้าเต้าแห้งเป็นที่เป่า ตั้งแต่ดั้งเดิมสืบเนื่องถึงปัจจุบัน มีทั่วไป ในอุษาคเนย์ทั้งภาคพื้นทวีปและหมู่เกาะ แล้วกระจายถึงจีนและเกาหลี (ภาพลายเส้นจากรายงานการขุดค้นทางโบราณคดีที่เวียดนามของนักโบราณคดีฝรั่งเศส))

ศาสนาผี แคนมีกาเนิ ดและพัฒ นาการเกี่ย วข้องกับความเชื่อและพิธีกรรมใน ศาสนาผี ไม่เกี่ ย วกั บ ศาสนาพุท ธและพราหมณ์ ฮินดู และไม่ได้ ถูก ประดิษ ฐ์ คิดค้นด้วยใครคนใดคนหนึ่งเพียงลาพังคนเดียว ตามคาบอกเล่า (นิทาน) หลาย สานวน


3

3

แต่ ห ลั ง รั บ อารยธรรมจากอิ น เดี ย มี ผู้ พ ยายามผลั ก ดั น ให้ แ คนเป็ น เครื่องมือศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธและพราหมณ์ฮินดู จึงผูกนิทานว่ามีกษัตริย์อินเดีย เกี่ยวข้องกับกาเนิดแคน มีเสียงไพเราะเสนาะโสตเสมือนเสียงนกการเวกแห่ง ฟากฟ้าป่าหิมพานต์ตามคติอินเดีย นิทานเหล่านี้ไม่เป็นหลักฐานโดยตรงเรื่องกาเนิดแคน แต่เป็นพยานว่า มีผู้พยายามยกย่องแคนเป็นอินเดีย เครื่องดนตรีมีกาเนิดแล้วนาเข้าจากอินเดีย ซึ่งไม่จริงตามนั้น แคนมาจากปี่ แคน มีกาเนิดจากปี่เสียงเดียวหลายลูก (เล่ม) ระดับเสียงต่างกัน เอาไป เสียบรวมกันในผลน้าเต้าแห้ง ใช้เป่าได้หลายเสียงสอดประสานกัน สั่นเครือ เหมือนเสียงผึ้งแตกรัง ปี่ เป็นเครื่องเป่ามีเสียงเดียว ทาจากไผ่รวก (ไม่เจาะรูเสียง) มีลิ้นสอด ในท่อปี่ตรงปลายข้างหนึ่งให้เป่ามีเสียง ปี่ลูกเดียว (เล่มเดียว) เสียบลูกน้าเต้าแห้ง เป่าได้เสียงเดียว คนกลุ่มหนึ่ง เรียกปี่น้าเต้า แต่คนบางกลุ่มเรียก เรไร ลิ้นแคนสร้างเสียงสั่นเครือ ลิ้ น แคน ท าให้ แ คนมี เ สี ย งสั่ น เครื อ (อย่ า งมหั ศ จรรย์ ) นั บ เป็ น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของคนในภาคพื้นทวีปอุษาคเนย์มากกว่า 2,500 ปี มาแล้ว โดยได้ต้นแบบจากจ้องหน่อง ที่บางกลุ่มเรียกหุนหรือหืน (เครื่องดีด ทาด้วยไม้ไผ่ใช้ปากเป็นเครื่องขยายเสียงโดยเป่าลมออก - ดูดลมเข้า)


4 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

[มีคาอธิบายอีกมากใน แคน : ระบบเสียงและทฤษฎีการบรรเลง ของ สนอง คลังพระศรี วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2554 หน้า 128 - 129] ลิ้นแคนเริ่มแรกทาจากวัสดุที่มีในธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่เหลาบาง ๆ ใบตาล ฯลฯ ลิ้นไม้ไผ่เหลาบางยังทาสืบทอดถึงปัจจุบัน พบในลิ้นสะไน [เครื่อง เป่าของหมอช้าง ทาจากเขาควาย กลายคาจากภาษาเขมรว่า เสนง (สะ - เหนง)] ลิ้นในท่อของเครื่องเป่าตระกูลปี่มีต้นแบบจาก ปี่ซังข้าว (ซังข้าว คือ ตอต้นข้าว) หมายถึง ปี่ทาจากลาต้นข้าว มีปลายปิดข้างหนึ่ง ใช้ มีดปาดหลอด ต้นข้าวเป็นลิ้นเปิดให้ปากอมเป่า มีเสียงเดียว โดยใช้ความยาวของท่อเป็น ตั ว ก าหนดระดั บ เสี ย ง [ค าอธิ บ ายบางส่ ว นได้ จ าก ยุ ท ธพงศ์ มาตย์ วิ เ ศษ หมอขวัญหมอแคน กาฬสินธุ์] หลังจากนั้นนับร้อยนับพันปีมีผู้ประดิษฐ์คิดค้นทาลิ้นแคนจากโลหะผสม (เรียกสาริด) ที่ถูกตีแบนรีดบางด้วยเทคโนโลยีก้าวหน้ามากในยุคนั้น เต้าแคนทาจากผลน้าเต้าแห้ง แคน เป่าผ่านกระเปาะลมทาจากลูกน้าเต้าที่แห้งแล้ว (หรือวัสดุอื่น สมัยหลัง) ตรงที่ใช้ปากเป่าได้จากขั้วลูกน้าเต้าแห้ง (สมัยหลังกลึงไม้เป็นที่เป่า แล้วเรียกเต้าแคน เพราะเดิมทาจากผลน้าเต้า) น้าเต้า (ที่ใช้ทาแคน) เป็นพืชศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อในศาสนาผีของคน เกือบทั้งโลกหลายพันปีมาแล้ว


5

5

(ภาชนะดินเผามีฝา บรรจุกระดูกมนุษย์ ราว 2,500 ปีมาแล้ว รูปร่างเหมือนน้​้าเต้า มีคอคอด พบในแหล่งโบราณคดีเขตทุ่งกุลาร้องไห้ อ.เกษตรวิสยั จ.ร้อยเอ็ด ภาพจากหนังสือ ศิลปวัฒนธรรมไทย กระทรวงวัฒนธรรม พิมพ์ครั้งที่สอง พ.ศ. 2557 หน้า 44)

โดยเฉพาะคนสุวรรณภูมิลุ่มน้าโขง เชื่อว่ากาเนิดมนุษย์จากน้าเต้าปุง 5 พี่น้อง เช่น กลุ่มพูดภาษาตระกูลมอญ - เขมร, ไต - ไท, เวียดนาม ฯลฯ [คาบอกเล่านี้น่าจะจดเป็นลายลักษณ์อักษรราวยุคอยุธยา จึงมีอยู่ในพงศาวดาร ล้านช้าง (ในลาว) และเล่าความเมืองของไทดา (ในเวียดนาม)] พบภาชนะดินเผารูปน้าเต้าใส่กระดูกคนตายฝังดินมีอายุราว 2,500 ปี มาแล้ว ย่อมเป็นหลักฐานสาคัญว่า คาบอกเล่าเรื่องมนุษย์มีกาเนิดจากน้าเต้าปุง เป็นไปตามความเชื่อของคนก่อนหน้านั้นนับพัน ๆ ปีมาแล้ว น้ำเต้ำเหมือนมดลูกของแม่ เป็นความเชื่อของคนในตระกูลภาษา ไต - ไทลุ่มน้าโขงและพื้นที่ต่อเนื่อง แล้วเชื่ออีกว่าคนมีกาเนิดออกมาจากน้าเต้า ครั้นตายไปมีพิธีกรรมสู่โลกหลังความตายโดยส่งผีขวัญคืนสู่ครรภ์มารดาผ่าน มดลูกของแม่ (คือน้าเต้า) ด้วย 2 วิธี ได้แก่


6 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

1. เป่าแคนผ่านน้าเต้า ส่งผีขวัญคนตายคืนสู่ครรภ์มารดา 2. เก็บกระดูกคนตายไว้ในภาชนะดินเผารูปน้าเต้า เท่ากับคืน สู่ครรภ์มารดา 2. หมอแคนหมอขวัญเป็นผู้หญิง สมัยดั้งเดิมเริ่มแรกราว 2,500 ปีมาแล้ว หมอแคนหมอขวัญเป็นผู้หญิง เพราะสมัยนั้นผู้หญิงมีฐานะทางสังคมสูงกว่าผู้ชาย และได้รับยกย่องเป็นบุคคล พิ เ ศษ เรี ย ก หมอมด, หมอผี เป็ น เจ้ า พิ ธี ศ าสนาผี และเป็ น เจ้ า ของงาน ศิลปวัฒนธรรม มีอานาจเสมือนหัวหน้าเผ่าพันธุ์ หมอแคน สร้างสรรค์ภาษาพิเศษและศักดิ์สิทธิ์ สื่อสารกับผีฟ้าด้วยการ เป่าแคนแสนเสนาะเคล้าคลอคาขับลาหมอขวัญ หมอขวัญ สร้างสรรค์คาขับลาคาคล้องจองร้องขวัญ เรียกขวัญ ส่งขวัญ และวิงวอนร้องขอต่อผีฟ้าเพื่อความอุดมสมบูรณ์ในพืชพันธุ์ธัญญาหาร ผีฟ้า ไม่ใช่คน แต่เป็นอานาจเหนือธรรมชาติ จึงสื่อสารไม่ได้ด้วยภาษา คนที่พูดจาในชีวิตประจาวัน ต้องมีภาษาพิเศษ คือ ดนตรี ที่เรียก แคน (หรืออื่น ๆ) คาเรี ย กหมอแคนหมอขวัญ อนุ โ ลมตามปัจ จุบั น แต่เ มื่อ หลายพั น ปี มาแล้ ว เรี ย กยั ง ไงไม่พ บหลั กฐาน? [หมอ กั บ ช่ าง มีค วามหมายร่ ว มกัน ว่ า ผู้ชานาญงานนั้นเป็นพิเศษ หมอ นิยมเรียกกันแพร่หลายตั้งแต่เวียงจันลงไป ทางใต้ถึงจาปาสักและอีสาน เช่น หมอแคน, หมอขวัญ, หมอฟ้อน ช่ำง นิยม เรียกกันแพร่หลายตั้งแต่เวียงจันขึ้นไปทางเหนือถึงหลวงพระบาง, ล้านช้าง ล้านนา เช่น ช่างแคน, ช่างขับ, ช่างฟ้อน]


7

7

คาคล้องจอง, เสียงโหยหวน, ลูกคอ คาขับลาทาขวัญและวิงวอนร้องขอต่ออานาจเหนือธรรมชาติ มี ลักษณะ พิเศษที่หมอขวัญสร้างสรรค์ไว้ ได้แก่ ค้ำคล้องจอง (เป็นต้นทางพัฒนาการเป็นร้อยกรอง ประเภทโคลง กลอน และร่าย) เสียงโหยหวน, ลูกคอ (เป็นต้นทางทานองร้องเพลงดนตรีไทย) ทาขวัญ หลังความตาย หมอขวั ญคู่ กับ หมอแคน มี กาเนิ ด และพัฒ นาการจากพิธี กรรมทาง ศาสนาผี หลายพัน ปีมาแล้ ว พบหลั กฐานเก่าสุ ดในพิธีทาขวัญ (เรี ย กขวัญ , ส่งขวัญ) เป็นพิธีกรรมหลังความตาย เป็นลายเส้นสลักบนขวานสาริด รูปคนเป่า แคนขับลาทาฟ้อน คนทั้งหมดอยู่ในพิธีกรรมหลังความตาย (เพราะพบเครื่องมือสาริดใน หลุมศพ) มีการละเล่นเต้นฟ้อนเป่าแคน และขับลาเพื่อเรียกขวัญและส่งขวัญ ไปสู่โลกหลังความตาย (สมัยหลังเรียกงันเฮือนดี) โลกหลังความตายอยู่บนฟ้าหรือที่ไหน ๆ ไม่มีใครรู้ อันเป็นที่สิงสู่ของ ผีแถนและผีขวัญบรรพชนผู้ ตายไปก่อนแล้ว อยู่ รวมกันเป็นหน่ว ยเดียว คอย ปกป้องคุ้มครองผู้คนยั งไม่ตาย กับบั นดาลให้ชุมชนรับความอุดมสมบูรณ์ใน พืชพันธุ์ธัญญาหาร


8 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

(หมอแคนหมอขวัญ ล้วนเป็นผู้หญิง 2,500 ปีมาแล้ว นุ่งยาว ปล่อยชายสองข้าง มี เครื่องประดับ เป็นขนนกและใบไม้สวมหัว ร่วมกันขับล้าค้าคล้องจองท้านองง่าย ๆ แล้ว เป่าแคนคลอ พร้อมฟ้อนประกอบพิธีท้าขวัญสู่โลกหลังความตาย (บน) ลายเส้นจ้าลองจาก ลายสลักบนขวานส้าริด (ล่าง) ภาพส้าเนาขวานส้าริดมีลายสลัก ขุดพบในหลุมศพเมืองดง เซิน ริมแม่นา้ ซองมา จ. ถั่นหัว เวียดนาม [ทั้งลายเส้นและภาพส้าเนาโดยได้รบั ความกรุณา หลายปีมาแล้วจากนักวิชาการกรมศิลปากร และนักศึกษาปริญญาเอก (ขณะนั้น) มหาวิทยาลัยคอร์แนล สหรัฐฯ ช่วยตรวจสอบจากเอกสารฝรั่งเศสจ้านวนหนึ่ง เช่น Victor Goloubew : L’ Age Bronze au Tonkin et dans le Nord-Annam ใน BEFEO : Tom XXIX 1929 - และ- Art Asiatique Numero Speacial : Les Nouvelles Recherches Archeologiques au Vietnam par NGUYEN PHUC LONG. (พิมพ์ครั้ง แรกในหนังสือ ร้องร้าท้าเพลง ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ พ.ศ. 2532 หน้า 113)])

เมื่อมีคนตาย ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเพราะขวัญหาย บรรดาญาติพี่น้องเพื่อน บ้านในชุมชนท้องถิ่นต้องร่วมกันมีพิธีทาขวัญ โดยผู้หญิงเป็นหมอขวัญและ หมอแคน เรียกสมัยหลังสืบต่อมาว่า “งันเฮือนดี” มีผู้หญิงเป็นแม่งานทั้งหมด 2 ตอน ดังนี้


9

9 ตอนแรก เรียกขวัญ เพื่อเรียกขวัญคืนร่างให้ฟื้นเป็นปกติ

ตอนหลัง ส่งขวัญ เพื่อส่งผีขวัญขึ้นฟ้าไปสิงสู่อยู่รวมกับผีบรรพชน (ในโลกหลังความตาย) ทั้งตอนแรกและตอนหลัง ไม่กาหนดจานวนวันทาขวัญ จึงมักมีหลาย วันหลายคืนต่อเนื่องกันตามตกลงในชุมชนหมู่บ้าน

(ท้าขวัญงันเฮือนดี ราว 2,500 ปีมาแล้ว มีหมอแคนหมอล้าสนุกสนานด้วยการละเล่นต่าง ๆ พบในลายสลักบนหน้ากลองทองมโหระทึก (ซ้าย) รูปขวัญเป็นแฉกอยู่ตรงกึ่งกลางวงกลม หน้ากลอง มีลายสลักรูปนกอยู่ขอบนอก ส่วนด้านในเป็นรูปการละเล่นต่าง ๆ (ขวา) จ้าลอง รูปการละเล่นแผ่ตรง ๆ เพื่อดูสะดวก [ลายเส้นจากรูปหน้ากลองทองมโหระทึก พบที่ เวียดนาม ในหนังสือ Dong Son Drums in Viet Nam จัดพิมพ์โดย The Viet Nam Social Science Publishing House ค.ศ. 1990, pp. 8 - 9. คัดลอกลายเส้นโดย นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ใช้ประกอบในหนังสือ ชาติพันธุ์สุวรรณภูมิ บรรพชนคนไทย ในอุษาคเนย์ ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2547 หน้า 54])


10 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

10

เส้นทางไปเมืองฟ้า พิธีส่งผีขวัญขึ้นฟ้าทาโดยหมอมดหมอผีขับลาคาขับ เป็นคาคล้องจอง เข้ากับแคนคลอเป็นทานอง ต่อมาแต่งเติมเนื้อหายืดยาวตามต้องการที่สังคม เปลี่ยนแปลงเติบโตขึ้น คาส่งผีขวัญมีเป็นร้อยแก้วสลับด้วยคาคล้องจองตามจังหวะที่ต้องการ ดังที่มีเอกสารอยู่ในพงศาวดารล้านช้างในลาว กับเล่าความเมืองของไทดาใน เวียดนาม เส้นทางส่งขวัญคนตายขึ้นฟ้า ซ้อนทับกับเส้นทางโยกย้ายของบรรพชน ตระกูลไต - ไท จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก หรือจากลุ่มน้าดา - แดง ใน เวียดนาม ไปลุ่มน้าโขงในลาว แต่กลับทิศทาง [สรุปจากหนังสือ ประวัติศาสตร์ ไทด้า : รากเหง้าวัฒนธรรม - สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของ ยุกติ มุกดาวิจิตร (สานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พิมพ์ครั้ง แรก มกราคม 2557 หน้า 23 - 49)] งันเฮือนดี “งัน เฮือนดี ” มีร ากเหง้าจากพิธีศพหลายพัน ปี มาแล้ ว ในภูมิภ าค อุษาคเนย์ ซึ่งเป็นต้นทางงานศพของไทยปัจจุบัน มีมหรสพหลายวันหลายคืน งานศพตามประเพณีล าวในอีส านเรี ย ก “งันเฮือนดี ” มีการละเล่ น สนุกสนานอย่างยิ่ง เช่น เล่านิทานโดยอ่านจากหนังสือผูกใบลานเป็นทานอง (เรียก อ่านหนังสือ), เล่นดีดสีตีเป่าร้องราทาเพลง ขับลาคากาพย์กลอน กับเล่น ว่าเพลงโต้ตอบ ฯลฯ


11

11

[“งันเฮือนดี” หมายถึง งานฉลองมีสนุกสนานอย่างยิ่งด้วยการละเล่น เป็ น มโหสพคบงั น อึ ก ทึ ก ครึ ก โครม (มโหสพคบงั น กลายค าจาก มหรสพ หมายถึง การละเล่นหลายอย่างในงานฉลอง) งัน หมายถึง งานฉลองสนุกสนาน อย่างยิ่ง ไม่ใช่งานอาชีพในชีวิตประจาวัน เช่น หุงข้าว, ทานาทาไร่ ฯลฯ เฮือนดี น่าจะกลายจาก เรือนผี หมายถึงเรือนที่มีคนตายเพราะขวัญหาย (มีอธิบาย อีกมากในหนังสือ งานศพ ยุคแรกอุษาคเนย์ ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ สานักพิมพ์ นาตาแฮก พิมพ์ครั้งแรก กันยายน 2560)] 3. ต้นทางสร้างสรรค์วรรณกรรมและเพลงดนตรี แคนและหมอแคนหมอขวั ญ วั ฒ นธรรมร่ ว มอุ ษ าคเนย์ ห ลายพั น ปี มาแล้ว นับเป็นต้นทางสร้างสรรค์วรรณกรรมและเพลงดนตรี ตกทอดถึงสมัย หลัง ๆ (เช่น สมัยอยุธยา) สืบจนทุกวันนี้ พบในไทยหลายอย่าง จาแนกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ วรรณกรรม กับ เพลง ดนตรี ดังนี้ 3.1 วรรณกรรม คาขับลาเป็นทานองของหมอขวัญ มาจากคาคล้องจองของ ภาษาพูดในชีวิตประจาวันของคนตระกูลภาษาไต - ไท (เก่าสุดราว 3,000 ปี มาแล้ว พบที่มณฑลกวางสีทางใต้ของจีน) ต้นทางร้อยกรองที่เรียกโคลงกลอน และร่าย ดังนี้


12 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

โคลงกลอนและร่ำย มำจำกค้ำคล้องจอง คาคล้องจองดั้งเดิมมีลักษณะเสรีเต็มที่และมีขนาดสั้น ๆ แล้ว ค่อย ๆ ยืดยาวขึ้นเรื่อย ๆ ตามต้องการใช้บอกเล่าเป็นเรื่องราวที่ยาวขึ้น จึงเป็น อันหนึ่งอันเดียวกับคาพูดในชีวิตประจาวัน โดยไม่กาหนดแบบแผน ไม่กาหนด จานวนคาและสัมผัสว่าต้องอย่างนี้ อย่างนั้น อย่างโน้น [ตรงข้ามกับร้อยกรอง ที่ คุ้ น เคยทุ ก วั น นี้ ล้ ว นให้ ค วามส าคั ญ ต่ อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กสมั ย หลั ง จนปั จ จุ บั น ว่ า ฉันทลั ก ษณ์ หมายถึ งก าหนดจ านวนค าแต่ล ะวรรคและกาหนดสั มผั ส เสี ย ง ระหว่างวรรค] ครั้นหลังรับศาสนาจากอินเดีย แบบแผนคาคล้องจองได้รับ ยกย่องเป็นคาศักดิ์สิทธิ์ในพิธีกรรมทางศาสนา เช่น บทสวด, บทเทศน์มหาชาติ, บทสรรเสริญ หรือประณามพจน์ ฯลฯ แล้วถูกเรียกว่า ร่าย มีทั้งร่าย (ปกติ) และร่ายยาว คาคล้องจองเป็นต้นทางของคาประพันธ์ประเภทร้อยกรองที่ รู้จักทั่วไปในทุกวันนี้ว่ากลอน มี 3 พวก คือ กลอนร่าย, กลอนลา, กลอนร้อง 1. กลอนร่ำย ใช้ในการละเล่นในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ใช้เซิ้ง เรียก กลอนเซิ้ง, ใช้สวด เรียก กลอนสวด, ใช้เทศน์ เรียก กลอนเทศน์ 2. กลอนล้ ำ ใช้ ทั่ ว ไปในงานมหรสพ เช่ น หมอล าต่ า ง ๆ นับเป็นต้นทางของโคลง เช่น โคลงสอง, โคลงสาม, โคลงสี่, โคลงห้า, โคลงดั้น 3. กลอนร้อง หรือรู้กันทั่วไปอีกว่า กลอนเพลง ใช้เล่นเพลง โต้ตอบ เรียก กลอนหัวเดียว แล้วพัฒนาเป็นกลอนหก, กลอนแปด ต่อมาเรียก


13

13

ตามลักษณะงานว่า กลอนบทละคร, กลอนเสภา, กลอนเพลงยาวนิราศ ฯลฯ [มีอธิบายอย่างละเอียดใน (1) โองการแช่งน้​้า ของ จิตร ภูมิศักดิ์ สานักพิมพ์ ดวงกมล พิ ม พ์ ค รั้ ง แรก พ.ศ. 2524 และ (2) ภาษาและวรรณคดี ใ นสยาม ประเทศ ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ สานักพิมพ์มติชน พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2546] นิรำศ คาส่งขวัญคนตายไปเมืองฟ้า เป็นคาคล้องจอง ที่หมอขวัญใช้ ขับลาด้วยทานองเสียงโหยหวน มีลูกคอกลั้วเป็นครั้งคราวตั้งแต่ต้นจนจบ แต่ไม่พบตัวบทจริง ๆ จึงคาดเดาว่าเนื้อความราพึงราพันสั่งเสีย สั่งลาผู้คนเครือ ญาติ , สัตว์, สิ่งของ, ภูมิสถานบ้านเรือน, ป่าดงพงไพรที่ขวัญ เดินทางผ่านไป ล้วนเป็นต้นแบบบทสั่งเสียสั่งลาในวรรณคดีนิราศสมัยหลัง ๆ 3.2 เพลงดนตรี แคนกั บ หมอแคนเป่ า แคน เป็ น ท านองคลอค าขั บ ล าของ หมอขวัญ ผลักดันให้เกิดพัฒนาการเพลงดนตรีสมัยหลัง ๆ ดังนี้ ปี่นอก แคนเสียงเบาในสั งคมเมืองขนาดใหญ่อย่างรัฐอยุธยา ที่รับ เทคโนโลยี ทัน สมั ย จากนานาชาติ โดยเฉพาะเครื่ อ งเป่า เสี ยงดัง จากอิ นโดเปอร์ เซี ย เรี ย ก สรไน (ปี่ ไฉน) และ แตร ฯลฯ ท าให้ มี การประดิ ษฐ์ คิด ค้ น ดัดแปลงแคนให้เป็นเครื่องเป่าแบบใหม่มีเสียงดังเรียก ปี่นอก แคน เครื่องดนตรีไม่ไทยในราชสานักอยุธยา ใช้ในวงบรรเลง


14 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

14

ชื่อดนตรี (ชื่อวงอย่ างหนึ่งคู่กับ วงมโหรี ) ทาหน้ าที่คลอคาขับล าด้ว ยทานอง เสนาะยอพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดิน มีบอกในอนิรุทธคาฉันท์ (สมัยต้นอยุธยา) ดังนี้ จ้าเรียงสานเสียง ประอรประเอียง กรกรีดเพยียทอง เต่งติงเพลงพิณ ปี่แคนทรลอง ส้าหรับลบอง ลเบงเฉ่งฉันท์ ระงมดนตรี คือเสียงกระวี ส้าเนียงนิรันดร์ บรรสานเสียงถวาย เยียผลัดเปลี่ยนกัน แลพวกแลพรรค์ บรรสานเสียงดูริย์ กาพย์ 2 บทจากอนิรุทธคาฉันท์ที่ยกมานี้ บทแรกบอกเครื่อง บรรเลงมี แ คนอยู่ ด้ว ย ว่ า “ปี่ แ คนทรลอง” ส่ ว นบทหลั ง บอกประเภทของ วงบรรเลงเป็นกลุ่มที่เรียกดนตรี (ชื่อแบบแผนโบราณ) ว่า “ระงมดนตรี” “ปี่แคนทร” ถ้าสะกดแบบปัจจุบันจะเป็น “ปี่แคนซอ” หมายถึง เครื่องดนตรี 3 ชนิดบรรเลงด้วยกัน ได้แก่ ปี่, แคน, ซอ ทร ตรงนี้รับจากคาเขมร อ่าน ตรัว หมายถึง เครื่องดนตรี มีสายและมีคันชักใช้สี “ระงมดนตรี ” หมายถึง บรรเลงเครื่องมีส าย คลอเสี ย ง ขับกล่อมยอพระเกียรติเป็นทานองเสนาะด้วยถ้อยคาศักดิ์สิทธิ์


15

15

ข้อความ “ระงมดนตรี” เข้ากันได้กับข้อความในกฎมณเฑียรบาล ว่า “เสภาดนตรี” หมายถึงเจ้าพนักงานเป็นผู้หญิงล้วน ทาหน้าที่บรรเลงดนตรี ทั้งหมดเป็นมรดกตกทอดจากราชสานักสมัยก่อนอยุธยา พบ หลักฐานเป็นปูนปั้นประดับสถูปบ้านคูบัว (ราชบุรี) และจารึกศาลเจ้า (ลพบุรี)

(ปี่นอกเก่าแก่สุด มาจากแคน มีปอ่ งตรงกลาง สืบทอดเต้าแคน (ส่วนปี่กลางกับปีใ่ นเป็นปี่ที่สร้าง เพิ่มทีหลัง) (ซ้าย) ปี่นอก (กลาง) ปี่กลาง (ขวา) ปี่ใน [ลายเส้นจากหนังสือ เครื่องดนตรีไทย ของ ธนิต อยู่โพธิ์ พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2500])

ปี่โขนละครของไทย ต้นแบบจำกแคน เมื่อแคนพัฒนาการเป็นปี่ (ใน วงปี่พาทย์พิธี แล้วใช้ประกอบโขนละครและลิเก) เรียก “ปี่นอก” ในวัฒนธรรม ที่ราบลุ่ม ตั้งแต่แม่น้าเจ้าพระยา ถึงโตนเลสาบ ปี่นอก เป็นปี่เก่าสุดพัฒนาจากแคนตั้งแต่เมื่อไหร่? ยังไม่พบหลักฐาน แต่นักวิชาการดนตรีเขมรเชื่อว่ามีก่อนสมัยนครวัด หรือก่อนเรือน พ.ศ. 1600 [จากหนังสือ เครื่องดนตรีกัมพูชาโบราณ ของ มหาวิทยาลัยภูมินทร วิจิตรศิลปะกัมพูชา (แปลเป็นภาษาไทยจากต้นฉบับภาษาเขมร โดย สกลสุภา ทองน้อย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) สุจิตต์ วงษ์เทศ บรรณาธิการ พิมพ์โดย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2553 หน้า 118 - 122]


16 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

16

ถ้าจริงตามข้อสันนิษฐานของนักวิชาการดนตรีเขมร ก็น่าจะมีเหตุจาก การค้าโลกหลั ง พ.ศ. 1000 ทาให้โครงสร้างสั งคมและเศรษฐกิจ - การเมือง เปลี่ยนแปลงไป มีขนาดใหญ่โตขึ้น มีการแลกเปลี่ยนและรับแบบแผนดนตรีจาก อินโด - เปอร์เซีย ได้แก่ เครื่องเป่าเสียงดัง เรียก สรไน (ปี่ไฉน) เสี ย งแคนไม่ ส นองสั ง คมที่ มี ข นาดใหญ่ แ ละซั บ ซ้ อ นกว่ า เก่ า เลย สร้างสรรค์สิ่งใหม่เป็นเครื่องเป่าเสียงดังกว่า เรียกปี่ (ปี่นอก) โดยสืบทอด หลักการจากแคน ได้แก่ เสียงปี่พร่าอย่างเดียวกับเสียงแคนเหมือนผึ้งแตกรัง ปี่มาจากแคน เพราะลาตัวของปี่รักษารูปแบบน้าเต้า โดยกลึงให้ป่อง ตรงกลาง มีหลักฐานว่า ปี่ “ทาจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ชิงชัน, ไม้พะยุง, แล้วกลึง เป็นรูปบานหัวบานท้าย ‘ตรงกลางป่อง’ เจาะภายในกลวงตลอดเลา” (จาก หนังสือ เครื่องดนตรีไทย ของ ธนิต อยู่โพธิ์ กรมศิลปากร พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2500 หน้า 59 - 61) พระอภัยมณีเป่าปี่นอก เพราะตามประเพณียกย่องเป็นปี่นอกมีเสียง ดั้งเดิม และสุนทรภู่เป็นผู้ชานาญดนตรีปี่พาทย์ตะโพนเพลงในสมัยต้นกรุง รัตนโกสินทร์ เพราะทาอาชีพบอกบทละคร คลุกคลีกับคณะนายบุญยัง (ย่าน พรานนก) ใกล้วังหลัง ร้องเนือเต็ม ขับลาคลอแคนของหมอแคนกับหมอขวัญ เป็นต้นแบบสมัยอยุธยา ทั้งใน และนอกราชส านั ก ) เรี ย กร้ อ งเนื้ อ เต็ ม ซึ่ ง มี แ นวทางไม่ เ ป็ น ปฏิ ปั ก ษ์ ต่ อ วัฒนธรรมป๊อปในสากลสมัยปัจจุบัน


17

17

สวด, เทศน์มหำชำติ สวดและเทศน์มหาชาติมีลักษณะสาคัญ คือ เสียงโหยหวนและลูกคอ เช่น สวดโอ้เอ้วิหารราย (สมัยอยุธยา) สวดด้าน (นครศรีธรรมราช) สวดมหาชาติ เทศน์มหาชาติ ฯลฯ ล้วนมีต้นทางอยู่ที่หมอขวัญ สวดอภิธรรม มีที่มาจากประเพณีท้องถิ่น ได้แก่ เรียกขวัญ ส่งขวัญ “งันเฮือนดี” เพราะงานศพในอินเดีย ลังกา ไม่มีพระสงฆ์สวดอภิธรรม ช่ำงขับ, หมอล้ำ ช่างขับ หมายถึง ผู้ชานาญขับลาคาคล้องจอง แพร่หลายบริเวณลุ่มน้า โขงตอนบน อยู่เหนือเวียงจันขึ้นไป แล้วกระจายถึงลุ่มน้าสาละวิน (พม่า) หมอลา หมายถึง ผู้ชานาญขับลาคาคล้องจอง แพร่หลายบริเวณลุ่มน้า โขงตอนล่าง ตั้งแต่เวียงจันลงไปทางใต้ แล้วกระจายถึงลุ่มน้าชี - มูล ในอีสาน เดินดง, นิรำศ คาขับลาส่งขวัญขึ้นเมืองฟ้า มีสั่งเสียสั่งลา แล้วเดินดงผ่านป่า ขึ้นเขาลง ห้วยหนองห้วงน้า ถ้อยคาพรรณนาเหล่านั้นเป็นต้นแบบหมอลาเดินดง ขับเสภำ ขับเสภา หมายถึง ตีกรับขับเสภาด้วยเสียงโหยหวนและลูกคอ เริ่มมี ครั้งแรกยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จึงไม่มีในสมัยอยุธยาตามที่เชื่อสืบกันมา


18 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

เสียงโหยหวนและลูกคอเป็นมรดกตกทอดจากขับลาของช่างขับและ หมอลาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ จึงไม่มาจากอินเดีย (ที่ว่า “เสวากากุ”) เพราะใน อินเดียไม่มีขับลาทาเสียงโหยหวนและลูกคออย่างหมอขวัญ ร้องเอือนเคล้ำคลอด้วยซอสำมสำย ร้องเพลงเถา “เอื้อนมากลากยาว” ในวงดนตรีไทยแบบฉบับ มีต้นแบบ จากเสียงโหยหวนและลูกคอจากหมอขวัญ ซอสามสายคลอร้องเพลงเถา มีต้นแบบจากแคนคลอหมอขวัญขับลา


แคน การอนุรักษ์ การประยุกต์ใช้ และการพัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจริญชัย ชนไพโรจน์ 1 ความเป็นมาของแคน แคนเป็นหนึ่งในบรรดาเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดของโลก แพร่กระจาย อยู่ทั่วทวีปเอเชีย ทั้งที่แผ่นดินใหญ่ คือ จีน ลาวไทย เวียดนาม กัมพูชา และ ตามหมู่เกาะ เช่น เกาะบอร์เนียว ซาราวัค แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าแคนได้ ถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อใด และมีอายุยืนนานกี่ร้อยกี่ พันปีกันแน่ ทั้งนี้เนื่องจากแคน ทาจากไม้ไผ่ชนิดหนึ่งที่ชาวอีสานเรียกกันว่า ไม้เฮื้อ หรือไม้เฮี้ย หรือไม้ซาง จึง ทาให้ผุ พังและไม่คงทนต่อดิน ฟ้าอากาศ ประกอบกับไม่มีหลั กฐานบันทึกไว้ แคนที่มีอายุเก่าแก่จะหาดูได้ก็เฉพาะในพิพิธภัณฑ์ หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของ แคนไทย คือ แคนของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (2351 - 2408) ที่ เก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ความว่า “พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดด้านศิลปะทั้ง ด้านดนตรี กวีนิพนธ์ และนาฏศิลป์ โดยเฉพาะ ทรงสันทัดการทรงแคนและ ทรงแอ่วอย่างไพเราะ ทรงพระราชนิพนธ์คาแอ่วไว้เป็นจานวนมากและยังได้ ทรงริเริ่มการประดิษฐ์ระนาดทุ้มเหล็กขึ้นเป็นพระองค์แรก โดยมีการจัดเล่น ประกอบกับ ระนาดแบบเดิมรวมเป็นเครื่องดนตรี 4 ชนิด เรียกว่า "ปี่ พาทย์ 1

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม E - mail : chonpairotj@gmail.com


20 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

เครื่องใหญ่" สืบมาจนถึงทุกวันนี้ นอกจากนั้นยังทรงสนับสนุนและทรงอุปการะ ศิลปินที่มีความสามารถ เช่น สุนทรภู่ ครูมีแขก และคุณพุ่ม เป็นต้น ” (มูลนิธิ อนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม กองบัญชาการกองทัพเรือ , ม.ป.ป. : ออนไลน์) เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ซึ่งเป็นแคนประจาพระองค์ ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากภาพแคนของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ยังมี แคนของชนเผ่าต่าง ๆ ของไทย เครื่องดนตรีจากราชสานักต่าง ๆ เช่น ดนตรี ชวา ดนตรีกัมพูชา และเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ เช่น เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเป่า

(แคนของพระบาทสมเด็ พระปิ่น่นเกล้เกล้าเจ้าาเจ้อยูาอยู (แคนของพระบาทสมเด็จจพระปิ ่หัว ่หัว ฑสถานแห่งงชาติ ที่พทีิพ่พิพิธภัิธภัณณฑสถานแห่ ชาติพระนคร) พระนคร)


3

21

ส่ ว นที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถาบั น ดนตรี แ ห่ ง ชาติ ที่ ฮ านอยและที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ชนเผ่าที่ฮานอยได้มีการวิจัยและรวบรวมเครื่องดนตรีชนเผ่า คือ แคนชนิดต่าง ๆ ไว้มากมาย มีทั้งที่เป็นของคนเชื้อสายไทยและชนเผ่าอื่น ๆ เช่น

(แคนของชนเผ่าไตที่พิพิธภัณฑ์ฮานอย เวียดนาม)


22 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

(แคนแบบดั้งเดิม (ซ้าย) และ แคนน้​้าเต้าที่พิพิธภัณฑ์คุนหมิง (ขวา))

(ปี่ ปี่เต้า และแคนน้า้ เต้า ที่พิพิธภัณฑ์คุนหมิง มณฑลยูนนาน)

แต่ ห ลั ก ฐานส าคั ญ อี ก ประเภทหนึ่ ง คื อ หลั ก ฐานทางโบราณคดี ที่ ปรากฏบนหน้ากลองมโหระทึกต่าง ๆ กลองมโหระทึกเป็นกลองที่ทาจากโลหะ สาริด พบในประเทศเอเชียต่าง ๆ มากมาย เช่น ไทย ลาว เวียดนาม จีน และ กัมพูชา สถานที่ที่พบกลองมโหระทึกมากที่สุ ดคือที่เมืองหนานหนิง มณฑล กวางสี จึงได้มีการจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์กลองมโหระทึกที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่


5

23 กลองมโหระทึ ก ที่ ป รากฏภาพแคนชั ด เจนมากที่ สุ ด คื อ กลองมโหระทึ ก ที่ พิพิธภัณฑ์ของสถาบันดนตรีแห่งชาติที่ฮานอย ดังภาพ

(ภาพคนเป่าแคนบนหน้ากลองมโหระทึกที่พิพิธภัณฑ์ฮานอย)

เป็ น ที่น่ ายิ น ดีว่า ภาพแคนในลั กษณะนี้ และลั กษณะการบรรเลง ในลั กษณะนี้ ยั ง พบว่า มีก ารสื บ ทอดจนปั จ จุ บั น ในสองที่ ส องแห่ ง คือ ที่ งาน มหกรรมดนตรี ช นเผ่ า ที่ เ มื อ งหนานหนิ ง และในพิ ธี ก รรมของชนเผ่ า ที่ เ ขต พระตะบอง ประเทศกัมพูชา นอกจากหลั ก ฐานจากกลองมโหระทึ ก แล้ ว ยั ง มี ห ลั ก ฐานจากที่ นักโบราณคดีได้ขุดพบเครื่องดนตรีโบราณจานวนสองสามชุด ที่ใช้บรรเลงใน ราชสานักราชวงศ์โจว์ (1046 - 256 BCE) เครื่องดนตรีที่สาคัญได้แก่ ระนาดหิน กลองมโหระทึก เครื่องสายคล้ายพิณ ขลุ่ยไม้ไผ่ และชุดระฆังโลหะ เครื่ องดนตรี ที่ขุดพบในหลุ มศพของ มาควิส อี้ เป็นตัว แทนของชุด เครื่องดนตรีชุดใหญ่ที่สุดที่ได้รับการรักษาไว้ ในวัฒนธรรมโบราณใด ๆ ในโลก


24 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ทาด้วยไม้ตามภาพข้างล่างนี้ คือ แคน ตัวแคนมีความยาว 8 นิ้ว ประกอบด้วยกู่แคนจานวน 18 ลูก แต่ละลูกก็มีลิ้นที่ สั่นได้อยู่ภายใน ดังภาพ

(แคนที่ขุดพบในหลุมฝังศพของมาควิส อี้ (Zuo Boyang, Recent Dicoveries in Chinese Archeology .Beijing: Foreign Language Press, 1984), 8th page of illustration.))

(ภาพการเป่าแคนของชนเผ่าเย้า มีลักษณะคล้ายคลึงกับภาพการ เป่าแคนบนหน้ากลองมโหระทึกที่ แสดงในภาพด้านบน)

การคิดประดิษฐ์แคนตระกูลจีน การคิดประดิษฐ์ แคนตระกูลจี น เมื่อดูจากรูปลั กษณ์และโครงสร้าง ทางอุโฆษวิทยาและเครื่องดนตรีประเภทปี่ ต่าง ๆ ที่มีลิ้นติดอยู่ด้านปลายสุด


7

25

ด้ า นหนึ่ ง ข้ า งของวั ส ดุ ที่ น ามาใช้ ท าปี่ เช่ น ปี่ ไ ม้ ไ ผ่ ปี่ เ ขาควาย และหุ น (จ้องหน่อง) ดังภาพ

(ลักษณะและต้าแหน่งของลิ้นปี่ผไู้ ทยกับลิ้นแคนจีน)

ตานานและข้อสันนิษฐานในการประดิษฐ์แคน ตานานไทยเล่าว่า หญิงหม้ายตามนายพรานไปฟังเสียงนกการเวกใน ป่า แล้วกลับมาประดิษฐ์เครื่องดนตรีเลียนเสียงนกการเวก จนเกิดเป็นแคนขึ้น ส่วนตานานจีนก็คล้ายคลึงกัน คือ เปรียบรูปลักษณ์ของแคนเป็นดั่งนกการเวก เต้าคือตัวนก กู่แคนคือปีกนก มีเสียงไพเราะดุจเสียงนกการเวก แต่นกการเวก เป็นนกสวรรค์ ต่างชนต่างเผ่าก็ไม่เคยเห็นนกการเวก ต่างคิดวาดภาพออกมา เป็นนกยูงก็มี เป็นหงส์ก็มี และเป็นนกหัสดีลิงค์ก็มี ซึ่งคงต้องมีการศึกษาค้นคว้า ต่อไป แต่แนวการสันนิษฐานในการประดิษฐ์แคนน่าจะเกิดจากหุนและปี่ชนิด ต่าง ๆ เช่น ปี่ตอเฟือง หรือปี่ซังข้าว ปี่ใบตองกล้วย ปี่ใบพร้าว ปี่ไม้ซาง ดังภาพ


26 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(ปี่เขาควาย ลิ้นท้าด้วยติวไม้ไผ่เช่นเดียวกับลิ้นแคน)

(ปี่ผู้ไทย)

(สอดใส่ลิ้นปี่แนบไว้กับเขาควายแล้วน้าเขาควายสอดเข้าไปในลูกน้​้าเต้า)

(ปี่เขาควาย หรือ ปี่สะไนง์ ปี่สะไนง์บั้งไม้ไผ่ของชาวผูไ้ ทย)

8


9

27

การประดิษฐ์ปี่และแคนตระกูลจีน เกิดจากการนาปี่ไม้ซางมาสอดใส่ไว้ในลูกน้าเต้า ตอนแรกก็สอด ปี่เลาเดียวและมีหลายรูนับ หรือหลายเสียงในปี่เลาเดียว ต่อมาสอดใส่ปี่หลาย เลาไว้ ใ นลู ก น้ าเต้ า เดี ย วกั น และให้ ปี่ แ ต่ ล ะเลามี เ สี ย งต่ า งกั น ไปจนครบ เสียงดนตรี ดังภาพ

(ลักษณะและต้าแหน่งของลิ้นปี่ผไู้ ทยกับลิ้นแคนจีน)

(แรกทีเดียวก็ใส่ปเี่ พียงเลาเดียว ต่อมาเพิ่มปีเ่ ข้าไปหลายเลา)


10

28 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(ปี่เต้าด้านหน้า มีรูนับเสียง 6 รู) (ปี่เต้าด้านหลัง มีรูนับเสียง 1 รู)

(ปี่เต้าที่เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน)

(สอดใส่ลูกปี่ใส่เข้าในลูกน้​้าเต้า)

(ปี่เต้าของชาวนาซีในงานมหกรรมที่เมืองลี่เจียง มณฑลยูนนาน)


11

29

(แคนจีน Chinese Sheng)

(แคนจีน จัดลูกแคนหรือกู่แคนรวมกันเป็นรูปทรงกลม ลิ้นแคนจะอยูส่ ่วนล่างสุดของกู่แคน)

กาเนิดและพัฒนาการขอแคนไทย – ลาว ถ้าแบ่งแคนตามลักษณะทางอุโฆษวิทยา แบ่งออกได้เป็น 2 ตระกูล คือ ตระกูลไทย - ลาว และม้งตระกูลหนึ่ง และแคนตระกูลจีนอีกตระกูล หนึ่ง มีความแตกต่างกันใน 2 ประการ คือ 1. แคนจีนจะวางตาแหน่งของลิ้นแคนไว้ ตรงจุดด้านล่างสุดของลูกแคนตามที่ได้กล่าวไปแล้วในตอนก่อนหน้านี้ ส่วนแคน ไทย – ลาว และแคนม้ง จะวางตาแหน่งลิ้นแคนตรงกลางลูกแคน และ การจัด ลูกแคนของจีน จะรวมลูกแคนเข้ากันเป็นรูปทรงกลม

ส่วนแคนไทย – ลาว และแคนม้ง จะแยกลูกแคนออกเป็นสองแผงหรือสองแถว ดังภาพ


12

30 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(แคนไทย – ลาว จัดกู่แคนไว้เป็นสองแผง แผงละ 7 หรือ 8 ลูกเท่ากัน)

แคนไทย - ลาว วางตาแหน่งลิ้นแคนไว้ตรงกลางของกู่แคน ดังภาพ

(ส่วนล่างของกู่แคน

ตำ�แหน่งลิ้นแคน

ส่วนปลายของกู่แคน)

(หุน หรือ หึน หรือ จ้องหน่องไม้ไผ่)

สันนิษฐานจากเครื่องดนตรีที่เป็นต้นกาเนิดของแคนไทย ลาว และม้ง น่าจะมาจากปี่สามชนิด ปี่ไม้ซางหรือปี่ ไม้ไผ่ ปี่เขาควายหรือปี่สะไนง์ และพิณ ไม้ไผ่ที่มีลิ้นและใช้ดีดในกระพุ้งแก้ม ที่คนอีสานเรียกหุนหรือหึน หรือจ้องหน่อง ก็เรียก เดิมปี่ไม้ไผ่ ปี่ไม้ซางหรือปี่ผู้ไทย สอดใส่ลิ้นไว้ที่ปลายข้อของปี่ ต่อมาอาจ


13

31

พลิกแพลงย้ายที่ลิ้นปี่มาไว้ตรงกลาง จุดใดจุดหนึ่งที่ไม่ใช่ปลายสุด เพื่อสอดใส่ ให้เกิดสมดุล ในลูกน้าเต้ าได้ ซึ่งคงเลียนแบบจากแคนชาวเขาที่มีอยู่มากมาย หลายแบบ จนได้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง หรือแคนไทยลาวอาจจะเลียนแบบ มาจากแคนม้งก็เป็นได้ เพราะแคนม้งกับแคนหกของไทยลาวมีระบบเสียงและ โครงร่างของแคนเหมือนกัน

(แคนสาม แคนหก หรือแคนโก่ เป็นแคนส้าหรับเด็ก แต่ก็สามารถเป่าเป็นเพลง และเป่าเป็นลายได้)

(แคนม้ง จัดกู่แคนไว้เป็น 2 แถว แถว ละ 3 ลูก เท่ากัน กู่แคนแบ่งเป็นสองแผง ซ้าย - ขวา ข้างละเท่ากัน)


32 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(ระบบนิ้วและเสียงแคนซ้าเหนือหรือเซียงขวาง)

(ภาพแคนซ้าเหนือ ด้านซ้าย และ ด้านขวา)

(แคนของชนเผ่าไตขาวที่เมืองไลเจา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม)

14


15

33

(แคนชนเผ่าไทขาวที่เมืองไลเจา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม)

(แคนของชาวซ้าเหนือ)

(ท่าการถือแคนและเป่าแคนชาวไทย และ ท่าการถือแคนและเป่าแคนของชาวลาว)


34 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

16

(ท่าถือแคนและเป่าแคนของชาวม้งที่บ้านเข็กน้อย เพชรบูรณ์ (ซ้าย) ท่าถือแคนและเป่าแคนของชาวไตขาวที่เมืองไลเจา เวียดนาม (ขวา))

การอนุรักษ์ ประยุกต์ใช้ และพัฒนา การอนุ รั ก ษ์แ คนที่ จ ะให้ ไ ด้ ผ ลยั่ ง ยื น โดยแท้นั้ น จ าเป็ นต้ องอนุรั ก ษ์ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางสังคม ที่มีส่วนเกื้อหนุน ให้แคนคงอยู่ กับคนไทยและ คนลาว ซึ่งสภาพแวดล้อมเหล่านี้ประกอบด้วย ช่างทาแคน เครื่องมือ และวัสดุ ที่ ใ ช้ ท าแคน การน านวั ต กรรมมาช่ ว ยหมอแคน หมอล า นั ก แต่ ง กลอน ล า วรรณคดี งานบุญประเพณี และพุท ธศาสนา ดังจะได้พรรณนาแต่ละหั ว ข้อ พอสังเขป ดังนี้ ช่างทาแคน เกี่ยวกับช่างทาแคน ควรมีการศึกษาวิจัยชีวประวัติและผลงานของช่าง ทาแคน ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ ในการทาแคนให้มีคุณภาพ ทั้งด้านเสียงและ รูปลักษณ์ของแคน มีการเชิดชูเกียรติ เช่น เป็นผู้มีผลงานดีเด่นหรือให้ได้รับ ปริญญากิตติมศักดิ์ ดับ ปริ ญญาตรี โท เอก นอกจากนี้ควรให้ทุน อุดหนุน แก่ เยาวชนเพื่อเรียนรู้และสืบทอดการทาแคนจากช่างทาแคนที่มีประสบการณ์


17

35 เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการทาแคน ควรมีการสร้ างและพัฒ นาให้ ทันสมัยและเพียงพอต่อการนามาใช้ เช่น เครื่องมือตัด เจาะ กรอ กลึง ที่ช่วยให้ ช่างทาแคนทาแคนได้ประณีต สวยงาม และรวดเร็ว วัสดุที่ใช้ทาแคนก็มีความสาคัญ เช่น โลหะที่ใช้ทาลิ้นแคน ในสมัยก่อน ใช้เหรีย ญเงินและสตางค์แดง น ามาหลอมผสมกันสาหรับตี เป็นลิ้น บางที ก็ใช้เข็มขัดนาก ปัจจุบั นวัสดุเหล่านี้หายากขึ้น ช่ างบางคนก็ใช้แท่งเงินจาก โรงกษาปณ์มาตีเป็นลิ้น บางช่างก็ใช้ปลอกกระสุนปืน บางช่างก็ใช้ฉาบใหญ่ ที่แตกแล้วมาหลอมและตีทาลิ้นก็มี ขี้สูดทาหรับ ทาแคนเดี๋ ยวนี้ก็หายาก มีราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 700 1,000 บาท ซึ่งเดิมช่างแคนไปขุดตามโพนใกล้ บ้าน แมงขี้สู ดน้อยลงเพราะ ถูกพิษของยาฆ่าแมลงต่าง ๆ ที่ชาวบ้านนามาใช้ในการฆ่าหญ้าและแมลงต่าง ๆ ชาวบ้านควรมีการตั้งกลุ่มเลี้ยงผึ้งชัน นะโรงเพื่อผลิตขี้สู ดขายแก่ช่างทาแคน ผู้เขียนเคยไปดูฟาร์ มเลี้ ย งชัน นะโรง เพื่อผลิ ตน้ าผึ้ งขายส่ งไปญี่ปุ่น ได้ราคา กิโลกรัมละ 5,000 บาท ถ้าเลี้ยงได้ก็จะได้เงินทั้งจากการขายน้าผึ้งและขายขี้สูด เครือย่านางก็หายากกว่าในอดีต เพราะป่า ดงดอนถูกถางและทาลาย ไปมาก คนปลูกก็ไม่มี มีแต่คนกินคนใช้ เครือย่านางสาหรับมัดแคนนี้ ต้องเครือ ที่ยาวเลื้อยไปตามดิน จึงจะมีขนาดตรงและสวยงาม ควรจะปลู กย่านางเป็น อาชีพ ขายใบเป็นยาและอาหาร ขายเครือสาหรับมัดแคน หมอแคน ในอดีตจะมีหมอแคนที่มีฝีมือระดับอาชีพตามหมู่บ้านต่าง ๆ โดยทั่วไป รวมทั้งหมอปี่ หมอแคน และหมอลาด้วย ผู้ชายส่วนมากเล่นดนตรี เป็นเพื่อใช้เป็นสื่อในการไปเกี้ยวพาราสีและเป็นเสน่ห์แก่ตน ในหมู่บ้านต่าง ๆ


36 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

ทั้งเด็กเล็ก คนเฒ่าคนแก่ต่างชื่นชมและชอบฟังเสียงแคน โดยเฉพาะหมู่บ้านใน ชนบท ยามดึ ก สงั ด เสี ย งแคนจะไพเราะจั บ ใจประดุ จ จะมี ม นต์ ข ลั ง ให้ ผู้ ฟั ง หลงใหล โดยเฉพาะเมื่อได้ฟังเสียงแคนลายใหญ่ ชาวบ้านจะเรียกว่า ลายใหญ่ เลาะบ้าน ลายผู้เฒ่าเงยคอ หรือลายใหญ่หัวตกหมอนก็เรียก การเรียนเป่าแคนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ นับเป็นเรื่องยากลาบาก มี เฉพาะคนที่รัก มีความจาดีและมีพรสวรรค์เท่านั้นที่จะเป่าได้ บางคนเชื่อว่า คนที่มีบรรพบุรุษหรือมีเชื้อสายเป็นหมอแคนจึงจะเป่าเป็ น บางคนเชื่อว่าคนที่ ตาบอดเท่านั้นจึงจะเป่าแคนได้ มีระยะหนึ่งในอดีตที่เพิ่งผ่านมา สังคมอีสานขาดหมอแคนสาหรับเป่า ประกอบหมอลา เกิดการแย่งชิงหมอแคนกันอยู่บ่อย ๆ หมอลาบางคนถึงกับ แต่งเอาหมอแคนไว้เป็นผัว เพื่อใช้เป็นหมอแคนประจาที่สั่งได้ดั่งใจ ไม่ต้องจ้าง หาให้เสียเงิน ปัจจุบัน ระบบโรงเรียนของเรามีหลักสูตรการเรียนการสอนทั้งในระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับมหาวิทยาลัย ในทุกแขนงวิชา คือ ดนตรีไทย ดนตรี พื้นบ้ าน ดนตรี สากล และดนตรี อาเซียน โดยเฉพาะสาขา ดนตรี พื้น บ้ านอีส าน มีนักเรี ยนนั กศึกษาเลื อกเรี ยนกัน มาก เพราะได้รับทั้ ง ความสุขสนุกสนาน และมีรายได้ขณะเรียนด้วย ไม่ว่าจะเป็นการดีดพิณ หรือ เป่าแคน ได้ค่าตอบแทนคืนละพันถึงสองพันบาทต่อคน ควรมีการประกวดช่างทาแคนและหมอแคนที่มีความสามารถทาแคน ที่มีคุณภาพดีเยี่ ยมหรือเป่าแคนได้เก่ง ตลอดจนมีการเชิดชูเกียรติ หรือให้ ปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์แก่ช่างทาแคน ระดับปริญญาตรี โท เอก ตามระดับ


19

37

ความสามารถและความเชี่ยวชาญ และมีรางวัลเกียรติยศเป็นทุนส่งเสริมใน วิชาชีพ ควรผลิตสื่อสารคดีในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่เกียรติคุณ แก่ช่างทาแคนและหมอแคน เพื่อเป็นการหารายได้ จัดตั้งเป็นกองทุนสวัสดิการ แก่ช่างทาแคนและหมอแคน หมอลา ก็เป็นองค์ประกอบที่สาคัญยิ่งในการอนุรักษ์และสืบทอดแคน หมอลาและหมอแคนต่างพึ่งพาอาศัยกัน ประดุจน้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า หมอลา ที่ล าไม่มีแคนก็ขาดความไพเราะ หมอแคนที่ไม่มีห มอลา เป่าไปไม่นานก็จะ เหนื่อยและเมื่อยล้า ไม่มีชีวิตชีวา หมอลา - หมอแคน เปรียบเสมือนนักว่ายน้า และเป็ น น้ าช่ ว ยพยุ ง กั น และกั น ให้ เ พลิ ด เพลิ น สนุ ก สนาน ไม่ เ หน็ ด เหนื่ อ ย เมื่อยล้าแต่อย่างใด ภาษาและวรรณกรรมเป็ น สิ่ งส าคัญยิ่ งส าหรับหมอล าหมอแคน ถ้า ภาษาถิ่น อีสานของเราสูญไป หมอลาก็จะสูญไปด้ว ย เพราะไม่มีใครฟังลา หมอแคนก็ไม่มีงานทาด้วยเช่นกัน การนานวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ส่งเสริมและเผยแพร่ เช่น การเผยแพร่ ทางเฟซบุ๊กและทางเว็บไซต์ ช่วยให้การกระจายข่าวและความรู้เป็นไปได้ไกล และกว้างขวาง ในเวลาอันรวดเร็ว กล่องสาหรับใส่แคนก็ต้องมีการสร้างสรรค์และพัฒนาเพื่อให้สะดวก และปลอดภัยในการเก็บรักษาและการเดินทาง และในการจาหน่ายเผยแพร่ ไปได้ทั่วโลก


38 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

20

คู่ มื อ การเป่ า แคนก็ มี ค วามส าคั ญ ควรมี ทั้ ง ที่ เ ป็ น ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ทั้งที่จะช่วยกระจายความรู้เรื่องการเป่าแคนไปยังนานาประเทศ ได้ผ ลดีและรวดเร็ ว ตลอดการทาสื่ อการเป่ าแคนในรู ป แบบอื่น ๆ เพื่อช่ว ย ผู้สนใจในเพลงแคนและการเป่าแคนได้สะดวกขึ้น ไม้กู่แ คน นั บ เป็ น วั ส ดุ ที่ส าคัญ ยิ่ งในการทาแคน ควรมีการปลู กเอง ตามที่ ส วนไร่ น า เพราะต้ น ไม้ กู่ แ คนที่ ช าวอี ส านเรี ย กไม้ เ ฮี้ ย นั้ น ขาดแคลน อย่างหนั ก เพราะป่ าดงถูกตัดทาลาย ช่างแคนในอีส านในปัจจุบัน ต้องสั่ ง ไม้กู่แคนจากฝั่งประเทศลาว เหมากันเป็นคันรถ โดยมิได้มีการคัดสรรขนาดและ อายุของไม้ ที่ใช้ทาแคนไม่ได้ก็มาก ต้องทิ้งเป็นเชื้อไฟก็มาก ภาพตัวอย่างในการประยุกต์ใช้

(การท้าแคนขนาดเล็กใส่กรอบเป็นของฝาก)


21

39

ภาพตัวอย่างในการพัฒนากล่องใส่ปี่เต้า

(ปี่เต้าไม่มีกล่อง (ซ้าย) และ ปี่เต้าพร้อมกล่อง (ขวา))

ภาพตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปี่จีนในรูปแบบต่าง ๆ

(เป่าปี่ในแนวตั้ง (ซ้าย) และ เป่าปีใ่ นแนวนอน (ขวา))


40 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

22

บรรณานุกรม Chonpairot, Jarernchai. (2014). “A New Approach to Learning to Play a Khaen Mouth Organ.” in Liu, Xiaojing & Peng, Li. The space - time dialogue of Ethnic Musical Culture. Ji Nan : Shandong Education Press. 2014, pp. 119 - 133 Chonpairot, Jarernchai (2014). “Adaptation: A Natural Treatment for the Survival of Traditional Music and Performing Arts”, in Music and Culture, College of Music, Mahasarakham University Journal. The 8th Year, Volume 1, January - March 2014. Special Issue : The 18th International Conference of the Asia - Pacific Society for Ethnomusicology. College of Music, Mahasarakham University, January 7 - 10, 2014, pp. 2911 - 294. Chonpairot, Jarernchai. (2011). Preservation, Revitalisation, and Promotion of Traditional Music Through Ethnomusiccology Program: A Case Study of Mahasarakham Univeersity” in Hue : International Symposium: Ethnomusicology Training at Hue Academy of Music. December. Hue Academy of Music, Vietnam. U Kyaw Win. Myanmar Traditional Musical Instruments. Yangon : Ministry of Culture, Fine Arts Department. (No date of Publication) (http://www.wangdermpalace.org/Kingpinklao23 _th.html) Zuo Boyang. (1984) Recent Dicoveries in Chinese Archeology . Beijing : Foreign Language Press., 8th page of illustration.


กลอนลำและทำนองลำ ดร.ราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจริญชัย ชนไพโรจน์ 2 ควำมหมำยของคำว่ำ “หมอลำ” คำว่ำ “หมอ” ในภำษำไทยถิ่นอีส ำน หมำยถึง ผู้ รู้ห รือผู้เชี่ยวชำญ ระดับมืออำชีพในกำรใช้ หรือกำรประกอบวิชำชีพสำขำใดสำขำหนึ่ง เช่น หมอ โหร หรื อ หมอมอ หมำยถึ ง ผู้ ช ำนำญในกำรท ำนำยโชคชะตำ หมอเสน่ ห์ หมำยถึง ผู้ช ำนำญในกำรทำเสน่ ห์ หมอยำ หมำยถึง ผู้ ชำนำญในกำรใช้ยำ หมอเอ็น หมำยถึง ผู้ชำนำญในกำรนวดแผนโบรำณ หมอธรรม หมำยถึง ผู้ชำนำญในกำรใช้ธรรมหรือบทสวดในกำรรักษำ ปัดเป่ำ หรือปกป้องคุ้มครอง ให้อยู่ดีมีสุข หมอนำมนต์ หมำยถึง ผู้ชำนำญในกำรใช้นำมนต์เพื่อรักษำกำร เจ็บไข้ได้ป่วย หมอแคน หมำยถึง ผู้ชำนำญในกำรเป่ำ แคน ช่ำงแคน หมำยถึง ผู้ชำนำญในกำรทำแคน หมอลำหมำยถึงผู้ชำนำญในกำรลำ ที่มำของคำว่ำ “หมอลำ” คำว่ำ “ลำ” มีท่ำนผู้รู้สันนิษฐำนกันไว้เป็นหลำยนัย เช่น 1. สันนิษฐำน ว่ำ ล ำ เป็น คำลั กษณนำม หมำยถึงสิ่ งที่ยำว เช่น ล ำพร้ำว ล ำตำล ล ำไผ่ ลำนำ ลำโขง รวมถึงวรรณคดีอีสำนที่เป็นเรื่องยำว ก็เรียกว่ำ ลำ ด้วย เช่น 1

E – mail : rsrivilai@gmail.com 2 E – mail : chonpairotj@gmail.com


42 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

ลำกำระเกด ลำศิลป์ชัย ลำจำปำสี่ต้น เหล่ำนี เป็นต้น 2. สันนิษฐำนว่ำ กำร จำรหรือกำรเขียนหนังสือในสมัยโบรำณ นิยมจำรลงบนผิวไม้ไผ่ หรือลำไม้ไผ่ ฉะนันหนังสือผูกหรือหนังสือโบรำณอีสำนเหล่ำนี จึงใช้คำลักษณนำมว่ำ “ลำ” ผู้อ่ำนหนังสือนิทำนโบรำณเหล่ำนีที่สำมำรถท่องจำได้ จนนำไปเล่ำเป็นนิทำน ให้คนอื่นฟัง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรเล่ำนิทำนให้เด็กฟัง ผู้ที่มีควำมชำนำญใน กำรจดจำเรื่องหรือบทกลอนจำกหนังสื อโบรำณเหล่ำนีก็เลยได้รับสมญำนำม ว่ ำ เป็ น “หมอล ำ” ซึ่ ง ฟั ง ดู เ ป็ น เหตุ เ ป็ น ผลน่ ำ เชื่ อ ว่ ำ จะเป็ น จริ ง แต่ ห ำก พิจำรณำข้อมูลอื่น ๆ ประกอบ ก็จะเห็นเป็นอย่ำงอื่น ดังนี หำกเรำจะพิ จ ำรณำจำกหลั ก ฐำนกำรใช้ ค ำว่ ำ “ล ำ” ของคนไทย ท้องถิ่น อื่ น ๆ ก็ จ ะพบดั งนี คือ 1. ชำวไทยถิ่ น เหนือ เรียกกำรขับร้ อง หรื อ ล ำ นี ว่ ำ “ขั บ ” เช่ น ขั บ ซอ ซึ่ ง เดิ ม น่ ำ จะหมำยถึ ง กำรขั บ ร้ อ งที่ ใ ช้ ซ อเป็ น เครื่องดนตรีประกอบ ซึ่งตรงกับที่ชำวสุรินทร์ในภำคอีสำน เรียกว่ำ จเรียงตรัว ต่อมำชำวไทยถิ่นเหนือ ตัดคำว่ำ “ขับ” ออก เหลือแต่คำว่ำ “ซอ” และกลำย ควำมหมำยจำกเดิม ที่หมำยถึงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี ไปเป็นขับร้อง หรือ กำรขับร้อง เช่น คำว่ำ ซอจับนก ซึ่งหมำยถึงกำรขับร้องเพลงชมธรรมชำติ สำหรับชำวลำวในภำคเหนือของลำว ก็เรียกกำรลำหรือกำรขับร้องว่ำ “ขั บ ” เช่ น เดี ย วกั บ ในภำคเหนื อ ของไทย เช่ น ค ำว่ ำ ขั บ ทุ้ ม หลวงพระบำง ขับเซียงขวำง ขับพวน ขับซำเหนือ และขับงึ่ม เป็นต้น ส่วนในทำงตอนใต้ของลำวเรียกกำรขับร้องเพลงพืนบ้ำนว่ำ ลำ ตำมชื่อ ของบ้ ำนเมืองในท้องถิ่น นัน ๆ เช่น ลำสีพัน ดอน ลำบ้ำนซอก ลำตั่งหวำย ลำมหำชัย และลำสำละวัน เป็นต้น


3

43

สำหรับในภำคอีสำนของไทย เรียกกำรขับร้องเพลงพืนเมืองว่ำ “ลำ” และเรี ย กชื่อแตกต่ำงกัน ไป ตำมลั กษณะลี ลำของกำรล ำ เช่น ล ำทำงสั น ลำทำงยำว ลำเดินดง ลำย่ำว และลำเพลิน เป็นต้น เดิมทีในภำคกลำงของไทยเรียกกำรขับร้องเพลงว่ำ กำรขับลำนำ และ คำว่ำ “ลำ” ยังใช้เป็นคำเรียกชื่อเพลงไทยเดิมต่ำง ๆ เช่น ลำนำงนำค ลำลมพัด ชำยเขำ และลำสร้อยสน เป็นต้น ฉะนันหำกวิเครำะห์จำกข้อเท็จจริงที่ปรำกฏในภำษำถิ่นต่ำงของชนเผ่ำ ไทย - ลำว เหล่ ำนี ท ำให้ เป็ น ที่น่ ำเชื่อ ว่ำ ค ำว่ำ “ล ำ” หรื อ “ขับ ” น่ำจะ มำจำกต้นตอเดียวกัน คือ คำว่ำ “ขับลำนำ” นั่นเอง ประเภทของหมอลำ ตำมลักษณะกำรจัดแบ่งแบบชำวบ้ำน หมอลำแบ่งเป็นประเภทต่ำ ง ๆ ได้ดังนี 1. หมอลำผีฟ้ำ 2. หมอลำพืน 3. หมอลำกลอน 4. หมอลำหมู่ 5. หมอลำเพลิน และ 6. หมอลำซิ่ง หมอลำผีฟ้ำ หมำยถึง หมอลำที่ลำสื่อสำรกับผีที่เชื่อกันว่ำอยู่บนฟ้ำ ซึ่ง เรี ย กกัน ว่ำ “ผี ฟ้ำ ” เพื่อ อัญ เชิ ญมำรั ก ษำคนที่เ จ็บ ไข้ ได้ ป่ว ย หมอล ำพื น หมำยถึง หมอลำเล่ำนิทำน คำว่ำ “พืน” แปลว่ำ เรื่องเก่ำ เรื่องเดิม หรือ นิทำน หมอลำกลอน หมำยถึง หมอลำที่ประชันขันแข่งเอำแพ้ - ชนะกันด้วยบทกลอน หมอล ำหมู่ หรื อหมอล ำเวีย ง หมำยถึง หมอล ำที่ แ สดงเป็ นหมู่ค ณะและใช้ ทำนองลำที่แสดงอำรมณ์เศร้ำ (ทำนองลำทำงยำว) หมอลำเพลิน หมำยถึง หมอลำที่แสดงเป็นหมู่คณะ ใช้ทำนองลำที่ให้อำรมณ์ครึกครืนและเพลิดเพลิน


4

44 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(ทำนองลำเพลิน) ส่วนหมอลำซิ่ง (ชื่อเต็มคือหมอลำกลอนซิ่ง) คือ หมอลำ กลอนที่มีองค์ประกอบที่ผสมผสำนกันหลำยอย่ำงคือ 1. กำรลำ 2. กำรร้อง (เพลงลู ก ทุ่ง) และ 3. กำรเต้น (ทังกำรเต้น ของหมอล ำและกำรเต้น ของ หำงเครื่อง) เป็นหลัก ระดับเสียงในภำษำไทยถิ่นกลำง ตำมตำรำภำษำไทยมักจะกล่ำวว่ำ วรรณยุกต์มี 4 รูป คือ ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี และไม้จัตวำ ส่วนเสียงวรรณยุกต์นันมี 5 เสียง คือ เสียงสำมัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวำ แต่หำกจะพิจำรณำในแง่ทำงดนตรีแล้ว ระดับ เสียงในภำษำไทยนัน มี 6 เสียง ไม่ใช่ 5 เสียง ทังนีเพรำะระดับเสียงตรี หำก พิจำรณำให้ละเอียดแล้ว จะแยกได้เป็น 2 อย่ำง คือ ตรีเสียงสันและตรีเสียงยำว เช่น นะ คะ นึก คิด โต๊ะ ถือว่ำเป็นระดับเสียงตรีสัน และคำว่ำ น้ำ ค้ำ ร้อน ช้ำง ม้ำ เป็นระดับเสียงตรียำว ระดับเสียงวรรณยุกต์ไทยถิ่นกลำง ทัง 6 ระดั บ เสียง ได้แก่ ระดับเสียงที่ ตัวอย่ำงคำ ระดับเสียง ศัพท์ ภำษำศำสตร์ เสียงดนตรี

1 คำ สำมัญ mid

2 ข่ำ เอก low

โด

ลำ

3 ค่ำ ข้ำ โท mid falling โด - ลำ

4 คะ นะ ตรีต่ำ high

5 ค้ำ น้ำ ตรีสูง high falling

6 ขำ จัตวำ rising

มี

ซอล - โด ลำ - เร


5

45

ระดับเสียงในภำษำไทยถิ่นอีสำน ภำษำไทยถิ่นอีสำน มี 6 เสียง เช่นเดียวกับภำษำไทยถิ่นกลำง คือ 1. เสียงสำมัญ 2. เสียงเอก 3. เสียงโท 4. เสียงตรีสัน 5. เสียงตรียำว และ 6. เสียงจัตวำ เช่น ระดับเสียงที่ ตัวอย่ำงคำ ระดับเสียง ศัพท์ ภำษำศำสตร์ เสียงดนตรี

1 ซั่น สำมัญ mid

2 สัน เอก low

โด

ลำ

3 ซัน โท mid falling โด - ลำ

4 สั่น ตรีต่ำ high

5 ซัน ตรีสูง high falling

6 สัน จัตวำ rising

มี

ซอล - โด ลำ - เร

1. เสียงที่หนึ่ง “ซั่น” ออกเป็นเสียงสำมัญ แปลว่ำ เขย่ำ 2. เสียงที่ สอง “สัน” ออกเป็นเสียงเอก แปลว่ำ สัน (ไม่ยำว) เช่นเดียวกับในภำษำถิ่น ไทยกลำง 3. เสียงที่สำม “ซัน” ออกเป็นเสียงโท แปลว่ำ ชัน 4. เสียงที่สี่ “สั่น” ออกเป็ น เสี ย ง ตรี สั น (เที ย บเท่ ำ ค ำว่ ำ นั ด ) แปลว่ ำ สั่ น เช่ น หนำวจนสั่ น 5. เสี ย งที่ ห้ ำ “ซั น ” ออกเป็ น เสี ย ง ตรี ย ำว (เที ย บเท่ ำ คำว่ ำ นัน หรือ ซั น) แปลว่ำ ชัน 6. เสียงที่ หก “สัน” ออกเป็นเสียงจัตวำ แปลว่ำ สัน เช่น สันเขำ สันหลัง


6

46 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว ระบบเสียงวรรณยุกต์ในภำษำไทยถิ่นภำคกลำง กลุ่มอักษร / รูป วรรณยุกต์ อักษรสูง / ระดับ เสียง ขฉฐถ ผฝ ศ ษสห อักษรกลำง / ระดับเสียง กจดฎตฏบ ปอ อักษรต่ำ / ระดับเสียง คงชซฌญฑ ฒณทธน พฟภมยรฤ ฤำ ล ว ฬ ฮ

ไม้เอก

ไม้โท

แม่กง กน กม เสียงเอก เสียงโท เสียง (ไข่ ห่ำน (ห้ำ ผ้ำ จัตวำ ส่อง) ห้อง) (ขม เห็น ถัง) เสียงเอก เสียงโท เสียง (ไก่ ด่ำน (เก้ำ สำมัญ แอ่ง) จ้ำง (กิน ดง บ้ำน) ตำล) เสียงโท เสียงตรี เสียง (ค่ำง พ่อ สูง สำมัญ แม่) (ค้ำง พ้อ (คำน ฟ้อน) ทำง พิมพ์)

แม่ กก กด กบ เสียงสัน เสียงยำว เสียงเอก เสียงเอก (ขัด หัก (ผูก ขำด สิบ) หำบ) เสียงเอก เสียงเอก (กัก จับ (กำบ จำก ตัด) ปำด) เสียงตรี ต่ำ (คิด นก พบ)

เสียงโท (คำด นอก เพียบ)

(หมำยเหตุ : ค ำที่ มี รู ป วรรณยุ ก ต์ ต รี ห รื อ วรรณยุ ก ต์ จั ต วำก ำกั บ มี เ ฉพำะ คำพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรกลำง ซึ่งหำกเป็นคำที่มีวรรณยุกต์ตรีกำกับ จะออก เสียงเป็นเสียงตรีสัน ส่วนคำที่มีวรรณยุกต์จัตวำกำกับ จะออกเสียงเป็นเสียง จัตวำ)


7

47 ระบบเสียงวรรณยุกต์ในภำษำไทยถิ่นอีสำน กลุ่มอักษร / รูป วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ เอก (เสียงสัน ยำว) อักษรสูง / เสียงตรีต่ำ ระดับเสียง (ไข่ สั่ง ขสถผฝห ผ่ำน)

อักษรกลำง / ระดับเสียง กจดตบปอ ย

วรรณยุกต์ โท (เสียงสัน ยำว) เสียงเอก (เข้ำ สัน ห้ำง)

เสียงตรีต่ำ เสียงโท (ไก่ ด่ำง (เก้ำ ด้ำน ปั่น) บัง)

อักษรต่ำ / เสียงสำมัญ เสียงโท ระดับเสียง (คะ ค่ำ นัง่ (ค้ำ นำ ค ง ซ ญ ท น พ ม่วน) พ้น) ฟมลวฮ

ตัวสะกด แม่ กง กน กม (เสียง สัน - ยำว) เสียง สำมัญ (ขัน สม ถำง)

ตัวสะกด แม่ กก กด กบ เสียงสัน เสียง ยำว เสียง เสียง จัตวำ เอก (ขับ สับ (ขำด หัด) สำก หำบ) เสียง เสียง เสียง สำมัญ จัตวำ เอก (กิน จำง (กบ จด (กำบ ตม) ตัก) จอด ปำก) เสียงตรีสูง เสียง เสียงโท (คำ นำง สำมัญ (คำด ทน) (คับ นก นอก มิด) มืด)

(หมำยเหตุ : คำภำษำไทยถิ่นอีสำน ไม่มีรูปวรรณยุกต์ตรีหรือวรรณยุกต์จัตวำ กำกับ)


8

48 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงระดับเสียงภำษำไทยถิ่นอีสำนกับเสียงดนตรี เสียงที่ ระดับเสียง ตัวอย่ำงคำ ศัพท์ ภำษำศำสตร์ เสียงดนตรี

1 สำมัญ ซ่ำง mid

2 เอก ส้ำง low

โด

ลำ

3 โท ซ้ำง mid falling โด - ลำ

4 ตรีต่ำ ส่ำง high มี

5 ตรีสูง ซำง high falling ซอล - โด

6 จัตวำ สำง rising ลำ - เร

บทประพันธ์อีสำน บทประพันธ์อีสำนมีทังบทที่แต่งขึนเป็นแบบร้อยแก้วและร้อยกรอง บทที่เป็นร้อยแก้วอำจจะเป็นนิทำน ตำรำยำ ตำนำน และสภำพบ้ำนเมือง ส่วน บทร้อยกรองนัน นิยมเรียกกันว่ำ “กลอน” เช่น กลอนเทศน์ กลอนนิทำนชำดก กลอนสูตรขวัญ และกลอนผญำ ซึ่งมีทังผญำภำษิตและผญำเกียว ลักษณะบทร้อยกรองอีสำน กลอนเทศน์ มีลักษณะเป็นกลอนร่ำย เป็นกลอนที่ไม่จำกัดจำนวนพยำงค์ในแต่ละ วรรค แต่อำศัย สัมผัสในและสั มผัสนอกเกำะก่ำยกันไป ซึ่งอำจจะเป็นกลอน เทศน์ ธ รรมดำที่เป็ น เอกเทศ หรื อกลอนเทศน์ เรื่ องเวสสั น ดรชำดก ในงำน บุญพระเวสฯ เช่น คำอำรำธนำพระเวสฯ ที่ว่ำ “สุณำตุ โภนโต เย สังฆำ ดูรำเทพเจ้ำทังหลำย อันยำยยังอยู่

ทุกหมู่ไม้ไพรพนอม ทุกเหวฮ่อมแนวป่ำ ทุกประเทศท่ำฮำวเขำ ทุกแถวเถำว์ เถื่อนกำ ทุกท่ำนำและวังปลำ พรรณนำฝูงเผดและผี อันมีใจโหดฮ้ำยโทสำ


9

49

จงให้เจ้ำทังหลำยปละละใจอันเป็นบำป ให้ค่อยโสภำพเงี่ยโสตฟังธรรม เดำดำ จำจื่อไว้ เป็นประทีปไต้ส่องตำมทำง” กลอนสูตรขวัญ มีลักษณะเป็นกลอนร่ำย เช่นเดียวกับกลอนเทศน์ ตัวอย่ำงต่อไปนี กลอนสูตรขวัญนำค “ศรี ๆ สิทธิไชยะมังคลำนำคี สวัสดีญำณโยชน์ เครำะห์ฮ้ำย โหดหำยหนี อันตรำยรำคีหำยส่วง เข็ดขวงฮ้ำยสู่หนี เครำะห์เข็ญผีวินำส บริสำจหนีไกล พุทธำไปข่มแพ้เตซะฝูงมำร ธรรมบันดำลผันถีบ เครำะห์ฮ้ำย ฮีบเซหนี” กลอนอ่ำน งำนงัน เฮือนดี หรื องำนศพ เพื่อให้ ผู้ มำร่ว มงำน ได้ฟังนิทำนธรรมะ เพรำะนิทำนชำดก เป็นนิทำนที่มีเนือหำสอดแทรกธรรมะไว้อย่ำงแนบเนีย น สำมำรถกล่อมเกลำและโน้มน้ำวจิตใจคนไปในทำงที่ดี กลอนในลักษณะนีจึงมี ชื่อเรียกว่ำ “กลอนอ่ำน” ลักษณะฉันทลักษณ์ของกลอนอ่ำน ก็คือ โคลงโบรำณ นั่นเอง ซึ่งจะมีกำรกำหนดตำแหน่งของวรรณยุกต์ของแต่ละวรรคไว้ชัดเจน เป็นลำดับ ชำวอีสำนเรียกกลอนลักษณะนีว่ำ “กลอนเยิน” ดังตัวอย่ำง เช่น กลอนนิทำนเรื่องสังข์ศิลป์ชัย “ยังมีนคเรศลำ ซันซื่อเป็งจำล นิคมคน คั่งเพ็งพอตือ เวียงหลวงล้น รุงรังล้ำนย่ำน นำแผ่ล้อม ระวังต้ำยซั่วตำ”


10

50 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1

2

3

4

ยังมีน นิ เวียง นำ

คเรศลำ คมคน หลวงล้น แผ่ล้อม

ซันซื่อ คั่งเพ็ง รุงรัง ระวังต้ำย

เป็งจำล พอตือ ล้ำนย่ำน ซั่วตำ

“ฮุ่งค่ำล้น

อุดมโดย พะนังยังล้อม คนคั่งเค้ำ วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

ซำวเทศเทียวสะเภำ ดั่งดำวะดึงฟ้ำ หลำยถันแถวตำด แลงเซ้ำส่วนสน”

1

2

3

4

ฮุ่ง อุ พะนัง คน

ค่ำล้น ดมโดย ยังล้อม คั่งเค้ำ

ซำวเทศ ดั่งดำว หลำยถัน แลงเซ้ำ

เทียวสะเภำ วะดึงฟ้ำ แถวตำด ส่วนสน

จะเห็นได้ว่ำ กลอนเยิน นี มีลักษณะฉันทลักษณ์ใกล้เคียงกับโคลงของ ไทยภำคกลำงมำก ดังจะได้เปรียบเทียบโคลงจำกลิลิตพระลอ หำกดัดแปลง เพียงเล็กน้อยก็จะเป็นกลอนเยิน ดังนี


11

51 โคลงจำกลิลิตพระลอ เสียงลือเสียงเล่ำอ้ำง เสียงย่อมยอยศใคร สองเขือพี่หลับใหล สองพี่คิดเองอ้ำ วรรค / จังหวะ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1 เสียงลือ เสียงย่อมยอ สองเขือพี่ สองพี่คิด

2 เสียงเล่ำอ้ำง ยศใคร หลับใหล เองอ้ำ

แปลงเป็นกลอนเยินอีสำน เสียงเล่ำอ้ำงลือซ่ำ เสียงย้องยอยศไผ สองเขือเอือยหลับใหล สองเอือยคึดเบิ่งถ้อน วรรค / จังหวะ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

อันใด พี่เอย ทั่วหล้ำ ลืมตื่น ฤำพี่ อย่ำได้ถำมเผือ 3 อันใด ทั่วหล้ำ ลืมตื่น อย่ำได้

คำสร้อย พี่เอย ฤำพี่ ถำมเผือ

แนวใด ทั่วหล้ำ ลืมตื่น ซันบ้อเอือย ถำมน้องบ่ควร เอือยเอย

1

2

3

4

คำสร้อย

เสียง เสียง สอง สองเอือยคึด

เล่ำอ้ำง ย้องยอ เขือเอือย เบิ่งถ้อน

ลือซ่ำ ยศไผ หลับใหล ถำมน้อง

แนวใด ทั่วหล้ำ ลืมตื่น ซันบ้อเอือย บ่ควร เอือยเอย


12

52 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

โครงสร้ำงทำงฉันทลักษณ์ของกลอนเยิ้น ลักษณะของกลอนเยิน ถ้ำเป็นกลอนอ่ำนจะไม่เคร่งสัมผัสนอก (สัม ผัส ระหว่ำงวรรค) จะมีเฉพำะสั มผัสใน ซึ่งอำจจะเป็นสัมผัสอักษรหรือสัมผัสสระ แต่ข้อกำหนดที่สำคัญของกลอนเยินคือ ตำแหน่งของรูปวรรณยุกต์ กล่ำวคือ ถ้ำ ในแต่ ล ะวรรค มี จ ำนวนคำอยู่ 7 พยำงค์ ต ำแหน่ ง วรรณยุ ก ต์เ อก และ วรรณยุกต์โท จะเป็นดังนี สำยนทีหลั่งล้น ก็หำกเนืองนองไหล ฟังยินเพียง โตนตกคอนจ้ำกจ้น วรรค / จังหวะ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

โตนตำดตีฟอง ย่ำวลงตำมท้ำง เพลงกำรกลิงกล่อม ระงมเท้ำทั่วแดน

1

2

3

4

สำยนที ก็หำกเนือง ฟัง โตนตกคอน

หลั่งล้น นองไหล ยินเพียง จ้ำกจ้น

โตนตำด ย่ำวลง เพลงกำร ระงมเท้ำ

ตีฟอง ตำมท้ำง กลิงกล่อม ทั่วแดน

คำสร้อย

กลอนผญำ คำว่ำ “ผญำ” แผงมำจำกคำว่ำ “ปรัชญำ” ในภำษำสันสกฤต และคำ ว่ำ “ปัญญำ” ในภำษำบำลี ถ้ำจะแปลเอำควำม คำว่ำ “ผญำ” ก็แปลว่ำ คำพูด ของนั ก ปรำชญ์ หรื อ ค ำพู ด ของผู้ มี ปั ญ ญำ นั่ น เอง ค ำผญำในภำษำอี ส ำน


13

53

แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผญำภำษิตและผญำเกียว ผญำภำษิต หมำยถึง ผญำที่ เป็นคำสอน อำจได้มำจำกพุทธภำษิตหรือสั่งสมมำจำกประสบกำรณ์ชีวิต เช่น ตัวอย่ำงผญำภำษิต 1. นุ่งผ้ำลำยหมำเห่ำ เว้ำควำมเก่ำผิดกัน 2. ของกินบ่กินมันเน่ำ ของเก่ำบ่เล่ำมันลืม 3. อันว่ำควำมตำยนีแขวนคอทุกบำทย่ำง ตื่นมือเซ้ำเห็นหน้ำจั่งว่ำยัง 4. ทุกข์เพิ่นบ่ว่ำดี มีเพิ่นจั่งว่ำพี่น้อง 5. เอินกินแล่นใส่ เอินใซ้แล่นหนี วรรคที่ / จังหวะที่ บทที่ 1. วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 บทที่ 2. วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 บทที่ 3. วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 บทที่ 4. วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 บทที่ 5

1 นุ่ง เว้ำ

อันว่ำควำม ตื่น

เอินกิน

2 ผ้ำลำย ควำมเก่ำ ของกิน ของเก่ำ ตำยนี มือเซ้ำ ทุกข์ มี แล่นใส่

3 หมำ ผิด บ่กิน บ่เล่ำ แขวนคอ เห็นหน้ำ เพิ่นบ่ เพิ่นจั่งว่ำ เอินใซ้

4 เห่ำ กัน มันเน่ำ มันลืม ทุกบำทย่ำง จั่งว่ำยัง ว่ำดี พี่น้อง แล่นหนี

ผญำเกียว หมำยถึง ผญำที่หนุ่มสำวใช้เกียวพำรำสีกัน กลอนผญำ เกียวมีลักษณะแบบเดียวกับกลอนอ่ำนหรื อกลอนเยิน มีคำพูด คือ มีคำขึน


14

54 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

คำลง หรือคำสร้อย คำเสริม ไม่เคร่งเรื่องจำนวนพยำงค์ในแต่ละวรรค เนือหำ หรือถ้อยคำที่ใช้ มีทังที่เป็นควำมหมำยตรงและที่เป็นอุปมำ อุปไมย เช่น ตัวอย่ำงผญำเกียว ฝ่ำยชำย โอนอน้องเอย อ้ำยอยำกถำมข่ำวน้อง อยำกถำมข่ำวทำงปลำ อ้ำยอยำกถำมข่ำวนำ อยำกถำมข่ำวทำงเข้ำ อ้ำยอยำกถำมข่ำวเจ้ำ ว่ำมีผัวแล้วหรือบ่ หรือว่ำมีตังแต่ซู้ ผัวซิซ้อนนันบ่มี วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1

คำบุพ บท โอนอ น้องเอย

วรรคที่ 2 วรรคที่ 3

อ้ำยว่ำ

วรรคที่ 4

ฝ่ำยหญิง

อ้ำยว่ำ

1

2

อ้ำยอยำก ถำม อ้ำยอยำก ถำม อ้ำยอยำก ถำม หรือว่ำมี

ข่ำว น้อง ข่ำวนำ

3

อยำก ถำมข่ำว อยำก ถำมข่ำว ข่ำวเจ้ำ ว่ำมีผัว

4

คำสร้อย

ทำงปลำ ทำงเข้ำ แล้วหรือบ่

ตังแต่ซู้ ผัวซิซ้อน นันบ่มี

น้องเอย

โอนออ้ำยเอย ครันว่ำมีหนองนำ ต้องมีบัวนันบำนเกิด ครันหำกมีตังแต่นำ ซำวค้ำเพิ่นบ่เทียว ดอกอ้ำยเอย อ้ำยมำถำมข่ำวเจ้ำ อันในนำนันเขียวอ่อน ซันบ้อ ปีกลำยได้ห้ำร้อย ปีนีได้สี่ฟำย ละอ้ำยเอย


15 55

วรรคที่ / คำบุพ 1 จังหวะที่ บท วรรคที่ 3 โอนอ ครันว่ำมี อ้ำยเอย วรรคที่ 4 ครันหำก มี วรรคที่ 3 อ้ำยว่ำ อ้ำย อยำก ถำม วรรคที่ 4 ปีกลำย

2

3

หนองนำ ต้องมี บัว ตังแต่นำ ซำวค้ำ ข่ำวเจ้ำ

อันใน นำ

ได้ห้ำ ร้อย

ปีนี

4

คำสร้อย

นันบำน เกิด เพิน่ บ่ ดอกอ้ำย เทียว เอย นันเขียว ซันบ้อ อ่อน ได้สี่ฟำย ละอ้ำย เอย

กลอนลำ หมอลำทุกประเภทต่ำงก็ใช้กลอนลำเป็นบทสำหรับลำ ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ กลอนเยินและกลอนตัด คำว่ำ “กลอนเยิน” ถ้ำแปลควำมหมำยตำมศัพท์ก็ หมำยถึง กลอนที่มีลีลำเยิ่นเย้อ ส่วนคำว่ำ “กลอนตัด” แปลว่ำ กลอนที่มีลีลำ กระชับ ตัดสิ่งที่เยิ่นเย้อออกไป กลอนเยินมีฉันทลักษณ์ เช่นเดียวกับกลอนอ่ำน และกลอนผญำเกียว แต่ต่ำงกันที่กลอนอ่ำนเน้นเฉพำะสัมผัสใน ไม่เน้นสัมผั ส นอก แต่กลอนลำเน้นทังสัมผัสในและสัมผัสนอก อันที่จริงเดิมทีเดียวหมอลำ ก็ใ ช้ ก ลอนอ่ ำ นจำกนิ ท ำนมำใช้ ล ำโดยตรง โดยเฉพำะอย่ ำ งยิ่ ง หมอล ำพื น (หมอลำนิทำน) ส่วนใหญ่ท่องกลอนนิทำนมำลำ และแม้หมอลำกลอน ก็ยัง นิยมนำกลอนนิทำนมำลำเช่นเดียวกันโดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง “กลอนสรรพะกอด” จำกวรรณคดีเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ที่ขึนชื่อว่ำมีชันเชิงเป็นเลิศ และนิยมเรียกกันว่ำ


16

56 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

กลอนสรรพะกอดเกียว เพรำะมีกำรเล่นคำ มีสัมผัส แพรวพรำว ทังสัมผั สนอก สัมผัสใน และสัมผัสวรรณยุกต์ ดังนี กลอนสรรพะกอด บัดนี สรรพะกอดเกียว กลอนเก่ำมำแถลง ชื่อว่ำเทพำวะ วำดพะนอมไพรกว้ำง บุญยวงยัง เซำแคลนครำวนึ่ง ดีแก่สังข์ล่วงผ้ำย ผันบ้ำก่อนบำ วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1

2

3

4

บัดนีสรรพ ซื่อว่ำเท บุญ ดีแก่สังข์

พะกอดเกียว พำวะ ยวงยัง ล่วงผ้ำย

กลอนเก่ำ วำดพะนอม เซำแคลน ผันบ้ำ

มำแถลง ไพรกว้ำง ครำวนึ่ง ก่อนบำ

ผ่อเห็นไม้ล่ำวล้ม เลียนฮ่อมเขำฮอม ภูธรลัด เลียบพนองนำน้อง เห็นผำกว้ำง เขำคำค้อยค่ำ ดอยนันอินทร์แต่งตัง เขำเฮืองฮุ่งเฮือง วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2

1

2

3

4

ผ่อเห็นไม้ ภู

ล่ำวล้ม ธรลัด

เลียนฮ่อม เลียบพนอง

เขำฮอม นำน้อง


17 57

วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

เห็น ดอยนันอินทร์

ผำกว้ำง แต่งตัง

เขำคำ เขำเฮือง

ค้อยค่ำ ฮุ่งเฮือง

ทุกประดำถ้วน สุวรรณทีทุกที่ ภูวนำถเจ้ำ ใจสลังฮุ่งหลัง วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1

2

3

4

ทุก ภู

ประดำถ้วน วนำถเจ้ำ

สุวรรณที ใจสลัง

ทุกที่ ฮุ่งหลัง

3 ทังแฮ่ง กว่ำไกล เขำงอน ปุนไห้

4 โฮยแฮง ลือใกล้ เมือง่อน ฮ่ำไฮ

เยือนยำกท้ำว ทังแฮ่งโฮยแฮง เดินดอยขวำง กว่ำไกลลือใกล้ เลยเขียวขึน เขำงอนเมือง่อน คึดแม่ป้ำ ปุนไห้ฮ่ำไฮ วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1 เยือน เดิน เลย คึด

2 ยำกท้ำว ดอยขวำง เขียวขึน แม่ป้ำ

เล็งดอกไม้ ก้ำนก่องอินกอง บำก็ยินดีผำย ลวดซอนซมซ้อน พอใจเจ้ำ เดินเดียวดันเดี่ยว ข้ำมขอบฟ้ำ ไปหน้ำหน่วงหนำ


18

58 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว วรรคที่ / จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1

2

3

4

เล็ง บำก็ยิน พอ ข้ำม

ดอกไม้ ดีผำย ใจเจ้ำ ขอบฟ้ำ

ก้ำนก่อง ลวดซอน เดินเดียว ไปหน้ำ

อินกอง ซมซ้อน ดันเดี่ยว หน่วงหนำ

ลักษณะของกลอนเยิ้น 1. กลอนเยินบทหนึ่งมี 4 วรรค 2. วรรคหนึ่งมี 7 - 12 พยำงค์ 3. วรรคหนึ่งแบ่งเป็น 4 จังหวะ 4. พยำงค์สุดท้ำยของวรรคที่หนึ่ง ไม่มีรูปวรรณยุกต์ 5. พยำงค์สุดท้ำยของวรรคที่สอง มีรูปวรรณยุกต์โท 6. พยำงค์สุดท้ำยของวรรคที่สำม มีรูปวรรณยุกต์เอก หรือเสียงเอก 7. พยำงค์ก่อนสุดท้ำยของวรรคที่สี่ มีรูปวรรณยุกต์เอก (หรือเสียงเอก) 8. พยำงค์สุดท้ำยของวรรคที่สี่ ไม่มีรูปวรรณยุกต์ โครงสร้ำงของกลอนลำประเภทกลอนเยิ้น โครงสร้ำงของกลอนลำประเภทกลอนเยิน แบ่งออกได้เป็น 3 ตอน คือ 1. กลอนขึน 2. ตัวกลอน และ 3. กลอนลง ควำมสันยำวของกลอนไม่มีกำหนด ตำยตัว ถ้ำลำบนเวทีอำจจะยำว ถ้ำลำอัดแผ่นเสียง อัดเทป อำจจะสัน ทังนี ขึนกับกำลเทศะ บำงทีผู้ลำอำจจะลำหลำยกลอนต่อกันก็ได้ ฉะนันกลอนหนึ่ง ๆ อำจจะมีควำมยำวตังแต่ 2 - 3 นำที ถึง 30 นำที ก็มี สำหรับกลอนขึนนันนิยม


19

59

แต่งเป็นวรรคที่สำมและวรรคที่สี่ หรือเฉพำะวรรคที่สี่ โดยมำกมักจะกล่ำวถึง อำรมณ์และบรรยำกำศเสียงของเสียงฟ้ำร้อง หรือประเด็นอื่น ๆ ที่ประทับใจ ทังนีเพื่อสร้ำงอำรมณ์สะเทือนใจแก่ผู้ฟัง เช่น 1. โอ้โอ่ย ละนอ ฟ้ำเอย ฟ้ำฮ้องห้ำว เสียงยำว ๆ ก้องสนั่น ใจนำงหันจ้ำว ๆ คนิงอ้ำยหม่อมพี่ชำย .... ละน้ำ 2. โอ้โอ่ย ละนอ ฟ้ำเอย ฟ้ำฮ้องตึง คนึงนำแต่อ้ำยพี่ บุญบ่มีจั่งน้อง คองแล้วก้ะเปล่ำดำย นอซำย ...ละน้ำ 3. โอ้โอ่ย ละนอ ฟ้ำเอย ฟ้ำฮ้องฮึน ยำมกลำงคืนน้องหนำวสั่น ฝันว่ำซำยหม่อมซู้ นันมำซ้อนฮ่วมบ่อนนอน .... ละน้ำ 4. โอ้โอ่ย ละนอ ฟ้ำเอย ฟ้ำฮ้องจัน ฝันนำซำยทุกเซ้ำค่ำ คนิงนำแต่หม่อมซู้ อยำกซูเจ้ำเข้ำ บ่อนนอน .... ละน้ำ 5. โอ้โอ่ย คิดนำซำยหลำยเด้ อกซิเพแตกแล่ง เถิงยำมแลงนั่งถ้ำ เป็นหยังอ้ำยจั่งบ่มำ .... ละน้ำ 6. โอ้โอ่ย บุญบ่เคยคำดได้ ซินอนไห้ใส่แต่หมอน ขำวพอน ๆ .... ละน้ำ


20

60 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว 7. โอ้โอ่ย คองมือใดได้แต่จ้อย ผลำข้อยส่วนบ่มี .... ละน้ำ

ตัว กลอน คือ ส่ วนที่เป็น เนือหำสำระของกลอน มีจำนวนหลำยบท ไม่มีกำหนดตำยตัว บทหนึ่ง ๆ มี 4 วรรค มีทังสัมผัสนอก และสัมผัสใน เช่น ตัวอย่ำงตัวกลอนแบบกลอนเยิน ชีวิตคน เฮำนี บ่มีว่ำ ซิยืนยำว อย่ำลืมครำว เด้อทุกคน ให้ฮ่ำฮอน คนิงฮู้ บรมครู เพิ่นสอนไว้ ว่ำสังขำร นันบ่เที่ยง เรื่องศีลทำน อย่ำได้เว้น ให้เพียรสร้ำง แต่สิ่งดี ผลัดมือนัน มือนี มัวมืด อบำยมุข หลงว่ำสุข เหลือหลำย อละวน เมำมัว ซิมำตัว ลงหม้อ อเวจี จมจุ่ม ถืกไฟสุม เฮ่งฮ้อน ฮือฮ้อง ฮ่วนฮน บทที่ 1 จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1 ชีวิตคน อย่ำลืมครำว บรมครู เรื่องศีลทำน

2 เฮำนี เดอทุกคน เพิ่นสอนไว้ อย่ำได้เว้น

3 บ่มีว่ำ ให้ฮ่ำฮอน ว่ำสังขำร ให้เพียรสร้ำง

4 ซิยืนยำว คนิงฮู้ นันบ่เที่ยง แต่สิ่งดี


21

61 บทที่ 2 จังหวะที่ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1 ผลัดมือนัน หลงว่ำสุข ซิพำตัว ถืกไฟสุม

2 มือนี เหลือหลำย ลงหม้อ เฮ่งฮ้อน

3 มัวมืด อละวน อเวจี ฮือฮ้อง

4 อบำยมุข เมำมัว จมจุ่ม ฮ่วนฮน

กลอนลง กลอนลง คือ กลอนที่ใช้ส ำหรั บ เป็ น ที่ห มำยรู้กำรสิ นสุ ดของกลอน กลอนลงแบบลำทำงยำว เน้นที่กำรเอือนเสียง แล้วจบด้วยคำว่ำ “ละนะ” แต่ ออกเสียงเป็น “ละน้ำ” แล้วจบด้วยคำว่ำ “โอ” ตัวอย่ำงกลอนลำประเภทกลอนเยิน “กลอนเกียว” (ทำนองลำทำงสัน) (ขึนโอ่) โอละนอ ……. แก้มเปิ่นเวิ่น แก้มอ้ำยเปิ่นเวิ่น ครันอ้ำยแม่นซู้เพิ่น ให้เวินหนีไกล ๆ ครันบ่แม่นของใผ ครันแม่นของนำงลำ ให้เจ้ำยิมน่ำ ๆ มำทำงพี …… โอละนอ …นวลเอย


62 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว (ตัวกลอน) แม่นว่ำ … นอซำย ฟังเดออ้ำย ซำยผู้อินทร์ปั้นหล่อ ซ่ำงมำงำมกะด้อ เหลือล้นลื่นคน หยังก้ะแตกจ้น ๆ หลุหลั่งไหลหลำม ย้อนอยำกเห็นคนงำม ส่องตำมแลจ้อง น้องนีคองคอยถ้ำ สำยตำเซ็งซ่ำ ใจหวนหำหม่อมอ้ำย ซิตำยแล้วอยู่บ่เป็น เห็นซำยลงมำผ้ำย เยี่ยมฝ่ำยเมืองมนุษย์ สุดที่โสภำพรรณ ดั่งจันทร์เทียมฟ้ำ นำงอยำกขอเป็นข้ำ ตำงตีนใซ้ซ่วง ได้บ่ดวงดอกซ้อน สะออนโอ้อุ่นเสนห์ เปี๋ยงบ่เซมำหำน้อง ต้องติ่งสำยแนน มำเป็นแฟนของนำง บ่ห่ำงกันพันเกียว ซิเทียวเฟือเทียวฝั้น คืนวันบ่ได้ว่ำ เอำท่ำใดก้ะได้ ให้ซำยไง้ใส่เตียง น้องนีเว้ำเกลียง ๆ บ่มีเกี่ยงจักแนว ซิมักแถวนำเทิง หรือบ่อนเวิงนำใต้ ให้ซำยไถทกทืน คืนวันบ่เว้นว่ำง ให้มันหลุบอ้ำงม้ำง คือสร้ำงบ่ว่ำหยัง น้องนีตังต่ออ้ำย หมำยซิฮ่วมเฮียงหมอน สังบ่ซอนแสงตำ ส่องมำพอดี

22


23

63

หรือทำทีให้ญิงง้อ อดพอตำยอยำกเต้นใส่ ซำยบ่ใจหอนซิได้ เข้ำนอนไง้ง่ำขำม ได้เห็นแล้วย้ำนแต่หย้ำม ปำนว่ำหมำกินฮำ ย้ำนแต่นำเหนี่ยววอน เฝ้ำแอ่วซอนซมซ้อน สะออนนมสะออนก้น เวียนวนบ่อยำกห่ำง หวำงหัวใจเที่ยวไง้ นำง้ำงหว่ำงขำ …… (กลอนลง) สมพอวำง ฮ้ำงซู้ผู้เก่ำ มำเอำน้อง …….. ตัวอย่ำงกลอนลำประเภทกลอนตัด “ประวัติและควำมหมำยของคำว่ำหมอลำ” ประพันธ์โดย รำตรี ศรีวิไล (ทำนองลำทำงสัน) (กลอนขึน) โอ้ ... โอละนอ ... ฟ้ำเอย ฟ้ำฮ้องฮ่วน สังมำม่วนยินหลำย เซิญผู้ฟังเทิงญิงชำย มำเรียนรู้ประวัติเก่ำ กำรลำฟ้อน ........... โอละนอ ... ละนวลเอย


64 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว แม่นว่ำ ...... เด้อคุณ (ตัวกลอน) ฟังเด้อเจ้ำ น้องพี่ทังหลำย ฉันขอสำธยำย เรื่องหมอลำแต่ก่อน ซิขอเว้ำบันบ่อน ควำมหมำยของคำ ที่เฮำเอินว่ำลำ รู้กันแล้วไป หรือว่ำ เอำแต่เต้นไว่ ๆ บ่สนบ่ซำ ซิขอพรรณนำ ให้ฟังจักหน่อย แล้วจึงค่อย หำควำมบันเทิง ลำนีเกิดแต่เหิง บ่มีไผฮู้ เกิดแต่ปุแต่ปู้ มำแต่โบรำณ ลำนีมีมำนำน จนจำบ่ได้ ผู้ฮู้เพิ่นว่ำไว้ ต่ำง ๆ นำนำ สันนิษฐำนซอกหำ หลักฐำนเก่ำแก่ ตังแต่พ่อและแม่ เอินว่ำหมอลำ มีประวัติของคำ เป็นมำหลำยซ่อ เชิญพวกแม่และพ่อ ซ่อยกันตรึกตรอง ใช้ปัญญำกลั่นกรอง หำผลหำเหตุ ได้ควำมจริงตำมเจต ตำมจิตจำนงค์ เป็นควำมรูม้ ั่นคง ของดีมีค่ำ ปรำชญ์ซุมหนึ่งนันว่ำ จำกหนังสือนิทำน เพิ่นได้เขียนหรือจำร ลงในลำไม้ไผ่

24


25

65

ผู้ใดเอำใจใส่ ซ่ำงจดซ่ำงจำ คนกะเอินหมอลำ ตำมแนวเขียนใส่ อีกพวกหนึ่ง สันนิษฐำนแนวใหม่ อ้ำงลักษณนำม สิ่งใดยำวกะตำม เอินลำซู่อย่ำง เช่นลำนำต่ำง ๆ ลำโขงลำชี เทิงลำไม้กะดี ลำพร้ำวลำไผ่ ๆ ๆ ลำน้อย ๆ ใหญ่ ๆ ลำหมำกลำตำล เพิ่นเปรียบใส่นิทำน เทิงยำวเทิงเยิน คนกะพำกันเอิน นับได้เป็นลำ เช่นว่ำลำกำดำ ศิลป์ซัยแตงอ่อน ตังแต่กีแต่ก่อน เอินนับไปลำ ผู้ใดเก่งทำงจำ นิทำนแนวนี คนกะเอินพุ้นพี ว่ำเป็นหมอลำ เอินว่ำนักสะดำ ทำงจำทำงจื่อ เด้นอ ๆ คนเอย พวกเฮำกะ อย่ำฟังซื่อ ๆ ให้จดจื่อพิจำรณ์ เพื่อให้ลูกให้หลำน เยำวชนรุ่นใหม่ ซิได้จำจื่อไว้ ไปเว้ำต่อกัน ตัวอย่ำงกลอนเยินประเภทลำทำงยำว “กลอนอำลำพำจำก” (ทำนองลำทำงยำว)


66 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว (กลอนขึน) โอ้โอ่ย …… บุญบ่เคยคำดได้ ซินอนไห้ใส่แต่หมอน ขำวพอน ๆ ….. ละน้ำ (ตัวกลอน) นีก้ะข้อนซิแจ้ง ยำมเมื่อไก่ขันฮวย อีกหน่อยมำก้ะซิสวย อ่วยทำงไปคนกำ สำวหมอลำซิเมือบ้ำน ไกลกันคนละบ่อน ใจวีว่ อนคิดฮอดอ้ำย ซิตำยแล้วอยู่บ่เป็น มำเห็นกันครำวน้อย กรรมผัดจ่องจำไกล เหิงปำนใดเด้นอ จั่งซิมำเห็นอ้ำย สำบำยดีเด้อทุกท่ำน บุญสมภำรยู้ส่ง นำงซิลงจำกฮ้ำน ลำแล้วคู่ซู่คน ……ละน้ำ โอยเหลือตนแต่ตัวน้อง กังโกบส่องนำซำย หมำยใจมำเฮียงฮม ก้ะบ่สมที่หวังไว้ ใจนำงเป็นละเวอเวิง คนิงเถิงแต่อ้ำยอุ่น บุญของนำงบ่เกิ่งอ้ำย หมำยซ้อนซำติซิมำ สำธุเด้อ ขอให้อินทร์อยู่ฟ้ำ ได้หลิงหล่ำลงเถิง อย่ำให้เหิงหลำยเดอ ให้ต่ำวมำพำนพ้อ นำงซิขอเป็นซู้ ซูเอำบ่ให้แต่ง เถิงยำมแลงค่ำค้อย ซิออยอ้ำยเข้ำบ่อนนอน …….. ละน้ำ …

26


27

67 (กลอนลง) โอ …… ลำเต้ย

กำรลำเต้ยเป็นกำรลำโต้ตอบกันระหว่ำงหมอลำ ชำย - หญิง ในช่วงปิด รำยกำร คือ สิ นสุ ดกำรแสดงหมอล ำ ทำนองที่ใช้ มีทังที่เป็นทำนองล ำ และ ทำนองเพลง เนือหำส่วนใหญ่เป็นกำรเกียวพำรำสีและแสดงควำมอำลัยอำวรณ์ ต่อกัน ทำนองล ำเต้ย มีอยู่ 4 ทำนองคือ 1. เต้ยธรรมดำ 2. เต้ยหัว โนนตำล 3. เต้ยโขง และ 4. เต้ยพม่ำ เต้ยธรรมดำ เป็นทำนองเต้ยชนิดแรกที่หมอลำนำมำใช้ เป็นกำรนำเอำ บทผญำหรือผญำมำลำนั่นเอง ที่เรียกว่ำ “เต้ยธรรมดำ” เพรำะทำนองเต้ยนี เป็นทำนองเต้ยหลักของหมอลำกลอน บำงทีก็เรียกว่ำ “เต้ยลำกลอน” บำงที เรียกว่ำ “เต้ยศรีภูมิเดิม” โครงสร้ำงและฉันทลักษณ์ของเต้ยธรรมดำ ตลอดจน ทำนอง ก็คล้ำยคลึงกับทำนองลำทำงยำว เพียงแต่มีกำรเน้นและยืดจั งหวะให้ ยำวกว่ำลำทำงยำวเป็นสองเท่ำ ดังตัวอย่ำงต่อไปนี กลอนอำลำพำจำก ทำนองลำเต้ยธรรมดำ (กลอนขึน) โอละแม่นนอซำย (ตัวกลอน) @ เซิญอ้ำยเมือยำมบ้ำน เมืองขอนแก่นไทยแลนด์ อยำกได้แฟนหมอลำ ก้ะให้นำเมือยำมน้อง


28

68 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว นำงซิปองเอำอ้ำย ซำยไทเปเข้ำซ้อนบ่อน สุดสะออนละนอท่อนี บ่สนตีบ่ำวพี่ซำย (กลอนลง) นันละนะนวล ๆ นะ นะเล่ำคนผู้ดีเอย จังหวะเต้ยธรรมดำ วรรค / จังหวะ กลอน ขึน วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 กลอน ลง

1

2 โอ

3

4

ละ นอ แม่น ซำย เซิญ อ้ำย ยำม เมือ บ้ำน อยำก ได้ หมอ แฟน ลำ นำง ซิปอง เอำ อ้ำย สุด สะ ละ ท่อนี ออน นอ นัน ละ นวล นวล นะ

5

6

7

8

โอ

ละ นอ แม่น ซำย ขอนแก่น ไทย แลนด์ ก้ะ ให้นำ เมือ น้อง ยำม ซำย ไทเป เข้ำ ซ้อน บ่อน บ่สน ตี บ่ำว พี่ซำย นะ

เล่ำคน

ผู้ดี

เอย


29

69

เต้ยหัวโนนตำล เดิมทีเดียวเป็นทำนองลำเต้ยของหมอลำหมู่ เข้ำใจว่ำ จะได้มำจำกทำนองลำผญำย่อย ของอำเภอดอนตำล หมอลำหมู่นิยมใช้ทำนอง ลำเต้ยหัว โนนตำล ตอนที่พระเอก - นำงเอกได้ผ่ำนพ้นอุปสรรคและกำลังมี ควำมสุขสมหวัง เนื อหำเป็นเรื่องควำมรัก ควำมผูกพัน และสัญญำกันว่ำจะ รักกันไม่มีวัน เสื่ อมคลำย หำกวิเครำะห์ดูทำนองแล้ วพบว่ำ ทำนองลำเต้ย หัวโนนตำล ก็คือทำนองลำทำงสันของหมอลำกลอนนั่ นเอง เพียงแต่ยักเยือง จังหวะลีลำให้ยืดและช้ำลงอีกเท่ำตัว ของจังหวะกำรลำทำงสัน โครงสร้ำง ฉันทลักษณ์ และคีตลักษณ์ ก็แบ่งเป็น 3 ส่วน เช่นกัน คือ 1. กลอนขึน 2. ตัวกลอน และ 3. กลอนลง ดังตัวอย่ำงต่อไปนี เต้ยหัวโนนตำล (กลอนขึน) โอยเด พระนำงเอย โอยเด พระนำงเอย (ตัวกลอน) แม่นน้องยกแต่ด้ำว ดันที่ทำงใด ใจประสงค์สังนอ จั่งดุ่งเดินมำพี แม่นเจ้ำมีผัวซ้อน นอนนำแล้วหรือบ่ หรือว่ำมีตังแต่ซู้ ผัวซิซ้อนนันบ่มี (กลอนลง) เจ้ำผู้แก้มปี่ลี่ ซู้พี่บ่มำบ้อ นะเลำคอกลมเอย


30

70 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว จังหวะเต้ยหัวโนนตำล วรรค/ จังหวะ กลอน ขึน วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 กลอน ลง

1

2

3

4

โอยเด

พระ นำง

เอย

แม่น

น้องยก

ใจ

ประสงค์

แม่น

น้องมี

หรือ

ว่ำมี

เจ้ำ

ผู้แก้ม

นะ

เลำคอ

5

แต่ ดัน ด้ำว สังนอ จั่งดุ่ง

ตัง

กลม

ผัว ซ้อน แต่ซู้

ผัว

ปี่ลี่

ซู้

6

7

8

โอย เด ที่

พระ นำง ทำง

เอย

เดิน

มำ

พี

นอน นำ ซิ ซ้อน พี่

แล้ว นัน

หรือ บ่ บ่มี

บ่มำ

บ้อ

ใด

เอย

เต้ยโขง เต้ยโขงเป็นทำนองที่ได้มำจำกเพลงไทยเดิมในชุดลำวแพน คำร้องเป็นภำษำไทยกลำง ที่เรียกว่ำเต้ยโขง เพรำะมีผู้นำเอำทำนองเต้ยโขงนี ไปแต่งเป็นเพลงลูกทุ่ง ซึ่งมีคำขึนต้นว่ำ “โขงไหลเย็น ....” ทำนองเต้ยโขงนี เมื่อมำอยู่กับหมอลำนำนเข้ำก็เป็นทำนองลำที่มีเสน่ห์ ฟังไม่รู้เบื่อ โดยนำไป ผสมกับเต้ยพม่ำและเต้ยธรรมดำ รวมกันเข้ำเป็นชุด เรียกกันว่ำ เต้ยพวง หรือ เต้ยสำมจังหวะ


31

71 ตัวอย่ำงกลอนลำเต้ยโขงมีดังนี เต้ยโขง (1) (ตัวกลอน) สันนิษฐำน กันเป็นหลำยนัย ฝ่ำยหนึ่งอ้ำงไว้ เอำลำไม้ไผ่เขียนนิทำน คนใด จดจำชำนำญ เรียกว่ำหมอนิทำน หรือว่ำหมอลำ (กลอนลง) เหตุผลถ้อยคำ ก็ดูเข้ำที แต่เรำก็ยังมี เหตุผลอื่นที่น่ำฟัง (1) วรรค/ จังหวะ วรรคที่ 1 วรรค 2 กลอน ลง

1

เหตุผล

2

3

4

5

6

7

8

สันนิษฐำน

หลำย นัย ชำนำญ

เอำลำ ไม้ไผ่ หรือว่ำ

ถ้อยคำ

ก็ดู

เข้ำที

ฝ่ำย หนึ่ง เรียกว่ำ หมอ แต่เรำ

อ้ำงไว้

คนใด

กัน เป็น จดจำ

เขียน นิทำน หมอ ลำ ที่น่ำ ฟัง

นิทำน ยังมี

เหตุผล อื่น


32

72 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว (ตัวกลอน) แต่ละฝ่ำย ก็มีเหตุผลดี ว่ำนิทำนเรำมี เป็นเรื่องยืดยำว กำรนับ สำนวนเรื่องรำว แต่ละเรื่องนับเอำ เรียกกันเป็นลำ (กลอนลง) ผู้ใดเก่งจดจำ เรื่องรำวนิทำน คนต่ำงเรียกขำน กันว่ำหมอลำ (2) วรรค/ 1 จังหวะ วรรค ที่ 1 วรรค ที่ 2 กลอน ผูใ้ ด ลง เก่ง

2

3

4

แต่ละ ก็มีเหตุ ผลดี ฝ่ำย กำร สำนวน เรื่องรำว นับ จดจำ เรือ่ งรำว นิทำน

5

6

ว่ำ นิทำน แต่ละ เรื่อง คน ต่ำง

เรำมี เป็น เรื่อง นับ เรียก เอำ กัน เรียก กัน ขำน ว่ำ

เต้ยธรรมดำ (ตัวกลอน) สรุปว่ำคำลำนี ย่อมำจำกคำว่ำลำนำ นิทำนธรรมชำดก ที่เอินเป็นลำนัน

7

8 ยืด ยำว เป็น ลำ หมอ ลำ


33

73 บ่ได้หมำยเถิงสัน หรือยำวคือเพิ่นว่ำ มำจำกคำเพิ่นเอิน ลำนำนันแม่นแน่นอน (1) วรรค/ 1 2 จังหวะ วรรคที่ 1 สรุป ว่ำคำ วรรคที่ 2 นิ วรรคที่ 3 บ่

ทำนธรรม ได้หมำย

วรรคที่ 4 มำ

จำกคำ

3

4

5

ลำนี

ย่อ

6

มำ จำก ชำดก ที่เอิน เป็น เถิงสัน หรือ ยำว เพิ่น ลำนำ นัน เอิน

(2) (ตัวกลอน) ถ้ำหำกเอินซับซ้อน ต้องเอินว่ำขับลำนำ แต่ชำวอีสำนเฮำตัดคำ เอินแต่เพียงหมอลำ สืบมำทุกวันนี แม่รำตรีได้เพียรซอกค้น สันนิษฐำนซีซ่อง ขอหมู่ซุมพ่อแม่พี่น้อง ฟังแล้วให้ฮิ่นตรอง (กลอนลง) ให้ฮู้ซ่อง ควำมเป็นมำเรื่องนี

7

8

คำว่ำ

ลำนำ

ลำ คือ

นัน เพิ่นว่ำ

แม่น

แน่นอน


34

74 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว เป็นสิ่งดี ที่พวกเฮำควรฮู้ พิจำรณำดู ซ่อยกันหนำ พิจำรณำ ซ่อยกันเด้อ ๆ ... (2) วรรค / จังหวะ วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 กลอน ลง

1

2

ถ้ำ

หำก เอิน อีสำน เฮำ

ซับซ้อน ต้อง

แต่ เพียง รำตรี

แต่ ซำว เอิน แม่ ขอ

3

ได้ เพียร หมู่ซุม พ่อแม่

4

5

6

7

8

เอิน ว่ำ

ขับ

ลำนำ

หมอลำ สืบ

มำ

นี

ซอกค้น สัน ฟัง

นิษ ฐำน แล้ว

ทุก วัน และ ให้

สิ่งดี

ฮิ่น ตรอง ควรฮู้

ตัดคำ

พี่น้อง

ให้

ฮู้ซ่อง ควำม เรื่องนี เป็นมำ

เป็น

พิจำ

รณำดู ซ่อย กัน

พิจำ

เด้อ

ที่ พวก เฮำ รณำ ซ่อย กัน

ซีซ่อง

เด้อ


35

75 เต้ยโขง โอมำพี่มำ ตัวน้องจะพำ ไปเที่ยวไทยแลนด์ โอมำพี่มำ ตัวน้องจะพำ ไปเที่ยวไทยแลนด์ ไปเที่ยวงำน ดอกคูณเสียงแคน ควงกับสำวไทยแลนด์ ให้ชื่นอุรำ พี่อย่ำรอช้ำ นะมำยเดียร์ พี่อย่ำรอช้ำ นะมำยเดียร์ วรรค / 1 จังหวะ วรรคที่ 1 วรรคที่ 1 วรรคที่ ไป 2 กลอน ลง

พี่ อย่ำ

2

3

4

5

6

7

8

โอมำ

พี่

มำ

จะพำ

โอมำ

พี่

มำ

เที่ยว งำน

ดอก คูณ

เสียง แคน

ตัว น้อง ตัว น้อง ควง กับ สำว พี่ อย่ำ

ไป เที่ยว ไป เที่ยว ให้ชื่น

ไทย แลนด์ ไทย แลนด์ อุรำ

นะ มำย

เดียร์

รอช้ำ นะ

มำย เดียร์

จะพำ ไทย แลนด์ รอช้ำ


36

76 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว เต้ยพม่ำ มีเมีย ก็ให้ปละเมียมำ แล้วน้องจะพำ ไปเที่ยวเมืองไทย มีเมีย ก็ให้ปละเมียมำ แล้วน้องจะพำ ไปเที่ยวเมืองไทย สุขสม ภิรมย์กำยใจ ไม่ให้หญิงใด มำปองข้องเกี่ยว จะชื่นเชยชม รักร่วมภิรมย์ กลมเกลียว หญิงใด ไม่ให้มำข้องเกี่ยว เป็นของน้องคนเดียว นะพ่อคุณ หญิงใด ไม่ให้มำข้องเกี่ยว เป็นของน้องคนเดียว นะพ่อคุณ จังหวะเต้ยพม่ำ วรรค/ 1 2 จังหวะ วรรคที่ มี 1 เมีย วรรคที่ มี 1 เมีย วรรคที่ สุข 2 สม

3

4

5

6

7

ก็ให้ เมียมำ แล้วน้อง จะพำ ไป ปละ เที่ยว ก็ให้ เมียมำ แล้วน้อง จะพำ ไป ปละ เทีย่ ว ภิรมย์ กำยใจ ไม่ให้ หญิง มำ ใด ปอง

8 เมืองไทย เมืองไทย ข้อง เกี่ยว


37

77

วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 วรรคที่ 4

จะ ชื่น หญิง ใด หญิง ใด

ไม่ให้ มำ ไม่ให้ มำ

เชยชม รักร่วม

ภิรมย์ กลม

เกลียว

ข้อง เกี่ยว ข้อง เกี่ยว

คน เดียว คน เดียว

คุณ

เต้ยธรรมดำ (กลอนขึน) โอละพี่ซำยเอย โอละพี่ซำยเอย (ตัวกลอน) (1) บุญของนำง ได้มำเห็นอ้ำย หลงมักซำย จนหัวใจไหวหวั่น จิตกระสัน นันอยู่บ่แล้ว เป็นแป้ว นีแม่นห่วงใน (2) มำสะออน หลงใหลนำอ้ำย หัวใจซิวำย จนว่ำขำดถ่อง ยำมเหลียวมอง จนว่ำสะบัน อยำกเฟือฝั้น อยู่บ่เซำ

เป็นของ น้อง เป็นของ น้อง

นะ พ่อ นะ พ่อ

คุณ


38

78 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว (กลอนลง) นันละหน่ำ คนงำมน่ำ นันละหน่ำ คนงำมน่ำ หวังใจมำ ว่ำซิได้ก้ะบ่ได้ จั่งแม่นเหลือใจ นำซำยเด ….. นำซำยเด ….. จังหวะเต้ยธรรมดำ วรรค / จังหวะ กลอน ขึน วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 กลอน ลง

1

2

3

4

5

โอ

ละพี่

ซำย เอย เห็น หลง อ้ำย บ่แล้ว

6

โอ

7

8

ละพี่ ซำย เอย บุญ ของ ได้มำ มักซำย จน ไหว นำง หัวใจ หวั่น จิต กระสัน นันอยู่ เป็น นี ห่วง แป้ว แม่น ใน มำ สะออน หลงใหล นำ หัวใจ ซิวำย จนว่ำ ขำด อ้ำย ถ่อง ยำม เหลียว จนว่ำ สะบัน อยำก ฝั้น อยู่ บ่ มอง เฟือ เซำ นัน ละหน่ำ คนงำม นะ นัน ละหน่ำ คน นะ งำม


39 79

หวัง ใจมำ

ว่ำซิได้

ก้ะบ่ ได้

จั่ง แม่น

เหลือ ใจ

นำ ซำย

เด

นำ เด ซำย

ทำนองลำ ส่วนทำนองลำที่สำคัญและเป็นหลักสำหรับหมอลำ มีอยู่หลำยทำนอง คือ 1. ทำนองลำทำงสัน 2. ทำนองลำทำงยำว 3. ทำนองลำเดิน (ลำย่ำว) 4. ทำนองลำเต้ย 5. ทำนองล ำเพลิ น และ 6. ทำนองเพลงลูกทุ่ง ในที่นีจะ กล่ำวเฉพำะทำนองของหมอลำกลอน คือ 1. ทำนองลำทำงสัน 2. ทำนองลำเดิน 3. ทำนองลำทำงยำว และ 4. ทำนองลำเต้ย ทำนองลำทำงสัน หมำยถึงทำนองลำแบบเนือเต็ม ไม่มีเอือน ยกเว้น ตอนขึนต้น คือตอน “โอละนอ” กำรลำทำงสันของ หมอลำวำดขอนแก่น นิยม ใช้แคนลำยสุดสะแนน ส่วนหมอลำวำดอุบล นิยมใช้แคน ลำยโป้ซ้ำย ทำนอง ลำเดิน เป็นกำรลำทำงสันอีกแบบหนึ่ง เดิมเรียกว่ำ ทำนองลำเดินดง เพรำะ เป็นกำรลำพรรณนำถึงธรรมชำติ อันได้แก่ป่ำดงพงไพร ปัจจุบันนิยมเรียกกันว่ำ “ลำย่ำว” เพรำะก่อนจะลำ หมอลำมักจะขึนนำว่ำ “ย่ำว ย่ำว ย่ำว” ซึ่งหมำยถึง กำรเดิ น ทำงอย่ ำ งรี บ เร่ งหรื อ รี บ รุ ด ท ำนองล ำย่ ำวหรือ ล ำเดิ นดง นี บำงที เรี ย กว่ ำ ล ำสี พั น ดอน (แต่ ที่ จ ริ ง แล้ ว ไม่ ใ ช่ ) หมอล ำวำดขอนแก่ น นิ ย ม ลำเดินดงหรือลำย่ำว โดยบิดผันทำนองลำให้เข้ำกับแคนลำยน้อยอย่ำงกำรลำ ทำงยำว (หมำยควำมว่ำ ใช้จังหวะลำทำงสัน แต่ใช้บั นไดเสียงแบบลำทำงยำว) ท ำนองล ำทำงยำว หมำยถึ ง ท ำนองล ำที่ มี ลี ล ำเอื อนเสี ย ง สะอึ ก สะอื น


40

80 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

ส่วนทำนองลำเต้ย หมำยถึงทำนองลำสัน ๆ แบบเนือเต็มอย่ำงเพลงลูกทุ่ง ลำเต้ย มีอยู่ 4 ทำนอง คือ 1. ทำนองเต้ยโขง 2. ทำนองเต้ยพม่ำ 3. ทำนอง เต้ยธรรมดำ และ 4. ทำนองเต้ยหัวโนนตำล ทำนองเต้ยโขงเดิม (มีต้นตอมำจำกทำนองเพลงไทยเดิมสัน ๆ ในชุด ลำวแพน) ---------ด

-------ร-ม

---ม ---ม ---ร

-ซ-ล -ซ-ล -ซ-ม

---ล ---ล ---ร

-ด-ร -ด-ร -ด-ร

-ด-ล -ด-ล -ด-ล

-ซ-ล -ซ-ล -ซ-ล

---ซ ---ซ ---ร ---ด

-ด-ล -ด-ล -ซ-ม -ร-ม

---ซ ---ซ ---ร -ร-ด

-ม-ล -ม-ล -ด-ล -ซ-ล

ทำนองเต้ยโขงในปัจจุบัน ------------ด

---ล ---ล -ซ-ม -ร-ม

---ซ ---ซ ---ร -ร-ด

-ม-ล -ม-ล -ด-ม -ซ-ล

(ทำนองวรรคสุดท้ำย คือแถวที่ 4 นัน เป็นทำนองที่หมอลำเพิ่มเติม เวลำจะจบกลอน จำกคำว่ำ “โอละนอชำยเอย” “ โอ้ละนอนำงเอย” หรือ “โอ้ละนอนวลเอย” ทำนองพม่ำรำขวำน เต้ยพม่ำเดิม (เป็นทำนองที่มีต้นตอมำจำกเพลงพม่ำรำขวำน) มี ทำนองตำมบทร้อง ดังนี มำ - ล -ท

เถิดน้อง - ล - ร

แม่รูปทอง -ซลท

ขอเชิญมำ รำ - ล ล ล

จะช้ำ -ล-ท

อยู่ไฉน -ล-ร

ดูใคร ๆ -ซลท

เขำออกมำ รำ - ล ล ล


41 81 ตำม - - - ทังคู่ --ซร เสียงกล่อม -ซซซ

ทำนอง ซมซซ ดูงดงำม - ม-ร ประสำน -ล-ท

เสียงร้อง ล ท ล ซ ดังร่ำยรำ ดดลด วิเวกหวำน - ล-ร

ส่งรำ -มมม บนชันวิมำน รมรด ก็จบลง -ท-ล

ชำย ---อย่ำมัว --ซด

ก้ำวเดิน ซมซซ ชักช้ำ - -รม

หญิงก็เพลิน ลทลซ เสียเวลำ ซลซม

ติดตำม -มมม เนิ่นนำน -ร–ด

ทำนองลำเต้ยพม่ำ จังหวะเต้ยพม่ำ วรรค/ จังหวะ วรรคที่ 1 วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

วรรคที่ 4

1

2

3

4

5

6

7

8

มีเมีย ลล มีเมีย ลล สุขสม มม จะชื่น ซด หญิงใด ลร

ก็ให้ปละ ซลท ก็ให้ปละ ซลท ภิรมย์ ลซ

ไม่ให้มำ มร

เมียมำ ลล เมียมำ ลล กำยใจ มร เชยชม รม ข้องเกี่ยว ลท

จะพำ ทล จะพำ ทล หญิงใด ลด ภิรมย์ ซม คนเดียว ดท

ไปเที่ยว ลซ ไปเที่ยว ลซ มำปอง รม กลม ร นะพ่อ ลท

เมืองไทย รม เมืองไทย รม ข้องเกี่ยว รด เกลียว ร คุณ ซล

หญิงใด ลร

ไม่ให้มำ มร

ข้องเกี่ยว ลท

แล้วน้อง ทร แล้วน้อง ทร ไม่ให้ ดด รักร่วม ซล เป็นของ น้อง ลลร เป็นของ น้อง ลลร

คนเดียว ดท

นะพ่อ ลท

คุณ ซล

กำรเรียนลำ เนื่ องจำกกำรลำกลอนนั น เป็น กำรล ำทังคืน มีผู้ ล ำเพียง 2 คน คือ หมอลำฝ่ำยชำยและหมอลำฝ่ำยหญิง โดยเริ่มจำกเวลำ 3 ทุ่ม จนสว่ำง หมอลำ ทุกคนต้องจดจำกลอนลำได้เป็นอย่ำงดีและมีจำนวนกลอนลำมำกพอ ที่จะลำได้ ทังคืน ที่หมอลำจดจำกลอนได้เป็นจำนวนมำก จำเป็นต้องฝึกฝนท่องจำด้วย


42

82 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

ควำมขยันหมั่นเพียร ทังที่ฝึกท่องจำปำกเปล่ำ ฝึกซ้อมประกอบแคน แม้กลอน จะยำวอย่ำงไรก็ตำม หมอลำต้องท่องจำให้ได้ กำรสัมผัส ควำมไพเรำะ และ เนื อหำที่ ป ระทั บ ใจของกลอน ท ำให้ ก ลอนไม่ น่ ำ เบื่ อ และท ำให้ ผู้ ล ำผู้ ฟั ง มีควำมสุข และไม่เหน็ดเหนื่อยขณะที่ลำ ระยะแรก ๆ ในกำรเรี ย นล ำและเริ่ ม ด ำเนิ นอำชีพ หมอล ำ หมอล ำ มือใหม่ ต้องอำศัย ครู เป็ น ผู้ บ อกท ำนองหรื อต่ อทำนองให้ แต่เมื่ อนำน ๆ ไป หมอลำจะต้องสำมำรถตีทำนองจำกกลอนลำได้ด้วยตนเอง กำรสร้ำงทำนองลำ ทำได้โ ดยหลั กเกณฑ์ของควำมสั มพัน ธ์ร ะหว่ำงกลอนล ำ กับทำนองล ำ ซึ่งมี วิธีกำรและขันตอนดังต่อไปนี ลักษณะของกลอนลำ กลอนตัด (กลอนกำพย์)

ทำนองลำ ลำทำงสัน

กลอนเยิน (กลอนอ่ำน)

ลำทำงสัน ลำทำงยำว ลำเต้ย

ทำนองแคน ลำยสุดสะแนน หรือ ลำยโป้ซ้ำย ลำยสุดสะแนน หรือ ลำยโป้ซ้ำย ลำยใหญ่ หรือ ลำยน้อย ลำยใหญ่ หรือ ลำยน้อย

ระบบเสียงของแคน แคนมีระบบเสียงแบบ diatonic scale เหมือนอย่ำงดนตรีตะวันตก คือประกอบด้วยเสียง 7 เสียง ในหนึ่งช่วงคู่แปด มีทังขันคู่เสียงที่เป็น whole – tone และ semi - tone ดังนี


43 83

เสียงที่ ระดับเสียง

1 C

2 D

3 E

4 F

5 G

6 A

7 B

8 C

ระบบเสียงแคนแปด แคนแปดถือว่ำเป็นแคนมำตรฐำน เพรำะนิยมใช้แพร่หลำยที่สุด คือ ใช้ เป่ำประกอบหมอลำกลอนและหมอลำซิ่ง ในอดีตเคยใช้เป่ำประกอบหมอลำพืน หมอลำหมู่และหมอลำเพลิน ปัจจุบันหมอลำพืนสูญไปแล้ว ส่วนหมอลำหมู่และ หมอลำเพลินก็นิยมใช้ คีย์บอร์ดและวงดนตรีสำกลแทนแคน จึงเหลือเฉพำะ หมอลำกลอนและหมอลำซิ่งเท่ำนันที่ยังใช้แคนบรรเลงประกอบ ที่เรียกว่ำแคน แปด เพรำะมีลูกแคนอยู่ 8 คู่ หรือ 16 เสียง ซึ่งจัดเรียงดังนี นิวซ้ำย ก้อย นำง นำง กลำง กลำง ชี ชี นิวโป้ง

ด้ำนหลัง แถวซ้ำย แถวขวำ .g1 .a1 .f e G d F b E a D G B C c A ด้ำนหน้ำ

นิวขวำ ก้อย นำง นำง กลำง กลำง ชี ชี นิวโป้ง


84 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

44

ลำยแคนหรือบันไดเสียงของแคน แม้แ คนจะมีเ สี ย งครบ 7 เสี ย ง ตำมระบบ diatonic scale แต่ใ น แต่ละลำยหรือบันไดเสียงของแคน จะประกอบด้วยเสียงเพียง 5 เสียง แบบ diatonic scale เท่ำนัน เข้ำใจว่ำระบบ 5 เสียง เป็นระบบที่มีฐำนเสียงที่มั่นคง กว่ำประเภท 6 เสียง หรือ 7 เสียง หรืออำจจะเป็นด้วยเสียงพูด หรือเสียงลำ นิยมใช้เพีย ง 5 เสี ย ง ก็ส ำมำรถสื่ อควำมหมำยเป็นที่เข้ำใจกั นแล้ ว ก็เป็นได้ อย่ำงไรก็ตำม ลำยแคนทังหมดมี 6 ลำย และแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มลำยแคนที่ใช้เป่ำประกอบกำรลำทำงสันและลำเต้ยหัวโนนตำล มี 3 ลำย คือ 1.1 ลำยโป้ซ้ำย ประกอบด้วยเสียง ด ร ม ซ ล ด 1.2 ลำยสุดสะแนน ประกอบด้วยเสียง ซ ล ด ร ม ซ 1.3 ลำยสร้อย ประกอบด้วยเสียง ร ม ซ ล ท ร 2. กลุ่มลำยแคนที่เป่ำประกอบลำทำงยำว ลำเต้ยโขง เต้ยพม่ำ และ เต้ยธรรมดำ มี 3 ลำย คือ 2.1 ลำยน้อย ประกอบด้วยเสียง ร ฟ ซ ล ด ร 2.2 ลำยใหญ่ ประกอบด้วยเสียง ล ด ร ม ซ ล 2.3 ลำยเซ ประกอบด้วยเสียง ม ซ ล ท ร ม ลำยแคนในแต่ ล ะกลุ่ ม จะมี ท ำนองอั น เดี ย ว แต่ ใ นทำงปฏิ บั ติ จ ะมี ทำนองและลีลำที่ผิดเพียนกันไปบ้ำง เนื่องจำก 1. ผู้เป่ำมีควำมชำนำญในกำร ใช้ นิวไม่ เพี ย งพอและไม่ เท่ ำกั น ในแต่ ล ะลำย ลำยไหนที่ ใช้ ม ำกก็จ ะช ำนำญ 2. เป็ น เพรำะเสี ย งหลั ก ของแคนแต่ ล ะลำยจะอยู่ ใ นช่ ว งหรื อ ระดั บ ที่ มี


45

85

คุณลักษณะของเสียง หรือ tone color ที่ต่ำงกัน ทำให้แนวทำงในกำรเน้นหรือ กำรดำเนินทำนองต้องแตกต่ำงกัน จึ งจะเกิดควำมไพเรำะ และมีเสน่ห์ ในที่นี จะขอนำเสนอระบบเสียงแคนที่ปรำกฏในลำยสุดสะแนนและลำยใหญ่ดังนี ทำนองขึน แคนลำยใหญ่

ทำนองขึน แคนลำยสุดสะแนน

นี่เป็นเพียงตัวอย่ำงที่นำเสนอในบทควำม เพื่อเป็นแนวทำงกำรศึกษำ เรียนรู้ให้แก่ผู้ทสี่ นใจได้สืบค้นต่อไป



เค่ง เสียงสุดท้ายแห่งกลุม่ ชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเพชรบูรณ์ : อัตลักษณ์และภูมิปัญญา อาจารย์กาพร ประชุมวรรณ

1

บทคัดย่อ เค่ง คือ เครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงอัตลักษณ์และภูมิปัญญาประจา กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีความมุ่งหมายเพื่อ ศึ ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ เ ค่ ง ในกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ม้ ง จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ และเพื่ อ ศึ ก ษา ภูมิปั ญญาการตั้ งเสี ย งเค่ ง จั งหวัดเพชรบู ร ณ์ มีก ารเก็บ รวบรวมข้อ มูล จาก เอกสารและข้ อ มูล จากภาคสนาม การสั ม ภาษณ์ การสั ง เกต และน าเสนอ ผลการวิจัยในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ 1. เค่งในกลุ่มชาติพันธุ์ม้งในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นเครื่องดนตรีที่ แสดงออกถึงอัตลั กษณ์ตามการเปลี่ ย นผ่ านของสั ง คม มีลั กษณะเป็นเครื่อ ง ดนตรี ชนิดเป่า มีลักษณะทางกายภาพประกอบไปด้วยสามส่วน ได้แก่ ส่วน ท่อเค่ง ส่วนเต้าเค่ง และส่วนลิ้นเค่ง 2. ระบบการตั้งเสียง เค่ง ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งมีจะมีวิธีการสืบทอด จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่งโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการสังเกต ปฏิบัติตาม 1

สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม E - mail : komjoun3@hotmail.com


88 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

และฝึกให้ชานาญกระทั่ งเกิดทักษะโดยขั้นตอนในการตั้งเสียงมีขั้นตอนในการ เตรีย มการแบ่ งเป็ น 3 ขั้น ได้แก่ 1. การเตรี ย มท่อเสี ยง 2. การเตรี ยมเต้า 3.การเตรียมลิ้นทองเหลือง ในส่วนขั้ นตอนการตั้งเสียงแบ่งเป็น 1. การเจาะ ท่อเสียง 2. การขูดลิ้น 3. การประกอบเทียบเสียง โดยสรุป เค่ง คือเครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงอัตลักษณ์และภูมิปัญญา ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ส่งผล ต่อความคงอยู่ของอัตลักษณ์ความเป็นชาติพันธุ์ รู ปแบบความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ข องชุ ม ชนม้ ง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การศึ ก ษา การอนุรักษ์ และการสืบทอดภูมิปัญญาสืบไป คาสาคัญ : เค่ง, กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง, อัตลักษณ์, ภูมิปัญญา, เพชรบูรณ์ Abstract Kheng is a musical instrument of Hmong ethnic group. It has played the important role in the life of the people until the present study. It was a qualitative research. The purposes of the study were to 1. study Identity Kheng Phetchabun Province 2. study Wisdom tuner sound Kheng Phetchabun Province. 1. Kheng is musical instrument Hmong ethnic in Phetchabun Province. As a musical instrument. Is the main identity instrument of Hmong ethnic. a woodwind instrument, was divided into 3 parts, the tube, The chest, and sound tongue parts.


3

89

2. The sound system of Kheng of Hmong ethnic group are each group has different methods are passed down from generation to generation through the process of learning by observation, follow and skillfully practice then being experience by the entire process of sound. The process of preparation is divided into 3 steps included 1. preparing sound tube 2. preparing wind chest 3. preparing brass, in the part of its sound divided 1. sound tube drilling 2. reed scraping 3. assembler and comparing the actual sound In conclusion, Kheng is a musical instrument is the Identity and wisdom of Hmong Ethnic in Phetchabun Province. Social Change is the Musical Culture of Hmong Ethnic at Amphoe Khao Kho, Phetchabun Province showed the social changes which affected the uniqueness of Hmong ethnic culture, as a religion, culture and tradition to educate the ethnic conservation and the succession of wisdom. Keywords : Kheng, ethnic group, Hmong, identity, wisdom, Phetchabun


90 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

บทนา เค่ง เป็นเครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง มีบทบาทสาคัญ ในวิถีชีวิตของชาติพันธุ์ เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับการสืบทอดต่อกันมาจากบรรพ บุรุษ โดยการนาวัสดุที่หาได้จากธรรมชาติประดิษฐ์เป็นส่วนประกอบต่าง ๆ มี ชื่อ เรี ย กที่ต่ างกัน ไปในแต่ ล ะพื้น ที่ที่ มี กลุ่ มชาติ พัน ธุ์ม้ งอาศั ยอยู่ (บุ ญลอย จั น ทร์ ท อง, 2546 : 23 - 26) และเค่ ง ยั ง เป็ น เครื่ อ งดนตรี อั น ถื อ เป็ น ส่ว นประกอบสาคัญ ม้งแบ่งออกเป็ น 3 เผ่า ได้แก่ ม้ งจั๊ว ม้งเด๊อว ม้งกั๊ ว บ๊า ชาวม้งทั้ง 3 เผ่านี้มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ได้แก่ การแต่งกาย ลักษณะ ที่อยู่อาศัย และความแตกต่างของภาษาพูดบางคา การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมวั ฒ นธรรมดนตรี สามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ ตลอดเวลาทุกยุคสมัย ทุกสังคม และทุกกลุ่ มวัฒ นธรรมของชาติพันธุ์ต่าง ๆ หากจะแตกต่างตามรูปแบบวิธีและลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิด หรือ กระทาต่อวัฒนธรรมก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันส่งผลต่อสังคมวัฒนธรรม ชุ ม ชนพื้ น ที่ เช่ น วิ ถี ก ารด ารงชี วิ ต ความเชื่ อ วิ ถี ชี วิ ต ประเพณี เป็ น ต้ น การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในอดีตเป็นไปอย่างช้า ๆ เนื่องจาก การประดิษฐ์ คิ ดค้น สิ่ ง ใหม่ ๆ และระบบสื่ อ สารคมนาคมยั งไม่มีก ารพัฒ นา ก้าวหน้าเท่ากับปัจจุบัน การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมจึงเป็นไปค่อนข้างยาก แต่เมื่อมีเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศเข้ามามีส่วนร่วม ความเจริญก้าวหน้าและ ความต้องการขั้นพื้นฐานของสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง รูปแบบพัฒนาการทาง สังคมและวัฒนธรรมมีอัตราการเปลี่ยนอย่างรวดเร็วและเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา (นิเทศ ตินณะกุล, 2549 : 10 - 11)


5

91

กลุ่ มชาติพัน ธุ์ม้งอาศัย อยู่ในพื้ นที่จั งหวัดเพชรบูรณ์เป็นจานวนมาก มีความเชื่อทางสังคมและวัฒนธรรมประเพณี ขนบธรรมเนียมตามแบบกลุ่ม ชาติพันธุ์ม้งแต่เดิม โดยมากกลุ่มชาติพัน ธุ์ม้งที่อาศัยอยู่บริเวณอาเภอเขาค้อ ได้แก่ บ้านเข็กน้อย บ้านเข็กใหญ่ บ้านเพชรดา บ้านกนกงาม บ้านฟ้าหมอก บ้านร่มเย็น และบ้านเล่าลือ เป็นชุมชนชาวม้งที่คงความเป็นวิถีชีวิตม้งโดยแท้ อาชีพส่วนใหญ่ คือ เพาะปลูก พืชไร่ และหัตถกรรมเพียงเพื่อใช้ในครัวเรือน มี รูปแบบความเชื่อ พิธีกรรม และเครื่องดนตรีประจากลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย สอดคล้ อ งเชื่อ มโยงกั บ วิ ถีชี วิ ต ในทุ ก ช่ว งชี วิต ตั้ ง แต่ เ กิ ดจนตาย อี กทั้ ง ยั ง มี รูปแบบความเชื่อและพิธีกรรมอันเป็นพิธีกรรมเฉพาะภายในกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่ สืบทอดต่อกันมาหลายชั่วอายุคน โดยชาวเขาเผ่าม้งเป็นชนเผ่าเดียวกันกับ ชาวเมี้ ย วในสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ที่ อ พยพเข้า มาในประเทศไทยเมื่ อ ใด ไม่ปรากฏชัด แต่สันนิษฐานว่าได้อพยพเข้ามาสู่ประเทศไทยทางภาคเหนือเมื่อ ประมาณ 100 ปี (ยัง ม๊อตเต็ง, 2520 : 38 - 52) จากการศึกษาเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเค่ง พบว่าเป็นเครื่องดนตรี ที่มีความสาคัญอย่างมากในการคงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ ทั้งในด้านวัฒนธรรม ด้านประเพณี และด้านพิธีกรรม อีกทั้งการตื่น ตัว ในด้านการเปิ ดประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย นหรื อ ASEAN Economic community (AEC) ซึ่ ง มี ความเสี่ยงเป็นอย่างมากต่อการเสื่อมของวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ และ ง่ายต่อการเข้าใจผิดในการถ่ายทอดองค์ความรู้ เนื่องจากเค่งเป็นเครื่องดนตรี ที่มีรูปแบบการตั้งเสียงโดยเฉพาะ มิได้อิงหลักการตั้งเสียงแบบสากลแต่อย่างใด ปัจ จั ยที่ก่อเกิดการเปลี่ ยนแปลงทางสั งคมและวัฒนธรรมภายในชุมชนกลุ่ ม ชาติพัน ธุ์ม้งมีห ลายปัจ จั ย อาทิ ปั จ จัยทางการเมือง ปัจจัยทางศาสนา และ


92 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

อุ ด มการณ์ อี ก ทั้ ง การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมวั ฒ นธรรมในปั จ จุ บั น ส่ ง ผล โดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ทาให้ วัฒ นธรรมเดิมของกลุ่ มชาติพันธุ์ม้งได้รั บ ผลกระทบส่ งผลต่อความนิยมทาง วัฒนธรรมดนตรีของชาติพันธุ์ลดลงกระทั่งหายสาบสูญไปจากวิถีชีวิตของชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ม้งในปัจจุบัน ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการศึกษาเรื่อง เค่ง เสียง สุดท้ายแห่ งกลุ่ มชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเพชรบู รณ์ : อัตลั กษณ์และภูมิปัญญา ถือเป็นการช่วยสะท้อนไปถึงแนวทางการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาของ กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ม้ ง เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ แ ก่ ผู้ ที่ มี ค วามสนใจศึ ก ษาและอนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมด้านดนตรีสืบไป วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาอัตลักษณ์ของเค่งในกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ศึกษาภูมิปัญญาการตั้งเสียงเค่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ วิธีดาเนินการวิจัย การวิ จั ย เรื่ อ ง เค่ ง เสี ย งสุ ด ท้ า ยแห่ ง กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ม้ ง จั ง หวั ด เพชรบูรณ์ : อัตลักษณ์และภูมิปัญญา ผู้วิจัยได้ใช้วิธีดาเนินการวิจัยตามขั้นตอน การวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่ อ งมื อ ที่ใ ช้ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ ประกอบด้ ว ย 1. แบบส ารวจ (Preliminary survey form) 2. แบบสั งเกต (Observation


7

93

form) 3. แบบสั มภาษณ์ (Interview form) มี 2 แบบคือ สัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง (Structured interview form) และสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยยึดหลักข้อมูลที่มี ลักษณะสอดคล้ องกับ ความมุ่งหมายของการวิจัย สามารถตอบคาถามของ การวิจัยได้ตามที่กาหนดไว้ ซึ่งมีวิธีการเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้ 2.1 การเก็บ รวบรวมข้อมูล จากเอกสาร เป็นข้อมูล ที่เก็ บ รวบรวมได้จ ากเอกสาร และงานวิจั ยที่เกี่ยวข้องกับเค่งกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง : อั ต ลั ก ษณ์ เ ค่ ง ชุ ม ชนกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ม้ ง กระบวนการสร้ า ง ตลอดถึ ง ความรู้ เกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรม แนวคิ ด และทฤษฎี ท างด้ า นสั ง คมวิ ท ยา อุ โ ฆษวิ ท ยา สุนทรียศาสตร์ การเรียนการสอน หน้าที่นิยม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ โบราณคดี อีกทั้งศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่ที่ศึกษา โดยค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิและ ทุติย ภูมิ จากหน่วยราชการ งานวิจัย ปริญญานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ การศึกษา ค้นคว้าอิสระ อินเทอร์เน็ต และวีดิทัศน์ 2.2 การเก็บข้อมูลจากภาคสนาม เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ จากพื้นที่ที่ทาการวิจัยโดยวิธีการสารวจจากแบบสารวจ การสัมภาษณ์โดยใช้ แบบสั ม ภาษณ์ ที่ มี โ ครงสร้ า ง (Structured interview) และไม่ มี โ ครงสร้ า ง (Unstructured interview) แบบสั ง เกต (Observation) ทั้ ง แบบมี ส่ ว นร่ ว ม และไม่มีส่วนร่วม


94 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

3. การจัดกระทาข้อมูล ผู้ วิ จั ย ได้ น าข้ อ มู ล จากการศึ ก ษาเอกสาร ข้ อ มู ล จากงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้อง และข้อมูลจากการบันทึกรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยจาแนกข้อมูล แยกออกตามประเด็นความมุ่งหมายของการวิจัยที่ตั้งไว้ และตรวจสอบความ สมบู ร ณ์ ค วามถู ก ต้ อ งอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ว่ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ มี ค วามครบถ้ ว นเพี ย งพอ เหมาะสมพร้ อมแก่การน าไปวิเคราะห์ส รุ ปผลแล้ วหรือไม่ ในกรณีที่ข้อมูล ที่ ได้ ม ามี ค วามไม่ ส อดคล้ อ งกั น ผู้ วิ จั ย จะใช้ ก ารตรวจสอบแบบสามเส้ า (Triangulation) หากมีข้อมูลส่วนใดไม่สมบูรณ์ ผู้วิจัยจะเก็บข้อมูลเพิ่มเติม 4. การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ วิ จั ย น าเสนอผลการวิ จั ย แบบพรรณนาวิ เ คราะห์ (Descriptive analysis) ผลการวิจัย “ม้ง” คือ กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน อพยพย้ายถิ่นฐาน เข้ า มาในประเทศไทยเป็ น เวลากว่ า ร้ อ ยปี ตามเส้ น ทางการเดิ น ทางจาก ภาคเหนื อตอนบนและทางภาคอีส านตอนบนเข้าสู่ ประเทศไทย และมีกลุ่ ม ชาติพันธุ์ม้งที่อาศัยมากที่สุดอยู่ที่พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ชาวม้งสืบเชื้อสายมา จากเมี้ย วในสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และได้ น ารูป แบบสั งคม วิถีชี วิต และ วัฒนธรรมเดิมติดตัวเข้ามาด้วยตลอดการเดินทาง การเปลี่ยนแปลงทางสภาพ สั ง คมวั ฒ นธรรมภายในจั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ มี ห ลายปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลท าให้ เ กิ ด การเปลี่ยนแปลง เช่น ภาวะสงคราม การเมืองการปกครอง ความเชื่อ รูปแบบ วิถีชีวิต และการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในสังคมปัจจุบัน


9

95

เค่ง หรือ Kheng เป็นเครื่องดนตรีที่ทาจากลาไม้ไผ่และไม้เนื้อแข็ง เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง เค่งเป็นเครื่องดนตรี ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งมีความสาคัญต่อชนเผ่ามาอย่างยาวนาน ชาวม้งมีความเชื่อ เกี่ยวกับเสียงของเค่งในการใช้ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งประกอบพิธีเกี่ยวกับ ผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วและเป็น เครื่ องสันทนาการในประเพณีรื่นเริงอีกด้วย เค่ง ตามความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์มีความเชื่อดังนี้ “ในอดีตกาลมีชาวม้งอยู่ครอบครัวหนึ่งมีพี่น้อง 7 คน วันหนึ่งผู้เป็น บิดาเสียชีวิตลง บรรดาพี่น้องที่เหลือทั้ง 7 คน ต้องการจัดพิธีงานศพเพื่อเป็น เกียรติให้แก่ผู้ที่เป็นบิดา แต่ไม่รู้ว่าจะทาอย่างไร จึงได้ขอคาปรึกษาจากเทพเจ้า “ซีย” ซึ่งชาวม้งเชื่อว่าเป็นเทพเจ้าที่พระเจ้าส่งมาช่วยเหลือมนุษย์ในโลก และ เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการกาหนดพิธีกรรมที่สาคัญต่าง ๆ ทางศาสนาของ ชาวม้ง เทพเจ้าซียได้แนะนาให้คนหนึ่งไปหาหนังสัตว์มาทากลองไว้ตี และอีก 6 คนไปหาลาไม้ไผ่ที่มีขนาดและความยาวไม่เท่ากันมาคนละ 1 อัน เรียงลาดับ ตามขนาดและอายุของแต่ละคน เมื่อเตรียมพร้อมแล้ว ให้คนหนึ่งตีกลอง และ อีก 6 คนที่เหลือให้เป่าลาไม้ไผ่ของตนบรรเลงเป็นเพลงเดียวกันและเดินวนไป รอบ ๆ คนตีกลองพร้อมกับบรรเลงเพลงไปเรื่อย ๆ เมื่อเทพเจ้าซียกล่าวเสร็จ พี่น้องทั้ง 7 จึงได้กลับไปจัดงานศพให้บิดาตามที่เทพเจ้าซียได้แนะนาให้ ต่อมา มีพี่น้องคนหนึ่งตายจากไป เหลือคนไม่พอที่จะเป่ าลาไม้ทั้ง 6 พี่น้องที่เหลือ 6 คน จึงได้ขอคาปรึกษาจากเทพเจ้าซียอีกครั้ง เทพเจ้าซียจึงแนะนาให้นาลาไม้ ทั้ง 6 มารวมเป็นชุดเดียวกันและให้คนเดียวเป่าเท่านั้น ส่วนคนอื่นให้ทาหน้าที่ ถวายเครื่องบูชาและหน้าที่อื่น ๆ ต่อไป”


96 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

10

ภายหลั ง รู ป แบบพิ ธี ภ ายในงานศพดั ง กล่ า วก็ ไ ด้ รั บ การถื อ ปฏิ บั ติ สื บ ต่ อ มาจนกลายเป็ น ประเพณี ใ นการจั ด พิ ธี ง านศพของชาวม้ ง จนกระทั่ ง ทุกวัน นี้ ชาวม้งนั้ น จะใช้เค่งในพิธีงานศพเป็ น หลั ก โดยเป็ น เครื่ องน าทาง ดวงวิญญาณของผู้ตายไปสู่ปรโลก หรือดินแดนของบรรพบุรุษตามความเชื่อ ของชาวม้ง (จงหม่อง แซ่ท้าว, 2560 : สัมภาษณ์) อัตลักษณ์ “เค่ง” เพชรบูรณ์ เค่ง (Kheng) ถือเป็นอัตลักษณ์ประจาเผ่าของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เค่งกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเพชรบูรณ์ แบ่งลักษณะทางกายภาพออกไปเป็น 3 ส่วน ได้แก่ คือ 1. ส่วนท่อเค่ง 2. เต้าเค่ง 3. ลิ้นเค่ง ที่ทาให้เกิดลักษณะทาง อุโฆษวิทยามีลักษณะและความสาคัญ ดังนี้

1. ท่อเค่ง ท่อเค่งแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ท่อที่ทาจากไม้ไผ่ป่า ซ้ งเค่ง หรือ ท่อดี๋หลัว 1 ท่อ และทาจากไม้แคน ดี๋เค่ง หรือ ไม้กู่แคน 5 ท่อดังนี้


11

97 1.1 ซ้งเค่ง หรือ ท่อดี๋หลัว

เป็นท่อเค่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดทามาจาก ไม้ไผ่ที่ชื่อ “ซ้งเค่ง” เป็นไม้ไผ่ป่าที่ชาวม้งนามาทาเป็นท่อ มี ชื่อเรียกท่อนี้ว่า “ท่อดี๋หลัว” ภายใน ท่อดี๋หลัวจะมีลิ้นทองเหลืองฝังอยู่ 3 ลิ้นต่อ 1 ท่อ 1.2 ดี๋เค่ง หรือ ไม้กู่แคน 5 ท่อ ไม้ดี๋เค่งเป็นไม้ที่มีลักษณะเดียวกันกับไม้กู่แคนที่ใช้ในการสร้าง แคนในภาคอีสาน แต่มีขนาดใหญ่กว่า ท่อที่ใช้ไม้กู่แคนสร้างนั้นมีชื่อเรียกดังนี้ คือ ท่อดี๋ตือ ท่อดี๋ซู ท่อดี๋บู ท่อดี๋ค้าซู และท่อดี๋ค้าบู ภายในท่อจะมีลิ้นอยู่ท่อละ 1 ลิ้นเท่านั้น 2. เต้าเค่ง เต้าเค่งทามาจากไม้เนื้อแข็งที่หาได้ในพื้นที่ เช่น ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้สัก เป็นต้น เต้าเค่งนั้นมีลักษณะเป็นแท่งยาวมีส่วนที่ก ลวงอยู่ 1/3 ของเต้า โดยนา ไม้ที่ได้มาขึ้นรูป จากนั้นขุดให้เป็นโพรงไม้สาหรับเสียบท่อเค่งตามขนาดของ ท่อเค่งแต่ละท่อ


98 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

3. ลิ้นเค่ง ลิ้นเค่งเป็นส่วนที่ทามาจากทองเหลืองผสม เป็นส่วนที่ทาให้เกิด เสียงดังภายในเค่งโดยมีส่วนผสมที่แตกต่างตามพื้นที่ที่ค้นพบ โดยอัต ลักษณ์ ของลิ้ น เค่ ง ของกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ม้ ง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ พบว่ า มี ก ารใช้ ทองเหลืองอ่อนและแข็งมาผสมกัน เพื่อให้ได้คุณภาพของเสียงที่ดีและมีอายุ การใช้งานที่ยาวนานมากขึ้น โดยนายหือ แซ่ย่าง (2560 : สัมภาษณ์) กล่าวว่า การหล่ อ ทองเหลื อ งในลั ก ษณะนี้ เ ป็ น อั ต ลั ก ษณ์ เ ด่ น ของเค่ ง ภายในจั ง หวั ด เพชรบู รณ์ โดยมีอัตราส่ ว นทองเหลื องอ่อน 8/10 ส่ วน และทองเหลื องแข็ง 2/10 ส่วนผสมกันก่อนจะนามาขึ้นรูปและสร้างเป็นลิ้นเค่ง

ภูมิปัญญาการตั้งเสียงเค่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ การตั้งเสี ย ง เป็ น องค์ความรู้ ที่สื บ ทอดกันมาผ่ านรุ่นสู่ รุ่น ภายใน ครอบครั ว ญาติ และคนสนิ ท การตั้ ง เสี ย งเค่ ง เป็ น กระบวนการที่ ต้ อ งมี การเรียนรู้ฝึกฝนจนเกิดความชานาญ และเข้าใจถึงลักษณะทางกายภาพของ เค่ง ไม้ที่ใช้ในการสร้างเค่ง สั ดส่วนของไม้ที่ต้องใช้ ตลอดจนทองเหลืองที่ใช้ใน การสร้างลิ้น เพื่อให้เกิดเสียงของเค่ง เสี ยงเค่งในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นที่ ยอมรั บ ของกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ที่ อ าศั ย อยู่ ใ นหลายพื้ น ที่ ทั้ ง ในประเทศและ


13

99

ต่างประเทศ ถือเป็น ภูมิปัญญาของช่างสร้างเค่งในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ที่ สืบทอดต่อกันมาจวบจนปัจจุบัน การตั้งเสียงเค่ง มีรูปแบบและเป็นวิธีการที่สืบทอดต่อกันมา 4 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมท่อเสียง การเตรียมเต้าเค่ง การขูดลิ้น การประกอบเทียบเสียง ดังนี้ 1. การเตรียมท่อเสียง ใช้ไม้ในการผลิต 2 ชนิด ได้แก่ ไม้ซ้งเค่งและ ไม้ดี๋เค่ง ไม้ที่ใช้ทาท่อเค่งทั้ง 2 ชนิดมีลักษณะการเตรียมการแบบพิเศษต่างกัน ภูมิปัญญาในส่วนนี้สามารถแบ่งเป็น 2 ประเด็นได้ดังนี้ ไม้ซ้งเค่งเป็นไม้ไผ่ป่า ชนิดหนึ่ง เป็นไม้ชนิดเดียวกับที่ใช้ทาฝาบ้านของชาวม้ง โดยจะใช้ไม้ที่มีอายุอยู่ ในช่วง 2 ปี เพื่อไม่ให้ ไม้ที่ได้มานั้น มีอายุ น้อยเกินไป หากผู้สร้างไม่รู้วิธีการ เลือกไม้เพื่อนามาใช้ผลิต อาจส่งผลต่อคุณภาพของเค่งได้ กล่าวคือเค่งนั้นอาจ ไม่มีคุณภาพ หากอายุมากเกินไปไม้จะแข็งและมีขนาดใหญ่เกินขนาดที่ต้องการ โดยจะใช้ไม้ที่อยู่ระหว่าง 2 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 3.5 เชนติเมตร เมื่อคัดเลือก ไม้ได้ขนาดแล้ว การตัดไม้จะเริ่มคานวณโดยแบ่งไม้ออกเป็น 3 ส่วน โดยจะให้ ความยาวส่วนหนึ่งที่เป็นข้อปล้องอยู่ในจุดความยาว 1/3 ของความยาวท่อพอดี การตั้งเสียงเค่ง หรือการสร้างเค่งนั้นจะใช้ขั้นตอนนี้เป็นหลักสาคัญในการสร้าง ส่วนอื่น ๆ ถัดไป จากนั้นจะใช้ไฟลนขึ้นรูปตามที่ต้องการ และทิ้งไว้ 7 - 30 วัน จนไม้แห้งและอยู่ตัว


100 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

14

ไม้ดี๋เค่ง ดี๋เค่งมีลักษณะคล้ายกับไม้ทาแคน โดยการใช้ภูมิ ปัญญาใน ส่วนนี้จะใช้การเริ่มต้นโดยการตัดไม้โดยที่ข้อปล้องของไม้ไผ่และฐานของท่อ จะต้องเท่ากัน โดยยึดจากท่อดี๋ห ลัว เป็ นหลัก และในแต่ล ะท่อจะมีความยาว ต่างกันโดยวัดขนาดความยาวจากท่อดี๋หลัวเป็นหลัก ตามด้วยท่อดี๋บูและดี๋ตือ ตามลาดับ ดังนี้ 1. ความยาวของท่อดี๋บูจะยาวเป็นสองเท่าของท่อดี๋หลัว 2. ความยาวของท่อดี๋ตือจะยาวกว่าท่อดี๋หลัว 1/3 3. ความยาวของท่อดี๋คาบูจะยาวน้อยกว่าท่อดี๋บู 1/3 4. ความยาวของท่อดี๋ไลจะยาวน้อยกว่าท่อคาดี๋คาบู 1/3 5. ความยาวของท่อดี๋ชูจะยาวน้อยกว่าท่อดี๋ไล 1/3

ภูมิปัญญาในการเตรียมท่อของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยส่วนมากจะไม่นิยมนาไม้ที่ตัดมาใหม่มาทา เนื่องจากไม้ยังมีความชื้น ทาให้ คุ ณ ภาพของเค่ ง นั้ น ลดน้ อ ยลงไป ดั ง นั้ น เพื่ อ คุ ณ ภาพของเค่ ง ในการท าเค่ ง


15

101

แต่ละตัวจะมีการนาไม้มาบ่ม ให้อยู่ในอุณหภูมิ ที่พอเหมาะ เพื่อให้การขึ้นรูป ของไม้นั้นเป็นไปตามที่ต้องการและให้ได้คุณภาพสูงสุด การเตรียมเต้าเค่ง เต้าเค่งทามาจากไม้เนื้อแข็งที่หาได้ในพื้นที่ เช่น ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้สัก เป็นต้น เต้าเค่งนั้นมีลักษณะเป็นแท่งยาวมีส่วนที่กลวงอยู่ 1/3 ของเต้า โดยนา ไม้ที่ได้มาขึ้นรูป จากนั้นขุดให้เป็นโพรงไม้สาหรับเสียบท่อเค่งตามขนาดของ ท่อเค่งแต่ละท่อ ความยาวของปากเป่านั้นขึ้นอยู่กับผู้ทาเค่ง หรือความต้องการ ของผู้ว่าจ้าง

การขูดลิ้น การทาลิ้นเค่งของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งในจังหวัดเพชรบูรณ์มีความเป็น อัตลักษณ์และสืบทอดมาในรูปแบบภูมิปัญญาพื้นบ้าน โดยการใช้ทองเหลือ ง อ่อนและแข็งมาผสมกันเพื่อให้ได้คุณภาพของเสียงที่ดีและมีอายุการใช้งานที่ ยาวนาน โดยมีอัตราส่วนทองเหลืองอ่อน 8/10 ส่วน และทองเหลืองแข็ง 2/10 ส่ว นผสมกัน จากนั้ นก็น าไปเทลงพิมพ์หรื อลงน้ าเย็นเพื่อไปตีขึ้นรูป ในส่ ว น ทองเหลื องที่เทลงพิมพ์ หรื อส่ วนที่จ ะนามาใช้ จะต้องเป็นทองเหลื องที่ไม่มี ฟองอากาศภายใน จากนั้ น น าแผ่ น ทองเหลื อ งที่ เ ตรี ย มไว้ ตี ใ ห้ แ บนเรี ย บ


102 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

16

ความหนาประมาณ 1 มม. ตัดขนาดความกว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. ขูดด้วยมีดอีกครั้งจนบาง จากนั้นใช้เจ่อ (เหล็กขูดลิ้น) กาหนดรูปลิ้น โดยมีลักษณะคล้ายกับสามเหลี่ยม ใช้เจ่อ (เหล็กขูดลิ้น) ขูดไปมาเพื่อให้ส่วน ของลิ้ น ที่เ ป็ น ส่ ว นส าคั ญ ในการเกิด เสี ย งนั้ น บางและเจาะขอบลิ้ นให้ ตั ว ลิ้ น สามารถสั่นไหวรับกับลมได้ จากนั้นทดสอบเป่าลมและดูดลมเข้าว่าลิ้นสามารถ ใช้การได้ห รื อไม่ หลั งจากนั้ นขูดบริ เวณส่ ว นปลายเพื่อประกอบกับตัว ท่อใน ลาดับต่อไป

ภูมิปัญญาการเทียบเสียง การประกอบเทียบเสียงเค่ง ต้องเตรียมลิ้นแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เตรียมท่อสาหรับท่อดี๋หลัว ท่อดี๋บู ท่อดี๋ซู ดี๋ค้าซู 5 - 6 ลิ้น อีก 2 ลิ้น กลุ่มที่ 2 เตรียมไว้สาหรับท่อดี๋ตือและท่อดี๋ค้าบูตามลาดับ ทั้งนี้การเตรียมลิ้น ขั้นตอนนี้เป็นเพียงการเตรียมลิ้นเบื้องต้นเท่านั้น หลั งจากการเตรี ยมท่อเค่งและลิ้น เค่ง ในขั้นตอนการประกอบลิ้ น เทียบเสียงนี้ จะเริ่มต้นจากท่อดี๋หลัวเป็นอันดับแรกโดยนาลิ้น 3 ลิ้นที่เตรียมไว้ มาเทียบเสียงกันก่อนในขั้นตอนนี้ หลังจากนั้นนาไม้ซ้งเค่งที่เตรียมไว้มาเจาะรู สาหรับประกอบลิ้นโดยวัดจากข้อปล้องของไม้ไผ่ขึ้นไปประมาณ 2.5 - 3 นิ้ว


17 103

หลังจากนั้นขุดไม้ซ้งเค่งให้ขนาดพอดีกับลิ้นเค่งที่จะนามาประกอบ เมื่อขุดได้ระดับแล้วให้บากบริเวณหัวท้ายของช่องเพื่อใช้ยึดลิ้นทองเหลืองและ เจาะรูตรงกลางให้มีขนาดพอดีกับส่วนกลางของลิ้น เพื่อให้ลิ้นสามารถสั่นไปมา ได้สะดวก ในขณะที่มีลมเป่าผ่านเข้าออก เมื่อได้ช่อ งตามที่กาหนดแล้วก็นาลิ้น ที่เตรียมไว้สาหรับท่อดี๋หลัวมาประกอบเข้า เมื่อได้ช่องตามที่กาหนด จึงนาลิ้นประกอบเข้าไปโดยในส่วนนี้จะมี การตั้งเสียงของเค่งเข้ามาประกอบด้วยโดยการใช้เจ่อ (เหล็กขูดลิ้น) ขูดให้เสียง ทั้ง 3 ลิ้ น ในท่อดี๋ห ลั ว เท่ ากัน และเมื่อปรั บ จู น เสี ยงในลิ้ นที่ 1 ได้ และทาใน ลั กษณะเดีย วกัน โดยใช้เสี ย งจากลิ้ น ที่ 1 ที่ป ระกอบเข้าไปแล้ ว เป็นหลั กใน การปรับจูนเสียงในลิ้นที่ 2 - 3 ต่อไปในท่อดี๋หลัวจนครบในส่วนของท่อดี๋หลัว จากนั้นจูนเสียงให้ตรงกับ 3 ลิ้นที่จะประกอบเข้าไปในท่อ ดี๋บู ดี๋ซู และดี๋ค้าซู จากนั้นนาไปประกอบเข้าในแต่ละท่อด้วยวิธีการเดียวกันกับที่กล่าวมาข้างต้น และประกอบท่อที่เหลืออีก 2 ท่อ กับลิ้นที่เตรียมแยกไว้เพื่อประกอบในขั้นตอน ต่อไป


104 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

หลังจากประกอบท่อกับลิ้นเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นาไปประกอบกับ เต้าเค่งที่เตรียมไว้เพื่อตั้งเสียงในท่อดี๋ค้าบูและท่อดี๋ตือ การปรับจูนเสียงในท่อตี๋ค้าบู เทียบจากการเป่าลมเข้าไปโดยที่ไม่มี การปิดที่รูในส่วนไหนเลย เทียบกับการเป่าลมเข้าไปพร้อมกับกดปิดที่ท่อดี๋ค้าบู จากนั้นปรับจูนให้ตรงกันด้วยการขูดลิ้น การปรับจูนเสียงในท่อดี๋ตือ เทียบจากการเป่าลมเข้าไปพร้อมปิดใน ส่วนของท่อดี๋ค้าบู เทียบกับการเป่ าลมเข้าไปพร้อมกับปิดในส่วนของท่อดี๋ตือ จากนั้นปรับจูนให้ตรงกันด้วยการขูดลิ้น ภูมิปัญญาการตั้งเสียงเค่งนั้นเป็นการส่งต่อในด้านกรรมวิธีการผลิต ส่งต่อกันมาเป็นรุ่นสู่รุ่น โดยมีวิธีเริ่มจากการคาดคะเนระยะของท่อดี๋หลัว ให้มี ขนาดใกล้เคียงกับความยาวของเต้าเค่งและในท่อต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้น ทั้งนี้ทาให้เค่งแต่ละตัวมีเสียงที่แตกต่างกันออกไป แต่หากเมื่อเป่าเค่งตัวนั้น ๆ ก็จะส่งเสียงออกมาเป็นทานองเดียวกันเสมอ


19

105

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล อัต ลั กษณ์ เค่งในกลุ่ มชาติ พัน ธุ์ม้ง จังหวั ดเพชรบูรณ์ โดยกลุ่ ม ชาติพันธุ์ม้งมีความเชื่อในด้านความเป็นมาของเค่ง ดังนี้ “ในอดีตกาลมีชาวม้ง อยู่ครอบครัวหนึ่งมีพี่น้อง 7 คน วันหนึ่งผู้เป็นบิดาเสียชีวิตลง บรรดาพี่น้องที่ เหลือทั้ง 7 คน ต้องการจัดพิธีงานศพเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ผู้ที่เป็นบิดา แต่ไม่รู้ ว่าจะทาอย่างไร จึงได้ขอคาปรึกษาจากเทพเจ้า “ซีย” ซึ่งชาวม้งเชื่อว่าเป็น เทพเจ้าที่พระเจ้าส่งมาช่วยเหลือมนุษย์ในโลก และเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการ กาหนดพิธีกรรมที่สาคัญต่าง ๆ ทางศาสนาของชาวม้ง เทพเจ้าซียได้แนะนาให้ คนหนึ่ งไปหาหนั งสั ตว์มาทากลองไว้ตี และอีก 6 คนไปหาล าไม้ไผ่ ที่มีขนาด และความยาวไม่เท่ากัน มาคนละ 1 อัน เรี ยงล าดับ ตามขนาดและอายุของ แต่ละคน เมื่อเตรียมพร้อมแล้ว ให้คนหนึ่งตีกลอง และอีก 6 คนที่เหลือ เป่าลา ไม้ไผ่ของตนบรรเลงเป็นเพลงเดียวกันและเดินวนไปรอบ ๆ คนตีกลองพร้อมกับ บรรเลงเพลงไปเรื่อย ๆ เมื่อเทพเจ้าซีย กล่าวเสร็จ พี่น้องทั้ง 7 จึงได้กลับไปจัด งานศพให้บิดาตามที่เทพเจ้าซียได้แนะนาให้ ต่อมามีพี่น้องคนหนึ่งตายจากไป เหลือคนไม่พอที่จะเปล่าลาไม้ทั้ง 6 พี่น้องที่เหลือ 6 คน จึงได้ขอคาปรึกษาจาก เทพเจ้าซียอีกครั้ง เทพเจ้าซียจึงแนะนาให้นาลาไม้ทั้ง 6 มารวมเป็นชุดเดียวกัน และให้คนเดียวเป่าเท่านั้น ส่วนคนอื่น ให้ทาหน้าที่ถวายเครื่องบูชา และหน้าที่ อื่น ๆ ต่อไป” สอดคล้องกับงานของ วสันต์ชาย อิ่มโอษฐ์ (2543 : 112) ที่ได้ ศึกษาพิธีกรรมและความเชื่อของเผ่าม้ง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ม้งถือว่า “เค่ง” เป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญที่สุด เชื่อว่าสามารถสื่อสารกับวิญญาณได้ ใช้เป่าใน พิธีกรรมความเชื่อ ได้แก่ ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย จึงมีพิธีกรรมถือว่า


106 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

20

เป็นพิธีที่สาคัญที่สุด มีเพลงสาหรับเป่า เวลาเช้า เวลาเที่ยง เวลาเย็ น ห้ามเป่า ปนกันหรือเล่นกัน และห้ามสตรีเป่าเค่งในงานศพ เป็นต้น เค่ง (Kheng) ถือเป็นอัตลักษณ์ประจาเผ่าของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เค่ง กลุ่มชาติพัน ธุ์ม้ง จังหวัดเพชรบูรณ์ แบ่งลักษณะทางกายภาพออกไปเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนท่อเค่ง แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ท่อที่ทาจากไม้ไผ่ป่า ซ้งเค่ง และทาจากไม้แคน ดี๋เค่ง 2. เต้าเค่ง ทามาจากไม้เนื้อแข็งที่หาได้ในพื้นที่ เช่น ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้สัก 3. ลิ้นเค่ง ทามาจากทองเหลืองผสม ภู มิ ปั ญ ญาการตั้ ง เสี ย งเค่ ง จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ การตั้ ง เสี ย งเป็ น องค์ความรู้ที่สืบทอดกัน มาผ่านรุ่นสู่รุ่น ภายในครอบครัว ญาติ และคนสนิท การตั้งเสียงเค่งเป็นกระบวนการที่ต้องมีการเรียนรู้ฝึกฝน จนเกิดความชานาญ และเข้าใจถึงลักษณะทางกายภาพของเค่ง ไม้ที่ใช้ในการสร้างเค่ง สั ดส่วนของ ไม้ที่ต้องใช้ ตลอดจนทองเหลืองที่ใช้ในการสร้ างลิ้นเพื่อให้ เกิดเสียงของเค่ง เสียงเค่งในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นที่ยอมรับของกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ใน หลายพื้นที่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถือเป็นภูมิปัญญาของช่างสร้างเค่ง ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ที่สืบทอดต่อกันมาจวบจนปัจจุบัน การตั้ ง เสี ย งเค่ ง มี รู ป แบบและเป็ น วิ ธี ก ารที่ สื บ ทอดต่ อ กั น มา 4 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมท่อเสียง การเตรียมเต้าเค่ง การขูดลิ้น การประกอบ เทียบเสียง ดังนี้ 1. การเตรียมท่อเสียง ใช้ไม้ในการผลิต 2 ชนิด ได้แก่ ไม้ซ้งเค่ง และไม้ดี๋เค่ง โดยภูมิปั ญญาในการเตรี ย มท่อของกลุ่ มชาติพันธุ์ม้ง ในจั งหวัด เพชรบู ร ณ์นั้ น ส่ ว นมากจะไม่นิ ย มน าไม้ที่ตั ดมาใหม่มาท าเนื่อ งจากไม้ยัง มี ความชื้นอยู่ทาให้คุณภาพของเค่งนั้นลดน้อยลงไป ดังนั้นเพื่อคุณภาพของเค่ง


21

107

ในการทาเค่งแต่ละตัวจะมีการนาไม้มาบ่มให้อยู่ในอุณหภูมิที่พอเหมาะเพื่อให้ การขึ้นรูปของไม้นั้นเป็นไปตามที่ต้องการและได้คุณภาพสูงสุดเต้าเค่งทามาจาก ไม้เนื้อแข็งที่หาได้ในพื้นที่ เช่น ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้สักเป็นต้น เต้าเค่งนั้นมีลักษณะ เป็นแท่งยาวมีส่วนที่กลวงอยู่ 1/3 ของเต้า โดยนาไม้ที่ได้มาขึ้นรูปจากนั้นขุดให้ เป็นโพรงไม้สาหรับเสียบท่อเค่งตามขนาดของท่อเค่งแต่ละท่อ ความยาวของ ปากเป่ านั้ น ขึ้น อยู่ กับ ผู้ ทาเค่ง หรื อความต้องการของผู้ ว่าจ้างการขูดลิ้ น ใช้ ทองเหลืองอ่อนและแข็งมาผสมกัน เพื่อให้ได้คุณภาพของเสียงที่ดี และมีอายุ การใช้งานที่ยาวนาน โดยผสมทองเหลืองอ่อนและทองเหลืองแข็งจากนั้นจึง นาไปเทลงพิมพ์หรือลงน้าเย็นเพื่อไปตีขึ้นรูป ทองเหลืองต้องไม่มีฟองอากาศ การประกอบเทียบเสียงเค่ง ต้องเตรียมลิ้นแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1 กลุ่มที่ 1 เตรียมท่อสาหรับท่อดี๋หลัว ท่อดี๋บู ท่อดี๋ซู ดี๋ค้าซู 5 - 6 ลิ้น อีก 2 ลิ้น กลุ่มที่ 2 เตรียมไว้สาหรับท่อดี๋ตือและท่อดี๋ค้าบูตามลาดับ ทั้งนี้การเตรียมลิ้นขั้นตอนนี้ เป็นเพียงการเตรียมลิ้นเบื้องต้นเท่านั้น เสียงของเค่งเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงอัตลักษณ์ และภูมิปัญญาของกลุ่ม ชาติพันธุ์ม้งที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ได้เป็นอย่างดี อัตลักษณ์ ของ เสียงเป็นผลมาจากการสืบทอดภูมิปัญญาในการสร้างเครื่องดนตรีชนิดนี้ การตั้ง เสียงของเค่งนั้น เกิดจากขั้นตอนการเตรียมการตั้งแต่กระบวนการสร้างแรกเริ่ม กระทั่งประกอบเป็นที่เรียบร้อย อัตลักษณ์ของเสียงเค่งเกิดขั้นจากความยาว ของเค่งที่ไม่เท่ากัน เตรียมการวัสดุอุปกรณ์ที่มีการเตรียมการพิเศษ ขั้ นตอน วิธีการอันเป็นองค์ความรู้ทางภูมิปัญญาจาเพาะที่ส่งต่อกันมาในกระบวนการ สร้างจนเป็นทักษะพิเศษและเป็นองค์ความรู้ที่ทรงคุณค่า ปัจจุบันเสียง “เค่ง” จะพบได้เพียงในช่วงงานเทศกาล เพื่อเป็นการส่ งเสริมการท่องเที่ยวเท่านั้น


108 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

22

การบรรเลงในวิถีชีวิต ประเพณี พิธีกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งในพื้นที่นี้ มีเพียงบางส่วนที่ยังใช้เค่งประกอบ ด้วยสาเหตุที่ไม่มีผู้ได้รับการถ่ายทอดและ ผู้บรรเลง ผู้ผลิต มีอายุมากไม่สามารถไปประกอบพิธีกรรมได้ดังเช่นเดิม อีกทั้ง ระบบความเชื่อค่านิยมต่อรูปแบบประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ เกิดการเปลี่ยนไป ส่งผลให้เสียง “เค่ง” ประจากลุ่มชาติพันธุ์ในปัจจุบันเสี่ยงต่อการสาบสูญ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการอนุรักษ์และส่งเสริมทางด้านวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่ม ชาติพันธุ์ม้งอย่างเป็นระบบ 2. ควรให้ความสาคัญกับการรื้อฟื้นวัฒนธรรมพื้นบ้านประจาถิ่นหรือ ศิลปวัฒนธรรมประจากลุ่มชาติพันธุ์ม้งอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การจดบันทึก และมีการเผยแพร่อย่างเป็นระบบ บรรณานุกรม บุญลอย จันทร์ทอง. (2549). ดนตรีชาวเขาเผ่าม้ง หมู่บ้านสบเป็ด อาเภอ ท่าวังผา จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ยัง ม็อตแต็ง. (2520). ประวัติของชาวม้ง (แม้ว). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สนธยา พลศรี. (2545ก). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. _______. (2545ข). หลักสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. นิเทศ ตินณะกุล. (2549). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


23

109

วสันต์ชาย อิ่มโอษฐ์. (2543). เค่ง : เครื่องดนตรีชนเผ่าม้ง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล. Chick, N. and Meleis, A.I. (1986) “Transitions: a nursing concern” In Peggy L. Chinn. (Ed). Nursing Research. Methodology. Issues and Implementation. Maryland: Aspen Publishers สัมภาษณ์ จงหม่อง แซ่ท้าว เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, กาพร ประชุมวรรณ เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่บ้านเลขที่ 92 หมู่ 1 ตาบลเขาค้อ อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560. หือ แซ่ย่าง เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, กาพร ประชุมวรรณ เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่บ้านเลขที่ 120 หมู่ 1 ตาบลเขาค้อ อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560.



สังคีตลักษณ์การลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน ปิยะนันท์ แนวคำดี 1 บทคัดย่อ บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยดังนี้ 1. เพื่อวิเคราะห์ ทานองลาและทานองแคน 2. เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบของการลาผญา บ้านซอกกับลาคอนสะหวัน ผลการวิจัยพบว่า ทานองลาและเนื้อร้องมีเนื้อหา เกี่ย วกับ การเกี้ ย วพาราสี ซึ่งกลอนล ามีโ ครงสร้าง 3 ส่ ว น คือ 1. กลอนขึ้ น 2. ตั ว กลอน 3. กลอนลง ลั ก ษณะกลอนล าเป็ น กลอนล าประเภทผญา ประกอบด้วย 4 วรรค และ 2 วรรค กลอนลาที่มี 4 วรรค ประกอบไปด้วยวรรค ที่ 1 2 3 4 กลอนลาที่มี 2 วรรค ประกอบไปด้วยวรรคที่ 3 กับ 4 มีจานวนคา 7 - 12 คา ทานองลาเกิดจากฉันทลักษณ์แบบบทกลอน มีเสียงสูงต่า สั้นยาว จึง ทาให้ เกิ ดท านอง ซึ่ ง รู ป แบบการล าบ้ า นซอกมี อัต ราจัง หวะไม่ส ม่าเสมอ ขึน้ อยู่กับหมอลาเป็นผู้กาหนดอัตราจังหวะขณะลา ทานองแคนเป็นเพียงเมโลดี้ และริทึ มมิกแพทเทิร์น โดยอยู่ในบัน ไดเสี ยงเดียวกัน ซึ่งมีแคนไม่ได้เป่าตาม ทานองลา เป่าเป็น (โดน) หรือเป่าเป็น (อ็อดสะตินาโด) รูปแบบลาคอนสะหวัน มีอัตราจังหวะความเร็วคงที่สม่าเสมอ โดยมีเครื่องดนตรี คือ แคน ซอ กลอง ฉิ่ง บรรเลงประกอบและกาหนดจังหวะความเร็ว ทานองของดนตรีเป็นเพียงเมโลดี้ และเป็นริทมึ มิกแพทเทิร์น ซึ่งดนตรีไม่ได้บรรเลงตามทานองลา 1

นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น E - mail : bill12sax@gmail.com


112 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

คาสาคัญ : ลาผญาบ้านซอก, ลาคอนสะหวัน, สังคีตลักษณ์ ภูมิหลัง การลาในท้องถิ่นต่าง ๆ ของหมอขับหมอลาอาวุโสของลาวทั้งในอดีต และปั จ จุบั น นิ ยมล าด้วยการด้นกลอนสดด้ว ยปฏิภ าณ ไม่ว่าจะเป็นการขับ ซาเหนื อ ขับ เซีย งขวาง ขับ งึ่ม ล ามหาซัย ล าคอนสะหวัน ล าบ้ านซอก ลาสีพันดอน การด้นกลอนสดด้วยปฏิภาณในการลาประเภทต่าง ๆ ที่กล่าวมานี้ นับเป็นสิ่งที่น่ามหัศจรรย์ เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการด้นในการลา สีพันดอน เพราะการด้นกลอนสดในลาประเภทอื่น เป็นการลาด้วยบทผญา สั้น ๆ สลับกันระหว่างหมอลาชาย - หญิง มีจังหวะลีลาค่อนข้างเชื่องช้า ทั้งยังมี การแทรกสลับของเสียงแคน เป็นการเปิดโอกาสให้ศิลปินหมอขับ หมอลาแต่ละ ฝ่าย มีเวลาคิดหาบทกลอนที่ จะใช้ลาโต้ตอบแก่คู่ลาได้ แต่การลาสีพันดอนนั้น มีจังหวะที่ค่อนข้างเร็ว แต่ละฝ่ายก็ต้องใช้เวลาลานาน จึงจะมีการสับเปลี่ยนให้ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ล า การที่ จ ะล าด้ น กลอนสดในเวลาเช่ น นั้ น ถ้ า หมอล าไม่ มี ความเชี่ยวชาญในการด้นจริงและไม่มีการฝึกฝนอบรมมาอย่างจริงจัง ย่อมไม่ สามารถทาได้ (Chonpairot, 1990 : 112 - 120) เพลงขั บ - ล าพื้ น บ้ า น เป็ น บทเพลงประเภทขั บ ร้ อ งบรรเลงที่ มี ท่วงทานองท้องถิ่นของแขวงต่าง ๆ เช่น ขับทุ้มหลวงพระบาง ซึ่งเป็นทานอง พื้นถิ่นของแขวงหลวงพระบาง ลาคอนสะหวัน ลาสีพันดอน เป็นทานองพื้นถิ่น ของชาวสะหวันเขต เป็นต้น ในการขับลาทานองพื้นบ้านโดยวงดนตรีลาวเดิม นั้น นักดนตรีจะขับร้องบรรเลงสลับกันไป ในการที่นักดนตรีขับลาทานองใดนั้น จะขึ้น อยู่กับ ความต้องการหรือความสอดคล้ องของแขกที่มาร่วมงาน ซึ่งจะ แตกต่างกันตามสภาพภูมิหลังและถิ่นกาเนิด เช่น เจ้าภาพเป็นคนที่มีถิ่นกาเนิด


3

113

จากเมืองหลวงพระบาง นักดนตรีก็จะขับทุ้มหลวงพระบาง หรือหากเจ้าภาพมา จากแขวงสะหวัน เขต นั กดนตรีก็จะบรรเลงล าตังหวาย เป็นต้น (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2551 : 76) ลาผญาเป็นการแสดงพื้นบ้ านที่ได้รับการพัฒนามาจากการจ่ายผญา ของคนในท้องถิ่น เพื่อสื่อสัมพันธ์ระหว่างหนุ่มสาว เช่น การเกี้ยวสาวลงข่วง ต่อมาคนหนุ่มได้ดัดแปลงการจ่ายผญามาเป็นการลาคลอกับเสียงแคนด้วยผญา ฝ่ายชายจะใช้กลอนทักทาย แล้วฝ่ายหญิงก็จะกล่าวตอบเรียกว่า การจ่ายผญา ต่อมาหมอลาได้นาคาผญามาลา เรียกว่า ลาผญา (สงวน ศรีอระพิมพ์, 2534 : 33 - 36) เนื้อหาของผญาปริศนาคาทาย บทสูตรขวัญ บทเซิ้ง หมอลา ใช้บท ร้อยกรองในพื้นถิ่นอีสานจะมี 2 ลักษณะคือ เพื่อควบคุมสังคมและความบันเทิง ทั้ ง แบบที่ มี เ ฉพาะความบั น เทิ ง อย่ า งเดี ย ว และแบบที่ มี ค วามบั น เทิ ง และ จุดมุ่งหมายอื่นด้วย (สุพรรณ ทองคล้อย, 2524 : 195 - 594) ปัจจุบันการแสดง ล าผญา ได้ถู กปรับ เปลี่ ย นรู ป แบบการแสดงไปเป็น การแสดงลู กทุ่ งหมอล า ซึ่งได้รับความนิยมมากกว่าการแสดงลาผญาเพียงอย่างเดียว หมอลาผญาจึงหา วิธีทุกอย่าง เช่น การแต่งกายประยุกต์ หมอลาผญาประยุกต์ซิ่ง เพื่อให้ผู้ว่าจ้าง ผู้ชม ชอบและติดใจในผลงานการแสดง ในปัจจุบันมีการนาเครื่องดนตรีพื้นบ้าน และเครื่องดนตรีตะวันตกเพิ่มเข้ามาในการแสดงลาผญา เพื่อให้ท่วงทานองของ เพลงมีความสนุกสนานและเป็นรูปแบบมากขึ้น อาจทาให้สาเนียงความเป็ น อีสานขาดหายไป รูปแบบของท่วงทานองดั้งเดิมก็ค่อยถูกเปลี่ยนอาจจะสูญหาย (พรศิริ ศรีอระพิมพ์, 2551 : 160 - 161) ลาบ้านซอกแรกเริ่มมาจากการเว้าผญา ผู้ชายกับผู้หญิงเว้าผญากันนั้น เรียกว่าการจ่ายผญา ต่อมาผู้ชายลาแล้วจึงมีแคนมาเป่าประกอบ และผู้ชาย


114 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

เป็ น คนล าฝ่ า ยเดี ย ว ส่ ว นผู้ ห ญิ ง เป็ น คนตอบผญา การล าแบบนี้ เ รี ย กว่ า การล าตอบผญา ส่ ว นการล าผญาคือการที่ห มอล าฝ่ า ยชายและฝ่ ายหญิ ง ล าคู่ กั น ซึ่ง คล้ า ยกั น กั บ หมอล าคอนสะหวัน หมอล าฝ่ า ยชายและหมอล า ฝ่ายหญิงลาตอบโต้กันและคณะสอย โดยมีเครื่องดนตรี คือ แคน กลอง ฉิ่ง และ กรับบรรเลงประกอบตั้งแต่ต้นจนจบ กลอนลาเป็นกลอนผญา มีลักษณะการ ลาเกี้ย วพาราสี ซึ่งปรากฏว่าวาดล าของลาบ้ านซอกกับ ล าคอนสะหวัน มี ความเหมือนและแตกต่างกันในบางประการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการ ลาตอบผญาของหมอลาซู และลาคอนสะหวันของหมอลาบุญตองและหมอลา พิมมะสอน ซึ่งถือได้ว่าหมอลาที่กล่าวมาเป็นหมอลาชั้นครู ผู้อาวุโส นับว่าเป็น ต้นแบบของการลาตอบผญาบ้านซอกและลาคอนสะหวัน ดัง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ งได้ส นใจศึก ษา วิ เคราะห์ เปรี ยบเที ยบสั งคี ตลั กษณ์ การลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ เพื่อ วิเคราะห์ทานองลาและทานองแคน และเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบของ การลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน วิธีดาเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1.1 แบบสารวจ (Survey) ผู้วิจัยได้ออกสารวจพื้นที่เบื้องต้น เกี่ยวกับความเป็ นไปได้ในการเก็บข้อมูลจากผู้ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องตาม วัตถุประสงค์โดยศึกษาสารวจจากพื้นที่ซึ่งมีศิลปินอาวุโส เพื่อสารวจถึงพื้นที่ว่า มีความสาคัญที่จะได้ข้อมูลเป็นการตรวจสอบ (Preliminary Survey) เพื่อยืนยัน ความสาคัญของพื้นที่วิจัย


5

115

1.2 แบบสังเกต (Observation) ผู้วิจัยสร้างกรอบการสังเกต จากการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ การเข้าร่วมกิจกรรม สังเกตพฤติกรรม ชุมชนและผู้คนทางด้านบริบทสังคม ประเพณีวิถีชีวิต วัฒนธรรมการสืบทอด บริ บ ทและสิ่ งแวดล้ อมและกิจ กรรม การซักถามพูดคุยอย่ างไม่เป็ นทางการ การบันทึกใช้เทคนิคหลายอย่างเพื่อเข้าถึงข้อมูลให้ครอบคลุมประเด็นที่ศึกษา เป็นการเสริม สนับสนุน เปรียบเทียบหรือยืนยันกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ 1.3 แบบสั ม ภาษณ์ (Interviews) ผู้ วิ จั ย ออกแบบการ สัมภาษณ์ตามวัตถุประสงค์โดยศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีและเอกสารงานวิจัย ใช้สั มภาษณ์กลุ่ มผู้ รู้ กลุ่ มผู้ ป ฏิบัติ และกลุ่ มบุคคลทั่ว ไปที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็น แนวทางในการสร้างแบบสัมภาษณ์และแนวคาถามในการสัมภาษณ์ตามกรอบ แนวคิดและตามหลักในการวิจั ย เพื่อสร้างเครื่องมือให้เหมาะสมกับเนื้อหาและ ประเด็นที่จะสั มภาษณ์ การสัมภาษณ์ครั้งนี้ใช้การสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง ( Structured Interviews) แ ล ะ แ บ บ สั ม ภ า ษ ณ์ แ บ บ ไ ม่ มี โ ค ร ง ส ร้ า ง (Unstructured Interviews) 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 ศึกษาจากเอกสาร มีจุ ดประสงค์เพื่อการศึกษาแนวคิด การวิจัยเบื้องต้น โดยมีประเด็นดังนี้ 1. เพื่อวิเคราะห์ทานองลาและเนื้อร้อง 2. เพื่ อ วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บรู ป แบบของการล าผญาบ้ า นซอกกั บ ล าคอน สะหวัน การสร้างกรอบแนวคิดดังกล่าวศึกษาจากแหล่งต่าง ๆ ดังนี้ ศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิ (Primary Source) ศึกษาจาก เอกสารประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิต ในส่วนที่เกี่ยวข้อง


116 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

กับทานองลาและทานองแคนของการลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน เพื่อ วิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบของการลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน ศึ ก ษาจากเอกสารทุ ติ ย ภู มิ (Secondary Source) ศึ ก ษาจากต าราและงานวิ จั ย ต่ า ง ๆ แหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษา ดั ง เช่ น ห้องสมุดของวิทยาลั ย ดุริ ย างคศิล ป์ มหาวิทยาลั ยมหาสารคาม ส านักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หอสมุดแห่งชาติ สปป.ลาว ที่เวียงจันทน์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สปป.ลาว ร้านจาหน่ายหนังสือแห่งรัฐของ สปป.ลาว ที่เวียงจันทน์ ร้านจาหน่ายหนังสือที่ตลาดเช้าเวียงจันทน์ ร้านจาหน่ายซีดี วีซีดี และดีวีดี ที่ สปป.ลาว การตรวจสอบเอกสาร ผู้ วิ จั ย ให้ ค วามส าคั ญ และ ความน่าเชื่อถือของเอกสารที่นามาศึกษาทั้ง 2 ประเภท ซึ่งจะตรวจสอบจากผู้ที่ มีความรู้ มีประสบการณ์ทางด้านวิชาการ จนกระทั่งเป็นที่ยอมรับ ตลอดจน แหล่งที่มาของเอกสารนั้น ๆ ด้วย 2.2 ศึกษาข้อมูลจากภาคสนาม (Field Research) ผู้วิจัยได้ รวบรวมข้อมูลภาคสนามจากการสังเกตบริบทสังคมแบบมีส่วนร่วม และการ สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ด้านสภาพแวดล้อม พื้นที่ที่มี หมอล าผญาบ้านซอกและหมอลาคอนสะหวัน ในสาธารณรั ฐประชาธิป ไตย ประชาชนลาว ประวัติชุมชน พฤติกรรมในสังคมความสัมพันธ์ด้านสังคมและ วัฒนธรรมในงานประเพณีต่าง ๆ โดยใช้การสังเกตการณ์แบบไม่เป็นทางการและ ในการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสาคัญแต่ละชุมชน


7

117

3. การจัดกระทากับข้อมูล ผู้วิจัยตรวจสอบข้อมูลภาคสนามจากการไปสัมภาษณ์ นามา ตรวจสอบคาตอบที่ได้ ว่าสอดคล้องกับข้อมูลตามบริบทของสังคมและชุมชนใน แต่ละครั้งหรือไม่ ใช้เทคนิคการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation) ตามการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แม่นยาและเชื่อถือได้มากที่สุด จาก การสัมภาษณ์และสังเกตตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ โดยมีการตรวจสอบสามเส้าในด้าน ต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล (Data Triangulation) ตรวจสอบด้านเวลา สถานที่และบุคคล เช่น หมอลา ศิลปิน เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้ว่าจ้าง ผู้ชม ผู้ฟัง เก็บข้อมูลตามความมุ่งหมายในการวิจัย ในช่วงเวลาและ สถานที่ที่ต่างกัน มาเก็บ ว่าข้อมูล ที่ได้ม าต่างเวลากันจะเหมือนกันหรือไม่ใ น แต่ละกลุ่ม 3.2 การตรวจสอบข้อมูลด้านผู้วิจัยและผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ว่ามี ข้อมูลตรงกันหรือไม่ด้วยการซักถามประเด็นที่เหมือนกัน ต่างกันที่สถานที่ และ แหล่งสาคัญ โดยซักถามข้อมูลเพื่อเป็นการยืนยันความเชื่อถือได้ของข้อมูล 3.3 การตรวจสอบข้ อ มู ล ด้ า นทฤษฎี ตรวจสอบข้ อ มู ล ภาคสนาม การตีความว่าตรงหรือแตกต่างไปจากทฤษฎีหรือแนวคิดผู้เชี่ยวชาญ มากน้ อยเพี ย งใด และตรวจสอบความเข้า ใจของผู้ วิจั ย เอง (Investigation Triangulation) โดยศึกษาเอกสารเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการลาประชันของ ศิลปินอาวุโสในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และในด้านทฤษฎีที่ ผู้วิจัยนามาอธิบาย เมื่อมีข้อมูลที่ขัดแย้งหรือไม่เพียงพอ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลซ้าเพื่อ ยืนยันความถูกต้องของข้อมูลอีกครั้ง


118 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

4. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลดาเนินการตามกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยอาศัยข้อเท็จจริง อาศัยทฤษฎี อาศัยเหตุผล กลั่นกรอง เลือกเฟ้นเอาเฉพาะ ผลที่ผ่านการพินิจพิ จารณาอย่างรอบคอบ จากหลายแหล่ง และหลายแง่มุม โดยวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ คือ วิเคราะห์ทานองลาและ เนื้อร้อง และเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบของการลาผญาบ้านซอกกับ ลาคอนสะหวัน 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลภาคเอกสาร เป็นการวิเคราะห์โดย วิธีการ (Method of agreement) ซึ่งประกอบด้วยการตรวจสอบข้อมูลในเชิง ทฤษฎี เพื่อพิจารณาเอกสารหลาย ๆ แห่งเพื่อความถูกต้องของข้อมูล 4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลภาคสนาม เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ ได้จากเครื่องมือเก็บข้อมูลการวิจัยทุกประเภท นาเสนอข้อมูลโดยการวิเคราะห์ 3 แบบ คือ 4.2.1 การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic Induction) คือ การตีความสรุปจากข้อมูลในลักษณะรูปธรรม หรือ ปรากฏการณ์ที่มองเห็น 4.2.2 การวิเคราะห์ ข้ อมูล โดยการจาแนกข้อมูล ใช้ ทฤษฎี เป็ น ตัว จ าแนกข้อ มู ล และการวิเ คราะห์ แบบไม่ ใช้ ท ฤษฎีซึ่ ง ขึ้น อยู่ กั บ ความเหมาะสมของข้อมูล 4.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบข้อมูล เป็นการนาข้อมูลมาเปรียบเทียบตามเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์


9

119

5. การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ โดยการเสนอ ประวัติความเป็นมา สภาพปัจจุบัน เพื่อนาไปสู่การวิเคราะห์ อธิบาย และ ทาความเข้าใจเกี่ยวกับทานองลาและแคนของการลาผญาบ้านซอกกับลาคอน สะหวัน เพื่อ วิเ คราะห์ เปรี ย บเทีย บตามวั ตถุ ป ระสงค์ การวิจั ย ในการเสนอ ผลการวิ เคราะห์ ข้อ มู ล ผู้ วิ จั ย น าเสนอผลการวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล ด้ว ยวิธี ก าร พรรณนาวิ เ คราะห์ (Descriptive Analysis ) ประกอบตาราง แผนที่ และ ภาพประกอบ ผลการวิจัย วิเคราะห์ทานองลาผญาบ้านซอก ทานองลาบ้านผญาซอกของหมอลาซู เกิดจากฉันทลักษณ์ของบท กลอนผญา บท ๆ หนึ่งมี 2 หรือ 4 วรรค แต่ละวรรคมี 7 - 12 คา คาในแต่ละ วรรคมีวรรณยุกต์เสียงเอก เสียงโท กากับจึงเกิดเสียงสูงและเสียงต่าทาให้เกิด ท านอง ซึ่ ง กลอนล าที่ ส มบู ร ณ์ ค าสุ ด ท้ า ยของแต่ ล ะวรรคจะประกอบด้ ว ย วรรณยุกต์กากับ คาสุดท้ายของวรรคแรกไม่มีวรรณยุกต์เพราะเป็นเสียงสามัญ คาสุดท้ายวรรคที่สองมีวรรณยุกต์เสียงเอก คาสุดท้ายวรรคที่ส ามมีวรรณยุกต์ เสียงโท และคาสุดท้ายวรรคที่สี่จบลงด้วยเสียงสามัญ การออกเสียงคาที่อยู่ใน กลอนล าแต่ ล ะค านั้ น มีทั้ งค าที่สั้ น และยาวจึ งท าให้ เกิ ดจัง หวะในทานองล า กลอนลาแต่ละวรรคมี 4 จังหวะ แต่ละจังหวะมีคาไม่เกิน 3 พยางค์ ทานองลา อยู่ในระบบเสียงแบบเพนทาโทนิ กสเกล ประกอบด้วยเสียง โด เร มี ซอล ลา มีการเคลื่อนที่ทานองลาแบบขั้นบันไดและขั้นกระโดด


10

120 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว ตัวอย่าง เนื้อร้อง ทานองลาและฉันทลักษณ์ลาบ้านซอก เด้อหล้าอ้ายวา สาธุเดอ เดอนวลนางน้องหญิงทั้งสองสามสี่ หนูลาลี น้องนาฏไท้ ฟังเรื่อง นั่นต่อไป วรรคที่ คาบุพ จังหวะที่ บท วรรคที่ 3 เด้อ หล้า วรรคที่ 4

1

2

อ้ายว่า

สาธุ นวลนาง ทั้งสอง เด้อ น้อง สามสี่ น้อง ฟังเรื่อง นั่น นาฏไท้ ต่อไป

หนูลาลี

3

4

คา สร้อย

ทานองลาบ้านซอก

ทานองแคน หรื อ ลายแคนบ้ า นซอกเป็ น ลายแคนที่ สั้ น ๆ เรียบง่ า ย ไม่ซับ ซ้อน การการเป่ า ลายแคนบ้ านซอกต้องติดสู ดที่เสี ยงซอล ตาแหน่งนิ้วนางด้านซ้าย ทานองลายแคนบ้านซอก อยู่ในระบบเสียงเพนทา โทนิกสเกล ประกอบด้วยโน้ตเสียง โด เร มี ซอล ลา มีรูปแบบการเคลื่อนที่ ของทานองแบบขั้นกระโดดและแบบขั้นบันได ดังตัวอย่าง


11

121 ทานองแคนบ้านซอก

จากการนาทานองแคนของลาบ้านซอกตอบผญา 1 ท่อน มา ถอดเทปเพื่ อ บั น ทึ ก โน้ ต สากล พบว่ า ลั ก ษณะของลายแคนมี 2 ท านอง ประกอบด้วยทานองแคนและทานองลา โดยทานองแคนจะเป่าเป็นจังหวะ ขึ้นต้นก่อนหมอลาและเป่าหลัง หมอลา ลาจบวรรคซึ่งหมอลาจะลา 4 วรรค หรือ 2 วรรค ส่วนทานองลาใช้เป่าพร้อมกับหมอลา ที่เรียบง่ายการบรรเลง จะวนซ้าไปซ้ามาตั้งแต่ต้นจนจบเพลง โดยมีอัตราจังหวะเท่ากับ 2/4 โดย ความยาวของทานองเพลงเท่ากับ 12 ห้ องเพลง ในการบรรเลงมีการใช้ จังหวะไม่สม่าเสมอตลอด เนื่องจากต้องเป่าประกอบกับหมอลา โดยมีอัตรา ความเร็ว = 72 ลักษณะความดังเบาของบทเพลงส่วนใหญ่เป็นเสียงที่บรรเลง ออกมาดังสม่าเสมอเกือบทั้งเพลง การลงจบของเพลงจะมีการผ่อนจังหวะให้ ช้าลง การเป่าแคนประกอบลาตอบผญา ในตอนแรกหมอแคนจะ เป่าแคนขึ้นมาก่อน เพื่อเป็นการให้เสียงแก่หมอลา ไม่กาหนดความสั้นยาวของ ทานอง หมอแคนเป่าจากต้นจนจบวนไปเรื่อย ๆ เมื่อหมอลาพร้อมจึงเริ่มลา เข้ากับแคน ในจังหวะนี้หมอแคนต้องใช้ไหวพริบปฏิภาณ เพื่อให้ทานองแคนกับ


122 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

ทานองล าบรรเลงร่ ว มกันอย่ างกลมกลื น และหมอแคนจะลดความดังของ แคนลงเพื่อให้ เสียงของหมอลาดังและเป็นทานองหลัก ดังภาพตัวอย่าง กลอนขึ้น

ตัวกลอนลาบ้านซอก


13

123

การลาตอบผญามีอัตราจังหวะที่เรียบง่ายไม่เคร่งครัด ในการ ลาประกอบกับ แคนนั้ นตอนหมอแคนเป่ าแคนขึ้น มาก่อนเป็น แพทเทิร์ นโดย ส่วนมากมีความเร็วที่สม่าเสมอ หมอลาจึงเริ่มลาเข้ากับแคนในอัต ราจังหวะที่ ช้า ลง ความช้ า เร็ ว อยู่ กั บการออกเสี ยงและการเอื้ อ นค าของหมอล า อัต รา จังหวะขณะที่ลาขึ้นอยู่กับหมอลาเป็นผู้กาหนด ทานองลาผญาบ้านซอก ของ หมอลาซูอัตราจังหวะเท่ากับ 2/4 หนึ่งห้องเพลงมี 2 จังหวะ ลักษณะความดัง เบาของทานองลาส่วนใหญ่ดังสม่าเสมอ ผญา เมื่อหมอลาฝ่ายชายลาจบบทกลอนหมอลาฝ่ายหญิงก็จะเว้าผญาเพื่อ เป็นการถามตอบ ซึ่งในกลอนผญาพบฉันทลักษณ์ ดังนี้ กลอนผญามี 2 วรรค ประกอบด้วยวรรคที่ 3 จานวน 2 วรรค และวรรคที่ 4 จานวน 2 วรรค คาสุดท้ายของแต่ละวรรคมีเสียงวรรณยุกต์กากับ คาสุดท้ายของวรรคที่สาม ทั้ ง 2 วรรค พบวรรณยุ ก ต์ เ สี ย งเอก ค าสุ ด ท้ า ยของวรรคที่ สี่ ทั้ ง 2 พบ วรรณยุกต์เสียงสามัญ คาสุดท้ายของวรรคที่ 3 ส่งสัมผัสไปยังคาที่ 4 ของ วรรคที่ 4 พบคาบุพบทในวรรคแรก คาว่า “ฟังสาก่อนหมอลา”


124 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

14

ตัวอย่างหมอลาฝ่ายหญิงเว้าผญา ฟังสาก่อนหมอลา น้องนี่ใหญ่มาพอป่านนี่ นางกะหาผัวซ้อน จนวาหัวเข่าคอน จนวาตีนขาดค่อ มันบ่พอสิได่ กะเลยดั้นด่วนมา คั่นพี่หมอลา หาได่ หามาไห่น่องแน่ คันเจ้าหาบ่ได่ย่านเคืองเจ้าผู้นั่งลาคาบุพบท ฟังสาก่อน หมอลา วรรคที่ 3 น้ อ งนี่ ใ หญ่ม าพอป่ า นนี่ นางกะหาหาผั ว ซ้ อ น จนวาหั ว เข่า คอน นนนนนนนจนวาสิ้นขาดค่อ วรรคที่ 4 มันบ่พอสิได่ กะเลยดั้นด่วนมา วรรคที่ 3 คั่นพี่หมอลาหาได่ หามาไห่น่องแน่ วรรคที่ 4 คันเจ้าหาบ่ได่ย่านเคืองเจ้าผู้นั่งลา ตัวอย่างคาสอย โอ้ โอ้ โอ้ โอ้ย...ฮิ้ว เฒ่าสิตายบาดบายหัวผัว ผั่นว่าหัวรถจิบ๊ ถ่าข่าน้อยแน่อยากไปเซโนนา อั่นนี่กะว่าสอย โอ้ย! ฮิ้ว วิเคราะห์ทานองลาคอนสะหวัน ท านองล าคอนสะหวั น เกิ ด จากรู ป แบบและฉั น ทลั ก ษณ์ ข องกลอน ลาผญา ซึ่งกลอนล ามีโ ครงสร้าง 3 ส่ว น คือ 1. กลอนขึ้น 2. ตัว กลอน และ 3. กลอนลง กลอนลาแต่ละบทประกอบด้วย 4 วรรค และ 2 วรรค กลอนลาที่ มี 4 วรรค ประกอบไปด้วยวรรคที่ 1 2 3 4 กลอนลาที่มี 2 วรรค ประกอบด้วย วรรคที่ 3 กับ 4 ในแต่ละวรรคมีจังหวะทางดนตรี 4 จังหวะ และมีจานวนคา 7 - 12 คา คาสุดท้ายของแต่ละวรรคมีเสียงวรรณยุกต์กากับ คาสุดท้ายของ วรรคแรกมีวรรณยุกต์เสียงสามัญกากับ คาสุดท้ายของวรรคที่สองมีวรรณยุกต์


15

125

เสียงโทกากับ คาสุดท้ายของวรรคที่สามมีวรรณยุกต์เสียงเอกกากับ คาสุดท้าย ของวรรคที่สี่มีวรรณยุกต์เสียงสามัญกากับ และมีการส่งสัมผัสไปยังคาของวรรค ถัดไป นอกจากนี้ยังมีคาบุพบทอยู่ข้างหน้าวรรคแรกกับวรรคที่สาม และมี สร้อยอยู่ท้ายวรรคที่สี่ เสียงสูง ต่าแต่ละวรรคมาจากเสียงวรรณยุกต์สามัญ เอก โท จึงเกิดทานอง ความสั้นยาวของการออกเสียง ฉันทลักษณ์กลอนลา ทาให้เกิดจังหวะจึงทาให้เกิดทานองลา ทานองลาอยู่ในระบบเสียงแบบเพนทา โทนิกสเกล ประกอบด้วยเสียง โด เร มี ซอล ลา มีการเคลื่อนที่ทานองลา แบบขั้นบันไดและขั้นกระโดด ตัวอย่าง เนื้อร้อง ทานองลาและฉันทลักษณ์ลาบ้านซอก กลอนขึ้น (ฟังเด้อ) นับแต่อ้มน้องละล่วย ล้มน้องนั้นละล่วย เปี๋ยงมาซวยตั้งแต่อ้าย บายแก้มถืกแต่นม วรรคที่ คา จังหวะที่ บุพบท วรรคที่ 3 ฟังเด้อ วรรคที่ 4

1

2

นับแต่ น้อง อ้ม ละล่วย เปี๋ยง ตั้งแต่อา้ ย มาซวย

3

4

อ้ม น้อง บาย แก้ม

นั้น ละล่วย ถืกแต่นม

คา สร้อย


16

126 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว ทานองกลอนขึ้นลาคอนสะหวัน

ตัวกลอนผญาเกี้ยว (บอกว่า) ถามเด้น้อเด้ข่าวน้อง ถามข่าวนั้นทางปลา ถามเด้น้อว่าข่าวนา ถามข่าวนั้นทางข้าว ถามเด้น้อว่าข่าวเจ้า ว่ามีผัวแล้วหรือบ่ หรือว่ามีตั้งแต่ซู้ ผัวซิซ้อนนั้นบ่มี วรรคที่ คา จังหวะที่ บุพบท วรรคที่ 1 บอก ว่า วรรคที่ 2 วรรคที่ 3 วรรคที่ 4

1

2

3

ถาม เด้น้อ ถาม เด้น้อ ถาม เด้น้อ หรือว่า มี

เด้ข่าว น้อง ว่าข่าว นา ว่าข่าว เจ้า ตั้งแต่ซู้

ถามข่าว

4

คาสร้อย

นั้นทาง ปลา ถามข่าว นั้นทาง ข้าว ว่ามีผัว แล้ว นอนวล หรือบ่ ญาเอย ผัวซิซ้อน นั้นบ่มี


17

127 ทานองตัวกลอนผญาเกี้ยว

หมอลาฝ่ายหญิงลาโต้ตอบ อ้ายเอ้ย ครันว่ามีหนองน้า ต้องมีบัวนั้นบานเกิด ครันหากมีตั้งแต่น้า ซาวค้าเพิ่นบ่เทียว ดอกอ้ายเอย อ้ายว่า อ้ายมาถามข่าวข้าว อันในนานั้นเขียวอ่อน ซั้นบ้อ ปีกลายได้ห้าร้อย ปีนี้ได้สีฟาย ละอ้ายเอย วรรคที่ คา จังหวะที่ บุพบท วรรคที่ 3 อ้าย เอ้ย วรรคที่ 4 วรรคที่ 3 อ้าย ว่า วรรคที่ 4

1

2

3

4

ครันว่า มี ครัน หากมี อ้ายมา ถาม ปีกลาย

หนอง ต้องมี นั้นบาน น้า บัว เกิด ตั้งแต่น้า ซาวค้า เพิ่นบ่ เทียว ข่าวข้าว อันใน นั้นเขียว นา อ่อน ได้ห้า ปีนี้ ได้สีฟาย ร้อย

คาสร้อย

ละอ้าย เอย


128 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

กลอนจบ โอ้ย ให้เจ้าตั้งเที่ยง ๆ เด้อสาวหมอลาเอ้ย ให้เจ้าตั้งเที่ยงหมัน้ เสมอมันดอกเครือเก่า นางเอ้ย ให้เจ้าตั้งต่ออ้ายเสมอเผิ้งดอกต่อฮัง น้องเอย ทานองกลอนจบลาคอนสะหวัน

รู ป แบบของกลอนล ามี 3 ส่ ว น คือ 1. กลอนขึ้น 2. ตัว กลอน และ 3. กลอนลง กลอนลาแต่ละวรรคมี 4 จังหวะ สาหรับหนึ่งจังหวะของกลอนลา มี จ านวนค าไม่ เ กิ น สามค าต่ อ จั ง หวะ ท านองล าคอนสะหวั น ตอนขึ้ น หรื อ ตอนกลางหรื อตอนลง มีทานองคล้ายกันตลอด แตกต่างกันเพียงเนื้อหาของ กลอนลา ความสั้นยาวของกลอนลาไม่มีกาหนดตายตัว ขึ้นอยู่กับทักษะและ ปฏิภาณไหวพริบของหมอลาแต่ละคน สาหรับกลอนขึ้นนิยมนาเอาวรรคที่สาม และวรรคที่สี่มาลาขึ้น มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนาตนเอง ตัวกลอนคือส่วนที่ เป็น เนื้อหาสาระของกลอน กลอนล าที่มีลั กษณะถามข่าวคราว ที่อยู่อาศัย ประวัติ ความเป็ น มา เรื่ อ งคู่ ครองและเกี้ย วพาราสี กลอนลงคื อกลอนที่ใ ช้ สาหรับการแจ้งให้ รู้ถึงการสิ้น สุดของกลอนลา มีเนื้อหาเกี่ยวกับการบอกลา ระหว่างหมอลาทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงพร้อมทั้งบอกลาผู้ชมผู้ฟัง


19

129

ลายแคนคอนสะหวันมีทานองที่สั้น ๆ เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน การเป่า ลายคอนสะหวันต้องติดสูดที่เสียงซอลตาแหน่งนิ้วนางด้านซ้าย ทานองลายแคน บ้านซอกอยู่ในระบบเสียงเพนทาโทนิก สเกลประกอบด้วยโน้ตเสียง โด เร มี ซอล ลา มีรูปแบบการเคลื่อนที่ของทานองแบบขั้นกระโดดและแบบขั้นบันได ดังตัวอย่าง ทานองแคนลาคอนสะหวัน

จากการศึกษาทานองแคนของลาคอนสะหวัน 1 ท่อน มาถอดเทปเพื่อ บัน ทึ กโน้ ตสากล พบว่า ลั กษณะของลายแคนมี 2 ทานอง ประกอบด้ว ย ทานองแคนและทานองล า โดยทานองแคนจะเป่าเป็น จั งหวะขึ้น ต้น ก่อ น หมอลา และเป่าหลังการลาจบวรรค และทานองลาใช้เป่าพร้อมกับหมอลา ทานองแคนของลาคอนสะหวันที่เรียบง่ายการบรรเลงจะวนซ้าไปซ้ามาตั้งแต่ต้น จนจบเพลง โดยมีอัตราจังหวะเท่ากับ 2/4 โดยความยาวของทานองเพลง เท่ากับ 12 ห้องเพลง ในการบรรเลงมีจังหวะสม่าเสมอตลอด เนื่องจากมี กลอง ฉิ่ง กรับ บรรเลงประกอบอยู่ตลอด โดยมีอัตราความเร็ว = 72 ลักษณะ ความดังเบาของบทเพลงส่วนใหญ่เป็นเสียงที่ บรรเลงออกมาดังสม่าเสมอเกือบ ทั้งเพลง การลงจบของเพลงจะมีการผ่อนจังหวะให้ช้าลง จากการศึกษารูปแบบการลาคอนสะหวัน พบว่า หมอแคนเป่าแคน เป็นทานองขึ้นก่อน โดยมีเครื่องประกอบจังหวะรอรับเพื่อบรรเลงขึ้นพร้อมกัน


130 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

20

ในห้ องเพลงที่ 2 เพื่อให้ ห มอล าได้ยิ น เสี ย งหลั กในบันไดเสี ยงและเพื่อสร้า ง สุนทรียภาพในการลา การบรรเลงดนตรีขึ้นนาก่อนเปรียบเสมือนอินโทรดักชั่น ของเพลง หมอลาเลือกเอาคาบุพบทมาขึ้นต้นทักทายด้วยคาว่า “ฟังเด้อ ” โดยส่วนมากจะลาเข้ากับดนตรีในจังหวะที่ 4 ของดนตรี หมอล าฝ่ายชายใช้ กลอนลาที่มีลักษณะถามข่าวคราว ที่อยู่อาศัย ประวัติความเป็นมา เรื่องคู่ครอง หมอลาฝ่ายชายลาจนจบวรรค หมอลาฝ่ายหญิงก็จะตอบผญา จากนั้นหมอ สอย สอยขึ้นมาโดยการนาเอาสุภาษิตมากล่าว มีเนื้อหาเกี่ยวกับกามอารมณ์ มาสอย ทาให้ เกิดความเพลิ ดเพลิ น และตื่น เต้น ซึ่งกลอนล าที่มีฉันทลักษณ์ สมบูรณ์ จะมีอยู่ 4 วรรค หมอลาจะใช้วรรคที่ 1 หรือวรรคที่ 2 3 4 เป็นการ ลาขึ้นก็ได้ วิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบของการลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน จากการศึกษาพบว่ากลอนลาของลาผญาบ้านซอกและลาคอนสะหวัน มีโครงสร้าง 3 ส่วน คือ 1. กลอนขึ้น 2. ตัวกลอน และ 3. กลอนลง มีลักษณะ เป็นกลอนผญา เนื้อหาเกี่ยวกับการเกีย้ วพาราสี กลอนลาแต่ละบทประกอบด้วย 4 วรรค และ 2 วรรค กลอนลาที่มี 4 วรรค ประกอบไปด้วยวรรคที่ 1 2 3 4 กลอนลาที่มี 2 วรรค ประกอบไปด้วยวรรคที่ 3 กับ 4 ในแต่ละวรรคมีจังหวะ ทางดนตรี 4 จังหวะ และมีจานวนคา 7 - 12 คา ซึ่งกลอนลาที่มีฉันทลักษณ์ สมบูรณ์ จะมีอยู่ 4 วรรค หมอลาจะใช้วรรคที่ 1 หรือวรรคที่ 2 3 4 เป็นการ ลาขึ้นก็ได้ โดยส่วนมากการลากลอนขึ้นจะนาเอาวรรคที่ 3 กับ 4 มาใช้ ในการล า ซึ่งกลอนล าที่ส มบู ร ณ์คาสุ ดท้ายของแต่ล ะวรรคจะประกอบด้ว ย วรรณยุ ก ต์ ก ากั บ ค าสุ ด ท้ า ยของวรรคแรกมี ว รรณยุ ก ต์ เ พราะเสี ย งสามั ญ


21

131

คาสุดท้ายวรรคที่สองมีวรรณยุกต์เสียงเอก คาสุดท้ายวรรคที่สองมีวรรณยุกต์ เสียงโท และคาสุดท้ายวรรคที่สี่จบลงด้วยเสียงสามัญ การลาตอบผญามีอัตราจั งหวะที่เรียบง่ายไม่เคร่งครัด เพราะเป็น การลาสลับกับพูดและสอย ในการลาประกอบกับแคนนั้นตอนแรกหมอแคน เป่าแคนขึ้นมาก่อนเป็นแพทเทิร์นโดยส่วนมากมีความเร็วที่สม่าเสมอ หมอลา จึงเริ่มลาเข้ากับแคนในอัตราจังหวะที่ช้าลง ความช้าเร็ว ขึ้นอยู่กับการออกเสียง และการเอื้อนคาของหมอล า อัตราจั งหวะขณะที่ ล าขึ้นอยู่กับหมอล าเป็น ผู้ กาหนด หลังจากหมอลาฝ่ายชายลาจบแต่ละบท ในขณะหมอลาฝ่ายหญิงเป็น ฝ่ายตอบผญาและคณะสอย สอยนั้น หมอแคนไม่เป่าแคนประกอบโดยจะเป่า ประกอบกับหมอลาเท่านั้น ซึ่งแตกต่างกับหมอลาคอนสะหวัน ดังนี้ ลาคอน สะหวันมีอัตราจังหวะความเร็วคงที่สม่าเสมอ โดยมีเครื่องดนตรี คือ แคน ซอ กลอง ฉิ่ง และกรับ บรรเลงประกอบตั้งแต่จนจบ ดนตรีบรรเลงขึ้นก่อนเป็น แพทเทิร์นไม่จากัดห้องเพลง เพื่อให้หมอลาได้ยินเสียงหลักในบันไดเสียงและ เพื่อสร้างสุนทรียภาพในการลาเปรียบเสมือ นอินโทรดักชั่นของเพลง โดยแคน ซอ กลอง ฉิ่ ง และกรั บ บรรเลงขณะหมอล าฝ่ า ยชายและหมอล าฝ่ ายหญิ ง ลาตอบโต้กัน สาหรับช่วงที่คณะสอยสอยนั้น พบว่ามีแค่กลองกับซอบรรเลง ประกอบเพื่อประคองจังหวะเท่านั้น อภิปรายผล ทานองลาผญาบ้านซอกกับลาคอนสะหวัน เกิดจากฉันทลักษณ์ของ บทกลอนผญา บท ๆ หนึ่งมี 2 หรือ 4 วรรค แต่ละวรรคมี 7 - 12 คา กลอนลา แต่ละวรรคมี 4 จังหวะ แต่ล ะจั งหวะมีคาไม่เกิน 3 พยางค์ ทานองล าอยู่ใน ระบบเสียงแบบเพนทาโทนิ กสเกล ประกอบด้วยเสียง โด เร มี ซอล และลา


132 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

22

มีการเคลื่อนที่ทานองลาแบบขั้นบันไดและขั้ นกระโดด การลาผญาบ้านซอกมี อัตราจังหวะที่เรียบง่ายไม่เคร่งครัด เพราะเป็นการลาสลับกับพูดและสอย ซึ่ง แตกต่างจากลาคอนสะหวัน เพราะลาคอนสะหวัน มีอัตราจังหวะความเร็วคงที่ สม่าเสมอ โดยมีเครื่องดนตรี คือ แคน ซอ กลอง ฉิ่ง และกรับ บรรเลงประกอบ ตั้งแต่ต้นจนจบ ฉันทลักษณ์กลอนลาบ้านซอกกับกลอนลาคอนสะหวัน พบว่า คาสุดท้ายของแต่ละวรรคมีเสียงวรรณยุกต์กากับ คาสุดท้ายของวรรคที่แรก พบวรรณยุกต์เสียงสามัญ คาสุดท้ายของวรรคที่สอง พบวรรณยุกต์เสียงเอก คาสุดท้ายของวรรคที่สาม พบวรรณยุกต์เสียงโท คาสุดท้ายของวรรคที่สี่ พบ วรรณยุกต์เสียงสามัญ ผลการวิจัยในประเด็นนี้ สอดคล้องกับ งานวิจัยของ เจริญชัย ชนไพโรจน์ (2526 : 20 - 27) กลอนเยิ้น 1 บทมี 4 วรรค และมี ฉันทลักษณ์เช่นเดีย วกับกลอนอ่าน และกลอนผญาเกี้ยว แต่ แตกต่างกันที่ กลอนอ่าน เน้นเฉพาะสัมผัสในไม่เน้นสัมผัสนอก แต่กลอนลาเน้นทั้งสัมผัสใน และสัมผัสนอก ลายแคนลาบ้านซอกมี 2 ทานอง ประกอบด้วยทานองแคน และทานองลา โดยทานองแคนจะเป่าเป็นจังหวะขึ้นต้นก่อนหมอลา และเป่า หลังหมอลา ลาจบวรรคซึ่งหมอลาจะลา 4 วรรคหรือ 2 วรรค ส่วนทานองลา ใช้เป่าพร้อมกับหมอลา ที่เรียบง่ายการบรรเลงจะวนซ้าไปซ้ามาตั้งแต่ต้นจนจบ เพลง บรรณานุกรม เจริญชัย ชนไพโรจน์. (2526ก). ดนตรีและการละเล่นอีสาน. มหาสารคาม : ภาควิชาดุริยางคศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒมหาสารคาม.


23

133

. (2526ข). ปึ้มกลอนลา. มหาสารคาม : ภาควิชาดุริยางคศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2551). ดนตรีลาวเดิม. ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ สังคมลุ่มน้าโขง. พรศิริ ศรีอระพิมพ์. (2551). การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาด้านการแสดงหมอ ลาผญาจังหวัดมุกดาหารเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สงวน ศรีอระพิมพ์. (2534). ลาผญาย่อยหัวดอลตาล. ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ มหาสารคาม. สุพรรณ ทองคล้อย. (2534). ลักษณะร้อยกรองพื้นถิ่นอีสาน. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.



เสียงแคน : มนต์เสน่ห์ในงานวรรณกรรม รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ 1 ณัฐพงค์ มั่นคง 2 ปกรณ์ ปุกหุต 3 แคน เป็นเครื่องดนตรีประเภทใช้ลมเป่าและมีอานุภาพเป็นที่ยอมรับ มากในประเทศแถบลุ่ ม แม่ น้ า โขง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาวและภาคอีส านของไทย แม้ เมื่ อพิจ ารณาเรื่ อ ง จุ ด ก้ า เนิ ด ของแคนนั นพบว่ า เป็ น เครื่ อ งดนตรี ที่ มี ม าแต่ โ บราณของหลาย ชาติพันธุ์ ทางจีนเรียกเครื่องเป่าที่มีรูปลักษณ์คล้ายแคนว่า เช็ง (Cheng) หรือ แม้แต่ออร์แกนของชาวตะวันตกและชนเผ่าพืนเมืองก็มีเครื่องดนตรีเกิดเสียง อันไพเราะโดยผ่านท่อลมเป่าทังสิน ดังนันมิอาจกล่าวได้ว่า ชาติพันธุ์ใดเป็นผู้ให้ ก้าเนิดแต่ที่แน่นอนที่สุดก็ คือ เป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะร่วมของมนุษยชาติ (cosmopolitan) ที่สร้างสรรค์ขึนตรงกันจากวัสดุในธรรมชาติของตนเอง แต่ กล่ า วได้ ว่ า เสี ย งที่ เ กิ ด จากท่ อ ลมเป่ า (Pipe) นี ต่ า งมี อ านุ ภ าพอย่ า งยิ่ ง ต่ อ ความคิด จิตใจ อารมณ์ และความรู้สึกของผู้ฟัง สร้างพลังดึงดูดอันมหาศาลให้ ผู้คนเคลื่อนเข้าไปฟังใกล้ ๆ หลายครังเสียงนีก็ท้าให้คลายทุกข์ แต่บางครังก็ ท้าให้เกิดความเศร้าเว้าวอน ห่วงหา อาลัยถึงผู้คนและบ้านเกิดที่อยู่ไกล พลัง 1

ผู้เชี่ยวชาญประจ้าสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 ช่างศิลป์และกรรมการฝ่ายประสานงาน ประจ้าพิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม 3 เลขานุการคณะกรรมการ พิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม


136 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

เช่นนีคือ “มนต์เสน่ห์” อันตราตรึงที่ปฏิเสธไม่ได้ของเครื่องดนตรีที่ชาวอีสาน และทางสปป.ลาวเรียกว่า “แคน” เสียงแคน คือ สัญลักษณ์แห่งจิตวิญญาณ และตั ว ตนของกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ไ ทน้ อ ย ที่ ต อนหลั ง มาเรี ย กเป็ น ไทยลาว ซึ่งแพร่กระจายอยู่หลายจังหวัดในประเทศไทยและโดดเด่นมากในภาคอีสาน และเป็น เครื่อ งดนตรี ป ระจ้ า ชาติ ข องชาวลาวในสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาวในปั จ จุ บั น สิ่ ง ที่ ส ะท้ อ นมนต์ เ สน่ ห์ แ ละพลั ง แห่ ง เสี ย งแคน แม้กระทั่ง ชาติพัน ธุ์ กวย กูยหรือส่ วย และเขมรซึ่งมีวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง มี ลักษณะเฉพาะของตนเองและมีเครื่องดนตรีประเภทปี่พาทย์ ประเภทกันตรึม เป็ น วิ ถี ห ลั ก ในงานวั ฒ นธรรมประเพณีต่ า ง ๆ แต่ แ คนและเสี ย งแคนก็ ไ ด้ มี อิทธิพลเข้าไปแทรกซึมในวิถีชีวิตของชาวกูย อย่างปฏิเสธได้ยาก ปรากฏในพิธี เลียงผีไหว้ผีบรรพบุรุษ “มะม็วต” เป็นต้น ... นี่คือ มนต์เสน่ห์แห่งเสียงแคน ที่ไม่มีพรมแดนชาติพันธุ์และภูมิศาสตร์มาขีดคั่นได้ เมื่อแคนเป็นเครื่องดนตรีหลักในวิถีของชาวไทยภาคอีสานและพี่น้อง สปป.ลาว อิทธิพลของแคนจึงเข้ามาปรากฏในงานวรรณกรรมอย่างปฏิเสธ ไม่ ไ ด้ เพราะการสร้ า งสรรค์ ว รรณกรรมคื อ การน้ า ชี วิ ต และวิ ถี ข องผู้ ค นมา น้าเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เช่น คนกับการด้าเนินชีวิต คนกับสิ่งแวดล้อมทาง สังคม คนกับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ คนกับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน ชีวิตที่เกิดขึน โดยในการสร้างสรรค์นันผู้เขียนหรือผู้แต่งมักน้าสิ่งแวดล้อมทาง สังคมที่ผู้แต่งด้ารงอยู่เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในฉาก เหตุการณ์ในเรื่องไม่มากก็น้อย บทความนีมีความประสงค์เพื่อเสนอการปรากฏของ “แคน” ในวรรณกรรม ทั้ง วรรณกรรมทั่ วไป วรรณกรรมท้ อ งถิ่น อี ส าน ซึ่ ง เสนอเรื่ อ งราวของ วรรณกรรมผ่านลายลักษณ์อักษร ซึ่งคนสมัยก่อนจารลงในใบลาน และ


3

137

มีการปริวรรตจัดพิมพ์ออกมาเป็นภาษาไทยปัจจุบันว่า มีแคนในวรรณกรรม นั้ น ๆ หรื อ ไม่ แ ละปรากฏอย่ า งไรบ้ า ง ผู้ เ ขี ย นจะพยายามน้ า วรรณกรรม ประเภทต่ า ง ๆ มาพิ จ ารณา ทั งวรรณกรรมประวั ติ ศ าสตร์ วรรณกรรม พุทธศาสนา วรรณกรรมค้าสอน วรรณกรรมประโลมโลกย์ ซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่ใน รูปแบบของนิทานที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ มาพิจารณาตามสมควร ซึ่งอาจยังไม่ ละเอียดครบถ้วนนัก แต่อย่างน้อยท้าให้ผู้สนใจเห็นข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับ “มนต์เสน่ห์ของแคนในวรรณกรรม” การใช้เครื่องดนตรี “แคน” ในเอกสาร และวรรณกรรมต่าง ๆ ตามสมควร แคนในเอกสารโบราณทางประวัติศาสตร์ หากจะกล่าวถึงประเภทของวรรณกรรม “ใบบอก” ถือเป็นวรรณกรรม ทางประวัติศาสตร์ ที่ได้ติดต่อสื่ อสารจริ งระหว่างฝ่ ายปกครองส่ ว นกลางกับ หัวเมืองต่าง ๆ ค้าว่า ใบบอก เป็นค้านาม หมายถึง หนังสือแจ้งข้อราชการ มาจากจังหวัดถึงมณฑล หรือจากมณฑลถึงเจ้ากระทรวงหรือหนังสือรายงาน เหตุการณ์ทางราชการ หนังสือแจ้งราชการมาจากหัว เมือง จากการศึกษา ใบบอกของจังหวัดอุบลราชธานีที่ถวายรายงานข้อราชการพระเจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ 5 เกี่ย วกับ พิธีถือ น้ า พระพิพัฒ น์ สั ตยา พบว่า ในจั งหวัดอุบ ลราชธานี เฉลิ มฉลองโดยการ “มีเ พลงแลขับแคนตามเพทบ้า นเมือง” ซึ่งหมายถึง การล้าของหมอล้าโดยมีแคนเป็นดนตรีหลักนั่นเอง ดังข้อความในใบบอกดังนี


138 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

แคนในหลักฐานชั้นต้น เอกสารทางประวัติศาสตร์ : ใบบอก ใบบอกเมืองอุบลราชธานี ของพระยาราชเสนา (ทัด ไกรฤกษ์) หลวง ภักดีณรงค์ (สิ น ไกรฤกษ์) ขุนพรพิทักษ์ (เคลื อบ ไกรฤกษ์) 4 ในการพิธีถื อ น้าพระพิพัฒน์สัตยา ณ วัดหลวง เมืองอุบลราชธานี เมื่อ พ.ศ. 2428 ความว่า “...ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า พร้ อ มด้ ว ยท้ า วเพี ยกรมการเมื อ ง อุบลราชธานี แลเจ้ าเมื องท้าวเพียกรมการหั ว เมืองต่ าง ๆ ซึ่งขึนกับเมือ ง อุบลราชธานี เชิญพระบรมราชศาทิฉายาลักษณ์กลับจากณพระอู โบสถวัดหลวง ขึนประดิศ ฐานบลโตะตั งเครื่ อ งดอกไม้ ธูป เที ย นศัก การะบู ช าณศาลากลาง ท้าการสมโพชพระบรมราชศาทิฉายาลักษณ์ ได้นิมลพระพิขุสงฆธรรมยุติกา วัดสุปัต วัดสี ทอง วัดไชร วัดสุทัศ สินในเมืองอุบลราชธานี รวมพระภิขุสงฆ ธรรมยุติกา 54 รูปสวดพระพุทมลต์ณวัน 3ฯ1310 ค่้า วัน 4 ฯ1410 ค่้า วัน 5 ฯ 18 5 1510 ค่้า ปีระกาสัปต ศก มีเทศนากันหนึ่งแลถวายจันหัญไชยทานทังสามวัน 4

ทัง 3 ท่านด้ารงต้าแหน่งเป็น “ข้าหลวงก้ากับราชการเมืองอุบลราชธานี ” พระยาราช เสนา (ทัด ไกรฤกษ์) มาด้ารงต้าแหน่งก่อนในปี พ.ศ. 2425 บรรดาศักดิ์เดิม คือ หลวงภักดี ณรงค์ ในปี พ.ศ. 2436 ได้เลื่อนขึนเป็น พระยาศรีสิงหเทพ กระทั่งในปี พ.ศ. 2428 บุตร ของท่านอีก 2 คน คือ ขุนพรพิทักษ์ (สิน ไกรฤกษ์) ได้เป็น หลวงภักดีณรงค์ ภายหลัง ได้เลื่ อนเป็น พระยาภัก ดีณรงค์ ข้าหลวงผู้ช่วยเมือ งอุบ ลฯ กับ นายเคลือ บ ไกรฤกษ์ มหาดเล็ก ได้ เป็น ขุนพรพิทั กษ์ ข้าหลวงตุ ลาการเมืองอุ บลฯ ภายหลั งเป็นที่ พระโยธี บริรักษ์ ข้าหลวงผู้ช่วยเมืองอุบลฯ 5 สามวันที่กล่าวถึง คือ ตังแต่วันอังคาร แรม 13 ค่้า เดือน 10 ถึง วันพฤหัสบดี แรม 15 ค่้า เดือน 10


5

139

กับนิมลพระภิขุสงฆมหานิกายสินทุกวัด คือวัดหลวงวัดหนองยางวัดสว่างวัด เรียบวัดป่าน้อยวัดป่าไหญ่วัดทุ่งวัดไต้วัดท่าวัดเหนือวัดกลางรวม 11 วัด จ้านวน พระพิขุสงฆ 163 รูป เจริญพระพุทมลต์สมโพชพระบรมราชศาทิฉายาลักษณ์ วันหนึ่งถวายสิ่งของไชยทานต่าง ๆ กับได้แจกผ้าขาวห่มผืนหนึ่งเงินเฟื้องหนึ่ง ให้กับราษฎรชราอายุศม์เจ็ดสิบปีขึนไปแลนักโทษต่าง ๆ เสมอกันทุกคลรวม ชายหญิง 340 คน แลตามประทิพจุดดอกไม้เพลิงต่าง ๆ เล่นการนักคัตตาฤกษ์ มีเ พลงแลขั บแคนตามเพทบ้ า นเมือ ง ข้า พระพุทธเจ้าพร้ อมด้ว ยท้าวเพี ย กรมการเมื อ งอุ บ ลราชธานี แ ละเจ้ า เมื อ งท้ า วเพี ยกรมการหั ว เมื อ งขึ นกั บ เมืองอุบลราชธานี ขอพระราชทานถวายพระราชกุศล ควรมิควรสุดแต่จะทรง พระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้าเขียนชื่อประทับ ตรา รูปม้าทรงเครื่องยืนแท่น ตรารูปศุกร เสือ มีปีกเปนส้าคัญ พระยาราชเสนา หลวงภักดีณรงค์ ขุนพรพิทักษ....” (ส้านักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารรัชกาลที่ 5 ร.5 ม.2.12 ก/3 [69]) “แคน” ในวรรณกรรมประวัติศาสตร์ เรื่อง “พื้นเมืองอุบล” พืนเมืองอุบล หรือประวัติเมืองอุบลราชธานี เป็นหนังสือใบลานที่ใช้ ค้าประพันธ์ในลักษณะกลอนหรือกาพย์ ให้รายละเอียดประวัติศาสตร์ของเมือง อุบลราชธานี นับแต่เจ้าพระวอเจ้าพระตาอพยพไพร่พลจากเวียงจันทน์มานคร เขื่ อ นขั น ธ์ ก าบแก้ ว บั ว บาน กระทั่ ง หนี ภั ย สงครามมาตั งเมื องอุ บ ลราชธานี ในที่สุด เรื่องพืนเมืองอุบลในหนังสือใบลาน อรรถ นันทจักร์ เสนอว่าน่าจะ แต่งขึนหลังปี พ.ศ. 2424 เนื่องจากมีการกล่าวเหตุการณ์ในช่วงที่ข้าหลวงก้ากับ ราชการและข้าหลวงต่างพระองค์มาพ้านักจัดการราชการที่เมืองอุบลราชธานี แล้ว (ดูใน “การปลงศพแบบนกหัสดีลิงค์ : พิธีกรรมและความเชื่อของเจ้าเมือง


140 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

อุบลราชธานี สายนครจ้าปาสัก) ตอนหลังปรีชา พิณทอง ได้น้าเนือหาจาก ใบลานมาแต่งเป็นค้ากลอนขึนและจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นบรรณาการในงานกุศล สมโภชอายุ 6 รอบ พระราชรัตโนบล เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 อันเป็นฉบับที่ได้รับความนิยมฉบับหนึ่ง จากการศึ ก ษาเรื่ อ ง แคน ในหนั ง สื อ พื นเมื อ งอุ บ ล พบการใช้ แ คน จ้านวน 5 แห่ งโดยโอกาสในการเป่ าแคนมี 2 จุ ดประสงค์ คือ เพื่อบรรเทา ความเหงา สร้างอารมณ์สนุกให้แก่ผู้อพยพมาด้วยกันและเป็นมหรสพสมโภช ในงานศพของเจ้าเมืองอุบลราชธานี ดังข้อความต่อไปนี 1. กองครัวพระวอพระตาอพยพจากเวียงจันทน์ “...หาผู้คึดโศกเศร้า เถิงบ้านบ่มี อยู่สนุกล้น ตามทางย้ายย่าง บ่าวพี่น้อง ปองเหล้นหยอกสาว สาวส่้าน้อย กลอยใจเกียวบ่าว บางพ่องบังพุ่มไม้ นอนลีสิ่งเบิ่งชาย เก็บดอกไม้ ขุมฟูมกาละเกษ ในป่ากว้าง มาเอ้มายกัน มีทังหมอแคนพร้อม หมอลาแกมหมอขลุ่ย บางพ่องเป่าปี่หลู้ นาก้นผู้สาว บางพ่องแซวแซวเว้า ใสใยเถิงบ้านเก่า หัวยุ้มเป้ย ตาซ้ายสิงเบิ่งกัน...” (ปรีชา พิณทอง, 2530 : 8)


7

141 2. มหรสพในงานปลงศพเหนือเมรุนกหัสดีลิงค์ของพระวอ พระตา “...ยามกลางคืน จูดบังไฟเสียงอึง พุตะไลพร้อม ไฟพะเนียงเฮืองฮู่ง แสงพุ่งพ้น ไฟดอกไม้เฮื่อเฮือง สาวบ่าวเล่น โฮมงันกลางท่งใหญ่ ฟังยินเสียงปี่หลู่ แคนน้อยขลุ่ยซอ ทังเสียงฆ้อง กลองตะโพนพิณพาทย์ เสียงเสพซ้อง งันเค้าคั่งพระเมรุ....” (ปรีชา พิณทอง, 2530 : 81) มหรสพในงานปลงศพเจ้าพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคาผง) “...อึงคนึงเค้า โฮมงันข่วงใหญ่ ไฟดอกไหม้ พะเนียงพร้อมเฮื่อเฮือง พุตะไลนัน เสียงระงมก้องทีป สาวส่้าน้อย ได้ยินย้านสั่นสาย บางพ่องยินเสียงตึง มือกุมหูอกสั่น บางพ่องหลบลอบลี หนีซ้อนแม่ตน ใผผู้ใจบ่หมัน ย่านสั่นเฮฮน วนเวียนชน แม่เมือเฮือนย้าว ยังแต่สาวบ่าวสู้ โฮมงันกลางแด่น


8

142 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว แคนปี่หลู่ เสียงกลองฆ้อง ระนาดฆ้อง “...งานบ่เว้น พิณพาทย์ฆ้อง เนืองนันพืน ตะเข้ปี่หลู่ ความสนุกล้น สาวบ่าวเถ้า

เสียงฆ้องเสพสี ระงมงันพิณพาท เสียงก้องสนั่นเมือง...” เจ็ดวันเป็นขนาด ตะโพนก้องทั่วเมือง พิณซอกระจับปี่ แคนน้อยกล่อมเสียง โฮมงันเสียงสนั่น ลืมบ้านบ่อ่าวเถิง...” (ปรีชา พิณทอง, 2530 : 136 - 137)

มหรสพในงานปลงศพพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ท้าวทิดพรหม) “...ฆ้อนฟาดฆ้อง เสียงก้องทั่วเมือง ระนาดฆ้อง กลองตะโพนพิณพาทย์ สังข์เสพฮ้อง เสียงกลัวกล่อมกัน การละเล่น โฮมงันหลายเหยื่อง มีทังหมอลาพร้อม หมอแคนต้อยแลนแต่ แอ๋แอ่นเกี้ยว ชิงชู้ฮ่วมหอ บางพ่องล้าตีเผิง ลงเลขวันดี สองล้าซวน ดุ่งเดินหามิม พลุตะไลพร้อม แกมกันเค้าคื่น


9

143 คืนแลมือ วันแลมือ วันคืนบ่ละเว้น

ไฟดอกไม้เฮื่อเฮือง โฮมงันเสียงสนั่น เสียงอือสนั่นเมือง...” (ปรีชา พิณทอง, 2530 : 168 - 169)

มหรสพในงานปลงศพพระพรหมราชวงศา (ท้าวกุทอง) “...บรบวนตัง พระเมรหลวงกลางท่ง ฮอดมือเต้า ศพย้ายจากโฮง การละเล่น ระงมคนขับเสบ พิณพาทย์ฆ้อง เสียงก้องทั่วเมือง ขลุ่ยแคนไค้ หอยสังข์กลมกล่อม ซุงต่อยต้อง กลมกลั้วปี่แถ ฆ้องกลองพร้อม ไชยพาทย์สันเสียง เสียงสนั่นก้อง ระงมห้าวกล่อมขวัญ...” (ปรีชา พิณทอง, 2530 : 191) แคนกับวรรณกรรมอีสาน วรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสานมักจะมีรูปแบบเป็นนิทาน แม้ว่าเนือหา จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ ต้ า นานการสร้ า งบ้ า นเมื อ งที่ เ ราเรี ย กว่ า วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ดังกล่าวมาแล้วก็ตาม เนือหาวรรณกรรมที่มีหลากหลายท้าให้มี การจัดหมวดหมู่เป็น วรรณกรรมพุทธศาสนา วรรณกรรมนิทาน วรรณกรรม ค้าสอน วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด และมีการแสดงออกทังมุขปาฐะและบันทึกเป็น ลายลักษณ์อักษร หากได้ศึกษาและติดตามวิถีชีวิตของชาวอีสานและเพื่อนบ้าน


144 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

10

ใกล้เคียง จะพบว่าแคนเกี่ยวข้องเคียงคู่มากับวรรณกรรมอีสานนานแล้วใน 2 ลักษณะคือ 1. แคนกั บ การใช้ ป ระกอบการขั บ ล า โดยหมอล้ า จะน้ า นิทานท้องถิ่นเรื่องต่าง ๆ มาล้าให้ชาวบ้านฟัง เช่น ล้าพืน ล้าเรื่อง ล้าเพลิน เป็ นต้ น เป็ น การน้ า วรรณกรรมมาแสดงออกควบคู่ กับ แคนโดยมุ่ ง ให้ ความ บั น เทิ ง จากการรั บ ฟั ง เนื อหาของนิ ท านเรื่ อ งนั น ๆ และความไพเราะของ ท่วงท้านองแคน เช่น ลายล้าพืน ลายแคนทางยาว ฯ จะขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง มิได้ ท้าให้ ผู้ฟังได้รับรสที่ผสมผสานระหว่างเสีย งขับล้าของ “หมอลา”และ ท่วงท้านองอั นไพเราะของ “เสียงแคน” สร้างรส สร้างอารมณ์สุนทรีย์ให้แก่ ผู้ฟังอย่างกลมกลืน เรื่องที่นิยมน้ามาล้าสมัยก่อนมีหลายเรื่อง เช่น จ้าปาสี่ต้น นางผมหอม สินไซ ขูลูนางอัว ผาแดงนางไอ่ นกจอก เป็นต้น 2. แคนที่ปรากฏเป็นส่วนประกอบของเนื้อหาในวรรณกรรม นิทานนั่นคือมีการกล่าวถึง “แคน” ในฉากในเหตุการณ์ต่าง ๆ ในเนือเรื่อง วรรณกรรมต่าง ๆ แสดงให้ เห็ น ภาพสะท้อ นทางสั งคมที่มี ดนตรี “แคน” อยู่ในวิ ถีชีวิต ของผู้ คนในเรื่ อง ส่ ว นจะใกล้ เคีย งหรือ เหมือ นชีวิต จริงหรือไม่ เป็นเรื่องที่ต้องพิจารณากันต่อไป บทความนี มีความประสงค์จะศึกษาและน้าเสนอให้เห็น “แคน” ใน วรรณกรรมนิทานเรื่องต่าง ๆ ตามปรากฏการณ์จริงในเรื่อง อันเป็นประเด็นที่ 2 โดยศึกษาจากวรรณกรรมต่อไปนี ได้แก่ คัชชนาม พระอริยานุวัตร เขมจารีเถระ วัดมหาชัย จังหวัด มหาสารคาม ปริวรรตจากใบลาน


11

145

ท้าวก่ากาดา ข้อเขียนของธวัช ปุณโณทก ท้ า วฮุ่ ง หรื อ เจื อ ง ฉบั บ ปรี ช า พิ ณ ทอง โรงพิ ม พ์ ศิ ริ ธ รรม จัดพิมพ์ ท้าวบัวฮม บัวเฮียว บัวฮอง พระอริยานุวัต ร เขมจารีเถระ วัดมหาชัย จังหวัดมหาสารคาม ปริวรรตจากใบลาน (ฉบับพิมพ์ดีด) ปี 2513 สีทนต์ มโนราห์ พระอริยานุ วัตร เขมจารีเถระ วัดมหาชัย จังหวัดมหาสารคาม ปริวรรต จากใบลาน ปี 2513 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิมพ์ ปี พ.ศ. 2557 สั ง ข์ ศิ ล ป์ ไ ชย์ พระอริ ย านุ วั ต ร เขมจารี เ ถระ วั ด มหาชั ย จังหวัดมหาสารคาม ปริวรรตจากใบลาน ปี พ.ศ. 2521

จากการศึกษาวรรณกรรมข้างต้นพบว่า แคนที่กล่าวถึงในวรรณกรรม ประมวลได้ 6 ลักษณะคือ 1. แคนกับไค้ ถือว่าเป็นเครื่องเป่าชนิดเดียวกัน ในวรรณกรรมอีสาน จะใช้ค้าว่า แคนคู่มากับคาว่า ไค้เป็นจานวนมาก เมื่อศึกษาสารานุกรมภาษา อีสาน - ไทย - อังกฤษ ของปรีชา พิณทอง ได้ให้ความหมายของทัง 2 ค้านีว่า


146 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

แคน น. เครื่องดนตรีประเภทเป่า ท้าด้วยไม้ซาง ไม้ซางเป็น ไม้ตระกูลไม้ไผ่ มีลินอยู่ตรงกลางฝังเรียงประกบกันในเต้า ใช้เป่าประสานเสียง หมอล้า ใช้ประสานเสียงดนตรีได้ทุกชนิด แคนเป็นเสียงที่ไพเราะเพราะพริง จะ หาเสียงดนตรีประเภทไหนเสมอเหมือนได้ยาก เสียงแคนบ่งบอกถึงเชือชาติ สัญชาติศิลปวัฒนธรรมไปในตัว (2532 : 196) ไค้ น. แคนที่ท้าด้วยไม้ซาง ส้าหรับเป่าเรียก ไค้ อย่างว่า ฟัง ยินตุริยาดย้าย กลองฆ้องกล่อมสังข์ พิณพาทย์ไค้แคนขลุ่ยขานซอ แตร สังข์สูรย์กล่อมพิณโพนโล้ (สังข์.) เสียงเสพซั้นพิณไค้กล่อมซอ บางพ่อง ฟ้อนแคนไค้เสพระบา (กา.) เสียงปี่ห้อแคนไค้ขลุ่ยสังข์ (เวส.) สวนไลตาม พาทย์พิณเพงไค้ (ฮุ่ง.) ในวรรณกรรมอีสานที่น้ามาศึกษา พบการซ้อนค้าว่า แคนกับ ไค้ หลายแห่ งและปรากฏค้าว่า แคน ไค้ ใช้เดี่ย ว ๆ เช่นกัน ซึ่งนอกจากมี ความหมายเดียวกันแล้ว ยังได้ประโยชน์ในเรื่องเสียงสัมผัสพยัญชนะในบท ประพันธ์และช่วยสร้างเสริมความไพเราะของถ้อยค้าด้านเสียงและจังหวะใน ถ้อยค้าอีกด้วย 2. การเป่ า แคนจะเป่า ร่ ว มกั บ เครื่ อ งดนตรี ช นิ ด อื่น ๆ โดยเป็ น ส่ ว นประกอบหนึ่ ง ของวงดนตรี ไม่ ค่ อ ยพบการกล่ า วถึ ง แคนอย่ า งเดี่ ย ว ๆ สะท้อนว่า การบรรเลงเพลงแคนสมัยโบราณมักบรรเลงรวมวงกับเครื่องดนตรี อื่น ๆ คือ วงปี่พาทย์ หรือพิณพาทย์ หรือวงเครื่องสาย สอดคล้องกับในสังคม ภาคอีส านโบราณนั น เมื่อเอ่ยถึงเครื่ องดนตรี ส้ าหรับ เจ้านายจะเรียกเป็น ภาษาปากว่ า “ปี่ พ าทย์ ร าชตะโพน” จะประกอบด้ ว ย ฆ้ อ ง กลอง แคน


13

147

ตะโพน ระนาด จะเห็ น ว่ า แม้ว่ า จะได้ รั บ อิท ธิ พลจากเครื่ อ งดนตรี จ าก ส่วนกลางหรือราชสานัก แต่แคนคือเครื่องดนตรีชิ้นเอกของชาวอีสานที่จะ ขาดไม่ได้ทาหน้าที่เป่าทานองหลักและยังคงความสาคัญมาถึงปัจจุบัน 3. มนต์ เ สน่ ห์ ข องเสี ย งแคน อยู่ ที่ ท่ ว งท านอง หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ลายแคน และความไพเราะจะเกิดจากการฟังเสี ยงเท่านั น ในภาคอีส านมี ท่ ว งท้ า นองที่ ถื อ ว่ า เป็ น ท้ า นองเก่ า จนถึ ง ท่ ว งท้ า นองที่ ส ร้ า งสรรค์ ขึ นภาย หลังจากการเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ลายสุดสะแนน ลายโป้ซ้าย ลายแมงภู่ ตอมดอก ลายยาวใหญ่ หรือลายอ่านหนังสือใหญ่ ลายลมพัดไผ่ ลมพัดพร้าว ผู้สาวหยิกแม่ ลายลาเต้ย ลายลาพื้น ลายลาเพลิน เป็นต้น เกี่ยวกับลายแคน นี มีข้อที่น่าสังเกตว่าในวรรณกรรมท้องถิ่นผู้ประพันธ์ไม่ได้กล่าวถึงท่วงทานอง หรือชื่อลายแคนเลย ปรากฏการณ์เช่นนี อาจเป็นเพราะขนบในการประพันธ์ นิทานมักเน้นการน้าเสนอเรื่องราวของตัวละคร ความขัดแย้งที่เกิดขึนในเรื่อง การแก้ไขปัญหาที่ตัวละครประสบเป็นส้าคัญ และเน้นศิลปะภาษา การเลือกใช้ ถ้อ ยค้ า และส้ า นวนโวหาร ที่ ส ร้ า งความไพเราะของบทประพั น ธ์ ที่ เ รี ย กว่ า “วรรณศิลป์” อันเป็นองค์ประกอบหลักของวรรณกรรม แคนจึงเป็นเพียงสิ่งที่ ผู้เขียนต้องการสะท้อนภาพทางสังคมเท่านั้น ที่แสดงให้เห็นว่า ดนตรีและ เพลงได้แทรกซึมเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของผู้คนในเรื่อง ทั้งในประเพณี พิธีกรรม และการสร้างความบันเทิงในชีวิตประจาวันทั้งชีวิตราษฎรและชีวิต เจ้าเมืองหรือกษัตริย์


148 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

14

4. โอกาสที่มีการเป่าแคนในวรรณกรรมอีสานเรื่องต่าง ๆ พบ 3 โอกาสคือ 4.1 ใช้ในงานประเพณี พิธีกรรม ได้แก่ การบายศรีในพิธี แต่งงาน เช่น เรื่องบัวฮม บัวเฮียว บัวฮอง ในงานบายศรี (บาศรี) อภิเษกสมรส ระหว่างท้าวบัวฮมกับนางสุชาดาและขึนครองเมือง เรื่องสีทนต์ มโนราห์ ตอน อภิเษกสี ทนต์ขึนเป็นครองเมือง เรื่องคัชชนาม ตอนคัชชนามครองเมือง ซึ่งมี การบรรเลงเพลงแคนผสมกับเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ เพื่อความไพเราะและเป็น สิริมงคลในพิธีนัน ๆ ดังตัวอย่าง “ค้อมว่า เจ้ ากล่าวแล้ว เสนาตกแต่ง ปุนจัดหาก้ว ย อ้อยมาตังปูกยาย ยายยังอ้อมหอสรงเดียรดาษ กากาดตังเลียนสะล้ายหมื่นถัน ค้อ มแต่ง แล้ ว บรบวนทุ กสิ่ ง ขุ น ใหญ่ไ ด้เ ชิญ น้ อยสู่ ห อ เขาก็ ส รงโสรจน้ อ ย นามหน่ อบั ว ฮม แซว ๆ เสี ย งขุ่ ย ระบ้ าเนื องฮ้อ ง สวนไลก้ องตุติ ยาแคนปี่ พิณพาทย์ค้องดังห้าวคื่นเค็ง เสียงระง้าเท้าถึงพรหมเทวโลก เสพลูกเจ้าลุ่มฟ้า ให้คูณค้านั่งเมือง หอยสังข์แก้วบังอรต้อยติ่ง กองปี่ค้องดังก้องนี่นัน เขาก็หา วันได้ยามดีมือปอด สิทธิไชยโชคได้เชิญน้อยสู่ขวัญ นันแล้ว” (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2515ข : 20 - 21) “เมื่อนัน ผู้แก่นแก้ว เจ้าก็เถียงเสนา ท้าวก็ฮับดอกไม้ มุนตีขุน

น้อยอ่อนสีทน ขุนบ่มีทางแพ้ ทังธูปเทียนทอง ปีปโฮเฟือนฟื้น


15

149 สาธุการยอมาลา ผายเข้าตอก เสียงสั่นค้อง สะเทือนพืนทั่วนคร ผายดอกไม้ เดียระดาดปางทอง นนตรีสังข์ ปี่แคนเสียงก้อง ปะโรหิตเจ้า พรหมณานักปราชญ์ หาศุภลืกได้ ยามกล้าเข้าสู่หอ อัญเชิญแจ่มเจ้า เข้าสู่หอสรง พุ้นเย้อ พงพวนคันทีทอง กิ่นหอมตะลบฟุ้ง หันแล้ว เนืองนันก้อง แคนสังข์เสียงขลุ่ย เสพเจ้าลุ่มฟ้า กุมารท้าวนั่งเมือง (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2557 : 26) “เมื่อนัน คัชชนามแก้ว เสวยเมืองทงแท่น นางนาถแก้ว แพงล้านนั่งเทียม เสนาท้าว ถวายเทียนทูลบาท เสเนตเจ้า เทียนใต้มอบถวาย บูชาเจ้า มหาคุณผายโผด คื่นคื่นก้อง กองแก้วเสพระบ้า เสียงพิณพาทย์ค้อง แตปี่สวนไล เพณีนัน ทั่วเมืองดาพืน สังข์แคนไค้ ซอระบาระเม็งเสพ เค็งคืนห้อง โฮงกว้างสนั่นเมือง แท้แล้ว เจ็ดวันได้ เจ็ดคืนทัดเที่ยง ยินสนุกม่วนแม้ง สวรรค์ฟ้าไป่ปาน เจ้าเอย (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2515ก : 53)


16

150 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4.2 ใช้ในการเดินทางเป็นขบวนมีผู้คนจานวนมาก ทังไป เที่ยวชมป่า ชมสวน เดินทางไปเมืองต่าง ๆ หรือไปศึกสงคราม เช่น เรื่องท้าวฮุ่ง หรือเจือง ฉบับ ปรี ช า พิณทอง เรื่องสีทนต์ มโนราห์ ตอนแห่นางมโนราห์ เข้าเมือง ดังนี “ภูบาลท้าวเกงญา ยินซื่น ปันแพ่งเหล้าเถิงถ้วน ซู่นาง ภายลุ่มพุ้นฝูงลูก ขุนเมือง กินสุราฮีบกลอง เกาไค้ เสียงนันเมืองนครหลวง หลายถ่าย แกวเฮียกฟ้าดังได้ ขาดขวัญฯ..”. (บันท้าวฮุ่งยกทัพไปตีเมืองเชียงบานได้ : 203) “ยั่ง ๆ เหลื่อมไกวแกว่ง จ้ามร แตรสังข์เพลงพาทแคน เสียงห้าว กุญชรช้างพานค้า กันย่าง อาวสั่งท้าวทองล้าน ที่ทางฯ..”. (บันท้าวฮุ่งยกทัพกลับเมือง : 211 ) “ออระอิ่นอ้อยระบ้ากล่อม ภูมีถอยส่วยมือ พอประมาณเมียนเมือเทิง ง้อมม่วนเข้าหาท้าว

เสียงเพลง เช็ดผ้า ลดม่าน ฮ่วมเฮียง


17

151

สองพร่้ากลัวสวาทกล่อม กันนอน ควน ๆ เสียงมนตรีต่อยพิณ แคนไค้ ออระชอนค้ายเดือนดน แสงต่้า ไก่ผู้แก้วขันท้า ทั่วเมืองฯ...” (บันท้าวฮุ่งพานางมเหสีชมสวน : 284) “บ่าวพี่น้อง ทงสังวาลย์ บายแคนไค้ แอะแอ่นฟ้อน

เอ้แต่งประดับดี ลาดเชิงผืนผ้า วีทองเอ้ค่อง แพนย้องค่องงาม..”

“พระจิงบอกให้แจ้ง เขาลั่นกลองไชย กูจักไปเอานาง ให้ลั่นกลองทังฆ้อง นนตรีพร้อม หอยสังข์ทังขลุ่ย ระบาเม็งต่อยต้อง แคนไค้เป่าสังข์ คื่น ๆ ก้อง เสียงเสพมะโหรี พุ้นเย้อ เหมือนสวนไล เสพในเมืองฟ้า (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2557 : 53) 4.3 การเป่าแคนเพื่อความบันเทิงในโอกาสต่าง ๆ ในวัง ที่ ปรากฏในวรรณกรรมค่อนข้างมาก เช่น เรื่องสังข์ศิลป์ไชย ตอนพญาครุฑหลวง ขาบศิลป์ไชย์ ตอนต้อนฮับนางสุมณฑา และตอนพญากุสลาดไต่สวนหกกษัตริย์ ดังข้อความต่อไปนี


152 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

ตอนพญาครุฑหลวงขาบศิลป์ไชย์ “เมื่อนัน ภูวนาถฮู้ ฮับขอบขานเชียง ฟังยิน ระบ้าบนเนือง นาคตีตามเป้า กลองเกลาไค้ คุลีเสียงสูญปี่ นาคหนุ่ม เบืองเพ็ชพร้อม สาวสร้อยสอดสะเอ็ง” (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2531 : 35) ตอนต้อนฮับนางสุมณฑา “เมื่อนัน สองคาดเนือ บัวระพรากลาลง คีงแพงผาย สู่กงเกวียนแก้ว ฟังยิน ซุงซอไค้ ระบ้าค้าค้อมกล่อม พุ้นเยอ ค้ามุ่งเมียน กางกังแกว่งวี” (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2531 : 107) ตอนพญากุสลาดไต่สวนหกกษัตริย์ “เจ้าขึน หอช่อฟ้า ถวายเข้าเคียบงาย พ่างพ่างเชือ ประนมลูบทาจันทน์ นางเชียงประ - ดับกลิ่นแสนสมแจ้ง ฟังยิน ระบ้าค้าไค้ เสียงกลมเกลียงกล่อม พุ้นเยอ นางลูบแป้ง ประสงค์ส้ามเกี่ยวถวิล” (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2531 : 112)


19

153

5. เสียงแคนถูกนาไปใช้เป็นความเปรียบในวรรณกรรม เช่น เรื่อง สังข์ศิลป์ไชย์ตอนที่สินไชย์ได้เปรียบเทียบความรักความผูกพันของกุมภัณฑ์ที่มี ต่อนางสุมุณฑาว่า ที่ไม่สามารถตัดใจจากกันได้ ก็เปรียบเหมือนธรรมชาติของ สรรพสิ่ง ย่อมต้องพึ่งพาและโอบอุ้มสัมพันธ์กัน มีเยื่อใยต่อกัน ประดุจเสียงแคน อันไพเราะที่เมื่อผู้ใดได้ฟังแล้ว ย่อมอดไม่ได้ที่จะค้านึงถึงอยู่ตลอดเวลาและเสียง อันไพเราะนันยังดังก้องในหู จึงให้ไวยเวทหลานชายไปเจรจากับศิลป์ไชย์และ ศิลป์ไชย์ได้กล่าวโวหารเปรียบเทียบ แสดงความเข้าใจถึงความรักของกุมภัณฑ์ โดยปรากฏในเรื่อง ตอนกุมภัณฑ์ขอโอมเอานางสุมณฑา ความว่า “อันหนึ่ง เทียมดังใยบัวค้อง พานคอสารใหญ่ ได้ลือ ไม่อ้อขัดไขว่ขว้าง ขาช้างได้จั่งใด ชาติที่ ผงธุลีนี ลมตีกลัวไง่ ได้แล้ว ลมหาก กวัดแกว่งขึน เมือฟ้าฮอดควัน นันแล้ว อันหนึ่ง สาขาไม้ พงไพรดงใหญ่ ก็ดี ลมพัดอุ้ม ทวายค้อมกิ่งใบ เทียมดัง เสียงแคนก้อง หูหมอเคยม่วน ยามใด ก็หาก อดบ่ได้ เอียงตังหูฟัง คือดั่ง ควายกินก้า ในนาของเพื่อน แพงนัน แม่นซิ ล้อมฮัวขึน ดีแล้วก็บ่ฟัง” (พระอริยานุวัตร เขมจารี, 2531 : 157)


154 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

20

6. มนต์เสน่ห์แห่งเสียงแคนนั้น กวีให้น้าหนักความสาคัญของเสียง และอิทธิพลของท่วงทานองลายแคนที่มีต่อผู้ได้ยินได้ฟัง อย่างเด่นชัดเป็น รูปธรรม ปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่อง ท้า วก่ากาดาเพียงเรื่องเดียว นั่นคือ ให้ตัวละครเอกชายคือท้าวก่้ากาด้า มีความสามารถพิเ ศษในการเป่ า แคนและร้อยดอกไม้ เวลากลางคืนก็ไปเที่ยวในเมืองและเป่าแคนไปด้วย เสียง แคนอันไพเราะได้ยินไปถึงหูเจ้าเมืองและนางลุน เกิดความพอใจ เจ้าเมืองจึงมี รั บ สั่ ง ให้ เ ป่ า แคนถวายมี โ อกาสพบนางลุ น สุ ด ท้ า ยเทวดาก็ ม าเนรมิ ต ให้ ท้าวก่้ากาด้ามีรูปกายที่งดงาม และได้แสดงความสามารถ จนเจ้าเมืองยอมรับ และได้ ค รองคู่ กั บ พระธิ ด าอย่ า งมี ค วามสุ ข บทประพั น ธ์ ที่ ป รากฏในเรื่ อ ง สะท้อนความไพเราะของเสียงแคนดังต่อไปนี “ท้าวก็เป่าจ้อย ๆ อ้อยอิ่นกินนรี บุญมีเลยเป่าแถลงดังก้อง เสียงแคนดังม่วนแม้งพอล้มหลูดตายไปนั้น ท้าวก็เป่าจ้อย ๆ คือเสียงเสพเมืองสวรรค์ ปรากฏดังม่วนก้องในเมืองคนอ้อยอิ่น เป็นที่ใจม่วนดิ้นดอมท้าวเป่าแคน สาวฮามน้อยวางหลามาเบิ่ง เขาก็ปบฟั่งฟ้าวตีนต้องถืกตอ บางพ่องปาหลาไว้วางไปทังแล่นก็มี บางพ่องเสือผ้าหลุดออกซ้าเลยเต้นแล่นไปก็มี ฝูงคนเฒ่าเหงานอนหายส่วง สาวแม่ฮ้างคะนิงโอ้อ่าวผัว


21

155 ฝูงพ่อฮ้างคิดฮ่้าคะนิงเมีย เหลือทนทุกข์อยู่ผู้เดียวนอนแล้ง เป็นที่อัศจรรย์แท้เสียงแคนท้าวก่า ไผได้ฟังม่วนแม้งใจสว่างหว่างเว ฝูงกินข้าวคาคอค้างอยู่ ฝูงอาบน้าป๋าผ้าแล่นมา..” (ธวัช ปุณโณทก, 2537 : 217)

. จากที่กล่าวมาทังหมดนี จะเห็นว่า หากจะแสวงหา “มนต์เสน่ห์” ของ เสี ย งแคนในวรรณกรรมอี ส านต้อ งยอมรั บ ว่า แคน เป็น เครื่ องดนตรี ที่เ ป็ น ลมหายใจของชาวล้านช้างและอีสานล้านช้างอย่างยากที่จะปฏิเสธได้ เสียงแคน ได้ไหลรินอยู่ในชีวิตของบุคคลทุกระดับชัน แทรกซึมทุกห้วงแห่งลมหายใจ แม้ ยามสุขหรือยามทุกข์ แคนจะอยู่เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตเสมอมา แม้ว่า แคน ในวรรณกรรมนัน ผู้อ่านได้รับเพียงรสแห่งถ้อยค้าวรรณศิลป์แล้วเกิดจินตภาพ เกิ ด เป็ น เสี ย งในห้ ว งค้ า นึ ง ก็ ต าม การอ่ า นวรรณกรรมอี ส าน ก็ ท้ า ให้ เ ราได้ ตระหนักในความส้าคัญและความสั มพัน ธ์ร ะหว่างแคนกับเครื่องดนตรีช นิด ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของแคนกับศิลปะการฟ้อนร้าและการมหรสพในภาคอีสาน แม้ว่า ในความเป็นจริงนัน มนต์เสน่ห์ของแคนจะเกิดขึนได้ ผู้ฟังต้องรับรสจาก การบรรเลงเป็นเสียงท่วงท้านองต่าง ๆ ก็ตาม แต่การศึกษามนต์เสน่ห์ของแคน ผ่านวรรณกรรม ก็น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นในการศึกษาเกี่ยวกับแคนในประเด็น อื่ น ๆ ต่ อ ไป เช่ น แคนในจิ ต รกรรมฝาผนั ง แคนกั บ การประกอบอาชี พ การสร้างสรรค์ลายแคนในยุคปัจจุบัน เป็นต้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทความนี


156 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

22

อาจน้าไปสู่การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องอื่น ๆ อย่างละเอียด เกิดการ ตีความและต่อยอดองค์ความรู้ด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในโอกาสต่อไป บรรณานุกรม พระอริยานุวัตร เขมจารี. (2515ก). คัชชนาม. เอกสารพิมพ์ดีด 4 ตุลาคม 2515. _______. (2515ข). บัวฮม บัวเฮียว บัวฮอง. เอกสารพิมพ์ดีด 3 ตุลาคม 2513. _______. (2531). สังข์ศิลป์ไชย์. มหาสารคาม : องค์การบริหารส่วน จั ง หวั ด มหาสารคาม. _______. (2557). สีทนต์ มโนราห์. มหาสารคาม : หจก. อภิชาตการพิมพ์, ส้านักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารรัชกาลที่ 5 ร.5 ม.2.12 ก/3 [69] ใบบอกเมืองอุบลราชธานี (ก.พ 106 – ส.ค. 106) (เอกสารยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่) ธวัช ปุณโณทก. (2537). วรรณกรรมภาคอีสาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามค้าแหง. ปรีชา พิณทอง. (ม.ป.พ). ท้าวฮุ่งหรือเจือง. อุบลราชธานี : ศิริธรรม. _______. (2530). ประวัติเมืองอุบลราชธานี สานวนอิสานคัดจากใบลาน พิมพ์บรรณาการ งานกุศ ลสมโภชอายุ 6 รอบ พระราชรั ต โนบล เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี 6 พฤศจิกายน 2530. อุบลราชธานี : ศิริธรรม. _______. (2532). สารานุกรมภาษาอีสาน – ไทย – อังกฤษ Isan –Thai – English Dictionary. อุบลราชธานี : ศิริธรรม.


23

157 อรรถ นันทจักร. (2536). “การปลงศพแบบนกหัสดีลิงค์ : พิธีกรรมและ ความเชื่อของเจ้าเมืองอุบลราชธานี สายนครจ้าปาสัก”. ใน รวม บทความว่าด้วย “นกหัสดีลิงค์” เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ เจ้าคุณอริยานุวัตร (เขมจารี) 7 เมษายน 2536. หน้า 60 – 109. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. เกี่ยวกับผู้เขียน รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ - ข้าราชการบ้านาญ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - อดีตคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - อดีตรองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - ปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประจ้าสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นายณัฐพงศ์ มั่นคง - ช่างศิลป์และกรรมการฝ่ายประสานงาน ประจ้าพิพิธภัณฑ์ วัดมณีวนาราม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี นายปกรณ์ ปุกหุต - เลขานุการคณะกรรมการ พิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี



วาดแต่แถน แคนแต่ฟ้า : คีตะมนตรา เสน่หาวรรณกรรม 1 อาจารย์ ดร.แก้วตา จันทรานุสรณ์ 2 บทคัดย่อ บทความนี้ มุ่ ง น าเสนอพลั ง อ านาจของดนตรี แ คนที่ ป รากฏอยู่ ใ น วรรณกรรมอีสานล้านช้าง โดยการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแคน และการวิ เ คราะห์ ตั ว บท (Textual Analysis) วรรณกรรมที่ ก ล่ า วถึ ง ความ เป็ น มา สถานะทางสั งคม และบทบาทแคนในฐานะเครื่องมือสื่ อสารทาง อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด และจิตวิญญาณของผู้คนในวิถีวัฒนธรรมสองฝั่ง แม่น้าโขง

1

บทความนี้ เ รี ย บเรี ย งเพื่ อ ตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ ประกอบการสั ม มนาวิ ช าการ “ขอนแก่ น - ลาวศึ ก ษา” สานสั มพั น ธ์ วรรณกรรมไทย “เสี ยงแคนมนต์เ สน่ ห์ศิ ล ปะ วรรณกรรม” ในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2561 จัดโดย ศูนย์วัฒนธรรม ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม และชุมชนสัมพันธ์ และศูนย์ข้อมูลลาว ฝ่ายการต่างประเทศ ร่วมกับสมาคมนักประพันธ์ ลาว สมาคมศิลปินลาว กระทรวงแถลงข่าว วัฒนธรรมและท่องเที่ยว สโมสรนักเขียน ภาคอีสานแห่งประเทศไทย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ หน่วยงานเครือข่าย 2 อาจารย์ประจาสาขาวิชาภาษาไทย นักวิจัยศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้าโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


160 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

Abstract This article aims to present the power of canon music that appears in the Northeastern Lanchang literature. By reviewing research papers related to “ Khaen” and the analysis of the text (Textual Analysis). Social status and role play as an emotional communication tool. Feeling and the spirit of the people in the culture of the Mekong River. บทนา “แคน” เป็ นเครื่ องดนตรี ที่บ่ งบอกมรดกภูมิปัญญาทางวัฒ นธรรม สองฟากฝั่ งแม่น้าโขงที่ชัดเจนที่สุด แคนมีตานานการกาเนิดที่น่าสนใจและ มี ชี วิ ต ส่ ง เสี ย งเพื่ อ สื่ อ สารแห่ ง จิ ต วิ ญ ญาณด้ ว ยปราณมนตราเชื่ อ มอดี ต กั บ ปั จ จุ บั น เข้ า หากั น อย่ า งกลมกลื น แคน เป็ น เครื่ อ งเป่ า ที่ บ อกเล่ า เรื่ อ งราว อารมณ์ความรู้สึกของผู้คนสองฟากฝั่งแม่น้าโขงอย่างลุ่มลึก เป็นเครื่องดนตรีที่ บ่งบอกสานึกความเป็นอีสานและความเป็นลาวมายาวนาน เพลงที่บรรเลงจาก แคนเป็นที่นิยมกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของประเทศลาว และนิยมนาไปเล่น ตามหมู่บ้านที่มีเทศกาลต่าง ๆ ในหลายชุมชนท้องถิ่น สมาคมและกลุ่มต่าง ๆ ได้ริเริ่มการสนับสนุนการศึกษาทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ในปี 2548 ได้มีการก่อตั้งสมาคมศิลปะแคนขึ้น และมีงานเทศกาลอีกหลายงานที่ถูก จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนศิลปะแคน โดยครอบครัวถือเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสาคัญใน การถ่ายทอดศิลปะและคนเป่าให้ดารงอยู่อย่างสง่างาม “เอกอ้างทะนงใจ” จนเมื่อวัน ที่ 11 ธัน วาคม พ.ศ. 2560 สื่ อด้า นข่าวสารและสั งคมออนไลน์ ในประเทศลาวหลายสานัก ได้ นาเสนอข่าวแห่ งความภาคภูมิใจของชาวลาว


3

161

ทั้ ง ประเทศ สื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม คณะกรรมการด้ า นภู มิ ปั ญ ญาทาง วัฒนธรรม องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ที่เกาะเชจู ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อวันที่ 4 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยคณะกรรมการฯ ประกาศยกย่องอย่างเป็นทางการให้ “เสียงแคนลาว” เป็น มรดกภูมิ ปั ญ ญาทางวัฒ นธรรมที่จั บ ต้ องไม่ ได้ นับ เป็ นความภาคภู มิใ จของ ประชาชนลาวและบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ เพราะแสดงถึงความสาคัญของเสียง แคนลาวที่มีมาแต่โบราณกาล3 สาหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หากเปรียบเทียบ แคนเป็ น ตัว แทนร่ างกายของคนอีส าน “เสี ย งแคน” ก็แทนลมปราณที่ผ่ า น เข้าออกให้องคาพยพนั้นเคลื่อนไหวอย่างมีชีวิตชีวา แม้ผู้เขียนมิได้เชี่ยวชาญ ด้านคีตการ แต่กานต์แห่งเสียงที่หล่อเลี้ยงกานท์กลอนลาได้ทาให้รู้สึกราว ต้องมนตราทุกคราที่ฟังพลังแคน และไม่ว่าโลกจะเคลื่อนไปสู่ความทันสมัย เพียงใดแต่เสียงแคนยังทาหน้าที่ของตนอย่างนอบน้อมต่ออดีตมิเปลี่ยนแปลง ตานานแคน : เสียงเล่าเรื่องและเรื่องเล่าจากเสียงแคน แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าเป็นเพลง ใครเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่อง ดนตรีนี้ขึ้นมานั้นไม่สามารถบอกได้หรือไม่มีหลักฐานที่แน่นอนยืนยันได้ แต่มี เพียงประวัติตานานที่เล่าขานกันสืบเรื่อยต่อมาหลายสานวน แต่สานวนที่จะ กล่ า วถึ ง ในที่ นี้ เ ป็ น ส านวนที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ หญิ ง หม้ า ย ผู้ มี ฐ านะเป็ น เพี ย ง คนชายขอบของสั ง คมจารี ต เดิ ม ที่ ต ามนายพรานเข้ า ไปฟั ง เสี ย งร้ อ งของ 3

https://www.silpa-mag.com/club/news/article_13615 เข้ า ถึ งข้ อ มู ล เมื่อ 12 ก.ค. 2561


162 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

นกการเวก4 แล้วเกิดความประทับใจอย่างยิ่ง จนเกิดความบันดาลใจให้สร้าง เครื่องดนตรีที่สามารถจาลองเสียงอันจับหัวใจนั้นออกมาความว่า มีพรานคนหนึ่งได้เข้าไปในป่าเพื่อหาล่าสัตว์ตามวิถีชีวิตของ ชาวบ้าน และพรานนั้นได้เดินเข้าไปในป่าลึก ก็ได้ยินเสียงแว่ว ๆ มา มี ความไพเราะมาก มีทั้งเสียงสูง เสียงต่า บ้างสลับกันไป แล้วพรานก็ได้ เข้าไปดูว่าเสียงนั้นมาจากที่ใด ทันใดนั้น ก็มองเห็นเป็นเสียงร้องของ นกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “นกการเวก” จากนั้นก็ได้เดินทางกลับบ้าน แล้ว น าเรื่ อ งที่ ตนได้ยิ น มานั้ น ไปเล่ าให้ ช าวบ้ า นได้ฟั ง และมี ห ญิ ง หม้ า ย คนหนึ่ ง พอได้ ฟั ง แล้ ว เกิ ด ความสนใจอย่ า งมาก เลยขอติ ด ตาม นายพรานเข้าไปในป่าเพื่อไปดูนกการเวก ว่ามีความไพเราะจริงหรือไม่ 4

นกการเวก หรื อ นกการวิ ค หรื อ ปั ก ษาวายุ ภั ก ษ์ (แปลว่ า "นกกิ น ลม" ; สันสกฤต : कलविङ्क ; kalaviṅka) เป็นนกในเทพปกรณัมของตะวันออก ปรากฏในป่า หิมพานต์ เรียกกันอีกชื่อหนึ่งในวรรณคดี เรื่อง ไตรภูมิพระร่วงว่า นกกรวิค อธิบายว่า บิน ได้สูงเหนือเมฆ มีเสียงไพเราะยิ่งนัก สัตว์ทุกชนิดเมื่อได้ยินแล้วจะต้องหยุดฟัง นอกจากนี้ ยังปรากฏมีมาในพระบาลีว่าเสียงของพระพุทธเจ้านั้นเหมือนเสียงพรหม แจ่มใสชัดเจน อ่อนหวาน สาเนียงเสนาะ ไม่แตก ลึกซึ้ง มีกังวานไพเราะและเหมือนเสียงนกการเวก ส่วน อาหารของนกการเวกนั้น มีกล่าวไว้ในคัมภีร์ปัญจสุทนีว่า นกการเวก กินน้ามะม่วงสุกเป็น อาหาร แต่โดยที่นกชนิดนี้หายากหลงเข้าใจกันแต่ว่าอยู่บนท้องฟ้ากินลมเป็นอาหาร ตาม วรรณคดีไ ตรภูมิพระร่วงนั้น กล่าวว่าขนนกการเวกนั้นเป็ นที่ต้องการเพราะกลายเป็ น ทองคาได้ ในแถบเอเชียตะวันออก เช่น จีน หรือ ญี่ปุ่น ก็มีความเชื่อเรื่องนกการเวก เช่นเดียวกัน โดยนกการเวกในความเชื่อของประเทศภูมิภาคแถบนี้ คือ เป็นสัตว์อมตะ ไม่มีวันตาย ปรากฏในตานานพุทธศาสนา มีศีรษะเป็นมนุษย์แต่มีลาตัว ปีก และขนหาง เป็นนกคล้ายกับกินรี ใน https://th.wikipedia.org/wiki/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 10 ก.ค. 2561


5

163 ครั้ น หญิงหม้ายได้ฟังเสี ย งนกการเวกร้ องก็เกิดรู้สึ กถึงความไพเราะ เพลิดเพลินและติดอกติดใจ มีความคิดอย่างเดียวว่า จะทาอย่างไรดี ถ้าต้องการฟังอีก ครั้ นจะติดตามนกการเวกนี้ไปฟังคงจะยากแน่นอน จึงคิดที่จะทาเครื่องแทนเสียงร้องนกการเวก ให้มีเสียงเสนาะจับใจ ดุจดังเสียงนกการเวกนี้ให้จงได้ เมื่อหญิงหม้ายกลับถึงบ้าน ก็ได้คิด ทาเครื่องดนตรีต่าง ๆ เช่น ดีด สี ตี เป่ า หลาย ๆ อย่าง ก็ยังไม่มี เสียงดนตรีชนิดใดมีเสียงไพเราะเหมือนกับเสียงนกการเวก ในที่สุดนาง ก็ได้ไปตัดไม้ชนิดหนึ่ง เอามาประดิษฐ์ดัดแปลงเป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่ง รู้สึกว่าค่อนข้างไพเราะ จึงได้พยายามดัดแปลงแก้ไขอีกหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งเกิดเป็นเสียงไพเราะ เหมือนเสียงร้องของนกการเวก จน ในที่สุดเมื่อได้แก้ไขครั้งสุดท้ายแล้วลองเป่ารู้สึกไพเราะ จับใจ ดุจดัง เสียงนกการเวก นางจึงมีความรู้สึกดีใจในความสาเร็จของตนเป็นล้น พ้นที่ได้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีได้เป็นคนแรก จึงคิดที่จะไปทูลเกล้าถวาย พระเจ้าปเสนทิโกศล และนางยังได้ฝึกหัดเป่าลายต่าง ๆ จนเกิดความ ชานาญเป็นอย่างดี จึงนาเครื่องดนตรีไปเข้าเฝ้าฯ ถวาย แล้วนางก็ได้ เป่าลายเพลงให้พระเจ้าปเสนทิโกศลฟัง เมื่อฟังเพลงจบแล้วพระเจ้า ปเสนทิโกศลทรงมีความพึงพอใจอย่างมากที่มีเครื่องดนตรีประเภทนี้ เกิดขึ้น และทรงตั้งชื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “แคน” ด้วยเหตุนี้เครื่อง ดนตรี ที่ ห ญิง หม้า ยที่ไ ด้ ป ระดิษ ฐ์ ขึ้ น โดยใช้ ไม้ ไ ผ่ น้ อ ยเรี ยงติ ดต่ อ กั น ใช้ปากเป่าจึงได้ชื่อว่า “แคน” มาตราบเท่าทุกวันนี้ และยังมีหลายท่าน ที่ให้ความหมายของคาว่าแคน บ้างกล่าวว่าแคนเรียกตามเสียงของ แคน โดยเวลาเป่าเสียงแคนจะดังออกมาว่า แคนแล่นแคน แล่นแคน


164 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

แล่นแคน แต่บางท่านก็ให้ความหมายว่า แคน เรียกตามไม้ที่นามาทา เต้าแคน คือ ไม้ที่ทาเต้าแคนนั้น นิยมใช้ไม้ตะเคียน หรือภาษาอีสาน เรียกว่าไม้แคนจากการสันนิษฐานจากนิยายเรื่อง หญิงหม้าย แล้วยัง สันนิษฐานว่าแคนได้รับอิทธิพลมีที่มาอยู่ 2 ประการ คือ ประการที่หนึ่ง ทางด้านโบราณคดี ในประเทศจีนซึ่งเป็นดินแดนแห่ง ประวัติศาสตร์ ได้บ่งบอกว่า เคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวไทย ได้มีการขุดพบ หลุมฝังศพของหญิงสาวราชนิกุลผู้หนึ่ง แถบมณฑลยูนนาน ราว 2,000 ปี ได้ ค้นพบเครื่องดนตรีจานวนมากมาย เช่น ขลุ่ย และเครื่องดนตรีสาหรับ เป่าที่มี รูปร่ างคล้ ายกับ แคน แต่มี เต้ายาวมาก เหมือนแคนชาวเขา เผ่ ามูเซอ แถบ ภาคเหนือของไทยนั้นแสดงว่าเครื่องดนตรีประเภทนี้เคยมีอยู่แล้วในประเทศจีน ประการที่สอง ด้านวรรณคดี จากวรรณคดีพื้นบ้านอีสานได้พบการใช้ แคนอยู่ ห ลายเรื่ อง เช่น เรื่ อง ท้าวฮุ่งท้าวเจื อง กาฬะเกษ จาปาสี่ ต้น และ ท้าวก่ากาดา5 เป็นต้น ความสาคัญของแคนในฐานะเครื่องดนตรีหลักที่สื่อสารจิตวิญญาณ ของคนอีส านล้านช้างได้ปรากฏเด่นชัดในงานศึกษาของ สัน ทนา ทิพวงศา (2535) ซึ่งรวบรวมชื่อและสืบ ค้นความเป็ นมาของเครื่องดนตรีที่ป รากฏใน วรรณกรรมอี ส านจ านวน 8 เรื่ อง คือ ขูลู น างอั้ว ท้าวก่ากาดา นกจอกน้อย ผาแดงนางไอ่ สังข์ศิลป์ชัย กาฬะเกษ จาปาสี่ต้น และพญาคันคาก วิธีการวิจัย เพื่อสารวจชื่อเครื่องดนตรีที่ปรากฏในวรรณกรรมดังกล่าว โดยการจาแนก 5

ที่มา วิชาดนตรีอีสาน สาขาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ้างใน https://www.baanmaha.com/community/threads/3410E0 เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 10 ก.ค. 2561


7

165

ประเภทเครื่ อ งดนตรี แ ละโอกาสในการใช้ เ ครื่ อ งดนตรี ผลก ารวิ จั ย ใน วรรณกรรมอีสานพบว่า วรรณกรรมเรื่องกาฬะเกษและจาปาสี่ต้นมีชื่อเครื่อง ดนตรีประกอบในเรื่องรายการเขียนมากที่สุด ส่วนวรรณกรรมเรื่องนกจอกน้อย และขูลูนางอั้ว มีเนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องดนตรีน้อยกว่าวรรณกรรมเรื่อง ๆ และ ในวรรณกรรมที่นามาศึกษาเหล่านี้พบเครื่องดนตรีทั้งสี่ประเภท คือ ประเภทดีด สี ตี และเป่า ซึ่งมีปรากฏชื่อเครื่องดนตรีที่สาคัญ ๆ คือ กลอง ตะโพน ฆ้อง ปี่ ซอ พิณ กระดิ่ง สวนไล แคน ได้ และสังข์ โดยเฉพาะเครื่องดนตรีที่พบมากที่สุด ในวรรณกรรมทุกเรื่ องคือ กลอง ฆ้อง และแคน เครื่องดนตรีในวรรณกรรม อีส านที่ได้ศึกษาพบในเนื้ อหาของวรรณกรรมที่สัมพันธ์กับความเป็นอยู่ของ มนุ ษย์ มีห ลายประเภท คือ 1. ดนตรี ให้ ความเพลิ ดเพลิ น ในยามว่างจาก งานประจาของชาวบ้าน ดนตรีที่ใช้ขับกล่อมเวลานอนหรือการเล่นดนตรีเพื่อ เกี้ยวพาราสีระหว่างหนุ่มสาว 2. ดนตรีใช้บรรเลงในการประกอบพิธีกรรมทาง ความเชื่อทางศาสนาและทางขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น การบวงสรวงเทพ สมโภชการบวช สมโภชงานศพ บรรเลงในขบวนแห่ บุญบั้งไฟของชาวบ้าน เป็นต้น 3. ดนตรีใช้บรรเลงในงานพิธีต่าง ๆ ของกษัตริย์ เช่น การเสด็จเสวย ราชสมบัติการออกทัพ การส่งเครื่องราชบรรณาการ การเสวยหมาก เป็นต้น 4. ดนตรีใช้ประกอบกับการปกครองของบ้านเมือง เช่น ใช้ดนตรีเรียกเพื่อการ ประชุมการระดมพล และตีกลองบอกเวลาในการเปลี่ยนเวรยามรักษาการณ์ นอกจากนี้ดนตรียังใช้เพื่อให้เป็นลางบอกเหตุการณ์สาคัญ ๆ ให้แก่ชาวบ้าน เช่น เกิดจันทรุปราคา การหลบภัย และการบอกข่าว 5. เครื่องดนตรียังสามารถ นามาใช้เป็นของกานัลระหว่างผู้ที่รักใคร่นับถือกันด้วย เช่น ท้าวก่ากาดาใช้ เสี ย งแคนถ่ ายทอดความรั ก และให้ ปี่ ห้ อ กั บ ญาติพี่ น้ อง 6. ชื่ อ เครื่ องดนตรี


166 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

ยังนามาใช้เป็นชื่อเรียกอย่างอื่นด้วย เช่น เรียกชื่อคนว่านางคากลองในเรื่อง จาปาสี่ต้น เรียกชื่อห้วยน้าฆ้องและห้วยกลองสีในเรื่องผาแดงนางไอ่ เป็นต้น 6 โดยเฉพาะเรื่ อ งท้ า วก่ ากาด านั้ น ถื อ ว่ า แคนคื อ ยอดศาสตราที่ น าพาการ เปลี่ยนแปลงอันยิ่งใหญ่มาสู่ชีวิตโดยแท้ ท้าวก่ากาดา : พระเอกแหวกขนบผู้พิชิตใจด้วยเสียงแคน จากการศึกษาของสันทนา ทิพวงษา ดังกล่าวข้างต้น ได้แสดงให้เห็น ว่านอกจากพระอภัยมณีจะใช้ปี่เป็นอาวุธจัดการกับความรู้สึกของมนุษย์และ ยักษ์แล้ว ท้าวก่ากาดายังใช้แคนเป็นอาวุธมัดใจคนทั้งเมืองเช่นกัน ต่างกันแต่ เพียงท้าวก่าไม่ได้เป็นพระเอกที่สง่างามตามขนบแถมเกิดมารูปชั่วตัวดา จน กลายเป็น ข้อสั งเกตว่าด้วยลักษณะแหวกขนบความงามของตัวละครเอกใน วรรณกรรมล้านช้าง คือ ตัวละครเอกมักมีชาติกาเนิดหรือรูปลักษณ์ที่ต่างไป จากอุดมคติของความสมบูร ณ์แบบ เครือวัล ย์ ปั ญญามี (2533) ได้ศึกษา วิเคราะห์ตัวละครเอกแหวกขนบในวรรณกรรมอีสาน ได้แก่ หน้าผากไกลกะดัน ท้าวก่ากาดา พญาคั น คาก แก้ว หน้ า ม้า ท้า วหอมฮู สุ พ รหมโมกขา กาพร้ า ขี้เฮื้อน พื้นท้าวเจ็ดไห กาพร้าผีน้อย และพระกึดพระพาน โดยศึกษาในด้าน ชาติก าเนิ ด รู ป สมบั ติ พฤติ กรรม และอุป นิ สั ย ทาให้ ท ราบถึง ลั กษณะของ ตั ว ละครเอกแหวกในวรรณกรรมนิ ท าน ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น สองกลุ่ ม ใหญ่ ๆ คื อ ตัวละครแหวกขนบด้านชาติกาเนิด 9 เรื่อง และตัวละครเอกแหวกขนบด้าน รูปสมบั ติมี 7 เรื่อง ส่ วนการแหวกขนบด้านพฤติกรรมและอุปนิสัยนั้นจะไม่ 6

สันทนา ทิพวงศา. (2535). เครื่องดนตรีในวรรณกรรมอีสาน. ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


9

167

ปรากฏชั ดเจนนั ก ยกเว้ น เรื่ องพระกึดพระพาน ซึ่งตัว ละครเอกประพฤติ ผิดกรรม ทั้งนี้น่าจะเนื่องมาจากวรรณกรรมเรื่องนี้ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรม ภาคกลางที่เป็นเรื่องราวของพระกฤษณะ ส่วนใหญ่แล้วกวีนิยมสร้างให้ตัวละคร เอกมีลักษณะเป็นวีรบุรุษหรือบุคคลในอุดมคติของสังคมที่ เป็นคนดีหาที่ติไม่ได้ เพื่อให้ผู้อ่านฟังยึดถือเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และชี้ให้เห็นว่าสังคมมี ค่านิยมที่ยกย่อง คุณสมบัติ เหนือรูปสมบัติ ทรัพย์สมบัติ และชาติตระกูล ส่วน การที่ ก วี ส ร้ า งตั ว ละครเอกแหวกขนบด้ า นชาติ ก าเนิ ด และรู ป สมบั ติ ก็ มี ผ ล ทางด้านจิตวิทยา กล่าวคือให้สมาชิกในสังคมไม่ท้อถอยในชีวิตแม้จะไม่ได้เกิด ในตระกูล สูงส่ง หรือมีรู ปร่ างงดงามก็สามารถประสบความสาเร็จในชีวิตได้ กวีนิยมการสร้างตัวละครเอกแหวกขนบอยู่ 2 แนว คือ 1. แบบสมจริง และ 2. แบบเหนือจริง ตัวละครเอกแหวกขนบบางเรื่องมีแนวการสร้างตัวละครแบบ ประสมประสานกันทั้งสองแนว ด้านแง่คิดทางสังคมและวัฒนธรรมที่แสดงผ่าน ตัวละครในนิทานพื้นบ้านนี้นั้นได้สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของชาวอีสานในเรื่องคติ ความเชื่อ ศาสนา ธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว และความสัมพันธ์ภายในสังคม ตัวละครเอกแหวกขนบในวรรณกรรมอีสานทั้ง 10 เรื่อง ล้วนมีส่วนช่วยสืบทอดความเชื่อและวิถีชีวิตของสังคมท้องถิ่น 7 มุ่งให้

7

เครือวัลย์ ปัญญามี. 2533. ตัวละครเอกแหวกขนบในวรรณกรรมอีสาน : การศึกษาเชิงวิเคราะห์วิจารณ์. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. (บทคัดย่อ).


168 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

10

ยึดมั่นในความงดงามของจิตใจ สติปัญญา และความสามารถที่เป็นประโยชน์ ต่อมหาชนมากกว่ารูปลักษณ์ภายนอก ท้าวก่า เป็นตัวอย่างพระเอกแหวกขนบด้านรูปลักษณ์ที่ชัดเจนสุดขั้ว เพราะมีรูปร่างอัปลักษณ์เป็นที่รังเกียจของคนทั่วไป แม้จะเกิดในตระกูลสูงแต่ อาภัพด้วยรูปชั่วตัวดาแม้กระทั่งมารดาของตนก็เกลียดชังจนไม่กล้าให้ดื่มนมตน แถมกลัวว่าท้าวก่าจะเป็นกาลกิ ณีบ้านเมืองจึงเอาไปลอยแพล่องน้า พระอินทร์ บนสวรรค์มีความสงสารจึงได้เนรมิตกาดาส่งลงมาเป็นแม่นม คอยเลี้ยงดูจน เติบใหญ่ ท้าวก่าจึงได้รับการขนานนามว่า "ท้าวก่ากาดา" นับ แต่นั้นเป็นต้นมา แต่ตัวละครเอกของอีสานส่วนใหญ่ล้วนเป็นผู้มีบุญ เกิดมาเพื่อใช้ชาติและสั่งสม บุญบารมี แม้ถูกลอยแพแต่ก็มีโชคดีที่มีคนเห็นใจนาไปเลี้ยงไว้ ท้าวก่าได้ไป อาศัยอยู่กับย่าจาสวนซึ่งเป็นคนเฝ้าสวนของกษัตริย์ จึงเติบโตด้วยความเมตตา ของยายจาสวนและมีความงามของธรรมชาติหล่อเลี้ยงจิตวิญญาณ ท้าวก่าจึง เป็นผู้มีสุนทรียะอันประณีตทั้งในเรื่องงานร้อยมาลัยและการเป่าแคนซึ่งถือว่า เป็นเครื่องดนตรีที่มีกาเนิดจากความงดงามจากธรรมชาติเช่นกัน วันหนึ่งธิดา ทั้งเจ็ ดของกษัตริ ย์มาเที่ย วชมสวน ท้าวก่ากาดาแอบดูนางทั้งเจ็ด แล้ วเกิด ผูกสมัครรักใคร่นางลุนผู้เป็นธิดาคนสุดท้อง ความรักดั่งศรดอกไม้ที่เมื่อยิงเข้าสู่นัยน์ตาแล้วย่อมเบ่งบานในหัวใจ แต่ด้วยเกิดมารูปชั่วตัวดาท้าวก่าจึงอาศัยงานศิลปะเป็นสื่อส่งสารรักถึงนางลุน ท้าวก่าได้ร้อยมาลัยดอกไม้เป็นสื่อความในใจแล้วมอบให้ยายจาสวนนาไปถวาย นางลุ น ความปั่ นป่ ว นในหั ว ใจของท้าวก่าทาให้ ทรมานจนยากจะต้านทาน ความรู้ สึ ก ตน พอถึ ง เวลากลางคื น ก็ เ ป่ า แคนไปเที่ ย วในเมื อ ง เสี ย งแคน


11

169

อันแสนไพเราะดุจเสียงนกการเวกของท้าวก่ากาดาในเวลากลางคืนที่เงียบสงัด นั้นลอยลมไปไกล จนกษัตริย์และนางลุนได้ยินทุกคืน ด้วยเสียงแคนอันไพเราะ นี้ กษัตริย์จึงได้รับสั่งให้ท้าวก่ากาดาเข้าเฝ้าเพื่อถวายการเป่าแคน ท้าวก่ากาดา มีความภูมิใจมากได้ตั้งใจเป่าแคนอย่างสุดฝีมือ มนตราแห่งเสียงแคนท้าวก่ากาดานั้นมีพลานุภาพสะกดอารมณ์ของ ชาวเมืองให้มองข้ามผ่านความอัปลักษณ์ทางกายของท้าวก่าไปจนหมดสิ้น กวี ผู้รจนาตัวบทวรรณกรรมได้พรรณนาให้เห็นภาพเมื่อชาวเมืองได้ฟังเสียงแคน ของท้าวก่าก็ถึงกับเผลอสติ อานาจความไพเราะของเสียงแคนทาให้ทุกคนที่ได้ ฟังราวกับถูกสะกดและตรึงความรู้สึกให้ตกอยู่ในภวังค์ กวีได้พรรณนาพลังแห่ง มนต์แคนของท้าวก่ากาดา ไว้อย่างละเอียดลออและแฝงไว้ซึ่งอารมณ์ขัน ดังนี้ ท้าวก็ เป่าจ้อย จ้อย อ้อยอิ่งกินนะรี บุญมีเลย เป่าแถลงดังก้อง เสียงแคน ดังม่วนแม่ง พอล่มหลูดตายไปนั้น ท้าวก็ เป่าจ้อยจ้อย คือเสียงเสพเมืองสวรรค์ ปรากฏ ดังม่วนก้อง ในเมืองอ้อยอิ่น เป็นที่ ใจม่วนดิ้น ดอมท้าวเป่าแคน สาวฮามน้อย วางหลามาเบิ่ง เขาก็ ปบฝั่งฟ้าว ตีนต้องถืกตอ บางผ่อง ป๋าหลาไว้ วางไปทั้งแล่น ก็มี บางผ่อง เสื้อผ้าหลุดออกซ้า เลยเต้นแล่นไป ก็มี ฝูงคนเฒ่า เหงานอนหายส่วง


170 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

สาวแม่ฮ่าง คะนิงโอ้อ่าวผัว ฝูงพ่อฮ่าง คิดฮ่าคะนิงเมีย เหลือทนทุกข์ อยู่ผู้เดียวนอนแล้ง เป็นที่ อัศจรรย์แท้ เสียงแคนท้าวก่า ไผได้ ฟังม่วนแม่ง ใจสล่างหว่างเว ฝูง (คน) กินเข่าคาคอ ค้างอยู่ ฝูง (คน) อาบน้าป๋าผ่า แล่นมา.... (นั่นละนา) โวหารความเปรียบเชิงอติพจน์นี้ นอกจากจะทาให้เห็นพลังมนต์แคน ของท้าวก่าอย่ างแจ่ มแจ้ งแล้ ว ยั งเห็ น ภาพวิถีชีวิตอย่างชัดเจน อีกทั้งแฝง อารมณ์ขันที่แสดงให้เห็นลาดับความเปรียบที่ค่อย ๆ เน้นย้าให้เห็นถึงความ โหยหาอาวรณ์ ความอ้างว้างอาลัย ให้หวนคานึงถึงบุคคลอันเป็นที่รักอย่าง ลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นหญิงหม้ายที่คานึงถึงสามี พ่อหม้ายคิดคร่าครวญถึงภรรยา ด้วยเกินทนทุกข์กับความเดียวดาย แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นที่น่าอัศจรรย์ใจ อย่างยิ่งที่เสียงแคนนั้นปัดเป่าความเศร้าโศกหมองหม่นออกจากใจให้ซาสร่าง สว่างไสวได้อีกครั้ง ผัสสะแห่งดนตรีได้สร้างความอิ่มเอมใจจนทาให้แม้แต่คนที่ กาลังเพลิดเพลินกับอาหารก็ต้องชะงัก คนอาบน้ายังไม่เสร็จเมื่อได้ยินเสียง แคนก็เคลิบเคลิ้มลุ่มหลงและรีบร้อนมาฟังแคนจนลืมใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อย ท้าวก่ากาดาเป่าเพลงอะไรทาไมจึงสะกดใจคนทั้งเมือง จากตั ว บทกลอนที่ พ รรณนาให้ เ ห็ น ภาพพลั ง แห่ ง เสี ย งแคนของ ท้าวก่ากาดาข้างต้น ทาให้ผู้เขียนอยากทราบว่าท้าวก่ากาดาเลือกเป่าเพลง อะไรจึงไพเราะจับใจถึงขั้นสะกดคนทั้งเมืองได้เพียงนั้น แต่หากพิจารณาตาม


13

171

ถ้อยคาที่บ่งบอกท่วงทานองดังพรรณนาข้างต้นแล้วมีผู้กล่าวว่าน่าจะเป็นเพลง “แม่ฮ้าง กล่อมลูก” ซึ่งผู้เขียนเห็นว่ามีความเป็นไปได้ เนื่องจากท้าวก่ากาดา เติ บ โตมาในสถานะคนชายขอบ มีเ พี ย งยายจ าสวนที่ เ มตตาเลี้ ยงดู โ ดยไม่ เดี ย ดฉั น ท์ เ ช่ น คนอื่ น ๆ เพลงแคนที่ ท้ า วก่ ากาด าเลื อ กเป่ า คงบอกเล่ า ทั้ ง ความรู้สึกของตนและยายจาสวนไปพร้อมกัน ลายแม่ฮ้างกล่ อมลูก 8 (ลายใหญ่)9 เป็นลายแคนหมอแคนพื้นบ้าน ในอดีตได้พัฒนามาจากเพลงกล่อมเด็กของคนอีสานในสมัยก่อน เวลาให้ลูก นอนเปลจะเรียกว่า “นอนอู่” ขณะที่กล่อมลูกนอนผู้เป็นแม่ เป็นยาย หรือ ผู้ที่ มีอายุมาก (ในยุคนั้น) ก็จะร้องเป็นทานองบทกล่อมของคนอีสาน ดังบทกล่อม บางตอน ที่ว่า “นอนสาล่า บุดตาแม่สิก่อม นอนอู่แก้วสาแล้วแม่สิกวย อื่อ อื้อ แม่ไปไฮหมกไข่มาหา แม่ไปนาหมกปลามาป้อน แม่ไปส่อนหมกฮวกมาหา... ” โดยกล่อมเป็นทานองสาเนียงภาษาพูดของคนอีสาน จากนั้นไม่นานเด็กที่นอน ในอู่ก็จะเคลิ้มหลับไป ซึ่งบทกล่อมอันเยือกเย็นนี้เองเป็นแนวทางให้ศิลปินผู้มี อารมณ์ศิลป์ในยุคสมัยนั้นนาทานองบทกล่อมนี้มาร้อยเรียงเป็นเสียงดนตรี โดย มีเจตนารมณ์ที่จะบรรยายให้เห็นถึงสภาพหญิง หม้ายที่ต้องทนต่อความทุกข์ ยากลาบากในการเลี้ยงดูลูกและการทามาหากินโดยลาพังคนเดียว ลายแม่ฮ้าง กล่อมลูกนามาบรรเลงเป็นลายแคนได้ทั้งลายน้อยและลายใหญ่ ดังนี้ 8

วีรชัย มาตรหลุบเลา. “วิธีเป่าแคน : ลายแม่ฮ้างกล่อมลูกลายใหญ่” อ้างใน https://krukaen101.wordpress.com/2013/08/25/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 13 ก.ค. 2561 9 ลายใหญ่ บ้างเรียกว่า ลายอ่านหนังสือ ซึ่งพัฒนามาสู่การอ่านวรรณกรรม ประกอบทานองแคน หรือ การลา


172 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

14

โน้ตทานอง ลายแม่ฮ้างกล่อมลูก (ลายใหญ่)

ดังกล่าวแล้วว่าลายเพลง “แม่ฮ้างกล่อมลูก” นี้ ทาให้จินตนาการถึง อารมณ์ความรู้สึกของแม่ฮ้าง (แม่หม้าย) ในฐานะผู้หญิงชายขอบสังคม ซึ่งใน วรรณกรรมหลายเรื่ องได้กล่ าวถึงสถานะทางสังคมของผู้ หญิงหม้ายไว้อย่าง น่ า สนใจต่ อ วิ ธี คิ ด เชิ ง คุ ณ ค่ า ของสั ง คมที่ ก าหนดให้ ห ญิ ง หม้ า ยกลายเป็ น สัญลักษณ์ความทุกข์โทมนัส เช่น ในเรื่องผาแดงนางไอ่ หญิงหม้ายถูกกีดกัน จากการแบ่งปันอาหาร แต่กลายเป็นโชคดีที่ไม่ได้กินเนื้อกระรอกเผือกจึงรอด ชีวิ ต จากเหตุ ก ารณ์ เมื อ งถล่ ม ในเพลงกล่ อ มลู ก ยิ่ ง แสดงถึ ง ความอ้ า งว้ า ง โดดเดี่ยวของหญิงหม้ายอย่างชัดเจนว่า นอกจากจะยากจนอยู่แล้ว สามียัง หนีหาย (หรือตายจาก) ทิ้งลูกน้อยไว้ให้เลี้ยง เมื่อแม่ฮ้างจะออกไปหาอาหาร ไปทางาน ไม่สามารถจะพาลูกน้อยไปด้วยได้ จาต้องกล่อมลูกให้นอนหลับก่อน ทั้งคิดถึงสามี ทั้งห่วงลูกน้อย ทั้งต้องหาเลี้ยงชีวิตเพียงลาพัง ครั้นเมื่อฟังแคน ลายแม่ฮ้างกล่อมลูกก็ยิ่งทาให้รับรู้ได้ถึงอารมณ์ความรู้สึกของแม่ฮ้างที่โศกเศร้า


15

173

อ้างว้าง ว้าเหว่ เงียบเหงา เดียวดาย ดังนั้นท้าวก่ากาดาผู้มีสถานะชายขอบ เช่นเดียวกันย่อมอยู่ในสภาวะ “หัวอกเดียวกัน” จึงถ่ายทอดอารมณ์เพลงได้ อย่างลึกซึ้งสะกดใจผู้ฟังราวต้องมนต์ มนต์ครูมนต์แคน : พลังอ้อ ผญาอีสานบทหนึ่งกล่าวว่า "หมกปลาแดกต้องมีครู จี่ปูต้องมีวาด" คือ ไม่จะทาอะไรเขาต้องเรียนรู้ มีครูสอน แม้สิ่งนั้นจะเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อย แต่ก็ไม่ควรละเลยการแสดงออกซึ่งความนอบน้อมต่อครูผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชา ความรู้ให้ สะท้อนถึงความเชื่อมั่นว่าเบื้องหลั งความรู้และอานาจศาสตราทั้ง ปวงก็คือพลังความศรัทธาต่อ “ครู” จนกลายเป็นประเพณี การถือครู ครอบครู ยกอ้อยอครู หรือ ไหว้ครู จนเป็นที่ตระหนักชัดในกลุ่มศิลปินว่าหนึ่งในแบบแผน ของผู้เป็นหมอแคนและหมอลาก่อนเริ่มเป่าแคนและเริ่ม “ลา” หรือการร้องบท นั้นต้องกระทาพิธี “ยกอ้อ” ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการเคารพครูบาอาจารย์ เบื้องสูง ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชา บูชาด้วยจิตคารวะ คาว่า “อ้อ” ในพิธีกรรมการไหว้ครูของหมอลาอีสาน คือ คาถา หรือ มนต์แห่งความปราดเปรื่อง เช่น ใช้ว่า “อ้อลา” ผู้ที่จะเรียนเป็นหมอลาต้อง เรียนมนต์ ท่องมนต์อ้อลานี้ ในคราวที่มายอมตัวหรือฝากตัวเป็นศิษย์ซึ่งก็คือใน พิธีย กครู ดังนั้ น ถ้าคนที่จะเรีย นเป่าแคน ครูก็จะมี “อ้อเป่า ” ให้ ศิษย์รับไว้ “เลี้ยงข่วงผีฟ้า อ้อลา พิธีกรรมไหว้ครูในอีสาน” ครูหมอลา ฉวีวรรณ ดาเนิน ศิลปินแห่งชาติ อธิบายเครื่องไหว้บูชาครู หรือ “คายอ้อ” ว่า “ไม่ว่าทากิจการ อันใดแล้วถ้าขึ้นชื่อว่าวิชา เราย่อมมีครู ดังนั้นจึงต้องมีการไหว้ครูหรือยกอ้อ ก่อน ซึ่งในที่นี้มี ขันห้า 2 ขัน และในเครื่องไหว้ครูก็แตกต่างกัน แต่มีครูเดียวกัน


174 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

16

อย่างขัน “ครูธรรม” ในพานประกอบด้วย ผ้าขาว 1 ผืน เหล้า 1 ขวด (เหล้า ขาว) ไข่ไก่สุก 1 ฟอง กรวยที่เรียกว่าขันห้า เทียนเล่มปาก 1 คู่ เทียนจุด 1 คู่ เทียนเล็ก 5 คู่ ดอกไม้ 5 คู่ ซึ่ง 1 คู่นั้นไหว้ข้างนอกเพื่อเป็นการคารวะ และเงิน หรือเงินกัณฑ์บุญใส่ขันครู แต่ก่อนนั้นใส่ 6 สลึง ปัจจุบัน 6 บาท อีกขันหนึ่ง เรียกว่า “ครูเทวดา” หรือ “ครูแถน” นางฟ้าเทวดา (ตั้งตรงหน้าของพ่อครูเคน ดาเหลา) เครื่องพิธีประกอบหลัก ๆ มีเหมือนกันกับครูธรรม เพียงแต่ครูเทวดา หรือครูพระยาแถนนี้มีกาไลข้อแขน - ขา หวี กระจก น้ามันงา เส้นผมเกล้าหนึ่ง กระจุก (ปลอม) ผ้านุ่ง เครื่องแต่งตัวครบและเงินใส่ขัน 1 บาท จากนั้นเป็นขั้นตอนว่าคาถา ซึ่งคาถาของ 2 ขันก็จะแตกต่างกัน แต่ใน สิ่งที่เหมือนกัน ก็คือ ไหว้พระก่อน ตั้งนะโม 3 จบ บูช าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์” เป็นการอธิบายย่อ ๆ ให้เห็นของที่จัดใส่พานไว้บูชาครู แม้ครูหมอลา ฉวีว รรณไม่ได้บ อกรายละเอีย ดของบทคาถา หรื อ “อ้อ” มีเนื้ อความคาถา ว่าอย่างไร ทั้งนี้ เป็นเรื่องปกติของครูหมอลา รวมทั้งหมอแคนด้วยจะถ่ายทอด บทคาถาให้เฉพาะผู้ที่เป็นลูกศิษย์และเคารพนับถือ อย่างไรก็ดี ผู้เขียนขอคัด บทคาถาอ้อจากในวารสารข้างต้น โดยตัวอย่างของหมอลาสมร วารียันต์ บ้านดอนสวน อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ดังนี้ “นะโมพุทธายะ องค์พระพุทธเจ้า พระเจ้าให้แก่กู ครูกูดี ชื่อ พระเมตตา คั่นกูว่าควมได๋ ขอให้เสียงกูใสส่องแจ้ง หนแห่งห้องตาตน มนต์กูนี้ ชื่อว่า อั่งทรงหน้า อั่งทรงหลั ง อั่งทรงตัว นะทรงหัว ขอให้ เทวดามาจาซอยจื่อ อมน้ามันงา มาให้เกล้าผม มารมคาหมาก ขอให้


17

175

ปากกูดี สีกูขาว ๆ ผู้สาวมักกู เมียเพิ่นมักกู ชู้เพิ่น มักกู อย่าลืมกูเด๊อ ตนกูนี่ชื่อพระยากาเผือก ให้ร้องเรียกหากู อมสรีสัวหม” คนที่ได้วิช าจากครู ไปแล้ ว ไม่ว่าจะเป็ นวิชาเป่าแคน ขับล า หมอยา ฯลฯ เมื่อเวลาจะใช้วิชาที่ เรียนมา ผู้นั้นจะแต่งคายทาพิธีไหว้ครูเป็นครั้ง ๆ ไป ซึ่ ง รายละเอี ย ดของการไหว้ ค รู แ ต่ ล ะศาสตร์ มี ไ ม่ เ หมื อ นกั น “อ้ อ ” บาง ความหมายมีนัยคล้ายกับ “ศีล” อย่างที่พระให้ศีลแล้วโยมก็รับศีล ดังนั้น อ้อ จึงมิใช่เพียงแต่ “มนต์” หรือ “คาถา” แต่หมายรวมถึงข้อห้ามหรือข้อ “ขะลา” ที่ครูสั่งส าทับให้ ศิษย์ต้องยึดถือปฏิบัติอย่ างเคร่ งครัด หากใครละเลยหรือไม่ ยาเกรง ทาละเมิดข้อห้าม ความรู้ที่เรียนไปก็จะเสื่อมสูญ ถึงขั้นทาให้ผู้ละเมิด มีอันเป็นไปในทางเสื่อมจนหาความเจริญไม่ได้ คติการถือครูนี้จึงเป็นคติที่ถือ ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดเป็นประเพณี ดังนั้นการเรียนรู้สรรพวิชาต่าง ๆ จึงต้อง มี “อ้อ” และมี “คาถาอ้อป่อง” ซึ่งเป็นคาถาที่ช่วยให้มีความจาดี คงจะเป็น กุศโลบายของคนโบราณที่ต้องการให้ ลู กหลานมีส มาธิในการเรียนดี หากมี ศรัทธาน้อมใจไปสู่สมาธิย่อมมีความสามารถในการจดจาได้ดีในทุกสาขาวิชา ด้วย ดังคาถาว่า "อะอิงอ้อ อ้อสูตรอ้อเขียน อ้อเรียนอ้อมัด อ้อคัดหัวใจ อ้อไขเห็นดูก อ้อผูกเห็นเงา อ้อเกาเห็นยอด อ้อขอดเห็นใบ นะจาจิต โมจาใจ พุทจาไว้ ทาจาให้ อย่าให้ลืมหลง"10 กล่าวอีกนัยหนึ่ง อ้อ เป็นกุศโลบายในรวบรวมพลังสมาธิเพื่อส่งเสริม การจดจา บ้างจึงเรียกว่า “อ้อจา”11 ซึ่งเชื่อว่ามีพลังอานาจในทางช่วยเหลือ 10 11

www.utdid.com/คาถา/html/0000120.html เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 16 ก.ค. 2561 https://palungjit.org/threads/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 16 ก.ค. 2561


176 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

ความจา ทาให้จาแม่น เรียนรู้อะไร ๆ ได้รวดเร็ว ทั้งบทพระธรรมคาสอน หรือ บทเรียนต่าง ๆ หรือฟื้นความจาได้รวดเร็ว โดยมีธรรมเนียมให้ตั้งขันแปด ซึ่ง ประกอบด้วย เทียนแปดคู่ ดอกไม้แปดคู่ และว่าคาถา ดังนี้ "โอม สะ กุ โส วะ หัง อะ นุ พัน ติด โต โอม ยอด อ้อ อ้อ พระ อะ ระ หัน ตา มา วิ วั้ ก วิ หว่อน ขอ ให่ ใจ ผู่ ข่า ตาม ธรรม วิหัง โอม สะ โหม ติด" ส่วนอ้อป่อง คือ "โอม ตุ๊ ปุ๊ สะ ลุ ปัญญา กัสสะ ลูปา เอหิ สะ โหมติด โอมจิตติ มหาจิตติ โอมจิตตัง มหาจิตตัง พันธะนัง เอหิ สะ โหม ติด"12 “ป่ อง” แปลว่า ช่อง ทาง รู หรือสิ่ งที่ร อดออก จึ งมีความหมายถึง หนทางที่ส ามารถออกไปสู่เป้าหมายได้ “อ้อป่อง” จะช่วยในเรื่องการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ฉับพลัน มีไหวพริบปฏิภ าณ ไม่ติดขัด เมื่อเจอปัญหา เฉพาะหน้าจะช่วยให้มีสติ มีทางแก้ปัญหา ช่วยในเรื่องการเรียนของนักเรียน นักศึกษาได้ ทาให้เข้าใจบทเรียนได้ง่ายและรวดเร็ว วันไหนเรียนติดขัด หรือมี เรื่องข้องใจอะไรที่แก้ไม่ตกจะมีครูที่ไม่ใช่มนุษย์ มาสอนในความฝัน บอกทาง แก้ปัญหา หรือสอนบทเรี ยนให้เราทาให้ได้เปรียบเพื่อน ๆ ในการเรียนหรือมี ทางแก้ปัญหา

12

https://palungjit.org/threads/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 16 ก.ค. 2561


19

177

บทสรุป : ลมปราณหมอแคนเชื่อมสายแนนสร้างหมอลา จากตานานการกาเนิดขึ้นของดนตรีแคน จนถึงบทบาทและสถานะ ทางสังคมของแคนที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานล้านช้าง และการถ่ายทอด เรื่องราว อารมณ์ ความรู้ สึกนึ กคิดของผู้ คนผ่ านวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ จนถึงแบบแผนคติความเชื่อที่อานาจฟ้าแถน หรือ ครูบาอาจารย์ที่ประทาน ความรู้ และพลังคีตการที่สื่อสารความหมายเบื้องลึกของผู้คน ที่บางครั้งก็ยาก จะสื่อสารออกมาด้วยถ้อยคาอันจากัด แคน เครื่องดนตรีที่ขับเคลื่อนเรื่องราว ทางอารมณ์ด้วยลมปราณของผู้เป่า จึงไม่เพียงแต่ทาหน้าที่เล่าเรื่อง ทว่ายังทา หน้ า ที่ ป ระดุ จ สื่ อ กลางที่ เ ชื่ อ มพื้ น ที่ ทั้ ง สามเข้ า ด้ ว ยกั น อั น ได้ แ ก่ พื้ น ที่ ท าง ความคิดความเชื่อ สู่พื้นที่กายภาพของแคน และเชื่อมพื้นที่ทางสังคมของผู้คน หลากหลายให้ เ ข้า ใจกัน ด้ว ยภาษาสากล ดัง กล่ าวไว้ แล้ ว โดยละเอี ยดผ่ า น กลอนลาว่า แคนนี้เป็นของเลิศล้าเก่าแก่ แต่เดิมมา มื้อหนึ่งมีพระราชาเข้า ดงดอนนอนอยู่ในป่า กับทั้งอามาตย์ไท้ พวกหมู่มนตรี ฝูงหมู่กวางฟานเม่น เห็นพระองค์โยงพ่าย แม่งหนึ่งไปฮอดเกี้ย ตีนตาดผาสูง เป็นขัวนัวคือเกี้ยว เขียมอารมณ์เป็นร่ม พระองค์เลยสะมิ่ง ง่วงเหง่าเหงานอน ฝูงหมู่เสนาเหง้า มนตรีน้อยใหญ่ แต่นั้น พระหนึ่งต้น ตนผ่านพารา ฟังยินเสียงกอย ๆ ร้องแกว ๆ กรวีก


178 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว พ้อมด้วยเสียงนกเอี้ยง เฮียงฮ้องออหอ สัมมะปิเสียงห้าว วาวโวแววโว ฟังแล้วเลยสะม้อย อ้อยอิ่นในพระทัย ยินเสียงลมสะแวงต้อง นอนนันกรวีก พระองค์คิดแม่นแม่ง มักใคร่ในเสียง จึงได้หันตัดต้าน ถามขุนข้ามหาด ไผจักตกแต่งตั้ง ทาสิ่งเป็นเสียงได้นอ? เฮ็ดให้เป็นของใช้ ดนตรีสีเป่า ยังมีอามาตย์ชั้น กวีเอกสาขา สองก็วางคามั่น สัญญาเด็ดขาด พระองค์ก็พาไพร่โค้ง คืนสู่งกรุงสี มีสนมนั่งเฝ้า เรียงปางข้างเสื่อ บัดนี้ จักกล่าวอามาตย์เค้า ผู้รับอาสา คิดจนใจหลายมื้อ บ่มีหวนเห็นหุ่ง ลาวก็เข้าป่าไม้ ดงด่านอรัญญา แม่ง หนึ่งถึงแดนห้วย สวยลวยกล้วยป่า ได้ยินน้าสะท้าน โตนตาดเสียงดัง ยินสะออนฝูงกะเบื้อ บินเฟือแคมฝั่ง พักหนึ่งลมล่วงเท้า อ้ออ่อนแคมชล เลยสะออนใจเฒ่า เหงาไปเซือบหนึ่ง แต่นั้นลมพัดป้าน อ้ออ่อนปลายกุด ผ่องก็แจง ๆ แจ้ แวแววโว่หว่อ

20


21

179

กลอนล านี้ ไ ม่ ไ ด้ เ พี ย งแต่ ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวความเป็ น มา เกี่ยวกับกาเนิด “เสียงแคน” เท่านั้น แต่ความประทับใจในเสียงได้ทาให้ระดม ปราชญ์ราชกวีและผู้รู้ให้คิดสร้างสรรค์เครื่องดนตรีที่สร้างเลียนเสียงนกการเวก นั้ น ด้ ว ย ซึ่ ง ในบทกลอนล ายิ่ ง ย้ าให้ เ ห็ น ชั ด เจนว่ า กวี นั้ น มี ผั ส สะที่ ล ะเอี ย ด ประณีตทุกอายตนะ เพราะเพียงได้ยินเสียงนก เสียงลม ก็เกิดความคิดและ หยั่งเห็นวิธีการผลิตสร้างแคนได้อย่างน่าอัศจรรย์ ความว่า อีกประสบครั้งนั้น วันบ่ายพอดี นกเขาทอง เขาตู้ คูขันก้องสนั่น ลาวก็สะส่วยหน้า ลุกนั่งฟังเสียง เสียงตอยาวตอสั้น ปนกันน้อยใหญ่ เฒ่าเลยคิดซวาดรู้ วิธีแต่งดนตรี เดี๋ยวหนึ่งวันมัวค้อย ทดทะสูงแสงต่า เลยเล่าหายเหตุร้อน นอนพ่างภรรยา นกกาเวามันร้อง จองหองขายกอก ตัดเอาต้นไม้อ้อ สามคู่พอดี บ่อนหว่างทางกลางนั้น เจาะลงเป็นปล่อง เมื่อนั้นเฒ่าก็หาเอาไม้ มาทาเต้าเป่า พอเมื่อเฒ่าสร้างแล้ว ก็ลองเป่าฟังเสียง ทังแลนแจน ลันแจ้ อยากคือ เสียงกรวีก พอคิดแล้วเท่านั้น ตนพ่อเสนา เอาดนตรีให้ถวาย ภูวนัยดั่งว่า เฒ่าเลยนั่งตะแพยคู้ แล้งเป่าเอาถวาย


22

180 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว การเล่าเรื่องถึงการก่อกาเนิดของแคน ยังได้สะท้อนความจริง ของวงการวิจารณ์งานศิลปะที่รสนิยมของผู้เสพได้ส่องทางสร้างสรรค์ให้ผู้สร้าง อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เมื่อพระราชาได้ฟังเสียงแคนแล้วก็เห็นหนทางที่ควรพัฒนา ได้ดีงามมีความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือการประชุม กวี รวมเหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิตได้สร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ร่วมกัน เพื่อสร้างสรรค์ และต่อยอดให้แคนทาหน้าที่ถ่ายทอดชีวิต ลมหายใจ และจิ ต วิ ญ ญาณของผู้ ค นในวั ฒ นธรรมแคนได้ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง ถึ ง แก่ น ด้ ว ยพลั ง ลมปราณของหมอแคน ความว่า เสียงดนตรีดั่งได้ แกว ๆ ก้อง แก้วก่อ พระราชาทรงตรัส " ใช้แคนแด่" เดี้ย ให้ท่านทาดีขึ้น ทูลถวายรายใหม่ ในกาลครั้งนั้น คุณพ่อเสนา ลาวจึงเพียรแปงสร้าง วางแปลนรูปใหม่ เฮ็ดไปถวายเทื่อนี้ 7 คู่ พอดี เพราะมันมีเสียงแก้ว แกว ๆ แจ้วแน่นแน่ ขุนก็ทาอีกครั้ง เป็นเทื่อที่สาม มีเสียงทองเสียงห้าว วาวแววแจ้วลั่นจั่น ลูกมันมีหมดเกลี้ยง 8 คู่งามขา ทรงกระหายหัวย่าม เห็นงามแย้มพระโอษฐ์ มันได้มีแต่พุ้น สืบต่อกันมา


23

181

มากไปกว่าหน้าที่เชิงสุนทรียะ เสียงแคนยังทาหน้าที่เยียวยา ปลอบ ประโลมหัวใจของคนทุกข์ที่ “อุกอั่ง” จนไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นถ้อยคา ให้บรรเทาเบาบางลงได้ แคนจึงมิได้เป็นเครื่องดนตรีแต่ได้กลายเป็นเครื่องมือที่ “หมอ” ใช้ฟังเสียงในใจเพื่อเข้าใจและเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ความว่า คันบ่มีคาเว้า แคนไคไกลมอ อีกอย่างหนึ่ง ย่อน ดนตรีประเภทนี้ พาสว่างความอุก ชื่อว่าแคน แคน แล้ว หมดทั้งมวลมีแต่หม่วน แต่ครั้งศาสนาพระวิปัดสีเจ้า เที่ยวหาเซ็ดเนื้อในด้าวด่านไพร จรลีไปถึงเขตขวางเขากว้าง จนเวลาเที่ยงค้ายหายจ้อยเครื่องเสวย มีหมู่ยูงยางดกดู่แดงดวงดั้ว ลมพัดมาฮ่าว ๆ เย็นจ้าวหน่วงตึง อรชรลมโรย ล่วงโชยมาเต้า พร้อมอาศัยที่นั้นในฮั่นสู่คน เลยนิทรานอนหลับเซือบไปคราวน้อย จับอยู่เทิงหง่าไม้ไฮฮ้องส่งเสียง เสียง ออ ๆ อี ๆ วี่แววแจวจี้ มีทั้งโอ่และโอ้ โออ้อยอิ่นออย ภูวไนยนอนหลับตื่นมาฟังแจ้ง เลยกระสันสว่างเศร้า เบาเนื้อห่างแคน ในสาเนียงของนก ที่บรรเลงนั้น


182 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว พร้อมประกาศบอกชี้เชิญมิ่งช่วยฟัง ให้คือสาเนียงนกเป่าฟัง กันได้ เฮาพระองค์สิให้สินจ้างค่าพัน เข้ารับบัญชาทาถวาย ดั่งใจจงอ้าง ในโอกาสครั้งนั้น ตะเว็นส้วยอ่อนลง จรลีถึงเมืองนั่งปองเป็นเจ้า พระองค์กะยังอ่าวเอื้อเสียงนั้นอยู่บ่เซา หาตรึกตรองปัญญาท่าใดสิทาได้ เลยมุ่งออกจากฮ่องเฮือนย่าวห่าวไป เดินดุ่งคาคาวไกล เมื่อยแคนคาวแค้น มีสาขาหน่ออ้อ ซ่อซ้องทั่วดาน อยู่ในวัง มีแต่ปูปลาหอย ล่องลอยชมก้อน เฒ่าก็นั่งจ้อก้อ ลงหั่นเมื่อยเซา ปานคนกินสุราท่าเมาเยาย้อน ใจคะนึงบ่แล้ว วิธีสร้างแต่งการ เสียงมันดัง วี วุด วู่ แวว แอว แอ้ เป็นเพราะปล้องไม้อ้อ ยาวสั้น บ่าข่ากัน ฝูงแมงอีกาเลน เผ่นบินมาฮ้อง ฝ่ายอามาตย์ผู้นั้น นอนแล้วตื่นมา ฟังสาเนียงลมพัด เป่าตอลาอ้อ ทั้งเรไรต่างเชื้อ ประสมเข้าม่วนหู ตามดั่งองค์ภูมี มอบหมายมานั้น

24


25

183 ลาวจึงไต่ต้าว คืนเข้าสู่นคร จนเวลาสูนสาง สว่างมายามเช้า ลาวก็ชอกได้พร้า ประดาเข้าสู่ไพร ทั้งเหลา ซี แทง เลาะ ข้อเสียงหมดเกลี้ยง เจาะรูแพงส่องแล้ว เลยเหน็บลิ้นตื่มแถม เฮ็ดคือนมผู้เฒ่า เป็นเป้าอยู่กลาง มีสาเนียง ออแอ วี่แวแววแว คันว่าแม่น ผิด ก็มีเสียงเล็กน้อยพอสิได้ค่าพัน เลยไววาเมือฮอด โฮงพระยาเจ้า ทางมหาราชเจ้า จึงจาเฒ่าเป่าดู ทาท่าไกวหัว หาง ย่างจาเอา ไว่ ๆ เอาบ่น้อ สานี้ พระองค์เจ้าว่าจั่งใด๋ ขุนเจ้ายังปุนแปงเฮ็ดเกิดเป็นปานนี้ เฮาก็ยังสิให้สินจ้างค่าพัน ก็จึงอาลา คืน คอบเฮือน เร็วฟ้าว ประดิษฐ์ใหญ่ขึ้นหน้า จะแจ้งยิ่งทว องค์พระภูมี ตรัสว่า "แคน ๆ" แล้ว เฮ็ดมาถวายอีกแม้ ให้ดีกว่าเทื่อหลัง มีทั้งงาม จบดี ครบ กระบวน ควรย่อง เสี้ยงทุ้มยู้ก็พ่องนั้น หันขึ้นวึ่นเสียง ขุนเมือง นาเมื่อถวาย ทอดพระกรรวันท้าย โปรดว่า "แคนแท้แล้ว" คราวนี้ท่านขุน


184 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

26

ย่อนว่าราชาตรัส ว่า "แคนแคน แล้ว" ก็แม่นกรวีกร้อง ของแท้อีหลี พาให้หายความทุกข์ ยากแคนแสนแค้น เพิ่นจึงม้วนใส่หั่น คานั้นว่า "แคน"13 จากตัว บทดังกล่าวข้างต้น กวีผู้ เห็ นคุณ “แคน” ได้กล่าวยืนยันว่า แคนนั้นมีทั้งความงาม ความสมบูรณ์แบบครบถ้วนทุกกระบวนการทั้งระดับการ สื่อสารความสุนทรีย์ ความหมาย ความรู้สึกนึกคิด และจิตวิญญาณ ดังนั้นจึง ไม่แปลกใจว่าทาไมผู้คนที่ได้ฟังเสียงแคนของท้าวก่ากาดาจึงลุ่มหลงราวต้อง มนต์สะกด เพราะแม้แต่ยามที่ผีฟ้า ต้องการสื่อสารกับแถนก็ยังต้องอาศัยเสียง แคนเป็นสื่อกลาง บรรณานุกรม เครือวัลย์ ปัญญามี. (2533). ตัวละครเอกแหวกขนบในวรรณกรรมอีสาน : การศึกษาเชิงวิเคราะห์วิจารณ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สนอง คลังพระศรี. (2554). “หมอแคน : ภูมิรู้และภูมิปัญญาเชิงคีตศิลป์กับ การสืบสารมรดกทางวัฒนธรรม” ใน ฮีตฮอยหมอลา : มรดกภูมิ ปัญญาทางวัฒนธรรม. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. แก้วตา จันทรานุสรณ์ (บรรณาธิการ) 13

ท้าวก่ากาดา อ้างในจากบทความ หนังสือสูจิบัตร งานอนุรักษ์ส่งเสริมและ ถ่า ยทอดวั ฒนธรรมแคน การประกวดเป่ า แคนชิ ง ชนะเลิ ศ แห่ งประเทศไทย ปี 2541 https://www.gotoknow.org/posts/251935 เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 10 ก.ค. 2561


27

185 สันทนา ทิพวงศา. (2535). เครื่องดนตรีในวรรณกรรมอีสาน. ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. วีรชัย มาตรหลุบเลา. “วิธีเป่าแคน : ลายแม่ฮ้างกล่อมลูกลายใหญ่” อ้างใน https://krukaen101.wordpress.com/2013/08/25/ เว็บไซต์ https://www.baanmaha.com/community/threads/3410E0 เข้าถึง ข้อมูลเมื่อ 10 กรกฎาคม 2561 https://www.gotoknow.org/posts/251935 เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 10 กรกฎาคม 2561 https://www.silpa-mag.com/club/news/article_13615 เข้าถึงข้อมูล เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 https://krukaen101.wordpress.com/2013/08/25/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 13 กรกฎาคม 2561 www.utdid.com/คาถา/html/0000120.html เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 16 กรกฎาคม 2561 https://palungjit.org/threads/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 16 กรกฎาคม 2561



แคนคือคนอีสานนักเขียนอีสานจึงมีสัญลักษณ์คือ “แคน” สุมาลี สุวรรณกร 1 “นอกจากนั้น ไพวรินทร์ ขาวงาม กวีซีไรต์และศิลปินแห่งชาติ ชาวจังหวัดร้อยเอ็ด ยังเคยเขียนถึงเพลงนี้เอาไว้ในคอลัมน์ หนังสือพิมพ์คมชัดลึกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2552 ว่า “เสียงแคนจากแมนชั่น” ชื่อเหมือนบทกวี แต่นี่เป็นชื่อเพลงลูกทุ่ง”

หากเอ่ยถึงแคน ตามพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2525 เขียนเอาไว้ว่า “แคน” เป็นคานาม หมายถึง เครื่องดนตรีอีสานทาด้วย ไม้ซางผูกเรียงต่อกับเต้าแคนสาหรับเป่าเป็นเพลง และรู้จักกันดีทั้งในภาคอีสาน ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ส าหรั บ สโมสรนั กเขีย นภาคอีส าน สั ญ ลั กษณ์ ห รื อ โลโก้ ข องสโมสร นักเขีย นภาคอีสานในยุคเริ่มต้น ที่ออกแบบโดย เจริ ญ กุลสุวรรณ ศิล ปิน มรดกอีสาน สัญลักษณ์คือ แคนกับปากไก่ (ปากไก่คือ เครื่องสาหรับขีดเขียน ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยตัวปากและด้าม ตัวปากมักทาด้วยโลหะ เช่น ปากกา คอแร้ ง ปากกาเบอร์ 5 ใช้เ สี ย บที่ด้ ามจุ้ มหมึ กหรื อน้าสี อื่ นเขี ยน) แม้ยุ ค ปัจ จุ บัน โลโก้จ ะมีการปรั บ เปลี่ ยนให้ ส วยงามและทันสมัยมากขึ้น แต่เครื่อง ดนตรีแคนยังถูกนามาใช้เป็นโลโก้เช่นเดิมพร้อมเพิ่มเติมดอกคูนเข้าไปเพื่อให้มี ความเป็นอีสานมากยิ่งขึ้น 1

อดีตประธานสโมสรนักเขียนภาคอีสานแห่งประเทศไทย


2

188 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(โลโก้ยุคเริ่มต้น)

(โลโก้ยุคกลาง)

(โลโก้ยุคปัจจุบัน)

เรื่องของการนาเอาแคนมาทาเป็นโลโก้ของสโมสรนักเขียนภาคอีสาน นั้น เจริญ กุลสุวรรณ บอกว่า สาเหตุที่ทาโลโก้ของสโมสรนักเขียนภาคอีสาน เป็นแคน เพราะแคนกับคนอีสานนั้นแทบจะแยกกันไม่ออก แรก ๆ แคนอาจจะ เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้เพื่อให้ความบันเทิงแต่หลัง ๆ แคนแทบจะเรียกว่าเป็น เครื่องดนตรีแห่งการเยียวยาและเป็นจิตวิญญาณของพื้นถิ่น ในหมู่บ้านของเขาเองที่ อ.อาจสามารถ จ.ร้อยเอ็ด นั้น เคยแล้งต่อกัน ยาวนานถึง 7 ปี ปรากฏว่าเครื่องดนตรีชิ้นเดียวในหมู่บ้านที่พอจะมีอยู่คือแคน ในระหว่างที่สมาชิกในหมู่บ้านกาลังโศกเศร้าเสียใจพอเป่าแคน เสียงแคนทาให้ คนทั้งหมู่บ้านคลายความทุกข์โ ศก คลายความหม่นไหม้จากปัญหาภัยแล้ ง เพราะฉะนั้น เสีย งแคน หรื อ เครื่ องดนตรี ป ระเภทแคนไม่ใช่เฉพาะให้ความ บันเทิงเท่านั้น แต่มันยั งสามารถเยี ย วยารั กษาความทุกข์ระทมในหัว ใจและ เยียวยาความเจ็บปวดได้ รวมถึงแคนถือเป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้านที่สามารถทาได้เอง และมีวัสดุ อุปกรณ์ที่ห าได้จากท้องถิ่น ที่ช่างทาสามารถประกอบสร้างได้ไม่ยาก แม้จะ ไม่ ง่ า ย แต่ ก็ พ อจะหาได้ ท าได้ โ ดยไม่ ต้ อ งรอหาซื้ อ อุ ป กรณ์ ม าประกอบขึ้ น


3

189

นอกจากนั้น เครื่องดนตรีประเภทแคนยังส่งเสียงและมีทานอง มี จังหวะที่ให้ อารมณ์ทั้งปลุกเร้ า และเศร้าสร้อยได้ในเวลาเดียวกัน เสียงแคนให้ จังหวะให้ ทานองมาก่อนจะมีการประกอบสร้างเป็นคาร้องที่ใส่เนื้อหาเข้าไป แต่หากไม่มี คาร้องแค่เสียงแคนก็สามารถบ่งบอกอารมณ์คนเป่าและสื่อสะท้อนเชื่อมโยงถึง อารมณ์ของคนฟังได้ด้วย นอกจากนั้นในงานวรรณกรรมตั้งแต่ยุคแรกจนถึงยุคปัจจุบันที่บอกเล่า เรื่องราวความเป็นอีสาน อย่างเรื่องท้าวก่ากาด่าที่มีเนื้อหาย่อ ๆ เล่าว่า “มีสามี ภรรยาคู่หนึ่งอยู่ด้วยกันมาเป็นเวลานานถึง 7 ปี ไม่มีบุตร ทั้งสองจึงอธิษฐานขอ บุตรจากพระอินทร์ โดยทาพิธีกรรมบูชาและอธิษฐานขอบุตรจากพระอินทร์ พระอินทร์จึงประทานลูกให้เป็นชาย ก่อนท้องแม่ฝันว่าลูกแก้วสีดาตกเข้าปาก ลูกแก้วลอยหนีไปส่งแสงสว่างไปทั่ว เมื่อตั้งท้องเกิดลูกเป็นชายตัวดาเหมือนกา ทารกน้อยสร้างความอับอายให้แก่นางมาก นางพยายามจะกาจัดทารกให้พ้น ทาง แต่สามีได้คัดค้านเอาไว้ นางทนเลี้ยงดูมาจนเด็กน้อยอายุได้ 3 ขวบ ลูกก็ ยังไม่ยอมพูดด้วย นางจึงโกรธ และอ้างคาทานายของหมอดูประจาหมู่บ้าน นาง จึงได้นาลูกน้อยไปลอยแพ แพได้นาทารกน้อยลอยไป 7 วัน 7 คืน และไปตกอยู่ กลางหาดทราย และได้มีคนสวนของเมืองเบ็งจาล มาพบเป็นสองเฒ่าตายายจึง ได้เอากาดามาเลี้ยงดูที่สวนดอกไม้ เมื่อก่ากาดาได้อาศัยอยู่กับยายจาสวน ยาย ไม่ยอมให้ก่ากาดาออกไปไหน โดยให้เหตุผลว่า ถ้าคนมาพบเข้าเขาจะหาว่าเป็น กาลีบ้านกาลีเมือง ท้าวก่ากาดามีความสามารถพิเศษในการร้อยดอกไม้และ เป่าแคน จึงได้ร้อยดอกไม้ฝากยายจาสวนเข้าไปให้นางลุนธิดาคนสุดท้องของ เจ้าเมือง นางลุนพอใจมากแม้ก่ากาดาจะแสดงความสามารถให้ ยายประจักษ์ แล้ว แต่ยายก็ไม่ยอมให้ก่ากาดาได้พบปะผู้คนโดยเฉพาะเวลากลางวัน เพราะ


190 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

เกรงคนตกใจกลัวเมื่อเห็นก่ากาดา ก่ากาดาจึงได้แต่หลบ ๆ ซ่อน ๆ นางลุนก็ อยากเห็นตัวคนร้อยมาลัย วันหนึ่งกินรีทาอุบายให้ยายพานางมาชมสวน เมื่อได้ พบนาง ก็หลงรัก ก่ากาดามีความสามารถในการเป่ าแคนได้ไพเราะจึงเป่าแคน ให้ผู้คนฟังเสียงเล่าลือว่ากินรีเป่าแคนได้ไพเราะไปทั่วเมือง วันหนึ่งก่ากาดาได้ ถอดรูปกลายเป็นคนร่างงามสง่าไปหานางลุน นางลุนพอใจและรักก่ากาดามาก บอกนางว่ามาจากเมืองอินทปัฐ และได้นางเป็นเมีย เจ้าเมืองฝันว่าช้างมาไล่คน กินอ้อยกล้วยของเมื อง จึงให้หมอมาทาย ก่ากาดาได้เข้าเฝ้ากษัตริย์ เพราะมี ชื่อเสี ย งว่า เป่ าแคนเพราะ กลางคืน ก่ากาดาไปหานางและได้ ข อแหวนและ ผ้าสไบมาไว้เป็ นที่ระลึ ก เมื่อกลั บมาบ้านจึง ให้ย ายไปขอให้ เจ้าเมืองเรียก สิ น สอดเงิ น แสนชั่ ง ทองแสนชั่ ง ช้ า งพั น ตั ว มี ค นขั บ ขี่ พ ร้ อ ม คนใช้ พั น คน สะพานเงิน สะพานทอง จากบ้านยายไปหาพระราชวัง พระอินทร์และพญานาค มาช่วยทาสะพาน หาสินสอดในที่สุดก่ากาดากับนางลุนก็ได้แต่งงานกัน โดยเรื่องท้าวก่ากาดาเป็นวรรณกรรมนิทานอีสานเรื่องหนึ่ง ซึ่งไม่ทราบ ว่าใครเป็นผู้ประพันธ์และประพันธ์เมื่อไหร่เหมือนกับวรรณกรรมอีสานหลาย ๆ เรื่องแล้วมีการคัดลอกสืบต่อกันมาต้นฉบับเป็นหนังสือใบลาน จารเป็น อักษร ไทน้อย ผู้ที่นามาปริวรรตถอดเป็นภาษาไทยกลาง คือ อาจารย์ปรีชา พิณทอง ซึ่งได้รวบรวมหนังสือเรื่องท้าวก่ากาดาจากวัดต่าง ๆ มาเทียบเคียงดูหลายฉบับ ขนาดนิทานโบราณยังมีเรื่องของแคนเข้าไปร่วมด้วย และเลยมาจนถึง วรรณกรรมในยุคปัจจุบันที่คนอีสานได้เขียนเอาไว้ ตั้งแต่เรื่อง “ลูกอีสาน” ของ ค่าพูน บุญทวี การเดินทางข้ามหนีความแห้งแล้งของลูกอีสาน เสียงแคนก็ยัง เป็นเสี ย งดนตรี ที่ ขับ กล่อมและทาให้ หัว ใจลู กอีส านมีความสุ ขขึ้นมาบ้าง ซึ่ง


5

191

ผลงานของคาพูน บุญทวี หลายเรื่องได้นาเสนอเครื่องดนตรีอีสานประเภท แคนเอาไว้ในงานเขียนอย่างต่อเนื่อง และถือเป็นสัญลักษณ์หนึ่งในการเล่าเรื่อง ความเป็นอีสานผ่านงานวรรณกรรมด้วย นอกจากนั้นในผลงานการเขียนของนักเขียนร่วมสมัยอีกหลายคนทั้ง สมคิด สิงสง ศิลปินมรดกอีสานอีกท่านหนึ่ง พูดถึงเสียงแคนในนวนิยายเรื่อง ข้าวเขียว ที่กาลังพิมพ์ครั้งที่ 4 ซึ่งเขาให้ความเห็นว่า แท้จริงแล้วเครื่องดนตรี ประเภท “แคน” อยู่คู่กับความเป็นเชื้อชาติที่อยู่แถวแนวเขตลาน้าโขง เพราะมี ดนตรีประเภทแคนกระจายอยู่หลายพื้นที่ แม้จะรูปร่างต่างออกไปแต่เสียงที่ได้ คล้ายคลึงกันทั้ง แคนน้าเต้า แคนลาว และแคนในรูปแบบอื่น หากจะให้วิเคราะห์จะพบว่าสาเหตุที่เครื่องดนตรีประเภทนี้มีกระจาย อยู่เป็นจานวนมาก สาเหตุมาจากเป็นเครื่องดนตรี ประเภทเป่าที่ประดิษฐ์จาก วัสดุธรรมชาติ ทาได้ง่ายและให้เสียงที่ไพเราะแถมเป็นเครื่องดนตรีมหัศจรรย์ที่ หากคนที่เป็นเชื้อชาติแถบอุษาคเนย์หาได้ยินได้ฟังจะต้องลุกขึ้นฟ้อนหรือรา ใส่ ทั น ที และเป็ น เครื่ อ งดนตรี ที่ ฟั ง แล้ ว ได้ อ ารมณ์ ห ลากหลาย เศร้ า ได้ สนุกสนานได้ บางคนฟังเสียงแคนแล้วร้องไห้ก็ได้ ซึ่งเสียงแคนแทนความรู้สึก และอารมณ์คนฟังได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนั้ นเรื่ องของเสี ยงแคน และดนตรีแ คนยั งถูก น าเสนอผ่ า น กลอนลาและบทเพลงอย่างหลากหลาย ยกตัวอย่างเช่นเพลง “เสียงแคนจาก แมนชัน” ผลงานการเขียนของ “วีระ สุดสังข์” ที่ได้รับรางวัลประพันธ์เพลง ยอดเยี่ยมจากเวที คมชัดลึกอวอร์ด ที่มีเนื้อหาว่า “ ได้ยินเสียงแคนดังลอย แล่นมาจากแมนชั่น ไผน้อพักอยู่หม่องนั่นคนไกลบ้านคือเฮาบ่น้อ ทานอง


192 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

6

ลายล่องลายเศร้าฟังแล้วเหงาคึด ฮอดแม่พ่อ สะกิดใจให้คึดพ้อหลายสิ่งที่รอ อยู่ในความจา นับแต่ความจนพาดิ้นรนเป็นคนไกลถิ่น ความทุกข์บีบให้ต้อง ดิ้นยากงานบ่เซาแต่เช้าฮอดค่า มาไกลหลายปีติดต่ออยู่ กทม. บ่ได้ฟังลา คืนนี้เหมือนแคนไถ่ถามว่าลืมทางเมือบ้านแล้วไป่ แม่นผู้ใด๋เป็นคนเป่าแคน กะส่าง แต่คนหลอยฟังมันช่างมีแฮงใจหลาย คนอยู่แมนชั่นยังเป่าแคนหวาน ซ้าบ่ย่านอาย ยืนยันว่าเจ้าของเป็นไผออนซอนน้าใจเจ้าของเสียงแคน ลาย สุดสะแนนเสียงแคนแล่นจากแมนชั่น หล่อเลี้ยงคนเหงาไกลบ้านสู้เพื่อฝัน บนทางยากแสน ให้แน่นเหนียวคือปั้นข้าวคนบ้านเฮาฮักกันมั่นแก่น เป่าอีก แนเด้อหมอแคนช่วยเป็นตัวแทนกล่อมใจไกลบ้าน ลายสุดสะแนนเสียงแคน แล่นจากแมนชั่น หล่อเลี้ยงคนเหงาไกลบ้านสู้เพื่อฝันบนทางยากแสน ให้ แน่นเหนียวคือปั้นข้าวคนบ้านเฮาฮักกันมั่นแก่น เป่าอีกแนเด้อหมอแคนช่วย เป็นตัวแทนกล่อมใจไกลบ้าน” ซึ่งผู้เขียนได้สะท้อนภาพของคนอีสานที่ไปอยู่ไกลบ้านในเมืองกรุง และ พอได้ยิ น เสีย งแคนดังออกมาจากที่พักในเมืองหลวงทาให้ คิดถึงบ้านและยัง สะท้อนกลับไปถึงคนเป่าแคนที่กล้าเป่าแคนซึ่งเสมือนเป็นตัวแทนคนอีสานที่ เป็ น ภาคแรงงาน โดยไม่ไ ด้ ส นใจว่ า จะมี ใ ครมาดูถู ก แต่ กล้ า ที่ เป่ า เสี ย งแคน ออกมาเพื่อสะท้อนและบ่งบอกว่าคิดถึงบ้านเพียงใด นอกจากนั้น ไพวรินทร์ ขาวงาม กวีซีไรต์และศิลปินแห่งชาติ ชาว จังหวัดร้อยเอ็ด ยังเคยเขียนถึงเพลงนี้เอาไว้ในคอลัมน์หนังสือพิมพ์คมชัดลึกเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2552 ว่า “เสียงแคนจากแมนชัน” ชื่อเหมือนบทกวี แต่นี่ เป็ นชื่อเพลงลูกทุ่ง ขับ ร้องโดย ไหมไทย ใจตะวัน เป็นเพลงไม่ดังแรง


7

193

เท่ากับ “กับคนนั้นถึงขั้นไหน” หรือ “ใจบ่มักดี” แต่มักถูกพูดถึงอย่างชื่นชม ในหมู่ผู้ลุ้นให้วงการเพลงลูกทุ่งพัฒนาขึ้น แทนจะมีแต่เพลงรักเพลงใคร่ ชิงรัก หักสวาท ด่ากันไปด่ากันมา เริ่มมีเพลงสะท้อนชีวิตและวัฒนธรรม มีความเป็น กวีมากขึ้น มีรสชาติศิลปะใหม่ ๆ ให้โลกการฟังเพลง “เสียงแคนจากแมนชัน” แต่งโดย วีระ สุดสังข์ ครูและกวีแห่งภาค อีสาน คงเพราะเป็นเพื่อนกับ สลา คุณวุฒิ จึงได้รับโอกาสนี้ ตั้งแต่สมัยแต่ง เพลง “ก่ า แพงปริ ญ ญา” ให้ ต่ า ย อรทั ย ซึ่ งแสดงให้ เห็ น ว่า ครูส ลาเองก็ พยายามเอื้อโอกาสเพื่อนหลายคนซึ่งมีความเป็นกวี แม้ว่าเพลงที่มีความเป็น บทกวี อาจฟังยากและเป็นจุดขายน้อยแต่ถึงจุดหนึ่งแล้ว เพลงแบบนี้จะเป็น เสน่ห์ และสามารถยกระดับพัฒนาทั้งตัวนักร้อง ค่ายเพลง และวงการเพลง ลูกทุ่ง วีระ หรือในอดีตใช้นามปากกา ฟอน ฝ้าฟาง ร่วมยุคกับ ซึ้ง ซมซาน (ทั้งฝ้าฟาง ทั้งซมซาน อะไรจะปานนั้น) เขาเองเป็นเพื่อนผมด้วย ตอนเพลง ชุดนี้วางแผงใหม่ ๆ เขารีบส่งข่าวให้ผมซื้อฟัง ผมฟังแล้วออกปากชม นี่เป็น เพลงที่ดี นี่เป็นเพลงที่จะดังในอนาคต เขาแอบส่งข่าวบ่อย ๆ เพลงของเขามา แรง ติดอันดับโน่นอันดับนี่ ก็ได้แต่ปลื้มใจไปกับเขา ตามประสาคนที่นาน ๆ แต่งเพลงที ย่อมตื่นเต้นเป็นธรรมดา ย่อมแอบลุ้นเป็น เหมือนผมนั่นแหละ มี เพลง “ไหมแท้ทีแม่ทอ” ขับร้องโดย ต่าย อรทัย เพลงเดียว ก็ตื่นเต้นไม่รู้หยุด ไม่รู้หย่อน ไม่รู้ว่าเพื่อนที่แต่งเพลงดัง ๆ เยอะ ๆ จะตื่นเต้นแบบนี้ไหม “เสียงแคนจากแมนชัน” เพียงชื่อก็บอกเรื่องเล่า แคนคือชนบท แคน คืออีสาน แมนชั่นคือเมืองหลวง สองสิ่งนี้เหมือนขัดแย้ง แต่กลับกลมกลืนกันอยู่ ในที โดยเฉพาะโลกสมัยใหม่กับเมืองที่เคลื่อนเปลี่ยนชนบทกับเมืองให้คละเคล้า


194 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

กัน สมัยอยู่เมืองหลวง ผมเองเคยอาศัยแมนชั่น แม้ไม่เคยได้ยินเสียงแคน แต่รู้ ว่ามีคนบ้านเดียวกันร่วมอาศัยอยู่มาก บางวันได้ยินเสียงหมอลา บางวันได้กลิ่น ปลาร้าถึงส่วนตัวจะไม่ได้ทักทายกันสนิทสนม แต่เสียงและกลิ่นเหล่านี้ สามารถ ทาให้เราถูกชะตากันได้ง่าย หลายปีที่แต่งกลอน ผมสะท้อนเรื่องราวทานองนี้ บ่อย ๆ จนกลายเป็นแนวทางหนึ่งระหว่างเมืองและชนบท เช่น “เขาร้องเพลง ลู ก ทุ่ ง ให้ เ มื อ งฟั ง ” “สาวอี ส านในร้ า นอาหารญี่ ปุ่ น ” ฟั ง “เสี ย งแคนจาก แมนชั่น” แล้ว ซึ้งครับ คิดถึงบ้าน ดีใจกับเพื่อนทุกคนที่อยู่เบื้องหลัง รวมทั้ง ไหมไทย ใจตะวัน นักร้องหนุ่มผู้มีโอกาสกับเพลงนี้ และขับร้องได้อย่างมีเสน่ห์ นี่คือบางบทบางตอนที่แคนเป็ น เครื่ องดนตรีที่ส ะท้อนถึงความเป็น อีส านและลาวที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปั จ จุบั น และยังคงมีมนต์เสน่ห์ เข้มขลั ง มีพ ลั ง ในศิล ปวั ฒ นธรรมอยู่ ข ณะนี้ โ ดยไม่ส ามารถแยกขาดจากกั น ได้ และ ยิ่งนับวันเสียงแคนก็ยิ่งดังไปไกลสุดขอบโลก ไปเป่าที่ไหนเสียงแคนก็ทาให้มีคน ลุกขึ้นฟ้อน ลุกขึ้นราแทบทั้งนั้น และแคนยังมีการนาไปใช้ประกอบในพิธีกรรม ต่าง ๆ ตามความเชื่อ ทั้งพิธีกรรมในการรั กษาฮีต 12 ของคนอีส าน และ พิธีกรรมการรักษาเยียวยาของคนอีสานอีกด้วย


แคนในฮูปแต้มอีสาน 1 ณัฐพงค์ มั่นคง 2 แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีความเป็นมายาวนาน ปรากฏในทวีปเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น จีน ลาว ไทย เวียดนาม ซึ่งมีหลักฐานบ่งชี้ว่า แคนเป็น เครื่ องดนตรี ที่มีอายุย าวนาน คือ ภาพคนเป่ าแคนบนลายกลองมโหระทึกที่ ค้นพบในประเทศเวียดนาม เป็นกลองมโหระทึกในวัฒนธรรมดองซอนมีอายุถึง 2,000 - 3,000 ปี ภาพคนเป่าแคนที่ปรากฏบนกลองมโหระทึกนี้ เป็นภาพแคน ที่ใช้เป่าประกอบในพิธีกรรมทางความเชื่อของคนสมัยก่อน กล่ าวคือ ใช้เครื่อง ดนตรีเป็นสิ่งสื่อสารกับเทพเจ้าหรือภูตผีมาแต่ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน (ภาพลายเส้นคนเป่าแคนบนกลองมโหระทึก ที่พบในประเทศเวียดนาม ที่มา : https://www.matichonweekly.com/ column/article_38858)

1 2

ในบทความนี้ ใช้ “ฮูปแต้ม” เป็นหลัก ความหมายเดียวกับ “จิตรกรรม” หรือ รูปวาด ช่างศิลป์ ประจาพิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม กรรมการดาเนินงานจัดพิพิธภัณฑ์ วัดมณีวนาราม


2

196 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว ความหมายของแคน ค าว่ า “แคน” ในภาษาไทยอี ส าน มี ค วามหมายหลายประการ ใน หนังสือเรื่อง แคน นิพนธ์ในสมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณกมหาเถร ป.ธ.9) อธิบายว่า 1. แคน เป็ น ชื่อของต้น ไม้ ตรงกับ ภาษาไทยภาคกลางว่ า “ตะเคียน” ต้นแคน = ต้นตะเคียน, วังแคน = วังตะเคียน (คือวังน้าในลาห้วย ที่มีต้น ตะเคีย นขึ้น อยู่ใกล้ ), หนองแคน = หนองตะเคียน, บ้านแคน = บ้าน ตะเคียน 2. แคน หมายความว่าขาดเขิน เช่น “คนมีแฮ่งได้คนไฮ้แฮ่ง แคน” = คนยิ่งมีก็ยิ่งได้ คนยิ่งไร้ก็ยิ่งแคลน 3. แคน หมายความว่าค่อยยังชั่ว หรือค่อยทุเลาเบาบางลง เช่นถามถึงคนไข้ว่า “พ่อใหญ่เจ้าเป็นจั่งใด๋?” ตอบว่า “ค่อยยังแคนแด่หล่ะ” “ไคชั่ ว แด่ ล่ ะ ” หรื อ “บ่ ฮ้ า ยแด่ ล่ ะ ” ตรงกั บ ภาษาไทยภาคพายั พ ว่ า “ยังแควน” หรือ “ค่อยยังแควน” ภาษาไทยภาคกลางว่า “ค่อยยังชั่ว” 4. แคน เป็นชื่อของเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ใช้เป่าเป็นเพลง ทา ด้ว ยไม้ ช นิ ด หนึ่ ง เรี ย กว่ าไม้ กู่ แ คน เป็ น ตระกู ล ไม้ ไผ่ เข้ า ใจว่า เป็ น ไม้ ช นิ ด เดียวกันกับที่ภาคกลางว่า “ไม้ซาง” (สมเด็จพระธีรญาณมุนี, 2520 : 41 - 42)


1973

(ฮูปแต้มภายในหอพระบาท วัดทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ตอนแห่ศพพราหมณ์ชูชกไปเผา)

เป็นที่ยอมรับกันว่า แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีอิทธิพลต่อชาวอีสานและ ผู้คนแถบลุ่มแม่น้าโขงมาเนิ่นนาน แคนปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นที่มีผู้เขียน ขึ้นในรู ปนิทาน บันทึกเหตุการณ์ ตานาน เรื่องเล่าต่าง ๆ แคนได้นามาเป่า บรรเลงในงานพิธีกรรม งานบุญประเพณีต่าง ๆ แคนเป็นส่วนประกอบสาคัญ ของการ “ลา” สร้างความบันเทิงให้แก่ผู้คน แม้กระทั่งเมื่อช่างเขียน ช่างวาด ทาหน้าที่ถ่ายทอดเรื่องราวเป็นภาพจิตรกรรมตามวัดวาอารามรูป “แคน” ก็ ปรากฏขึ้น เป็ นส่ วนหนึ่งของเรื่ องราวที่ถ่ ายทอดออกมาเรี ยกว่า “จิตรกรรม ประเพณี ” และมีผู้ พบเห็ น ได้เสนอออกมาให้ ป รากฏในลั กษณะรูปถ่ายบ้าง เขียนเป็นหนังสือ และจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มบ้าง อย่างไรก็ตามจากการที่ผู้เขียน ได้เดินทางเพื่อเรียนรู้ในประเด็นต่าง ๆ จากวัดในภาคอีสาน ได้พบฮูปแต้มบน ฝาผนังสิม (อุโบสถ) และฮูปแต้มบนผ้าผะเวสจานวนหนึ่ง เห็นความน่าสนใจ ด้านฝีมือเชิงช่างในการนาเรื่องราววรรณกรรมท้องถิ่นมาถ่ายทอด บทความนี้ จึงมุ่งนาเสนอเรื่องราวของแคนที่ปรากฏในสิมและผ้าผะเหวดเป็นสาคัญ


198 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

แคนที่ปรากฏในฮูปแต้ม ฮูปแต้ม หรือจิตรกรรมฝาผนังของภาคอีสาน ได้ปรากฏรูปแคนอยู่ เป็นจานวนไม่น้อยตามฝาผนังภายในสิมโบราณ (อุโบสถหรือโบสถ์) หรือบน ผ้าพระเวส3 ซึ่งใช้แคนเป็นเครื่องละเล่น เสพงันในงานต่าง ๆ เช่น การลงข่วง งันเฮือนดี ประกอบการขับลา การแห่แหน เป็นต้น ข้อมูลภาพแคนที่ปรากฏใน ฮูปแต้ม และผ้าพระเวส ที่ผู้เขียนได้ไปสารวจวัดในแถบจังหวัดอุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม และขอนแก่น ในระยะ 4 ปีที่ผ่านมาพบฮูปแต้มภายใน สิม มีทั้งสิ้น 14 วัด ผ้าพระเวส 4 วัด และพิพิธภัณฑ์ในสถาบันการศึกษา 1 แห่ง จาแนกตามจังหวัด ดังนี้ 1. จังหวัดอุบลราชธานี พบจานวน 8 วัด เป็นฮูปแต้มบน ฝาผนั ง มี 3 วั ด ในเขตอาเภอเมื องอุบ ลราชธานี ได้แ ก่ วัด ทุ่ง ศรีเ มือ ง วั ด นาควาย วัดหนองมะนาว ผ้าพระเวสมี 4 วัด ในเขตอาเภอเขื่องใน ได้แก่ วัด บ้านนาซาว วัดบ้านกลางใหญ่ วัดบ้านโพนทราย และวัดบ้านขวาว และมีกรณี พิเศษอีก 1 วัด คือ วัดนาคาใหญ่ อาเภอเขื่องใน เป็นฮูปแต้มลายรดน้าบน ธรรมาสน์ 2. จั งหวัดร้ อยเอ็ด พบจ านวน 4 วัด ได้แก่ วัดกลาง มิ่งเมืองกับวัดประตูชัย ในเขตอาเภอเมือง วัดจักรวาลภูมิพินิจ (วัดบ้านหนอง หมื่นถ่าน) อาเภออาจสามารถ และวัดเปลือยใหญ่ อาเภอสุวรรณภูมิ ปรากฏ เป็นฮูปแต้มบนฝาผนังทั้งหมด

3

บ้างก็เขียน “ผ้าผะเหวด”


5

199

3. จังหวัดมหาสารคามพบจานวน 3 วัด ได้แก่ วัดยางทวง วราราม (วัดบ้านยาง) อาเภอบรบือ วัดโพธารามและวัดป่าเลไลย์ อาเภอนาดูน เป็นฮูปแต้มบนฝาผนังทั้งสามวัด 4. จังหวัดขอนแก่นมี 3 วัด ได้แก่ วัดไชยศรี อาเภอเมือง วัดสนวนวารีพัฒนาราม อาเภอบ้านไผ่ และวัดสระบัวแก้ว อาเภอหนองสอง ห้องและพบเป็นผ้าพระเวส จานวน 1 ผืน จั ดเก็บรักษาในอาคารพุทธศิลป์ ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาพปรากฏของแคนในฮูปแต้ม ฮูป แต้มในสิ มอีส านที่มีรู ป แคนนั้ น เป็นวรรณกรรมพุทธศาสนาทั้ง พุทธประวัติ วรรณกรรมชาดก และวรรณกรรมประโลมโลก ฉากเหตุการณ์ที่ นามาวาด มักเป็นตอนสาคัญในเรื่อง ส่วนผ้าพระเวสเป็นเรื่องมหาเวสสันดร ชาดก 13 กัณฑ์เพียงเรื่องเดียว มีรายละเอียดพอสังเขปดังนี้ 1. ฮู ป แต้ ม แคนที่ พ บมี 4 เรื่ อ ง คื อ มหาเวสสั น ดรชาดก พุทธประวัติ สังข์ศิลป์ไชย พระลักพระลาม โดยเรื่องมหาเวสสันดรมีจานวน การวาดมากที่ สุ ด เป็ น ตอนลงข่ ว งงานศพพราหมณ์ ชู ช ก และตอนแห่ พระเวสสันดร พระนางมัทรี และกัณหาชาลีเข้าเมือง แหล่งที่พบมีดังนี้ จังหวัดอุบลราชธานี พบที่ วัดทุ่งศรีเมืองและวัดหนองมะนาว อาเภอเมือง อุบลราชธานี วัดบ้านนาซาว วัดบ้านกลางใหญ่ วัดบ้านโพนทราย วัดบ้านขวาว อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี


6

200 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว จังหวัดร้อยเอ็ด พบที่ วัดกลางมิ่งเมือง วัดประตูชัย อาเภอเมือง วัดจักรวาลภูมิพินิจ อาเภออาจสามารถ วัดเปือยใหญ่ อาเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดมหาสารคาม พบที่ วัดยางทวงวราราม อาเภอบรบือ วัดโพธาราม วัดป่าเรไรย์ อาเภอนาดูน จังหวัดขอนแก่น พบที่ วัดสนวนวารีพัฒนาราม อาเภอบ้านไผ่ เรื่อง พุทธประวัติ พบที่วัดนาควาย เป็นฮูปแต้มหมอลา หมอแคน ตอนพระพุทธเจ้าชนะมาร เรื่อง สินไซ (สังข์ศิลป์ไชย) พบที่วัดไชยศรี ตาบลสาวะถี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่องพระลัก พระลาม พบที่วัดสระบัวแก้ว อาเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ดังภาพ

(ฮูปแต้มวัดทุ่งศรีเมือง ฉากหนุ่มสาวลงข่วงเข็นฝ้ายเป่าแคน เสพงันศพพราหมณ์ชูชกซึ่งอยู่ ด้านบนของภาพ)


7

201

ฉากฮูปแต้มเรื่องพระมหาเวสสันดรที่ปรากฏภาพแคนนั้น ส่วนใหญ่ เป็นตอนแห่พระเวสสันดรกลับพระนคร แต่ในฮูปแต้มวัดทุ่งศรีเมืองจะพิสดาร กว่าทุกวัดกล่าวคือจะเห็นการใช้แคนในตอนลงข่วงเสพงันศพพราหมณ์ชูชก ฉากแห่ศพพราหมณ์ออกไปเผา และตอนแห่พระเวสสันดรกลับพระนครสีพี เชตุดร ซึ่งเมื่อศึกษาเหตุการณ์ตอนนี้จากวรรณกรรมเรื่อง เวสสันดรคาโคลง อีสาน ฉบับปรีชา พิณทอง พบว่า มีความสอดคล้องกันเพราะได้กล่าวถึงแคน และการละเล่นเสพงัน ตอนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีกลับพระนครอย่าง ไพเราะว่า คื่นคื่นก้อง หิมพานต์ไพร ฟังยินสวนไลเล่น กลองและฆ้อง บางพ่องตีเขียะเต้น บางพ่องตามแส่งฟ้อน เสนาฮ้อง ทางใหญ่กว้างเต็มด้าว ฝูงหมู่พลหลวงย้าย เสียงเกลื่อนก้อง

กงราชเขาขวาง มือควันคุมด้าว เพลงระบาแกมปี่ แคนไค้ขลุ่ยซอ ตามกลองฟ้อนแหย่ง ละครเหล้นลิเก กลองยาวเยื้อนย่าง คั่งแดน ยามงายพรากเถื่อน แตรเกี้ยวกล่อมสังข์” (ปรีชา พิณทอง, 2525 : 404)


202 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

(ฮูปแต้มผ้าพระเวสที่เก็บรักษาใน อาคารพุทธศิลป์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตอนแห่พระเวสสันดรกลับพระนคร)

ฮูปแต้มวัดโพธาราม แม้จะเป็นเรื่องมหาเวสสันดร แต่ก็ได้นาวิถีชีวิต ชาวอีสานด้านการลงข่วงมาแต้มลงด้วย จึงทาให้มีภาพแคนปรากฏอยู่ เพราะ วิถีการลงข่วงนั้น ชายหนุ่มจะมาเป่าแคนเกี้ยวหญิงที่ปั่นฝ้าย อิ้วฝ้ายที่ข่วง เกิด บรรยากาศที่สนุกสนานในขณะทางาน (ฮูปแต้มวัดโพธาราม เรื่อง พระเวสสันดร ปรากฏฉากบรรยายชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนในเมืองเชตุดร)

ฮูปแต้มเรื่องพุทธประวัติที่วัดนาควาย จังหวัดอุบลราชธานีนั้น จะมี ความโดดเด่นเป็นพิเศษ กล่าวคือ การแต้มฮูปหมอลา หมอแคนไว้ส่วนหน้าสิม เป็นตอนพระพุทธเจ้าผจญมารเป็นที่น่าสังเกตว่า หญิงที่หมอแคนเป่าให้ลานั้น ไว้ผมปีกคล้ายสตรีภาคกลางสมัยโบราณ


2039

(ฮูปแต้มหมอลาหมอแคนที่ผนัง ด้านหน้าสิมวัดบ้านนาควาย จ.อุบลราชธานี)

ขณะที่ฮูปแต้มของวัดสระบัวแก้ว ที่แต้มเรื่องพระลักพระลามนั้น จะ ปรากฏแคนในตอนที่ เ สนาอ ามาตย์ ไ ปขอนางค าซาวและนางแอกไค้ ม าให้ พระลักพระลามและตอนที่ท้าวราบพนาสวน (ทศกัณฐ์) ไปขอนางจันทามาเป็น เมีย ฮูป แต้มเรื่องสิ นไซของวัดไชยศรี ปรากฏแคนในตอนที่ไปแห่สิ นไซ กลับพระนครมีการหยอกล้อของหนุ่มสาวสมัยก่อน ซึ่งก็คล้ายคลึงกับฮูปแต้ม ของเรื่องพระเวสสันดรตอนแห่พระเวสกลับพระนคร

(ฮูปแต้มวัดจักรวาลภูมิพินิจ เรื่องสินไซ ฉากในวังพญากุสลาด)


10

204 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(ฮูปแต้มวัดไชยศรี จ.ขอนแก่น เรือ่ งสินไซ ตอนแห่สินไซเข้าเมือง)

(ฮูปแต้มเรื่องพระลักพระลาม วัดสระบัวแก้ว อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น ตอนท้าวฮาบพะนาสวนไปโอมนางจันทา)

(ฮู ป แต้ ม เรื่ อ งพระลั ก พระลาม วัด สระบั ว แก้ว อ.หนองสองห้ อ ง จ.ขอนแก่น ตอนเสนาไปโอมเอานางคาซาวกับ นางแอกไค้ให้พระลักพระลาม)


11

205

ลักษณะของแคนที่พบในฮูปแต้ม ในหนั ง สื อ เรื่ อ งแคน ดนตรี พื้ น เมื อ งภาคอี ส านของบุ ญ เลิ ศ จั น ทร อธิบายลักษณะของแคนและประเภทของแคนว่า “...แคน ถ้ า จั ด แบ่ ง ประเภท ตามลั ก ษณะการใช้ ง านเพื่ อ บรรเลง ประกอบการขับร้องขับลา และการประสมวงเป็นวงดนตรีแล้วก็แบ่งได้ 3 ประเภทคือ 1. ประเภทแคนเดี่ยว 2. ประเภทแคนวง 3. ประเภทแคนวงประยุกต์...” (บุญเลิศ จันทร, 2531 : 43) เมื่อพิจารณาฮูปแต้มอีสานที่ปรากฏภาพแคนนั้นพบว่า เป็นประเภท แคนเดี่ยว ที่นิยมใช้ขับลาทั้งหมด และเป็นฮูปแต้มแคนที่ต่อตีนออกมา ซึ่งเป็น ลักษณะแคนโบราณ ที่นิยมทาในสมัยก่อนเพื่อเป็นที่ค้าตัวแคนไม่ให้สัมผัสกับ พื้นดินโดยตรง แคนลักษณะนี้พบในฮูปแต้มฝาผนังวัดสระบัวแก้ว วัดไชยศรี วัดโพธาราม วัดยางทวงวราราม วัดหนองมะนาว และฮูปแต้มผ้าพระเวสที่เก็บ ในอาคารพุทธศิลป์ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ภาพถ่ายเก่าที่แสดงให้เห็นตีนแคนที่ต่อ ออกมาจากส่วนล่างสุดของกู่แคน เพื่อกันไม่ให้แคนสัมผัสกับพื้นโดยตรง ที่มา : https://board.postjung.com/ 1051131.html)


206 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

(ฮูปแต้มในหอแจกวัดหนองมะนาว จ.อุบลราชธานี แสดงให้เห็นตีนแคน ที่ต่อออกมา)

(ฮูปแต้มวัดยางทวงวราราม แสดงให้เห็นตีนแคนที่ต่อออกมา)

สมัยก่อนแคนที่ใช้กันมากคือแคนหกและแคนเจ็ด ส่วนแคนแปดและ แคนเก้ านั้ น พึ่ งพัฒ นาขึ้น มาใหม่ เมื่อไม่น านมานี้ เอง ดั งนั้นแคนที่มั กพบใน ภาพถ่ายเก่า ๆ ส่วนใหญ่เป็นแคนเจ็ดเกือบทั้งหมด ลักษณะการแต้มฮูป 1. การใช้เส้นในการแต้มฮูป ฮูปแต้มอีสานส่วนใหญ่เป็นแบบพื้นบ้าน ที่ได้รับอิทธิพลของช่างพื้นเมืองและช่างพื้นเมืองก็ได้รับอิทธิพลของช่างหลวง มาอีกทอดหนึ่ง ในเฉพาะเรื่องแคนนั้นช่างแต้มอีสานประดิษฐ์เพิ่มเติมขึ้นมา ให้เข้ากับวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่ในภาคกลางไม่นิยมวาดแคนเป็น


13

207

เครื่ อ งดนตรี ป ระกอบและฮู ป แต้ ม ของวั ด ทุ่ ง ศรี เ มื อ งเป็ น ฮู ป แต้ ม ของช่ า ง พื้นเมืองที่รับอิทธิพลช่างหลวงมา พิจารณาจากการใช้เส้นรูปทรงที่งดงามอย่าง ภาคกลาง ดังภาพ

(ฮูปแต้มวัดทุ่งศรีเมือง ตอนเชิญพระเวสกลับนคร)

2. การใช้ สี ข องฮู ป แต้ ม ส่ ว นใหญ่ นั้ น ฮู ป แต้ ม อี ส านจะใช้ สี ค ราม เป็ น หลั กเพราะเป็ น วัต ถุดิบ ที่ห าได้ง่ ายในท้องถิ่น ส่ ว นของฮูปแต้มแคนนั้ น ส่วนมากช่างแต้มจะใช้สีเหลืองหรือใช้สีพื้นของผนังตัดแค่เส้นสีดาเป็นรูปทรง ของแคนขึ้นมา ดังภาพของฮูปแต้ม วัดยางทวงวราราม อาเภอบรบือ จังหวัด มหาสารคาม

(ฮูปแต้มวัดยางทวงวราราม ตอนแห่ พระเวสเข้าเมือง แสดงให้เห็นว่า ช่างแต้มใช้สีครามเป็นส่วนมาก)


208 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

14

3. แคนกับ องค์ป ระกอบต่าง ๆ ในฮูป แต้ม เมื่อมี ห มอแคนก็ต้องมี หมอลาหรือหมอฟ้อนเป็นองค์ประกอบของการละเล่นของคนสมัยก่อน ที่สื่อ ผ่านทางจิตรกรรมฮูปแต้มและไม่เพียงเท่านั้น ยังมีเครื่องดนตรีอื่น ๆ เข้ามา ประกอบ เช่น ระนาด พิณ ซอ กลอง ฉิ่ง ฉาบ มาประกอบเป็นวงดนตรีที่ปรากฏ ให้เห็นในตอนแห่พระเวสเข้าเมือง ดังฮูปแต้มบนผ้าพระเวสของบ้านโพนทราย

(ฮูปแต้มผ้าพระเวส บ้านโพนทราย ที่แสดงให้เห็น เครื่องดนตรีอื่น ๆ เข้ามา ประกอบ)

สรุป จิตรกรรมฮูปแต้มอีสานเป็นสิ่งที่สื่อให้เห็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ในภาคอีสานสมัยก่อนผ่านวรรณกรรมนิทานและพุทธประวัติ ซึ่งช่างแต้มจะ แทรกกิจกรรมต่าง ๆ ของคนอีสานไว้ เช่น การค้าขาย การทาไร่ไถนา การล่าสัตว์ การละเล่นดนตรี ฟ้อนรา และขับลา เป็นต้น ในการละเล่นของคนอีสานนั้น ต้องมีแคนเป็นเครื่องดนตรีหลักที่ขาดไม่ได้ แคนจึงเป็นที่นิยมทุก ๆ พื้นที่ของ ภาคอีสาน ช่างแต้มก็มักจะแต้มรูปคนเป่าแคนการฟ้อนราเกี้ยวพาราสีกัน ในส่ ว นที่ ผู้ เขี ย นได้ ศึ กษาเรื่ อ งแคนจากจิ ต รกรรมฮู ป แต้ ม อี ส านนั้ น ก็ได้เห็นการใช้แคนในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ปรากฏ คือ การลงข่วง การงันเฮือนดี


15

209

การขับล า การแห่แหนเป็นขบวน และการเป่ าแคนประกอบกับดนตรีอื่น ๆ รวมถึงลักษณะของแคนที่ต่อตีนออกมา ซึ่งมีภาพถ่ายเก่าแสดงให้เห็นว่า แคน ในสมัยก่อนมีหลากหลายลักษณะ แต่ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมแล้วและไม่มี คนทาแคนลักษณะเช่นนี้เลย เพราะการใช้แคนในสมัยก่อนมักนั่งเป่าบนพื้น หมอลาก็มักจะนั่งลา แคนจึงต้องต่อตีนเพื่อเป็นการเสริมความสูงของแคนจาก พื้นดินและไม่ให้แคนสัมผัสกับพื้นโดยตรงนั่นเอง การศึกษาเรื่ องแคนนี้ ผู้ เขีย นเองก็ไม่สู้ จะมี ความรู้มากนัก อาศั ย ความชอบในเรื่องฮูปแต้มและศิลปะประกอบกับที่ตนเป็นหมอแคนชอบการเป่า แคน จึงพยายามศึกษาค้นคว้าในไว้ส่วนนี้ อย่างไรก็ตามแคนเป็นเครื่องดนตรีที่ เก่ า แก่ มี ก ารใช้ ม าแต่ ดึ ก ด าบรรพ์ ยั ง มี มิ ติ มุ ม มองต่ า ง ๆ ให้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า อีกมากมายหลาย ๆ เรื่องที่เรายังไม่ทราบแน่ชัด จึงขอเชิญชวนให้ผู้สนใจศึกษา เพิ่มเติมต่อไป ข้อเขียนในบทความนี้หากมีข้อผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนใคร่ขออภัย ไว้ ณ ที่นี้ เพราะยังมีความรู้น้อยประกอบกับการใช้เวลาเรียบเรียงไม่มากนัก บรรณานุกรม บุญเลิศ จันทร. (2531). แคน ดนตรีพื้นเมืองภาคอีสาน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ปรีชา พิณทอง. (2525). เวสสันดรคาโคลงอีสาน. อุบลราชธานี : ศิริธรรม. สมเด็จพระธีรญาณมุนี. (2520). แคน สมเด็จพระธีรญาณมุนี วัดจักรวรรดิ ราชาวาส เรียบเรียง คณะศิษยานุศิษย์ จัดพิมพ์ในงานบาเพ็ญกุศล อายุครบ 80 ปี สมเด็จพระธีรญาณมุนี ปุณฺณกมหาเถร 16 3 – 5 เมษายน 2520. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์. อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย. (2551). ซ่อนไว้ในสิม : ก – อ ในชีวิตอีสาน (Hidden Treasures). กรุงเทพฯ : ฟูลสต๊อบ.


2

(แคนของหลวงที่จัดแสดง ณ พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)


จิตรกรรมเทวดาเป่าแคน ในวัดบวรนิเวศวิหาร กับสายธารประวัติ “พระคณะลาว” แห่งธรรมยุติกนิกายยุคแรก พระวโรตม์ ธมฺมวโร 1 บทคัดย่อ ภาพจิตรกรรมเทวดาเป่าแคนในหมู่เทพชุมนุม เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ปรากฏอยู่ ภ ายในวิห ารพระศาสดา วั ดบวรนิ เวศวิห าร การศึกษาประวัติ ความเป็ น มาของการเล่ น แอ่ว ลาวเคล้ า แคน ย่ อมทาให้ เห็ น ความนิ ย มและ อิทธิพลของการเป่าแคนเล่นแอ่วลาวในยุครัชกาลที่ 3 - รัชกาลที่ 4 ที่เคยเฟื่องฟู ในกรุ งเทพ แม้ ต่อมาจะมีพระบรมราชโองการจากพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อห้ามการ “แอ่วลาว เล่นแคน” แต่เพราะความไพเราะและ ความสนุ กสนาน ประชาชนจึ งปรั บ ปรุงจากแคนมาเป็น ซออู้จนกลายเป็น การเล่น “แอ่วเคล้าซอ” นอกจากนี้ภาพจิตรกรรมยังทาให้เห็นความสัมพันธ์ ของ “พระคณะลาว” วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งนับว่าเป็นกลุ่มพระธรรมยุติกนิกาย ในยุคแรกเริ่มด้วย พร้อมกับ ร่องรอยชุมชนลาวเวียงใกล้เขตวัดบวรนิเวศวิหาร ที่แม้ว่าจะมีหลักฐานอยู่น้อยนิด แต่ก็นับว่าเป็นการบันทึกประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมในยุคนั้นที่อาจจะเลือนรางไปสิ้นแล้วลงในภาพจิตรกรรม ก่อนที่ พระคณะนี้จะย้ายไปครองวัดปทุมวนารามในเวลาต่อมาและสืบสายอิทธิพล

1

นักวิชาการอิสระ วัดบวรนิเวศวิหาร


212 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

2

วัฒนธรรมลาวในวัดนั้น อันเป็นวัดในเขตชุมชนชาวลาว รวมทั้งแสดงให้เห็นว่า วัดบวรนิเวศวิหารเป็นจุดศูนย์รวมพหุวัฒนธรรมอย่างแท้จริง คาสาคัญ : แคน, จิตรกรรมฝาผนัง, เทวดาเป่าแคน, วิหารพระศาสดา, วัดบวร นิเวศวิหาร, ธรรมยุติกนิกาย, พระคณะลาว Abstract The depictions of devas assembly paying homage to the Buddha can be seen on the internal walls of the Phra Sasada Monastery. This study shows the popularity of the practice of playing Khaen along with traditional Laos folk songs that was flourishing during the reign of King Rama 3 to Rama 4 . Later forbidden by King Rama 4, this practice still managed to survive by Thai locals who greatly enjoyed its musicality and adapted it into a play of Laos traditional folk songs with the Thai traditional fiddle called Sor. In addition to this, the mural shows a relationship between the early Laos Buddhist monks of Dhammayut Order at Bowonnives Viharn temple and the Laos community around the monastery which, despite being scant in quantity, is a good depiction of a disappearing history and culture at that period before these Laos Buddhist monks moved to Patumwanaram temple established Laos influence there.


3

213 keywords : Khaen, mural painting, Bowonnives Viharn temple, Dhammayuttika Nikaya the thai’s monk order, Loa monk’s group วัดบวรนิเวศวิหาร ศูนย์รวมพหุวัฒนธรรม วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร พระอารามต้ น ก าเนิ ด แห่ ง ธรรมยุติกนิกายสถาปนาโดย สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหา ศัก ดิ พ ลเสพ เป็ น แหล่ ง รวม ศิ ล ปกรรมหลากเชื้ อ หลาย ชาติ ทั้ ง ศิ ล ปกรรมแบบจี น (วิหารพระศาสดา) ตามพระราชนิยมรัชกาลที่ 3 แบบไทยตามประเพณีและสถาปัตยกรรมยุโรปที่กาลังเฟื่องฟูในสมัยรัชกาลที่ 6 นั บ ตั้ ง แต่ วั ด บวรนิ เ วศวิ ห ารได้ ส ถาปนามาก็ เ ป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานปู ช นี ย วั ต ถุ ปู ช นี ย สถานส าคั ญ มากมาย โดยมี วิ ห ารส าคั ญ ในเขตพุ ท ธาวาส คื อ วิ ห าร พระศาสดา ในอาคารเดี ย วกั น นี้ มี ห้ อ งด้ า นหลั ง พระศรี ศ าสดานั้ น เป็ น ที่ ประดิษฐาน “พระไสยา” เป็นพระนอนที่มีลักษณะพุทธศิลป์ที่งดงาม ที่ฝาผนัง รายล้อมด้วยจิตรกรรมฝาผนังเล่าเหตุการณ์พุทธปรินิพพาน ในส่วนผนังด้านบน มีเหล่าเทพยเจ้าเหาะมาชุมนุมประโคมดุริยางคดนตรีต่าง ๆ ถวายเป็นพุทธบูชา ในวาระสุดท้าย แต่ในหมู่เทพยดาทั้งหลายที่มาประโคมดนตรีนั้น มีภาพเทวดา อยู่ 2 องค์ที่บรรเลงเครื่องดนตรีแปลกกว่าเทวดาองค์อื่น คือ การเป่าแคน เหตุไ ฉนวั ด นี้ จึ งมี ภ าพจิ ตรกรรมเครื่ อ งดนตรี ดั งกล่ า วปรากฏอยู่ ทั้ ง ที่เ ป็ น


214 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

4

พระอารามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ผู้ที่ทรง ออกประกาศห้ามการ “แอ่วลาวเล่นแคน” และในขณะเดียวกันพระองค์ก็ทรงมี “พระคณะลาว” เป็ น ศิษย์ ห ลวงในวัดบวรนิ เวศวิห ารมาตั้งแต่ทรงผนวชอยู่ มากมาย เพราะเหตุ นี้ จึ ง ควรพิ จ ารณาช่ ว งอายุ ข องงานจิ ต รกรรมและ ความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ว่าเชื่อมโยงกับการเล่นแอ่วลาวที่เฟื่องฟูอย่างไร

(ภาพจิตรกรรมเทวดาเป่าแคนภายในวิหารพระศาสดา)

วัฒ นธรรมชาวลาวเข้ามาเขตพระราชอาณาจั กรสยามมาตั้งแต่ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ดั ง จะพบได้ จ ากบั น ทึ ก ของบาทหลวงชาวต่ า งชาติ ตั้ ง แต่ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีการแสดงหุ่นกระบอกและมโหรีลาว ส่วน ราษฎรลาวทั่วไปมีการละเล่ น พื้น บ้ านตามความนิยมของตนโดยไม่ขัดขวาง เมื่ อ คราวสมโภชพระแก้ ว มรกตในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี พ.ศ. 2322 ก็ มี หุ่ น ลาว ปี่พาทย์ลาวรวมเข้าอยู่ในการมหรสพสมโภชครั้งนั้นด้วย แต่น่าสังเกตว่ายังไม่มี การบันทึกถึงความนิยม “การแอ่วลาวเคล้าแคน” แต่อย่างใด ครั้นพระเจ้า


5

215 อนุวงศ์กรุงเวียงจันทน์ทรงแข็งเมือง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง โปรดเกล้าฯ ให้ตีกรุงเวียงจันทน์ แล้วทาการปราบปรามกบฏจนสามารถจับ เจ้าอนุวงศ์ได้เมื่อ พ.ศ. 2371 ทาให้เกิดการอพยพโยกย้ายครั้งสาคัญจากฝั่งซ้าย แม่น้าโขงสู่เขตที่ราบสูงหัวเมืองอีสาน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวลาวที่อพยพเข้ามาได้ไปอยู่ตามถิ่นฐานต่าง ๆ ดังนี้ “ครอบครัวเวียงจันทน์ครั้งนั้นโปรดเกล้าฯ ให้อยู่เมืองลพบุรี เมืองสระบุ รี เมือ งสุ พรรณบุ รี บ้ าง เมืองนครชัย ศรีบ้าง พวกเมืองนครพนม พระอินทร์อาสาไปเกลี้ ยกล่อมก็เอาไว้ที่เมืองพนัสนิคม กับลาวอาสาปากน้า ซึ่งไปตั้งอยู่ก่อน” (เจ้าพระยาทิพากรวงษ์, 2504 : 100) การอพยพชาวลาวเวียงครั้งนี้ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานบ้านเมือง ปริมาณ ประชากร เศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะความนิยมการขับร้องประกอบ กับแคน ซึ่งเรียกกันว่า “แอ่วลาวเคล้าแคน” หรือ”แอ่วลาว” เป็นที่นิยมอย่าง แพร่ ห ลายในหมู่ ช นชาวสยามทั่ วไป แม้ แ ต่ ช นชั้ น น าในยุ ค นั้ น เช่ น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดการเล่นแอ่วลาวนี้ ปรากฏใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 (2548 : 224) ความว่า “พระองค์โปรดแคนไปเที่ยวส่งตามเมืองพนัสนิคมบ้าง ลาว บ้านลาประทวนเมืองนครชัยศรีบ้า ง บ้านสีทาแขวงเมืองสระบุรีบ้าง พระองค์ ฟ้อนและแอ่วได้ชานิชานาญ ถ้าไม่ได้เห็นพระองค์แล้วก็สาคัญว่าเป็นลาว”


6

216 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ (ภาพจาก เฉลิมพระยศเจ้านาย ฉบับมีพระรูป)

(“หมอปลัดเล” ดร. แดน บีช บรัชลีย์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2349)

พระองค์ทรงโปรดแคนมาตั้งแต่ยังทรงดารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จ พระเจ้ าน้ องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุน อิศเรศรังสรรค์ (เจ้าฟ้าน้อย) ใน รัชกาลที่ 3 ปรากฏบันทึกของหมอเมื่อชาวต่างชาติเข้ามาเฝ้า ก็ทรงภูมิใจในการ ทรงแคน ถึงกับทรงแคนพระราชทานให้ ดังที่มีบันทึกว่า “เจ้ าฟ้า น้ อยทรงพาหมอปลั ดเลกั บ ภรรยาชมเครื่อ งดนตรี ชนิดหนึ่ง เป็ นเครื่องลาวที่เรี ยกว่าแคน หมอปลัดเลเคยทราบว่าแคนมีเสียง ไพเราะนัก อยากฟังจึงถามว่าใครที่อยู่ในที่นี้เป่าแคนได้บ้าง เจ้าฟ้าน้อยตรัส ตอบว่าได้ซิ และพระองค์ทรงหยิบแคนขึ้นทรงเป่า และตรัสถามหมอปลัดเลว่า ต้องการจะฟังแอ่วด้วยหรือไม่ เมื่อหมอปลัดเลตอบรับแล้ว พระองค์จึงทรงเรียก คนใช้เข้ามาคนหนึ่ง คนใช้นั้นเข้ามากระทาความเคารพโดยการคุ กเข่ากราบลง 3 ครั้งแล้วก็นั่งลงยังพื้นคอยฟังแคนอยู่ ครั้นได้จังหวะก็เริ่มแอ่วอย่างไพเราะ


7

217 จับใจดูเหมือนจะได้ศึกษามาเป็น อย่างดีจากโรงเรียนสอนดนตรีฉะนั้น ” (ส. พลายน้อย, 2553 : 50)

(หน้าปก บทแอ่วเรื่องนิทานนายคาสอน) พิมพ์เมื่อ ปีจอ พ.ศ. 2465

(ตัวอย่าง บทแอ่วเรื่องนิทานนายคาสอน พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว)

พระปรีชาสามารถในการทรงแอ่วมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ดังปรากฏเป็นหนังสือสาคัญ คือ บทแอ่วนายคาสอน ที่สมเด็จฯ กรมพระยา ดารงราชานุภาพประทานพระอธิบายไว้ว่า “พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ทรงโปรดการเล่นแอ่วลาว แลว่าทรงได้เองทั้งเป่าแคนแลขับแอ่ว ข้อที่ว่าทรง ขับ แอ่ ว เองนั้ น ก็ เห็ น จะเป็ น ความจริ ง เพราะมี ห นั ง สื อ คาแอ่ ว อยู่ใ นพวก พระสมุดของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งหอพระสมุดได้มาหลาย เล่ ม ล้ ว นเป็ น สมุ ด ขาวเขี ย นเส้ น หมึ ก ฝี มื อ อาลั ก ษณ์ ทั้ ง นั้ น บางเล่ ม ก็ มี บานแพนก” (พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว, 2465 : ก - ข) ใจความที่


218 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

8

กล่าวถึงการพิจารณาการเลือกสตรีเพศตามตาราความเชื่อของชาวอีสานหรือ ชาวลาวมาแต่โบราณ แสดงว่าทรงรอบรู้และสนพระทัยวัฒนธรรมลาวอย่างดี ทีเดียว (ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์, 2545 : 17) ในสมัยรัชกาลที่ 3 - รัชกาลที่ 4 การเล่นแอ่วลาวมีความเฟื่องฟูมาก จนแทบจะเข้ามาแทนเพลงพื้น เมือง เพราะมีความแปลกใหม่ ทั้งมีแคนเป็ น เครื่องดนตรีเดินทานองประกอบ ในขณะที่เพลงอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเพลงฉ่อย เพลงเรือคงใช้แต่เครื่องประกอบจังหวะที่ไม่มีท่วงทานองช่วย (เอนก นาวิกมูล, 2550 : 623) อีกทั้งเป็นพระราชนิยมในพระบวรราชวัง จนกระทั่ง “ชาวไทย ทั้งปวงละทิ้งการเล่นสาหรับเมืองตัว คือ ปี่พาทย์มโหรี เสภา ครึ่งท่อน ปรบไก่ สักวา เพลงไก่ป่ าเกี่ย วข้าว แลละครร้องเสี ยหมด พากันเล่ นแต่ลาวแคน ไปทุกหนทุกแห่งทุกตาบลทั้งผู้ชายผู้หญิง จนท่านที่ มีปี่พาทย์มโหรีไม่มีผู้ใดหา ต้องบอกขายเครื่องปี่พาทย์เครื่องมโหรีในที่นี้ งานโกนจุกบวชนาคก็หาลาวแคน เล่นเสียหมดทุกแห่ง ราคาหางานหนึ่งแรงถึงสิบตาลึง สิบสองตาลึง” (พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, 2541 : 193) การเล่นแอ่วลาวนี้มีความนิยมนานกว่าสิบปี จนเมื่อพระบาทสมเด็จ พระปิ่ น เกล้ าเจ้าอยู่หั ว ประชวรหนั ก จึ งมีป ระกาศพระบรมราชโองการจาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวลงประกาศมา ณ วันศุกร์ เดือน 12 แรม 14 ค่า ปีฉลู สัปตศก (พ.ศ. 2408) ให้เลิกเล่นแอ่วลาว ทรง “ขอให้งดเสีย เลิกเสียสักปีนึงสองปี เลิกดู ฟ้าฝนจักงามไม่งามอย่างไรต่อไปข้างหน้า ประกาศ อันนี้ ถ้ามิฟังยังขืนเล่นลาวแคนอยู่จะให้เรียกภาษีให้แรง ใครเล่นที่ไหนจะให้ เรียกแต่เจ้าของที่แลผู้เล่น ถ้าลักเล่นจะต้องจับปรับให้เสียภาษีสองต่อสามต่อ”


2199

(ประกาศห้ามมิให้เล่นแอ่วลาว)

เหตุที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ าอยู่หัวทรงประกาศห้ามเล่ น แอ่วลาว ก็เห็นจะด้วยทรงหวั่นเกรงว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จะทรงใช้ชาวลาวเป็นฐานกาลังในการชิงราชสมบัติ เพราะพระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความสามารถด้านการทหาร หากทรงได้กาลัง ชาวลาวเวียงในพระราชอาณาจักรก็มีความเป็นไปได้ที่การณ์จะสาเร็จ แต่ก็ทรง เกรงพระทัยพระอนุชาธิราชอยู่พอสมควรจึงทรงใช้เวลาช่วงที่พระอนุชาธิราช ประชวรหนักออกประกาศดังกล่าว ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ (อ้างแล้ว : 23) ได้เสนอแนวคิดว่า การเรียก แอ่วลาวนั้นคงเป็นการเรียกโดยผู้ที่มิใช่ชนชาติลาว โดยเรียกการขับร้องที่มีแคน เป่าประกอบว่า แอ่วลาว หรือ ลาวแคน หรือหมอลาในภายหลัง แม้จะมีนัย การเรียกอย่างดูถูกดูแคลนก็ตามจากผู้ที่อยู่ต่างวัฒนธรรม แต่ความหมายอีก


220 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

10

นัยหนึ่ง การ “แอ่ว” น่าจะหมายถึง การไปเที่ยว ตามความหมายของชาวลาว พายัพ (คือ ภาคเหนือของประเทศไทยในปัจจุบัน) เนื่องด้วยพระราชจริยวัตรใน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ชัดเจนว่าทรงโปรดการทอดพระเนตร หรือทรงแคนตามที่ ต่าง ๆ ที่เป็ น ชุมชนชาวลาว การที่พ ระองค์ทรงมีความ สามารถเชิงการประพันธ์บทแอ่วรวมทั้งทรงเข้าใจขนบประเพณีของชาวลาวได้ นั้น เพราะทรงสมาคมเข้าหาหมู่นักปราชญ์ชาวลาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระสงฆ์ ลาวที่ถูกกวาดต้อนมา กลุ่มพระลาวในกรุงเทพ การอพยพชาวลาวเวี ย งมายั ง กรุ ง เทพนอกจากจะมี อิ ท ธิ พ ลด้ า น ศิลปกรรมการดนตรีแล้ว แต่ก็ยังรวมถึงการพระศาสนาด้วย เนื่องจากก่อนหน้า นี้พระสงฆ์ฝั่งที่ราบสูงหัวเมืองภาคอีสานนั้นจะเดินทางไปศึกษาพระธรรมวินัยที่ พระนครเวียงจันทน์ เนื่องจากความสะดวกใน การคมนาคมเพราะไม่ต้องข้าม “ดงพญาไฟ” ซึ่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยอั น ตรายและไข้ ป่ า แม้ แ ต่ ขนบธรรมเนียมทางสงฆ์ในหัว เมืองอีสานก็ใช้ อย่ า งจารี ต กรุ ง เวี ย งจั น ทน์ ทั้ ง สิ้ น เมื่ อ กรุ ง เวียงจั นทน์ถูกทาลายลง ทาให้การศึกษาของ คณะสงฆ์ หั ว เมื อ งอี ส านต้ อ งเปลี่ ย นเส้ น ทาง (ตานานวัดบวรนิเวศวิหาร) การศึกษาลงสู่ กรุ งเทพแทน พระภิกษุที่ล งมา เล่าเรียนพระธรรมวินัยจะต้องเลือกวัดที่มีชื่อเสียงหรือมิฉะนั้นก็จะเลือกวัดที่มี ชุมชนชาวลาวอยู่บริเวณนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการดารงชีพตามสมณวิสัย


11

221 ตานานวัดบวรนิเวศวิหาร (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, 2465 : 15) กล่าวว่า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ทรงถวายครัว เวียงจันทน์เป็นข้าพระวัดบวรนิเวศวิหาร2 ปลูกบ้านเรือนอยู่ ณ ที่ธรณีสงฆ์ต่อ คู ด้ า นตะวั น ออกไป (ปั จ จุ บั น ขยายเป็ น แดนวั ด แล้ ว ) ตั้ ง แต่ ก่ อ นที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ครั้งยังทรงผนวชจะเสด็จมาทรง ครองวัด แสดงให้เห็นว่าบริเวณรอบวัดบวรนิเวศวิหารนี้มีชุมชนชาวลาวเวียง อาศัยอยู่เป็นพื้นมาแต่เดิม แม้ปัจจุบันจะหาชุมชนนั้นไม่ได้แล้วก็ตาม แต่สุเจน กรรพฤทธิ์ (2559 : 197 - 198) ก็ให้ร่องรอยไว้ว่า บริเวณบางขุนพรหมเคยมี ชุมชนลาวอยู่ ด้ว ย มีข้อสั น นิ ษฐานว่าชุมชนนี้ อาจเคยได้รับการอุปถัมภ์จาก เจ้าพรหมวงศ์ พระเชษฐาของพระเจ้าอนุวงศ์ด้วย สมัยที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หั วทรงผนวช เป็นระยะ เดี ย วกั บ ที่ พ ระจากภาคอี ส าน รู ป แรกที่ ป รากฏ คื อ พระสุ้ ย จากเมื อ ง อุบลราชธานีมาเล่าเรียนที่วัดสระเกศ แล้วเดินทางกลับไปเมืองอุบลช่วงปลาย รัชกาลที่ 3 ได้เป็นพระราชาคณะที่ พระอริยวงศาจารย์ ครองวัดทุ่งศรีเมือง นอกจากนี้ ยั งมีพระจากเมืองพนานิ คมและขอนแก่น ลงมาศึกษาเล่ าเรียนที่ กรุงเทพเป็นระยะ หลังจากนั้นก็หาหลักฐานยากลาบากนัก เว้นแต่ “พระลาว” ที่ลงมาแปลงเป็น “พระคณะธรรมยุตติกา” ยุคแรกที่เริ่มมีหลักฐานปรากฏ 2

มีพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (2457 : 35) ว่า “เลก พระเหล่ า นี้ เ มื่ อ อยู่ เ วี ย งจั น ท์ เ ป็ น ข้ า พระของพระบาง เมื่ อ วั ง น่ า (สมเด็ จ พระบวร ราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ) ทรงกวาดต้อนชาวลาวเข้าได้ถวายวัดบวรสถาน (สุทธาวาส) บ้าง วัดบวรนิเวศวิหารบ้าง ตัวเลกเดิมก็ตายเกือบหมดแล้ว”


222 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

12

พระลาวครองอย่างมอญ ในระยะเดียวกันนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรง ผนวช ประทับอยู่ที่วัดมหาธาตุบ้าง วัดสมอราย (คือ วัดราชาธิวาส) บ้าง ได้ทรง ริเริ่มการประพฤติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัดขึ้น ทรงแสวงหาวิธีปฏิบัติ ที่ ท รงพิ เ คราะห์ แ ล้ ว ว่ า ถู ก ต้ อ งตามพุ ท ธบั ญ ญั ติ เช่ น การประพฤติ ต าม พระวินัยให้มั่นคง การห่มผ้าแหวกอย่างพระรามัญ การสวดตรงตามอักขระบาลี อย่างพระลังกา เป็นต้น เมื่อมีกลุ่มผู้ร่วมปฏิบัติกับพระองค์เพิ่มมากขึ้น ก็ทรง เรียกคณะนี้อย่างลาลองว่า “คณะธรรมยุตติกา” แปลว่า ผู้ประพฤติยุติตาม ธรรม ใน “คาประกาศเทวดา งานฉลองยุค เมื่อปีมะเมีย พ.ศ.2408” ปรากฏว่า มีนามพระเถระที่เป็น “บุราณสหะธรรมิก” คือ พระสหายและที่ เ ป็ น ศิ ษ ย์ ห ลวงเดิ ม ที่ ร่ ว ม ประพฤติ ต ามวั ต รของธรรมยุ ติ ก นิ ก ายใน พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว คื อ “เจ้ า อธิ ก ารดี วั ด สุ ปั ฏ ศนารามเมื อ งอุ บ ล” พระครูปทุมธาดา (คือ พระครูปทุมธรรมธาดา) และ “เจ้ า อธิ ก ารเม้ า วั ด ศรี ท องเมื อ งอุ บ ล ศรีเทวธัมมิ” (อ้างแล้ว , 2465 : 63 – 65) ร่วม (การห่มผ้าอย่างมอญ อยู่ด้วย ซึ่งพระเถระทั้ง 3 นี้มีประวัติที่เกี่ยวข้อง เป็นรูปแบบที่ พระธรรมยุติกนิกายห่ม) กับพระคณะลาวในธรรมยุติกนิกาย คือ ท่านดี พันธุโล เป็นชาวอุบลราชธานี เมื่ออุปสมบทแล้ว อยู่ที่วัดเหนือ เมืองอุบ ลราชธานี ต่อมาได้เข้ามาอยู่ ศึกษาพระปริ ยัติธ รรม ณ วัดมหาธาตุ


13

223 กรุงเทพ ภายหลังมีผู้นาเข้าถวายตัวแต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้วญัตติเป็นธรรมยุตในสานักของพระองค์ ท่านอยู่ในฐานะปุราณสหธรรมิก คือ ผู้ร่วมปฏิบัติตามลัทธิแบบธรรมยุตรุ่นแรก ๆ นับว่าท่านเป็นผู้มีอายุและ พรรษากาลมากที่สุดในหมู่พระคณะลาว วัดบวรนิเวศวิหาร ราว พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ทรง ครองราชย์แล้ว พระพรหมราชวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานี ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ท่านดี พันธุโล และ ท่านเม้า เทวธัมมี กลับไปตั้งสานักธรรมยุตที่เมืองอุบลราชธานี แล้วได้สร้างวัดสุปัฏนารามขึ้นที่ ริมแม่น้ามูลเป็นวัดธรรมยุตวัดแรกในภาคอีสาน ท่านได้วางแนวปฏิบัติตามแบบ ที่ได้ประพฤติในวัดบวรนิเวศวิหาร ด้วยวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดและการห่มผ้า ที่ แ ตกต่ า งจากกลุ่ ม พระพื้ น เมื อ ง ท าให้ ก ล่ า วกั น ว่ า เมื่ อ กลุ่ ม พระธรรมยุ ต กลุ่มแรก คือ ท่านดี พันธุโล ท่านเม้า เทวธัมมี และท่านก่า คุณสัมปันโน ออกไปตั้งคณะธรรมยุต ณ วัดสุปัฏนาราม เมืองอุบลราชธานี ทาให้ในเมืองนั้น เรียกพระกลุ่มนี้ว่า “พระครองมอญ” คู่กับ “พระครองไทย” คือ กลุ่มของพระ อริยวงศาจารย์ (สุ้ย) วัดทุ่งศรีเมือง ส่วนพระพื้นเมืองเดิมที่สืบมาแต่เวียงจันทน์ นั้นก็เรียกว่า “พระครองลาว” ท่านเม้า เทวธัมมี ชาวอุบลราชธานี เป็นหลานของท่านดี พันธุโล ท่านอุปสมบทที่วัดเหนือ เมื่ออายุ 24 ปี ท่านดี พันธุโลได้พาท่านเข้าศึกษาใน สานักวัดบวรนิเวศวิหาร เข้าถวายตัวแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


224 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

(ภาพวาดท่านดี พันธุโล จากจินตนาการ (ภาพจาก อุบลราชธานี 200 ปี)

(ภาพวาดท่านเม้า เทวธัมมิ จากจินตนาการ ภาพจาก อุบลราชธานี 200 ปี)

14

พระครูปทุมธรรมธาดา (ก่า คุณสัมปันโน) ภายใน วิหารบูรพาจารย์ บริเวณเขตพุทธาวาส วัดปทุมวนาราม

มีเรื่องเล่าว่า เมื่อคราวถวายตัวนั้นเป็นเวลาค่า พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่ หั ว จึ งทรงถือ ตะเกีย งมาส่ องทอดพระเนตร พร้อมกับตรั ส กับท่ านดี พันธุโลว่า “ขรัวดี พระอย่างนี้ทาไมไม่นามาให้มาก” (หม่อมราชวงศ์ เสริมศรี เกษมศรี, 2507 : 17 - 18) ท่ า นได้ ท าการญั ต ติ พ ร้ อ มกั น กั บ ท่ า นก่ า คุ ณ สั ม ปั น โน โดย พระบาทสมเด็จ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ าเจ้าอยู่หัว เป็นพระอุปัช ฌาย์ สมเด็ จ พระสั ง ฆราช (สา ปุ สฺ ส เทโว) เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ เมื่ อ ท่ า น มาวางรากฐานคณะธรรมยุตที่เมืองอุบลราชธานีนั้น อุปฮาดเมืองอุบลราชธานี ได้นิมนต์ท่านไปครองวัดศรีทองที่ตนสร้างไว้ และท่านได้เป็นสังฆเถระในเมือง นั้นต่อจากท่านดี พันธุโล ท่านมีปฏิปทาที่เคร่งครัดเป็นไปตามแบบของพระ


15

225 ฝ่ ายอรั ญวาสี จนเป็ น ต้น แบบให้ ศิษยานุ ศิษย์ ได้ยึด ถือและขยายวงกว้างทั่ ว สังฆมณฑลอีสาน พระครูปทุมธรรมธาดา (กา คุณสัมปันโน) ตามประวัตินั้นกล่าวกัน ว่าท่านเป็นชาวโขงสีทันดร นครจาปาศักดิ์ เข้ามาศึกษาในสานักวัดบวรนิเวศ วิหาร ได้ญัตติคราวเดียวกันกับท่า นเม้า เทวธัมมี พานักในสังกัดคณะลาว ซึ่ง ล้วนมาจากนครจาปาศักดิ์ (ปทุมวนานุสรณ์ , 2555 : 137) ดังนั้น วัดบวรนิเวศ วิ ห ารในยุ ค แรก จึ ง ต้ อ งมี ห มู่ พ ระที่ ม าจากอุ บ ลราชธานี แ ละจ าปาศั ก ดิ์ อ ยู่ พอสมควร ท่านได้ออกไปตั้งสานักธรรมยุตที่เมืองอุบลราชธานีจนมั่นคง พร้อม กับ ไปเผยแพร่ ธ รรมเนี ย มธรรมยุ ตที่ เมื องโขงสี ทั นดร มาตุภู มิข องท่ านด้ว ย เข้าใจว่าต่อมาท่านได้กลับเข้ามาที่กรุงเทพอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หั ว ทรงสถาปนาวัดปทุม วนาราม เมื่อ พ.ศ. 2400 โปรดเกล้าฯ ให้ท่านออกไปครองวัดนั้นเป็นเจ้าอาวาส รูปแรก เพราะบริเวณพื้นที่โดยรอบเป็นชุมชนชาวลาว (เพิ่งอ้าง : หน้าเดียวกัน) พร้อมด้วยพระคณะลาวจากวัดบวรนิ เวศวิหารอีก 8 รูป ปรากฏความในพระ บรมราชาธิบาย “เรื่องพระเสิม พระใส แลพระเมืองลาวอื่น ๆ” (2457 : 29) ว่า “ครั้งนั้นฉัน ไปจับ สร้างวัดประทุมวันลง ก็คนรั กษานาประทุมวันนั้น สมเด็จ องค์น้อยชักเอาลาวเวียงจันทน์กลับใจไปตั้ง ฉันจึงได้นิมนต์พระคณะลาววัดบวร นิเวศน์ไปอยู่วัดนั้น เพื่อจะได้อาศัยชอบพอกัน”


16

226 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

จะเห็ น ได้ว่าทรงพระกรุ ณาต่อพวกลาวมา ตั้ ง แต่ ค รั้ ง ที่ ยั ง ทรงผนวช แม้ เ มื่ อ ลาผนวชออกมา ครองราชย์แล้ว ความที่ทรงพระกรุณากับชาวลาวนั้น ก็ยังคงอยู่ มีปรากฏในพระราชหัตถเลขาถึงเจ้ าหมื่น ศรีสรรักษ์ ความว่า “พวกครั ว ลาวที่ม าตั้ง เรื อนลงใหม่ นั้น ได้จ่ายข้าวให้กินฤๅไม่แต่ก่อนคนที่ กวาดต้อนมา (ชุมนุมพระบรมราชาธิบาย แต่อื่นก็เคยจ่ายข้าวให้กิน ปีหนึ่งปีเศษ... ฤๅควรจะ แจกผ้าอีก อย่างไรจะดี จดหมายลงมาให้รู้ จะได้จัด ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นไปให้สมควร” (กองจดหมายเหตุแห่งชาติ , จ.ศ. พ.ศ. 2457) 1223 – 1242, เลขที่ 1 ก/8, เอกสารรัชกาลที่ 4) ดังนั้นภาพจิตรกรรมเทวดาเป่าแคนในห้องพระไสยา วิหารพระศาสดา จึงเป็ นร่ องรอยของความสั มพันธ์ “พระคณะลาว” ในคณะธรรมยุติกนิกาย ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ การกาหนดอายุของภาพจิตรกรรม “เทวดาเป่าแคน”

(พระไสยา)


17

227 พระไสยา เป็นพระนอนพุทธศิลป์แบบสุโขทัย บรรทมอย่างสีหไสยาสน์ หลั บ พระเนตร หั น พระเศี ย รไปด้ า นที่ ทิ ศ เหนื อ ผิ น พระพั ก ตร์ ไ ปด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก แต่ เ ดิ ม เข้ าใจว่ า เป็ น พระพุ ท ธรู ป ศิ ล า (อ้า งแล้ ว , 2465 : 45) แต่ ภายหลั ง มี ก ารศึ ก ษาพบว่ า เป็ น พระพุ ท ธรู ป หล่ อ สั ม ฤทธิ์ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้เชิญมาจากวัดพระพายหลวง สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงกล่าวไว้ในหนังสือพระพุทธรูป สาคัญว่า มีพระพุทธลักษณะงดงามกว่าพระพุทธรูปองค์อื่น ๆ ทั้งสิ้น ภายในห้ อ งนี้ มี จิ ต รกรรมฝาผนั ง วาดภาพประกอบเหตุ ก ารณ์ พุทธปรินิพพานเพื่อจาลองเหตุการณ์เข้ากับพระพุทธปฏิมา คือ ผนังด้านล่าง เป็ น เหล่ า พุ ท ธบริ ษั ท ที่ เ ป็ น มนุ ษ ย์ ม าเฝ้ า ถวายบั ง คมพระ บรมศพของ พระพุทธเจ้าในสาลวโนทยาน ส่วนผนังตอนบนเหนือช่องประตูหน้าต่าง ด้าน ทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวัน ตก มีจิ ตรกรรมเหล่ าเทพยเจ้ าเหาะมาชุมนุ ม บางเหล่าก็ขับประโคมดนตรีต่าง ๆ ถวายเป็นพุทธบูชาในวาระสุดท้าย ในหมู่ เทพยดาทั้งหลายที่มาประโคมดนตรีนี้ มีเทวดาอยู่ 2 องค์ที่มีการบรรเลงเครื่อง ดนตรีแปลกกว่าเทวดาองค์อื่น คือ องค์หนึ่งกาลังเป่าแคนอยู่ ส่วนอีกองค์กาลัง ถือแคนอยู่ ปรากฏอยู่ผนังด้านทิศเหนือ (ด้านที่พระไสยาหันพระเศียรไป)

(เทวดาถือแคน)


228 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

18

หากก าหนดอายุ เ พื่ อ สั น นิ ษ ฐานการวาดภาพจิ ต รกรรม “เทวดา เป่าแคน” พบว่า ในตานานวัดบวรนิเวศวิหาร (อ้างแล้ว , 2465 : 47) กล่าวถึง การสร้างวิหารพระศาสดาว่า ก่อสร้างราว พ.ศ. 2402 แล้วเสร็จ พ.ศ. 2406 จึง ได้เชิญพระศรี ศาสดามาประดิษฐานในวิห าร แต่ในรั ช สมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวการพระวิหารยังไม่เสร็จเรียบร้อยดีก็สิ้นรัชกาลเสียก่อน พระศรีศาสดาและพระไสยาจึงยังไม่ปิดทองฉลอง ต่อมาสมัยสมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงครองวัดได้บูรณะและต่อเติม สิ่งที่ยังคั่งค้างอยู่จนแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 5 (อ้างแล้ว, 2465 : 77) ประกอบกับเมื่อพิจารณาแล้ว ยังพบว่ายังมีภาพเทวดาประโคมเครื่อง ปี่พาทย์มอญ ทาให้สันนิษฐานว่า การประโคมนี้เพื่อถวายพระเกียรติอย่างสูงสุด เป็นพุทธบูชา ทั้งนี้การนาวงปี่พาทย์มอญเข้ามาประโคมในงานหลวงครั้งแรก เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศเริ่มมีมาเมื่องานพระบรมศพสมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี ในรั ช กาลที่ 4 เหตุเพราะพระองค์มีเชื้อสายมอญ ทูล กระหม่อม (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) จึงโปรดเกล้าฯ ให้นาปี่พาทย์มอญเข้า มาประโคมถวาย และเพราะเหตุนั้นงานพระศพพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 5 จึง โปรดให้มีปี่พาทย์มอญ โดยเพราะเป็นเชื้อสายของสมเด็จพระเทพศิรินทราฯ (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, 2505 : 236) ดังนั้น ภาพ จิ ต รกรรมนี้ จ ะต้ อ งมี อ ายุ ห ลั ง พ.ศ. 2406 อั น เป็ น ปี ส วรรคตของสมเด็ จ พระเทพศิ ริ น ทราบรมราชิ นี และปี่ พ าทย์ ม อญจะต้ อ งเริ่ ม เป็ น ที่ นิ ย มของ ชนชั้นสูงแล้ว


19 229

(กลุ่มเทวดาประโคมปี่พาทย์มอญ)

ประการหนึ่ งปรากฏในพงศาวดารเหนื อ (2423 : 191) พระนิพนธ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า พระองค์นั้น ว่า ๏ ศุกรแรมสามค่าแท้ เดือนแปดมเมียสอง ไสยาสน์สาศดาถนอง ซุ้มพิหารทั่วทั้ง ๏ วิหารเขียนภาพทั้ง พระราชทรัพยประทาน ทองแผ่นปิดเพดาน ของเหล่านี้ล้วนข้าง

ปิดทอง ศกตั้ง แล้วเสรจ สองเฮย เสร็จล้วนทองหลวง ฯ สองสถาน จ่ายจ้าง ลายภาพ ฝ่ายเบื้องปัจจุบัน ฯ


230 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

20

ปีที่มีการปิดทองฉลองพระพุทธรูป ทั้งสองที่ปรากฏในโคลงดังกล่าว ข้างต้น คือ วันศุกร์ แรมสามค่า เดือนแปด ปีมะเมีย โทศก ตรงกับ พ.ศ. 2413 เป็ น ช่ ว งต้ น ในแผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ทั้ ง นี้ สันนิษฐานว่าจิตรกรเป็นกลุ่มลูกศิษย์ของขรัวอินโข่ง ซึ่งมีอายุอ ยู่ในช่วงรัชกาล ที่ 4 - กลางรัชกาลที่ 5 ซึ่งช่างในสกุลนี้มักวาดภาพแนวสมจริง มักวาดภาพ เกี่ยวกับวินัยสงฆ์ ธุดงควัตร อสุภกรรมฐาน การวาดจะต้องมีผู้ให้แนวคิดหรือ ความประสงค์ ข องผู้ ค วบคุ ม งาน ซึ่ ง ควรจะเป็ น สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ องค์เจ้าอาวาส เพื่อประสงค์จะบันทึกเหตุการณ์ บางประการลงในภาพจิตรกรรม ในที่นี้น่าจะสื่อถึงการเล่นแอ่วลาวที่เคยนิยม มากในกรุงเทพแต่ขณะนั้นกลับหาไม่ได้อีก ต่อไป และเป็นการบันทึกว่าภายใน วัดบวรนิเวศวิหารเคยมีความ “เป็นลาว” อยู่ แต่ได้ย้ายไปวัดอื่นเสียแล้ว จึงเป็นข้อสรุปว่าจิตรกรรมภายในวิหารพระศาสดาจะต้องวาดระหว่าง พ.ศ. 2407 - พ.ศ. 2413 ตามที่ปรากฏหลักฐานดังกล่าวมา ดังนั้น ภาพเทวดา เป่าแคนถวายเป็นพุทธบูชาภายในห้องพระไสยา วิหารพระศาสดา วัดบวรนิเวศ วิห ารจึ งเป็ น ร่ องรอยและภาพสะท้อนความรุ่ งเรื องของการละเล่ น แอ่ว ลาว เคล้ า แคนในกรุ งเทพยุ คต้น รั ตนโกสิ น ทร์ ตั้ งแต่ ห ลั งการกวาดต้ อนชาวลาว เข้ า มาในกรุ ง เทพราว พ.ศ. 2371 มาจนถึ ง พ.ศ. 2408 อั น เป็ น ปี ที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีประกาศพระบรมราชโองการให้เลิก การเล่นแอ่วลาว แม้ต่อมาจะไม่ได้ใช้แคนเป็นเครื่องเดินทานองประกอบแล้ว ด้วยเกรงพระราชอาญาตามประกาศ แต่เพราะความสนุกสนาน จังหวะที่เร้าใจ ของการแอ่วลาว จึงเปลี่ยนเครื่องดนตรีจากแคนมาเป็นซออู้ แล้วเปลี่ยนชื่อ


21

231 เรียกมาเป็น “แอ่วเคล้าซอ” มาจนปัจจุบัน แต่กระนั้นร่องรอยของชาติพันธุ์ และวั ฒ นธรรมก็ ป รากฏในจิ ต รกรรมอยู่ สั น นิ ษ ฐานว่ า หากไม่ เ ป็ น ไปโดย ประสงค์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรง กะเกณฑ์ ใ ห้ ว าด ก็ เ ป็ น กลุ่ ม ช่ า งจิ ต รกรเองที่ ป ระสงค์ จ ะบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ความนิยมการเล่น “แอ่วลาว” ที่บุคคลร่วมสมัยเหล่านั้นคิดว่าอาจไม่ได้พบเห็น ในกรุงเทพอีกต่อไปแล้ว ทั้งยังเป็นวัฒนธรรมร่วมในการถวายพุทธบูชาแด่องค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมถึงเป็นการบันทึกว่าเคยมี “พระคณะลาว” พานั กอาศัย อยู่ในวัดบวรนิเวศวิหารตั้งแต่ช่วงสมัยรัชกาลที่ 3 - รัช กาลที่ 5 ภาพจิตรกรรมแนวนี้จะไปส่งอิทธิพลปรากฏอย่างชัดเจนที่วัดปทุมวนาราม ซึ่ง นับว่าเป็นวัดของชุมชนชาวลาวอย่างแท้จริง

(เทศกาลกฐิน มีมหรสพอย่างชาวลาว “งัน” ประกอบ จิตรกรรมภายในพระอุโบสถ วัดปทุมวนาราม)


232 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

22

บรรณานุกรม กิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2533). การรวมคณะสงฆ์อีสานเข้ากับคณะสงฆ์ไทย พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2468. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะกรรมการบริหารคณะธรรมยุต. (2547). ประวัติคณะธรรมยุต. กรุงเทพ : มหามกุฏราชวิทยาลัย. โครงการบูรณปฏิสังขรณ์วัดปทุมวนาราม. (2555). ปทุมวนานุสรณ์. กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจากัด (มหาชน). เจ้าพระยาทิพากรวงษ์. (2504). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา. เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. (2548). พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที 4. กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน) บาเพ็ญ ณ อุบล และคณะ. (2535). 200 ปี อุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์. ประวัติวัดสุปัฏนาราม. (2496). สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ โปรดให้พิมพ์เป็นที่ ระลึก งานสมโภช 100 ปี แห่งวัดสุปัฏนาราม จังหวัดอุบลราชธานี. พระนคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย ปรารถนา แซ่อึ๊ง. (2556). การตั้งถินฐานและพัฒนาการของกลุ่มชาติพันธุ์ ลาวในภาคตะวันออก : พลวัตในบริบทสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ดุษฎี บัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.


23

233 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (2541). ประชุมประกาศรัชกาลที 4 พุทธศักราช 2405 - พุทธศักราช 2411. กรุงเทพฯ : กรุงเทพ (1984). _______. (2457). ชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โสภณพิพรรฒนากร. พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. (2465). บทแอ่วเรืองนิทาน นายคาสอน. พระนคร : โสภณพิพรรฒนากร. พระราชหัตถเลขาและประกาศรัชกาลที 4 จ.ศ. 1223 - 1242. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ, จ.ศ. 1223 – 1242, เลขที่ 1 ก/8, เอกสารรัชกาลที่ 4 ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์. (2545). แอ่วเคล้าซอ : ประวัติความเป็นมาและ ระเบียบวิธีปฏิบัติ. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสภา. (2538). เฉลิมพระยศเจ้านาย ฉะบับมีพระรูป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน). ส. พลายน้อย. (2553). หมอปลัดเล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : พิมพ์ดี จากัด. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์. (2423). พงษาวดารเหนือ เปนลิลิต เรืองนิทาน พระร่วง แลนิทานพระเจ้า ธรรมไตรยปิฎก นิทานพระชินศรี พระชินราช พระสาศดา 3 เรือง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หลวง ในพระบรมมหาราชวัง. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และ สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ. (2505). สาส์นสมเด็จ เล่ม 18. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.


234 แคน มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน - ลาว

24

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดารงราชานุภาพ. (2465). ตานานวัดบวรนิเวศวิหาร. พระนคร : โสภณพิพรรฒนากร. สันติ บัณฑิตพรหมชาติ. (2528). ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน พระมหากษัตริย์กับสถาบันสงฆ์ : ศึกษากรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุเจน กรรพฤทธิ์. (2559). ตามรอยเจ้าอนุวงศ์ คลีปมประวัติศาสตร์ ไทย - ลาว. กรุงเทพ : สารคดี. หม่อมราชวงศ์ เสริมศรี เกษมศรี (ผู้รวบรวม). (2507). ประวัติวัดสุปัฏนาราม วรวิหาร จ.อุบลฯ และเทศกาลต่าง ๆ ในประเทศไทย. พระนคร : พระจันทร์. เอนก นาวิกมูล. (2550). เพลงนอกศตวรรษ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพ : มติชน.


คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษำ อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองอธิการบดีฝ่ายการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บรรณำธิกำร

นางสุมาลี สุวรรณกร และ นางสาวพิมพ์ชนก ศรีคง

กองบรรณำธิกำร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรณัส หินอ่อน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุ อุดมเพทายกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารศรี สอทิพย์ นายภาสกร เตือประโคน กำรเงิน - พัสดุ นางตุลยา นานอก นางสาวบุษรา ขวิเศษ นางสาววารุณี สัวเห็ม

นางสาวศิริมุกดา โพธิ นางสาววิสาขา อุ่นศรี


2

ฝ่ำยจัดกำรทั่วไป นายวิทยา วุฒิไธสง นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ นายไกรฤกษ แพงมา นายธนากร ธนะฤกษ์ นางสาวธนสวรรณ ปังสมบูรณ์สุข

นายวรศักดิ์ วรยศ นางสาวคณิตตา คลังทอง นายณรงค์ชัย บุญประคม นางสาวพิชญาฏา พิมพ์สิงห์

พิสูจน์อักษร

นายอภิชัย อุทัยแสง นางสาวธิดารัตน์ สีหะเกรียงไกร นางสาวศุภรัตน์ กุมรัมย์ นางสาวกนกวรรณ สมวงศ์ษา นางสาวปาณิสรา พันวอ นางสาวกนกวรรณ นิยมพล

ประสำนงำน

นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา

ชื่อหนังสือ

“ขอนแก่น – ลาวศึกษา” : “แคน” มนต์เสน่ห์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน – ลาว

จัดพิมพ์โดย

ฝ่ายการต่างประเทศ และ ฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและ ชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศูนย์ข้อมูลลาว และศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น สโมสรนักเขียนภาคอีสานแห่งประเทศไทย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

พิมพ์ครั้งที่ 1

กันยายน 2561

พิมพ์ที่

หจก.ขอนแก่นการพิมพ์



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.