บ้านวังถัว: ่ ภูมิปัญญาทีก่ าลังจะสูญหาย
โดย : กิตติสนั ต์ ศรีรกั ษา นักศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี การศึกษา 2552
บ้านวังถัว่ : ภูมิปัญญาทีก่ าลังจะสูญหาย ภาชนะดินเผาเป็ นเครื่องมือเครื่องใช้ ท่มี ีความเกี่ยวข้ องกับวิถีชีวิตของมนุษย์มาโดยตลอด นับตั้งแต่อดีตมาจนถึงปั จจุ บัน โดยเฉพาะช่วงที่มนุ ษย์เริ่มเปลี่ยนแปลงลักษณะการดารงชีวิตด้ วย การเร่ ร่อ นแสวงหาอาหารตามธรรมชาติ ไปสู่ลักษณะการดารงชี วิต แบบผลิ ตอาหารได้ เองนั้ น ภาชนะดิ น เผามี ส่วนเกี่ยวข้ อ งอย่ างสาคั ญ ต่ อ พั ฒ นาการในช่ วงดั งกล่ าว ทั้งนี้ จากหลั ก ฐานทาง โบราณคดีท่พี บในประเทศไทยนั้น พบว่า ช่วงเวลาดังกล่าวนี้มีระยะเวลาระหว่าง 10,000-4,000 ปี มาแล้ ว (สรีรัตน์ บุบผา, 2551) และในการศึกษาทางโบราณคดีน้ัน ภาชนะดินเผาที่พบจากการสารวจและขุดค้ นในแหล่ง โบราณคดีต่างๆ จัดเป็ นหลักฐานประเภทหนี่งที่มีความสาคัญต่อการศึกษา ทั้งนี้นอกจากจะเป็ น หลักฐานที่พบในปริ มาณมากแล้ ว ภาชนะดินเผาหรือชิ้นส่วนภาชนะดินเผาเหล่านี้ยังสามารถให้ ข้ อมูลเกี่ยวกับสภาพชีวิตความเป็ นอยู่และวัฒนธรรมของชุมชนในอดีตด้ านต่างๆ ด้ วย เช่น ที่ต้ัง ของชุมชน กระบวนการและแหล่งผลิต เส้ นทางการติดต่อค้ าขายหรือการคมนาคม ที่แสดงให้ เห็น ถึงความสัมพั นธ์ของชุมชนต่างๆ มีการติดต่อซึ่งกันและกันตลอดจนพั ฒนาการของชุมชนนั้นๆ และยังสามารถใช้ เป็ นสิ่งกาหนดอายุสมัยโดยประมาณของแหล่งโบราณคดี เนื่องจากภาชนะดิน เผาที่คนในอดีตผลิตขึ้นในแต่ละยุคสมัยนั้น มีรูปร่ างและลวดลายการตบแต่งบางประการที่เป็ น ลักษณะเฉพาะของแต่ละยุคสมัย เช่น ภาชนะดินเผาแบบวัฒนธรรมบ้ านเชียงสมัยปลาย ซึ่งจัดเป็ น วัฒนธรรมยุคโลหะที่พบในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยนั้น ส่วนมากจะมีการ เขี ยนลวดลายด้ ว ยสี แ ดงลงบนพื้ นผิ ว ด้ า นนอกที่เป็ นสีข าวนวล หรื อ แหล่ งโบราณคดี บ้ า นเก่ า จังหวัดกาญจนบุรี มักจะมีลักษณะเป็ นภาชนะดินเผาสีดาขัดมันหม้ อสามขาหรือบางใบมีการตบ แต่ งด้ วยลายเชื อ กทาบที่ผิวด้ านนอกเป็ นต้ น (ปรี ชา กาญจนคม, 2540) จากความสาคัญ ดังที่ กล่ า วมาข้ า งต้ น แสดงให้ เห็น ว่ า ภาชนะดิ น เผานั้ น เป็ นหลั ก ฐานที่ บ่ งบอกถึ ง วิ ถี ก ารด ารงชี วิ ต วัฒนธรรม คติความเชื่อของชุมชนในช่วงเวลานั้น โดยเฉพาะการค้ นพบภาชนะดินเผาในยุคก่อน ประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความน่ าสนใจในกรณีของภูมิประเทศที่เหมาะสม และมีวัตถุดิบเพียงพอสาหรับการผลิตภาชนะดินเผา ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยหรือภาคอีสานนั้น มีลักษณะคล้ ายแอ่ง กระทะใหญ่ 2 แอ่ง คือ 1. แอ่งสกลนคร อยู่ตอนเหนื อในเขตจังหวัดเลย อุดรธานี หนองคาย สกลนคร และนครพนม ตอนเหนือและตอนตะวันออกของแอ่งมีลาแม่นา้ โขงเป็ นขอบ ส่วนตอน ใต้ และตอนตะวันตกมีเทือกเขาภูพานตัดผ่านแบ่งกั้นแอ่งสกลนครออกจากแอ่งโคราช ลานา้ ส่วน ใหญ่จะไหลจากเทือกเขาภูพานลงมาทางทิศ เหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือลงสู่แม่นา้ โขง ลา นา้ สาคัญๆ ได้ แก่ ลานา้ โมง ลานา้ ห้ วยหลวง ลานา้ สงคราม เป็ นต้ น 2. แอ่งโคราช อยู่ทางตอนใต้ เป็ นแอ่งใหญ่กว่าแอ่งสกลนครมีลักษณะเป็ นแอ่งกระทะคือ มีบริเวณที่สูงเป็ นขอบอยู่โดยรอบแล้ ว ค่อยๆ ลาดลงสู่ท่ตี ่านา้ ท่วมถึงในบริเวณตอนกลางซึ่งทอดเป็ นแนวยาวจากตะวันตกเฉียงใต้ ตามลา แม่น้ามูลไปทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนื อจนออกแม่ น้าโขง มีลาน้าสาคัญ คือ 1. ลาน้ามูลในเขต จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ไปออกแม่นา้ โขงในเขตจังหวัดอุบลราชธานี 2. ลา นา้ ชี มีต้นกาเนิดมาจากเทือกเขาในเขตจังหวัดชัยภูมิ ไหลผ่านมารวมกับลานา้ พองในเขตจังหวัด
ขอนแก่ น ลาน้าปาวในเขตจั งหวัด กาฬสิน ธุ์ ผ่ านจั งหวั ดมหาสารคาม ร้ อ ยเอ็ด และยโสธร ไป บรรจบกับ แม่ น้ามู ล ในเขตจั งหวั ดอุ บ ลราชธานี (ศรี ศั กร วั ลลิ โภดม, 2540) ซึ่ งชุ มชนในแอ่ ง โคราชนั้นเป็ นชุมชนที่ต้ังอยู่ในเขตที่ราบลุ่มนา้ ท่วมถึงของลานา้ มูล-ชีและสานา้ สาขา จากการไหล รวมของลานา้ มูล-ชีและลานา้ สาขาต่างๆในแอ่งโคราชนี้ ได้ พัดพาดิน แร่ธาตุต่างๆ และสิ่งเจือปน (Impurities) จนตกค้ างเป็ นตะกอนอยู่อย่างมากมายเกือบทั่วบริเวณ ส่วนชุมชนในแอ่งสกลนคร นั้นมักกระจายกันอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มของลานา้ ตลอดประวัติศาสตร์ท่ยี าวนานมนุ ษย์ใช้ ดินแบบธรรมดา สาหรับทาภาชนะ เครื่องใช้ สอย ของเล่ น ตลอดจนสิ่งที่ใช้ ประกอบพิ ธีกรรมทางศาสนา ปั จจุ บันดินชนิดนี้ ยังคงใช้ ผลิตภาชนะใช้ สอย ใช้ ในงานตกแต่ง และใช้ ในงานก่อสร้ างเป็ นต้ น (สุขุมาลย์ เล็กสวัสดดิ์, 2548) เนื่องจากเป็ น ดิ น ที่เกิดจากการพั ด พาของน้าดั งนั้ น ดิ น ที่อ ยู่ ตามแอ่ งทั้ง 2 แอ่งในอีสานจึงเป็ นดิ น ที่สามารถ นามาใช้ ผลิตภาชนะดินเผาประเภทเนื้อดินธรรมดาได้ และในแอ่งโคราชนั้นมีแหล่งบารณคดีท่พี บ ภาชนะดินเผาประเภทเนื้อดินธรรมดานี้อยู่ท่วั ไป โดยเฉพาะกลุ่มโบราณคดีโนนชัย ภาชนะดินเผา ที่พบรวมอยู่กับการฝังศพมนุ ษย์ท่โี นนชัยนี้มีลักษณะที่บ่งบอกถึงกระบวนการผลิตภาชนะดินเผา ด้ วยเทคโนโลยีสงู คือมีความหลากหลายในรูปแบบ การใช้ แป้ นหมุนในการผลิตเป็ นต้ น (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2550) จากข้ อมูลดังกล่าวจะพบว่าการตั้งถิ่นฐานส่วนใหญ่จะมีปัจจัยหลักคือ แหล่งนา้ ทั้งนี้กเ็ พื่อ การเพาะปลูกเป็ นสาคัญ ต่อมาเมื่อมนุษย์ใช้ ประสบการณ์จากการใช้ ชีวิตอยู่กับการเพาะปลูกและ อยู่กบั ดิน เรียนรู้และเข้ าใจในการใช้ ดิน โดยนาดินเหนียวมาปั้นเป็ นรูปร่างตามที่ต้องการและผ่าน กระบวนการเผาเพื่ อ ท าให้ ดิน แกร่ งขึ้น จนพั ฒ นามาเป็ นภาชนะดิน เผา (ธนิ ก เลิ ศ ชาญฤทธิ์, 2551) โดยที่ภาชนะดิน เผารุ่ น แรกๆ จากพื้ นที่ต่ างๆทั่ว โลกมี ลัก ษณะบางประการคล้ ายกัน คื อ เป็ นภาชนะประเภทเนื้ อดิ น ธรรมดา ( Earthenware) ซึ่ งน่ า จะเป็ นการเผากลางแจ้ ง ( Open firing) เนื้อภาชนะค่อนข้ างหยาบและใช้ วัตถุดิบจากธรรมชาติเป็ นเนื้อผสานผสมกับดินเหนียว เช่นทรายหรือแร่ควอทไซด์ และซากพืช เป็ นต้ น (สุขุมาลย์ เล็กสวัสดิ์, 2548) การตบแต่งพื้นผิว ภาชนะส่วนมากใช้ เทคนิคการตีประทับ (Impressing/Stamping method) การขูดขีด (Incising method) นักโบราณคดีเสนอว่าภาชนะดินเผารุ่นแรกๆ นั้นถูกผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ ในการยังชีพเช่ น หุงต้ มอาหาร ต่อมาเมื่อมนุษย์มีพัฒนาการทางกระบวนการผลิตภาชนะดินเผามากขึ้น จากภาชนะ ที่ทาขึ้นเพื่อใช้ ยังชีพกลายมาเป็ นภาชนะที่ใช้ แสดงสถานภาพทางสังคมคือ มีความประณีต บรรจง ตกแต่งอย่างพิ ถีพิถันแต่เปราะบางเกินกว่าจะใช้ งานจริงเช่ น ภาชนะดินเผาเขียนสีท่พี บในแหล่ ง โบราณคดีบ้านเชียงและภาชนะดินเผาเขียนสีท่พี บที่แหล่งโบราณคดีบ้านโนนชัย ภาชนะดินเผาที่ ค้ นพบเหล่านั้นล้ วนเป็ นภาชนะประเภทเนื้อดินธรรมดาคือ การเผาด้ วยอุณหภูมิต่าประมาณ 600900 องศาเซลเซียส (กรกฏ บุญ ลพ, 2551) การผลิตภาชนะดิน เผาประเภทเนื้อ ดินธรรมดานี้ มี การสืบ เนื่ องที่ยาวนานและแผ่ ก ระจายไปตามชุ มชนต่ างๆ ที่ร่วมวั ฒ นธรรมเดี ยวกัน เป็ นพื้ นที่ กว้ างขวาง (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2550) ด้ วยความสาคัญดังกล่ าวผู้เขียนจึงทาการศึกษาค้ นคว้ าและลงพื้ นที่หาข้ อมูลจากชุ มชนที่ ยังคงผลิตภาชนะดินเผาแบบเนื้อดินธรรมดาในปั จจุบันของหมู่บ้านวังถั่ว ตาบลวัง ชัย อาเภอน้า
พอง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็ นชุ มชนที่อยู่ในพื้ นที่บริ เวณของกลุ่ มโนนชัยในอดีต โดยการศึ กษา กระบวนการผลิตภาชนะดินเผาและปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการผลิต เพื่อหาความเชื่อมโยงของวิถี ชีวิตของคนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ประวัติและความเป็ นมาของบ้านวังถัว่ บ้ านวังถั่วตั้งอยู่ท่หี มู่ 5 ตาบลวังชัย อาเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น เป็ นชุ มชนที่ต้ังใหม่ โดยการอพยพโยกย้ ายมาจากชุมชนบ้ านหม้ อ จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งมีภมู ิลาเนาเดิมอยู่ท่จี ังหวัด นครราชสีมาหรือโคราช และมีความสัมพั น ธ์ทางเครื อญาติกับช่ างปั้ นในภาคอีสานหลายชุ มชน เนื่องจากช่างปั้ นชาวไทโคราชแต่เดิมเป็ นกลุ่มที่มีความรู้ความสามารถในการปั้ นหม้ อหรือภาชนะ ดิ น เผา ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ นวั ฒ นธรรมของช่ า งปั้ นไทโคราช และจากการเดิ น ทางเร่ ร่ อ นขายและ แลกเปลี่ ยนเครื่ องปั้ นดิน เผาไปตามที่ต่างๆ ของภาคอีสานทาให้ เกิดชุ มชนช่ างปั้ น ไทโคราชขึ้น (ศุ ภ ชั ย สิงห์ ย ะบุ ศ น์ , 2540) โดยอาศั ย ความรู้ จากประสบการณ์ แ ละภูมิ ปั ญ ญาในการค้ น หา วัตถุดิบในการผลิตภาชนะดินเผากล่าวคือ ช่างปั้ นชาวไทโคราชจะรู้ว่าดินชนิดใดที่สามารถขึ้นรูป ภาชนะได้ ยกตัวอย่างชุมชนที่เป็ นช่างปั้ นไทโคราชในภาคอีสาน เช่น ชุมชนบ้ านหม้ อ อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ชุ มชนบ้ านโค้ งสวรรค์ อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู เป็ นต้ น ทั้ง 2 ชุมชน ล้ วนผลิตภาชนะดินเผาประเภทเนื้อดินธรรมดาเป็ นหลัก แต่เดิมชุมชนบ้ านวังถั่วจะอยู่ใกล้ กับลา นา้ พองเพราะมีแหล่ งดินที่สามารถปั้ นภาชนะดินเผาได้ บวกกับรอบบริ เวณลานา้ มีป่าไม้ มากมาย ซึ่งเป็ นเชื้อเพลิงสาคัญที่ใช้ ในการผลิตภาชนะดินเผา จึงเกิดการตั้งชุมชนขึ้นต่อมาเมื่อเกิดนา้ ท่วม ในฤดูนา้ หลากจึงได้ ย้ายชุมชนขึ้นไปทางทิศใต้ ของลานา้ และได้ ต้ังชุมชนใหม่ข้ ึนตั้งแต่น้ันเป็ นต้ น มา และเริ่มก่อตั้งเป็ นหมู่บ้านในปี พ.ศ. 2472 (ชวลิต การรื่นศรี, 2542) ปัจจุบันชาวบ้ านวังถั่วยัง มีการติดต่อและไปมาหาสู่กับช่างปั้ นไทโคราชในชุมชนอื่นๆ อยู่เป็ นประจา บ้ านวังถั่วเป็ นชุมชน เดียวในจั งหวัดขอนแก่นที่ยังคงมีการผลิตภาชนะดินเผาประเภทเนื้ อดินธรรมดาอย่ างต่ อเนื่ อง จากการสอบถามพบว่ามีการผลิตภาชนะดินเผานับย้ อนหลังไปได้ ประมาณ 80-100 ปี ปัจจุบันใน หมู่บ้านมีประมาณ 20 หลังคาเรือน ประกอบอาชีพผลิตภาชนะดินเผาประมาณ 5 หลังคาเรือน เป็ นหมู่บ้านที่มีวิถีการดาเนินชีวิตอยู่กับภาชนะดินเผาและส่งขายตามสถานที่ต่างๆ เพื่อหารายได้ เลี้ ยงครอบครั ว แม้ บ างครอบครั วจะไม่ ได้ ผลิ ตภาชนะดิ น เผาเอง แต่ กร็ ั บ เอาภาชนะที่ผลิ ตใน ชุมชนมาวางขายบริเวณหน้ าบ้ านของตัวเอง จากข้ อมูลดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าการเลือกภูมิประเทศในการตั้งถิ่นฐานเพื่อการดารงชีวิต และประกอบอาชีพที่ตนถนัดของมนุ ษย์ในอดีตและปั จจุ บันสามารถดาเนินการได้ ด้วยภูมิปัญญา และประสบการณ์ ท่ีถ่ า ยทอดกั น มา ท าให้ กระบวนการผลิ ต ภาชนะดิ น เผาในรู ป แบบเนื้ อดิ น ธรรมดายังคงดาเนินไปอย่างเป็ นพลวัต เพื่ อตอบสนองการใช้ งานของมนุ ษย์ทุกยุคสมัย และสิ่งที่ จะทาให้ เห็นถึงประสบการณ์และภูมิปัญญาของช่างปั้นภาชนะดินเผาคือ กระบวนการผลิต ดังนั้น การศึ ก ษากระบวนการผลิ ต ภาชนะดิ น เผาของบ้ านวั ง ถั่ ว ในสภาพปั จ จุ บั น ที่ มี รู ป แบบและ กระบวนการผลิตแบบดั้งเดิม จึ งเป็ นสิ่งที่สาคัญ ที่จะทาให้ เข้ าใจถึงกระบวนการทางภูมิปัญ ญาที่ สืบเนื่องมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ รูปแบบภาชนะดินเผาของชุมชนบ้านวังถัว่
บ้ านวังถั่วยังยึดถือรูปแบบและวิธีการผลิต ภาชนะดินเผาแบบดั้งเดิมคือ การผลิตภาชนะ ดิน เผาแบบเนื้ อดิ นธรรมดาไม่ มีการเคลื อ บ รู ป แบบภาชนะคล้ ายกับ ภาชนะดิน เผาที่ขุดพบใน แหล่งโบราณคดีโนนชัย เช่น หม้ อนา้ แบบมีเชิง และก้ นกลม จากการสังเกตุพบว่า ชุมชนแห่ งนี้ ผลิตภาชนะก้ นกลมเป็ นส่วนใหญ่ และจากการสอบถามพบว่ า หม้ อก้ นกลมเป็ นรูปทรงแรกๆ ที่ ผลิตกันในชุมชน โดยได้ รับการถ่ ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ต่อมาได้ มีการพัฒนารูปทรงตามความ ต้ องการของผู้บริโภค รูปแบบผลงานในปั จจุ บันที่มีให้ เห็นคือ หม้ อมีฝา แบบมีเชิงและไม่มีเชิง (หม้ อก้ นกลม) ตุ่มนา้ มีฝา กระถางขนาดต่างๆ กระถางปลูกกล้ วยไม้ และรับทาตามแบบที่ลูกค้ า กาหนดมา จากการสังเกตุพบว่า หม้ อก้ นกลมที่ผลิตที่บ้านวังถั่วมีรูปแบบและลักษณะคล้ ายกับ ภาชนะดินเผาที่พบในแหล่งโบราณคดีบ้านโนนชัยคือ เป็ นภาชนะประเภทหม้ อทรงกลม ก้ นกลม คอภาชนะกว้ างและสั้น มีลวดลายจากการขูดขีด และตีประทับบริเวณไหล่และรอบภาชนะขนาดที่ พบที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดขอนแก่น มีขนาดตั้งแต่เส้ นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว ไปจนถึง 12 นิ้ว ซึ่งมีขนาดใกล้ เคียงกับภาชนะดินเผาของบ้ านวังถั่ว ลักษณะของเนื้อดินเป็ นประเภทเนื้อดิน ธรรมดา แสดงให้ เห็นว่าภาชนะดินเผาประเภทหม้ อก้ นกลมมีความสัมพันธ์ในหลายมิติระหว่าง อดีตและปัจจุบัน กระบวนการผลิตภาชนะดินเผาแบบเนื้ อดินธรรมดา บ้านวังถัว่ : หม้อก้นกลม ดินเหนียวคือวัตถุดิบที่สาคัญที่สุดในการผลิตภาชนะดินเผาเนื่องจากชุมชนต่างๆในกลุ่ม โนนชัยนั้นกระจายอยู่ในบริเวณที่ราบขั้นกระไดทางทิศใต้ ของเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาภู พาน เรียกว่าอยู่ในบริเวณที่เป็ นขอบแอ่งกระทะของแอ่งโคราช ดินที่พบในบริเวณแหล่งนา้ และลา นา้ ต่างๆ จึงเป็ นดินที่ถูกพัดพาเคลื่อนย้ ายจากแหล่งกาเนิดเดิมในธรรมชาติ ซึ่งเป็ นแหล่งดินที่อยู่ บนเทือกเขา การพัดพาของนา้ ในฤดูนา้ หลากทาให้ เกิดการเสียดสีและตกตะกอนของดิน หิน และ แร่ธาตุต่างๆ ดินชนิดนี้เรียกว่า ดินทุติยภูมิ ( Secondary clay) หรือบางคนเรียกว่าดินที่เกิดจาก ตกตะกอน (สุขุมาลย์ เล็กสวัสดิ์, 2548) และดินที่พบตามบริ เวณริ มตลิ่งของลาน้าพองบริ เวณ ชุมชนบ้ านวังถั่วก็เช่นกัน ดินชนิดนี้สามารถนามาใช้ งานได้ ง่ายเนื่องจากมีความเหนียวและยืดหยุ่น ในตัวเอง และเป็ นดินที่มีเนื้ อละเอียดซึ่ งมีแร่ ธาตุต่างๆ มากมายทาให้ มีผลต่อสีของดิน เช่น สี นา้ ตาง เทา ดา แดง เหลือง เป็ นต้ น ดินชนิดนี้จะทนไฟได้ น้อยมีความหดตัวสูงมาก หากใช้ ป้ั น ภาชนะเดี่ยวๆ จะทาให้ เกิดการแตกร้ าวได้ ง่าย ดังนั้นเวลาปั้ นช่างปั้ นจะนาดินเชื้อผสมลงในเนื้อ ดินที่จะปั้นเพื่อลดการแตกหักเสียหายของภาชนะ
แหล่งดินเหนียว ริมลำนำ้ พอง กระบวนการผลิ ตที่สาคั ญ อย่ างแรกคือ การนวดดิน ซึ่ งเป็ นขั้น ตอนสาคั ญ ในการผลิ ต ภาชนะดินเผา ในชุมชนบ้ านวังถั่ว โดยมีการเตรียมดินดังนี้ 1. นาดินเหนียวที่ขุดจากริมตลิ่งของลานา้ พองมาหมักนา้ และคัดเอาเศษวัชพืชออก ทิ้งไว้ 1 คืน 2. นาดินเหนียวที่แช่น ้า 1 คืนมานวดผสมกับดิน เชื้อและทรายในอัตราส่วน ดินเหนี ยว 2 ถัง ทราย 1 ถัง ดินเชื้อ 2 ถัง โดยใช้ เท้ าเหยียบย่าจนกว่าจะเข้ ากันดี หมักทิ้งไว้ อก ี 1 คืน 3. นวดดินกับดินเชื้อและทรายด้ วยการย่าไปมาจนกว่าเนื้อดินและส่วนผสมเข้ าเป็ นเนื้อ เดียวกัน แล้ วจึงนาไปใช้ งาน วิธีการทาดินเชื้ อ คือ นาดินเหนียวที่ขุดมาได้ คลุกกับแกลบปั้ นเป็ นก้ อนๆ ตากแดดจน แห้ งแล้ วจึงนาไปเผาโดยการสุมไฟประมาณ 1-2 ชั่วโมง จากนั้นจึงนาไปตาให้ ละเอียด ร่อนด้ วยตะแกรงละเอียด แยกเก็บไว้ เพื่อเตรียมนาไปใช้
ดินเชื้อทีเ่ ผำแล้ว
กำรตำ ดินเชื้อเพือ่ นำไปร่อน
ขั้นตอนการเตรียมดินสาหรับขึ้นรูปภาชนะ รวมทั้งขั้นตอนการเผาและจาหน่าย นั้นโดยส่วนใหญ่ จะเป็ นหน้ าที่ของผู้ชาย ส่วนผู้หญิงจะมีหน้ าที่ข้ ึนรูปภาชนะหรือเรียกว่ า การตีหม้ อ การขึ้ นรูปภาชนะ: การตีหม้อก้นกลม ในชุ มชนบ้ านวังถั่วส่วนใหญ่ ผ้ ู หญิงจะทาหน้ าที่ข้ ึนรูปภาชนะ โดยจะเริ่มทางานตั้งแต่เช้ า จนถึงเย็น จากการสอบถามพบว่าช่างตีหม้ อ 1 คน สามารถตีหม้ อได้ วันละ 10-15 ใบ ซึ่งมีข้นั ตอน ดังต่อไปนี้ 1. น าดิน ที่น วดเสร็จ แล้ ว ปริ มาณตามขนาดที่ต้อ งการจะปั้ น เช่ น หม้ อ ก้ น กลมขนาด ปกติท่วั ไป ใช้ ดินปั้ นประมาณ 2 กิโลกรัม (นา้ หนักของดินที่หมาด) วางบนพะมอน (แป้ นหมุน)หรือ ตอไม้ จัดทรงให้ เป็ นทรงกระบอกเส้ นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 นิ้ว สูงประมาณ 20 เซนติเมตร 2. ใช้ ทอ ่ นไม้ ขนาดเท่าด้ ามจอบ เจาะตรงกลางก้ อนดินให้ ทะลุถึงพื้นแป้ น 3. ใช้ ปลายฝ่ ามือสอดเข้ าไปในรูตรงกลางของท่อนดิน บีบโดยรอบๆ จนรูขยายกว้ างขึ้น ให้ มือสามารถล้ วงเข้ าไปได้ ท้งั 2 มือ 4. ใช้ มือข้ างหนึ่งสอดเข้ าไปในรูกลางท่อนดิน โดยใช้ มืออีกข้ างประคองในระดับเดียวกัน ออกแรงบีบและดึงให้ ก้อนดินขยายออกในขณะที่หมุนแป้ นไปด้ วย (ช่างปั้ นบางคน อาจจะใช้ วิธีเดินรอบตอแทนการหมุนพะมอน โดยใช้ ผ้าหรือกระดาษลังเป็ นอุปกรณ์ ช่วยในการรีดดิน) 5. เมื่อดึงหรื อรีดดินได้ ขนาดใกล้ เคียงกับขนาดที่ต้องการ จากนั้ นจึงใช้ หินดุสอดเข้ าไป ข้ างในแล้ ว ใช้ ไม้ แป้ นตีโดยรอบนอกภาชนะ โดยให้ หินดุกับไม้ แป้ นตีให้ สัมพันธ์กัน เพื่อสร้ างรูปทรง และให้ ได้ ความหนาสม่าเสมอทั้งภาชนะ 6. เมื่ อ ได้ ภ าชนะขนาดที่ต้ อ งการแล้ ว น าดิ น ที่น วดเตรี ย มไว้ อีก ส่ ว นมาต่ อ กั บ ภาชนะ บริเวณขอบปากเพื่อจะทาคอภาชนะ โดยกดดินที่นามาเพิ่ มให้ แน่ นเป็ นเนื้อเดียวกับ ตัวภาชนะ ดึงขึ้นมาโดยรอบสูงประมาณ 2 นิ้ว 7. นาภาชนะออกจากพะมอนไปพึ่งแดดอ่อนๆ จนดินขอบปากภาชนะแข็งตัวพอสมควร จากนั้ น จึงตีปิ ดก้ น โดยการสอดหิ น ดุ เข้ าไปในภาชนะจากนั้ น ใช้ ไม้ แ ป้ นตีโดยรอบ ภาชนะบริ เวณที่เป็ นก้ นให้ เนื้ อดินยืดและปิ ดทับบริ เวณก้ นภาชนะ ชาวบ้ านเรี ยกว่ า การตีจอดก้ น จากนั้นนาไปผึ่งในร่มรอจนเนื้อดินมีความหมาดพอสมควร 8. น าภาชนะที่ ตี ปิ ดก้ น เรี ย บร้ อ ยแล้ ว มาท าการตกแต่ ง บริ เวณไหล่ ภ าชนะโดยการตี ประทับรอบไหล่ภาชนะด้ วย ไม้ สัก ที่มีลวดลายต่างๆ ซึ่งเป็ นขั้นตอนสุดท้ าย จากนั้น นาภาชนะที่สาเร็จแล้ วไปพึ่งไว้ ในที่โล่งใต้ หลังคา รอจนแห้ งสนิทแล้ วจึงนาไปเผา
กำรขึ้นรูปภำชนะบนพะมอน
หินดุ
กำรตีจอดก้น
ไม้แป้ น
ไม้สกั
เนื่องจากช่างปั้นในหมู่บ้านจะเป็ นผู้หญิงเสียส่วนใหญ่ ขั้นตอนต่างๆ ในการขึ้นรูปภาชนะ จึงดาเนินไปกับการทางานบ้ าน จากการสังเกตุและสอบถามช่างปั้นในชุมชนพบว่า ขั้นตอนการขึ้น รูปของช่างปั้ นที่น่ีจะทางานในลักษณะไม่รีบร้ อน ค่อยๆ ทาตามความสะดวกและเวลาที่เหลือจาก การทางานบ้ าน เรียกได้ ว่าทางานปั้นภาชนะเป็ นงานอดิเรกก็ว่าได้ ยกเว้ นกรณีท่มี ีรายการสั่งสินค้ า จากลูกค้ า ช่างปั้นจะใช้ เวลาปั้นตลอดทั้งวัน กระบวนการเผาภาชนะของบ้านวังถัว่ การเผาภาชนะของบ้ านวังถั่วเป็ นการเผาแบบกลางแจ้ ง คนที่เผาส่วนใหญ่ จะเป็ นผู้ชาย โดยการนาภาชนะที่แห้ งสนิทในจานวนที่มากพอ ในการเผาแต่ละครั้ งจะมีภาชนะเฉลี่ยประมาณ 50-80 ใบ หรืออาจจะถึง 100 ใบ แล้ วแต่จานวนภาชนะที่มี วางซ้ อนกันประมาณ 2 ชั้น วัตถุดิบที่ใช้ ในการเผาคือฟางข้ าว ไม้ ไผ่ และเศษไม้ แห้ ง การเผาภาชนะเริ่ มจากการก่อ ตระแกรงด้ วยไม้ ไผ่และเศษไม้ โดยใช้ ลาต้ นกล้ วยที่ตัดเป็ นท่อนวางเป็ นเส้ า ขนาดเล็กใหญ่ ตาม จานวนภาชนะที่จะเผา วางชิ้นงาน สุมฟาง เริ่มจากเผาฟางก่อนประมาณครึ่งชั่วโมง ซึ่ง จะมีควัน มาก ดังนั้นบริเวณที่จะใช้ ในการเผาจะอยู่ห่างชุมชนไปทางท้ ายหมู่บ้าน จากนั้นก็สุมไฟไปเรื่อยๆ
และจะเร่ งไฟในระยะสุดท้ ายโดยการสุมฟาง ใช้ เวลาในการเผาประมาณ 1-2 ชั่ วโมง จากการ สอบถามพบว่าโดยส่ วนใหญ่ ใช้ เวลาในการเผาแต่ละครั้ งไม่แน่ นอน ขึ้นอยู่กับปริ มาณภาชนะที่ นามาเผา การเผาส่วนใหญ่ จะเริ่ มเผาตั้งแต่รุ่งเช้ า พอแดดออกก็เริ่มจุ ดไฟ โดยจะค่อยๆ เริ่มเผา ฟางที่กลบภาชนะทั้งหมดอย่างช้ าๆ และสม่าเสมอประมาณ 1-2 ชั่วโมง แล้ วจึงค่อยๆเพิ่มปริมาณ ฟางให้ ความร้ อนสูงขึ้น และรักษาอุณหภูมิให้ สม่าเสมอ ประมาณ 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงสุมไฟให้ แรง ขึ้นโดยใช้ ก่ิงไม้ แห้ งและฟาง เพื่ อให้ ได้ ความร้ อนที่สูงที่สุดในชั่ วโมงสุดท้ าย จากนั้นจึงปล่ อยให้ กองไฟค่อยๆ มอดลงอย่างช้ าๆ รอจนกองไฟเย็นลง ประมาณ 1-2 วันจึงนาภาชนะออกมาได้ ในขณะที่ทาการเผานั้นจาเป็ นต้ องมีคนดูไฟตลอดเวลาเพื่อรักษาความร้ อนให้ มีอุณหภูมิท่ี สม่าเสมอ และก่อนจะเผาทุกครั้งต้ องมีการตรวจสอบภูมิอากาศ โดยส่วนใหญ่จะนิยมเผากันตอน หน้ าหนาวไปจนหมดฤดูแล้ ง เป็ นการทากิจกรรมเสริมระหว่างรอทานาในฤดูฝน ในปัจจุบันภาครัฐ ได้ เข้ ามาช่วยเหลือโดยการสร้ างเตาเผา ทาให้ สามารถเผาภาชนะได้ ทุกฤดู แต่ชาวบ้ านบางกลุ่มก็ ยังคงใช้ การเผาในรูปแบบเดิม เพราะถึงแม้ การเผาโดยใช้ เตาเผาจะทาให้ ได้ ผลผลิตที่สมบูรณ์และ เสียหายน้ อยกว่าการเผาแบบกลางแจ้ งก็ตาม แต่ชาวบ้ านก็ยังคงใช้ การเผาในรูปแบบเดิมเพราะไม่ ต้ องซื้อฟื นมาใช้ ในการเผาในเตา ซึ่งปั จจุ บัน ฟื นมีราคาสูงและหาได้ ยากกว่ าฟาง ขณะเดียวกัน ขั้น ตอนในการเผาชาวบ้ านยั งไม่ ค้ ุ น เคยและไม่ ช านาญท าให้ ช าวบ้ านบางส่ วนยั งพอใจที่จ ะใช้ กระบวนการเผาแบบดั้งเดิม จากการศึกษากระบวนการผลิตภาชนะดินเผาบ้ านวังถั่ว สังเกตได้ ว่ากระบวนการต่างๆ นั้น เป็ นกระบวนการพื้นฐานในการผลิตภาชนะดินเผาแบบเนื้อดินธรรมดา ซึ่งเป็ นกระบวนการที่ ไม่ซับซ้ อนและเป็ น กระบวนการผลิตที่ดาเนินมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึง ยุคปัจจุบัน ปัจจัยทีม่ ีผลต่อกระบวนการผลิต 1. ช่างปั้ น จากการสังเกตุพบว่าโดยทั่วไปช่างปั้นหรือช่างตีหม้ อจะเป็ นผู้หญิง โดยเฉพาะ การผลิตภาชนะดินเผาแบบธรรมดา ซึ่งพบโดยทั่วไปตามชุ มชนต่างๆ และปั จจุ บัน ช่ า งปั้ น ในหมู่ บ้ า นวั ง ถั่ ว มี จ านวนน้ อ ยลงทุ ก ที เพราะช่ า งปั้ น ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ นวั ย กลางคนขึ้ นไปแทบจะไม่ มี เ ยาวชนหรื อ คนหนุ่ ม สาวที่ เป็ นช่ า งปั้ นในบ้ านวั ง ถั่ ว ชาวบ้ านเล่าให้ ฟังว่า คนหนุ่มสาวในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะออกไปทางานในตัวจังหวัด หรือจังหวัดใกล้ เคียง และไปทางานโรงงานในกรุงเทพฯ เมื่อสอบถามวัยรุ่นในชุมชน จะได้ คาตอบว่าส่วนมากอยากจะหางานทาในตัวจังหวัดหรือในกรุงเทพฯ มากกว่าที่จะ เป็ นช่างปั้น ยกเว้ นถ้ าไม่มีงานอื่นก็อาจจะฝึ กตีหม้ อก็เป็ นได้ 2. การตลาด นอกจากจะมีลูกค้ ามาซื้อถึงหมู่บ้านแล้ ว ในบางครั้งหากผลิตภัณฑ์มีจานวน มากชาวบ้ านก็จะช่วยกันเหมารถออกไปเร่ขายตามชุมชนใกล้ เคียง แต่ปัจจุบันภาชนะ ดิน เผาที่ผลิ ตอยู่ แทบจะไม่ พ อขายเนื่ องจากกระบวนการผลิ ตไม่ มีความสม่าเสมอ ทั้งนี้ข้ ึนอยู่กับ ความพอใจและปั จจัยหลายอย่างของผู้ผลิตหรือช่ างปั้ นเอง ทาให้ ไม่
สามารถจัดการเรื่องการตลาดให้ เป็ นระบบได้ อีกทั้งยังขาดการประชาสัมพันธ์ ทาให้ มีคนรู้จักภาชนะดินเผาบ้ านวังถั่วไม่กว้ างขวางเท่าที่ควร 3. วัตถุดิบ เป็ นปั จจัยที่สาคัญและมีความจาเป็ นซึ่งมีปัญหาในขณะนี้คือเชื้อเพลิงในการ เผา จากการสอบถามพบว่ าการเผาแต่ละครั้ งจะต้ องใช้ ฟางข้ าวที่เกี่ยวด้ วยมือและ ปลายกิ่งไม้ ยูคา ซึ่งต้ องใช้ เงินในการเผาแต่ละครั้งประมาณ 400-500 บาท ต่อการ เผา 1 ครั้ ง (ประมาณ 80-100 ชิ้ น) ปั จจุ บั น ราคาเชื้ อเพลิ งมีแ นวโน้ ม จะสูงขึ้น ใน อนาคต 4. รูป แบบของภาชนะ ในชุ มชนบ้ านวังถั่วมีความหลากหลายในรูปแบบน้ อยมาก จาก การสังเกตุพบว่ามีอยู่ไม่เกิน 5-6 รูปแบบคือ หม้ อมีฝา (ก้ นกลม, มีเชิง) ราคาใบละ 25-40 บาท ตุ่มนา้ มีฝาปิ ด ราคาใบละ 40-50 บาท กระถางขนาดใหญ่ ราคาใบละ 25-40 บาท กระถางขนาดเล็ก ราคาใบละ 20 บาท กระถางปลูกกล้ วยไม้ ราคาใบละ 20 บาท นอกจากผลิตภัณฑ์ท่มี ีในชุมชนเหล่านี้แล้ วบางครั้งก็มีลูกค้ าสั่งรายการสินค้ ารูปแบบต่างๆ และราคาจะเป็ นไปตามข้ อตกลงระหว่างช่างปั้นกับลูกค้ า
รูปแบบภำชนะของชุมชนบ้ำนวังถัว่ ในปัจจุปัน
เตำเผำภำชนะดินเผำทีท่ ำงหน่วยงำนของรัฐฯเข้ำมำสร้ำงให้กบั ชุมชน สรุป จากการศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูลและลงพื้ นที่สอบถาม ทาให้ ทราบถึงความสัมพั นธ์ของ ภาชนะดินเผาประเภทเนื้อดินธรรมดาที่พบในแหล่งโบราณคดีกลุ่มโนนชัยในอดีต กับภาชนะดิน เผาบ้ านวังถั่วในปัจจุบัน โดยเฉพาะกระบวนการผลิตภาชนะดินเผาประเภทเนื้อดินธรรมดานี้ เป็ น กระบวนการผลิตแบบพื้นบ้ าน และเป็ นไปได้ ท่กี ระบวนการผลิตลักษณะนี้จะเป็ นกระบวนการผลิต ในลักษณะเดียวกัน ซึ่งเป็ น กระบวนการผลิตและการใช้ เทคโนโลยีระดับสูงยุคแรกๆ ของภาชนะ ดินเผา และยังคงสืบเนื่องมาจนปั จจุบันทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แม้ ความเจริญก้ าวหน้ าทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะเอื้ออานวยความสะดวกในกระบวนการผลิตภาชนะดินเผาชนิดเนื้อ ดินธรรมดานี้กต็ าม แต่ช่างปั้ นในชุมชนบ้ านวังถั่วยังคงยึดถือรูปแบบและกระบวนการดั้งเดิมใน การผลิ ต ภาชนะดิ น เผาซึ่ งเป็ นภูมิปั ญ ญาที่ถ่ ายทอดมาจากบรรพบุ รุษ อยู่ ต่ อไป จึ งกล่ าวได้ ว่า เทคโนโลยีอ าจไม่ ใช่ ข้อ สรุ ป ของการคงอยู่ หรื อการสืบ สานศิ ลปวั ฒ นธรรม ภูมิ ปั ญ ญาท้ องถิ่ น ดังนั้นเราควรจึงจะให้ ความสาคัญกับปัจจัยด้ านอื่นๆ ที่รวมไปถึงการรวมกลุ่มช่างปั้นภายในชุมชน การถ่ายทอดภูมิเยาวชนรุ่นใหม่ การสร้ างตลาดที่มารองรับผลผลิต การประชาสัมพันธ์ให้ ผ้ ูบริโภค ตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้ องถิ่น สิ่งเหล่านี้อาจจะเป็ นแนวทางการแก้ ไขปั ญหาของชุมชน บ้ านวังถั่วได้ ดีกว่าพึ่งพาเพียงแต่เทคโนโลยี
เอกสารอ้างอิง สุรีรัตน์ บุบผา. ภาชนะดินเผากับมนุษย์: ภายใต้แนวคิดเรือ่ งระบบนิเวศน์ของภาชนะดินเผา. กรุงเทพฯ : สามลดา, 2551. ปรีชา กาญจนาคม. ภาชนะดินเผา. กรุงเทพฯ : โบราณคดี, 2540. ศรีศักร วัลลิโภดม. แอ่งอารยธรรมอีสาน แฉหลักฐานโบราณคดีพลิกโฉมหน้าประวัติศาสตร์ ไทย. กรุงเทพฯ : มติชน, 2540 สุขุมาล เล็กสวัสดิ์. เครือ่ งปั้ นดินเผา พื้ นฐานการออกแบบและปฏิบตั ิงาน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. สุจิตต์ วงษ์เทศ. เครือ่ งปั้นดินเผาและเครือ่ งเคลือบกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของ สยาม. กรุงเทพฯ : มติชน, 2550. ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์.ชุมชนเครือ่ งปั้ นดินเผา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540. ชวลิต การรื่นศรี. การส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพเครือ่ งปั้ นดินเผา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2542
บ้านวังถัว: ่ ภูมิปัญญาที่กาลังจะสูญหาย กิตติสนั ต์ ศรีรกั ษา รหัสนักศึกษา: 525220001-4 866 711 ระเบียบวิธีวิจย ั ทางศิลปะและวัฒนธรรม 9 มกราคม 2553