CPB IT Textbook 2

Page 1


CPB IT Textbook สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2559 สถาบันการศึกษา CPB Educational Innovation Consultant บริหารจัดการ

ดร. ชฎาภรณ์ โฆษิตานนท์ สงวนแก้ ว นายภูมิภทั ร์ สงวนแก้ ว นางสาวภัศธรินทร์ สงวนแก้ ว

กองบรรณาธิการ

ฝ่ ายวิชาการ CPB Educational Innovation Consultant ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรี ยนไผทอุดมศึกษา

จัดพิมพ์และจาหน่าย

CPB Educational Innovation Consultant เลขที่ 202/2 ซอยวิภาวดีรังสิต 64 แยก 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 02 973 6149

www.cpb.ac.th


คำนำ การจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT: Information Technology) มี เป้าหมายเพื่อสร้ างนักเรี ยนให้ เป็ นพลโลก (Global Citizen) ที่ชาญฉลาดและเท่าทันในการใช้ เทคโนโลยี (Smart User) เพื่อพัฒนาความสามารถและทักษะรายบุคคล เป็ นผู้สร้ างองค์ความรู้ ที่มีจินตนาการอย่างเต็มศักยภาพ CPB IT Textbook ได้ จดั ทาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อประกอบการเรี ยนรู้ โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี ้ ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1-3: IT Literacy เพื่อให้ นกั เรี ยนเป็ นผู้อ่านออกเขียนได้ ด้ าน IT มีทกั ษะการใช้ Hardware และ Software สร้ างสรรค์ชิ ้นงาน ได้ อย่างถูกวิธี ปลอดภัย ในลักษณะผู้ใช้ งาน (User) ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4-6: IT as Tools: Learning Tools & Construction Tools เพื่อให้ นกั เรี ยนสามารถใช้ IT เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้และสร้ างองค์ความรู้ สามารถเข้ าถึง แหล่งข้ อมูลสารสนเทศ สืบค้ น จัดทา นาเสนอ เพื่อเผยแพร่ในลักษณะผู้สร้ าง (Producer) ระดับชันมั ้ ธยมศึกษา: Global Citizenship เพื่อให้ นกั เรี ยนมีสมรรถนะเป็ นพลโลกใน ศตวรรษที่ 21 ใช้ ประโยชน์จาก IT อย่างเต็มศักยภาพ โดยการเรี ยนรู้ด้วยตนเองจากกิจกรรม Online ติดต่อ สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้ อมูลสารสนเทศในลักษณะเครื อข่ายการเรี ยนรู้ เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ที่สนับสนุนกระบวนการเรี ยนรู้แบบโครงงาน (Project-Based Learning) และการเรี ยนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) สร้ างโอกาสของการเรี ยนรู้ที่ไม่มี ข้ อจากัด (Unlimited Learning) เป็ นการเรี ยนรู้แบบพลวัต (Dynamic Learning) เพื่อเป็ นผู้ใฝ่ ร้ ู สามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างต่อเนื่องจากการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ที่พร้ อมต่อ ความท้ าทายจากเครื อข่ายการเรี ยนรู้กบั สังคมโลก (International Network for Real World Learning) และก้ าวทันโลกที่เปลี่ยนแปลง (Ready for Changing World) ดร. ชฎาภรณ์ โฆษิตานนท์ สงวนแก้ ว สถาบันการศึกษา CPB Educational Innovation Consultant


สารบัญ CPB IT Textbook 2 หน้ า Introduction to Computer ประเภทของคอมพิวเตอร์ ......................................................................... 1 ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ....................................................................... 2 Mouse Icon ………………………………………………………………… 3 Computer System …………………………………………………………. 4 Information ข้ อมูลและสารสนเทศ ……………………………………………………….. 7 การรับรู้ข้อมูล ......................................................................................... 7 ประเภทของข้ อมูล .................................................................................. 8 ประโยชน์ของข้ อมูล ................................................................................ 8 แหล่งข้ อมูล ............................................................................................ 8 การรวบรวมข้ อมูล .................................................................................. 9 การเก็บรักษาข้ อมูล ................................................................................ 9 การประมวลผล ...................................................................................... 10 การประมวลผลและการแสดงผลข้ อมูล ..................................................... 10 Windows 10 Windows 10 ………………………………………………………………… 11 Start Menu ………………………………………………………………….. 11 Shutdown …………………………………………………………………… 12 This PC ……………………………………………………………………… 12 File Explorer ………………………………………………………………... 13 Windows Accessories …………………………………………………….. 14 Calculator …………………………………………………………………... 14 Microsoft Edge …………………………………………………………….. 15


Internet Connection Requirements ……………………………………………….. หลักการใช้ อินเทอร์ เน็ตอย่างปลอดภัย ..................................................... เข้ า Microsoft Edge ……………………………………………………….. ส่วนประกอบ Microsoft Edge …………………………………………….. Website ที่นา่ สนใจ ................................................................................ Search Engine …………………………………………………………….. สืบค้ นข้ อมูล ........................................................................................... Chat Application …………………………………………………………… Paint เข้ าโปรแกรม Paint ………………………………………………………….. ส่วนประกอบ Paint ………………………………………………………….. สร้ างชิ ้นงาน ........................................................................................... วาดภาพโดยใช้ Brushes แปรงทาสี ......................................................... ดูภาพ .................................................................................................... Save as /Save บันทึกงาน ...................................................................... Print พิมพ์งาน ....................................................................................... Photos เข้ าโปรแกรม Photos ………………………………………………………. ส่วนประกอบ Photos ………………………………………………………. จัดการภาพ Main Menu ……………………………………………………. Tools bar เครื่ องมือสร้ างงาน .................................................................. ตกแต่งรูปภาพ ....................................................................................... ปรับแต่งรูปภาพ ..................................................................................... Exercise

16 18 19 19 20 21 21 22 23 23 24 29 32 32 33 34 35 35 37 38 40 43


Introduction to Computer ความหมายของ คาว่า Computer มาจากคาว่า Compute ซึง่ แปลว่า การ คานวณ ฉะนันในความหมายกว้ ้ าง ๆ Computer (คอมพิวเตอร์ ) จะหมายถึง เครื่ อง คานวณ ซึง่ ลูกคิด คือ ต้ นกาเนิดของ Computer คอมพิวเตอร์ คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้ างขึ ้น เพื่อช่วยในการทางาน ให้ รวดเร็ว ถูกต้ องและมีประสิทธิภาพมากขึ ้น โดยมนุษย์เป็ นผู้ปอ้ นคาสัง่ อาจจะสัง่ ครัง้ เดียวหรื อหลายครัง้ ต่อเนื่องกันก็ได้ เพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ตามต้ องการ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Appliance) คือเครื่ องใช้ ไฟฟ้าต่าง ๆ แยก ประเภทตามการใช้ งาน เช่น โทรทัศน์ วิทยุ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น 1. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (Types of Computer) สามารถแบ่งออกได้ หลายวิธี เช่น การแบ่งตามขนาด การแบ่งตามหน้ าที่ หรื อ การแบ่งตามการใช้ งาน เป็ นต้ น โดยถ้ าแบ่งตามการใช้ งาน ออกเป็ น 3 หมวด ดังนี ้ 1) Traditional Computer เครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบติดตังอยู ้ ่กบั ที่ เช่น Supercomputer, Mainframe, Personal Computer (PC) หรื อ iMac เป็ นต้ น 2) Mobile Device อุปกรณ์สื่อสารพกพาที่สามารถเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต เช่น Smart Phone, Tablet, Laptop, Notebook เป็ นต้ น 3) Internet of Things เครื่ องใช้ ไฟฟ้าทัว่ ไป ที่สามารถเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต เช่น กล้ องดิจิทลั รถยนต์ Drone, Smart TV เป็ นต้ น http://thenewstack.io

Introduction to Computer - 1


2. ส่ วนประกอบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้ วย 3 ส่วนที่สาคัญ คือ 1) Hardware คือ ส่วนของระบบ ที่เป็ นอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ สามารถมองเห็นจับต้ องได้ เช่น จอภาพ ตัวเครื่ อง แป้นพิมพ์ เมาส์ ลาโพง เป็ นต้ น 2) Software คือ โปรแกรม /ชุดคาสัง่ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ ทางานตามความต้ องการ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 2.1 โปรแกรมควบคุมระบบ /ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) ทาหน้ าที่ควบคุมการทางานของโปรแกรม ให้ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ใช้ อยู่ทวั่ ไป คือ WINDOWS 2.2 โปรแกรมสาเร็ จรูป /โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ที่ใช้ ในการทางานแต่ละประเภท เช่น MS WORD ใช้ พมิ พ์เอกสาร, โปรแกรมฝึ กพิมพ์และ GAME เกมต่าง ๆ เป็ นต้ น

Introduction to Computer - 2


3) People Ware คือ ผู้ใช้ งานด้ านคอมพิวเตอร์ โดยตรง เช่น เจ้ าหน้ าที่คอมพิวเตอร์ ครู นักเรี ยน เป็ นต้ น

3. Mouse Icon สัญลักษณ์ของเมาส์ขณะใช้ งาน 1. ใช้ คลิกเลือกสิ่งต่าง ๆ 2. ใช้ แสดงคาอธิบายเกี่ยวกับสิ่งนัน้ 3. ให้ รอสักครู่ 4. สามารถพิมพ์ข้อความลงไปได้ 5. ส่วนที่เป็ นลิงค์ในเอกสารบนอินเทอร์ เน็ต 6. เคลื่อนย้ ายตาแหน่งของหน้ าต่าง 7. ปรับขนาดของหน้ าต่าง 8. ไม่สามารถกระทาการบริเวณนันได้ ้

Introduction to Computer - 3


4. Computer System ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้ วย

1) Input Unit การรับข้ อมูล โปรแกรมหรื อคาสัง่ เข้ าสู่คอมพิวเตอร์ โดยใช้ อุปกรณ์รับข้ อมูล เช่น  Keyboard  Mouse  CD ROM Drive

แป้นพิมพ์ ตัวชี ้ตาแหน่ง อ่านแผ่นซีดีรอม

   

เครื่ องสแกนเนอร์ กล้ องดิจิตอล ก้ านควบคุม ปากกาแสง

Scanner Digital Camera Joystick Light Pen

Introduction to Computer - 4


2) Processing Unit การประมวลผล เป็ นศูนย์กลางควบคุมการทางานของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และฮาร์ ดแวร์ ทงหมด ั้ โดยนาข้ อมูลมาคานวณและประมวลผล ตามคาสัง่ ของโปรแกรม แสดงผลออกไปทางหน่วยแสดงผล อุปกรณ์ประมวลผล เช่น     

CPU Main Board VGA Card Sound Card Power Supply

ชิพ แผงวงจรหลัก แผงวงจรแสดงผลจอภาพ แผงวงจรเสียง อุปกรณ์จา่ ยไฟ

3) Output Unit การแสดงผล ที่ได้ จากการประมวลผลในรูปแบบ ข้ อความ ภาพ เสียง โดยใช้ อปุ กรณ์แสดงผล เช่น    

Monitor CD Writer Speaker Printer

จอภาพ เขียนซีดีรอม ลาโพง เครื่ องพิมพ์

Introduction to Computer - 5


4) Storage Unit การจัดเก็บข้ อมูล หรื อการสารองข้ อมูล (Back up) ที่ได้ จาก การประมวลผล เพื่อเรี ยกใช้ งานได้ ในอุปกรณ์เก็บข้ อมูล - Hard Disk เป็ นแผ่นแม่เหล็กที่เก็บข้ อมูล สามารถอ่านและเขียนข้ อมูลได้ มีความจุมากกว่า และใช้ เวลาในการอ่าน /บันทึกข้ อมูลรวดเร็วกว่า - DVD (Digital Versatile Disc) และ CD-ROM (Compact Disk- Read Only Memory) เป็ นแผ่นเก็บข้ อมูลแบบบันทึกด้ วยแสง (Optical Disc) ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. แผ่น DVD มีการบันทึกข้ อมูล ที่มีความละเอียดหนาแน่นกว่าแผ่น CD-ROM - Flash Drive และ SD Card อุปกรณ์สาหรับบันทึกข้ อมูลชนิดหนึง่ มีขนาดเล็ก กะทัดรัด พกพาสะดวก มีความจุในการเก็บข้ อมูลได้ หลายขนาด สามารถเลือกได้ ตามการใช้ งาน

Flash Drive SD Card

- External Hard Disk อุปกรณ์จดั เก็บข้ อมูล มีความจุสงู สามารถพกพาได้ สะดวก แบบเดียว Hard Disk ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ต่างกันตรงที่ External HDD ใช้ เชื่อมต่อภายนอกเครื่ องคอมพิวเตอร์ Introduction to Computer - 6


Information 1. ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data and Information) ข้ อมูล (Data) คือ ข้ อเท็จจริง เรื่ องราวหรื อเหตุการณ์ เป็ นข้ อมูลดิบ ซึง่ สามารถ รับรู้ได้ โดยผ่านประสาทสัมผัส การมอง การอ่าน การได้ ยิน การสัมผัส การได้ กลิ่น และ การได้ รสชาติอาหาร สารสนเทศ (Information) คือ ข้ อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผล หรื อ จัดระบบแล้ ว 2. การรั บรู้ ข้อมูล ข้ อมูลสามารถรับรู้ได้ โดยผ่านประสาทสัมผัสทัง้ 5 (Five Senses) ดังนี ้ 1) การมองเห็น ผ่านดวงตาโดยการมอง จะได้ ข้อมูลภาพ สิ่งรอบตัว ฯลฯ 2) การได้ ยิน ผ่านหูโดยการฟั ง จะได้ ข้อมูลเสียง เพลง เสียงพูด เสียงรถ ฯลฯ 3) การสัมผัส ผ่านผิวหนังโดยการสัมผัส จะได้ ข้อมูลความรู้สกึ ฯลฯ 4) การได้ กลิ่น ผ่านจมูก โดยการได้ กลิ่น เช่น กลิ่นอาหาร กลิ่นดอกไม้ เป็ นต้ น 5) การได้ รสชาติ ผ่านลิ ้น โดยการชิม กินอาหาร เช่น เผ็ด หวาน เป็ นต้ น

Information - 7


3. ประเภทของข้ อมูล 1) ข้ อมูลอักขระ คือ ข้ อมูลที่เป็ นตัวอักษรและตัวเลขที่ไม่ได้ ใช้ ในการคานวณ เช่น ตัวอักษรในหนังสือ ทะเบียนรถ บ้ านเลขที่ ป้ายประกาศ เป็ นต้ น 2) ข้ อมูลตัวเลข คือ ข้ อมูลที่เป็ นตัวเลขที่นามาใช้ ในการคานวณ เช่น คะแนน สอบ จานวนเงินออม ราคาอาหาร เป็ นต้ น 3) ข้ อมูลภาพ คือ ข้ อมูลที่เป็ นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพจากกล้ องวิดีโอ เป็ นต้ น 4) ข้ อมูลเสียง คือ ข้ อมูลที่เป็ นเสียงจากการได้ ยิน เช่น เสียงพูด เสียงเพลง เป็ นต้ น 4. ประโยชน์ ของข้ อมูล 1) ด้ านการเรี ยนรู้และการศึกษา เช่น ข้ อมูลที่ได้ จาก โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ มาใช้ ประโยชน์ในการเรี ยนได้ เป็ นข้ อมูลหรื อความรู้เพิม่ เติม 2) ด้ านการติดต่อสื่อสาร เช่น ถ้ าเรามีข้อมูล เราสามารถที่จะสนทนาพูดคุย หรื อบอกเรื่ องต่าง ๆ ให้ กบั ผู้อื่นได้ 3) ด้ านการตัดสินใจ เป็ นการใช้ ช่วยให้ เราตัดสินใจต่าง ๆ ได้ ดีขึ ้น เช่น การ เลือกซื ้อของเล่น ถ้ าเราทราบราคาของเล่นในแต่ละร้ าน จะทาให้ เราเลือกซื ้อของเล่นที่ เหมือนกันได้ ในราคาที่ถกู ที่สดุ 5. แหล่ งข้ อมูล คือ แหล่งที่มาของข้ อมูล สาหรับการค้ นคว้ า สืบค้ น เรี ยนรู้ ตามที่ต้องการ เพื่อ จัดทาเป็ นสารสนเทศ เช่น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุด โทรทัศน์ หนังสือต่าง ๆ เป็ นต้ น ประเภทของข้ อมูล แบ่งตามที่มาของแหล่งข้ อมูล ได้ แก่

Information - 8


1) ข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้ อมูลชันต้ ้ น ได้ จากการเก็บรวบรวม บันทึก จากแหล่งข้ อมูลโดยตรง เช่น การสอบถาม การจดบันทึก การสัมภาษณ์ การสารวจ เป็ นต้ น 2) ข้ อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) ข้ อมูลชันรอง ้ ข้ อมูลที่มีผ้ อู ื่นรวบรวมไว้ แล้ ว หรื อจากการเก็บข้ อมูลชันต้ ้ นแล้ ว เช่น ตารา เอกสารวิจยั สิ่งตีพมิ พ์ต่าง ๆ เป็ นต้ น 6. การรวบรวมข้ อมูล คือ การนาข้ อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บรวบรวมไว้ โดยมีวิธีการ ดังนี ้ 1) สังเกต เป็ นการรวบรวมข้ อมูลโดยการดูอย่างสนใจ และจดจารายละเอียด 2) สัมภาษณ์ เป็ นการรวบรวมข้ อมูลโดยการสอบถามแล้ วจดบันทึกข้ อมูล หรื อ อัดเสียง 3) สืบค้ น เป็ นการรวบรวมข้ อมูล โดยการค้ นคว้ าจากแหล่งข้ อมูลทุติยภูมิ หรื อ ข้ อมูลชันรอง ้ เช่น ห้ องสมุด อินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น 7. การเก็บรั กษาข้ อมูล คือ การนาข้ อมูลมาบันทึกเก็บไว้ ในสื่อบันทึกต่าง ๆ สามารถเก็บได้ หลาย รูปแบบ ในอดีตจะเก็บเป็ นแฟ้มเอกสาร ภาพถ่าย วิดีโอ ปั จจุบนั นิยมเก็บในรูปแบบ ของดิจิทลั ไฟล์ ที่ใช้ อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ ในการเก็บ เช่น ฮาร์ ดดิสก์ Flash Drive, CD, DVD เป็ นต้ น

Information - 9


8. การประมวลผล การใช้ คอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้ อมูลเป็ นสารสนเทศ แบ่งเป็ น 2 วิธี คือ 1) การประมวลผลแบบตรง คือ การประมวลผลโดยทันทีที่มีการส่งข้ อมูลเข้ าไป เช่น การกดเงินที่ต้ เู อทีเอ็ม การสัง่ งานของเครื่ องใช้ ไฟฟ้า เป็ นต้ น โดยคอมพิวเตอร์ จะ ทางานทันทีที่มีการสัง่ งาน 2) การประมวลผลแบบกลุ่ม จะเป็ นการประมวลผลเป็ นครัง้ ๆ ในเรื่ องที่สนใจ เช่น การทาโพล (Poll) สารวจว่าเด็ก ๆ ชอบทานอะไร จัดทาเป็ นแบบสารวจ แล้ วนา ข้ อมูลที่ได้ มาประมวลผลด้ วยคอมพิวเตอร์ เป็ นผลสารวจ 9. การประมวลผลและการแสดงผลข้ อมูล เมื่อคนรับข้ อมูล จะใช้ สมอง คานวณและประมวลผลข้ อมูล จากนันจะแสดงผล ้ โดยการแสดงท่าทาง คาพูด หรื อการกระทา

Think … ถ้ าเป็ นอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อรับข้ อมูลตามคาสัง่ งานของคนแล้ ว จะมีการประมวลผลข้ อมูล และแสดงผล ดังนี ้

Information - 10


IT-Based Learning Model Learning management model based on information technology as a tool. As a global citizen in the 21st century society with a basis of multiple intelligence, learner can create knowledge and continuously self-develop, thus lifelong learning, from constructing learning network, accessing resources and connecting the dots.

รูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ ที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่ องมือ ด้ วยบทบาทของพลโลก (Global Citizen) ในปั จจุบนั บนพื ้นฐานของความสามารถที่แตกต่าง จากการสร้ างเครื อข่ายการเรี ยนรู้ การเข้ าถึงทรัพยากรสารสนเทศ และการเชื่อมโยงสิง่ ต่าง ๆ ผู้เรี ยนสามารถสร้ างองค์ความรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สูก่ ารเรี ยนรู้ตลอดชีวิต Real World Learning: 5Cs Collaboration  Cooperation ร่วมทากิจกรรม  Co-Project ร่วมคิดร่วมทาโครงงาน  Communication สื่อสารปฏิสมั พันธ์  Creation สร้ างสรรค์  Construction ร่วมสร้ าง

IT Assessment: 5Ps Realistic กระบวนการเรียนรู้  Process โครงงาน /ผลงาน  Project  Presentation นาเสนองาน  Product ผลผลิต /ชิ ้นงาน  Portfolio ผลงานสะสม

Ethic Reanimation: 5Rs Reflection เคารพให้ เกียรติ  Respect สร้ างความสัมพันธ์  Relation  Reconciliation ประณีประนอม รับผิดชอบ  Response  Reconstruction สร้ างสิ่งใหม่ Rajaya Supapodok 2010

Learning & Construction Tools: 5Ss ICT Tools  Searching Tool สืบค้ น  Studying Tool เรี ยนรู้  Setting Tool จัดทา  Showing Tool นาเสนอ  Sharing Tool เผยแพร่

IT-Based Learning Model Dr. Chadaporn Kositanont Sanguankaew 2009

การเรี ยนรู้ในกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลก เพื่อให้ ดารงตนในสังคมโลกที่ก้าวสูส่ งั คมดิจิทลั (Digital Society) อย่างสมดุล เรียนรู้ที่จะเชื่อมโยง ใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีและสือ่ ดิจิทลั สร้ างทักษะ ความสามารถ เข้ าถึง จัดการ วิเคราะห์ ประเมินและสร้ างความรู้ สือ่ สารหลากหลายรูปแบบอย่างสร้ างสรรค์ รับผิดชอบอย่างมีจริยธรรม โดยใช้ กิจกรรมการเรี ยนรู้ Project Work, Multimedia Project Work และ Collaboration Workshop

CPB Consultant - 1


The Creative IT Learning Innovative Learning Management Model for Global Citizen Information technology-based learning to develop critical skills in the 21st century

นวัตกรรมการจัดการเรี ยนรู้เพื่อสร้ างเยาวชนไทยสูพ่ ลโลก โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21  IT Literacy  Information Literacy  Media Literacy

 Social & Cross-Cultural Skills  Flexibility & Adaptability  Leadership & Accountability

 Problem-Based Learning  Critical Thinking  Collaboration

The Creative IT Learning Dr. Chadaporn Kositanont Sanguankaew 2013

การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ที่สนับสนุนการเรี ยนรู้กบั สังคมโลก (Real World Learning) การเรี ยนรู้แบบดิจิทลั (Digital Learning) และการเรี ยนรู้อย่างสร้ างสรรค์ (Creative Learning) เพื่อสร้ างการเป็ นผู้ใฝ่ ร้ ู สร้ างโอกาสในการเรี ยนรู้ สงิ่ ใหม่ มีความสมดุลระหว่างการใช้ ชีวิตและการทางาน และสามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง สูก่ ารเรี ยนรู้ตลอดชีวติ (Lifelong Learning)

CPB Consultant - 2


3Cs Competencies for Global Citizenship An educational approach that aims at constructing human resource capacity to become citizen of 21st century global community; the Borderless World which is emerged from information technology. 3Cs Competencies consist of Confidence, Connection and Contribution.

แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อสร้ างศักยภาพทรัพยากรบุคคลให้ เป็ นพลโลกในศตวรรษที่ 21 ซึง่ เป็ นโลกไร้ พรมแดน (Borderless World) จากการเชื่อมโยงของเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมโลกเป็ นหนึง่ ด้ วยสมรรถนะ 3Cs ประกอบด้ วย ความมัน่ ใจ (Confidence) ความสัมพันธ์ (Connection) และการเป็ น ผู้ให้ (Contribution)  Knowledge ความรู้  Creativity ความคิดสร้ างสรรค์  Resilience ความไม่ยอ่ ท้ อต่ออุปสรรค

 Concern & Care ความอาทรและห่วงใย  Responsibility ความรับผิดชอบ ความเที่ยงธรรม  Integrity

การสื่อสาร  Communication การประนีประนอม  Compromisation  Cultural Intelligence ความฉลาดทางวัฒนธรรม

3Cs Competencies for Global Citizenship Dr. Chadaporn Kositanont Sanguankaew 2012

สมรรถนะสูพ่ ลโลก เป็ นแนวทางในการจัดการศึกษา ที่มีเป้าหมายเพื่อสร้ างพลเมืองของสังคมโลก ที่มีความมัน่ ใจในตัวเองจากภูมิร้ ู ภูมิปัญญาและสามารถก้ าวข้ ามอุปสรรคปั ญหา สร้ างความสัมพันธ์จากการ สือ่ สาร การประนีประนอมและความฉลาดทางวัฒนธรรม และการเป็ นผู้ให้ ที่อาทรและห่วงใย สานึกใส่ใจต่อ ประชาคมโลก รู้หน้ าที่ มีความรับผิดชอบ ด้ วยจิตสานึกความเที่ยงธรรม ในบริ บทของโลกาภิวตั น์ศตวรรษที่ 21

CPB Consultant - 3



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.