CPB IT Textbook 5

Page 1


CPB IT Textbook สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2559 สถาบันการศึกษา CPB Educational Innovation Consultant บริหารจัดการ

ดร. ชฎาภรณ์ โฆษิตานนท์ สงวนแก้ ว นายภูมิภทั ร์ สงวนแก้ ว นางสาวภัศธรินทร์ สงวนแก้ ว

กองบรรณาธิการ

ฝ่ ายวิชาการ CPB Educational Innovation Consultant ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรี ยนไผทอุดมศึกษา

จัดพิมพ์และจาหน่าย

CPB Educational Innovation Consultant เลขที่ 202/2 ซอยวิภาวดีรังสิต 64 แยก 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 02 973 6149

www.cpb.ac.th


คำนำ การจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT: Information Technology) มี เป้าหมายเพื่อสร้ างนักเรี ยนให้ เป็ นพลโลก (Global Citizen) ที่ชาญฉลาดและเท่าทันในการใช้ เทคโนโลยี (Smart User) เพื่อพัฒนาความสามารถและทักษะรายบุคคล เป็ นผู้สร้ างองค์ความรู้ ที่มีจินตนาการอย่างเต็มศักยภาพ CPB IT Textbook ได้ จดั ทาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อประกอบการเรี ยนรู้ โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี ้ ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1-3: IT Literacy เพื่อให้ นกั เรี ยนเป็ นผู้อ่านออกเขียนได้ ด้ าน IT มีทกั ษะการใช้ Hardware และ Software สร้ างสรรค์ชิ ้นงาน ได้ อย่างถูกวิธี ปลอดภัย ในลักษณะผู้ใช้ งาน (User) ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4-6: IT as Tools: Learning Tools & Construction Tools เพื่อให้ นกั เรี ยนสามารถใช้ IT เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้และสร้ างองค์ความรู้ สามารถเข้ าถึง แหล่งข้ อมูลสารสนเทศ สืบค้ น จัดทา นาเสนอ เพื่อเผยแพร่ในลักษณะผู้สร้ าง (Producer) ระดับชันมั ้ ธยมศึกษา: Global Citizenship เพื่อให้ นกั เรี ยนมีสมรรถนะเป็ นพลโลกใน ศตวรรษที่ 21 ใช้ ประโยชน์จาก IT อย่างเต็มศักยภาพ โดยการเรี ยนรู้ด้วยตนเองจากกิจกรรม Online ติดต่อ สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้ อมูลสารสนเทศในลักษณะเครื อข่ายการเรี ยนรู้ เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ที่สนับสนุนกระบวนการเรี ยนรู้แบบโครงงาน (Project-Based Learning) และการเรี ยนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) สร้ างโอกาสของการเรี ยนรู้ที่ไม่มี ข้ อจากัด (Unlimited Learning) เป็ นการเรี ยนรู้แบบพลวัต (Dynamic Learning) เพื่อเป็ นผู้ใฝ่ ร้ ู สามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างต่อเนื่องจากการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ที่พร้ อมต่อ ความท้ าทายจากเครื อข่ายการเรี ยนรู้กบั สังคมโลก (International Network for Real World Learning) และก้ าวทันโลกที่เปลี่ยนแปลง (Ready for Changing World) ดร. ชฎาภรณ์ โฆษิตานนท์ สงวนแก้ ว สถาบันการศึกษา CPB Educational Innovation Consultant


สารบัญ CPB IT Textbook 5 หน้ า Information เทคโนโลยีและสารสนเทศ ....................................................................................... 1 คุณสมบัติของข้ อมูลสารสนเทศที่ดี .......................................................................... 1 ประโยชน์ของข้ อมูลสารสนเทศ ................................................................................ 1 ระบบสารสนเทศ .................................................................................................... 2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ ........................................................................... 2 การประมวลผลข้ อมูล ............................................................................................. 2 ขันตอนการรวบรวมข้ ้ อมูล ....................................................................................... 3 ขันตอนการประมวลผล ้ ........................................................................................... 3 การนาเสนอสารสนเทศ ........................................................................................... 4 รูปแบบการเรี ยนรู้ทใี่ ช้ IT เป็ นฐาน ............................................................................ 4 Windows 10 Windows 10 ……………………………………………………………………………. 6 Start Menu ……………………………………………………………………………… 6 Shutdown ………………………………………………………………………………. 7 This PC …………………………………………………………………………………. 7 USB Flash Drive ……………………………………………………………………….. 8 File Explorer ……………………………………………………………………………. 9 Resolution Setting …………………………………………………………………….. 11 Task View ………………………………………………………………………………. 11 Windows Accessories ………………………………………………………………… 12 Microsoft Edge ………………………………………………………………………… 13 Windows 10 Tips ……………………………………………………………………… 14 Internet Connection Requirements …………………………………………………………… 17 DNS-Domain Name System …………………………………………………………. 18 หลักการใช้ อินเทอร์ เน็ตอย่างปลอดภัย ..................................................................... 20 เข้ า Microsoft Edge ……………………………………………………………………. 21 ส่วนประกอบ Microsoft Edge …………………………………………………………. 21 Website ทีน่ า่ สนใจ ................................................................................................ 22 Search Engine …………………………………………………………………………. 23 สืบค้ นข้ อมูล ........................................................................................................... 23


E-mail …………………………………………………………………………………… การใช้ Gmail ……………………………………………………………………………. Chat Application ………………………………………………………………………. Other Internet Services ……………………………………………………………… การอ้ างอิงจากเว็บไซต์ ............................................................................................ MS PowerPoint เข้ าโปรแกรม MS PowerPoint ………………………………………………………….. ส่วนประกอบ MS PowerPoint …………………………………………………………. Menu File .…………….………………………………………………………………... Create a Presentation ………………………………………………………………… Add /Delete Slides ..………………………………………………………………….. Insert Objects ………………………………………………………………………… Slide Show .…………………………………………………………………………….. View …………………………………………………………………………………….. Header & Footer ………………………………………………………………………. Design ……..…………………………………………………………………………... Transitions .…………………………………………………………………………….. Animations ……………………………………………………………………………... Print ……………………………………………………………………………………... Share……………………………………………………………………………………. Export …………………………………………………………………………………... Workshop ………………………………………………………………………………. FlipAlbum Vista Suite เข้ าโปรแกรม FlipAlbum …..…………………………………………………………… Quick Start …………………………………………………………………………….. ส่วนประกอบ FlipAlbum ……………………………………………………………….. สร้ างชิ ้นงาน ........................................................................................................... Insert Multi-Media Object …………………………………………………………….. Edit ……………………………………………………………………………………… Markers ………………………………………………………………………………… Bookmarks ……………………………………………………………………………... Book Binder ……………………………………………………………………………. Set Book Options ……………………………………………………………………… ประยุกต์งานจาก PowerPoint …………………………………………………………. Create Album ………………………………………………………………………….. Bookshelf ……………………………………………………………………………….

24 26 29 30 32 33 34 35 35 37 37 48 50 50 51 52 53 54 54 55 55 56 56 57 57 58 60 61 61 62 62 65 67 69


Information 1. เทคโนโลยีและสารสนเทศ (Information and Technology) ข้ อมูล (Data) คือ ข้ อเท็จจริง เรื่ องราวหรื อเหตุการณ์ เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เป็ นข้ อมูลดิบ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เป็ นต้ น สารสนเทศ (Information) คือ ข้ อมูลที่ผา่ นการประมวลผลหรื อจัดระบบแล้ ว เพื่อให้ มี ความหมาย ผ่านการตรวจสอบ มีความน่าเชื่อถือ สามารถนาไปใช้ หรื ออ้ างอิงได้ เทคโนโลยี (Technology) คือ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ ในการ ประดิษฐ์ สิ่งต่าง ๆ ให้ เกิดประโยชน์ เพื่อตอบสนองความต้ องการของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Technology) คือ การนาเทคโนโลยี มาใช้ ในการจัดทาสารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ข้ อความ ตัวอักษร ตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้ น 2. คุณสมบัตขิ องข้ อมูลสารสนเทศที่ดี 1) มีความสมบูรณ์ถกู ต้ อง และเชื่อถือได้ 2) มีความเป็ นปัจจุบนั และทันต่อเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดขึ ้น 3) มีความเกี่ยวข้ องในเรื่ องราวที่ต้องตัดสินใจ 4) มีความสะดวกในการค้ นหา 5) มีความชัดเจน ไม่ซ ้าซ้ อน 3. ประโยชน์ ของข้ อมูลสารสนเทศ 1) ใช้ ในการวางแผนการบริหารงาน 2) ใช้ ประกอบการตัดสินใจ 3) ใช้ ในการควบคุมสถานการณ์ หรื อเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น 4) เพื่อให้ การบริหารงานมีระบบ ลดความซ ้าซ้ อน

Information - 1


4. ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ ระบบที่มีการนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บข้ อมูล หรื อจัดการกับ ข้ อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ ที่สามารถนาไปใช้ ในการประกอบการตัดสินใจได้ อย่างถูกต้ องในเวลา อันรวดเร็ว 5. ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศ (Information System Component) 1) บุคลากร (Peopleware) 2) ข้ อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) 3) ขันตอนการปฏิ ้ บตั ิ (Process) 4) เครื่ องคอมพิวเตอร์ (Hardware) 5) ซอฟต์แวร์ (Software)

6. การประมวลผลข้ อมูล (Data Processing) คือ กระบวนการจัดการข้ อมูล ที่เกี่ยวข้ องสัมพันธ์กนั มาจัดเรี ยงเป็ นหมวดหมู่ ให้ สื่อ ความหมายและเป็ นประโยชน์ในรูปแบบที่ต้องการ เรี ยกว่า สารสนเทศ (Information)

Information - 2


การใช้ คอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้ อมูลเป็ นสารสนเทศ แบ่งเป็ น 2 วิธี คือ 1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Real Time Processing) คือ การประมวลผลที่ คอมพิวเตอร์ จะทางานทันทีเมื่อได้ รับคาสัง่ เช่น กดเงินที่ต้ เู อทีเอ็ม จองตัว๋ เครื่ องบิน เป็ นต้ น 2) การประมวลผลแบบกลุม่ (Batch Processing) คือ การประมวลผลจากการเก็บ รวบรวมข้ อมูลสะสมในระยะเวลาที่กาหนด และจะประมวลผลพร้ อมกัน เช่น การสารวจความ นิยมการเลือกตัง้ หรื อสารวจความคิดเห็น เป็ นต้ น 7. ขัน้ ตอนการรวบรวมข้ อมูล 1) กาหนดวัตถุประสงค์ หรื อเป้าหมายที่ชดั เจนในการค้ นหาข้ อมูล 2) วางแผนรวบรวมข้ อมูล เพื่อความสะดวกในการจัดทา เช่น ประเภทของข้ อมูล แหล่ง ของข้ อมูล วิธีการเก็บข้ อมูล เป็ นต้ น 3) ดาเนินการสืบค้ น ค้ นหาและรวบรวมข้ อมูล จากแหล่งข้ อมูลที่เชื่อถือได้ และ หลากหลาย เช่น สืบค้ นจากอินเทอร์ เน็ต ค้ นคว้ าจากห้ องสมุด สอบถามผู้ร้ ู เป็ นต้ น 4) พิจารณาความน่าเชื่อถือของข้ อมูล เช่น เป็ นความจริ ง ทันสมัย (Update) และ เหมาะสมในการนาไปใช้ งาน เป็ นต้ น 5) สรุปผลข้ อมูลแต่ละหัวข้ อให้ เข้ าใจง่าย สะดวกในการนาไปใช้ และต้ องอ้ างอิงที่มา ของข้ อมูล 8. ขัน้ ตอนการประมวลผล 1) การคานวณ (Calculation) คือ การคานวณทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ 2) การเรี ยงลาดับข้ อมูล (Sorting) คือ จัดเรี ยงตามลาดับความสาคัญ หรื อการใช้ งาน 3) การดึงข้ อมูลมาใช้ (Retrieving) คือ การค้ นหาข้ อมูลที่ต้องการนามาใช้ งาน 4) การรวมข้ อมูล (Merging) คือ การนาข้ อมูลตังแต่ ้ 2 ชุดขึ ้นไป มารวมเป็ นชุดเดียวกัน 5) การสรุป (Summarizing) คือ การรวบรวมข้ อมูลที่มีอยู่ ให้ อยูใ่ นรูปแบบสัน้ ๆ กะทัดรัด ตามต้ องการ 6) การสร้ างข้ อมูลชุดใหม่ (Reproducing) คือ การสร้ างข้ อมูลใหม่ขึ ้นมาจากข้ อมูลเดิม 7) การปรับปรุงข้ อมูล (Updating) คือ การเพิ่มข้ อมูล (Add) การลบข้ อมูล (Delete) และ การเปลี่ยนค่า (Change) ข้ อมูลที่มีอยูใ่ ห้ ทนั สมัยอยูเ่ สมอ

Information - 3


9. การนาเสนอสารสนเทศ คือ การแปลผลลัพธ์จากการประมวล อยูใ่ นรูปแบบที่เข้ าใจง่าย เพื่อเผยแพร่เป็ น ประโยชน์แก่ผ้ สู นใจ วิธีการนาเสนอมีหลายแบบ เช่น รายงาน แผ่นพับ บรรยาย Presentation, Infographic, Video เป็ นต้ น หรื อจัดทาในรูปแบบออนไลน์ เช่น Prezi.com, Slide Share, Wikipedia, Flipbook Online เป็ นต้ น 10. รู ปแบบการเรี ยนรู้ ท่ ใี ช้ IT เป็ นฐาน (IT-Based Learning Model) รูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่ องมือ เพื่อสร้ างนักเรี ยนเป็ น พลโลก สามารถใช้ เทคโนโลยีเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ สร้ างเครื อข่ายการเรี ยนรู้ร่วมกัน อย่าง สร้ างสรรค์ มีความรับผิดชอบ และสามารถประเมินผลจากชิ ้นงานที่เกิดจากกิจกรรมการเรี ยนรู้ เชื่อมโยงสูช่ ีวิตจริง เช่น Project Work, Multimedia Project Work และ Collaboration Workshop เป็ นต้ น

การใช้ IT ในการกิจกรรมการเรี ยนรู้ ดังนี ้ 1) Learning & Construction Tools: 5Ss IT Tools ใช้ IT เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ Searching Tool: เครื่ องมือในการสืบค้ น ความสามารถในการเข้ าถึงข้ อมูลสารสนเทศ วิจารณญาณในการเลือกใช้ ข้อมูล และการอ้ างอิงที่ถกู ต้ อง Studying Tool: เครื่ องมือในการเรี ยนรู้จากข้ อมูลสารสนเทศ สามารถเชื่อมโยงและ ต่อยอดสร้ างสรรค์สิ่งใหม่หรื อองค์ความรู้ใหม่ Setting Tool: เครื่ องมือในการจัดทาผลผลิตจากการเรี ยนรู้ รายงาน ชิ ้นงาน หรื อ โครงงาน Showing Tool: เครื่ องมือในการนาเสนอสิ่งที่เรี ยนรู้ เพื่อสะท้ อนความคิด แลกเปลี่ยน เรี ยนรู้กนั Sharing Tool: เครื่ องมือในการแบ่งปัน เผยแพร่องค์ความรู้จากสิ่งที่เรี ยนรู้ สูส่ งั คมโลก Information - 4


2) IT Assessment: 5Ps Realistic การประเมินผลการเรี ยนรู้ด้าน ICT ตามสภาพจริง จากผลงานเชิงประจักษ์ Process: ประเมินจากกระบวนการเรี ยนรู้ ด้ วยการเรี ยนรู้ที่แตกต่างของแต่ละบุคคล Project: ประเมินจากโครงงานหรื อผลงานที่เกิดจากกระบวนการเรี ยนรู้ Presentation: ประเมินจากนาเสนอโครงงานหรื อผลงานที่ได้ จากการเรี ยนรู้ Product: ประเมินจากผลผลิตหรื อชิ ้นงานจากการเรี ยนรู้ Portfolio: ประเมินจากผลงานสะสม พัฒนาการภาพรวมและร่องรอยจากการเรี ยนรู้ 3) Real World Learning: 5Cs Collaboration การเรี ยนรู้กบั สังคมโลกด้ วยเครื อข่ายการ เรี ยนรู้ (Learning Network) ร่วมสร้ างและแบ่งปันความรู้ Cooperation: ร่วมมือกันในการทากิจกรรม แลกเปลี่ยนและสร้ างประสบการณ์ร่วมกัน Co-Project: สร้ างโครงสร้ างร่วมกัน กิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทา Communication: สื่อสารปฏิสมั พันธ์ จัดทาเวทีอภิปราย แลกเปลี่ยนข้ อมูล ข้ อคิดเห็น Creation: ร่วมสร้ างสรรค์ ค้ นพบ ริเริ่ม พัฒนา ออกแบบ ประดิษฐ์ Construction: ร่วมสร้ างทา เพื่อให้ เป็ นองค์ความรู้ใหม่ร่วมกัน 4) Ethic Reanimation: 5Rs Reflection การเรี ยนรู้ร่วมกันบนหลักจริ ยธรรมและ คุณธรรม พื ้นฐานของภราดรภาพและสิทธิสากล (รัชยา สุพโปฏก 2554) Respect: เคารพให้ เกียรติ ฟั งความคิดเห็นในการทากิจกรรมร่วมกัน Relation: สร้ างความสัมพันธ์ที่ยงั่ ยืน จากโครงการหรื อกิจกรรมร่วมกัน Reconciliation: ประณีประนอมในการสื่อสาร เสนอและฟั งข้ อคิดเห็นซึง่ กันและกัน Response: รับผิดชอบต่อสิ่งที่ทา หรื องานที่สร้ างสรรค์ขึ ้นมา Reconstruct: ร่วมสร้ างการใช้ IT ขึ ้นใหม่ ที่สร้ างสรรค์ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ที่สนับสนุนการเรี ยนรู้กบั สังคมโลก (Real World Learning) การเรี ยนรู้แบบดิจิทลั (Digital Learning) และการเรี ยนรู้อย่างสร้ างสรรค์ (Creative Learning) เพื่อสร้ างการเป็ นผู้ใฝ่ รู้ สร้ างโอกาสในการเรี ยนรู้สิ่งใหม่ มีความสมดุล ระหว่างการใช้ ชีวิตและการทางาน และสามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง สู่การเรี ยนรู้ตลอด ชีวิต (Lifelong Learning) Information - 5


IT-Based Learning Model Learning management model based on information technology as a tool. As a global citizen in the 21st century society with a basis of multiple intelligence, learner can create knowledge and continuously self-develop, thus lifelong learning, from constructing learning network, accessing resources and connecting the dots.

รูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ ที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่ องมือ ด้ วยบทบาทของพลโลก (Global Citizen) ในปั จจุบนั บนพื ้นฐานของความสามารถที่แตกต่าง จากการสร้ างเครื อข่ายการเรี ยนรู้ การเข้ าถึงทรัพยากรสารสนเทศ และการเชื่อมโยงสิง่ ต่าง ๆ ผู้เรี ยนสามารถสร้ างองค์ความรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สูก่ ารเรี ยนรู้ตลอดชีวิต Real World Learning: 5Cs Collaboration  Cooperation ร่วมทากิจกรรม  Co-Project ร่วมคิดร่วมทาโครงงาน  Communication สื่อสารปฏิสมั พันธ์  Creation สร้ างสรรค์  Construction ร่วมสร้ าง

IT Assessment: 5Ps Realistic กระบวนการเรียนรู้  Process โครงงาน /ผลงาน  Project  Presentation นาเสนองาน  Product ผลผลิต /ชิ ้นงาน  Portfolio ผลงานสะสม

Ethic Reanimation: 5Rs Reflection เคารพให้ เกียรติ  Respect สร้ างความสัมพันธ์  Relation  Reconciliation ประณีประนอม รับผิดชอบ  Response  Reconstruction สร้ างสิ่งใหม่ Rajaya Supapodok 2010

Learning & Construction Tools: 5Ss ICT Tools  Searching Tool สืบค้ น  Studying Tool เรี ยนรู้  Setting Tool จัดทา  Showing Tool นาเสนอ  Sharing Tool เผยแพร่

IT-Based Learning Model Dr. Chadaporn Kositanont Sanguankaew 2009

การเรี ยนรู้ในกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลก เพื่อให้ ดารงตนในสังคมโลกที่ก้าวสูส่ งั คมดิจิทลั (Digital Society) อย่างสมดุล เรียนรู้ที่จะเชื่อมโยง ใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีและสือ่ ดิจิทลั สร้ างทักษะ ความสามารถ เข้ าถึง จัดการ วิเคราะห์ ประเมินและสร้ างความรู้ สือ่ สารหลากหลายรูปแบบอย่างสร้ างสรรค์ รับผิดชอบอย่างมีจริยธรรม โดยใช้ กิจกรรมการเรี ยนรู้ Project Work, Multimedia Project Work และ Collaboration Workshop

CPB Consultant - 1


The Creative IT Learning Innovative Learning Management Model for Global Citizen Information technology-based learning to develop critical skills in the 21st century

นวัตกรรมการจัดการเรี ยนรู้เพื่อสร้ างเยาวชนไทยสูพ่ ลโลก โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21  IT Literacy  Information Literacy  Media Literacy

 Social & Cross-Cultural Skills  Flexibility & Adaptability  Leadership & Accountability

 Problem-Based Learning  Critical Thinking  Collaboration

The Creative IT Learning Dr. Chadaporn Kositanont Sanguankaew 2013

การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ที่สนับสนุนการเรี ยนรู้กบั สังคมโลก (Real World Learning) การเรี ยนรู้แบบดิจิทลั (Digital Learning) และการเรี ยนรู้อย่างสร้ างสรรค์ (Creative Learning) เพื่อสร้ างการเป็ นผู้ใฝ่ ร้ ู สร้ างโอกาสในการเรี ยนรู้ สงิ่ ใหม่ มีความสมดุลระหว่างการใช้ ชีวิตและการทางาน และสามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง สูก่ ารเรี ยนรู้ตลอดชีวติ (Lifelong Learning)

CPB Consultant - 2


3Cs Competencies for Global Citizenship An educational approach that aims at constructing human resource capacity to become citizen of 21st century global community; the Borderless World which is emerged from information technology. 3Cs Competencies consist of Confidence, Connection and Contribution.

แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อสร้ างศักยภาพทรัพยากรบุคคลให้ เป็ นพลโลกในศตวรรษที่ 21 ซึง่ เป็ นโลกไร้ พรมแดน (Borderless World) จากการเชื่อมโยงของเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมโลกเป็ นหนึง่ ด้ วยสมรรถนะ 3Cs ประกอบด้ วย ความมัน่ ใจ (Confidence) ความสัมพันธ์ (Connection) และการเป็ น ผู้ให้ (Contribution)  Knowledge ความรู้  Creativity ความคิดสร้ างสรรค์  Resilience ความไม่ยอ่ ท้ อต่ออุปสรรค

 Concern & Care ความอาทรและห่วงใย  Responsibility ความรับผิดชอบ ความเที่ยงธรรม  Integrity

การสื่อสาร  Communication การประนีประนอม  Compromisation  Cultural Intelligence ความฉลาดทางวัฒนธรรม

3Cs Competencies for Global Citizenship Dr. Chadaporn Kositanont Sanguankaew 2012

สมรรถนะสูพ่ ลโลก เป็ นแนวทางในการจัดการศึกษา ที่มีเป้าหมายเพื่อสร้ างพลเมืองของสังคมโลก ที่มีความมัน่ ใจในตัวเองจากภูมิร้ ู ภูมิปัญญาและสามารถก้ าวข้ ามอุปสรรคปั ญหา สร้ างความสัมพันธ์จากการ สือ่ สาร การประนีประนอมและความฉลาดทางวัฒนธรรม และการเป็ นผู้ให้ ที่อาทรและห่วงใย สานึกใส่ใจต่อ ประชาคมโลก รู้หน้ าที่ มีความรับผิดชอบ ด้ วยจิตสานึกความเที่ยงธรรม ในบริ บทของโลกาภิวตั น์ศตวรรษที่ 21

CPB Consultant - 3



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.