รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
คู่มือการพัฒนาวิชาชีพครู
School-Based Teacher Professional Development
1
CoP (Communities of Practice : CoP) ผู้เรียบเรียง
ศิริรัตน์ หวังสะแล่ะฮ์
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
2
คำนำ หนังสือคูมือแนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู เรื่อง ชุมชนแห่งการปฏิบัติ (Communities Of Practice : CoP) ฉบั บ นี้ จัดทําขึ้นเพื่อ รวบรวมความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยชุมชนแห่งการ ปฏิบัติ ใหมีความชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึ้น เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการ เลือกสรรเพื่อศึกษาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน หนังสือคู่มือ เล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวคิด ที่มา ความหมาย องค์ประกอบ และขั้นตอน การปฏิบัติตามแนวทางชุมชนแห่งการปฏิบัติ ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือคู่มือการพัฒนาครู เรื่อง ชุมชน แห่งการปฏิบัติ (Communities Of Practice : CoP) เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจศึกษาแนวคิดนี้ และขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ ดร.ชาริณี ตรีวรัญญู ที่ให้คําแนะนํา เกี่ยวกับการจัดทําและเรียบเรียงหนังสือคู่มือเล่มนี้ จนสําเร็จลุล่วงโดยดี ผู้เรียบเรียง นางสาวศิริรัตน์ หวังสะแล่ะฮ์ 30 กันยายน 2560
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
3
School-Based Teacher Professional Development
สำรบัญ หัวข้อ
หน้า แนวคิดของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ที่มาของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ความหมายของชุมชนแห่งการปฏิบัติ องค์ประกอบของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ขั้นตอนในการสร้างชุมชนแห่งการปฏิบัติ ลักษณะการรวมกลุ่มของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏิบัติตามแนวทางของ ชุมชนแห่งการปฏิบัติ สรุปลักษณะของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ประโยชน์ของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ปัจจัยความสําเร็จของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้แนวทางของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ในการพัฒนาวิชาชีพครู รายการอ้างอิง
1 2 3 4 7 9 10 11 12 13 16 19
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
4
ชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) แนวคิดของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ ชุมชนแห่งการปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) เป็น แนวคิ ด หนึ่ ง ที่ สํ า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นกระบวนการจั ด การความรู้ ที่ มี ประสิทธิภาพ เป็นแนวคิดทฤษฎีทางสังคม ที่ว่าด้วยการรวมตัวกันของกลุ่มที่มี ความสนใจหรือปัญหาในการทํางานร่วมกันเข้ามารวมกลุ่มกันเพื่อเรียนรู้และ แลกเปลี่ยน การรวมกลุ่มเป็น การสร้ างพื้นที่และโอกาสสํ าหรับแลกเปลี่ ยน เรียนรู้ข้อมูล ประสบการณ์ หรือความเข้าใจ อย่างลึกซึ้งจากการทํางานจนทํา ให้สมาชิกของกลุ่มมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในงานเพิ่มมากขึ้น การ เกิดขึ้นของชุมชนแห่งการปฏิบัติจึงทําให้เห็นถึงระบบความสัมพันธ์ทางสังคมที่ เอื้อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาและยกระดับการจัดการความรู้ ขององค์กร สถาบัน หรือสังคมได้เป็ นอย่างดี ซึ่งในการศึกษาเกี่ยวกับ การ พัฒนาวิชาชีพครู แนวคิดชุมชนแห่งการปฏิบัติได้ถูกนํามาเป็นแนวคิดหนึ่งที่ มุ่งเน้นการพัฒนาบริบทของครูประจําการ ทั้งนี้เพราะมีรูปแบบการดําเนินงาน ที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง (On-going) ในการปฏิบัติงาน เป็นการรวมกันของกลุ่ม บุคคลทางวิชาชีพที่มีความสนใจและปรารถนาร่วมกันในการที่จะพัฒนา การ ปฏิ บั ติ ง านเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง เป็ น พิ เ ศษผ่ า นการแลกเปลี่ ย น ( sharing) ข้อความรู้ ความเข้าใจที่ลึกซึ้งหรือแนวทางปฏิบัติที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นการ ปฏิบัติที่ดี (Wenger,1998;McDermott&Snyder, 2002 อ้างถึงใน รังรอง สม มิตร, 2556)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
5
ที่มำชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ เดิมชุมชนแห่งการปฏิบั ตินี้ ถูกก่อตั้ง เกิดขึ้นโดย Dr.Etienne Wenger และทีมงาน เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกกลุ่มแรกที่สร้างแนวคิดนี้ขึ้นมาผ่านการศึกษา การฝึกหัดงาน พวกเขาพบว่ามีความซับซ้อนในสังคมของการฝึกงานที่ทําให้ เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ และได้ ตั้ ง ชื่ อ ว่ า ชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ ชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ จึ ง กลายเป็นศูนย์กลางของการจัดการความรู้ เพราะเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สําคัญใน การขับเคลื่อนการจัดการความรู้ ประเภท Non-Technical Tools สําหรับดึง ความรู ในตัวบุคคลในรูปของ Tacit Knowledge ออกมาจัดเก็บใหกลายเปน ความรู ที่ปรากฎชัดแจง หรือ Explicit Knowledge เพื่อสร้าง วิธีปฏิบัติที่ เปนเลิศ สําหรับใหบุคคลอื่นสามารถนําไปทดลองใช และตอยอดยกระดับ ความรูนั้นขึ้นเรื่อยๆ หลังจากที่หนังสือเล่มแรกเกี่ยวกับชุมชนนักปฏิบัติ ที่ชื่อ ว่ า Communities of Practice - Learning, Meaning, and Identity ไ ด้ พิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1998 ตั้งแต่นั้นมา ชุมชนนักปฏิบัติมีบทบาทสําคัญใน บริบทของการจัดการความรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแลกเปลี่ยนความรู้ภายใน องค์กร และเป็นเครื่องมือในการทลายอุปสรรคที่ให้ความรู้ไหลข้ามองค์กร ชุมชนแห่งการปฏิบัติ หรือ Community of Practice : CoP นับเป็น กุ ญ แจสํ า คั ญ ในการเคลื่ อ นกระบวนการจั ด การความรู้ ( Knowledge Management ) ที่ทรงพลั งและสร้ างความยั่งยืน เนื่องจากการเกิดขึ้นของ ชุมชนแห่งการปฏิบัตินั้น สะท้อนให้เห็นถึงระบบความสัมพันธ์ทางสังคมใน แนวรวม ที่เชื่อว่าจะสามารถเอื้อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( Share and Learn ) มีการพัฒนาและจัดการเพื่อยกระดับองค์ความรู้ขององค์กรหรือสังคม ได้อย่างมีประสิทธิผล
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
6
ควำมหมำยของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ
มีผูให้นิยาม ความหมายของ ชุมชนแห่งการปฏิบัติ ( Community of Practice : CoP) ไวดังตอไปนี้ Wenger (2011) ให้นิยามว่า ชุมชนนักปฏิบัติ” ( Community of Practice: CoP) คือ กลุ มคนที่มารวมแลกเปลี่ยนในเรื่องที่ตนเองสนใจ มีความรู ความ ชํานาญ และเรียนรู จากคนอื่นๆในกลุ มผานการปฎิสัมพันธ ระหวางกันอย างตอเนื่อง” รังรอง สมมิตร (2556) ได้ให้ความหมายว่า ชุมชนแห่งการปฏิบัติ ( Community of Practice: CoP) คือ กลุ่มคนที่มีความสนใจ หรือมีปัญหาใน การทํางาน เข้ามารวมกลุ่มกันเพื่อเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกัน และกัน มีการสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์เกิดความเข้าอกเข้าใจในระหว่าง ดําเนินกิจกรรมร่วมกัน จะช่วยเสริมสร้างความรู้สึกการมีส่วนร่วม ก่อให้เกิด ความมุ่งมั่นที่จะดําเนินการที่สร้างสรรค์ต่อไป สรุปความหมาย ชุมชนแห่งการปฏิบัติ( Community of Practice: CoP) “การรวมกลุ่มกันอย่างไม่เป็นทางการ ของผู้ที่มีความสนใจหรือมีความรู้ใน เรื่องเดียวกัน มีเป้าหมายร่วมกัน พร้อมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและ กัน เสริ มสร้ างความรู้ สึ กมีส่ ว นร่ว ม เข้าใจ มุ่งมั่นในการดําเนินกิจกรรม ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคคลภายในกลุ่ม เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในงานเพิ่มมากขึ้น สามารถต่อยอดความรู้และนําไป เผยแพร่ต่อได้”
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
7
องค์ประกอบของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ ชุมชนแห่งการปฏิบัติ ( Community of Practice : CoP) มุ่งเน้นการนํา ความรู้ที่ใช้ในงานมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อต่อยอดความรู้และพัฒนาคุณภาพงาน ที่ตนเองปฏิบัติอยู่ออ โดยทั่วไปการที่จะรวมกลุ่มกันเป็นชุมชนแนวปฏิบัติจะมี องค์ประกอบ 3 ประการ ดังนี้ 1. ขอบเขต/สาระ (the domain) หรือหัวข้อความรู้ เป็นหัวข้อที่กลุ่มหรือ ชุมชนจะมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน หัวข้อที่ดีจะต้องมีลักษณะเป็นหัวข้อที่ เกิดจากความต้องการ หรือ แรงปรารถนาจริง (Real Passion) ของ ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งส่วนใหญ่หัวข้อจะมาจากงานในหน้าที่รับผิดชอบที่ตนเอง ปฏิบัติอยู่แล้ว 2. ชุมชน (community) ได้แก่ พันธะทางสังคมที่จะรวบรวมและยึด เหนี่ยวสมาชิกผู้ปฏิบัติงานเข้าไว้ด้วยกันภายใต้โดเมนและแรงปรารถนา เดียวกันในการรวมกลุ่มกันเป็นชุมชนแห่งการปฏิบัติ ไม่ได้มีกฎตายตัวว่า สมาชิกในชุมชนจะต้องมี จํานวนเท่าใด มีตําแหน่งใดบ้าง แต่เพื่อความสะดวก ในการก่อตั้งชุมชนแห่งการปฏิบัติ สมาชิกในชุมชน ควรประกอบด้วย ผู้ ส นั บ สนุ น กลุ่ ม (Sponsor) ทํ า หน้ า ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมการ สื่อสารภายในกลุ่ มกับสมาชิกในชุมชนแห่งการปฏิบัติ เป็นผู้นําการ สนทนาและรู้วัตถุประสงค์วิสัยทัศน์ของกลุ่มชัดเจน ผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) เป็นผู้ดําเนินการหลัก ทํ า หน้ า ที่ จั ด ระบบและบริ ห ารทรั พ ยากรของชุ ม ชน เป็ น ผู้ นํ า การ สนทนาและการสื่ อสารระหว่า งสมาชิ กตามช่ องทางต่ างๆ ใช้และ กระตุ้นให้สมาชิกได้ใช้เครื่องมือเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งทํา หน้าที่เสริมแรงให้กับชุมชนในโอกาสต่างๆ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
8
ผู้บันทึก (Community Historian) เป็นผู้ที่บันทึกสิ่งสําคัญที่ได้จาก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน จับประเด็นและสรุปประเด็นต่างๆ เพื่อ ร ว บ ร ว ม ไ ว้ เ ป็ น ค ลั ง ค ว า ม รู้ ( Knowledge Assets) ข อ ง ชุ ม ช น ผู้ บั น ทึ ก มี ค วามสํ า คั ญ มากเพราะเป็ น ผู้ เ ปลี่ ย นความรู้ ที่ ฝั ง ลึ ก (Tacit Knowledge) จากการแลกเปลี่ยน ให้ เป็ น ความรู้เชิงประจักษ์ (Explicit Knowledge) ที่สมาชิกสามารถนําไปอ้างอิงและใช้ประโยชน์ในการทํางาน ได้ต่อไปได้ สมาชิกของชุมชนแห่งการปฏิบัติ (Member) ทําหน้าที่แลกเปลี่ยน ความรู้และประสบการณ์ มีส่วนร่วมในการอภิปราย นําเสนอประเด็นใหม่ ร่ ว มคิ ด วิ ธี แ ก้ ปั ญ หา แนะนํ า วิ ธี ก ารที่ ทํ า ให้ ชุ ม ชนแห่ ง การปฏิ บั ติ มี ประสิ ทธิภ าพมากขึ้น และเข้าร่ ว มด้ว ยความสมัครใจและเต็มใจ มีความ ปรารถนาที่จะ “ให้” “รับ” “สร้าง” และ “ใช้”ความรู้ นอกจากนั้นบางชุมชนอาจมีผู้เชี่ยวชาญ (expert) ในหัวข้อความรู้ นั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมเป็นครั้งคราวได้ 3. แนวทางปฏิบัติ (The Practice) เป็นองค์ความรู้ซึ่งเกิดขึ้นจากผลิตผล ของการอยู่รวมกันเป็นชุมชน และมีการแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการ ปฏิบัติงานแต่ละคนในรูปของประสบการณ์ เครื่องมือ วิธีการดําเนินงานหรือ แก้ไขปัญหาซ้ําๆ ซึ่งได้มาจากการบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน เป็น คลังความรู้ของชุมชนที่ได้จากการสังเคราะห์โดยชุมชนและ จัดเก็บ ปรับปรุง ถ่ายทอด โดยนํามาสร้างเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่เผยแพร่ได้ทําให้เกิด เป็นการต่อยอดความรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ชุมชนแนวปฏิบัติจ ะต้องมีองค์ป ระกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ครบถ้วนและสมดุล คล้ า ยกั บ โมเดลเก้ าอี้ ส ามขา ตามที่ อ.ประพนธ์ ผาสุ ก ยื ด เสนอไว้ จึ ง จะ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
9
สามารถดํารงอยู่ และขับ เคลื่ อนการจั ดการความรู้ให้ กับ ชุมชนได้ การขาด องค์ประกอบอันใดอันหนึ่งไปจะไม่สามารถสร้างชุมชนให้เกิดความยั่งยืนขึ้นได้ เช่นเดียวกับก้าวอี้สามขาที่ไม่สามารถตั้งได้ โดเมนที่ขาดแรงปรารถนาหรือ เป็นหัวข้อที่ถูกสั่งลงมาจากผู้บริหารจะทําให้ชุ มชนไร้พลังและขาดแรงจูงใจ ชุมชนที่ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจกันระหว่างสมาชิก ขาดทรัพยากร หรือขาดผู้ อํานวยความสะดวกที่เข้มแข็ง ก็จะแยกสลายและไม่สามารถรักษาความเป็น ชุมชนไว้ได้ ชุมชนที่ไม่มีการบันทึกแนวปฏิบัติก็ไม่อาจสร้างและนําความรู้ใหม่ ที่แลกเปลี่ ย นกัน ไปปฏิบั ติ ให้ เกิดผลสั มฤทธิ์ในองค์กรได้ แม้ว่าชุมชนแนว ปฏิบั ติส ามารถก่อตั้งขึ้น ได้โดยง่าย การที่จ ะให้ ชุมชนมีความยั่งยืน และนํา ความรู้มาใช้เพื่อพัฒนาองค์กร ถือเป็นความท้าทายและต้องอาศัยพลั งกาย พลังใจของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในการบรรลุประสิทธิผลของการจัดการความรู้ ในองค์กร CoP Model : เก้าอี้สามขา
ที่มา : อ.ประพันธ์ ผาสุก
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
10
ประเภทของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ
Helping Communities เพื่ อ แก้ ปั ญ หาประจํ า วั น และแลกเปลี่ ย น แนวคิดในกลุ่มสมาชิก Best Practice Communities เน้ น การพั ฒ นา ตรวจสอบและ เผยแพร่แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ Knowledge-stewareding Communities เพื่อจัดระเบียบ ยกระดับ และพัฒนาความรู้ที่สมาชิกใช้เป็นประจํา Innovation Communities เพื่ อ พั ฒ นาแนวคิ ด โดยเน้ น การข้ า ม ขอบเขต เพื่อผสมผสานสมาชิกที่มุมมองต่างกัน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
11
ขั้นตอนในกำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ จากแนวคิ ด ต่ า งๆที่ ก ล่ า วถึ ง กระบวนการในการเสริ ม สร้ า งการ รวมกลุ่มให้เกิดเป็นชุมชนแห่งการปฏิบัติ รวมถึงการพัฒนาความเข้มแข็งของ กลุ่ม สรุปเป็นขั้นตอนการสร้างชุมชนแห่งการปฏิบัติได้ดังนี้ ขั้นก่อนการรวมกลุ่ม (ขั้นปลูกจิตสํานึก/ขั้นเตรียมการสร้างกลุ่ม ขั้น ตอนนี้ เป็ น การกระตุ้น ให้ ส มาชิ กตระหนัก และรับรู้ปัญหา เกิ ด ความสนใจในการเข้าร่วมกลุ่ม มีเทคนิควิธีการที่จําเป็นคือ การสร้างศรัทธา และความไว้วางใจของสมาชิกในการเข้าร่วมกลุ่ม ขั้นสร้างกลุ่ม (การดําเนินงานกลุ่ม/ขั้นการทํากิจกรรม) เป็นขั้นตอนที่กระตุ้นให้เ กิดการรวมกลุ่ม อาจเริ่มจากการรวมกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ ยนเรีย นรู้ จากนั้นจึงพัฒนาสู่กลุ่มที่มีการดําเนินกิจกรรมเพื่ อ ดํ า เนิ น งานตามเป้ า หมายที่ ก ลุ่ ม กํ า หนดไว้ ขั้ น นี้ ผู้ อํ า นวยความสะดวก (facilitator) อาจทํ า หน้ า ที่ ใ นการนํ า เสนอข้ อ มู ล กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การคิ ดค้น แนวทางแก้ ปั ญ หา สนั บ สนุ น ให้ ก ลุ่ ม ดํา เนิ น กิ จ กรรมตามแนวทางที่ ว างไว้ รวมถึงการสนับสนุนด้านความรู้ เทคโนโลยีที่จําเป็นต่อกลุ่ม ขั้นการเจริญเติบโตของกลุ่ม(การบารุงรักษากลุ่ม/ขั้นการขยายกลุ่ม) ประเด็นสําคัญที่ต้องดําเนินการในขั้นนี้คือ การกระตุ้นให้สมาชิกเห็น ความสําคัญจําเป็นในการสร้ างเครือข่าย และการพัฒนาความสัมพันธ์ในการ อยู่ร่วมกันเป็นเครือข่าย เช่นการสร้างแม่ข่าย สร้างแกนนําในการประสานงาน และการพัฒนาระบบการติดต่อสื่อสาร ซึ่งการนําแนวคิดชุมชนแห่งการปฏิบัติเข้ามาพัฒนาวิชาชีพ จะพบว่า ชุมชนมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา อาจมีกิจกรรมสนับสนุนใน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
12
ช่วงเวลาต่างๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการสร้างชุมชนแห่งการปฏิบัติได้ ดัง ตารางต่อไปนี้ ขั้นตอนการ สร้างชุมชน ขั้นก่อนการ รวมกลุ่ม
ขั้นการ สร้างกลุ่ม
ขั้นการ เจริญเติบโต ของกลุม่
ช่วงเวลา
เป้าหมาย
การค้นหาศักยภาพ (Potential Stage)
เพื่อค้นหา เครือข่าย ความรู้ จากคนในชุมชน หาผู้เข้าร่วมกลุม่ อย่างไม่เป็น ทางการ
เ ริ่ ม ต้ นกิ จ กรรม ข อ ง ชุ ม ช น ด้ ว ย บุ ค คลที่ เ ป็ น แกน การรวมตัว หลัก เพื่อสร้างพลัง (Coalescing Stage) ของกลุ่ ม ให้ เ กิ ด ความกระตือรือร้น ในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อสร้างให้สมาชิก การดูแล ได้ มี โ อกาสเรี ย นรู้ (Stewardship Stage) ร่วมกัน การแปลงสภาพ เพื่อแสวงหาชุมชน (Transformation Stage) ในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ หรือ
กิจกรรมที่ สนับสนุน -สร้างกิจกรรมให้ ได้พบกับผู้ ประสานและผู้นํา ทางการคิดของ ชุมชน -ส ร้ า ง แ ผ น ง า น สําหรับช่วงเริ่มต้น -สร้างกิจกรรมเพื่อ เ ปิ ด พื้ น ที่ ข อ ง ชุมชน แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง สมาชิ ก ให้ มี ค วาม ร่วมใจกัน
-ส ร้ า ง แ ล ะ จั ด ร ะ เ บี ย บ ค ลั ง ความรู้ของชุมชน -สร้ า งเครื อ ข่ า ย แ ล ะ จั ด เ ว ที แลกเปลี่ ย นการ เรียนรู้
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
13
กระจายความรูส้ ู่ ชุมชนอื่น
ลักษณะกำรรวมกลุ่มของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ แบบกลุ่มเล็ก สมาชิก 6-7 คน และกลุ่มใหญ่ แบบเป็นทางการ(Public) -เปิดเผย แบบไม่เป็นทางการ(Private) – ส่วนตัว แบบบนลงล่าง (Top Down) และรากหญ้า (Grass Root) แบบแยกฝ่าย และคละฝ่าย แบบคนในองค์กร-คนในองค์กร และคนในองค์กร-คนนอกองค์กร ตัวอย่างของชุมชนแห่งการปฏิบัติ ตัวอย่างที่ 1 ชุมชนแห่งการปฏิบัติที่ก่อตั้งได้ง่ายที่สุด ก็คือ สภากาแฟ เป็นการพบปะกันของบุคคลซึ่งมีความสนใจในเรื่องเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยน ความรู้ ประสบการณ์ ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยอาจจะเป็นตอนเช้าก่อน ทํางาน หรือเวลาช่วงบ่ายๆ ก่อนเลิกงาน เป็นต้น ตัวอย่างที่ 2 การประชุม ซึ่งมีการจัดประชุมอย่างเป็นประจํา เช่น ทุก สัปดาห์ หรือ ทุก 2 สัปดาห์ เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างสม่ําเสมอ จะได้รับรู้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับสมาชิกในชุมชน หรือได้รับความรู้ และ ประสบการณ์ที่ทันต่อเหตุการณ์ตลอดเวลา ตัวอย่างที่ 3 ชุมชนแห่งการปฏิบัติโดยใช้เทคโนโลยีเว็บบอร์ด หรือสื่อ สังคมออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ตั้งขึ้นมานั้นจะเป็นการร่วมอภิปราย เกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่องราวเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีคนให้ความสนใจในเรื่อง เดียวกัน ซึ่งเว็บบอร์ดนี้ อาจจะมีผู้เชี่ยวชาญเป็นแกนหลักในการ ดําเนิน กิจกรรมของชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการ ตั้งกระทู้ หรือการตอบคําถามข้อสงสัย แต่มีข้อเสีย คือ ไม่ได้เป็นการโต้กันทันทีในขณะนั้น
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
ขั้นตอนกำรปฏิบัติตำมแนวทำงชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ Step 1
จ ัดตงน ั้ ำร่องชุมชนแห่งกำรปฎิบ ัติ
Step 2
จ ัดประชุมกลุ่มครงที ั้ ่ 1 ด้วย กำรค้นหำประเด็นด้วย ่ ดจำกกำร คำถำมหลักๆ ผู บ ้ ันทึกบ ันทึกข้อควำมรู ้ทีเกิ ประชุม
Step 3 Step 4
้ั ่ 1 ผู อ ้ ำนวยควำมสะดวก ทำกำรส่งรุปกำรประชุมครงที ้ ่ ส่งให้สมำชิกทุกท่ำนหลังจำกนันเริ มกระจำยข่ ำวกำร ้ั มชนเพือเพิ ่ ่ ำนวนสมำชิก ก่อตงชุ มจ ผู อ ้ ำนวยควำมสะดวกหำควำมต้องกำรในกำรใช้ ่ ่ เทคโนโลยี เพือเสริ มกำรสือสำรระหว่ ำงสมำชิกและ เสนอต่อองกรค ์
Step 5
้ั ่ 2 มุ่งเน้นกำรแลกเปลียนควำม ่ จ ัดประชุมกลุ่มครงที ้ คิดเห็น มำกกว่ำกำรมุ่งให้สมำชิกเสนอเนือหำ
Step 6
่ ่ จ ัดประชุมครงที ั้ ่ 3 และ 4 เพือแลกเปลี ยนควำมคิ ดเห็น โดยให้เป็ นไปตำมว ัตถุประสงค ์ของกลุ่ม
Step 7
่ ่ จ ัดบรรยำยประสบกำรณ์ในองค ์กรเพือเสวนำเรื อง ่ ควำมก้ำวหน้ำและปั ญหำทีพบ
Step 8
่ ่ กำรปฏิบ ัติ เยียมชมเพื อประเมิ นควำมแข็งแกร่งของ ่ จำกกำร ชุมชน พร ้อมเผยแพร่ควำมรู ้ของชุมชนทีได้ ่ แลกเปลียนเรี ยนรู ้
สรุปลักษณะของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ • กลุ่มคนที่รวมตัวกันโดย มีความสนใจและความปรารถนา (Passion) ร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (มี Knowledge Domain)
14
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
15
- เข้าใจดีว่าอะไรเป็นประเด็นที่ต้องคุยกัน • ปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่ม (เป็น Community) - ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ไขปัญหาและตอบคําถาม - เชื่อมโยงกันข้ามทีม หน่วยงาน หรือ องค์กร • แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน (ต้อง Practice) - แลกเปลี่ยนข้อมูล เคล็ดลับ แนวทางแก้ไขปัญหา และ Best Practices - สร้างฐานข้อมูล ความรู้ หรือ แนวปฏิบัติ
กำรทำชุมชนแห่งกำรปฏิบตั ิให้บรรลุเป้ำหมำยของกำรจัดกำร ควำมรู้ (Knowledge Menagement : KM) คือ ดึงความรู้ในตัวบุคคลในรูปของ Tacit Knowledge ออกมาจัดเก็บให้ กลายเป็นความรู้ที่ปรากฏชัดแจ้ง หรือ Explicit Knowledge เพื่อสร้าง Best Practices หรือวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ สําหรับให้บุคคลอื่นสามารถนําไปทดลองใช้ และต่อยอดยกระดับความรู้นั้นขึ้นเรื่อยๆ
ระยะสั้น เกิดเวทีของการแก้ปัญหา และระดมสมอง
ระยะยาว เสริมสร้างวัฒนธรรมการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ขององค์กร
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
ได้แนวคิดที่หลากหลายจาก สมาชิกในกลุ่ม ได้ข้อมูลมากขึ้นในการ ตัดสินใจ หาทางออก/คาตอบที่ รวดเร็ว ลดระยะเวลาในการศึกษา เกิดความร่วมมือและการ ประสานงานระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความผูกพันในวิชาชีพและ การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ได้รู้จักเพื่อนใหม่ที่มีหลายสิ่ง หลายอย่างคล้ายกัน รวมทั้ง อาจกาลังเผชิญปัญหาที่ คล้ายคลึงกัน เมื่อได้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์จะ ทาให้ค้นพบวิธีแก้ปัญหา
16
เกิดความสามารถและผลลัพธ์ ใหม่ที่ไม่คาดการณ์ไว้ วิเคราะห์ความแตกต่างและ ตั้งเป้าหมายการปรับปรุงได้ อย่างมีประสิทธิภาพ แหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิธี ปฏิบัติที่เป็นเลิศ เกิดโอกาสพัฒนาองค์กรวิชาชีพ อย่างก้าวกระโดด เกิดเครือข่ายของกลุ่มวิชาชีพ รักษาคนเก่งให้อยู่กับองค์กรได้ เพิ่มโอกาสในการสร้าง นวัตกรรมใหม่ ๆ ในองค์กร ขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุ เป้าหมายเชิงกลยุทธ์
ประโยชน์ของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ ในการสร้างชุมชนแห่งการปฏิบัติสามารถทําให้เห็นถึงประโยชน์ ในระยะสั้นและระยะยาวได้ดังนี้ (บูรชัยศิริ มหาสาคร. 2550)
ปัจจัยควำมสำเร็จของชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ ชุมชนที่ไม่เป็นทางการ เป็นสิ่งที่เกิดโดยธรรมชาติอยู่แล้วในองค์กร การ ที่จะให้มีคุณค่าต่อองค์กร จะต้องได้รับการเพาะบ่ม ดูแลด้วยความระมัดระวัง
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
17
การสนับสนุนมากเกินไป อาจจะทําให้ไม่เป็นที่สนใจจากสมาชิกและการละเลย ก็อาจจะทําให้ไม่มีแรงจูงใจ ซึ่งเป็นความท้าทายอย่างมากที่จะทําให้ชุมชนแห่ง การปฏิบัติประสบความสําเร็จได้ องค์ประกอบหลักๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้ชุมชน แห่งการปฏิบัติประสบความสําเร็จมีดังต่อไปนี้ 1. ผู้บริหาร ผู้นําองค์กรนับว่ามีส่วนสําคัญ ที่จะทําให้ชุมชนแห่งการปฏิบัติประสบ ความสําเร็จได้ โดยสามารถสนับสนุนได้ด้วยวิธีการต่อไปนี้ - มุ่งเน้นที่ความรู้ซึ่งสําคัญต่อทั้งกิจการขององค์กร และสมาชิกในองค์กร - สนับสนุนการจัดตั้งชุมชนแห่งการปฏิบัติสําหรับประเด็นที่เป็นหัวใจของ องค์กร ขณะเดียวกันเปิดโอกาสให้ได้พูดคุย ในสิ่งที่สมาชิกต้องการ - หาผู้ประสานงาน ซึ่งเป็นที่ยอมรับของสมาชิก - ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้สมาชิกได้เข้าร่วมกิจกรรม อาจจะมีการจัดสรร เวลาให้อย่างเปิดเผย ด้วยการบรรจุลงในแผนงาน ซึ่งระบุถึงผลกระทบที่คาด ว่าจะเกิดขึ้น - พยายามควบคุมชุมชนแห่งการปฏิบัติให้สอดคล้องกับเป้าหมาย วัฒนธรรม และค่านิยมหลักขององค์กร 2. สมาชิก สิ่งที่มีคุณค่ามากของชุมชนแห่งการปฏิบัติคือ การร่วมกันแก้ปัญหา แต่ การอภิปรายปัญหาอย่างเปิดอกในขณะที่ความคิดยังไม่สุกงอมดี หรือการคิด ดังๆ ในที่ประชุมเป็นสิ่งที่ไม่ใช่ธรรมชาติของคน ความท้าทายของสมาชิกที่ สําคัญ คือ การพูดถึงปัญหาของตนเอง ต่อหน้าผู้คนจํานวนมากที่เราไม่รู้จัก - สมาชิกในองค์กรต้องเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับหลักการ ความสําคัญความ เป็นมา เป้าหมายและประโยชน์ในการที่จะจัดให้มีชุมชนแห่งการปฏิบัติขึ้น
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
18
- ปฏิบัติต่อชุมชนแห่งการปฏิบัติเสมือนว่าเป็นทรัพย์สินขององค์กร โดยให้ การสนับสนุนทรัพยากร และข้อมูลข่าวสารเท่าที่จะทําได้ - ให้การยอมรับผลงานที่เกิดขึ้น จากชุมชนแห่งการปฏิบัติและพยายามชัก จูงให้ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมกับชุมชนนักปฏิบัติ ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นอีก - มองว่า “องค์กรเป็นที่รวมของชุมชน” ที่เชื่อมต่อกัน ส่งเสริมให้มีจุดยืนที่ เหมาะสม และมีส่วนต่อความสําเร็จขององค์กร - สมาชิกต้องไม่มุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตน โดยไม่คํานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ของชุมชน - ต้องมีการพบปะ หรือติดต่อกันของสมาชิกอย่างสม่ําเสมอ 3. วิธีการ - การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจในกลุ่มขนาดเล็ก 2-3 คน อาจเป็นจุดเริ่มต้น สําหรับการสร้างชุมชนแห่งการปฏิบัติได้ - ดําเนินการอย่างสอดคล้องกับเป้าหมาย วัฒนธรรม และค่านิยมหลักของ องค์กร ไม่พยายามไปหักล้าง หรือคัดค้านวัฒนธรรมที่มีอยู่เต็ม - สร้างเวทีเสวนาโดยให้มีสมาชิกอาวุโสซึ่งเป็นที่ยอมรับ และหาผู้ที่มี ประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญไปร่วมอยู่ในเวที มีผู้ประสานงานช่วยกระตุ้น ให้อธิบายหลักคิดของข้อเสนอ เพื่อให้สมาชิกอภิปราย ไปที่สมมติฐาน ที่ใช้และเลือก - เชิญผู้นําทางความคิด ซึ่งเป็นที่ยอมรับเข้ามาร่วมแต่เริ่มแรก เพื่อสร้างพลัง ให้แก่ชุมชน - จัดให้มีเวทีพบปะกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด เพื่อสร้างความตื่นตัว ความไว้เนื้อเชื่อใจ และความรู้สึกร่วมกัน - ส่งเสริมการติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกของชุมชนอย่างสม่ําเสมอ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
19
- จัดตั้งกลุ่มแกนที่แข็งขัน ไม่จําเป็นว่าสมาชิกทุกคนจะมีส่วนร่วมอย่างเท่า เทียมกัน - สนับสนุนกลุ่มแกนหลัก ด้วยการให้เป็นที่รับรู้ของชุมชน และเป็นผู้นําใน การทํากิจกรรม - ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้จากภายในชุมชนเอง และจากชุมชนอื่นๆ ด้วย ซึ่ง การรวมกันของชุมชน จะยิ่งเป็นการช่วยเพิ่มเติมความรู้ที่มีอยู่ของสมาชิกของ องค์กร ให้มีกว้างขวางรอบด้านมากขึ้นไม่ใช่รู้แต่เฉพาะงานของตนเองที่ทําอยู่ - ส่งเสริมการเรียนรู้ทุกรูปแบบ และเชื่อมต่อทั่วทั้งองค์กร - ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และไม่ยากจนเกินไปเข้ามาช่วย เพื่อเป็นการแบ่ง เบาภาระงานที่ไม่จําเป็น และช่วยส่งเสริมการดําเนินไปของชุมชน 4. เทคโนโลยี - เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับองค์กร โดยอาจจะเริ่มจากเทคโนโลยีที่ง่าย ก่อน เช่น การใช้ Software computer ที่ใช้ง่ายหรือแอพพิเคชั่นที่คุ้นเคย - ใช้เทคโนโลยีในระดับที่สูงขึ้น เพื่อการพัฒนาการจัดการความรู้ที่มี ประสิทธิภาพและเป็นการบันทึกการถ่ายทอดความรู้เฉพาะบุคคล ให้เป็น ความรู้ที่มีหลักฐานชัดเจน คนอื่นๆ สามารถนําไปศึกษา หรือยึดถือเอาเป็น แบบอย่างในการปฏิบัติงานได้ - ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และอินทราเน็ต เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันได้ตลอดเวลา ไม่จํากัดพื้นที่ ไม่จํากัดเวลา
ตัวอย่ำงงำนวิจัยที่นำแนวคิดชุมชนแห่งกำรปฏิบัติไปพัฒนำ วิชำชีพครูภำยในโรงเรียน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
20
ชื่องานวิจัย : กระบวนการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กตามแนวคิดชุมชนแห่งการ ปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการดูแลเด็กปฐมวัย : การวิจัยปฏิบัติ แบบมีส่วนร่วม รังรอง สมมิตร 2556 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนากระบวนการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็ก ตามแนวคิดชุมชนแห่ ง การปฏิบั ติเ พื่ อเสริ มสร้ า งความสามารถในดูแ ลเด็ ก ปฐมวัย 2) เพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการดูแลเด็กปฐมวัย ของครูผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมกระบวนการที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ผู้เข้าร่วมการวิจัย ได้แก่ ครู ผู้ ดูแลเด็กในศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ ก ขององค์กรปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จํ า นวน 13 คน การวิ จั ย นี้ เ ป็ น งานวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก ารแบบมี ส่ ว นร่ ว มแบ่ ง การ ดําเนินการเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 การเตรียมการก่อนลงภาคสนาม และ ระยะที่ 2 การดําเนินการในภาคสนามเป็นการนํากระบวนการฯ ที่พัฒนาขึ้น ไปใช้กับครูผู้ดูแลเด็กที่ร่วมวิจัยเพื่อเก็บรวมรวมข้อมูลมาพัฒนากระบวนการให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทการทํางานของครูผู้ดูแลเด็ก ผลการวิจัยมี ดังนี้ กระบวนการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กตามแนวคิดชุมชนแห่งการปฏิบัติเพื่อ เสริมสร้างความสามารถในการดูแลเด็กปฐมวัย เป็นกระบวนการที่ดํา เนินการ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องของกลุ่มครูผู้ดูแลเด็กที่มีปัญหาหรือความสนใจ ร่วมกันเกี่ยวกับการดูแลเด็กปฐมวัย โดยการดําเนินการมี 3 ระยะ แต่ละระยะ มีขั้นตอนหลัก ดังนี้ ระยะที่ 1 การก่อตั้งชุมชน ประกอบด้วย 1) ศึกษาบริบท การทํ า งานของสมาชิ ก ในกลุ่ ม 2) เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ 3) สํ า รวจและ วิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่ม 4) การประสานความร่วมมือกับผู้สนับสนุน ระยะ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
21
ที่ 2 การพั ฒ นาชุ ม ชน ประกอบ 1) การวางแผนการปฏิ บั ติ ก าร 2) การ ปฏิ บั ติ ก ารแบบมี ส่ ว นร่ ว ม 3) การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น และ 4) การ ประสานความร่ ว มมื อ กั บ ผู้ ส นั บ สนุ น และระยะที่ 3 การสร้ า งความยั่งยืน ประกอบด้วย 1) การถอดประสบการณ์การเรียนรู้ 2) การติดตามผลการเรียนรู้ กระบวนการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กตามแนวคิดชุมชนแห่งการปฏิบัติ มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงความสามารถของครูผู้ดูแลเด็กร่วมวิจัย กล่าวคือครูผู้ดูแลเด็กทั้ง 13 คน มีความสามารถด้านการสร้ างความสั มพันธ์กับเด็กและด้านการจัด สภาพแวดล้ อ มสู ง ขึ้ น ส่ ว นความสามารถด้ า นการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ปกครองและด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการมีครูที่มีพัฒนาการขึ้น จํานวน 11 คน และความสามารถด้านการประเมินพัฒนาการมีครูผู้ดูแลเด็กที่ มีพัฒนาการขึ้นจํานวน 12 คน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
22
รำยกำรอ้ำงอิง บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2550). การทา CoP เพื่อจัดการความรู้ในองค์กร โดย ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องความสาเร็จ (Storytelling). เอกสาร ประกอบการอบรมสัมมนา, สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษา, นครปฐม. ประเทศไทย. 16 หน้า ธวัชชัย หล่อวิจิตร. (2550). การจัดการความรู้ : ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP). เอกสารประกอบการอบรม สัมมนา, สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, กรุงเทพมหานคร. ประเทศไทย. รังรอง สมมิตร. (2556). กระบวนการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กตามแนวคิดชุมชน แห่งการปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการดูแลเด็กปฐมวัย : การวิจัยปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์,จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วิจารณ์ พานิช. (2547). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฎิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ อลิสรา คูประสิทธิ์. (2550). ความรู้เกี่ยวกับ COP. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย Wenger, McDermott & Snyder. (2002). Cultivating Communites of Practice. Boston : Harvard Bussiness Schoo
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
แนวคิด ทฤษฎี กระบวนการ วิธีการ และกลยุทธ์ ในการพัฒนาวิชาชีพครู ชุมชนแห่งกำรปฏิบัติ (Community of Practice: CoP) “การรวมกลุ่มกันของผู้ที่มีความสนใจหรือมีความรู้ในเรื่อง เดียวกัน มีเป้าหมายร่วมกัน พร้อมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน เสริมสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วม เข้าใจ มุ่งมั่นใน การดําเนินกิจกรรมร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง ทํา ให้บุคคลภายในกลุ่มเกิดความรู้ความเข้าใจและมีทักษะใน งานเพิ่มมากขึ้น”
คู่มือนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา 2716607 การพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ปีการศึกษา 2560 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
23