school base08-การวิจัยปฏิบัติการ(Action Research)

Page 1

รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

คูมือการพัฒนาวิชาชีพครู

School-Based Teacher Professional Development

1

Action Research การวิจัยปฏิบัตกิ าร Action Research ผูเรียบเรียง

ชนกกมล ลาภหลาย


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

1

คํานํา คู มื อ การพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู เรื่ อ ง การวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก าร (Action Research) จั ด ทํ า ขึ้ น ในการพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู โ ดยใช โ รงเรี ย นเป น ฐาน (2716607) คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึ ก ษาและเผยแพร ค วามรู แนวคิ ด ทฤษฎี แ ละกระบวนการของการวิ จั ย ปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่งเปนแนวทางหนึ่งในการพัฒนาวิชาชีพครู อีกทั้ งยั งเป น ข อมู ล ที่ เ ป นประโยชน แก ผู จั ดทํ า และผูที่เกี่ย วของดานการจั ด การศึกษาที่จะสงผลใหเกิดองคความรู ความเขาใจ และสามารถนําไปใชในการ ปฏิบัติในทางวิชาชีพได หากคูมือเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขอนอมรับคําติชม และขออภัยไว ณ โอกาสนี้ ชนกกมล ลาภหลาย กันยายน 2560


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

2

School-Based Teacher Professional Development

สารบัญ เรื่อง 1. ความเปนมาและความหมายของการวิจัยปฏิบัติการ 2. ลักษณะของการวิจัยปฏิบัติการ 3. ความเปนมาและความหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 4. ลักษณะสําคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 5. กระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 6. ความแตกตางระหวางการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน และการวิจัยเชิงวิชาการ 7. การวางแผนการวิจัย 8. หัวขอที่จําเปนในการเขียนรายงานปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน 8. งานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการพัฒนาวิชาชีพครู 9. ความหมายและพัฒนาการการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 10. หลักการสําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 11. ตัวอยางงานวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม

หนา 1 2 3 4 6 7 8 13 17 19 21 21


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

1

การวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ความเปนมาของงานวิจัยปฏิบัติการ

การถือกําเนิดของการวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) เปนคําที่ เกิดขึ้นตามแนวคิดของ Kurt Lewin (1944) ซึ่งเปนนักจิตวิทยาสังคม ชาว อเมริกัน โดยแนวคิดของ Lewin เกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการ ใชการปฏิบัติ 3 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Planning) การคนหาความจริง (Fact Finding) และการดําเนินงานตามแผน (Execution) ในทุกขั้นตอนของการดําเนินงาน จะตองอาศัยการมีสวนรวมของผูที่เกี่ยวของ ดวยเหตุนี้การวิจัยปฏิบัติการจึงมี ลักษณะ 3 ประการคือ การมีสวนรวม การเสริมสรางความเปนประชาธิปไตย และการนําไปสูการเปลี่ยนแปลงทางสังคมศาสตรและสังคมพรอมๆกัน โดย แนวคิดของ Lewin ไดถูกนําไปใชในหลากหลายวงการ รวมทั้งวงการศึกษา

ความหมายของงานวิจัยปฏิบัติการ

Kurt Lewin (1947) กลาววา การวิจัยปฏิบัติการ เปนกระบวนการที่ เปนวงจรแบบขดลวด มี 3 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผนโดยมีการสํารวจตรวจ ตรา 2) การลงมือ ปฏิ บั ติ และ 3) การค น หาความจริงเกี่ย วกั บ ผลของการ ปฏิบัติ Kemmis and McTaggart (1988) กลาววา การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เปนการดําเนินการศึกษาโดยคนในกลุมที่ปฏิบัติงานตามปกติในสถานการณ ทางสังคม โดยมีเปาหมายเพื่อที่จะปรับปรุงวิธี และลักษณะการปฏิบัติงานให ชอบดวยหลักการเหตุผล และมีคุณภาพ รวมทั้งเปนการสรางความเขาใจใน งานที่ตนกําลังปฏิบัติงาน ซึ่งกลุมผูรวมงานวิจัยอาจหมายรวมถึง ผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง ที่เกี่ยวของที่มีความสนใจรวมกัน ในแวดวงการศึกษา


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

2

กิ ต ติ พ ร ป ญ ญาภิ ญ โญผล (2541) กล า วว า การวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก าร หมายถึง การศึกษาคนควาเพื่อหาวิธีแกปญหา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพื่อ พัฒนาคุณภาพของงานที่ ตนกํ าลั งปฏิ บัติอยู และขณะเดียวกันก็สรางความ เขาใจถึงสภาพและกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยผานกระบวนการ ของวงจรแบบบันไดเวียน ขอมูลที่รวบรวมไดระหวางดําเนินงานเปนฐานของ การปรับแกไขขั้นถัดไป จากความหมายของการวิจัยปฏิบัติการดังกลาว สรุปไดวา การวิจัย ปฏิบัติการ หมายถึง การรวบรวมหรือการแสวงหาขอเท็จจริง โดยใชขั้นตอน กระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อใหไดมาซึ่งขอสรุปอันนําไปสูการแกปญหาที่ เผชิญ อยู ผูวิจั ยจะตองมีการปรับ ปรุง พัฒนา แกไข และดําเนินการวิจัยซ้ํา หลายๆครั้ง จนกระทั่งผลการปฏิบัตินั้นบรรลุผลสําเร็จตามที่ไดตั้งเปาหมายไว โดยมีแนวทางการทํางานที่เชื่อมโยงระหวางทฤษฎีและการปฏิบัติใหเปนหนึ่ง เดียวกันจากแนวคิดสูการปฏิบัติ

ลักษณะของการวิจัยปฏิบัติการ

ดังนี้

โดยสรุป นิยามเกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการที่ใหขอสรุปสอดคลองกัน

ผูวิจัย คือ ผูที่ปฏิบัติงานในหนวยงาน (ในทางการศึกษา ผูวิจัยคือ ครู) สิ่งที่ถูกวิจัย คือ ปฏิบัติการทางการศึกษา วิธีการวิจัย คือ กระบวนการคนหาขอความรูที่มีขั้นตอนหลักสําคัญ คือ การวิจัยและการปฏิบัติ ลักษณะสําคัญ 1. การสะทอนกลับผลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของตนเองและผลที่ เกิดขึ้น


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

3

2. การเปดโอกาสใหผูมีสวนเกี่ยวของกับการเรียนการสอน/เพื่อน รวมงาน มีสวนในการวิพากษ วิจารณการปฏิบัติงานและผลที่ไดรับ 3. กระบวนการที่มีการดําเนินงานเปนวงจรตอเนื่องและทําเปนสวน หนึ่งของการปฏิบัติงาน 4. ผลที่ไดจากการวิจัยนําไปสูการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) ความเปนมาของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research : CAR) การวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก ารในชั้ น เรี ย น เป น ประเภทหนึ่ ง ของการวิ จั ย ปฏิบัติการ ซึ่งเปนการวิจัยที่มุงแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในหองเรียนบางอยางที่ครู ตองการคําตอบมาอธิบาย หรือมุงพัฒนาสงเสริมการเรียนรูของนักเรียนในชั้น เรียนโดยครูผูสอนทําหนาที่เปนผูวิจัยดวยตนเอง ลักษณะเดนประการหนึ่งของ การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนคือเปนการวิจัยที่มุงแกไขปญหาการเรียนรูของ นักเรียนอยางแทจริง การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมีความเกี่ยวเนื่องกับแนวทางการจัด การศึกษา ที่ตองยึดหลักวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด ผูเรียนทุกคนสามารถ เรียนรูและพัฒนาตนเองได ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมให ผูเรียนไดพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยมีครูผูสอนเปนนักวิจัย ในชั้นเรียน ที่สอดคลองตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ว า ด ว ยแนวทางการจั ด การศึ ก ษา มาตรา 30 มี ก ารกํ า หนดให สถานศึกษามีหนาที่สนับสนุนและสงเสริมใหครูมีการทําวิจัยเพื่อพัฒนาการ เรียนรู ดังนั้นการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจึงนับเปนกระบวนการหนึ่งที่ครู


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

4

ใชในการประเมินการทํางานของตนเอง เปนกระบวนการสืบเสาะคนหาแนว ทางการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานสอน เพื่อนําไปสูการพัฒนาการ เรียนการสอน

ความหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

สุวิมล วองวาณิช (2550) ใหคําจํากัดความของการวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรียนซึ่งเกิดจากการสังเคราะหนิยามเกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สรุปไดวา คือ การวิจัยที่ทําโดยครูผูสอนในชั้นเรียน เพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นใน ชั้ น เรี ย น และนํ า ผลมาใช ใ นการปรั บ ปรุ ง การเรี ย นการสอน หรื อ ส ง เสริ ม พั ฒ นาการเรี ย นรู ของผู เ รี ย นให ดียิ่ งขึ้ น ทั้ งนี้ เ พื่อ ใหเกิดประโยชนสูงสุดกั บ ผูเรียน เปนการวิจัยที่ตองทําอยางรวดเร็ว นําผลไปใชทันที และสะทอนขอมูล เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตางๆในชีวิตประจําวันของตนเองใหทั้งตนเองและกลุม เพื่อนรวมงานในโรงเรียนไดมีโอกาสวิพากษ อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรูใน แนวทางที่ไดปฏิบัติและผลที่เกิดขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรูของทั้งครูและผูเรียน พิมพัน ธ เดชะคุป ต (2559) กลา วว า การวิจัยในชั้นเรีย น หมายถึง การวิจัยที่มีเปาหมายเพื่อนําผลไปใชปฏิบัติงานจริงโดยมีครูเปนผูทําวิจัยดวย วิธีการทางวิทยาศาสตร ถาผลการวิจัยขอบกพรองก็ทําการวิจัยและนําผลไป พัฒนาอยางตอเนื่อง

ลักษณะสําคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

การวิจัยปฏิบตั ิการในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่มีลักษณะดังนี้ ใคร ครูผูสอนในหองเรียน ทําอะไร ทําการแสวงหาวิธีการแกไขปญหา ที่ไหน ที่เกิดขึ้นในหองเรียน เมื่อไร ในขณะที่การเรียนการสอนกําลังเกิดขึ้น


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

5

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่มีลักษณะดังนี้ อยางไร ดวยวิธีการวิจัยที่มีวงจรการทํางานตอเนื่องและสะทอนกลับ การทํางานของตนเอง (Self-reflection) โดยมีขั้นตอนหลัก คือ การทํางานตามวงจร PAOR การวางแผน (Plan), การ ปฏิบัติตามแผน (Act), การสังเกตผลที่เกิดจากการปฏิบัติ (Observe),การสะทอนผลหลังการปฏิบัติงาน(Reflect) เพื่อ มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหเกิดประโยชน จุดมุงหมาย สูงสุดตอผูเรียน ใด ลักษณะเดน เปนกระบวนการวิจัยที่ทําอยางรวดเร็ว โดยครูผูสอนนําวิธีการ การวิจัย แกปญหาที่ตนคิดขึ้นไปทดลองใชกับผูเรียนทันและสังเกตผล การแกปญหานั้น มีการสะทอนผล และแลกเปลี่ยน ประสบการณกับเพื่อนครูในโรงเรียน เปนการวิจัยแบบรวมมือ (Collaborative research) สรุปไดวา ลักษณะสําคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตองมีการ ดําเนินงานที่เปนวงจรอยางตอเนื่อง มีกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวม และเปนกระบวนการที่เปนสวนหนึ่งของการทํางานปกติ จึงมีลักษณะตาม แผนภาพที่ 1 นั่นคือ ขณะที่กิจกรรมการเรียนการสอนดําเนินการอยู ก็ตองมี การวิ จั ย เพื่ อ แสวงหาวิ ธี ก ารแก ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว า งเรี ย น และทํ า การ ปรับปรุงแกไขพัฒนาผูเรียนควบคูกันไป

แผนภาพที่ 1 วิถีชีวิตของการปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนของครู (อางอิง : สุวิมล วองวาณิช , 2550)


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

6

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนสามารถใชวงจร PAOR เพื่อใชเปน แบบแผนในการดํ า เนิ น การวิ จั ย ได ต ามแนวคิ ด ของ Kemmis (1998) ดังปรากฏในแผนภาพที่ 2 ซึ่งแสดงใหเห็นวาการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรีย น ประกอบดวยขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอน ตามวงจร PAOR ซึ่งสอดคลองกับการ สอนของครู กลาวคือ 1) การวางแผนการปฏิบัติงานและกําหนดปญหาที่ตองการศึกษา (plan) 2) การดําเนินการวิจัยตามแผนที่กําหนดไว (do) 3) การสังเกตผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการวิจัย (observe) 4) การสะทอนผลหลังจากการดําเนินการวิจัยเสร็จสิ้นแลว เพื่อใหเกิดการ วิพากษของเพื่อนรวมงาน (reflect)

แผนภาพที่ 2 วงจรการปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (อางอิง : สุวิมล วองวาณิช , 2550)

กระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

กระบวนการที่ใชในการวิจัยในชั้นเรียน หรือการวิจัยปฏิบัติการในชั้น เรียน คือกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Scientific method) ซึ่งเปนวิธีการที่ มีระบบ มีขั้นตอนตามแผนภาพดังนี้


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

7

School-Based Teacher Professional Development

1. กําหนดปญหา 6. สะทอนความคิด 5. สรุปการวิจัย

2. ตั้งสมมติฐาน 3. ออกแบบวิจัย 4. ดําเนินการวิจัย

แผนภาพที่ 3 ขั้นตอนของกระบวนการปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (อางอิง : พิมพันธ เดชะคุปต , 2559) จากแผนภาพ ขั้นตอนของกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนพบวา ขั้นที่ 1, 2

และ 3 คือ ขั้นวางแผนวิจัย ขั้นที่ 4 คือ การดําเนินการวิจัย ซึ่งเปนการจัดเก็บ ขอมูล วิเคราะหขอมูล นําเสนอขอมูล แปลผล ในขั้นนี้มีการตรวจสอบการ ดําเนินงาน เพื่อปรับปรุงแกไข หากยังพบขอแกไขก็ดําเนินงานปรับปรุงแกไข อยางตอเนื่อง ขั้นที่ 5 คือ การสรุปผลการวิจัย เปนขั้นของการสรางความรูใหม

ความแตกตางระหวางการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการวิจัย เชิงวิชาการ (Classroom Action Research and Academic Research)

เนื่องจากการวิจัยเชิงวิชาการ (academic research) มีรายละเอียด และรูปแบบการวิจัยที่เปนระบบระเบียบชัดเจน ทําใหบางครั้งเมื่อนํามาใชใน การทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนอาจเกิดขอยุงยากและขอจํากัดในการทําวิจัย เปนอยางมากโดยเฉพาะกับผูที่ไมมีพื้นฐาน หรือความรูทางดานระเบียบวิธีวิจัย ที่ดีพอ การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจึงถูกพัฒนาขึ้นเพื่อแกไขขอยุงยากที่เกิด จากรู ป แบบการวิ จั ย ให มี ค วามเหมาะสมสํ า หรั บ ครู ในการนํ า มาใช ศึ ก ษา เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในหองเรียน มีการลดขั้นตอน และขอจํากัดของรูปแบบการ


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

8

วิจัยลงทําใหงายที่จะทําความเขาใจ และนําไปใช จึงขอเสนอขอเปรียบเทียบ ระหวางการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการวิจัยเชิงวิชาการ ซึ่งสามารถ สรุปไดดังนี้ ประเด็น 1. เปาหมาย 2. ผูวิจัย

3.วงจรของ การวิจัย

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom action search) มุงสรางความรูเฉพาะเพื่อใชในหองเรียน ของครูผูวิจัย ดําเนินการโดยครูผสู อนในหองเรียน มีลักษณะการวิจยั แบบรวมมือ (collaborative research) ใชวงจรการ ทําวิจัยแบบ PAOR Plan, Act, Observe, Reflec โดย ขั้นตอน Reflect (สะทอนกลับ) เปน ขั้นตอนที่เดนที่ทําใหการวิจัยแบบนี้ตาง จากการวิจัยอื่น

4. วิธีการวิจัย

ไมเนนการกําหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี แตใชประสบการณของผูส อน ไมเนน แบบแผนการวิจยั มาก ใชการวิจัยเชิง คุณภาพมากกวาเชิงปริมาณ

5. การกําหนด วิธีการแกปญหา ในหองเรียน (Solution)

ใชวิธีการเชิงอัตวิสัย (subjective) โดย อาศัยประสบการณของครูนักวิจัย แตจะ ใชวิธีการเชิงปรนัยในการตรวจสอบ ผลการวิจยั

การวิจัยเชิงวิชาการ (Academic research) มุงสรางขอความรูทั่วไปซึ่งสามารถ สรุปอางอิงได ดําเนินการโดยนักวิชาการ หรือนัก การศึกษาในมหาวิทยาลัย ที่ไมได ปฏิบัติงานในหองเรียน ใชวงจรการทําวิจัยแบบกําหนด ปญหา ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ออกแบบการวิจัย กําหนด ประชากรกลุมตัวอยาง สราง เครื่องมือ เก็บขอมูล วิเคราะห ขอมูล) สรุปและอภิปราย ผลการวิจัย ยืดแบบแผนการวิจัย การ ออกแบบการวิจัยที่รัดกุม มีการ กําหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี ตรวจสอบทฤษฎี และพัฒนา ทฤษฎี ใชการวิจัยเชิงปริมาณ มากกวา อิงทฤษฎีหรือมีผลการวิจัยรองรับ


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

ประเด็น

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom action search) 6.กลุมเปาหมายที่ นักเรียนในหองเรียน อาจเปนรายคน ตองทําการวิจัย หรือรายหอง 7. ขอมูลวิจัย ครูเปนผูเก็บขอมูล ใชวิธีการสังเกต หลักฐานการแสดงพฤติกรรมของผูเรียน ขอมูลสวนใหญเปนขอมูลเชิงคุณภาพ 8. การวิเคราะห ขอมูล 9. การอภิปราย แปลความหมาย ขอคนพบจากการ วิจัย 10. ชวงเวลาใน การทําวิจัย

ใชการวิเคราะหเนื้อหา ไมเนนการ วิเคราะหดวยสถิติขั้นสูง ครูนักวิจัยและเพื่อนครูจะมีการ แลกเปลีย่ นประสบการณการวิจยั รวมกันมีการถกอภิปรายถึงวิธีการ แกปญหาที่ใชและผลที่เกิดขึ้น ทําเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน และทําอยางรวดเร็ว เพื่อใชสามารถ ทดลองใชผลตามแนวทางที่ครูนักวิจัย ตัดสินใจจะใช

11. การใช ผลการวิจัย

นําผลไปใชแกปญหาในหองเรียนทันที และตรวจสอบผลทีเ่ กิดผลที่เกิดขึน้ ไม เนนการตีพิมพเผยแพรเปนบทความ วิชาการ

9

การวิจัยเชิงวิชาการ (Academic research) กลุมนักเรียนที่เปนตัวแทนประชากร อาจใช วิ ธี ก ารเก็ บ ข อ มู ล แบบ เดียวกับการวิจัยปฏิบัติการ เพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนแตโอกาส ใกลชิดกับแหลงขอมูล (นักเรียน) จะมีนอย ส ว นใหญ ใ ช วิ ธี ก ารวิ เ คราะห ท าง สถิติเนนการสรุปอางอิง นั ก วิ จั ย อภิ ป รายภายใต ก รอบ ทฤษฎี ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย และใช ความคิดเห็นของนักวิจัย ประกอบการอภิปราย เป น นั ก วิ จั ย ที่ เ ฝ า สั ง เกตหรื อ เก็ บ ขอมูลอยูห าง ๆ แมจะมีโอกาสเขา ไปทําในหองเรียนแตก็จะเปนชวง สั้น เมื่อเสร็จก็ถอยหาง ออกมา การวางแผนการวิจัยอาจ ต อ งใช เ วลานานกว า การวิ จั ย ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการ สอน ผลการวิ จั ย อาจไม ไ ด นํ า ไปใช ในทางปฏิ บั ติ จ ริ ง แต อ าจมี ก าร ตีพิม พเผยแพรเป นบทความวิจั ย หรือบทความทางวิชาการ


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

10

การวางแผนการวิจัย 1 การวิเคราะหสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในหองเรียน สภาพปญหาที่เกิดขึ้นในหองเรียน คือสิ่งที่เกิดขึ้นในหองเรียน หรือเกิดกับ ผูเรียนซึ่งเปนปญหาที่สงผลใหการเรียนการสอนไมบรรลุเปาหมายที่กําหนด ซึ่งการวิ เคราะห สภาพปญ หาในหองเรีย นจึ งเปน ขั้น ตอนสําคัญ โดยครูตอง จัดลําดับความสําคัญกอนหลังของปญหาเหลานั้น ประเด็นในการวิเคราะหสภาพปญหา ครูควรตั้งคําถามกับตนเองหลังการสังเกตปญหาที่เกิดขึ้นในชั้น เรียน ดังตอไปนี้ 1. ปญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร 2. ปญหาที่เกิดขึ้นเปนปญหาของใคร 3. ปญหาที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอใครและอะไรบาง 4. ปญหาที่เกิดขึ้นมีความสําคัญในระดับใด เมื่อเทียบกับ ปญหาอื่นๆ ปญหาใดสําคัญกวากัน 5. ปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวของสัมพันธกับปญหาหรือเหตุการณ อื่นๆอะไรบาง อยางไร 6. ใครคือผูรับผิดชอบหลักในการแกปญหาดังกลาว และการ แกปญหานั้นตองเกี่ยวของกับใครหรือไม อยางไร ลักษณะของปญหาวิจัยที่ดี 1. ปญหาวิจัยตอง “จําเปน ชัดเจนดี มีคุณคา” จําเปน - เปนปญหาวิจัยที่ตองเรงแกไข ชัดเจนดี - เปนปญหาที่เกิดขึ้นชัดเจน มีขอมูลหลักฐานชี้ชัด มีความสมเหตุสมผลในการทําวิจัย


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

11

มีคุณคา – เปนปญหาวิจัยที่ใหคําตอบที่เกิดประโยชนตอการ นําไปพัฒนาผูเรียน 2. ปญหาตองมีความเปนปจจุบัน เปนปญหาที่เกิดขึ้นในชวงเวลานั้น เพื่อใหผลการวิจัยนําไปสูการพัฒนาผูเรียนไดทันเวลา 3. ปญหาวิจัยตองไมสงผลกระทบเสียหายใดๆ ตอผูที่เกี่ยวของหรือผู ถูกวิจัย (นักเรียน) 1.2 การใชประโยชนจากผลการวิเคราะหสภาพปญหา ผลที่ไดจากการวิเคราะหสภาพปญหา นําไปสูการกําหนดคําถาม วิจัยที่สอดคลองกับสภาพการณที่เกิดขึ้นในหองเรียน 2. การตั้งคําถามวิจัย เปนการกําหนดประเด็นขอสงสัย ที่ตองการหาคําตอบโดยมักเขียนอยู ในรูปประโยคคําถาม ที่มีความเฉพาะเจาะจง 2.1 เกณฑการกําหนดคําถามวิจัย - คําถามที่ดีไมควรถาม Yes/No แตควรใชคําถาม “ทําไม อยางไร อะไร” - มีความนาสนใจจะศึกษาเพื่อชวยนักเรียนที่มีปญหา - คําถามวิจัยนั้นมีความสําคัญทั้งตัวครูผูสอนและผูเรียน - คําถามวิจัยนั้นมีความเปนไปไดในการทํา เหมาะสมกับ เวลา ทรัพยากร ตัวอยางการกําหนดปญหาและการตั้งคําถามวิจัย จากผลการศึ กษาของครู จิ ร าภาที่ ทํา การศึกษาสภาพของนักเรีย น ชั้นป.4 ในหองที่ตนเองรับผิดชอบ ครูจิราภาอาจสนใจพัฒนาความสามารถ ของนักเรียนในวิชาคณิตศาสตร เนื่องจากเห็นวาเปนวิชาทักษะพื้นฐาน และ


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

12

นักเรียนสวนใหญมีปญหา ครูจิราภาตั้งปญหาวิจัยหลายขอ ทานคิดวาขอใดมี ความเหมาะสมที่สุด 1. นักเรียนชั้นป.4 มีปญหาในวิชาคณิตศาสตรจริงหรือ? (คําถามนี้ไมทาทาย ไดขอมูลเพียงแคการยืนยันขอมูลเดิมที่ครูมีอยู ผลการวิจัยนําไปใชประโยชนอะไรไมไดมาก) 2. ทําไมนักเรียนชั้นป.4 จึงเรียนคณิตศาสตรออน? 3. สาเหตุอะไรบางที่ทําใหนักเรียนชั้นป.4 เรียนคณิตศาสตรออน? 4. ปจจัยอะไรทําใหนักเรียนชั้นป.4 เรียนคณิตศาสตรออน? (คําถามขอ 2, 3, 4 เปนคําถามลักษณะเดียวกัน เปนคําถามที่มุง วิเคราะหหาสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้น ผลการวิจัยทําใหทราบสาเหตุ แตก็ยัง ไมไดนําไปสูการแกปญหา) 5. สาเหตุที่นักเรียนชั้นป.4 เรียนคณิตศาสตรออน มีอะไรบาง? วิธีการ แกปญหาควรเปนเชนใด? หากปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหมโดยใชการทดสอบ ยอยบอยๆ นักเรียนจะเรียนดีขึ้นหรือไม? (คํ าถามนี้ มีเ ปน ชุ ดตั้ งแต การวิ เ คราะหส าเหตุของปญ หา การหา วิธีการแกไข และการทดลองใชวิธีการแกปญหาที่ครูสนใจและการศึกษาผล การทดลองใช เปนชุดคําถามที่เกิดประโยชนตอการพัฒนาผูเรียน) 3. การกําหนดแนวทางการแกปญหา หลายครั้งที่ครูกําหนดปญหาวิจัย แตหาวิธีการแกปญหาไมได โดย แนวทางการแก ปญ หาคื อ ครูตองอ า นมาก และมีการรวมกลุมอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ ตองมีการสํารวจและจัดระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับ นวัตกรรมดานการเรียนรู


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

13

School-Based Teacher Professional Development

4. การกําหนดรูปแบบการวิจัย รูปแบบในการทําวิจัย หมายถึง การกําหนดกลุมทํางานวาเกี่ยวของ กับใครบาง เลือกใชแนวทางวิจัยแบบใด เปนปญหาระดับใด

ประเด็น สาเหตุ 1. นักเรียนอานจับ พื้นฐานการ ใจความไมไดเปน อานออน สวนใหญ ตั้งแตระดับ กอนหนานี้

ระดับปญหา รูปแบบ ระดับ การวิจัย หองเรียน/ ปฏิบัตกิ ารแบบ ชั้นเรียน รวมมือ

กลุมทํางาน ครูในหมวด ภาษาไทย

หัวขอที่จําเปนในการเขียนวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

1. ชื่อเรื่อง : สวนประกอบชื่อเรื่องมี 3 สวน คือ 1) จุดมุงหมายของการ วิจัย 2) ตัวแปรในการวิจัย 3) กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัย ตัวอยาง การเปรียบเทียบความสนใจในการฟงนิทานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ระหวางการใชวิธีการอานและวิธีการเลาใหครูฟง จุดมุงหมายของการวิจัย : การเปรียบเทียบ ตัวแปรในการวิจัย : ความสนใจในการฟงนิทาน , วิธีการอานและวิธีการเลาใหครูฟง กลุมเปาหมาย : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1

2. ความเปนมาและความสําคัญของปญหาวิจัย แนวทางในการเขียนความเปนมาและความสําคัญของการวิจัยมีสาระที่ ควรนําเสนอ 6 สวน คือ 1. หลักการและเหตุผล หรือสิ่งที่พึงประสงค 2. สภาพที่เปนอยูในปจจุบัน 3. ความแตกตางของสภาพที่พึงประสงคกับสภาพที่เปนอยู


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

14

4. ผลที่ตามมา หรือปญหาที่เกิดจากความแตกตางในขอ 3 5. ประเด็นที่ตองการทําวิจัยเพื่อใหไดแนวทางในการแกปญหา 6. สิ่งที่เปนประโยชนที่คิดวาจะไดรับหลังจากไดแนวทางการแกปญหา ตัวอยาง 1. ทักษะการฟงเปนสิ่งที่ควรพัฒนาใหเกิดกับผูเ รียนในทุกระดับการศึกษาไมเวนแมแตวัย เด็กเล็กที่กําลังสนใจการฟงนิทาน 2. แตก็ยังพบวาเด็กเล็กมักมีสมาธิในการฟงสั้น ทําใหไมสามารถจับประเด็นสาระที่ไดจาก การฟงไดอยางครบถวน สภาพดังกลาวเกิดขึ้นกับนักเรียนในชั้นอนุบาล 2 ที่ผูวิจัยตองรับผิดชอบ 3. นักเรียนสวนหนึ่งมีพฤติกรรมการฟงอยูในเกณฑไมนาพอใจ 4. ทําใหมีผลกระทบตอการพัฒนาทักษะทางภาษาโดยเฉพาะการจับประเด็นเรื่องราวตางๆ 5. ประเด็นทีส่ นใจศึกษามีหลายประการ เชน ทําไมนักเรียนจึงไมคอยสนใจการฟง นักเรียน ชอบฟงนิทานแบบใดมากกวากัน วิธีการเลานิทานทีต่ รึงความสนใจในการฟงมีอะไรบาง 6. การไดขอมูลเหลานี้จะทําใหไดขอมูลที่เปนประโยชนตอการพัฒนาทักษะการฟงแกผูเรียน

3. คําถามวิจัย แนวทางการกําหนดคําถามวิจัยมีหลักการดังนี้ 1. ใชขอความที่เปนประโยคคําถาม 2. ประกอบดวยตัวแปรในการวิจัย และกลุมเปาหมายที่ตองการศึกษา 3. สอคลองกับสภาพปญหาที่เกิดขึ้น 1. นักเรียนมีความสนใจในวิธีการเลานิทานแบบใดมากกวากันระหวางวิธีการเลาใหฟงและวิธีการ อานใหฟง 2. วิธีการเลานิทานใหฟงและวิธีการอานนิทานใหฟงสงผลใหความสนใจในการฟงของนักเรียน ตางกันหรือไม วิธีใดดีกวากัน


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

15

4. วัตถุประสงคของการวิจัย แนวทางการเขียนวัตถุประสงคของการวิจัย มีดังนี้ 1. ระบุกิจกรรมหรืองานที่ตองการทําเพื่อตอบคําถามวิจัยโดยมีการ เขียนตามลําดับขั้นตอน 2. อยาเขียนสิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้นหรือสิ่งที่เปนประโยชนของการวิจัย 3. นิยมเขียนในรูปประโยคบอกเลามากกวาประโยคคําถาม ตัวอยาง วัตถุประสงคของการวิจัยที่ถูกตอง 1. เพื่อศึกษาวิธีการเลานิทานที่นักเรียนชอบ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมดานการฟงหลังจากที่มีการทดลองใชวิธีการเลานิทานดวยวิธีการตางกัน ระหวางวิธีการเลาใหฟง และวิธีการอานใหฟงโดยครู วัตถุประสงคของการวิจัยที่ไมถูกตอง 1. เพื่อใหทราบวาวิธีการเลานิทานแบบใดที่สงผลใหนักเรียนมีความสนใจในการฟงมากกวากัน 2. เพื่อใหนักเรียนมีทักษะในการฟงนิทานสูงขึ้น

5. ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา หลักการเขียนประโยชนที่ไดรับจากการศึกษาจากการวิจัย มีดังนี้ 1. ระบุสิ่งที่เปนประโยชนจากขอคนพบ ไมวาขอคนพบนั้นจะเปนแบบ ใดก็ตามไมวาขอคนพบนั้นจะเปนไปตามที่ผูวิจัยมุงหวังหรือไม แตสิ่งที่คนพบจะ เปนประโยชนทําใหไมเสียเวลาทําวิจัยแนวเดิม 2. การวิจัยเปนการคนหาที่สิ่งคนพบ ซึ่งผูวิจัยไมทราบลวงหนาวา คําตอบจะเปนเชนใด ดังนั้นการระบุประโยชนของการวิจัยวาจะไดผลอยางที่มุง หวัง ไมควรเขียนแบบนี้


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

16

ตัวอยางที่ถูกตอง การวิจัยนี้ทําใหไดขอมูลที่ชวยใหครูคนพบวิธีการเลานิทานที่เหมาะสมกับนักเรียน ขอคนพบดังกลาวจะเปนประโยชนตอการพัฒนาทักษะการฟงของนักเรียนใหกาวหนาขึ้น ตัวอยางทีไ่ มถูกตอง 1. การวิจัยนี้ทําใหรูวาวิธีการเลานิทานแบบใดดีกวากัน (แครูอยางเดียวยังเกิด ประโยชนไมพอ ตองขยายความตอวาความรูนี้จะเกิดประโยชนอะไรบาง) 2. การวิจัยทําใหความสนใจในการฟงของนักเรียนสูงขึ้น (การเขียนแบบนี้เปนการ สรุปทึกทักลวงหนา และชี้เปนนัยๆวา หากความสนใจในการฟงของนักเรียนไมสูงขึ้น การวิจยั นี้ ก็ไมเกิดประโยชน ซึ่งไมถูกตอง)

6. ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรในการวิจัย คือสิ่งที่ผูวิจัยสนใจจะศึกษา ซึ่งสามารถแปรคาตาม คุณลักษณะที่ผูวิจัยสนใจไดมากกวา 1 คาหรือมากกวา 1 คุณลักษณะ ตัวอยาง เพศ : เปนตัวแปร 1 ตัวแปร โดยแปรคาไดเปนหญิง และชาย (2 ลักษณะ) วิธีการเลานิทาน : เปนตัวแปร 1 ตัวแปร โดยแปรคาไดเปน 2 คา วิธีการเลาใหฟง และวิธีการ อานใหฟง

7. วิธีการวิจัย ระบุแบบแผนการวิจัย ไดแก การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยกึ่งทดลอง การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยรายกรณี 8. กลุมตัวอยาง กลุมที่เปนเปาหมายของการวิจัย 9. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย สิ่งที่ใชในการเก็บขอมูลที่ตองการ ไดแก แบบสอบถาม แบบสอบ แบบ สัมภาษณ แบบสังเกต แบบบันทึกขอมูล เปนตน


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

17

10. การเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลเก็บในชวงใด ใครเปนคนเก็บ เก็บอยางไร และใชเวลานานเทาใด 11. วิธีการวิเคราะหขอมูล ระบุวิธีการในการวิเคราะหขอมูลใหเห็นภาพรวม ขึ้นอยูกับลักษณะของ ขอมูล ถาเปนเชิงคุณภาพอาจใชการวิเคราะหเนื้อหา ความถี่ ขอมูลเชิงปริมาณ อาจใชความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย หรือนําเสนอดวยกราฟ

ขอจํากัดของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

1. มีความจํากัดในการอางอิงผลการวิจัยไปยังประชากร เนื่องจาก กลุ ม ตั ว อย า งที่ ไ ด ส ว นใหญ จ ะใช ก ารเลื อ กกลุ ม ตั ว อย า งแบบเจาะจง (purposive sampling) และทาในกลุมตัวอยางขนาดเล็กผลที่ไดจึงไมเปน ตัวแทนของขอคนพบ 2. ความตรงภายนอก (external validity) หรือความถูกตองของ ผลการวิจัยที่สามารถนาไปใชกับกลุมตัวอยางอื่นๆหรือสถานการณอื่นๆ ได ของงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจะคอนขางนอย 3. ตัวแปรภายนอกที่ผูวิจัยไมไดสนใจศึกษาในงานวิจัยประเภทนี้จะ ไมสามารถควบคุมไดเหมือนกับงานวิจัยประเภทอื่นๆ เนื่องจากการจัดการใน ชั้น เรี ย นมี ลั กษณะเป น ธรรมชาติ ที่เ กิ ดขึ้ นจริ ง ไมไดมีการจัดกระทํา ของ ครูผูสอน ดังนั้นขอคนพบที่ไดรับอาจไมสามารถยืนยันไดวามาจากปจจัยใด

งานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการพัฒนาวิชาชีพครู การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เปนเครื่องมือสําคัญของครูในการ พัฒนาการจัดการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงใชเปนเครื่องมือในการ พัฒนานักเรียนของตนเองดวย


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

18

ตัวอยาง งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาครูดวยการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ยุ ท ธพงษ อายุ สุ ข (2549) ได ทํ า การวิ จั ย เรื่ อ ง “การวิ จัย ประเมิ น ความตองการจําเปนเพื่อพัฒนาการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู” ผลการวิจัยพบวา 1) วิธีการที่ครูควรใชในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ประกอบดวย การกําหนดประเด็นปญหาที่ตองการวิจัยและแผนการแกไข การ ปฏิบัติตามแผนที่กําหนด การสังเกตผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานและการ สะท อ นผลหลั ง จากการปฏิ บั ติ ง าน 2) ครู มี ก ารกํ า หนดประเด็ น ป ญ หาที่ ตองการวิจัยและแผนการแกไข การปฏิบัติตามแผนที่กําหนด และการสังเกต ผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง สวนการสะทอนผลหลังจากการ ปฏิบัติงานอยูในระดับปานกลาง โดยขั้นตอนที่ครูปฏิบัติสูงสุด คือ ขั้นตอนการ สังเกตผลที่เ กิดขึ้น จากการปฏิบัติงาน 3) ปจ จัยเชิงสาเหตุที่ทําใหเกิดความ ตองการจําเปนในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู ที่มีอิทธิพลสูงสุด คือ ปจจัยดานตัวครู 4) แนวทางการพัฒนาการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ของครูที่สําคัญที่สุดคือ การสนับสนุนของผูบริหารสถานศึกษา และแนวทาง อื่น ไดแก การพัฒนาความรูและทักษะวิชาชีพครู การสงเสริมความรวมมือกัน ระหวางผูมีสวนเกี่ยวของ และการสนับสนุนของหนวยงานตนสังกัด เดนดาว ชลวิทย (2554) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาหลักสูตร และวิธีการเสริมสรางความสามารถในการเขียนรายงานวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรียนของครู” ผลการวิจัยพบวา 1) ความจําเปน 5 อันดับแรกที่ครูตอง ได รับ การพั ฒ นาคื อ การเขี ย นการวิ เ คราะห ข อมู ล การเขี ย นข อเสนอแนะ การเขียนเครื่องมือที่ใชในการวิจัย การเขียนคําถามวิจัยและการเขียนอภิปราย ผลการวิจัย 2) วิธีการนําหลักสูตรเสริมสรางความสามารถในการเขียนรายงาน วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู มี 3 คือ การฝกอบรม วิธีการเปนพี่เลี้ยง และวิธีการเรียนรูดวยตนเอง โดยพบวาครูที่ไดรับการเสริมสรางความสามารถ ในการเขียนรายงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนดวยวิธีการฝกอบรม วิธีการเปน


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

19

พี่เ ลี้ ย ง และวิ ธี การเรี ย นรู ดว ยตนเอง มี คา เฉลี่ ย ความสามารถในการเขีย น รายงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนหลังการใชหลักสูตรแตกตางกัน จะเห็นไดวา การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเปนเครื่องมือสําคัญในการ พั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ไ ปสู ค วามเป น ครู มื อ อาชี พ เป น เครื่ อ งมื อ ในการพั ฒ นา หลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูใหกาวหนาอยางไมหยุด อยูกับที่เกิดนวัตกรรมที่นํามาใชในการแกปญหาการเรียนการสอนไดทันทวงที ทั้งยังเปนตัวบงชี้ความสําเร็จในการทํางานของครูอยางเปนรูปธรรม คือการ พัฒนาผูเรียนใหเกิดการเรียนรูที่ดีขึ้นดวย

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research : PAR) ความหมายของการวิจัยปฏิบัติการอยางมีสวนรวม (Participatory Action Research )

สุภางค จันทวานิช (2537) กลาวถึงการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวน รว ม (Participatory Action Research:PAR) วาเปน วิธีการเรี ย นรู จ าก ประสบการณ โดยอาศัยการมีสวนรวมอยางแข็งขันจากทุกฝายที่เกี่ยวของกับ กิจกรรมการวิจัย นับตั้งแตการระบุปญหาการดําเนินการ การติดตามผล จนถึง ขั้นประเมินผล วรรณคดี สุทธินรากร (2557) ใหความหมายของการวิจัยปฏิบัติการ แบบมีสวนรวมวา “การวิจัยปฏิบัติการอยางมีสวนรวม เปนการหลอมแนวการ วิจัยอยางมีสวนรวม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เขาดวยกัน เปนงานวิจัยที่เปนการพยายามศึกษาชุมชน โดยเนนการวิเคราะหปญหา ศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา ปฏิบัติตามแผน


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

20

และติ ด ตามประเมิ น ผล ทั้ ง นี้ ใ นการดํ า เนิ น การวิ จั ย ทุ ก ขั้ น ตอน ชาวบ า น ประชาชน หรือสมาชิกของชุมชนนั้นๆ จะตองเขามามีสวนรวมดวย สรุปไดวา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (PAR) คือการวิจัยที่มุงศึกษา ชุมชน โดยเนนการวิเคราะหปญหา ศึกษาแนวทางการแกปญหา ปฏิบัติตาม แผน และติดตามประเมินผล โดยเนนคนเปนศูนยกลาง และมุงสรางพลังอํานาจ ใหกับประชาชน โดยทุกขั้นตอนมีสมาชิกของชุมชนเขารวมดวย

พัฒนาการของการวิจัยปฏิบัติการอยางมีสวนรวม

การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม(PAR) ไวคลายๆ กันวา เปนการหลอม รวมทั้งการวิจัยแบบมีสวนรวม (Participatory Research)และการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ(Action Research) เขาดวยกัน โดยการวิจัยปฏิบัติการอยางมี สวนรวม เปนการศึกษาชุมชนโดยใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการศึกษาและ เก็บรวบรวมขอมูล รวมทั้งเปนผูรวมวิจัยดวย แตไมมีการปฏิบัติการ ไมมีการ นําไปประยุกตแกปญหา สวนการวิจัยปฏิบัติการ เปนกระบวนการวิจัยที่ผูวิจัย กํ า หนดกิ จ กรรมอย า งใดอย า งหนึ่ ง ขึ้ น มาแล ว นํ า ไปทดลองใช ใ หม กั บ กลุมเปาหมายอีก จนกวาจะไดผลเปนที่นาพอใจจากนั้นจึงนําไปใชและเผยแพร ตอไป ซึ่งการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบนี้ กลุมเปาหมายอาจมีสวนรวมหรือไมมี สวนรวมก็ได

ภาพแสดงความสัมพันธของผูวิจยั ชุมชน และ ชาวบาน ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ(AR) และ การวิจัยอยางมีสวนรวม (PR)

ภาพแสดงความสัมพันธของผูวิจยั ชุมชน และ ชาวบาน ของการวิจัยปฏิบัติการมีสวนรวม(PAR)


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

21

หลักการของการวิจัยปฏิบตั ิการอยางมีสวนรวม

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เปนรูปแบบของการวิจัยที่ประกอบไปดวย กระบวนการคนควาทางสังคม (Social Investigation) การใหการศึกษา (Education) และการกระทําหรือการปฏิบัติการ (Action) มีหลักการสําคัญที่ใหความเคารพตอ ภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่น ตลอดจนระบบการสรางความรู โดยประกอบดวย 1) ปรับปรุงความสามารถและพัฒนาศักยภาพของชาวบาน ดวยการสงเสริ ม ยกระดับนักศึกษาและพัฒนาความเชื่อมั่นใหเกิดการวิเคราะห/สังเคราะหสถานการณ ปญหาของเขาเองซึ่งเปนการนําเอาศักยภาพเหลานี้มาใชประโยชน 2) ใหความรูที่เหมาะสมแกชาวบาน ตลอดจนมีการนําไปใชอยางเหมาะสม 3) สนใจปริทัศนของชาวบาน โดย การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมจะชวย เปดเผยใหเห็นคําถามที่ตรงกับประเด็นปญหา 4) การปลดปลอยแนวความคิดเพื่อใหชาวบานและคนยากจนดอยโอกาสสามารถ มองความคิดเห็นของตนเองไดอยางเสรี มองสภาพการณและปญหาของตนเอง วิเคราะห วิจารณ ตรวจสอบสภาพขอเท็จจริงตางๆ ที่เกิดขึ้น

ตัวอยาง งานวิจัยที่เกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม พรรณราย ธนสัตยสถิตย (2553) ไดทํางานวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชการ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมของครู ผูปกครอง และชุมชน ในการลดพฤติกรรมที่ เปนปญหาและสงเสริมทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน” ผลการวิจัย พบวา 1) นักเรียนกลุมทดลองมีพฤติกรรมที่เปนปญหาคือ ติดเกมมากที่สุด รองลงมา ไดแก ทะเลาะวิวาท หนีเรียน ดื่มเหลา สูบบุหรี่ การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร และการ ลักขโมย ตามลําดับ และมี 6 แนวทางในการลดพฤติกรรมที่เปนปญหาและพัฒนาทักษะ ชีวิตไดแก การสรางความตระหนักในตนเอง การชี้ใหเห็นผลเสียของพฤติกรรมที่เปน ปญหา การสรางแบบอยางที่ดี การอบรมขัดเกลาจิตใจนักเรียน การดูแลจากคนรอบขาง และการลดพฤติกรรมดื่มเหลา สูบบุหรี่ 2) กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ของครู ผูปกครองและชุมชนในการลดพฤติกรรมที่เปนปญหาและสงเสริมทักษะชีวิตของ นักเรียน แบบ PDCA มี 2 วงจร คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมระหวางผูวิจัย


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

22

กับครู และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมระหวางครู ผูปกครอง ชุมชน โดยแตละ ฝายแสดงบทบาทของผูเกี่ยวของ ไดแก บทบาทผูใหกําลังใจ บทบาทผูใสใจกํากับ และ บทบาทผูสนับสนุนสงเสริม 3) ผลจากการใชการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสว นรวม แบงเปน 2 ดาน คือ ดานพฤติกรรม นักเรียนมีพฤติกรรมที่มีปญหาลงลงกอนการวิจัย ดานทักษะชีวิต นักเรียนกลุมทดลองมีทักษะชีวิตสูงกวานักเรียนกลุมเปรียบเทียบ และมีทักษะชีวิตสูงกวา กอนการทําวิจัย จะเห็นไดวา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ตองอาศัยการรวมมือรวมพลัง จากทุกๆฝายและผูมีสวนเกี่ยวของ ไมวาจะเปนครู ผูปกครอง ชุมชน ในการรวมกันแกไข ปญหา ทําใหเกิดความเขาใจซึ่งกันและกัน และเกิดการพัฒนาตนเองอยางแทจริง


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

23

รายการอางอิง Kemmis, Stephen and Robin Mc Taggart. (1990). The Action Researcher Planner. 3rd ed.,Victoria: Brown Priori Anderson National Library of Australia Catalouging in Publication Data. กิตติพร ปญญาภิญโญผล. (2541). รูปแบบของวิธีการวิจัยเชิงปฏิบตั ิการในชั้นเรียน : กรณีศึกษาสาหรับครูมัธยมศึกษา. เชียงใหม : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เดนดาว ชลวิทย. (2554). การพัฒนาหลักสูตรและวิธกี ารเสริมสรางความสามารถใน การเขียนรายงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎี บัณฑิต, สาขาวิธีวิทยาการวิจยั ทางการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยา การศึกษา คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธีระวุฒิ เอกะกุล. (2552). การวิจัยปฏิบัติการ. (พิมพครั้งที่ 2). อุบลราชธานี: ยงสวัสดิ์ อินเตอรกรุป. พรรณราย ธนสัตยสถิตย. (2553). การประยุกตใชการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ของครู ผูปกครอง และชุมชน ในการลดพฤติกรรมที่เปนปญหาและสงเสริม ทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต, สาขาวิธีวิทยาการวิจยั ทางการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยา การศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พันธุทิพย รามสูตร. (2540). กาวิจัยปฏิบัติการอยางมีสวนรวม.กรุงเทพมหานคร: พี เอ ลีฟวิ่ง. พิมพันธ เดชะคุปต (2559). สอนเด็กทําโครงงาน สอนอาจารยทําวิจัยปฏิบัติการในชัน้ เรียน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ยุทธพงษ อายุสุข. (2549). การวิจัยประเมินความตองการจําเปนเพื่อพัฒนาการทําวิจัย ปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิธี วิทยาการวิจัยทางการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

24

วรรณคดี สุทธินรากร (2557).การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม และกระบวนการ ทางสํานึก. กรุงเทพฯ: สยามปริทศั น. สุวิมล วองวาณิช. (2550). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุภางค จันทวานิช (2546). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

******************************************


รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

School-Based Teacher Professional Development

แนวคิด ทฤษฎี กระบวนการ วิธีการ และกลยุทธ ในการพัฒนาวิชาชีพครู การวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) - การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research : CAR) คือการวิจัยทีท่ ําโดยครูผูสอน เพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน นําผลมาปรับปรุงการ สอนและพัฒนาผูเรียน - การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research : PAR) คือการวิจัยที่มงุ ศึกษาชุมชน โดยเนนการวิเคราะหปญหา ศึกษาแนวทางการแกปญหา

คูมือนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา 2716607 การพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ปการศึกษา 2560 คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.