รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน Teacher Professional Development คู่มือSchool-Based การพัฒ นาวิชาชีพครู
1
Mindset การพัฒนาชุดความคิด Mindset ผู้เรียบเรียง
ทิพย์สุดา ทวีสิทธิ์
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
2
School-Based Teacher Professional Development
คานา หนังสือเล่มเล็กเรื่อง Mindset การพัฒนาชุดความคิด นี้จัดทาขึ้นเพื่อ เสนอแนวคิดการพัฒนาชุดความคิดเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาครู โดยอาศัย กระบวนการปรับชุดความคิดด้านการจัดการเรียนการสอนของครูที่อิงแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อพัฒนาให้ครูเกิดการปรับเปลี่ยนชุด ความคิดซึ่งจะนาไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอน และปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนต่อไป หนังสือเล่มเล็กนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐาน ได้มีการรวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆเกี่ยวกับ Mindset ไว้ เพื่อหวังว่าจะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็น้อย
ผู้จัดทา ทิพย์สุดา ทวีสิทธิ์ รหัส 5983832727 ปริญญาโท (นอกเวลาราชการ)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
3
School-Based Teacher Professional Development
สารบัญ เรื่อง
หน้า
ความหมาย
4
ความแตกต่างระหว่างชุดความคิดเติบโตกับชุดความคิดจากัด
6
แนวทางในการพัฒนาชุดความคิด
7
ชุดความคิดกับอาชีพครู
8
แนวทางในการพัฒนาชุดความคิดครู
11
การสร้าง Growth Mindset ให้กับนักเรียน
13
ตัวอย่างการนาแนวคิดการพัฒนาชุดความคิดไปใช้ในโรงเรียน
15
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
4
School-Based Teacher Professional Development
การพัฒนาชุดความคิด (Mindset) ชุดความคิด (Mindset) มีที่มาจากพื้นฐานของความเชื่อ ทัศนคติ หรือประสบการณ์ต่างๆที่เราได้รับมา ทาให้เกิดกรอบทางความคิดซึ่งส่งผลต่อ มุมมอง (Perspective) ต่างๆของตัวบุคคล ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่มีความสาคัญเป็น อย่างมากในการพัฒนาศักยภาพของคนเรา เพราะเป็นตัวขับเคลื่อนที่สาคัญใน การดาเนินชีวิตทั้งจากความสัมพันธ์ในครอบครัว การทางาน และสังคม เป็น ต้น เราสามารถเปลี่ยนชุดความคิดได้ตลอดเวลาจากประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ เพือ่ ที่จะประสบความสาเร็จในด้านต่างๆ
ความหมาย Sung, Kang and Liu (2004) ให้ความหมายว่าชุดความคิด คือ พื้นฐานของสมมติฐาน ความเชื่อ ค่านิยมหลัก เป้าหมายและความคาดหวัง ของบุคคลกลุ่มหนึ่งที่มีความมุง่ มั่นเดียวกัน รวมทั้งใช้เป็นข้อตกลงเพื่อให้กลุ่มมี แนวทางในด้านทัศนคติและการปฏิบัติตนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Dweck (2006) ได้ให้ความหมายว่าชุดความคิด คือ กรอบของความ เชื่อหรือแนวทางการคิดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสดงออกรวมทั้งทัศนคติ โดยสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชุดความคิด คือ 1) ชุดความคิดที่จากัด (fixed mindset) คือ คุณสมบัติพื้นฐานที่มีมาตั้งแต่ต้น เช่น ความฉลาดหรือ ความสามารถ มีลักษณะคงทีไ่ ม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้ 2) ชุดความคิดที่ เติบโต (growth mindset) ที่มีพื้นฐานมาจากคุณสมบัตฐิ าน สามารถพัฒนา ได้จากความพยายามหรืออีกนัยหนึ่งคือ มนุษย์มีความแตกต่างกันในทุกด้าน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
5
School-Based Teacher Professional Development
ไม่ว่าจะเป็นพรสวรรค์ตั้งแต่แรกเริ่ม ความถนัด ความสนใจหรืออารมณ์ และ ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตขึ้นได้จากประสบการณ์และการนาไป ประยุกต์ใช้ Goldsten and Brooks (2007) ให้ความหมายว่าชุดความคิด คือ สมมติฐานหรือสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตที่มีอยู่ในตัวของบุคคลและ บุคคลอื่น ทีส่ ่งผลถึงพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ บุญเกียรติ โชควัฒนา (2554) ให้ความหมายว่าชุดความคิด คือ สิ่งที่ ได้พบ สิ่งที่สัมผัส สิ่งที่รับรู้ทงั้ หลายทั้งปวง และมักจะยึดติดอยู่ ไม่ค่อย เปลี่ยนแปลง ถ้ามีชุดความคิดที่เป็นบวกและดีควรเก็บไว้ แต่ถ้ามีชุดความคิด เป็นลบและชุดความคิดนั้นมีผลต่อตัวเองหรือคนอื่นทาให้ไม่เจริญก้าวหน้าและ เดือดร้อน จึงต้องมีการเปลี่ยนชุดความคิด ดังนั้นสรุปได้ว่า ชุดความคิด (Mindset) หมายถึง กรอบความคิดของ บุคคลโดยมีพื้นฐานมาจากค่านิยม ความเชื่อ ความคาดหวัง ทัศนคติ และ ประสบการณ์เดิมของบุคคลนั้นๆ ซึ่งอิทธิพลต่อการแสดงออกของบุคคลในการ ตอบสนองต่อสถานการณ์ ในบุคคลหนึ่งจะประกอบด้วยชุดความคิดที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมในหลายด้าน ในทางทฤษฎีกล่าวว่าบุคคลหนึ่งๆจะมีชุดความคิดที่ ส่งผลต่อพฤติกรรม 2 แบบ คือ ชุดความคิดจากัด เป็นชุดความคิดที่ว่า ไม่ชอบ การเปลี่ยนแปลง ยึดติดกับสิ่งที่ตนเองเป็น แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ถา้ ได้รับ การพัฒนา และชุดความคิดเติบโต คือ ชุดความคิดที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
6
School-Based Teacher Professional Development
ความแตกต่างระหว่างชุดความคิดเติบโตกับชุดความคิดจากัด ศาสตราจารย์ Carol S. Dweck ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศักยภาพ ของมนุษย์แห่งมหาวิทยาลัย Standford ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทา งานวิจัยมากว่า 40 ปี เพื่อคิดค้นทฤษฎีเรื่อง MINDSET คือ กลุ่มของความเชื่อหรือวิธีการคิดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมมุมมองและ ทัศนคติ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. Growth Mindset (คนที่มีชดุ ความคิดแบบเติบโต) เชื่อว่า มนุษย์พัฒนาได้ ความสามารถสร้างได้ด้วยการเรียนรู้ มองว่า ปัญหาและอุปสรรคเป็นโอกาสในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาให้ ความสาคัญกับความพยายาม เด็กที่มี Growth Mindset จะกระตือรือร้นที่จะ เรียนรูช้ อบที่จะเรียนรู้จากปัญหา สนุกเวลาที่เจอโจทย์ยากๆ มีความพยายามที่ จะหาทางแก้ไขปัญหาอุปสรรค พัฒนาสิ่งใหม่ๆทีท่ ้าทาย มีความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ๆ มักมีคาถามในเรื่องการเรียนรวมถึงสิง่ ต่างๆรอบตัว
2. Fixed Mindset (คนทีม่ ีชุดความคิดแบบจากัด) เชื่อว่า ความฉลาดของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ไม่สามารถเพิ่มพูนทักษะ ความสามารถได้ ให้ความสาคัญกับภาพลักษณ์ คุณสมบัติ เช่น ต้องดูฉลาดดู เก่ง เด็กที่มี Fixed Mindset จะไม่ชอบที่จะเรียนเพราะคิดว่าไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงความฉลาดของตนเองได้ มักจะไม่มีความพยายาม หลีกเลี่ยง
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
7
School-Based Teacher Professional Development
ปัญหาและงานที่ท้าทาย เมื่อเจออุปสรรคจะมองว่ามันคือความล้มเหลว หนี ปัญหา เนื่องจากกลัวว่าถ้าทาไม่ได้แล้ว จะดูโง่ ไม่เก่ง เสียภาพลักษณ์
แนวทางในการพัฒนาชุดความคิด วิธีการเปลี่ยนแปลงชุดความคิดนั้น สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยมี ลาดับขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 พิจารณาชุดความคิดของตนว่ามีอะไรบ้าง ทั้งในทางบวก และทางลบ ตัวอย่างเช่น ชุดความคิดของตนเองในทางบวก คือ การมุ่งมัน่ ใน การทางานให้สาเร็จ ชุดความคิดทางลบ คือ การไม่ชอบตัวเลข การไม่ชอบ ทางานเป็นทีม เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาชุดความคิดทางลบว่าส่งผลไม่ดีต่อตัวเอง อย่างไรบ้าง นาชุดความคิดทางลบมาพิจารณา ตัวอย่างเช่น การไม่ชอบตัวเลข ส่งผลไม่ดีต่อตัวเรา คือ การที่ไม่ชอบจะทาให้ทางานหรือเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับ ตัวเลขได้ไม่ดี เป็นต้น จากนั้นจึงทบทวนในทางบวกที่ตรงข้ามกับทางลบอย่างค่อยเป็นค่อย ไป และพิจารณาว่าชุดแนวคิดทางบวกมีประโยชน์อะไรกับตัวเอง และ พยายามปรับชุดความคิดนั้นให้เป็นชุดความคิดใหม่ของตัวเอง
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
8
School-Based Teacher Professional Development
ตารางแสดงวิธีการเกิดชุดความคิดและการเปลี่ยนแปลงชุดความคิด ชุดความคิด
สาเหตุของการเกิด ชุดความคิด
ผลทีเ่ กิดจากชุด วิธีการ ความคิด เปลีย่ นแปลงชุด ความคิด การไม่ชอบ ตอนเด็กเคยโดนครู การทางาน เปลี่ยนแปลง ตัวเลข ทาโทษ เรื่องบวกเลข เกี่ยวกับตัวเลข กรอบความคิด ผิด ทาให้เกิดความ จะทาไม่ได้หรือ ตัวเลขเป็นเรื่อง อายเพื่อน คิดได้ช้ามาก ง่าย การทางานจะ วัยเด็กได้รับความ การทางานไม่ เปลี่ยนแปลง สาเร็จได้ ไว้วางใจจากครูให้ ไว้ใจให้ผู้อื่น ด้วยการทางาน เพราะตัวเอง รับผิดชอบทางานคน ทางานเป็นทีมได้ เป็นทีมจะทาให้ เดียว และทาได้ การทางานมี ประสบความสาเร็จ ประสิทธิภาพ มากขึ้น
ชุดความคิดกับอาชีพครู มีผู้ที่ให้ความหมายของชุดความคิดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมครูไว้ดังนี้ Goldstein and Brooks (2007: 3) ให้ความหมายของคาว่า ชุด ความคิดครู ว่าเป็นข้อสมมติฐานและมาตรฐานที่คาดหวังที่มีอยู่ในตัวเอง ที่ ผู้อื่นสามารถให้คาแนะนาได้จากวิธีการสอนและจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่า ครูกับนักเรียน ผู้ปกครองและเพื่อนร่วมงาน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
9
School-Based Teacher Professional Development
Jackson (2009: 2) ให้ความหมายของคาว่า ชุดความคิดครู ว่าเป็น แนวทางในการคิดเกี่ยวกับการสอน นักเรียน การจัดการเรียนรู้และธรรมชาติ ของการสอนที่มีความราบรื่น มีประสิทธิภาพและได้ผลดีต่อนักเรียน Crawford and Hagedorn (2009) กล่าวว่า ชุดความคิดของครูเป็น ความเชื่อว่าการเรียนการสอนนั้นเป็นกิจกรรมของมนุษย์ที่แสดงออกมา มีทั้ง ในทางที่ดีและไม่ดีนั้น (Palmer, 1998) มีพื้นฐานมากจาก 3 พื้นฐานทางชุด ความคิดครู ซึ่งประกอบด้วย 1. ชุดความคิดที่เติบโต (growth mindset) หมายถึง การเชื่อใน ความสามารถของนักเรียนว่าแต่ละคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามความรับผิดชอบของแต่ละคนเมื่อได้รับการชี้แนะจากครู และเมื่อครูมีความเชื่อเช่นนี้ ครูจะต้องทาการปลูกฝังให้นักเรียนมี ความเชื่อในความสามารถของตนเองว่าสามารถเปลี่ยนแปลงได้ 2. ชุดความคิดด้านการกระทา (action mindset) หมายถึง ความสามารถของครูในการเข้าใจการกระทาของนักเรียน โดยที่ ผู้เรียนอาจจะมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ โดยครูจะต้องพยายาม หาสาเหตุของการกระทาที่เกิดขึ้นของนักเรียนว่ามีสาเหตุมาจาก อะไร ไม่ใช่การตัดสินใจจากความรู้สึกของครู 3. ชุดความคิดด้านปรนัย (Objective mindset) หมายถึง ความสามารถในการโต้ตอบนักเรียนโดยไม่ต้องคานึงสิ่งที่นักเรียน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
10
School-Based Teacher Professional Development
กระทาหรือพูด ความไม่ลาเอียงนั้นเป็นส่วนสาคัญของการเป็นครู ที่สมบูรณ์ ดังนั้นสรุปว่าชุดความคิดของครู คือ สมมติฐานหรือความเชื่อที่มีอยู่ใน ตัวครูและมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของครูที่แสดงออกในการสอน สามารถ เปลี่ยนแปลงได้จากการให้คาแนะนาผ่านวิธีการสอนและการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูกับนักเรียน ผู้ปกครองและเพื่อนร่วมงาน โดยในชุดความคิดครูนี้ มี 2 ลักษณะ คือ ชุดความคิดที่จากัดและชุดความคิดที่เติบโต แต่ละลักษณะของ ชุดความคิดนี้ส่งผลต่อพฤติกรรมในการสอนของครู ดังนี้ 1.กรอบของความคิดที่จากัด ครูที่มีกรอบความคิดว่า ความสาเร็จของนักเรียนมาจากความสามารถ ที่มีอยู่ โดยที่พนั ธุกรรมและสิง่ แวดล้อมเป็นตัวกาหนดสิ่งที่แสดงออก ดังนั้น การสอนของครูจะสอนในลักษณะเดียวกันเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับนักเรียนเองว่า จะเรียนรู้ได้เท่าไร 2.กรอบของความคิดที่เติบโต ครูจะมีกรอบความคิดที่แตกต่างกับชุดความคิดที่จากัด เพราะครูมี ความเชื่อว่าจะสามารถพัฒนานักเรียนได้ ครูจึงพยายามที่จะหาเทคนิควิธีการ สอนแบบต่างๆมาพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนอย่าง สม่าเสมอ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
11
School-Based Teacher Professional Development
แนวทางในการพัฒนาชุดความคิดครู แนวทางการพัฒนาชุดความคิดของครู (Anderson, 2006) มีขั้นตอน ที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การรับรู้ชุดความคิดเบื้องต้นของตนเอง การรับรู้ถึงชุดความคิดเบื้องต้นของตนเองก่อน จะทาให้สามารถรู้ ระดับความคิดว่าอยู่ที่ใด เพื่อที่จะตั้งเป้าหมายต่อไปว่าจะทาอย่างไรได้บ้าง ดังเช่น เวลาที่คนต้องปรับเปลี่ยนหรือทาสิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม มักจะมีคาพูด ว่า คงทาไม่ได้ หรือไม่คิดว่าจะต้องเปลี่ยนเพราะดีอยู่แล้ว ซึ่งกรอบความคิด เหล่านี้ทาให้ไม่สามารถเริ่มอะไรใหม่ๆได้ 2.การทดลองตั้งคาถามเกี่ยวกับชุดความคิดใหม่ ขั้นตอนต่อไปคือ การลองถามตัวเองว่า หากเราทาการเปลี่ยนแปลง อะไรบางอย่างไปจากชุดความคิดเดิมๆ จะได้ประโยชน์อะไรจากสิ่งใหม่ๆบ้าง ซึ่งประเด็นนี้จะเรียกว่า การสร้างแรงจูงใจของตน (self-motivation) 3.การหาวิธีการที่ได้มาซึ่งข้อมูลหรือแนวทางใหม่ๆเพื่อนามาปรับ ชุดความคิดเก่า ศึกษาแหล่งข้อมูลหรือแนวทางใดบ้างที่จะช่วยนามาเป็นสิ่งที่พัฒนา หรือเปลี่ยนชุดความคิดของตนให้เป็นชุดความคิดใหม่ ขั้นตอนนี้ต้องรักษา ความเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นมีประโยชน์ เช่น การเชื่อว่ามีบุคคลหลายคนที่ เปลี่ยนแปลงตนเองได้สาเร็จ ดังนั้นตัวเราเองก็จะทาได้สาเร็จเช่นกัน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
12
School-Based Teacher Professional Development
4.การทาการทดสอบ ทดลอง แนวทางใหม่ๆดังกล่าวว่าได้ผลดี เพียงพอที่จะนาไปใช้หรือไม่ ข้อมูลหรือแนวทางที่พัฒนาขึ้นนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงชุดความคิด นัน้ หรือไม่ และประเมินว่าได้เรียนรูจ้ ากอะไร จากการทดสอบ ทดลอง และใน ขั้นตอนนี้อาจจะมีผู้ช่วยหรือครูที่มีประสบการณ์ให้คาแนะนาเพื่อชี้แนะ 5.การตรวจสอบชุดความคิดอีกครั้งว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ขั้นตอนนี้เป็นการประเมินผลถึงสิ่งที่ทาไปว่าส่งผลอย่างไร ซึ่งถ้าเราได้ ชุดความคิดใหม่ จึงถือว่าการพัฒนานี้สาเร็จ และยังเป็นการรับรองได้ว่าจะ สามารถช่วยเหลือผู้อื่นให้ได้รบั ความสาเร็จได้เช่นกัน แต่หากชุดความคิดยังไม่ เปลี่ยน ขั้นตอนนี้ก็จะช่วยตรวจสอบและทาให้สามารถย้อนขั้นตอนไปเริ่มใหม่ ได้อย่างมีขั้นตอนและต่อเนื่องเป็นลาดับ จากขั้นตอนในการพัฒนาชุดความคิดเป็นแนวทางในการนามาใช้เพื่อ พัฒนาชุดความคิดของครู เพื่อพัฒนาให้ครูเป็นผู้ที่มีชุดความคิดที่เติบโตได้ เป็นวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน อันจะส่งผลโดยตรง ต่อประสิทธิภาพของผู้เรียนและพฤติกรรมของครู
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
การสร้าง Growth Mindset ให้กับนักเรียน
13
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
14
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
15
School-Based Teacher Professional Development
ตัวอย่างการนาแนวคิดการพัฒนาชุดความคิดไปใช้ในโรงเรียน การปลูกฝัง Growth Mindset ให้กับเด็ก จะทา ให้เด็กมีความ กระตือรือร้นที่จะเรียนและมีโอกาสที่จะประสบความสาเร็จสูง เพราะเชื่อว่า ความสามารถสร้างได้จึงตั้งใจเรียนรู้เต็มที่ เมื่อเจออุปสรรคเด็กจะตีความว่ามัน เป็นโอกาสในการเรียนรู้และสามารถพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นได้ จากงานวิจัยของ Blackwell, Trzesniewski, และ Dweck ในปี 2007 ซึ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อเกี่ยวกับความฉลาดและผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก โดยทีมวิจัยให้เด็กนักเรียนแรกเข้าชั้น ม.1 ทา แบบทดสอบเพื่อประเมินความเชื่อเกี่ยวกับความฉลาด จากนั้นแบ่งเด็ก ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 : เชื่อว่าความฉลาดสามารถเปลี่ยนแปลง ได้ และ กลุ่มที่ 2 : เชื่อว่าความฉลาดไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ร่วม กับติดตาม ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของเด็กทั้ง 2 กลุ่ม เป็นระยะเวลา 2 ปี ตั้งแต่ ม.1 เทอมต้น จนสิน้ สุด ม.2 จากผลการศึกษา พบว่าเด็กในกลุ่มที่ 1 คือกลุม่ ที่มี ความเชื่อแบบ Growth Mindset นั้น มีผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ในช่วง ม.2 เทอม ปลาย สูงกว่ากลุ่มที่มี Fixed Mindset อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเด็กที่มี Growth Mindset มีแนวโน้มที่จะประสบความสา เร็จทางการเรียนมากกว่าเด็กที่มี Fixed Mindset
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
16
School-Based Teacher Professional Development
Carol นา แนวคิด Growth Mindset นี้ไปใช้กับอีกหลายเขต พื้นที่ การศึกษาและผลที่ออกมาก็เป็นไปในแนวทางเดียวกัน เด็กมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทีด่ ีขึ้น เช่น เด็กในชุมชนแอดอัดและชนเผ่าพื้นเมืองใน สหรัฐอเมริกาได้คะแนนการทดสอบระดับรัฐเป็นลาดับต้นๆ จากที่เคยอยู่ อันดับท้าย เป็นเพราะเด็กได้เรียนรู้และเข้าใจว่าความพยายามและความยาก คือสิ่งที่พัฒนาความสามารถของตนเองได้ ทาให้เด็กรักทีจ่ ะเรียนรู้ และ พยายามแก้ไขปัญหาที่ท้าทาย
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
17
School-Based Teacher Professional Development
นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวของเรื่องราวของสองโรงเรียนในประเทศ อังกฤษ Prettygate Junior และ Wroxham ที่เคยถูกประเมินจากสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาให้อยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุงภายใต้การดูแลอย่าง ใกล้ชิด (Special Measures) แต่ในระยะเวลาไม่ถึง 3 ปี พวกเขาสามารถ พัฒนาโรงเรียนจนได้รับการประเมินว่ามีคุณภาพการศึกษาที่โดดเด่น (Outstanding) เป็นที่กล่าวขานในวงการศึกษาและเป็นโรงเรียนต้นแบบของ การนา Growth Mindset มาใช้พัฒนาครู นักเรียน และระบบการบริหารของ โรงเรียนจนประสบความสาเร็จ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
18
School-Based Teacher Professional Development
ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุดความคิด : การวิจัย และพัฒนากระบวนการชี้แนะที่อิงทฤษฎีการเรียนรูส้ ู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อ ปรับชุดความคิดด้านการจัดการเรียนการสอนของครูประถมศึกษา (มิลินท รา กวินกมลโรจน์. 2558) ขั้นตอนในการดาเนินงานตามกระบวนการมี 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การเตรียมการก่อนการชี้แนะ การเตรียมความพร้อมครู เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ชี้แนะกับครู เพื่อให้เกิดความไว้วางใจซึ่งกัน และกันระหว่างผู้ชี้แนะกับผู้รับการชี้แนะ และทาให้ทราบพื้นฐานของชุด ความคิดของผู้เข้าร่วมกระบวนการ ด้วยการศึกษาสภาพ การจัดการเรียนการ สอนของครูและการสังเกตการสอนเพื่อกาหนดแนวทางในการชี้แนะ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
19
School-Based Teacher Professional Development
ระยะที่ 2 การชี้แนะเพื่อสร้างการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกระบวนการ เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในด้วยตนเองโดยมีผู้ชี้แนะเป็นผู้คอยช่วยเหลือ แนะนา แต่ไม่ได้บอกหรือชี้นาให้ครูดาเนินการตาม ระยะนี้มีขั้นตอนในการ สร้างการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การตระหนักรู้ชุดความคิดของครู ประกอบด้วย 1.1) การสร้างความตระหนักรู้ในชุดความคิดตนเองของครู 1.2) การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการสอนและเห็นคุณค่า ของการเปลี่ยนชุดความคิดด้านการจัดการเรียนการสอนไปสู่การสร้าง แรงบันดาลใจในการเป็นครูที่เน้นการพัฒนาตนเอง ขั้นที่ 2 การเปิดประสบการณ์เรียนรู้ชุดความคิดใหม่สู่การพัฒนา ตนเอง ขั้นที่ 3 การประเมินเปรียบเทียบศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ของตนเองภายใต้กรอบชุดความคิดใหม่ ขั้นที่ 4 การดาเนินการจัดการเรียนการสอนภายใต้กรอบชุดความคิด ใหม่ ประกอบด้วย 4.1) การวางแผนการปรับวิถีการทางานของตนเอง 4.2) การนาแผนสู่การปฏิบัติและประเมินผลย้อนกลับ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
20
School-Based Teacher Professional Development
4.3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเพื่อปรับปรุงและ ปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตามบทบาทใหม่ (อาจจะมีการดาเนินการ ซ้าในขั้นที่ 4 ได้หลายครั้ง ถ้ามีความต้องการหรือจาเป็น เพื่อให้เกิด ความรู้สึกมั่นใจและสร้างแรงจูงใจที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง) ขั้นที่ 5 การส่งเสริมให้ครูนาชุดความคิดใหม่ที่ได้ไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน ระยะที่ 3 ขั้นสรุปและประเมินผลหลังการชีแ้ นะ เป็นขัน้ การสรุปผล การดาเนินงานที่ผ่านมาเพื่อสรุปข้อเรียนรู้ของครูและผู้ชี้แนะ เพื่อนาไปสู่การ สร้างองค์ความรู้ร่วมกัน และบูรณาการแนวปฏิบัติงานใหม่ตามกรอบชุด ความคิดใหม่ เพื่อปรับใช้กับการเรียนการสอนครั้งต่อไป ผู้ใช้กระบวนการสามารถดาเนินการไปได้พร้อมกับการทางานใน บริบทของการสอนตามปกติ โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 16 สัปดาห์ จากนั้น อาจมีการดาเนินการต่อเนื่องต่อไปได้ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงชุดความคิดให้ มีความยั่งยืนและเป็นการยืนยันได้ว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของครูนั้นเป็น ผลมาจากชุดความคิดด้านการจัดการเรียนการสอนของครู ทั้งนี้สามารถปรับ เวลาได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ผู้ทาการวิจัยได้นากระบวนการที่พัฒนาขึ้นนี้ไปใช้ปรับชุดความคิด ด้านการจัดการเรียนการสอนของครูประถมศึกษา พบว่าครูปรับเปลี่ยนชุด ความคิดได้ทุกคน และเมื่อครูเกิดการเปลี่ยนแปลงชุดความคิดแล้วก็ส่งผลต่อ แนวความคิดต่อตนเองในฐานะครู แนวความคิดต่อนักเรียน และแนวความคิด
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
21
School-Based Teacher Professional Development
ต่อบทบาทหน้าที่ของครู ซึ่งเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมที่แสดงออกมาทาให้ครู ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนของตนไปในทิศทางที่มุ่งให้ นักเรียนเกิดการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ นอกจากนีก้ ารปรับชุด ความคิดยังช่วยให้ครูแสดงถึงศักยภาพของตัวครูออกมาได้อย่างเต็มที่ ทั้งยัง เป็นพลังขับเคลื่อนให้ครูมีพฤติกรรมที่สนองต่อบุคคลอื่นในทางบวกอีกด้วย
รายการอ้างอิง ภาษาไทย ทิศนา แขมมณี และ นงลักษณ์ วิรัชชัย. 2546. เก้าก้าวสู่ความสาเร็จในการ วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและการสังเคราะห์งานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ. บังอร เสรีรัตน์ ชาริณี ตรีวรัญญู และเรวณี ชัยเชาวรัตน์ (บรรณาธิการ). 2558. 9 วิถีสร้างครูสู่ศิษย์ เอกสารประมวลแนวคิดและแนวทาง พัฒนาวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาระบบกลไกและแนว ทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน.
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
22
School-Based Teacher Professional Development
มิลินทรา กวินกมลโรจน์. 2558. การวิจัยและพัฒนากระบวนการชี้แนะที่อิง ทฤษฎีการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับชุดความคิดด้านการ จัดการเรียนการสอนของครูประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรีพันธุ์ เสนานุช. 2554. ปรับองค์กร ถอนกรอบแนวคิด. Human Resource Focus. Vol.12.68 (3) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ. 2559. อัจฉริยะหรือพรสวรรค์ไม่สาคัญเท่า Growth Mindset. กรุงเทพฯ : ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ. ภาษาอังกฤษ Anderson, E. 2006. Growing great Employees: Turning Ordinary People into Extraordinary Performers. USA: Galloard. Aronson, J., Fried, C.B., & Good, C. 2002. Reducing stereotype threat and boosting academic achievement of African-
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
23
School-Based Teacher Professional Development
American student: The role of conceptions of intelligence. Journal of Experimental Social Psychology. Craeford, L & Hagedorn, C. 2009. Classroom Discipline: Guiding Adolescents to Responsible Independence. USA: Oeigins Program. Dweck, C.S. 2006. Mindset: the new psychology of success. NewYork: Random House,lnc,. Goldstein, S. & Brooks, R. 2007. Understanding and Managing Children’s Classroom Behavior: Creating Sustainable, Resilient School. John Wiley & Sons.
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
แนวคิด ทฤษฎี กระบวนการ วิธีการ และกลยุทธ์ ในการพัฒนาวิชาชีพครู
ชุด ความคิด (Mindset) หมายถึง กรอบความคิ ด ของบุ ค คลโดยมี พื้ น ฐานมาจากความเชื่ อ ค่ า นิ ย ม ทัศนคติ และประสบการณ์เดิมของบุคคลนั้นๆ ซึ่งมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การแสดงออกในการตอบสนองต่ อ สถานการณ์ต่างๆ มี 2 แบบ คือ ชุดความคิดจากัด กับชุดความคิดเติบโต
คู่มือนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา 2716607 การพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ปีการศึกษา 2560 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
24