CONTENT
ÊÒúÑÞ
ปที่ 4 ฉบับที่ 15 มกราคม - มีนาคม 2560
P.20
P.15
P.04
P.08 P.11
P.15
Special Report รัฐมนตร เศรษฐกิจอาเซ ยนมุงเดินหนาผลักดันอาเซ ยน สูเวทีโลก พรอมเรงสรุปผล RCEP ภายในสิ้นปนี้ FTA Corner CPEC กับโอกาสทางเศรษฐกิจของไทยในปากีสถาน
P.20
เลาสูกันฟง เลาเร¢่องไตหวัน
P.25
รูไว!!! ไดประโยชน แนะนำ 4 เว็บไซตสุดเจง เพื่ออัพเดทขอมูลการคาไทย
AEC Society อีกกาวของไทย - เมียนมา มุงสูหุนสวนยุทธศาสตร ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ตั้งเปามูลคาการคาระหวางกัน 2 เทา ภายใน 5 ป
P.28
360 การคาโลก ทิศทางสหรัฐอเมร กาหลังพิธ สาบานตน กระทบอยางไรตอไทย
P.32
สถิติการคาโลก
P.33
Q&A ทำไม ? ตองระงับความขัดแยงทางการคา
P.36
DTN Report
Exclusive Interview บุณยฤทธ ์ กัลยาณมิตร อธ บดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย
P.25
P.28
P.36
โดย ส�ำนักอาเซียน
4
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
อาเซียนจัดการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (AEM Retreat) ครั้งที่ 23 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ณ กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ โดยมีรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจจากประเทศสมาชิกอาเซียน เข้าร่วมเมื่อต้นเดือน มีนาคมที่ผ่านมา ซึ่งปีนี้ถือว่าเป็นปีที่ส�ำคัญในโอกาสครบรอบ 50 ปี การก่อตั้งอาเซียน ฟิลิปปินส์ ในฐานะประธานอาเซียนในปี 2560 ให้ความ ส�ำคัญกับการสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคโดย ใช้นวัตกรรมเป็นตัวขับเคลื่อน โดยให้ประเด็นหลักของอาเซียนใน ปี 2560 คือ หุน้ ส่วนเพือ่ การเปลีย่ นแปลง การมีสว่ นร่วมกับโลก (Partnering for change, engaging the world) โดยทีป่ ระชุม สนั บ สนุ น ประเด็ น ที่ ฟ ิ ลิ ป ปิ น ส์ เ สนอให้ เ ป็ น มาตรการส� ำ คั ญ ในอันดับต้นเพื่อด�ำเนินการให้เสร็จในปีนี้ 10 เรื่อง ได้แก่
RCEP
เร งรัดการเจรจาให มีข อสรุปที่สำคัญ ภายในป 2560
ATISA
จัดทำความตกลงว าด วยการค า บริการอาเซียนในรูปแบบ Negative List Approach
Investment
การส งเสริมการลงทุนที่มีเป าหมาย และกลยุทธ
Inclusive Business การส งเสริมให MSMEs ได มีส วน ในห วงโซ มูลค า (value chain) ของบริษัทขนาดใหญ
Innovation
การจัดทำปฏิญญาเกี่ยวกับแนวทาง ในเรื่องนวัตกรรมของอาเซียน
Self-Certification
จัดทำระบบการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิด สินค าด วยตัวเองของอาเซียน (ASEAN-wide self-certification) ให สำเร็จ โดยเน นอำนวยความสะดวก แก วิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย อม และรายย อย (MSMEs) (Micro, Small, Medium Enterprises)
Peer Review
การนำระบบ Peer Review มาเสริมในการตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการตาม AEC Blueprint 2025
TF Index
การพัฒนาเครือ่ งมือสำหรับวัด การอำนวยความสะดวกทางการค าในอาเซียน
Women and Youth การส งเสริมผูป ระกอบการสตรีและ ผูป ระกอบการรุน เยาว
Maritime connectivity โครงการ RORO ASEAN Maritime connectivityซึง่ เป นการเชือ่ มโยงทางทะเล ระหว างเมืองดาเวา เมืองบิตงุ เมืองเจเนอรัล ซานโตส
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
5
ไทยได้ ส นั บ สนุ น หลั ก การส� ำ คั ญ ที่ ฟ ิ ลิ ป ปิ น ส์ เ สนอ เพื่อผลักดันในปีนี้ในภาพรวม เนื่องจากเห็นว่าเป็นแนวคิดที่ดี เอื้ออ�ำนวยต่อการประกอบธุรกิจ ซึ่งจะส่งเสริมให้การรวมกลุ่ม ของอาเซียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการส่งเสริม MSMEs ให้ เชื่ อ มโยงสู ่ ห ่ ว งโซ่ มู ล ค่ า ของบริ ษั ท ขนาดใหญ่ ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลไทยในปัจจุบนั ทีด่ ำ� เนินการอยู่ โดยเห็นว่าสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศสามารถมีความร่วมมือ ในเรื่องนี้ร่วมกันได้ นอกจากนี้ ไทยได้เสนอที่ประชุมพิจารณา ให้ ภ าคเอกชนเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด การอ� ำ นวยความสะดวกทางการค้ า ในอาเซี ย น เนื่ อ งจาก ภาคเอกชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์จากการอ�ำนวยความสะดวก ทางการค้าโดยตรง ในการประชุม AEM Retreat ครั้งนี้ มีการหารืออย่าง เข้มข้นโดยเฉพาะเรื่องความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับ ภูมิภาค หรือ RCEP โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้พิจารณา ก�ำหนดแนวทางร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและสรุปผลภายใน สิ้นปี 2560 หรืออย่างน้อยให้การเจรจาประเด็นส�ำคัญสรุปได้ เป็ น ส่ ว นใหญ่ อ ย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ โดยได้ ม อบแนวทางส� ำ หรั บ การหารื อ ประเด็ น หลั ก ในเรื่ อ งการค้ า สิ น ค้ า การค้ า บริ ก าร การลงทุน และการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ซึ่งความตกลง RCEP มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชีย เพิ่มโอกาสการค้า การลงทุน เชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตในกลุ่มสมาชิก โดยเน้นย�้ำ ถึงการด�ำเนินนโยบายการค้าเสรีอย่างต่อเนือ่ งของประเทศสมาชิก ท่ามกลางสภาวะการค้าโลกที่ชะลอการเติบโตลง และความ ไม่ แ น่ น อนของนโยบายด้ า นเศรษฐกิ จ การค้ า ของประเทศ มหาอ�ำนาจ
6
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
ที่ประชุม ได้ตั้งเป้าหมายการลงนามความตกลงการค้า เสรี อ าเซี ย น-ฮ่ อ งกง รวมทั้ ง พิ ธี ส ารแก้ ไขความตกลงหุ ้ น ส่ ว น เศรษฐกิจอาเซียน-ญีป่ นุ่ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2560 เพือ่ ผนวกการ เปิดเสรีด้านการค้าบริการ และการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา ระหว่ า งกั น รวมทั้ ง ได้ เชิ ญ ผู ้ แ ทนจากภาครั ฐ และเอกชนของ ประเทศอาเซียนเข้าร่วมงาน “ครบรอบ 25 ปี ความสัมพันธ์ อาเซียน-อินเดีย: ASEAN-India Expo and Forum” ที่จะมี ขึ้นระหว่างวันที่ 1-4 สิงหาคม 2560 ณ กรุงเทพฯ ในการประชุม ครัง้ นี้ ไทยได้ลงนามพิธสี ารเพือ่ การแก้ไขความตกลงด้านการลงทุน อาเซียน (ACIA) ฉบับที่ 2 เพื่อรองรับการแก้ไขค�ำนิยามเรื่อง นักลงทุนที่เป็นผู้มีถิ่นพ�ำนักถาวร (Permanent Resident) และ ประเด็นลดหรือห้ามเงื่อนไขที่เข้มงวดของรัฐที่มีต่อนักลงทุนด้วย ซึ่งจะช่วยเอื้ออ�ำนวยการประกอบธุรกิจ และส่งเสริมการรวมกลุ่ม ของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการส่งเสริม MSMEs ให้เชื่อมโยงสู่ห่วงโซ่มูลค่าของบริษัทขนาดใหญ่
นอกจากนี้ รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนยังได้พบหารือกับ สภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน หรือ ASEAN-BAC ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนภาคเอกชนของประเทศสมาชิก โดย ASEAN-BAC ได้น�ำ เสนอข้ อ เสนอแนะและการด� ำ เนิ น โครงการของภาคเอกชน ที่มุ่งเน้นให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาคส่วนได้รับประโยชน์จาก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่ง เสริมขีดความสามารถของผู้ประกอบการรายย่อย ในการเข้าถึง ตลาดและแหล่งเงินทุน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่มูลค่าโลก รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ได้รว่ มรับรองแผนงานในการ จัดท�ำและสร้างความตระหนักรู้ในเรื่องแนวปฏิบัติที่ดีในการออก กฎระเบียบของอาเซียนที่จะใช้ใน 10 ปีต่อจากนี้ ซึ่งแนวทางดัง กล่าวจะช่วยสร้างความโปร่งใสในการออกกฎหมายไม่ให้เกิดภาระ ต่อการค้าเกินความจ�ำเป็น เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วน ต่ า งๆ อั น จะช่ ว ยสร้ า งความมั่ น ใจให้ กั บ นั ก ลงทุ น และดึ ง ดู ด การลงทุนให้เข้ามาในอาเซียนมากขึ้น
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
7
โดย ส�ำนักเอเชีย แอฟริกา และยุโรปตะวันออก
Gwadar Port 8
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
ที่มา : www.gwadarport.gov.pk
การระเบียงเศรษฐกิจ (The China-Pakistan Economic Corridor: CPEC) นับเป็นโครงการ ลงทุนขนาดเมกะโปรเจคของโลก ทีม่ เี ป้าหมายในการพัฒนาและ ขยายเครือข่ายโครงสร้างพืน้ ฐาน ทัง้ เส้นทางหลวงและทางรถไฟ ของปากีสถาน เพื่อเชื่อมต่อท่าเรือกวาดาร์ ณ เมืองกวาดาร์ ริมฝั่งทะเลอาหรับทางตะวันตกเฉียงใต้ของปากีสถานเข้ากับ เมืองคัชการ์ มณฑลซินเจียงทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน นอกจากนี้ CPEC ยังเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเส้นทาง สายไหมศตวรรษที่ 21 ด้วย ซึ่งนับเป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ครัง้ ส�ำคัญในภูมภิ าคเอเชียใต้ นับว่าเป็นตลาดทีน่ า่ สนใจส�ำหรับ ผู ้ ส ่ ง ออกและนั ก ลงทุ น ไทยภายใต้ ค วามตกลงการค้ า เสรี ไทย-ปากีสถาน (PATHFTA) โดยคาดว่าจะสามารถสรุปผล การเจรจาได้ภายในปี 2560 โครงการ CPEC เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2556 จากการน�ำเสนอของนายหลี่ เค่อเฉียง นายกรัฐมนตรีของจีน และ นายนาวาซ ชารีฟ นายกรัฐมนตรีของปากีสถาน หลังจากนัน้ เดือน พฤศจิกายน 2557 รัฐบาลจีนได้ประกาศงบลงทุนโครงการ CPEC เพื่อการพัฒนาด้านพลังงานและโครงสร้างพื้นฐานในปากีสถาน มูลค่า 45.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ จึงกลายเป็นหนึ่งในจุดเชื่อมต่อ ที่ส�ำคัญของยุทธศาสตร์ One Belt - One Road เมื่อโครงการ ระเบียงเศรษฐกิจเริม่ ด�ำเนินการ แหล่งพลังงานจากตะวันออกกลาง จะถูกขนขึน้ จากเรือทีท่ า่ กวาดาร์และขนส่งทางบกต่อไปยังจีน โดย ผ่านเทือกเขาคาราโครัมและจังหวัดบาลูชิสถานของปากีสถานซึ่ง ช่ ว ยย่ น ระยะทางและเวลา รวมทั้ ง ลดต้ น ทุ น ที่ เ ป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ย ได้ อ ย่ า งมาก จากที่ ป ั จ จุ บั น เรื อ จากตะวั น ออกกลางต้ อ งข้ า ม ช่องแคบมะละกาไปยังริมฝัง่ ทะเลทางภาคตะวันออกของจีน ถือว่า สภาพทางภู มิ ศ าสตร์ ถื อ เป็ น จุ ด แข็ ง หนึ่ ง ของปากี ส ถานที่ เ อื้ อ ประโยชน์ให้กลายเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสาธารณูปโภคระหว่างภูมิภาค ซึ่งโครงการเชื่อมโยงดังกล่าว เสมือนสะพานระหว่างตะวันออกกลาง ยูเรเชีย เอเชียใต้ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และภูมิภาคอื่นของทวีปเอเชียได้อย่างทั่วถึง
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
9
นอกจากนี้ นโยบายส่งเสริมการค้าของปากีสถานทีเ่ พิม่ ความ เป็นเสรียงิ่ ขึน้ ส่งผลให้การลงทุนในปากีสถานเป็นทีด่ งึ ดูดใจของต่าง ประเทศเพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ส ามารถลงทุ น ใน ปากีสถานได้ทุกสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาก่อสร้างที่ควบคู่กับ การเริม่ การก่อสร้างโครงการ CPEC แต่ยกเว้นอุตสาหกรรมในสาขา อาวุธ และกระสุนระเบิดทีม่ อี านุภาพท�ำลายล้างสูง สารกัมมันตรังสี ตราสาร เงินตราและเหรียญกษาปณ์ และเครือ่ งอุปโภคบริโภคทีม่ ี แอลกอฮอล์ โดยไม่มีข้อก�ำหนดจ�ำนวนขั้นต�่ำ ปากีสถาน มีนโยบายส่งเสริมการลงทุนในบริการก่อสร้าง บ้านและที่อยู่อาศัย รวมทั้งถนนและทางรถไฟ เมื่อพิจารณาถึง ความสามารถของไทยในการส่งออกและลงทุนในสาขาก่อสร้างไป ยังตลาดธุรกิจก่อสร้างของปากีสถานแล้ว เห็นได้วา่ ผูป้ ระกอบการ ของไทยมีศักยภาพและมีโอกาสหลายด้าน เช่น การก่อสร้างถนน รางรถไฟ โรงแรม ทีอ่ ยูอ่ าศัย และสาธารณูปโภคพืน้ ฐานต่างๆ ทัง้ นี้ ปากีสถานยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีปริมาณถ่านหิน จ� ำ นวนมาก มี พื้ น ฐานด้ า นการผลิ ต ฝ้ า ยและสิ่ ง ทอที่ เข้ ม แข็ ง มีอตุ สาหกรรมเหล็กซึง่ ถูกวางรากฐานมาตัง้ แต่สมัยเป็นอาณานิคม ของอังกฤษ อีกทั้งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยผลไม้หลากชนิดแต่ขาด เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป ถือเป็นโอกาสทางธุรกิจที่ดี ของนักธุรกิจไทยในการเข้ามาลงทุนอีกทางหนึ่ง
จากผลการศึ ก ษาพบว่ า การค้ า เสรี ร ะหว่ า งไทยและ ปากีสถานจะช่วยให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยเพิ่ม ขึ้น ร้อยละ 0.08-0.32 การบริโภคของไทยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.09-0.35 การลงทุนของไทยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.13-0.57 และ การส่งออกของไทยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.10-0.41 ปัจจุบัน ไทยให้ความส�ำคัญกับปากีสถานในฐานะตลาดส่ง ออกที่มีศักยภาพ โดยในปี 2559 ปากีสถานเป็นคู่ค้าอันดับที่ 38 ของไทยในตลาดโลก และเป็นอันดับ 2 ในภูมภิ าคเอเชียใต้รองจาก อินเดีย ซึง่ ในระยะ 5 ปีทผี่ า่ นมา (2555-2559) การค้าระหว่างไทย กับปากีสถาน มีมูลค่าเฉลี่ย 1,041 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอัตราการ ขยายตัวเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 2.33 ต่อปี โดยในปี 2559 การค้ารวม มีมูลค่า 1134.04 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นจากปี 2558 คิดเป็น ร้อยละ 9.8 โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 896.88 ล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าส่งออกทีส่ ำ� คัญของไทยไปปากีสถาน ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์ รถยนต์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก เส้นใยประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล ผ้าผืน เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์เหล็ก ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก และยางพารา
ด้านความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีระหว่างไทยกับปากีสถานนัน้ ปากีสถานถือว่าไทยเป็นพันธมิตรส�ำคัญในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉี ย งใต้ เนื่ อ งจากลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ ข องไทยตั้ ง อยู ่ ใ น จุดศูนย์กลางของภูมิภาคส่งผลให้ไทยเป็นจุดศูนย์ร่วมทางการค้า การขนส่ง และการลงทุนหลายประเภทจากต่างประเทศ ตลอดจน ความเชือ่ มโยงทีส่ ำ� คัญหลายด้าน เช่นเดียวกับปากีสถานทีม่ นี โยบาย ขยายขอบเขตการเชื่อมโยงจากเอเชียใต้สู่เอเชียตะวันออกให้มาก ขึ้ น โดยเฉพาะกลุ ่ ม อาเซี ย น รวมถึ ง การเจรจาจั ด ท� ำ FTA ไทย-ปากีสถาน ซึง่ ได้จดั ประชุมเจรจามาแล้ว 6 ครัง้ โดยทัง้ สอง ฝ่ายตั้งเป้าผลักดันให้การเจรจาแล้วเสร็จได้ภายในปี 2560
ท่ามกลางภาวะซบเซาและชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกในปัจจุบนั เศรษฐกิจของปากีสถานมีความยืดหยุน่ และสามารถ เติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าจะประสบปัญหาความไม่สงบทางการเมืองและการก่อร้าย ทางปากีสถานได้ยืนยัน ความปลอดภัยด้วยการประกาศแผนการฝึกซ้อมกองก�ำลังด้านความมั่นคง เพื่อคุ้มครองแรงงานชาวต่างชาติและ นักลงทุนทีเ่ ข้ามาท�ำงานในปากีสถาน และเรียกความเชือ่ มัน่ ให้กลับมาได้อกี ครัง้ ทัง้ นี้ คาดว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในปีนี้จะยังคงเพิ่มขึ้นจากโครงการ CPEC อีกด้วย
10
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
มุ่งสู่หุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ตั้งเป้ามูลค่าการค้าระหว่างกัน 2 เท่า ภายใน 5 ปี โดย มาลัย กรแก้วสมนึก
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
11
ต้นเดือนกุมภาพันธ์ทผ ี่ า่ นมา รองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์) พร้อมด้วยรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงพาณิชย์ (นางอภิรดี ตันตราภรณ์) ได้เดินทางเยือนเมียนมาอย่างเป็นทางการ ณ กรุงเนปิดอว์ และเมืองย่างกุง้ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เพือ่ ยืนยันหลักการทีจ่ ะสานต่อความร่วมมือทวิภาคีดา้ นเศรษฐกิจ ที่ส�ำคัญอันเป็นประโยชน์ร่วมกันทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะด้านความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน การท่องเทีย่ ว และความร่วมมือด้านการพัฒนา อันน�ำไปสูก่ ารเดินหน้าเป็นหุน้ ส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน ในระยะยาว และได้เข้าเยี่ยมคารวะนายติน จ่อ ประธานาธิบดี พร้อมทั้งหารือกับนางออง ซาน ซู จี ที่ปรึกษาแห่งรัฐ ถึงแนวทางการกระชับความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้า การเดิ น ทางเยื อ นเมี ย นมาครั้ ง นี้ ไทยและเมี ย นมาได้ ลงนามความร่วมมือระหว่างกันรวม 19 ฉบับ โดยมีนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ และนางออง ซาน ซู จี ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง ทัง้ สองฝ่ายร่วมเป็นสักขีพยาน โดยแบ่งความร่วมมือออกเป็นระดับ รัฐต่อรัฐ จ�ำนวน 3 ฉบับ ได้แก่ ความร่วมมือด้านประมง การพัฒนา โรงพยาบาลทวาย และความร่วมมือเพือ่ ช่วยเหลือแรงงานเมียนมา ที่ท�ำงานในประเทศไทยส่งเงินกลับประเทศ และระดับเอกชน ต่อเอกชน จ�ำนวน 16 ฉบับ ใน 4 สาขาหลัก ประกอบด้วย สาขา SMEs สาขาการพัฒนาอุตสาหกรรม สาขาการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ และสาขาเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งนี้ ความร่วมมือ ระดับเอกชนต่อเอกชนทัง้ 16 ฉบับ จะครอบคลุมธุรกิจบริการและ การลงทุนที่ไทยมีความเชี่ยวชาญ และงานวิจัย (เช่น พลังงาน การแพทย์ สื่อโทรทัศน์ ธนาคาร อุตสาหกรรมพลาสติก และ อุตสาหกรรมน�้ำตาล) เป็นต้น โดยไทยให้ความร่วมมือและความ ช่วยเหลือกับเมียนมาในการพัฒนาผู้ประกอบการ พัฒนาภาค การผลิต สาธารณูปโภค และการสื่อสาร เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ การท�ำธุรกิจให้กับ SMEs เมียนมา
12
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
หลังจากนั้น กระทรวงพาณิชย์ได้น�ำทัพนักธุรกิจไทยจาก สาขาต่างๆ เช่น สาขาก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ เกษตรอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสื่อสารและนวัตกรรม สาธารณูปโภค พลังงาน ค้าปลีก อุปโภคบริโภค การเงิน ธุรกิจบริการ และการศึกษา เป็นต้น หารือ กับผู้บริหารระดับสูงภาครัฐและเอกชนระดับใหญ่ของเมียนมาใน การขยายความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนในภาคส่วนธุรกิจ ทีจ่ ะเกือ้ กูลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของทัง้ สองประเทศ และเชือ่ มโยง CLMVT (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม และไทย) กับจีน เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และภูมิภาคอื่นของโลก นอกจากนี้ กระทรวงพาณิชย์ร่วมกับ BOI จัดสัมมนาความร่วมมือธุรกิจไทยเมียนมา (Thailand – Myanmar Business Cooperation) ณ เมืองย่างกุ้ง โดยแบ่งกลุ่มธุรกิจออกเป็น 4 ธุรกิจ ได้แก่ 1) ด้าน การเกษตร ประมง และการเพิม่ มูลค่าสินค้า 2) ด้านการค้าชายแดน 3) ด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน และ 4) ด้านการท่องเที่ยว ซึง่ ได้รบั ความสนใจจากนักลงทุนไทยและเมียนมากว่า 350 คน ใน การแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์ แก้ไขปัญหาอุปสรรค และหา แนวทางร่วมมือเพือ่ ให้บรรลุผลประโยชน์รว่ มกัน ซึง่ การรวมตัวครัง้ ใหญ่นี้ได้ช่วยกระชับความสัมพันธ์และสร้างเครือข่ายธุรกิจใหม่ๆ ให้เกิดขึน้ ในประเทศเมียนมา รวมทัง้ เป็นการตอกย�ำ้ วัตถุประสงค์ ในการเยือนเมียนมาทีม่ งุ่ สร้างประโยชน์ให้กบั ทัง้ สองฝ่าย และฝ่าย ไทยพร้อมให้การสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร และการพัฒนา ความเชื่อมโยงของทั้งสองประเทศ เพื่อให้ไทยและเมียนมาพัฒนา ไปพร้อมกัน และเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนไทยและ เมียนมาถึงนโยบายเศรษฐกิจการค้าของไทยที่ให้ความส�ำคัญกับ การค้าชายแดนและตลาดเมียนมาอย่างต่อเนื่อง
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
13
ไทยและเมียนมา ได้ตั้งเป้าหมายมูลค่าการค้าสองฝ่าย บรรลุ 2 เท่าภายใน 5 ปี (พ.ศ.2564) ซึง่ ไทยให้ความส�ำคัญกับ การส่งเสริมการค้าการลงทุนบริเวณชายแดน เนือ่ งจากเป็นหนทาง ในการสร้างความเจริญเติบโตให้กับเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ โดยกระทรวงพาณิชย์มกี ารด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เพือ่ สร้างขีดความ สามารถในการแข่งขัน เช่น การจัดฝึกอบรมและการสร้างเครือข่าย ผู้ประกอบการ SMEs ระหว่างกัน การให้ความช่วยเหลือเมียนมา ในโครงการพัฒนาระบบออนไลน์ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการออก ใบรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้าให้สามารถตรวจสอบและออกเอกสาร Form D ได้อย่างสะดวก ณ บริเวณด่านชายแดนเมียนมา-ไทย ประกอบด้วย การพัฒนาบุคลากร การสนับสนุนเครือ่ งมือ อุปกรณ์ และซอฟต์แวร์ เป็นต้น อันเป็นการสานความสัมพันธ์ภาครัฐและ เอกชนท้องถิ่นอ�ำนวยความสะดวกทางการค้าตลอดแนวชายแดน ทั้ ง นี้ กระทรวงพาณิ ช ย์ เชื่ อ มั่ น ว่ า การเยื อ นเมี ย นมาครั้ ง นี้ เป็นการตอกหมุดความสัมพันธ์การค้าไทย-เมียนมา อย่างแน่นแฟ้น เพื่ อ ช่ ว ยสร้ า งความเชื่ อ มั่ น และความจริ ง ใจต่ อ เมี ย นมาว่ า ไทยพร้อมเป็นหุน้ ส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืนกับเมียนมา ในระยะยาว ปัจจุบัน เมียนมาเป็นคู่ค้าอันดับที่ 6 ของไทยในอาเซียน ในปี 2559 การค้ารวมไทย-เมียนมา มีมลู ค่า 6,529.55 ล้านเหรียญ สหรั ฐ ลดลงจากปี ก ่ อ นหน้ า ร้ อ ยละ 15.65 ไทยเป็ น ฝ่ า ย เกินดุลการค้า 1,822.39 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมีมลู ค่าการส่งออก 4,175.97 ล้านเหรียญสหรัฐ และมูลค่าการน�ำเข้า 2,535.58 ล้าน เหรียญสหรัฐ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญไปเมียนมา ได้แก่ เครื่องดื่ม น�ำ้ ตาลทราย น�ำ้ มันส�ำเร็จรูป เครือ่ งจักรกล และเคมีภณ ั ฑ์ ส�ำหรับ สินค้าน�ำเข้าหลัก ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ เนือ้ สัตว์สำ� หรับบริโภค สัตว์ มีชีวิตไม่ได้ท�ำพันธุ์ สินแร่ ผักและผลไม้
ส�ำหรับการค้าชายแดนปี 2559 มีมูลค่าประมาณ 5,370 ล้าน เหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนการค้าไทย-เมียนมา ถึงร้อยละ 80 ของ การค้ารวม แบ่งออกเป็นมูลค่าการส่งออกประมาณ 3,124 ล้าน เหรียญสหรัฐ และมูลค่าการน�ำเข้าประมาณ 2,246 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยไทยได้ดุลการค้าประมาณ 878 ล้านเหรียญสหรัฐ
14
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
“มีภารกิจส�ำคัญ
ที่ต้องขับเคลื่อนและสนับสนุน การด�ำเนินการตามนโยบายรัฐบาล ในการส่งเสริมบทบาท ของประเทศไทยในเวทีการค้าโลก”
วารสารการค้าระหว่างประเทศฉบับนี้ ได้รบั เกียรติจากอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ บุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร ให้ทีมงานเข้าสัมภาษณ์ถึงภารกิจส�ำคัญที่ต้องขับเคลื่อนและสนับสนุนการด�ำเนินการตามนโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมบทบาท ของประเทศไทยในเวทีการค้าโลก ซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรต้องมีธรรมาภิบาลที่ดีและภาพลักษณ์ที่ดี
บุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร
อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
15
วารสารการค้าระหว่างประเทศฉบับนี้ ได้รับเกียรติ จากอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ บุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร ให้ทีมงานเข้าสัมภาษณ์ถึงภารกิจส�ำคัญ ทีต่ อ้ งขับเคลือ่ นและสนับสนุนการด�ำเนินการตามนโยบาย รัฐบาลในการส่งเสริมบทบาทของประเทศไทยในเวที การค้าโลก ซึง่ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีอ่ งค์กรต้องมีธรรมาภิบาล ทีด่ แี ละภาพลักษณ์ทดี่ ี ส่งเสริมให้เกิดความน่าเชือ่ ถือจาก ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
แนวนโยบายและภารกิจในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ส�ำหรับกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ชือ่ ของกรมก็บอก ชัดว่า ภารกิจหลัก คือ การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เจรจา เพื่อเปิดทางหรือขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและการค้าให้เกิดขึ้น อย่างเป็นรูปธรรม เจรจาเพือ่ ปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติ ไม่ให้ใครมาเอารัดเอาเปรียบประเทศไทยได้ และต้องมองประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศเป็นหลัก ซึ่งเป็นที่มาของวิสัยทัศน์กรม คือ ขับเคลือ่ นการเจรจาการค้าเชิงรุก เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของประเทศ ในปี 2560 นี้ กรมเจรจาฯ จะให้ความส�ำคัญในการเข้าร่วม การเจรจา FTA กับประเทศคู่ค้า ภายใต้กรอบความตกลงต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในส่วน FTA ที่มีผลใช้บังคับแล้ว ต้องเจรจาทบทวน และอาจมีการเปิดตลาดระหว่างกันเพิ่มเติม เช่น อาเซียน-จีน อาเซียน-ญี่ปุ่น ไทย-ออสเตรเลีย และไทย-นิวซีแลนด์ เป็นต้น ใน ขณะที่ การเจรจาเพื่ อ จั ด ท� ำ ความตกลงฉบั บ ใหม่ ๆ ก็ ยั ง ต้ อ ง ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ไม่ให้ขาดช่วง เช่น อาเซียน-ฮ่องกง ไทย-ปากีสถาน ส่วน RCEP นั้น หากสามารถสรุปผลการเจรจาได้ 16
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
ก็จะเป็นโอกาสและประโยชน์แก่ประเทศไทยมาก เพราะ RCEP จะกลายเป็นเขตการค้าเสรีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ครอบคลุม ประชากรกว่า 3.5 พันล้านคน หรือเกือบครึ่งหนึ่งของประชากร โลก ครอบคลุมตลาดส่งออกของไทยกว่าร้อยละ 55 ของมูลค่าการ ส่งออกรวม นอกจากนี้ กรมฯ จะสนับสนุนการด�ำเนินความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจกับประเทศคู่ค้าแบบหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ (Strategic Partnership) เป็นรายประเทศ ตามแนวนโยบาย ของรัฐบาล โดยเน้นความร่วมมือในประเด็นที่สามารถด�ำเนินการ ได้จริง และเป็นประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว ไม่จำ� กัดเฉพาะเรือ่ งของการค้า แต่จะครอบคลุมสาขาอืน่ ๆ ทีส่ นใจ ร่วมกันด้วย อาทิ การลงทุน การขยายมูลค่าการค้า โดยเฉพาะ ในสาขาที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการมุ่งสู่ Value Base Economy และการพัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 ทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์
ความท้าทายที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ในปัจจุบันนั้น มีมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน ความท้าทายภายในประเทศ เกิดจากการที่เราท�ำงานบนพื้นฐานของผลประโยชน์ส่วนรวม ค�ำว่า “ส่วนรวม” นั้น ครอบคลุมกว้างขวาง และเกี่ยวข้องกับ หลายภาคส่วน ตั้งแต่ผู้ส่งออก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นก่อนที่สินค้า จะถู ก ส่ ง ออกไปนอกประเทศ และเมื่ อ มองย้ อ นกลั บ เข้ า มา ในประเทศ ก็มีผู้ผลิต เกษตรกร ผู้ประกอบการ แรงงาน และยังมี ผู้บริโภคอีก ความท้าทายก็คือ ท�ำอย่างไรให้คนกลุ่มต่างๆ ซึ่งมี ส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้ สมประโยชน์อย่างเสมอภาค จากการที่เรา ไปเจรจาการค้ากับต่างประเทศ ซึ่งก็อาจจะรวมไปถึงการจัดท�ำ ข้อตกลงทางการค้า ท�ำให้ตลาดมีความเสรี อีกทัง้ ยังต้องเป็นธรรม และมีความโปร่งใส เหล่านี้ถือเป็นความท้าทาย เพราะฉะนั้นก่อน ที่จะท�ำอะไรได้นั้น ก็ต้องมีการประชุมหารือภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และมีกระบวนการรับฟังความคิดเห็น อันนี้ส�ำคัญ ต้องรับฟัง เหตุปัจจัยต่างๆ ข้างต้น ล้วนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ความเห็นจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง นี่เป็นความท้าทายที่เกิดขึ้น การค้าของไทยไม่มากก็น้อย เพราะเราเป็นประเทศขนาดเล็กที่มี ซึง่ กรมก็ได้ปฏิบตั มิ าอย่างสม�ำ่ เสมอในการรับฟังความคิดเห็นต่างๆ ระบบเศรษฐกิจแบบเปิดและยังต้องพึ่งพาการค้าระหว่างประเทศ ส�ำหรับความท้าทายจากภายนอกประเทศ ได้แก่ สภาวการณ์ ในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจโดยภาคการส่งออกมีสัดส่วนสูง เศรษฐกิจโลก ซึ่งมีความผันผวน และคาดการณ์ได้ยากกว่าอดีต ถึงร้อยละ 70 ของ GDP และภาคการน�ำเข้าคิดเป็นร้อยละ 60 ของ เป็นความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อนโยบายด้านการค้าระหว่าง GDP ประเทศ อาทิ นโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศมหาอ�ำนาจ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศจึงจ�ำเป็นต้องศึกษาติดตาม เช่น นโยบาย America First ของสหรัฐฯ มีแนวทางที่อาจ ความเคลื่อนไหวของเศรษฐกิจโลก และขับเคลื่อนการเจรจาการ น�ำไปสู่การปกป้องทางการค้าของอเมริกามากขึ้น การปฏิรูป ค้าระหว่างประเทศของไทยกับประเทศคู่ค้าต่างๆ ทั้งในระดับ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (Rebalancing) เพือ่ เข้าสู่ new normal พหุภาคี ได้แก่ องค์การการค้าโลก ระดับภูมิภาค เช่น AEC และ ของจีน และประเด็นเรื่อง Brexit ที่อังกฤษเตรียมถอนตัวออก เอเปค รวมทัง้ ระดับทวิภาคีหรือสองฝ่าย เพือ่ ขยายโอกาสทางการ จากสหภาพยุโรป ค้าการลงทุน และเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของไทยในเวทีโลก นอกจากนี้ ปั ญ หาเรื่ อ งการก่ อ การร้ า ย ผู ้ อ พยพและ ซึ่งสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่จะยกระดับให้ไทยเป็นชาติ ภูมริ ฐั ศาสตร์ เช่น การก่อการร้ายในสหภาพยุโรป ส่งผลกระทบต่อ การค้า (Trading Nation) โดยเน้นภาคการค้าระหว่างประเทศและ ภาคการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจในสหภาพยุโรป ปัญหาผู้อพยพ การลงทุนเป็นหัวจักรในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ระบบ เป็นปัจจัยหลักที่ท�ำให้อังกฤษออกจากสหภาพยุโรป และปัญหา การค้าเสรีจะช่วยขจัดอุปสรรคทางการค้าและยกระดับขีดความ ภูมิรัฐศาสตร์โลก เช่น ปัญหาน่านน�ำ้ และหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ สามารถทางการแข่งขันให้กับเศรษฐกิจไทย กรมฯ จึงต้องเตรียม ปัญหาสงครามตัวแทน หรือความไม่แน่นอนทางการเมืองในพื้นที่ ก�ำลังคนให้พร้อมรับภารกิจที่มาก และมักจะเร่งด่วนอยู่เสมอ ต่างๆ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและพฤติกรรม ด้วยการพัฒนาข้าราชการให้มขี ดี สมรรถนะและความรูค้ วามสามารถ ผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว จนท�ำให้โครงสร้างอุตสาหกรรมไม่สามารถ หลากหลาย พร้อมขับเคลือ่ นงานด้านการเจรจาของกรมฯ ทีซ่ บั ซ้อน ปรับตัวได้ทัน ก็ล้วนส่งผลต่อการค้าของประเทศเล็กอย่างไทยได้ และเต็มไปด้วยรายละเอียดปลีกย่อย วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
17
การพัฒนาภาพลักษณ์องค์กร ด้วยภาระหน้าทีอ่ นั ส�ำคัญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ จ�ำเป็นต้องพัฒนาองค์กรให้มีความน่าเชื่อถือควบคู่ไปกับการมี ขีดสมรรถนะสูงอยูเ่ สมอ และนับเป็นเรือ่ งดีทกี่ รมเจรจาฯ เป็นส่วน ราชการที่มีขนาดเล็ก มีบุคลากรราว 250 คน ภารกิจหลักของ กรมฯ ส่วนใหญ่ เป็นงานวิชาการ ประเภทศึกษาวิเคราะห์ ก�ำหนด ท่าทีและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับนโยบายด้านการค้าระหว่าง ประเทศ และเข้าร่วมการประชุมเจรจา โอกาสของการทุจริต คอร์รัปชั่นภายในองค์กรจึงมีน้อย และในเรื่องนี้ ผมได้ให้แนวทาง ไปกับข้าราชการทุกคนว่า เราจะต้องประพฤติปฏิบัติเพื่อรักษา ความโปร่งใสในองค์กร และตัวเราเองด้วย ตั้งแต่วันแรกๆ ที่ได้มี โอกาสพูดกับข้าราชการที่นี่ ก็ให้แนวทางแก่ข้าราชการไปว่า จะต้องไม่เกี่ยวข้องกับการทุจริตคอรัปชั่นในทุกกรณี ต้องมีส�ำนึก ว่าเราเป็นข้าราชการในสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เราต้องมีความบริสทุ ธิ์ เทีย่ งตรง ไม่มงุ่ หวังในอามิสสินจ้าง พอใจกับสิง่ ทีเ่ รามีอยู่ ไม่ดนิ้ รน หาสิ่งที่เราไม่ควรได้ ไม่ควรมี ถ้ามีจิตส�ำนึกอย่างนั้นได้ กิเลส ก็จะน้อยลง ต้องสร้างจิตส�ำนึกจากภายใน ผมพยายามจะให้ ข้าราชการทุกคนมีจิตส�ำนึกเช่นเดียวกันนี้ ซึ่งกรมฯ ก็ได้ปลูกฝัง จิตส�ำนึกและค่านิยมให้บุคลากรกรมเจรจาฯ เป็นข้าราชการที่ดี รวมทั้งให้รักษาวินัยและจรรยาบรรณข้าราชการมาอย่างต่อเนื่อง เป็นการสร้างธรรมาภิบาลที่ดีและภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร
18
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
กรมเจรจาฯ ได้ปฏิบัติตามนโยบายปราบปรามการทุจริต คอรัปชั่นและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ตามนโยบายของรัฐบาล อย่างจริงจังมาโดยตลอด ในปีนี้ ได้ประกาศเจตนารมณ์ “นโยบาย การก�ำกับดูแลกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศทีด่ ”ี และเจตจ�ำนง “การบริหารและปฏิบตั งิ านของแผ่นดินด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต” และได้จัดท�ำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริตระยะที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2564 เพือ่ ต้านการทุจริต ทุกรูปแบบ นอกจากนี้ มีการด�ำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพต่างๆ เช่น จั ด ท� ำ ดั ช นี วั ด ความโปร่ ง ใสตามเกณฑ์ ข องส� ำ นั ก งาน ป.ป.ช. ประเมินความโปร่งใสตามแนวทางของส�ำนักงาน ก.พ. การเปิด โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ และ พัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตาม เกณฑ์ของส�ำนักงาน ก.พ.ร. เป็นต้น ท�ำให้กรมฯ ได้รับประกาศ เกียรติคุณและโล่รางวัลที่เกี่ยวข้องกับด้านความโปร่งใสหลาย รางวัล เช่น โล่รางวัลประกาศเกียรติคุณที่ได้จัดท�ำและประเมิน มาตรฐานความโปร่งใสจากส�ำนักงาน ก.พ. 6 ปีติดต่อกัน (25542559) ประกาศเกี ย รติ บั ต รโครงการประเมิ น คุ ณ ธรรมและ ความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ หรือ ITA ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 ที่กรมได้รับผลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสการด�ำเนินงานในระดับสูงมาก ของคณะกรรมการ ต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (คตช.) และส�ำนักงาน ป.ป.ท. เมื่อ วันที่ 23 มกราคม 2560 และประกาศเกียรติคุณรับรองการผ่าน เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (Certified FL) จากส�ำนักงาน ก.พ.ร.
“ผมรูส้ กึ ภูมใิ จทีค่ รัง้ หนึง่ ได้เป็นข้าราชการของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระองค์ท่านทรงเป็นแบบอย่างของการท�ำหน้าที่ เพื่อปวงประชา เราต้องสนองคุณพระองค์ท่าน ด�ำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท และสืบสาน พระราชปณิธานให้คงอยูค่ บู่ า้ นเมืองและสังคมไทย”
มุมมองและปรัชญาในการด�ำรงชีวิต ที่ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ ผมคิดว่า การเป็นข้าราชการนั้น เป็นข้าของแผ่นดิน ข้าราชการทุกคนจึงต้องท�ำงานทดแทนคุณแผ่นดิน สิ่งใดที่เป็น ประโยชน์สูงสุดแก่แผ่นดิน เราต้องพึงปฏิบัติ ไม่ประพฤติทุจริต คอรัปชั่น ต้องท�ำอย่างตั้งใจ ทุ่มเท และเสียสละ ชุดสีกากีที่ ข้าราชการสวมใส่ ก็เป็นสีของดิน เมือ่ สวมใส่แล้ว ก็ตอ้ งเป็นพลัง ของแผ่นดิน ผมรู้สึกภูมิใจที่ครั้งหนึ่งได้เป็นข้าราชการของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระองค์ทา่ น ทรงเป็นแบบอย่างของการท�ำหน้าที่เพื่อปวงประชา เราต้อง สนองคุณพระองค์ท่าน ด�ำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท และ สืบสานพระราชปณิธานให้คงอยู่คู่บ้านเมืองและสังคมไทย ผม เชื่อว่า ข้าราชการที่ดี มีคุณธรรม ด�ำรงชีวิตภายใต้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง จะสามารถขับเคลื่อนประเทศไทยของเราให้ สามารถด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ ภ ายใต้ ก ระแสโลกาภิ วั ต น์ แ ละความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างมั่นคงและยั่งยืน
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
19
โดย นาถวดี เครือรัตน์
20
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
เดื อ นสิ ง หาคม – กั น ยายน ปี ที่ ผ ่ า นมา ผู ้ เ ขี ย นมี โ อกาสไปอบรมที่ ไ ต้ ห วั น ภายใต้ โครงการ Academy of International Economic Affairs ครั้งที่ 31 ซึ่งสนับสนุน เงินทุนโดยกระทรวงเศรษฐการไต้หวัน ประกอบด้วยผู้ร่วมโครงการจากหน่วยงานต่างๆ ของไต้หวัน ประมาณ 20 คน และชาวต่างชาติ 10 คน ซึ่งครั้งนี้มีเพื่อนๆ จาก อินโดนีเซีย มาเลเซีย บราซิล ฮอนดูรัส ตุรกี โดมินิกัน เอกวาดอร์ เช็ก และสโลวาเกีย
สิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนเกี่ยวกับไต้หวันคือความหลากหลายทางวั ฒ นธรรม ไต้ ห วั น มี ข นาดเล็ ก กว่ า ประเทศไทยประมาณ 14 เท่ า แต่ มี ช นกลุ ่ ม น้ อ ยถึ ง 9 กลุ ่ ม ซึ่ ง ใช้ ภ าษาตระกู ล เกาะฟอร์ โ มซาและยั ง มี ช าวจี น หลั ก ๆ อี ก 3 กลุ ่ ม เวลานั่ ง รถเมล์ จะได้ยินเสียงประกาศชื่อสถานีต่างๆ โดยภาษาจีนอย่างน้อย 3 ส�ำเนียง ได้แก่ ภาษาจีนกลาง ภาษาจีนไต้หวัน (หรือหมิ่นหนาน) และภาษาจีนแคะ (หรือฮากกา/เค่อเจีย) ในระหว่างเข้าร่วมอบรมมีโอกาสไปดูงานหลายแห่งซึ่งในจ�ำนวนนั้นมี 3 แห่ง ที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศเรา จึงอยากจะแนะน�ำให้ทุกคนรู้จักกันสักนิด แห่งทีห่ นึง่ Industrial Technology Research Institute (ITRI) เป็น NGO ท�ำเกีย่ วกับ R&D ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2516 โดยมีบทบาทอย่างมากในการส่งเสริมให้ไต้หวัน เปลี่ยนจากอุตสาหกรรมแรงงานเข้มข้น มาเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ITRI มี โมเดลความร่วมมือที่น่าสนใจ คือ โมเดลหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ โดย ITRI จะให้ใบอนุญาต เทคโนโลยี (license) แก่บริษทั ไต้หวันทีร่ ว่ มทุนกับประเทศอืน่ ยกตัวอย่างเช่น ITRI มีการ วิจยั เกีย่ วกับทรัพยากรธรรมชาติ และ Agricultural Waste และค้นพบเทคโนโลยีใหม่ๆ ITRI สามารถให้เทคโนโลยีดังกล่าวแก่บริษัทไต้หวันที่มาร่วมทุนกับบริษัท Biomass ของไทย เป็นต้น ถือว่า ITRI เป็นองค์กรที่น่าคบหาเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับประเทศที่ต้องการ เทคโนโลยี เพื่อมายกระดับการแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างไทย แห่งที่สอง น่าสนใจมากส�ำหรับประเทศเกษตรกรรม คือ The World Vegetable Research and Development Centre (AVRDC) เป็น NGO เช่นกัน โดยมีส�ำนักงาน ใหญ่ทไี่ ต้หวัน และมีศนู ย์ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทมี่ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ของไทย เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนาพันธุ์พืช ส่งเสริมการปลูกและบริโภคพืชผัก มีการอบรมพัฒนาทักษะแก่เกษตรกร เพื่อเพิ่มรายได้และพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากนี้ ทีน่ ยี่ งั เป็นแหล่งเก็บเมล็ดพันธุพ์ ชื กว่า 6 หมืน่ ชนิด โดยเมล็ดพันธุพ์ ชื จะถูกเก็บไว้ในห้องเย็น ซึ่งสามารถเก็บไว้ได้นานถึง 50 - 100 ปี เลยทีเดียว โดยทางองค์กรยังแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ ต่างๆ แก่ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัย เกษตรกร และภาคเอกชน ตามค�ำขออีกด้วย
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
21
แห่งสุดท้าย ที่อยากแนะน�ำ คือ ANKO Food Machine Co.,Ltd. เพื่อเป็น แรงบันดาลใจในการเปลี่ยนเข้าสู่ยุคที่เน้นธุรกิจบริการตามนโยบายประเทศไทย 4.0 โดย Anko เป็นบริษทั ให้คำ� ปรึกษา ออกแบบ และรับผลิตเครือ่ งจักรส�ำหรับอุตสาหกรรม ผลิตอาหารส�ำเร็จรูปแช่แข็ง (Frozen Food) มีลูกค้าจากกว่า 108 ประเทศทั่วโลก โดยภายในโรงงานมีศูนย์วิจัยสูตรอาหาร เพื่อให้อาหารที่ผลิตโดยครื่องจักรมีรสชาติ และ texture เหมือนอาหารที่ท�ำด้วยมือ นอกจากการให้บริการด้านเครื่องจักรแล้ว Anko ยังรับท�ำส่วนผสมต่างๆ เพือ่ ป้อนแก่เครือ่ งจักรผลิตอาหารอีกด้วย เรียกว่าท�ำธุรกิจ ผลิตอาหารส�ำเร็จรูปแช่แข็งอย่างครบวงจรเลยทีเดียว ธุรกิจนีค้ อ่ นข้างน่าสนใจส�ำหรับ ประเทศไทย ซึง่ มีผลิตผลทางการเกษตรอุดมสมบูรณ์อยูแ่ ล้ว หากสามารถท�ำได้อย่างครบ วงจรเพิม่ ภาคบริการและ R&D เข้าไปด้วยได้คงเก๋ และเพิม่ รายได้ได้ไม่นอ้ ย (ขอคอนเฟิรม์ ว่าอาหารไม่ว่าจะเป็นซาลาเปา เกี๊ยว คุ้กกี้จากเครื่องจักรอร่อยเหมือนท�ำมือมากค่ะ!)
ไต้ ห วั น เป็ น ตั ว เลื อ กหนึ่ ง ที่ น ่ า สนใจเพราะมี ส ถานที่ ท่องเที่ยวค่อนข้างเยอะเรียกได้ว่าสามารถเทีย่ วได้แทบทุกเมือง และระยะทางก็ไม่ไกลจากไทย เดินทางโดยเครือ่ งบินไม่ถึง 4 ชั่วโมง คนไต้หวันเป็นมิตรและอัธยาศัยดี ราคาสินค้าและบริการในไต้หวัน ก็เป็นมิตรพอๆ กับในเมืองไทย ยิง่ ช่วงนีไ้ ต้หวันก�ำลังทดลองยกเลิก วีซา่ ท่องเทีย่ ว 30 วัน แก่นกั ท่องเทีย่ วไทย (มีผลบังคับทดลองใช้ วันที่ 1 สิงหาคม 2559 ถึง 31 กรกฎาคม 2560) ด้วยแล้ว ยิง่ ท�ำให้ ไต้หวันน่าไปเยีย่ มเยียนยิง่ นักส�ำหรับสภาพอากาศ ไต้หวันสามารถ ไปได้ทุกช่วงเดือน อากาศหนาวสุดอยู่ที่ประมาณ 15 องศา ช่วงที่ อากาศเย็นสบายเหมาะแก่การท่องเที่ยวที่สุด คือช่วงฤดูใบไม้ร่วง (ก.ย. - พ.ย.) ช่วงเดือน ก.ค. - ก.ย. อาจมีไต้ฝุ่นเข้า ใน 1 ปี ไต้หวัน จะมีไต้ฝนุ่ ประมาณ 3 - 4 ครัง้ ซึง่ หากไต้ฝนุ่ มีกำ� ลังแรงรถสาธารณะ ต่างๆ ก็จะหยุดท�ำการ ดังนัน้ ก่อนไปเทีย่ วต้องเช็คพยากรณ์อากาศ ดีๆ นะคะ ไม่อย่างนั้นอาจได้นั่งแกร่วอยู่ที่โรงแรมก็เป็นได้
! d n e m ecom
R
จะไปเที่ยวที่ไหนในไต้หวันดี...? หากคนที่ชอบแนวประวัติศาสตร์หรือ ตึกเก่าๆ ขอแนะน�ำให้ไปเมืองไถหนาน หากชอบน�ำ้ และภูเขาและได้เดินแบบชิวๆ ขอแนะน�ำทะเลสาบ Sun Moon ถ้าชอบปีนเขาขอแนะน�ำให้ไปภูเขา Alishan ทางทิศตะวันออก และหากชอบทะเล เกาะเผิงหูทมี่ โี ขดหินกลางทะเลเป็นรูปหัวใจ สองดวงติดกันก็นา่ สนใจไม่นอ้ ย ส�ำหรับคนทีช่ อบแช่นำ�้ พุรอ้ นทีไ่ ต้หวันก็มอี ยูท่ วั่ ไป แต่ทเี่ ด็ด คือไต้หวันเมืองซูอา้ ว (Su Ao) มีนำ�้ พุเย็น ซึ่งมีลักษณะเป็นเหมือนน�้ำโซดา มีฟองปุ๊ดๆ ด้วยค่ะ ซึ่งเป็น 1 ใน 2 แห่ง ของน�้ำพุเย็นในโลก อีกแห่งหนึ่งจะอยู่ ที่อิตาลี
22
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
ทะเลสาบ Sun Moon
แต่ถา้ เรามีเวลาน้อยเทีย่ วแถวๆ ไทเปก็ได้คะ่ มาถึงไทเปแล้ว ที่พลาดไม่ได้คือการไปถ่ายรูปกับตึกสูงที่สุดในไต้หวัน ตึก 101 แต่มาถ่ายรูปกับตึกเฉยๆ คงจะธรรมดาไป มาถึงทีน่ แี่ ล้วต้องมาดืม่ Taiwan Beer Float (เบียร์ไต้หวันใส่ไอศกรีม) บนชั้น 89 ที่ร้าน Big’s Tom ที่หลายคนบอกว่าเข้ากันดีอย่างไม่น่าเชื่อ จากตึก 101 เดินต่อมาอีกหน่อย 3 นาที มีร้านติ่งไท่เฟิงสาขาแรก ร้านนี้ขึ้นชื่อเรื่องเสี่ยวหลงเปา หากมาโดยรถไฟไต้ดินให้นั่งมาที่ สถานีตงเมิน (Dongmen) แต่ต้องรีบมาหน่อยนะคะ ทานอาหาร เย็นสักห้าโมงเย็นก็มารับบัตรคิวได้แล้วค่ะ หากมาทานอาหารเทีย่ ง ก็สกั 11.00 น. ปกติตอ้ งรอคิวอย่างน้อยครึง่ ชัว่ โมง เพราะคิวยาวมากๆ พนักงานในร้านบางคนสามารถพูดไทยได้ดว้ ย ยอมรับว่าคุม้ ค่ากับ การรอคอยแน่ น อน เพราะรสชาติ อ าหารอร่ อ ยกว่ า สาขาอื่ น ที่เคยลอง คงจะเป็นเพราะวัตถุดิบท้องถิ่นที่น�ำมาประกอบอาหาร ต่างกันจึงท�ำให้รสชาติตา่ งกัน กินแล้วรูส้ กึ เลยว่า อ๋อ...ติง่ ไท่เฟิงดังๆ เพราะรสชาติเด็ดแบบนี้นี่เอง ส� ำ หรั บ คนที่ ช อบอาหารทะเล ในไทเปมี ต ลาดปลาชื่ อ Addiction Market มีลกั ษณะคล้ายๆ ซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ มีอาหารทะเลสดๆ ให้เลือกซื้อมากมาย เห็นกุ้งหอยปูปลาว่ายน�้ำ ไปมาชวนให้น�้ำลายสอ นอกจากของสดแล้วก็มีอาหารทะเลที่ ปรุ ง สุ กแล้ วให้ เ ลื อกซื้ออีก ด้วย ขอบอกว่าที่นี่ป ลาดิบสดและ ถูกมากๆๆๆหากได้มาขอให้ทาน Bluefin Tuna เพราะเป็นปลา ที่ไต้หวันจับได้มาก จึงมีราคาถูกกว่าซื้อทานที่ประเทศอื่นและ เนื้อปลามีความสดหวานมันนุ่มลิ้นมากด้วยค่ะ ส่วนหน้าตลาด จะมีโต๊ะ ตะเกียบ ทิชชู ไว้บริการส�ำหรับซือ้ ออกมาแล้วนัง่ ทานเลย แต่ถ้าหากชอบนั่งทานในร้านรอบๆ ตลาดก็มรี า้ นขายอาหารทะเล บรรยากาศดีไว้ให้เลือกสรร
ตึก 101 (101 Tower)
เสี่ยวหลงเปา
Addiction Market
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
23
ยามค�่ำคืน ไทเปมีถนนคนเดินมากมาย และทุกที่ล้วนมีแต่ ของอร่อยๆ และสินค้าน่ารักๆขาย ไต้หวันถือว่าเป็นสวรรค์ของ คนชอบของแนวน่ารักและราคาถูกเลยทีเดียว ของกินที่อยาก ให้ลอง คือไอศกรีมโรยถั่วตัดขูดฝอยและห่อด้วยแป้งโรตีบางๆ ลิม้ ลองแล้วอร่อยมากจริงๆ ส่วนคนทีช่ อบไหว้พระ ขอแนะน�ำให้มา ทีว่ ัดหลงซานค่ะ ลงรถไฟใต้ดินที่สถานี “Longshan Temple” วัดนี้เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากจีนตอนใต้ สีตัวอาคาร เป็นสีเทาเข้ม แปลกตาดีส�ำหรับคนที่เคยเห็นวัดจีนสีสดใส ข้างวัด มีของกินของขายมากมาย ช่วงค�่ำๆ ยังมีถนนคนเดินให้เดินกันต่อ อีกด้วย ส�ำหรับคนติส๊ ท์ๆ อยากให้มา อิงเกอ ถนนเครือ่ งปัน้ ดินเผาค่ะ ถ้ามาจากไทเปสามารถเดินทางได้โดยรถไฟขบวนที่มุ่งหน้าไป เมืองซินจู๋ (Hsinchu) โดยระหว่างทางจะมีสถานีชื่อ “Yingge” เลยค่ะ ลงรถไฟมาเดินอีกหน่อยก็ถึง ข้างทางเต็มไปด้วยร้านขาย เครื่องเซรามิก รวมทั้งมีร้านให้ลองปั้นและทาสีเครื่องเซรามิกใน ราคาย่อมเยาตั้งแต่ชิ้นละประมาณ 200 บาท นอกจากนี้ ที่อิงเกอ ยังมี Ceramics Museum ให้เดินชมอีกด้วยค่ะ
Longshan Temple
ส�ำหรับแฟนการ์ตนู Spirited Away หากมีเวลาสามารถแวะ ไปจิ่วเฟิ่น (Jiufen) ซึ่งเป็นฉากหนึ่งในเรื่อง จิ่วเฟิ่นเป็นชุมชนอยู่ บนเนินเขา สมัยก่อนมีการขุดแร่ทองจ�ำนวนมาก จิว่ เฟิน่ มีของขาย เต็มสองข้างทาง หากมาที่นี่ต้องมาลอง บัวลอยเผือก (YuYuan) และอย่ า ลื ม แวะชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ หมื อ งแร่ ท องค� ำ ด้ ว ยนะคะ แต่ขอเตือนซักนิดนะคะว่าที่จิ่วเฟิ่นคนเยอะมากกก นอกจากนี้ ในไทเปยั ง มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว อืน่ ๆ อาทิ พิพธิ ภัณฑ์ National Palace ย่านช้อปปิง้ ซีเหมินติง เขาเซี่ยงซาน ฯลฯ สงกรานต์นี้หากยังไม่รู้ จะไปเที่ยวไหนดี ไต้หวันก็เป็นตัวเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ นะคะ
Yingge
พิพิธภัณฑ์ National Palace 24
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
โดย ส�ำนักการค้าสินค้า
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
25
ตลอดระยะเวลาที่อาเซียนได้พัฒนาการรวมกลุ่มระหว่างกันจนกระทั่งเข้าสู่ AEC อาเซียนพยายามอย่างยิ่งที่จะ อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผปู้ ระกอบการน�ำเข้า - ส่งออก เพือ่ ให้การค้าขายระหว่างประเทศสมาชิกสะดวกราบรืน่ นอกจาก การทยอยลดและเลิกมาตรการทางการค้าต่างๆ ที่มักจะเป็นภาระให้ผู้ประกอบการต้องเสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายแล้ว ยังได้คิดค้นวิธีการและเครื่องมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยหลากหลายรูปแบบ เพื่อที่จะเอื้ออ�ำนวย ให้การค้าระหว่างประเทศสามารถขยายตัวและเชื่อมโยงกันอย่างกว้างขวางและรวดเร็วยิ่งขึ้น
คลังข้อมูลทางการค้าของไทย
ประเทศไทยได้จัดตั้งคลังข้อมูลทางการค้าของไทย (Thailand National Trade Repository : NTR) ผ่านทาง www.thailandntr.com แล้วตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายน 2557 ซึ่งเป็นไปตามความตกลง การค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement : ATIGA) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลและกฎระเบียบด้านการค้าสินค้าผ่าน บนอินเตอร์เน็ตแก่สาธารณชน เพื่อความโปร่งใสและให้ประชาชน ทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้โดยง่าย
ระบบคลังข้อมูลการค้าสินค้า (ASEAN Trade Repository : ATR)
อาเซียนได้ก�ำหนดให้สมาชิกอาเซียนจัดท�ำ ATR หรือระบบคลัง ข้อมูลการค้าสินค้า เพื่อรวบรวมข้อมูลทางการค้าของประเทศสมาชิก อาเซียน โดยเผยแพร่ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตและเชื่อมโยงระหว่าง อาเซียนภายในปี 2558 ซึ่งขณะนี้ประเทศไทยและสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศได้ด�ำเนินการแล้ว ผู้ประกอบการไทยโดยเฉพาะ SMEs สามารถใช้ประโยชน์ดังกล่าวผ่านทางเว็บไซต์ www.atr.asean.org
ระบบ ASEAN Solutions for Investments, Services and Trade (ASSIST)
ระบบแอสซีส (ASSIST) เป็นช่องทางออนไลน์ให้ภาคธุรกิจ ในอาเซียนสามารถหารือกับภาครัฐของสมาชิกในการแก้ไขปัญหา ทางการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุนในกรอบอาเซียน ซึ่งใน ชั้นต้น จะครอบคลุมเฉพาะเรื่องปัญหาการค้าสินค้า แต่ต่อไปจะขยาย ไปครอบคลุมถึงการค้าบริการและการลงทุนต่อไป ทัง้ นี้ ระบบ ASSIST ในปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงเข้ากับระบบ ATR/NTR แล้ว ซึ่งภาค เอกชนสามารถสอบถามหรือแจ้งปัญหาการด�ำเนินธุรกิจต่อรัฐบาล ประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านระบบ ASSIST ได้งา่ ยและสะดวกมากขึน้ โดยผ่านทางเว็บไซต์ www.assist.asean.org
26
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
Tariff Finder อาเซี ย นได้ จั ด ท� ำ ระบบ Tariff Finder ที่ เ ว็ บ ไซต์ www.tariff-finder.asean.org ซึ่ ง รวบรวมฐานข้ อ มู ล ด้ า น การลดภาษีของอาเซียนและอาเซียนกับประเทศคู่ภาคี FTA ทั้ง 5 ความตกลง ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น อินเดีย และออสเตรเลียนิวซีแลนด์ ซึ่งผู้ประกอบการสามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูลอัตราภาษี ภายใต้ FTA ดังกล่าวได้อย่างสะดวกและรวดเร็วโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
National Single Window และ ASEAN Single Window
ส�ำหรับระบบ National Single Window (NSW) เป็นระบบ การบริการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร โดยการใช้ เอกสารเพี ย งชุ ด เดี ย วในการด� ำ เนิ น การ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการด�ำเนินงานด้านศุลกากรของประเทศในการอ�ำนวยความสะดวก ทางการค้าระหว่างประเทศ ทัง้ การน�ำเข้า ส่งออก และการเคลือ่ นย้าย สินค้าผ่านแดน หรือระบบโลจิสติกส์ โดยผูป้ ระกอบการน�ำเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์ สามารถท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กับหน่วยงาน ภาครัฐ และภาคธุรกิจแบบปลอดภัยและไร้เอกสาร เช่น การจัดเตรียม ข้ อ มู ล เพี ย งครั้ ง เดี ย วในการขอใบอนุ ญ าตและใบรั บ รองทาง อิเล็กทรอนิกส์ และการปฏิบัติพิธีการศุลกากร ใบขนสินค้าและช�ำระ ค่ า ภาษี อ ากรแบบอั ต โนมั ติ การใช้ ข ้ อ มู ล ร่ ว มกั น กั บ ทุ ก องค์ ก รที่ เกี่ยวข้อง รวมถึงการเชื่อมโยงข้อมูลใบอนุญาตและใบรับรองระหว่าง หน่วยงานภาครัฐภายในประเทศ และการเชื่อมโยงข้อมูลภาคธุรกิจ ระหว่างประเทศ โดยให้บริการผ่านเว็บไซต์ www.thainsw.net ทัง้ นี้ การจัดตัง้ ระบบ NSW ของประเทศไทยขึน้ เพือ่ เชือ่ มโยง ข้อมูลไปสู่ระบบการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของ อาเซียน หรือ ASEAN Single Window ซึง่ จะช่วยอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ผปู้ ระกอบการทีจ่ ะน�ำเข้าและส่งออกได้แบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว โดยจะมีการเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจของ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบปลอดภั ย และ ไร้เอกสาร ผ่านเว็บไซต์ www.asw.asean.org
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
27
ทิศทางสหรัฐอเมริกาหลังพิธีสาบานตน
กระทบอย่างไรต่อไทย
โดย ส�ำนักอเมริกา แปซิฟิกและองค์การระหว่างประเทศ
“ข้าพเจ้าขอสาบานว่าจะปฏิบตั หิ น้าทีข่ องประธานาธิบดี เราต้องปกป้องประเทศจากความเสียหายที่สร้างโดย สหรัฐอเมริกาด้วยความซือ่ สัตย์ และจะดูแล รักษา คุม้ ครอง และปกป้ อ งรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง สหรั ฐ ฯ อย่ า งสุ ด ความ ประเทศอืน่ ทีผ่ ลิตสินค้าของเรา ขโมยบริษทั สหรัฐฯ ไป และท�ำลาย การจ้ า งงานในสหรั ฐ ฯ การปกป้ อ งน� ำ มาซึ่ ง ความร�่ ำ รวยและ สามารถ” แข็งแกร่งของอเมริกา เป็นถ้อยค�ำที่นายโดนัล ทรัมป์ ได้กล่าวสาบานตนเข้าเป็น อเมริกาจะชนะอีกครั้ง และจะชนะอย่างที่ไม่เคยเป็น ประธานาธิบดีคนที่ 45 แห่งสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2560 ทีผ่ า่ นมา ท่ามกลางเสียงสนับสนุนและคัดค้านจากประชาชน มาก่อน พร้อมกับได้กล่าวสุนทรพจน์ตอ่ ประชาชนชาวอเมริกนั เป็นครัง้ แรก เราจะน�ำการจ้างงานกลับมา เราจะน�ำประเทศของเรา ซึ่งมีหลายประโยคที่เป็นการตอกย�้ำนโยบาย America First กลับมา เราจะน�ำความมัง่ คัง่ กลับมา และเราจะน�ำความฝันกลับมา ตามที่ได้เคยกล่าวในช่วงการหาเสียง อาทิ เราจะสร้างถนนใหม่ ทางหลวง สะพาน สนามบิน อุโมงค์ จากช่วงเวลานีไ้ ป ผลประโยชน์ของอเมริกาจะต้องมาก่อน และทางรถไฟ ทั่วประเทศ ทุกการตัดสินใจด้านการค้า ภาษี การอพยพของต่างด้าว เราจะท�ำตามกฎง่ายๆ 2 ข้อ คือ ซื้อของอเมริกัน และ และด้านการต่างประเทศ จะต้องเอื้อต่อผลประโยชน์ของแรงงาน จ้างงานชาวอเมริกัน อเมริกันและครอบครัวชาวอเมริกัน 28
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
จากสุนทรพจน์ดังกล่าว คงเป็นที่แน่ชัดแล้วว่า รัฐบาล สหรัฐฯ ชุดใหม่ภายใต้การน�ำของประธานาธิบดีโดนัล ทรัมป์ จะมีการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบกีดกันการค้ามากขึ้น คือ “ไม่ ว ่ า จะท� ำ อะไรก็ ต าม ผลประโยชน์ ข องสหรั ฐ ฯ ต้องมาก่อนเสมอ” รวมทั้งจะเน้นไปที่การปรับปรุงพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานภายในประเทศ ทีม่ กี ารจัดซือ้ จัดจ้างภายใน สหรัฐฯ เกือบทั้งหมด ทั้งนี้ ถึงแม้จะไม่ได้มีการกล่าวออกมา ชัดเจน แต่ประเทศทีน่ า่ จะเป็นเป้าหมายทีส่ หรัฐฯ จะเล่นงาน คงหนีไม่พน้ จีน และเม็กซิโก ทีป่ จั จุบนั เป็นฐานการผลิตสินค้า ส�ำคัญของสหรัฐฯ และสหรัฐฯ ยังคงนโยบายดึงการผลิตของ บริษัทเหล่านี้กลับประเทศ เพื่อเพิ่มการจ้างงานในประเทศ อย่างไรก็ดี ประธานาธิบดีโดนัล ทรัมป์ ก็ไม่ได้มีท่าที แข็งกร้าวถึงขัน้ ต้องการให้สหรัฐฯ อยูอ่ ย่างโดดเดีย่ ว เหมือนที่ หลายฝ่ายเคยคาดการณ์เอาไว้ เนื่องจากได้กล่าวว่า “เราจะ แสวงหาพันธมิตรและความจริงใจจากประเทศต่างๆ ทัว่ โลก แต่เราจะท�ำบนพืน้ ฐานของความเข้าใจว่า เป็นสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ทีท่ กุ ประเทศจะให้ความส�ำคัญกับผลประโยชน์ของประเทศ ตนเองเป็ น อั น ดั บ แรก” และ “เราจะเสริ ม สร้ า งความ สัมพันธ์ที่แข็งแกร่งกับพันธมิตรเก่าแก่ และเริ่มต้นความ สัมพันธ์กับพันธมิตรใหม่ และรวมความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันในโลก เพื่อต่อสู้กับการก่อการร้ายอิสลาม ซึ่งเรา จะจ�ำกัดให้หมดไปจากโลกนี”้ ในส่วนของไทย เช่นเดียวกับประเทศพันธมิตรทาง การค้าอื่นของสหรัฐฯ ไทยคงต้องเผชิญกับการผลักดันเชิงรุก อย่างแข็งกร้าวในประเด็นทีเ่ ป็นผลประโยชน์ของสหรัฐฯ มากขึน้ อาทิ กฎระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรคในการเข้าสูต่ ลาดของสหรัฐฯ และมาตรการของไทยทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของ
บริษัทสหรัฐฯ ในไทย ซึ่งหากประกอบกับนโยบายดึงฐานการผลิต กลับประเทศของสหรัฐฯ แล้ว อาจส่งผลต่อแผนการด�ำเนินธุรกิจ ในระยะยาวของบริษทั สหรัฐฯ ด้วยการตัดสินใจไม่ขยายการลงทุน ในไทยเพิ่มเติม
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
29
นอกจากนี้ ไทยอาจเผชิญกับมาตรการทางการค้าที่เข้มงวด มากขึ้นในการเข้าสู่ตลาดสหรัฐฯ อาทิ มาตรการด้านสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช และมาตรฐานทางเทคนิคของสินค้า รวมทั้งใน ด้านทรัพย์สินทางปัญญา แรงงาน และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ ประเด็นเหล่านี้ล้วนเป็นเงื่อนไขในการพิจารณาให้สิทธิพิเศษ ทางการค้า GSP แก่ประเทศคู่ค้า รวมทั้งไทยด้วย ซึ่งจ�ำเป็นต้อง จับตามองอย่างใกล้ชิดว่า รัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่จะพิจารณาต่อ อายุโครงการ GSP ที่จะหมดอายุลงในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 นี้ หรือไม่ อย่ า งไรก็ ดี ในฐานะพั น ธมิ ต รที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ของสหรั ฐ ฯ ในภูมภิ าคเอเชีย ทีม่ คี วามสัมพันธ์ทดี่ ยี าวนานถึง 184 ปี ทัง้ สองฝ่าย คงเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ต้องเร่งสานสัมพันธ์ให้แข็งแกร่งมาก ขึ้นต่อไป โดยเฉพาะในมิติเศรษฐกิจ ซึ่งมีเวทีการประชุมประจ�ำปี อย่าง TIFA JC ไทย-สหรัฐฯ เป็นช่องทางเสริมสร้างความร่วมมือ และลดอุปสรรคทางการค้าการลงทุนร่วมกัน ประกอบกับ การที่ สหรัฐฯ ยังเป็นหนึง่ ในประเทศเป้าหมายภายใต้นโยบาย Strategic Partnership ของไทย ที่เน้นการสร้างผลประโยชน์ร่วมกันให้เป็น รูปธรรมโดยเร็ว รวมทั้งยังมีเวทีภายใต้กรอบอาเซียน-สหรัฐฯ ที่ได้ ด�ำเนินความสัมพันธ์มาครบ 40 ปี ในปีนี้ จึงคาดว่า การค้า การลงทุนระหว่างทั้งสองฝ่ายจะเติบโตมากขึ้น และภาคเอกชน สหรัฐฯ จะยังคงสานต่อกิจกรรมทางการค้าเหมือนเช่นในอดีต ที่ผ่านมา ทัง้ นี้ หลายคนอาจสงสัยเกีย่ วกับนโยบายของประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์ ต่อความตกลง TPP ซึ่งจนถึงขณะนี้คงเป็นที่แน่นอน ของ “การล่มสลายของความตกลง TPP” เนื่องจากภายหลังเข้า รับต�ำแหน่งได้ไม่นาน เว็ปไซต์ของท�ำเนียบขาวได้ประกาศว่า
30
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
“รัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่จะถอนตัวออกจากความตกลง TPP” โดยการจัดท�ำข้อตกลงทางการค้าใดๆ ของสหรัฐฯ ต้องเห็นถึงผล ประโยชน์ของแรงงานอเมริกันเป็นส�ำคัญ ซึ่งตามเงื่อนไขของ TPP แล้ว ความตกลงฯ จะมีผลบังคับใช้ไม่ได้หากขาดสหรัฐฯ โดยล่าสุด เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2560 ประธานาธิบดีโดนัล ทรัมป์ ได้ลงนาม ค�ำสั่งฝ่ายบริหาร (executive order) ถอนตัวจากการเป็นสมาชิก ความตกลง TPP พร้อมทั้งกล่าวว่า “สิ่งที่ได้ด�ำเนินการไปเป็นสิ่งที่ ดีตอ่ แรงงานชาวอเมริกนั ” นอกจากนี้ รัฐบาลสหรัฐฯ ยังต้องการเจรจา ทบทวนความตกลง NAFTA กับแคนาดาและเม็กซิโกใหม่ เพื่อให้ FTA ฉบับดังกล่าวเป็นธรรมต่อแรงงานสหรัฐฯ ซึ่งหากทั้งสอง ประเทศปฏิเสธการเจรจาดังกล่าว สหรัฐฯ ก็จะถอนตัวจาก NAFTA เช่นกัน โดยการด�ำเนินการดังกล่าวถือเป็นจุดเริม่ ต้นของการด�ำเนิน ยุทธศาสตร์ใหม่ที่เชื่อว่า “การปกป้องน�ำมาซึ่งความร�่ำรวยและ แข็งแกร่งของอเมริกา” รวมทั้งประธานาธิบดีฯ จะสั่งการให้ นายวิลเบอร์ รอสส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ ใช้มาตรการตอบโต้ทางการค้าทุกประเภทกับประเทศคูค่ า้ ทีล่ ะเมิด ความตกลงฯ
การล่มสลายของความตกลง TPP จะไม่สง่ ผลกระทบต่อไทย เพราะไทยยังไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกฯ แต่กลับจะเป็นประโยชน์ต่อ ไทย เนื่องจากประเทศอาเซียนที่เป็นสมาชิก TPP อย่างเวียดนาม และมาเลเซีย ซึง่ ถือเป็นคูแ่ ข่งทางเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของไทย จะไม่ ได้สทิ ธิพเิ ศษทางการค้าภายใต้ความตกลง TPP เหมือนทีค่ าดหวังไว้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการแข่งขันทางการค้าของไทย โดยไทยจะยังคง สามารถรักษาส่วนแบ่งตลาดในกลุ่มประเทศ TPP และการเป็น ส่วนส�ำคัญในห่วงโซ่คณ ุ ค่าโลก รวมทัง้ การเป็นศูนย์กลางการลงทุน และการขนส่งของภูมิภาค อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าความตกลง TPP จะไม่เกิดขึ้นในขณะนี้ แต่พันธกรณีของความตกลง TPP ได้กลายเป็นบรรทัดฐานของ ความตกลง FTA ในศตวรรษที่ 21 ไปแล้ว ดังนั้น ไทยคงต้องเร่ง ปรับตัวโดยเฉพาะในประเด็นทีไ่ ทยยังไม่พร้อมจะแข่งขัน เพือ่ รักษา ขีดความสามารถทางการแข่งขันทางการค้าให้ทดั เทียมกับประเทศ ต่างๆ เนื่องจากประเทศอาเซียนที่เป็นสมาชิก TPP ได้ยกระดับ มาตรฐานให้สูงขึ้นสู่สากลแล้วหลายด้าน นอกจากนี้ เมื่อไม่มี TPP แล้ว RCEP จะกลายเป็นความตกลง FTA ในระดับภูมภิ าคทีม่ ขี นาด ใหญ่ที่สุด ณ ขณะนี้ ซึ่งไทยเป็นสมาชิกอยู่แล้ว จึงเชื่อว่า ประเทศ ที่ เ ดิ ม ที เ ป็ น ทั้ ง สมาชิ ก ของทั้ ง สองความตกลงฯ อย่ า งญี่ ปุ ่ น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ และบรูไน จะมีเวลาหันกลับมาผลักดันความตกลง RCEP ให้สรุปผลได้โดยเร็ว
ต่อจากนี้ เราคงต้องติดตามดูว่า นโยบายแบบ America First ของรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่ จะสามารถน�ำ ความแข็งแกร่งกลับมายังสหรัฐฯ เหมือนที่คาดหวังไว้ หรือไม่ และประเทศสมาชิก TPP อีก 11 ประเทศจะท�ำ อย่างไรเมื่อความตกลง TPP ไม่มีแล้ว
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
31
THAILAND’s TRADE REPORT
โดย ศูนย์สารสนเทศการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
32
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
ปัจจุบนั สังคมมีผคู้ นอยูร่ ว่ มกันเป็นจ�ำนวนมากย่อมมีความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกัน สังคม ทุกสังคมจึงหลีกเลีย่ งความขัดแย้งไม่ได้ในสังคมซึง่ เป็นเรือ่ งปกติ เป็นแต่เพียงว่าความขัดแย้ง ดังกล่าวสามารถหาข้อยุติได้ในกรอบของกลไกที่มีอยู่สังคมนั้นก็สามารถด�ำเนินต่อไปถือได้ ว่าสังคมนัน้ ยังอยู่ได้อย่างมีความสมานฉันท์ โดยแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวธิ ดี ว้ ยการเจรจา หรือไกล่เกลีย่ เช่นเดียวกับโลกแห่งการค้าระหว่างประเทศ เมือ่ แต่ละประเทศมีการส่งออกและ น�ำเข้าสินค้าและบริการย่อมมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องระหว่างกัน ซึ่งแน่นอนว่าอาจจะมีความ ขัดแย้งระหว่างกัน
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
33
องค์ ก ารการค้ า โลก หรื อ WTO (World Trade Organization) จึงจ�ำเป็นต้องปรับปรุงระบบหรือกลไกการระงับ ข้อพิพาทให้มคี วามชัดเจน รัดกุม และมีประสิทธิภาพอยูต่ ลอดเวลา เพื่อแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งทางการค้าระหว่างประเทศซึ่งเป็นที่ ยอมรับ โปร่งใส และเป็นธรรม โดยทั่วไป เมื่อเกิดข้อพิพาทในสังคม มีแนวทางระงับ ข้อพิพาทอย่างไร
โดยทัว่ ไป ข้อพิพาททางธุรกิจของเอกชนจะถูกระงับผ่าน ศาลภายในประเทศ หรือการอนุญาโตตุลาการ ขณะที่ ข้อพิพาท ทางเศรษฐกิ จ ระหว่ า งรั ฐ กั บ รั ฐจะถูกระงับผ่านศาลระหว่ า ง ประเทศ หรือระบบการระงับข้อพิพาทที่ถูกจัดตั้งขึ้นเฉพาะ หรือ ระบบการระงับข้อพิพาทระดับภูมิภาค ส่วนข้อพิพาทระหว่างรัฐ กับเอกชน โดยเฉพาะข้อพิพาทด้านการลงทุน อาจถูกระงับได้โดย ศาลภายในประเทศ หรือระหว่างประเทศ
ตัง้ แต่ทศวรรษที่ 20 การระงับข้อพิพาท ใช้ 2 แนวทางหลัก ระบบการระงับข้อพิพาทที่ไม่ใช่ศาล (Alternative Dispute Resolution: ADR) คืออะไร ได้แก่ (1) แนวทางการทูต/การเมือง ซึ่งส่วนใหญ่ มักจะเป็น การไกล่เกลี่ย (Mediation)
การใช้ อ� ำ นาจบั ง คั บ ของประเทศใหญ่ ต ่ อ ประเทศที่ เ ล็ ก กว่ า การไกล่เกลีย่ เกีย่ วข้องกับการเจรจา โดยอาศัยความช่วยเหลือ แต่ก็ถือว่าเป็นวิธีการหลักในการระงับข้อพิพาทในปัจจุบัน เช่น ของบุคคลทีส่ ามทีเ่ ป็นกลาง มีเป้าหมายเพือ่ หาทางระงับข้อพิพาท ข้อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดน ที่ทุกฝ่ายสามารถยอมรับและปฏิบัติได้ ซึ่งจะมีการจัดท�ำข้อตกลง (2) แนวทางตามกฎหมาย ผ่านกระบวนการของศาล การระงับข้อพิพาท (Settlement Agreement) ทั้งนี้ ผูไ้ กล่เกลีย่ โดยเป็นไปตามหลักของกฎหมาย แต่อาจต้องใช้ระยะเวลานาน (mediator) จะมี บ ทบาทเพี ย งการเป็ น ผู ้ เ สนอแนะแนวทาง แก้ไขปัญหา ขณะทีผ่ ลการตัดสินขัน้ สุดท้ายจะขึน้ อยูก่ บั การยอมรับ และเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่า ของคูพ่ พิ าท การไกล่เกลีย่ คือ ช่วยลดเวลาและต้นทุนในการระงับ รูปแบบของข้อพิพาทและระบบการระงับข้อพิพาท ข้อพิพาท รวมทั้ง ยังลดการเผชิญหน้าระหว่างคู่พิพาท ถือเป็น มีอะไรบ้าง กระบวนการที่มีความยืดหยุ่นและไม่เป็นทางการ รูปแบบข้อพิพาท แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ (1) ข้อพิพาทระหว่างภาคเอกชน เช่น การผิดสัญญา ทางธุรกิจ (Commercial Disputes) (2) ข้อพิพาทระหว่างเอกชนกับรัฐ เช่น การฟ้องรัฐของ นักลงทุนต่างชาติในกรณีการละเมิดพันธกรณีภายใต้ความตกลง ด้านการลงทุน (Investor to State Disputes) (3) ข้อพิพาทระหว่างรัฐกับรัฐ เช่น การฟ้องรัฐโดยรัฐอีก ฝ่ายหนึ่งในกรณีการละเมิดพันธกรณีภายใต้ความตกลงระหว่าง ประเทศ เช่น ความตกลงขององค์การการค้าโลก และความตกลง การค้าเสรี (Trade Disputes) เป็นต้น ระบบการระงับข้อพิพาท แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ (1) ระบบศาล (2) ระบบทางเลือกที่มิใช่ศาล (3) การระงับข้อพิพาทในประเด็นเฉพาะ เช่น การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศ
34
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
การอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) การอนุญาโตตุลาการเป็นทางเลือกการระงับข้อพิพาทที่ มิใช่กระบวนการศาล โดยมีผตู้ ดั สินคดี หรือ Arbitrator เป็นบุคคล ทีส่ าม ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ โดยความยินยอมของคูพ่ พิ าท โดยอ�ำนาจ ในการพิจารณาคดีจะถูกจ�ำกัดเฉพาะในประเด็นทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคู่พิพาท แตกต่างจากกระบวนการศาล คือ เป็นด�ำเนินการ ที่ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ มีความยืดหยุ่นและไม่เป็นทางการ มากกว่าศาล ผลค�ำตัดสินชี้ขาดของการอนุญาโตตุลาการสามารถ บังคับใช้ได้โดยศาล การประนีประนอม (Conciliation) เป็นการระงับข้อพิพาททีม่ คี วามยืดหยุน่ และไม่เป็นทางการ มากทีส่ ดุ เมือ่ เปรียบเทียบกับวิธกี ารอืน่ โดยเกีย่ วข้องกับการเจรจา ที่ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลที่สาม ซึ่งมีบทบาทในการชี้แนะ แนวทางแก้ไขปัญหา ซึ่งเมื่อได้ข้อสรุปเป็นที่พอใจของทุกฝ่าย จะจัดท�ำความตกลงร่วมกัน แต่ไม่มีผลผูกพันในทางปฏิบัติ มีข้อดี คือ มีความยืดหยุน่ ในกระบวนการ มีคา่ ใช้จา่ ยต�ำ่ และลดการเผชิญ หน้าระหว่างคู่พิพาท แต่มีข้อเสีย คือ คู่พิพาทอาจใช้เทคนิค การถ่วงเวลา หากยังไม่ได้ข้อสรุปที่ตนพอใจ จึงเป็นวิธีการที่ไม่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ในกรณี ที่ คู ่ พิ พ าทไม่ ย อมให้ ค วามร่ ว มมื อ ที่จะประนีประนอม การเจรจาระดับสูง (High-Level Negotiations) เป็นการระงับข้อพิพาทที่จะถูกใช้ในกรณีที่มีการระบุไว้ใน ความตกลงระหว่ า งคู่สัญ ญา ซึ่งโดยทั่วไปมีวัตถุป ระสงค์เพื่อ กลั่ น กรองข้ อ พิ พ าทที่ รุ น แรงมากออกจากข้ อ พิ พ าทที่ รุ น แรง น้อยกว่า จึงมิใช่เป็นกลไกเดียวในการระงับข้อพิพาท แต่เป็นเพียง กลไกในเบื้องต้นในการจัดการกับความขัดแย้ง
การระงับข้อพิพาททางการค้าภายใต้องค์การ การค้าโลก (WTO) ยุ่งยากซับซ้อนหรือไม่ อย่างไร ข้อพิพาทใน WTO เกิดขึ้น เมื่อประเทศสมาชิกหนึ่ง ออกมาตรการทางการค้า ซึ่งประเทศสมาชิกอื่นเห็นว่าขัดกับ พันธกรณีหรือข้อผูกพันภายใต้ความตกลง WTO และส่งผลให้เกิด การสูญเสียผลประโยชน์ การระงับข้อพิพาท หรือ Understanding on Rules and Procedures Governing the Settlement of Disputes (DSU) ได้ก�ำหนดกระบวนวิธีที่ชัดเจนส�ำหรับ การระงับข้อพิพาท ทีส่ มาชิกต้องยึดถือ และปฏิบตั ติ ามผลค�ำตัดสิน อันประกอบด้วย ขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การหารือ 2) การพิ จ ารณาของคณะผู ้ พิ จ ารณา หรื อ Panel ผู้ท�ำหน้าที่เสมือน “ผู้พิพากษา” 3) หากประเทศคู่กรณี ไม่เห็นด้วยกับค�ำตัดสินของ Panel สามารถยืน่ อุทธรณ์ตอ่ “องค์กรอุทธรณ์” หรือ Appellate Body 4) การรับรองค�ำตัดสินและรายงานผล 5) การด�ำเนินการตามค�ำตัดสินชี้ขาด ข้อพิพาทที่สามารถน�ำขึ้นฟ้องภายใต้ DSU ครอบคลุม ความตกลงพหุภาคีทกุ ฉบับของ WTO แต่กม็ กั จะเกีย่ วข้องกับหลัก การที่เป็นพื้นฐานส�ำคัญ อาทิ หลักการประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับ ความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most Favored Nation Treatment: MFN) และการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT) และ ต้องเป็นการฟ้องระหว่างประเทศสมาชิก WTO ไม่รวมถึงการฟ้อง ประเทศทีไ่ ม่ใช่สมาชิก WTO หรือ NGO หรือบุคคลธรรมดา
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
35
ลงนามถวายพระพรสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 1 มกราคม 2560 นายบุ ณ ยฤทธิ์ กั ล ยาณมิ ต ร อธิ บ ดี ก รมเจรจาการค้ า ระหว่างประเทศ พร้อมด้วยผู้บริหาร และข้าราชการกรมเจรจา การค้ า ระหว่ า งประเทศ ร่ ว มลงนามถวายพระพรสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนือ่ งในวัน ขึ้นปีใหม่ 2560 ณ ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง
กรมเจรจาฯ ประกาศเจตนารมณ์ 23 มกราคม 2560 นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ พร้อมด้วยผู้บริหาร และข้าราชการกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ ร่วมกิจกรรม “ประกาศเจตนารมณ์ นโยบายการ ก�ำกับดูแลกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศทีด่ ี และเจตจ�ำนงการ บริ ห ารและปฏิ บั ติ ง านของแผ่ น ดิ น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต” ณ กระทรวงพาณิชย์
FTA/AEC สัญจร ครั้งที่ 1 27 มกราคม 2560 นางสาวสิริพรรณ ลิขิตวิวัฒน์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ เป็นประธานเปิดโครงการ “FTA/AEC สัญจร ขั บ เคลื่ อ นความรู ้ สู ่ เ ยาวชน 2017” ครั้ ง ที่ 1 ณ โรงเรี ย น สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี จ.นนทบุรี
36
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
รมว.พาณิชย์ หารือโคลอมเบีย 31 มกราคม 2560 นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ หารือกับนายอันเดลโฟ โฆเซ การ์เซีย กอนซาเลซ เอกอัครราชทูต แห่งสาธารณรัฐโคลอมเบียประจ�ำประเทศไทย เพื่อกระชับความ สัมพันธ์ ส่งเสริมการค้าและความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน ณ กระทรวงพาณิชย์
รมว.พาณิชย์ หารืออิสราเอล 14 กุมภาพันธ์ 2560 นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ หารือกับนายไซมอน โรเด็ด เอกอัครราชทูตรัฐอิสราเอลประจ�ำ ประเทศไทย เกี่ ย วกั บ แนวทางความร่ ว มมื อ ด้ า นเศรษฐกิ จ ณ กระทรวงพาณิชย์
สัมมนา “เกาะติดเทรนด์การค้ายุคใหม่” 16 กุมภาพันธ์ 2560 นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง พาณิชย์ เป็นประธานเปิดการสัมมนา “เกาะติดเทรนด์การค้ายุค ใหม่” ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่าลาดพร้าว กรุงเทพฯ
การประชุม RCEP-TNC ครั้งที่ 17 21 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม 2560 นายรณรงค์ พูลพิพฒ ั น์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เข้าร่วมการประชุม RCEP-TNC ครั้งที่ 17 ณ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
37
DTN BUSINESS PLAN AWARD 2017 22 กุมภาพันธ์ 2560 นางสาวสิริพรรณ ลิขิตวิวัฒน์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ แถลงข่าวเปิดตัวโครงการ DTN BUSINESS PLAN AWARD 2017 “The Leading Business Plan for Thailand 4.0” ณ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์
การประชุม AEM Retreat ครั้งที่ 23 8-10 มีนาคม 2560 นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (AEM Retreat) ครั้งที่ 23 ณ กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
การประชุม AEM-EU ครั้งที่ 15 10 มีนาคม 2560 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-สหภาพยุโรป ร่วมประชุมระดับ รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-สหภาพยุโรป (AEM-EU) ครัง้ ที่ 15 ใน ระหว่างการประชุม AEM Retreat ครั้งที่ 23 ณ กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
หารือผู้บริหาร Guardian Industries 17 มีนาคม 2560 นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง พาณิชย์ พร้อมด้วยนางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม รองอธิบดีกรมเจรจา การค้าระหว่างประเทศ หารือกับผู้บริหาร Guardian Industries เกี่ยวกับการเปิดตลาดสินค้ากระจกของไทยภายใต้กรอบ FTA ต่างๆ ณ กระทรวงพาณิชย์ 38
วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
หารือเลขาธิการองค์การศุลกากรโลก 23 มีนาคม 2560 นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง พาณิชย์ หารือกับนาย Kunio Mikuriya เลขาธิการองค์การ ศุลกากรโลก เรือ่ งการค้าระหว่างประเทศและประโยชน์ของความ ตกลงว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกทางการค้าภายใต้องค์การ การค้าโลก ณ กระทรวงพาณิชย์
การประชุม AHKTNC 27 มีนาคม 2560 นายรณรงค์ พูลพิพฒ ั น์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเจรจาทางการค้า ส� ำ หรั บ การจั ด ท� ำ ความตกลงการค้ า เสรี อ าเซี ย น - ฮ่ อ งกง ฝ่ายอาเซียน ณ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ
SEOM ครั้งที่ 2/48 28 มีนาคม 2560 นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ เข้าร่วมการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจ อาเซียน (SEOM) ครั้งที่ 2/48 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ณ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ
เปิดงานสัมมนา ฯ 28 มีนาคม 2560 นางสาวสิริพรรณ ลิขิตวิวัฒน์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ เป็นประธานเปิดงานสัมมนา เรือ่ ง “บทบาทด้าน การเงินเพื่อการค้าระหว่างประเทศในกลุ่ม CLMV โอกาสทาง ธุรกิจส�ำหรับผู้ประกอบการไทยสู่การค้าเสรี” ณ โรงแรมสวิส โซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ วารสารการค้าระหว่างประเทศ INTERNATIONAL TRADE FORUM
39