วารสารการค้าระหว่างประเทศ ฉบับที่ 14 ประจำเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2559

Page 1

ปที่ 4 ฉบับที่ 14 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 www.dtn.go.th


¤Ø¡ѹ¡‹Í¹

ที่ 13 ตุลาคม ปี 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา นับเป็นวันเวลาทีค่ นไทยทัง้ ชาติ

ต้องพานพบกับความวิปโยคโศกสลด อันเนื่องมาจากความสูญเสีย ครั้งยิ่งใหญ่ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคต ด้วยพระองค์ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 70 ปี พระองค์ทรงเป็น “พ่อ” ของพวกเรา พสกนิกรชาวไทย ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งชาติ ทรงมีพระมหา กรุณาธิคุณอันเอนกอนันต์ สุดที่จะบรรยาย กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ขอเชิญชวนทุกท่านตัง้ สัตยาธิษฐาน อุทศิ ส่วนกุศลทั้งปวงอันพึงมี น้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ถวายเป็นราชบูชาแด่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พร้อมตั้งปณิธานมุ่งมั่นดำเนินรอยตาม พระยุคลบาท น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้จัดทำวารสารการค้าระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

P.14

P.24


CONTENT

ÊÒúÑÞ

ปที่ 4 ฉบับที่ 14 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

P.06

P.10

P.17

P.06

P.10 P.14 P.17

Special Report APEC กาวไปอีกขั้นกับการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคสู FTAAP FTA Corner TFA ความตกลงวาดวยการอำนวยความสะดวก ทางการคา ภายใต WTO AEC Society จับตานโยบายเศรษฐกิจจากผูนำใหมของฟลิปปนส

P.24

เลาสูกันฟง สินคาออนไหวไทย สูไดภายใต FTA

P.28

รูไว!!! ไดประโยชน แอปพลิเคชัน "สุขพอที่พอสอน"

P.29

360 การคาโลก Brexit สงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยหร�อไม สถิติการคาโลก

ธ สถิตในดวงใจ ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จฯ ทางชลมารค ทรงเปด 5 โครงการชลประทาน

P.34

Q&A รูหร�อไม??? อนุสัญญา UPOV 1991 คืออะไร

P.37

DTN Report

P.29

P.33

P.34

P.37


วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


โดย สำนักอเมริกา แปซิฟิก และองค์การระหว่างประเทศ

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


ผานพนไปด้วยดี สำหรับการประชุมรัฐมนตรีเอเปค

ครั้งที่ 28 และการประชุมผู้นำเอเปค ครั้งที่ 24 ที่สาธารณรัฐเปรู เป็นเจ้าภาพจัดขึน้ เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2559 ณ กรุงลิมา ภายใต้ Theme “การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและการพัฒนาทุน มนุษย์” โดยมีพลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะผูแ้ ทนไทย พร้อมด้วยผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจำกระทรวง พาณิชย์ (นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง) และอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ (นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร) เป็นผูแ้ ทนกระทรวง พาณิชย์เข้าร่วมประชุมด้วย การประชุมรัฐมนตรีเอเปค ครัง้ ที ่ 28 และการประชุมผูน้ ำ เขตเศรษฐกิจเอเปค ครัง้ ที ่ 24 ยังคงสนับสนุนระบบการค้าพหุภาคี ภายใต้องค์การการค้าโลก หรือ WTO อันเป็นหัวใจสำคัญของเอเปค อย่างเหนียวแน่น แม้ว่าการเจรจารอบโดฮายังไม่สามารถสรุปได้ ในเร็ววัน ทีป่ ระชุมได้ขอให้สมาชิกร่วมแรงร่วมใจกันผลักดันประเด็น เจรจาต่างๆ ให้คืบหน้าไปได้ และไม่นำมาตรการปกป้องทาง การค้าใหม่ๆ และมาตรการเป็นอุปสรรคต่อการค้าทุกรูปแบบมาใช้ ผูน้ ำได้สง่ั การให้เอเปคทำงานร่วมกับ WTO อย่างใกล้ชดิ เพือ่ กำหนด ทิศทางมุ่งไปสู่ outcome อย่างมีนัยสำคัญให้ทันการประชุม รัฐมนตรีองค์การการค้าโลกในปี 2560 ซึง่ จะมีขน้ึ ในเดือนธันวาคม 2560 นี้

การประชุมผู้นำเอเปค ครั้งที่ 24

่ 28

การประชุมรัฐมนตรีเอเปค ครั้งที

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

7


สำหรับการก้าวสู่การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ทีป่ ระชุมได้รบั รองผลการศึกษาเชิงยุทธศาสตร์เพือ่ ไปสูก่ ารจัดทำ เขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟกิ (Free Trade Area of the Asia Pacific: FTAAP) และข้อเสนอแนะเพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเจรจา ซึ่งผู้นำได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการตามแผนไปสู่การจัดทำ FTAAP ต่อไป รวมทัง้ การรับรองแผนการดำเนินงานเพือ่ เสริมสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันภาคบริการของเอเปค ซึ่งเป็นที่ ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า เป็นภาคเศรษฐกิจที่มีการเติบโตและเป็น ตัวจักรสำคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจโลก โดยกำหนดให้สมาชิก การดำเนินการปฏิรูปโครงสร้างภาคบริการของตน และติดตาม ประเมินผลอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ที่ประชุมได้รับรองแผนการดำเนินงานตาม กรอบความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานระยะที่ 2 (2560-2568) เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานหรือ supply chain โดยการลดระยะเวลา ต้นทุน และความไม่แน่นอนในการเคลือ่ นย้าย สินค้าและบริการภายในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ โดยให้ความสำคัญ ใน 5 เรือ่ ง ได้แก่ การดำเนินการทีพ่ รมแดน โครงสร้างพืน้ ฐานและ ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา เอเปคได้มุ่งดำเนินการเพื่อ บริการคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ ความร่วมมือด้านกฎระเบียบ เปิดเสรีการค้าและการลงทุนภายใต้เป้าหมายโบกอร์ได้รับผล และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นที่น่าพอใจ เอเปคมีส่วนสำคัญช่วยให้เศรษฐกิจโลกเติบโตขึ้น และผลการดำเนินงานของสมาชิกก็ได้ส่งผลต่อการขยายตัวของ การค้าและการลงทุนโลก รวมทัง้ จะยังคงเดินหน้าเพือ่ ลดอุปสรรค ทางการค้าและการลงทุน อำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างกัน และปรับปรุงกฎระเบียบทีช่ ว่ ยเสริมสร้างบรรยากาศต่อการค้าและ การลงทุนต่อไป การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย หรือ MSMEs นัน้ ผูน้ ำได้ให้ความสำคัญ โดยต้องการส่งเสริมปัจจัย ที่เอื้อต่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย ให้ทันสมัยและสามารถเข้าสู่ห่วงโซ่คุณค่าโลกได้อย่างยั่งยืน เช่น การส่งเสริมนวัตกรรม การเข้าถึงแหล่งทุน การพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่งเสริมพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ โมเดลธุรกิจจากออนไลน์ไปออฟไลน์ เป็นต้น ทีป่ ระชุมยังได้รบั รอง โครงการจัดทำแนวปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ ระเบียบวิธี และประสบการณ์ ความสำเร็จในการส่งเสริม MSMEs ไปสู่ตลาดโลกให้แล้วเสร็จ ในปี 2561 และโครงการพัฒนายุทธศาสตร์เอเปคเพื่อการพัฒนา MSMEs สีเขียวและมีความยั่งยืน

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


หลังจากนัน้ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์และมิตรภาพทีด่ รี ะหว่าง ประเทศ ฝ่ายไทยได้มีการหารือในระดับทวิภาคีกับประเทศต่างๆ อาทิ การหารือกับนายกรัฐมนตรีปาปวนิวกิน ี (Mr. Peter O’Neill) ซึ่งได้เชิญชวนให้ไทยเข้าไปลงทุนในอุตสาหกรรมประมง เกษตร น้ำมันปาล์ม และการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ ความร่วมมือด้านการบริการ เดินอากาศระหว่างกัน และจะจัดคณะนักธุรกิจเยือนปาปัวนิวกินี ในปี 2560 ต่อไป การหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้า นิวซีแลนด์ (H.E. Mr. Todd McClay) โดยมีกำหนดการหารือ ทางธุรกิจของภาคเอกชนระหว่างการเยือนไทยอย่างเป็นทางการ ในช่วงต้นปี 2560 เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าและ การลงทุนระหว่างกัน การหารือกับผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง การต่างประเทศสาธารณรัฐชิล ี (Ms. Paulina Nazal Aranda) โดยฝ่ายไทยเสนอจัดการประชุมคณะกรรมธิการร่วมความตกลง

การค้ า เสรี ไ ทย-ชิ ล ี ครั ้ ง แรกที ่ ก รุ ง เทพฯ และจั ด การเจรจาทาง ธุรกิจของภาคเอกชนควบคู่ กันไป ประมาณเดือนพฤษภาคม 2560 เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม การใช้ ป ระโยชน์ จาก FTA ไทย-ชิลี และการหารือกับกลุ่มพันธมิตรทางธุรกิจ สหรัฐอเมริกา-เอเปค (US–APEC Business Coalition) ซึ ่ ง ทางกลุ ่ ม พั น ธมิ ต รฯ มี ค วามยิ น ดี ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ไทย ในการพัฒนาศักยภาพ SMEs ทั้งด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรม การเงิน การบริการ รวมทัง้ ระบบการตรวจสอบมาตรฐาน สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยให้ได้มาตรฐานสากล

ประเทศไทยสนับสนุนประเด็นความเชือ่ มโยงของภูมภิ าคเอเปคในทุกดาน โดยดำเนินการ ปรับเปลี่ยนโครงสรางทางเศรษฐกิจไปสู “เศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นดวยนวัตกรรม” ตามหลัก นโยบาย “ประเทศไทย 4.0” เพื่อปรับโครงสรางเศรษฐกิจไปสูเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวย นวั ต กรรม พั ฒ นาโครงสร า งพื ้ น ฐานทั ้ ง ด า นการคมนาคม ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ และทางราง พัฒนาเศรษฐกิจชายแดน พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ดิ จ ิ ท ั ล พาณิ ช ย อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส SMEs พัฒนาฝมือแรงงาน ปรับแกกฎระเบียบตางๆ เพื่ออำนวยความสะดวกตอนักลงทุน และสงเสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมหลัก (s-curve) ใหภาคเอกชนทราบและสรางความ เชื่อมั่นกับภาคเอกชนที่เขามารวมลงทุนในไทย รวมทั้ง การวางรากฐานพัฒนาอุตสาหกรรม แห ง อนาคตโดยตั ้ ง อยู  บ นหลั ก การพั ฒ นาอย า งค อ ยเป น ค อ ยไป และกระจายโอกาสทาง เศรษฐกิจใหทั่วถึงและยั่งยืนดวย

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

9


โดย มุทธมาศ วงศ์วานิช สำนักการคาสินคา


อำนวยความสะดวกทางการค้า หมายถึงการลดความซับซ้อน สร้างความเป็นเอกภาพนำเทคโนโลยีและมาตรการอื่นๆ มาใช้แก้ไขกระบวนการและงานบริหารที่เป็นอุปสรรคต่อการค้า เพื่อความสะดวกการเคลื่อนย้ายสินค้าข้ามพรมแดน ลดต้นทุนการเงิน ต้นทุนระยะเวลาและความไม่แน่นอนต่างๆ ของขัน้ ตอนการนำเข้า การส่งออก และการผ่านแดนของสินค้า โดยเฉพาะ การเคลื ่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า ข้ า มพรมแดนการผ่ า นพิ ธ ี ก ารศุ ล กากรและการปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎระเบียบปฏิบัติอื่นๆ ซึ่งเริ่มต้น เป็นต้นทุนของภาคธุรกิจ และถูกถ่ายโอนบวกเพิ่มไปยังประชาชนในรูปแบบของราคาสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น ที่ประชุมรัฐมนตรีองค์การการค้าโลก (Ministerial Conference: MC) สมัยสามัญ ครั้งที่ 9 ณ ประเทศอินโดนีเซีย ได้มีมติสรุปผล “การเจรจาความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกทางการค้า” (Agreement on Trade Facilitation: TFA) และให้ดำเนินกระบวนการผนวกความตกลง TFA เข้าเป็นส่วนหนึง่ ของความตกลง WTO อันจะมีผลใช้บงั คับกับสมาชิก WTO ทุกประเทศ ทั้งนี้ ความตกลงฯ จะมีผลใช้บังคับเมื่อประเทศสมาชิกให้สัตยาบันไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด (110 จากทั้งหมด 164 ประเทศ) สาระสำคัญของ TFA - Section III กำหนดให้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการว่าด้วย การอำนวยความสะดวกทางการค้าขึน้ ใน WTO และให้สมาชิกแต่ละ ประเทศต้องจัดตัง้ คณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด้วยการอำนวยความ สะดวกทางการค้า (National Committee on Trade Facilitation: NCTF) เพื่อกำกับดูแลการปฏิบัติให้เป็นไปตามความตกลง TFA รวมทั้ง การระบุข้อยกเว้นของความตกลงและการเชื่อมโยงกลไก - Section I เป็นรายละเอียดของบทบัญญัติที่มีเนื้อหา การระงับข้อพิพาทของ WTO ส่วนใหญ่เกี่ยวกับงานศุลกากร1 สำหรับความตกลงด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้า (TFA) ของ WTO มีทั้งหมด 47 ข้อ แบ่งย่อยได้ 143 บทบัญญัติ เป็นความตกลงฯ เพื่อเพิ่มความสะดวกให้กับการนำเข้า-ส่งออก และผ่านแดนของสินค้า โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน (Sections) ได้แก่

- Section II เป็นความยืดหยุน่ ทีใ่ ห้กบั ประเทศกำลังพัฒนา และพัฒนาน้อยทีส่ ดุ สามารถจัดบทบัญญัตภิ ายในความตกลง TFA ตาม Section I ออกเป็น 3 ส่วน2 ทัง้ นี้ สมาชิกทีเ่ ป็นประเทศพัฒนา แล้วจะต้องปฏิบัติตามพันธกรณีทุกบทบัญญัติทันทีที่ความตกลง มีผลใช้บังคับ เนือ้ หาสำคัญ อาทิ 1) ให้มกี ารตรวจปล่อยสินค้าเน่าเสียง่ายในระยะเวลาอันสัน้ 2) เก็บค่าธรรมเนียมทีเ่ กีย่ วข้องกับพิธกี ารศุลกากร ไม่เกินกว่าต้นทุนในการให้บริการ และ 3) ให้มรี ะบบการควบคุมความเสีย่ ง เพื่อเน้นการตรวจที่เข้มงวดในส่วนที่มีความเสี่ยงสูงและให้ความสะดวกในส่วนที่ความเสี่ยงต่ำ 1

ได้แก่ 1) บทบัญญัติที่พร้อมปฏิบัติทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ (Category A) 2) บทบัญญัติที่ต้องการระยะเวลาปรับตัวก่อนการปฏิบัติ (Category B) และ 3) บทบัญญัติที่ต้องการความช่วยเหลือ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติ (Category C) 2

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

11


TFA เป็นการระบุบทบัญญัติให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความอำนวยความสะดวกในการนำเข้า ส่งออกสินค้า เช่น การเผยแพร่กฎระเบียบทั้งมวลที่จำเป็นในการนำเข้า ส่งออก และผ่านแดน การจัดทำคำวินจิ ฉัยล่วงหน้าสำหรับการจำแนกพิกดั ศุลกากรและการประเมินราคาศุลกากร การให้ทบทวนหรืออุทธรณ์ ความเห็นของศุลกากร การกำหนดให้เก็บค่าธรรมเนียมทีเ่ กีย่ วข้อง กับพิธกี ารศุลกากรไม่เกินกว่าต้นทุนในการให้บริการ และให้มรี ะบบ การควบคุมความเสี่ยงเพื่อเน้นการตรวจที่เข้มงวดในส่วนที่มี ความเสี่ยงสูงและอำนวยความสะดวกในส่วนที่ความเสี่ยงต่ำ เป็นต้น นอกจากนี้ TFA ยังกำหนดให้ประเทศสมาชิกแต่ละรายต้อง จัดตั้งหรือคงไว้ซึ่ง NCTF หรือให้กลไกที่มีอยู่แล้วในทำหน้าที่ ดำเนินการทั้งในเรื่องการประสานงานภายในประเทศ และการนำ บทบัญญัติไปปฏิบัติ ทั้งนี้ ให้แล้วเสร็จก่อนความตกลงฯ มีผลใช้ บังคับ การดำเนินการของไทย 1. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้จดั ประชุมหารือหน่วยงานในประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อแจ้งข้อมูล การสรุปผลการเจรจาความตกลง TFA และหารือเกี่ยวกับการจัด กลุ่มบทบัญญัติฯ เป็น Category A, B และ C ตามความพร้อม ในการปฏิบัติ รวมทั้งการจัดทำ Notification of Category A Commitment แจ้งไปยัง WTO - Category A: คณะรักษาความสงบแห่งชาติมีมติ เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม 2557 ให้ความเห็นชอบการแจ้ง Category A จำนวน 123 บทบัญญัติ (ประมาณ 87% ของเนื้อหาทั้งหมด) ซึ่งคณะผู้แทนถาวรไทยประจำองค์การการค้าโลก (คผท.) ได้แจ้ง WTO แล้วเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2557 หลังจากนั้นได้มีการ ปรับปรุง Category A เพิ่มขึ้นอีก 8 บทบัญญัติ (ทำให้ Category A ของไทยคิดเป็นประมาณ 92% ของเนื้อหาทั้งหมด) ซึ่ง คผท. ได้แจ้งเพิ่มเติมไปยัง WTO เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2559 - Category B: บทบัญญัตทิ ต่ี อ้ งการระยะเวลาปรับตัว ก่อนการปฏิบัติของไทย อาทิ การเปิดโอกาสให้ทำการตรวจซ้ำ (second test) ในกรณีที่สินค้าอาหาร เครื่องดื่มและอาหารสัตว์ ที่นำเข้าไม่ผ่านมาตรฐานการตรวจคุณภาพในการตรวจครั้งแรก การให้ผอู้ ทุ ธรณ์คำสัง่ ศุลกากรสามารถนำเรือ่ งสูศ่ าลหรือหน่วยงาน ที่เหนือขึ้นไปได้ หากกรมศุลกากรพิจารณาการอุทธรณ์ ล่าช้า 12

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


เกินควร การเปิดโอกาสให้มีการยื่นบัญชีสินค้าทางเรือได้ล่วงหน้า ก่อนที่เรือสินค้าจะมาถึง และเสรีภาพในการผ่านแดน ซึ่งอาจต้อง แก้ไขกฎหมายระดับพระราชบัญญัตบิ างฉบับ อาทิ พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469 และ พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 และกำหนดระยะ เวลาการปรับตัวอยู่ระหว่าง 3-7 ปี โดยหน่วยงานที่ต้องการการ ปรับตัวมากที่สุดคือ กรมศุลกากร เนื่องจากเป็นหน่วยงานหลักที่ จะต้องนำความตกลงไปปฏิบัติ - Category C: ไทยไม่มีบทบัญญัติที่ต้องการความ ช่วยเหลือเพื่อสร้างความพร้อมในการปฏิบัติ 2. คณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ให้ความ เห็นชอบเมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2558 และวันที่ 28 สิงหาคม 2558 ตามลำดับ ตามข้อเสนอของกระทรวงพาณิชย์ในการให้การยอม รับพิธสี ารแก้ไขฯ เพือ่ ผูกพันไทยตามความตกลงว่าด้วยการอำนวย ความสะดวกทางการค้า ให้ความเห็นชอบ Category A และ B และระยะเวลาที่ต้องการปรับตัว

เช่น กรมศุลกากร และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา อยู่ระหว่างการปรับปรุงกฎระเบียบภายใน คาดว่าจะแล้วเสร็จ ก่อนการบังคับใช้ความตกลงฯ 5. กรมเจรจาฯ ได้จัดประชุมเพื่อหารือการจัดตั้ง NCTF ตามทีก่ ำหนดไว้ในพันธกรณีขอ้ ที่ 23.23 และนำเสนอแนวทางตาม มติที่ประชุมต่อปลัดกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งได้ให้ความเห็นชอบการ จัดตัง้ ในลักษณะการตัง้ อนุกรรมการหรือคณะทำงานเพือ่ ดูแลการ นำบทบัญญัตขิ อง TFA ไปปฏิบตั ติ ามพันธกรณี ภายใต้การกำกับดูแล ของกรมเจรจาฯ และให้ดำเนินการภายใต้คณะกรรมการพัฒนา การค้าระหว่างประเทศ (พกค.) ซึ่งจะรายงานผลการประชุม/ ดำเนินการต่อนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าทีห่ ลัก คือ 1) ควบคุมการ ปฏิบัติตามพันธกรณีของ TFA และ 2) การอำนวยความสะดวก ในการประสานงานของหน่วยงานภายในประเทศ

3. เมือ่ วันที่ 5 ตุลาคม 2558 คผท. ได้นำส่งตราสารการยอมรับ (Instrument of Acceptance) ให้แก่ WTO เพื่อแจ้งการยอมรับ พิธีสารแก้ไขฯ แล้ว โดยไทยเป็นสมาชิกลำดับที่ 21 จากสมาชิก WTO ทั้งหมด 164 ประเทศ 4. กรมเจรจาฯ ได้จดั การประชุมเป็นระยะ เพือ่ เตรียมการ ดำเนินการตาม Category A ร่วมกับผู้แทนจากหน่วยงานที่ได้ให้ การยอมรับ Category A ไว้ โดยได้หารือถึง 1) ความพร้อมของแต่ละ หน่วยงานในการปฏิบตั ติ ามพันธกรณี ซึง่ ส่วนใหญ่ยนื ยันว่าสามารถ ปฏิบัติได้ทันทีที่ความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ ทั้งนี้ บางหน่วยงาน

ปจจ�บัน WTO กำลังผลักดันให้ประเทศสมาชิกที่เหลือ ให้การยอมรับความตกลงฯ คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ได้ ภายในป 2560 และจะสามารถช่วยลดต้นทุน ทางการค้าระหว่างประเทศได้กว่า 13.2% Each Member shall establish and/or maintain a national committee on trade facilitation or designate an existing mechanism to facilitate both domestic coordination and implementation of the provisions of this Agreement. 3

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

13


จับตานโยบาย เศรษฐกิจจากผู้นำใหม่ ของฟิลิปปินส์ โดย วรท ชตะเสวี สำนักอาเซียน

เมือ่ วันที่ 9 พฤษภาคม 2559 ฟิลปิ ปินส์ได้จดั การ

เลือกตัง้ ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี สมาชิกวุฒสิ ภา และสมาชิกรัฐสภา ซึ่งนายโรดริโก โรอา ดูเตอร์เต ได้รับ เลือกเป็นประธานาธิบดีคนที ่ 16 ของฟิลปิ ปินส์ และได้เข้ารับ ตำแหน่งเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 โดยนายดูเตอร์เต เป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองดาเวา ซึง่ มีชอ่ื เสียงมาจาก นโยบายที่แข็งกร้าวในการปราบปรามอาชญากรรม ปัญหาการทุจริต และขบวนการค้ายาเสพติด และมีผลงาน อั น โดดเด่ น ที ่ ส ามารถสร้ า งชื ่ อ เสี ย งให้ เ มื อ งดาเวา ได้รบั การกล่าวขานว่า เป็นหนึง่ ในเมืองทีม่ คี วามปลอดภัย ที่สุดในโลก1

ย้อนหลัง (2554-2558) อยู่ที่ร้อยละ 6.2 ซึ่งสูงที่สุดในบรรดา ประเทศสมาชิกอาเซียน จึงเป็นแรงกดดันต่อนายดูเตอร์เตที่ไม่มี พื ้ น ฐานและภู ม ิ ห ลั ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ รวมทั ้ ง ในช่ ว งของ การหาเสียงก็ไม่มีการกล่าวถึงนโยบายทางด้านเศรษฐกิจอย่าง ชัดเจน เพียงแต่เน้นไปที่การลดปัญหาความยากจน และลดความ เหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชาชน

อย่างไรก็ดี ภายหลังจากการประกาศผลการเลือกตั้งและ นายดู เ ตอร์ เ ตได้ ร ั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด แล้ ว นายดู เ ตอร์ เ ตได้ ออกมาประกาศจัดตั้งทีมเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการ ที่เคยทำงานให้กับรัฐบาลของนายเบนิกโน นอยนอย อาคีโน จึงเป็นที่คาดการณ์ว่า นโยบายทางด้านเศรษฐกิจภายใต้รัฐบาล ชุดใหม่ของนายดูเตอร์เต จะไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั สำคัญ รวมทัง้ น่าจะมีการสานต่อนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดทีแ่ ล้วด้วย นอกจากนี้ นายคาร์ลอส โดมิงเกซ อดีตรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและคนสนิทของนายดูเตอร์เต ซึ่งปัจจุบันดำรง นักวิเคราะห์ต่างประเทศส่วนใหญ่ ระบุว่า จากผลงาน ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ออกมาเปิดเผยถึง การปราบปรามอาชญากรรมทีส่ ร้างความปลอดภัยให้กบั ชนชัน้ กลาง แผนการด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลนายดูเตอร์เต 8 ประการ และผูม้ รี ายได้สงู การจัดการปัญหาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ซึง่ เป็นหนึง่ (8-Point Economic Plan) ดังนี้ ในสาเหตุสำคัญ ทีฉ่ ดุ รัง้ เศรษฐกิจของประเทศ รวมทัง้ บุคลิกส่วนตัว 1) ดำเนินการสานต่อนโยบายเศรษฐกิจระดับมหภาคของ ที่โดดเด่นและพูดจาอย่างตรงไปตรงมา จึงทำให้นายดูเตอร์เต ได้รบั ความนิยมจากประชาชนฟิลปิ ปินส์อย่างท่วมท้น และได้รบั เลือก รั ฐ บาลเดิ ม ที ่ ใช้ อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บ ั น และปฏิ ร ู ป การจั ด เก็ บ ภาษี เป็นผู้นำคนใหม่ของประเทศ อย่างไรก็ตาม นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่ ด้วยการปฏิรูประบบราชการภายในของหน่วยงานจัดเก็บภาษี ยั ง กั ง วลกั บ ความสามารถในการกำกั บ ดู แ ลเศรษฐกิ จ ระดั บ 2) เร่งรัดการใช้จ่ายในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ประเทศ เนื ่ อ งจากนายดู เ ตอร์ เ ตมี บ ุ ค ลิ ก แข็ ง กร้ า วและเป็ น โดยการแก้ไขปัญหาคอขวดทีส่ ำคัญ และคงเป้าหมายของการกำหนด นักการเมืองท้องถิ่นมาตลอดชีวิต อีกทั้ง ผลงานด้านเศรษฐกิจ ค่าใช้จ่ายในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 5 ของรัฐบาลชุดที่แล้วได้สร้างไว้อย่างประสบความสำเร็จ โดยทำให้ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) เพื่อลดความไม่มี อัตราการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจของฟิลปิ ปินส์เฉลีย่ ในรอบ 5 ปี ประสิทธิภาพของ Public-Private Partnerships (PPP) จากข้อมูลของเว็บไซต์ numbeo.com อย่างไรก็ตาม หลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตถึงความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์นี้ เนื่องจากใช้การสำรวจข้อมูลจากนักท่องเที่ยวที่เข้าไปยังเมืองต่างๆ โดยไม่ได้อ้างอิงจาก ข้อมูลของภาครัฐ 1

1

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


3) สร้างความน่าสนใจในการลงทุนของฟิลิปปินส์ต่อ นักลงทุนต่างประเทศ และปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดการ แข่งขันในการประกอบธุรกิจ นอกจากนี้ ยังตั้งเป้าหมายลดระดับ อาชญากรรมและเพิ่มการรักษาความปลอดภัยแก่นักธุรกิจและ ผู้บริโภค เพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างประเทศ 4) สนับสนุนเกษตรกรรายย่อยในการเพิม่ ผลผลิตและ ปรับปรุงช่องทางในการเข้าถึงตลาด สร้างระบบชลประทาน และให้การสนับสนุนด้านธุรกิจแก่เกษตรกร รวมทั้ง ส่งเสริมการ ท่องเที่ยวในพื้นที่ชนบท 5) ระบุสาเหตุของปัญหาด้านระบบบริหารและจัดการ ที่ดินของประเทศ 6) เสริมสร้างระบบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานและให้ทนุ การ ศึกษาสำหรับนักเรียนระดับอุดมศึกษา เพือ่ พัฒนาทักษะและความ สามารถของผู้ที่จะเป็นแรงงานในอนาคต ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของการจ้างงานในภาคเอกชน

กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส

ทางรายได้ของประชาชนซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่รัฐบาลชุดที่แล้ว 7) ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีโดยการอ้างอิงจาก ของนายเบนิกโน นอยนอย อาคีโน ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้ อัตราเงินเฟ้อ นอกจากนี้ นายคาร์ลอส โดมิงเกซ ยังให้สัมภาษณ์กับนักข่าว 8) ขยายและปรับปรุงการดำเนินงานของโครงการ ฟิลปิ ปินส์วา่ รัฐบาลควรจะลดภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล จากร้อยละ 30 Conditional Cash Transfer (CCT)2 เป็น 25 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จะเห็นได้ว่า รัฐบาลใหม่ของฟิลิปปินส์ยังไม่มีความชัดเจน ทัง้ นี้ ในปี 2558 เศรษฐกิจของฟิลปิ ปินส์ขยายตัวร้อยละ 5.8 ของนโยบายทางด้านเศรษฐกิจเท่าที่ควร โดยแนวทางส่วนใหญ่ ปัจจัยหลักมาจากภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และภาคส่งออก จะเน้นไปที่การลดปัญหาความยากจน และลดความเหลื่อมล้ำ ที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ง ช่วยชดเชยการใช้จ่ายภาครัฐที่ลดลง

นายคารลอส โดมิงเกซ รัฐมนตรีกระทรวงการคลัง ฟลิปปนส

และจากข้อมูลของ The Economist Intelligence Unit (EIU) ระบุว่า อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจในช่วง 3 เดือนแรก (มกราคม - มีนาคม) ของปี 2559 เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกัน ของปี 2558 ร้อยละ 6.9 ซึง่ มาจากการบริโภคภายในประเทศและ การลงทุนของภาคเอกชน รวมทั้ง แรงสนับสนุนจากแรงงาน ฟิลิปปินส์ที่ส่งเงินกลับเข้าประเทศอย่างต่อเนื่อง จะช่วยกระตุ้น การใช้จ่ายของภาคครัวเรือนให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม EIU วิเคราะห์ว่า อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจฟิลิปปินส์ในปี 2559 จะอยู่ร้อยละ 5.8 เนื่องจากนักลงทุนส่วนใหญ่จะรอดูความชัดเจน ของนโยบายทางด้ า นเศรษฐกิ จ ของประธานาธิ บ ดี ด ู เ ตอร์ เ ต ซึง่ จะเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดทิศทางเศรษฐกิจของประเทศ

โครงการ Conditional Cash Transfer (CCT) มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ลดความยากจน ผ่านการทำโครงการสวัสดิการทีม่ เี งือ่ นไขซึง่ ขึน้ อยูก่ บั คุณสมบัตขิ องผูร้ บั ความช่วยเหลือ โดยรัฐบาล (หรือองค์กรการกุศล) จะโอนเงินให้แก่บุคคลที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น การเข้าเรียนในโรงเรียนของรัฐ การตรวจสุขภาพที่คลินิกเป็นประจำ การเข้ารับการฉีดวัคซีน 2

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

1


และส่งผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของนักลงทุนเป็นอย่างมาก ทัง้ นี้ (2554-2558) มีมลู ค่าเฉลีย่ ปีละ 7,884.37 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอตั รา EIU คาดการณ์วา่ ในช่วงปี 2559 ถึง 2563 เศรษฐกิจของฟิลปิ ปินส์ การขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 3.26 ต่อปี โดยในช่วง 6 เดือนแรก จะเติบโตเฉลี่ยประมาณร้อยละ 5.2 (ม.ค.-มิ.ย.) ของปี 2559 การค้ารวมไทย-ฟิลิปปินส์ มีมูลค่า สำหรับประเทศไทย ฟิลปิ ปินส์ถอื เป็นประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญ 4,403.89 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ เพิ ่ ม ขึ ้ น จากช่ ว งเวลาเดี ย วกั น โดยในปี 2558 ฟิลิปปินส์เป็นคู่ค้าอันดับที่ 5 ของไทยในอาเซียน ของปีก่อนร้อยละ 2.23 โดยไทยเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 1,871.66 และเป็ น คู ่ ค ้ า อั น ดั บ ที ่ 14 ในโลก ในระยะ 5 ปี ท ี ่ ผ ่ า นมา ล้านเหรียญสหรัฐ

บทวิเคราะห์ จากแนวทางนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ที่ยังไม่มีความชัดเจน นักลงทุนจากต่างประเทศน่าจะยังชะลอ การลงทุนและเฝ้าดูทา่ ทีเพิม่ เติมของทีมเศรษฐกิจของนายดูเตอร์เต ซึง่ อาจทำให้เศรษฐกิจฟิลปิ ปินส์ไม่ขยายตัวเหมือนในช่วง 5 ปีหลังสุด ทั้งนี้ ในระยะสั้น นโยบายลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ รวมทั้ง ลดภาษี นิตบิ คุ คล จะทำให้รายได้ของประชาชนเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้การบริโภค ของคนฟิลิปปินส์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะเป็นโอกาสสำหรับ ผูป้ ระกอบการไทยในการส่งออกสินค้าไปฟิลปิ ปินส์ เนือ่ งจากสินค้าไทย โดยเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นทีย่ อมรับของชาวฟิลปิ ปินส์ทง้ั ในด้านคุณภาพและราคา

ในระยะยาว การเก็บภาษีที่ลดลงมีแนวโน้มจะทำให้เกิด ปัญหาการขาดดุลงบประมาณ ซึง่ จะส่งผลต่อการบริหารเศรษฐกิจ ของประเทศ ทั้งนี้ หากการกระตุ้นให้เกิดการใช้จ่ายในโครงการ โครงสร้างพื้นฐานแบบ PPP ที่ภาครัฐร่วมกับภาคเอกชนใน การลงทุนประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย ก็จะเป็นปัจจัยบวกที่ สำคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ และสร้างการจ้างงาน ซึ ่ ง จะทำให้ ร ะดั บ รายได้ ข องคนฟิ ล ิ ป ปิ น ส์ ส ู ง ขึ ้ น ก่ อ ให้ เ กิ ด การบริโภคที่เป็นปัจจัยขั้นพื้นฐาน ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศในระยะยาว และเป็นโอกาสสำหรับนักลงทุนต่างชาติรวม ทั้งประเทศไทยในการเข้าไปลงทุน อย่างไรก็ตาม ปัญหาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ยังคงเป็น ปั ญ หาสำคั ญ ที ่ อ าจจะส่ ง ผลให้ ก ารดำเนิ น งานต่างๆ ไม่เป็นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ และถึงแม้นายดูเตอร์เตจะประกาศ ทำสงครามกับปัญหาการทุจริต แต่การจัดการที่รุนแรง อาจจะส่ ง ผลกระทบที ่ ค าดไม่ ถ ึ ง ได้ ดั ง นั ้ น ไทยในฐานะ ประเทศคู ่ ค ้ า สำคั ญ และเป็ น สมาชิ ก ร่ ว มกั น ในอาเซี ย น จึ ง ยั ง คงต้ อ งเฝ้ า ติ ด ตามสถานการณ์ ข องฟิ ล ิ ป ปิ น ส์ อย่างใกล้ชิดต่อไป

ที่มา :

16

The Economist Intelligence Unit. Information and Communication Technology Center (Ministry of Commerce) with Cooperation of the Customs Department, Thailand. The Diplomat. “Philippines: President-Elect Duterte Prompts Concern Over Economic Policy”. The Diplomat. “Philippines: Duterte’s Policies Take Shape”. Inquirer.net. “Davao City improves to 5th in ranking of world’s safest cities”. Philstar Global. “5-year average growth best since 1970s: Philippines primed for inclusive growth”. CNN Philippines. “PH is best economy in Southeast Asia”. CNN Philippines. “LIST: Duterte’s 8-point economic agenda”.

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


เสด็จฯ ทางชลมารค ทรงเปิด 5 โครงการชลประทาน

ธ สถิตในดวงใจ

17


ภาพเรือพระที่นั่งอังสนาที่แล่นผ่านโค้งน้ำเจ้าพระยาตรงสะพานพระนั่งเกล้าพร้อมกับสายฝนเริ่ม โปรยปรายลงมาเมื่อวันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม 2555 ยังอยู่ในความทรงจำของประชาชนที่เฝ้ารอรับ เสด็จ 2 ฝัง แม่นำ้ ย่านนนทบุรอี ย่างไม่รลู้ มื เลือน ต่างพร้อมใจกันเปล่งเสียงถวายพระพรดังกึกก้อง ด้วยจิตใจที่เปยมไปด้วยความจงรักภักดี ทรงพระเจริญ ทรงพระเจริญ ทรงพระเจริญ

วั น นั ้ น พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู ม ิ พ ลอดุ ล ยเดช พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค ด้วยเรือยนต์พระที่นั่งอังสนาเพื่อทรงเปิด 5 โครงการชลประทานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่กรมชลประทาน สามเสน ทรงเสด็จออกจากบริเวณท่าเทียบเรือสมาคมศิษย์เก่าแพทย์ศริ ริ าช ไปยังบริเวณเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยผ่านสถานที่สำคัญต่างๆ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา อาทิ สะพานพระปิ่นเกล้า สะพานพระราม 8 สะพานกรุงธนบุรี กรมชลประทาน สะพานพระราม 7 ผ่านหน้าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ สะพานพระราม 5 ท่าน้ำนนทบุรี กรมราชทัณฑ์ สะพานพระนั่งเกล้า กระทรวงพาณิชย์ วัดเชิงเลน วัดกลางเกร็ด วัดฉิมพลี แล้ววนซ้ายรอบเกาะเกร็ด ซึ่งมีเจดีย์หนีน้ำ วัดปรมัยยิกาวาส เป็นสัญลักษณ์ ก่อนวกกลับมายังบริเวณหน้า กรมชลประทาน สามเสน เขตดุสิต

1

ธ สถิตในดวงใจ


เมื่อเสด็จถึงในเวลา 19.05 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประทับบนเรือพระที่นั่ง อังสนาทอดพระเนตรการแสดงสื่อผสม “น้ำสร้างชีวิต” โดยใช้เทคนิคแสงสีเสียงที่ทันสมัย ถ่ายทอดเรื่องราว ในลักษณะไตรวิชั่นฉายไปบนจอวีดิทัศน์ขนาดใหญ่ที่ติดตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จากนั้นทรงประกอบพิธีเปิด 5 โครงการชลประทาน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

ธ สถิตในดวงใจ

19


โครงการอุโมงค์ผันน้ำลำพะยังภูมิพัฒน์ ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ โครงการนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของโครงการพัฒนาลุม่ น้ำ ลำพะยังตอนบน อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ โครงการนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดำริ เมือ่ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2535 เมือ่ ครัง้ เสด็ จ พระราชดำเนิ น เยี ่ ย มราษฎรที ่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ทรงเห็นสภาพความลำบากยากแค้น และขาดแคลนน้ำของราษฎร จึงได้พระราชทานแนว พระราชดำริให้สร้างโครงการพัฒนาลุ่มน้ำลำพะยัง ตอนบนและได้ ก ่ อ สร้ า งอุ โ มงค์ ผ ั น น้ ำ เมื ่ อ ปี 2548 แล้วเสร็จในปี 2550 สามารถผันน้ำมาช่วยเหลือพื้นที่ การเกษตรด้ า นท้ า ยอ่ า งเก็ บ น้ ำ ลำพะยั ง ตอนบน 12,000 ไร่ “อุโมงค์ผันน้ำลำพะยังภูมิพัฒน์” นี้มี ความหมายว่ า “อุ โ มงค์ ผ ั น น้ ำ ที ่ น ำความเจริ ญ มาสู่แผ่นดินลุ่มน้ำลำพะยัง”

โครงการประตูระบายน้ำธรณิศนฤมิต จังหวัดนครพนม โครงการประตูระบายน้ำธรณิศนฤมิต จังหวัด นครพนม เป็นประตูระบายน้ำที่สำคัญที่สุดในประตู ระบายน้ำทัง้ 7 แห่ง ของโครงการพัฒนาลุม่ น้ำก่ำ อันเนือ่ ง มาจากพระราชดำริ เกิดขึ้นหลังจากที่พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู ม ิ พ ลอดุ ล ยเดชทรงทราบถึ ง ความยากลำบากของราษฎรในพื้นที่ที่ต้องประสบกับ ปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง สลับกันเรื่อยไป พระองค์จึง พระราชทานแนวพระราชดำริให้พฒ ั นาลุม่ น้ำก่ำอันเป็น ลุ่มน้ำย่อยของแม่น้ำโขง ซึ่งมีหนองหาน (จ.สกลนคร) และลำน้ำก่ำ เป็นแหล่งน้ำต้นทุนทีส่ ำคัญ กรมชลประทาน ได้ดำเนินการก่อสร้างจากภาพร่างลายพระหัตถ์ที่ พระองค์ ไ ด้ พ ระราชทานแก่ ก รมชลประทาน ทรง ร่ า งภาพร่ า งพระหั ต ถ์ ร ู ป แบบแนวทางการพั ฒ นา ที่เรียกว่า “ตัวยึกยือ” ขึ้น

20

ธ สถิตในดวงใจ


ลักษณะภาพร่างพระหัตถ์รูปแบบแนวทางการพัฒนา ที่เรียกว่า “ตัวยึกยือ” มี 5 ส่วน ได้แก่

1. ส่วนหัว หมายถึง หนองหานต้นกำเนิดลำน้ำก่ำ

2. ส่วนกระดูกสันหลัง คือ ลำน้ำก่ำ

3. ส่ ว นข้ อ ที ่ เ ป็ น ปล้ อ งๆ หมายถึ ง อาคาร บังคับน้ำ 4. สว่ นขอบลำตัว เปรียบเสมือนคลองระบายน้ำ ที่ไหลคู่ขนานไปกับลำน้ำก่ำ

5. ส่วนหาง หมายถึง ลำน้ำโขง

ประตูระบายน้ำธรณิศนฤมิต” เริม่ ดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี 2550 แล้วเสร็จในปี 2552 สามารถสนับสนุน พืน้ ทีก่ ารเกษตรในจังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม จำนวน 165,000 ไร่ และช่วยบรรเทาอุทกภัยในฤดูนำ้ หลาก ชื่อของ “ประตูระบายน้ำธรณิศนฤมิต” มีความหมายว่า “ประตูระบายน้ำที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริสร้างขึ้น”

โครงการเขือ่ นแควน้อยบำรุงแดน อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ ตำบลคันโช้ง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โครงการนีเ้ กิดขึน้ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปิดเขือ่ น นเรศวรและทรงเยีย่ มเยียนราษฎร ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2525 ที่จังหวัดพิษณุโลก พระองค์ได้พระราชทาน พระราชดำริวา่ ควรพิจารณาวางโครงการและก่อสร้าง เขื่อนกักเก็บน้ำแควน้อย ทีอ่ ำเภอวัดโบสถ์ เพือ่ จัดหาน้ำ ให้ราษฎรโดยเร่งด่วนและให้เก็บน้ำอย่างเต็มที่ เพือ่ บรรเทา อุทกภัยในเขตลุ่มน้ำแควน้อยตอนล่างเพื่อการอุปโภค บริโภค และเพื่อให้ราษฎรสามารถทำการเพาะปลูกได้ ตลอดทัง้ ปีอย่างสมบูรณ์ เป็นโครงการเขื่อนเก็บกักน้ำ ที่ก่อสร้างขึ้นในแม่น้ำแควน้อย ดำเนินการเมื่อปี 2548 แล้วเสร็จในปี 2552 เก็บกักน้ำได้ 939 ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถส่งน้ำไปยังพืน้ ทีเ่ พาะปลูก จำนวน 155,100 ไร่ ได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ต ลอดทั ้ ง ปี รวมทั ้ ง ช่ ว ยบรรเทา อุทกภัยในเขตลุ่มน้ำแควน้อยตอนล่าง และพื้นที่ลุ่มน้ำ เจ้ า พระยาบางส่ ว น “เขื ่ อ นแควน้ อ ยบำรุ ง แดน” มีความหมายว่า “เขื่อนแควน้อยที่ทำให้มีความเจริญ ในเขตพื้นที่”

ธ สถิตในดวงใจ

21


โครงการประตูระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จากปัญหาดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้พระราชทานแนวพระราชดำริ ให้หาทางพิจารณาแก้ปญ ั หาทั้งน้ำท่วม น้ำแล้ง น้ำเค็ม โดยการก่อสร้างประตูระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิขน้ึ รวมถึง ประตูระบายน้ำอื่นๆ ระบบระบายน้ำ ระบบ กักเก็บน้ำ และระบบส่งน้ำอื่นๆ การก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี 2542 ทำหน้าที่แยกน้ำเค็มและน้ำจืดออกจากกัน สามารถเก็บกักน้ำจืดเพือ่ ให้ราษฎรสามารถทำการเกษตร ในฤดูฝน 480,000 ไร่ และ ในฤดูแล้งสามารถทำนาปรัง โครงการนี้ เป็นหัวใจสำคัญของโครงการพัฒนา เพิ่มขึ้นจากเดิม 52,000 ไร่ เป็น 200,000 ไร่ รวมทั้ง พื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ช่วยบรรเทาอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ ่ ง เดิ ม ลุ ่ ม น้ ำ ปากพนั ง คื อ “อู ่ ข ้ า วอู ่ น ้ ำ ” แหล่ ง หลั ง โครงการพระราชดำริ ป ากพนั ง เกิ ด ขึ ้ น ความอุดมสมบูรณ์ของพืน้ ที่ จ.นครศรีธรรมราช จ.พัทลุง เป็นเหมือนการฟื้นชีวิตใหม่ให้กับชาวบ้านที่นี่ เพราะ และ จ.สงขลา แต่เมื่อเวลาเปลี่ยนไป ลุ่มน้ำปากพนังที่ สามารถป้ อ งกั น การรุ ก ล้ ำ ของน้ ำ เค็ ม ไม่ ใ ห้ เข้ า ไป เคยอุดมสมบูรณ์ประสบปัญหาสิง่ แวดล้อม ระบบนิเวศ ทำลายพื้นที่เกษตร อีกทั้งยังมีแหล่งเก็บกักน้ำจืดและ ไม่สมดุล น้ำเปรี้ยวจากป่าพรุแพร่กระจาย น้ำเค็ม ลำน้ำสาขาไว้เพือ่ การอุปโภคบริโภค เพือ่ การเพาะปลูก รุกล้ำน้ำจืด ทำให้น้ำจืดที่เคยมีใช้ปีละ 8-9 เดือน และยังช่วยบรรเทาเรื่องอุทกภัยอีกด้วย ลดเหลือ 3 เดือน นอกจากนี้ ยังประสบปัญหาเรื่อง ชื่อ “ประตูระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิ” นี้ น้ำเสียจากการทำนากุ้งของชาวบ้าน รวมถึง ปัญหา แหล่งชุมชนสร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำทำให้มีช่องทาง มีความหมายว่า “ประตูระบายน้ำทีป่ ระสบความสำเร็จ ในการแยกน้ำจืดน้ำเค็ม” ระบายไม่เพียงพอ

22

ธ สถิตในดวงใจ


โครงการเขื่อนขุนด‹านปราการชล จังหวัดนครนายก โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนา ลุ ่ ม น้ ำ นครนายก เมื ่ อ วั น ที ่ 4 ธั น วาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ พ ระราชทานพระราชดำริ ใ ห้ ก รมชลประทาน พิ จ ารณาวางโครงการและก่อสร้างเขื่อนขุนด่าน ปราการชลขึน้ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการพัฒนาลุม่ น้ำ นครนายก เพื่อให้ราษฎรทางตอนล่างมีน้ำไว้ใช้ ทำการเกษตรเพื่อการอุปโภคบริโภค ช่วยบรรเทา อุทกภัย อีกทั้งยังเพื่อการอุตสาหกรรมและเพื่อ การแก้ไขเรื่องดินเปรี้ยวอีกด้วย การก่อสร้างเมื่อปี 2542 แล้วเสร็จในปี 2547 เก็บกักน้ำได้ 224 ล้าน ลูกบาศก์เมตร สามารถส่งน้ำให้แก่ราษฎรที่อาศัยอยู่ บริเวณตอนล่างของลุม่ น้ำนครนายกเพือ่ ใช้ทำการเกษตร 185,000 ไร่ ตลอดจนมีน้ำใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค อุ ต สาหกรรมและเพื่อการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว รวมทั ้ ง ช่ ว ยบรรเทาอุ ท กภั ย ที ่ ม ั ก จะเกิ ด ขึ ้ น เป็ น ประจำทุกปีในเขตจังหวัดนครนายก ชือ่ “เขือ่ นขุนด่าน ปราการชล” มี ค วามหมายว่ า “เขื ่ อ นขุ น ด่ า น ซึ่งเป็นกำแพงน้ำ”

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงทำคุณประโยชน์อเนกอนันต์ต่อบ้านเมือง ทรงเป็นพระมิ่งขวัญของแผ่นดิน เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน และยังทรงเป็นแรงบันดาลใจ อันยิ่งใหญ่แก่ผู้ที่มุ่งมั่นจะเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติเพื่อเหล่า ประชาชนคนไทย ตลอดระยะเวลา 70 ป ล้วนมากมายสุดจะพรรณนา พระองค์จึงทรงเป็น พระมหากษัตริย์ที่ชาวไทยทั้งมวลจะต้อง “จาร�กไวในใจนิรันดร” ตราบชั่วกาลนาน

ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก : สำนักงาน กปร. , สำนักข่าว Khaosod

ธ สถิตในดวงใจ

23


โดย สำนักการค้าสินค้า


พูดถึงสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) หลายคนอาจยังไม่ทราบว่าเป็นสิ่งสำคัญในการเจรจาเปิดตลาดสินค้า ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีทต่ี อ้ งให้ความสำคัญเป็นพิเศษ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เห็นถึงความสำคัญในเรือ่ งนี้ จึงได้จดั โครงการลงพืน้ ทีศ่ กึ ษาดูงานภายใต้โครงการศึกษาศักยภาพสินค้าอ่อนไหวภายใต้กรอบ FTA (สินค้าเกษตร ปศุสตั ว์ ประมง และผลิตภัณฑ์) ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ โดยการศึกษาดูงานครัง้ นี้ เป็นการเสริมสร้างองค์ความรูค้ วามเข้าใจ สำหรับการปฏิบัติงานจริง โดยมีหน่วยงานต่างๆ ร่วมเดินทางไปด้วย ไม่ว่าจะเป็นกรมการค้าต่างประเทศ และกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เริม่ จากการศึกษาดูงานทีศ่ นู ย์พฒ ั นาโครงการหลวงตีนตก อ.แม่ออน ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาสาธิตและส่งเสริมการเพาะปลูกเห็ด หอมและกาแฟให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร มีรายได้และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น รวมถึงเป็น การฟื้นฟูและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยศูนย์แห่งนี้ก่อตั้งขึ้น ในปี 2524 ตัง้ อยูเ่ หนือระดับน้ำทะเลประมาณ 700 เมตร ปัจจุบนั มี การเพาะปลูกสินค้าเกษตรเมืองหนาวที่สำคัญ เช่น กาแฟพันธุ์ อาราบิก้า เห็ดหอม เห็ดโคนญี่ปุ่น เสาวรสหวาน คะน้าฮ่องเต้ และวานิลลา เป็นต้น โครงการหลวงนี้ ได้มีการจัดทำ Contract farming กับเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อควบคุมคุณภาพการผลิตและควบคุม ระดับสารเคมีที่เกษตรกรใช้ในการเพาะปลูก และยังมีการประกัน ราคาให้เกษตรกรด้วย ราคารับซื้อของโครงการหลวงจะอิงกับ ราคาตลาด แต่รับรองว่าไม่ต่ำไปกว่าต้นทุนการผลิตของเกษตรกร แน่นอน นอกจากนี้ ยังมีการทำวิจยั เพือ่ หาวิธลี ดต้นทุนการผลิตเพือ่ ให้เกษตรกรมีกำไรเพิ่มขึ้นอีก โดยเมื่อรับซื้อผลิตผลจากเกษตรกร แล้ว โครงการหลวงจะส่งสินค้าไปที่ส่วนกลาง เพื่อจำหน่ายให้กับ ผู้ประกอบการในประเทศ และส่งขายยังต่างประเทศ เช่น ฮ่องกง และญี่ปุ่น

â⤤Ã秡¡ÒÒÃÃËËÅÅÇǧ§µµÕÕ¹µ¡” “Èٹ ¾Ñ²¹¹ÒÒâÒâ¤

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

2


เรามุง่ หน้ากันต่อที่ บริษทั ลานนาเกษตรอุตสาหกรรม จำกัด มาที่นี่แล้วได้ความรู้มากทีเดียว แถมยังได้แลกเปลี่ยนข้อมูลดีๆ กับทางบริษัทฯ ด้วย และยังได้เข้าชมกระบวนการผลิตสินค้า ซึ่งบริษัทฯ มีผลิตภัณฑ์หลัก คือ ถั่วแระญี่ปุ่นแช่เย็นแช่แข็ง อาหารแช่แข็ง ผลไม้เชื่อม และผลไม้เคลือบช็อคโกแลต โดยใช้ ผลผลิตจากในประเทศเป็นหลัก แต่ถา้ วัตถุดบิ ในประเทศขาดแคลน ก็จะนำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ เรียกได้ว่าตลาดต่างประเทศ เป็นตลาดหลักของบริษัทฯ ถึงร้อยละ 88 ของการผลิตทั้งหมดเลย ทีเดียว ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ บริษัทฯอยู่ระหว่างการขยายตลาดไปอาเซียน ซึ่งจะใช้ ประโยชน์จากภาษีนำเข้าที่ลดลงของประเทศสมาชิกอาเซียน บ้านแม่กลางหลวง หลังจากเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เมือ่ ปลายปี 2558 ที่ผ่านมา ถือเป็นโอกาสดีที่บริษัทฯ จะสามารถแข่งขันในตลาด หลั ง จากนั ้ น เดินทางไปศึกษาดูงานต่อที่ ศ ู น ย์ บ ริ ก าร อาเซียนได้มากขึ้น ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์บา้ นแม่กลางหลวง และศูนย์พฒ ั นาโครงการ สถานที่สุดท้ายในการศึกษาดูงานคือ สำนักงานองค์การ หลวงอินทนนท์ ตัง้ อยูท่ ่ี อ.จอมทอง อยูเ่ หนือระดับน้ำทะเลประมาณ 1,200 - 1,300 เมตร โดยเกษตรกรในพื้นที่มีการเพาะปลูกสินค้า ส่งเสริมกิจการโคนม (อ.ส.ค.) ภาคเหนือตอนบน ทางคณะ เกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว กาแฟพันธุ์อาราบิก้า และผักผลไม้ ได้ศึกษากระบวนการการแปรรูปน้ำนมดิบเป็นผลิต ภั ณ ฑ์ น ม เมืองหนาวต่างๆ เช่น ซูกินี เซเลอรี่ มะเขือเทศ ลูกพลับ เสาวรส และผลผลิตของน้ำนมที่นี่ประมาณร้อยละ 90 เป็นการจำหน่าย พริกหวาน ผักกาดกวางตุ้ง กะหล่ำปลีรูปหัวใจ คะน้าฮ่องเต้ ให้ ก ั บ นมโรงเรี ย น ปั จ จุ บ ั น อ.ส.ค.พยายามขยายตลาดไป เป็นต้น ไม่ใช่แค่นี้ ที่นี่ยังมีการทดลองทำประมงบนพื้นที่สูง ต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา พวกปลาสเตอร์เจียน ที่นำมาผลิตคาเวียร์ และปลาเรนโบว์เทราต์ สปป.ลาว และเมี ย นมา โดยใช้ ส ิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี และยังส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ปลูกพืชเมืองหนาวอีกด้วย ภายใต้กรอบอาเซียน และกำลังขยายตลาดไปยังจีน เพราะว่ามีคู่แข่งน้อย สามารถทำตลาดได้ง่ายกว่าการปลูกพืช อืน่ ๆ ทีส่ ามารถปลูกได้ทว่ั ไปในประเทศ และไม่ตอ้ งห่วงเรือ่ งสารเคมี ตกค้าง เพราะสินค้าเกษตรจากโครงการหลวงเป็นสินค้าที่ใช้ สารเคมีอยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อร่างกาย ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่ โครงการหลวงสุ่มตรวจเป็นประจำ เกษตรกรที ่ เข้ า ร่ ว มโครงการ Contract farming กับโครงการหลวง จะต้องเข้ารับการอบรมเรื่องการใช้สารเคมี และการปฏิบัติการทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice: GAP) เป็นประจำทุกปี และเมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตได้แล้ว เกษตรกรจะต้องส่งผลผลิตให้กบั โครงการหลวงให้ครบตามจำนวน ที ่ ก ำหนดไว้ จากนั ้ น โครงการหลวงจะส่ ง สิ น ค้ า ไปยั ง โรงงาน ส่วนกลางเพื่อจำหน่ายต่อให้กับผู้ประกอบการภายในประเทศ (เช่น ร้านสุกี้ MK และโรงงานผลิตสินค้าดอยคำ) รวมถึงส่งขายยัง ต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ และญี่ปุ่น เป็นต้น 26

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1.4 หมื่น ล้านบาท ซึ่งได้จัดสรรสิทธิ์ให้เกษตรกรทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับรัฐบาล เช่น การจัดสรรโควตานมโรงเรียน แต่ถ้า รั ฐ บาลยกเลิ ก การสนั บ สนุ น จะทำให้ เ กิ ด ปั ญ หาหลายอย่ า ง ตามมา เช่น การปลูกหญ้า การขนส่ง และกิจกรรมนมโรงเรียน เป็นต้น สิ่งสำคัญที่จะช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิตน้ำนมดิบของไทย ได้แก่ การพัฒนาฟาร์มโคนมให้ได้มาตรฐานและมีการจัดการทีด่ ี การพัฒนา คุณภาพโคนมให้สามารถผลิตน้ำนมได้เพิม่ ขึน้ และการพัฒนาคุณภาพ อาหารสัตว์ ทั้งนี้ การขยายเป็นฟาร์มขนาดกลางและขนาดใหญ่ จะช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันได้ เพราะจะทำให้ต้นทุน การผลิ ต ลดลง ขณะนี ้ ม ี ก ารดำเนิ น การฟาร์ ม แปลงใหญ่ ใน อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี แล้ว นอกจากการศึ ก ษาดู ง านในสถานที ่ ต ่ า งๆ คณะได้ ร ั บ ฟังการบรรยายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับวิทยากรจาก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในเรื่องการเลี้ยงโคนม และการแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำนม นอกจากนี้ ยังได้รับความรู้ จากสหกรณ์ โ คนม เชี ย งใหม่ จำกั ด ซึ ่ ง ปั จ จุ บ ั น สหกรณ์ ฯ มีสมาชิกจำนวนประมาณ 170 ราย และมีศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ทัง้ หมด 5 ศูนย์ โดยรับซือ้ น้ำนมดิบประมาณ 30 ตัน/วัน และมีกำลัง การผลิตสูงสุด 60 ตัน/วัน แบ่งเป็นการผลิตนม UHT 35 ตัน/วัน และการผลิตนมพาสเจอร์ไรซ์ 25 ตัน/วัน ซึง่ มีตลาดในประเทศเป็น ตลาดหลัก โดยส่วนมากจะผลิตนมส่งให้โครงการนมโรงเรียน และส่งน้ำนมดิบให้บริษัท ซีพี-เมจิ จำกัด นอกจากนี้ สหกรณ์ฯ ยังอยูร่ ะหว่างการขยายตลาดไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน เช่น เมียนมา และมาเลเซีย

จากการศึกษาดูงานในครั้งนี้ ถือว่าคุ้มจริงๆ

ได้รับความรู้แน่นปก และยังได้เข้าใจในกระบวนการผลิต สินค้า แถมยังได้แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับผูป้ ระกอบการ และหน่วยงานต่างๆ รวมถึงการสร้างเครือข่ายระหว่าง ภาครั ฐ ภาคเอกชนภาควิ ช าการ และผู ้ ป ระกอบการ ที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเจรจาการค้า ให้เกิดประโยชน์สงู สุดได้อย่างแน่นอน แต่ทส่ี งั เกตอย่างหนึง่ คือ สินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงอย่างสินค้าเกษตรของโครงการหลวง ไม่ได้รับผลกระทบจากการเปิดตลาดภายใต้ FTA แต่กลับ ขยายการส่ ง ออกไปยั ง ตลาดต่ า งประเทศโดยใช้ ส ิ ท ธิ ประโยชน์ภายใต้ FTA ด้วย ดังนั้น การปรับตัวเพื่อรองรับ ผลกระทบจาก FTA จะต้องคำนึงถึงการพัฒนาคุณภาพ เป็ น สำคั ญ เพื ่ อ เพิ ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น มากกว่าการแข่งขันทางด้านราคา

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

27


28

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


สงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยหร�อไม โดย วรทร ชูส่งแสง สำนักการคาบริการและการลงทุน

สหภาพยุโรป (EU) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ใหญ่อันดับ 2 ของโลก รองจากสหประชาชาติ ถือเป็นองค์กรปกครองระหว่างประเทศที่มีลักษณะ พิเศษ โดยทำหน้าที่เสมือนเป็นรัฐแต่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งกฎหมายของ EU มีอำนาจ ผูกพันประเทศสมาชิก และมียูโรเป็นสกุลเงินกลางโดยมีสมาชิก 13 ประเทศ ใช้ร่วมกันเช่นเดียวกับการมีหนังสือเดินทางร่วมกัน


ลักษณะพิเศษของ EU การเป็นนิติบุคคลเดียวโดยไม่มีอาณาเขตชัดเจน ทำให้ สามารถเพิ่มจำนวนประเทศสมาชิกใหม่ได้ นอกจากนี้ การเป็น สมาชิก EU ไม่ได้ขึ้นกับเกณฑ์ด้านที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ดังเช่นกลุ่ม ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น แต่ อ าศั ย หลั ก เกณฑ์ ท ี ่ ด ้ า นค่ า นิ ย ม คือ การเป็นประเทศ “ประชาธิปไตย ยึดหลักนิตธิ รรม สิทธิมนุษยชน ปกป้องคนกลุม่ น้อย และมีเศรษฐกิจทีม่ กี ลไกแบบตลาด”

Brexit VS. EU Brexit มาจากคำว่า Britain + Exit คือ ความเสีย่ งทีส่ หราช อาณาจักร (United Kingdom หรือ Great Britain) ออกจาก สหภาพยุโรป (European Union) การดำเนินการเพื่อออกจาก EU ถูกนำมาใช้จริงเป็นครัง้ แรกในกรณีของอังกฤษ ซึง่ มีระยะเวลา 2 ปี ห ลั ง จากการลงประชามติที่จะให้มีผลอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ดี ผลกระทบที่จะเห็นได้ชัดเจนหลังการลงประชามติ คือ ผลกระทบทันทีตอ่ อัตราแลกเปลีย่ นและการลงทุน ทัง้ ในตลาดเงิน และตลาดทุนอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ และจะเริม่ มีผลกระทบต่อเนือ่ งถึง เศรษฐกิจของอังกฤษในเชิงลบ จากการทีภ่ าคการส่งออกต้องสูญเสีย สิทธิประโยชน์พิเศษทางภาษีในการส่งออกไปยังประเทศสมาชิก EU ซึ่งถือเป็นตลาดประเทศเพื่อนบ้านที่ใหญ่ที่สุด ทั้งยังส่งผลต่อ ความเชือ่ มัน่ ของประเทศทีท่ ำธุรกิจกับอังกฤษ ซึง่ จะทำให้มกี ารลด ขนาดธุรกิจลง หรือปรับเปลีย่ นฐานการผลิต หรือฐานทางธุรกิจไป ยังประเทศทางเลือกอื่น นอกจากนี้ สถานะของอังกฤษในปัจจุบัน ในการเป็นแหล่งการลงทุนที่เป็นที่นิยมของประเทศที่ 3 เพื่อใช้ อังกฤษเป็นประตูสู่ตลาด EU ก็จะลดลงตามไปด้วย เนื่องจากต่อ และอัตราแลกเปลี่ยน ส่วนในระยะยาว การออกจากเครือข่าย จากนี้ไปอังกฤษจะถูกตัดสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่เคยได้รับจาก ความเป็นตลาดเดียวกันใน EU ของอังกฤษ จะทำให้ผู้ผลิตสูญเสีย EU ทั ้ ง ๆ ที ่ ย ั ง ต้ อ งพึ ่ ง พาการส่ ง ออกจำนวนมากจากตลาด ความได้เปรียบในการส่งออกสินค้าไปยังอังกฤษ เช่นเดียวกับที่ ขนาดใหญ่นี้ ผู้ผลิตในอังกฤษก็จะสูญเสียความได้เปรียบในการส่งออกไป EU อย่างไรก็ดี ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกอาจไม่มากเท่ากับที่ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังภาวะเศรษฐกิจของอั ง กฤษ ประมาณการไว้ หากอังกฤษมีการปรับรูปแบบการค้าให้คล้ายกับ ที่จะเริ่มชะลอตัวลง จากการคาดการณ์ว่าภาคอุตสาหกรรม ที่นอร์เวย์หรือสวิตเซอร์แลนด์ทำกับกลุ่มประเทศยุโรป กล่าวคือ และภาคบริการโดยเฉพาะบริการทางการเงินจะย้ายฐานออกจาก ยังคงมีสิทธิประโยชน์พิเศษทางการค้าในระดับทวิภาคี ทั้งนี้ อังกฤษไปยังประเทศอืน่ ใน EU ทัง้ นีผ้ ลกระทบโดยรวมน่าจะส่งผล หากพิจารณาจากปัจจัยทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกสามารถ ในทางลบต่อตลาดหุน้ ทัว่ โลกมากกว่าแค่การอ่อนค่าของค่าเงินปอนด์ แบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ คือ ระยะสั้น ค่าเงินปอนด์ของอังกฤษ และค่าเงินยูโร อีกทั้งมีแนวโน้มทำให้เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวช้า จะมีแนวโน้มอ่อนค่าลงเนือ่ งจากความไม่มน่ั ใจในสถานะทางการเงิน ออกไปอีกโดยเฉพาะเศรษฐกิจยุโรป 30

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


Brexit จะมีผลกระทบกับไทยหรือไม่

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากข้อมูลความมีเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจของไทยพบว่า ไทยมีสัดส่วนของเงินสำรองต่อหนี้ต่าง ประเทศค่อนข้างสูง (แผนภาพที่ 1) และในปัจจุบันสัดส่วน ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (แผนภาพที่ 2) ก็มีค่าเป็นบวก ค่อนข้างมากดังนั้น เศรษฐกิจไทยจึงมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ ค่อนข้างมัน่ คง และมีศกั ยภาพเพียงพอในการรับมือกับวิกฤตการณ์ ทางเศรษฐกิจโลกที่อาจเกิดขึ้นได้

406.5

200

115.7

100

China

Thailand

Philippines

Peru

India

Brazil

Malaysia

Vietnam

Colombia

Mexico

Bulgaria

Romania

Indonesia

Turkey

0

South Africa

โดยหากพิจารณาสัดส่วนการค้าของไทยกับอังกฤษ พบว่า ไทยมีสัดส่วนการส่งออกไปยังอังกฤษเพียงร้อยละ 1.8 ของ การส่งออกรวมของไทยในปี 2558 ส่วนผลกระทบทางการเงินนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ประเมินเบื้องต้นว่า เนื่องจาก สถาบันการเงินของไทยมีความเชื่อมโยงทางการเงินโดยตรงกับ สถาบันการเงินในอังกฤษและประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปค่อนข้าง น้อย จึงคาดว่าผลกระทบทางตรงต่อระบบเศรษฐกิจการเงินไทย ผ่านช่องทางการเงินจึงไม่น่าจะมากนัก

FX reserves to external debt (2014, %)

300

แผนภาพที่ 1 สัดส่วนเงินทุนสำรองต่อหนี้ต่างประเทศ

-10

Current account balance (2015, % of GDP)

8.8

5 0 -5 -10

Colombia Turkey Peru South Africa Brazil Mexico Argentina Indonesia Chile India Romania Poland Vietnam Bulgaria China Philippines Malaysia Russia Korea Thailand

สำหรับประเทศไทยนั้น คาดว่า Brexit จะไม่มีผลกระทบ โดยตรงต่อการเจรจาการค้า หรือการจัดทำข้อตกลงเขตการค้าเสรี ระหว่างไทยกับอังกฤษ หรือสหภาพยุโรป เพราะอังกฤษไม่ใช่คู่ค้า สำคัญของไทยและไทยไม่ได้มปี ริมาณการส่งออกไปอังกฤษมากนัก อย่างไรก็ตาม ผลกระทบของ Brexit ต่อระบบเศรษฐกิจไทย อาจเกิดขึ้นได้ใน 2 ช่องทาง ได้แก่ ช่องทางการค้าและช่องทาง การเงิน ซึ่งจะมีผลกระทบที่ค่อนข้างจำกัด

แผนภาพที่ 2 สัดส่วนดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP ที่มา : IMF, World Bank ,ศูนย์วิจัยธนาคารกรุงศรี

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

31


อย่างไรก็ดี ไทยอาจได้รบั ผลกระทบทางอ้อมจากความผันผวน ในตลาดเงินตราต่างประเทศ และตลาดหุ้นทั่วโลกที่ปรับตัวลดลง จากความกังวลของนักลงทุนที่มีเพิ่มขึ้นและการปรับสถานะของ การลงทุนระหว่างประเทศของนักลงทุนเพือ่ ตอบสนองต่อสถานการณ์ ที่กำลังเปลี่ยนแปลง ซึ่งความผันผวนที่เพิ่มขึ้นของราคาสินทรัพย์ และเงินทุนในช่วงนี้ ถือเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ในระยะสั้น และเป็นทีค่ าดการณ์ไว้ลว่ งหน้าแล้ว โดยผูว้ เิ คราะห์ทางการเงินมองว่า นักลงทุนต่างชาติจะยังไม่ลดการลงทุนในตลาดการเงินของไทย หากอั ง กฤษสามารถสรุปข้อตกลงกับ EU ได้ในเวลาอันใกล้ จึงเชือ่ มัน่ ว่าในระยะสัน้ ตลาดการเงินของไทยจะไม่ประสบปัญหาเงิน ทุนไหลออก เนื่องจากในภาพรวมนักลงทุนต่างชาติมีการลงทุนใน ตลาดหุน้ และตลาดพันธบัตรไม่มากนัก ทัง้ นี้ ผูว้ เิ คราะห์ได้ให้ขอ้ เสนอแนะ ด้านกลยุทธ์การลงทุนโดยเน้นการลงทุนในหุน้ ไทย แต่ควรหลีกเลีย่ ง หุน้ ทีเ่ น้นการส่งออกและอิงรายได้ทเ่ี ป็นเงินปอนด์และยูโรนอกจากนี้ ยังแนะนำให้ลงทุนในหุน้ ไทยทีม่ กี ารเติบโตของรายได้ทช่ี ดั เจน เช่น กลุ่มผู้รับเหมาก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้างพื้นฐาน ท่องเที่ยว โรงพยาบาลและการบริโภคในประเทศ ในมุมมองของนักลงทุนรายใหญ่นั้น ถือเป็นโอกาสในการเข้าซื้อหุ้นราคาถูกหลังเกิดกระแส การเทขายหุ้นทัว่ โลก เพือ่ ทีจ่ ะพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส เนือ่ งจากมองว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นเพียงปัจจัย หนึ่งที่ไม่ได้ส่งผลกระทบอะไรมากนักต่อบริษัทจดทะเบียนของไทยโดยอาจได้รับผลกระทบเพียงแค่เรื่อง การเปลี ่ ย นแปลงของค่ า เงิ น แต่ ก ็ เ ป็ น เพี ย งส่ ว นน้ อ ยเท่ า นั ้ น ทั ้ ง ยั ง เป็ น ผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในเชิ ง เทคนิ ค มากกว่า คือ เป็นผลจากค่าเงินแต่ไม่ได้มาจากพื้นฐานของบริษัทหรือทางเศรษฐกิจ

32

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

33


รูหรือไม???

UPOV 1991

คืออะไร

โดย สำนักอเมริกา แปซิฟิก และองค์การระหว่างประเทศ

ปจจ�บัน

ได้มีการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าและผลผลิต รวมถึงเพื่อตอบสนอง ความต้องการของตลาด ขณะเดี ย วกั น การพั ฒ นาภาคเกษตรซึ ่ ง เป็ น ภาคส่ ว นสำคั ญ ของเศรษฐกิ จ ไทย ได้ ม ี ก ารนำเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาพั น ธุ ์ พ ื ช ใหม่ ใ ห้ ม ี ค วามทนทานต่ อ การเปลี ่ ย นแปลง ของสภาพแวดล้อม รวมถึงเพิ่มปริมาณผลผลิตและเพิ่มทางเลือกของพันธุ์พืชแก่เกษตรกร ซึ่งจะช่วยเพิ่ม รายได้ ให้กับเกษตรกรมากยิ่งขึ้น ภายใตองคการการคาโลก (WTO) มีขอตกลงวาดวยสิทธิ ในทรัพยสนิ ทางปญญาทีเ่ กีย่ วของกับการคา (TRIPs) กำหนดให ประเทศสมาชิกตองใหความคุม ครองสิทธิของนักปรับปรุงพันธุพ ชื เพือ่ สงเสริมใหเกิดการวิจยั และพัฒนาปรับปรุงพันธุพ ชื ใหมซง่ึ ตอง ใชตนทุนและบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญสูง โดยปจจุบัน ประเทศสมาชิกองคการการคาโลกกวา 74 ประเทศจาก 164 ประเทศ รวมถึงประเทศสมาชิกอาเซียน (มาเลเซีย และสิงคโปร) ไดเขาเปน ภาคีอนุสญ ั ญาระหวางประเทศวาดวยการคุม ครองพันธุพ ชื ใหม หรือ อนุสัญญา UPOV 1991 เพื่อใหความคุมครองสิทธิของ นักปรับปรุงพันธุพืชใหม

3

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


อนุสัญญา UPOV 1991 คืออะไร อนุสัญญา UPOV 1991 คือ อนุสัญญาระหว่างประเทศที่มุ่งเน้นเรื่องการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่โดยให้สิทธิเด็ดขาดในพันธุ์พืช ใหม่แก่นกั ปรับปรุงพันธุ์ ซึง่ เป็นการคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญาทางด้านพืช มีความเกีย่ วข้องกับความตกลงการค้ายุคใหม่ทม่ี มี าตรฐานสูง หลายฉบับ อาทิ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership: TPP) และความตกลงหุ้นส่วนการค้า และการลงทุนข้ามแอตแลนติก (Transatlantic Trade and Investment Partnership: TTIP) เป็นต้น โดยความตกลง TPP กำหนด ให้ประเทศสมาชิกต้องเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV 1991 ส่วนความตกลง TTIP กำหนดให้ภาคีมีกฎหมายการคุ้มครองพันธุ์พืช ใหม่สอดคล้องกับอนุสัญญา UPOV 1991 ปัจจุบัน UPOV 1991 มีสมาชิกทั้งหมด 74 ประเทศ ในจำนวนนี้มี 28 ประเทศที่เป็นประเทศกำลังพัฒนา โดยในอาเซียนมี 2 ประเทศ ได้แก่ เวียดนามและสิงคโปร์ เป็นสมาชิกของอนุสัญญาฉบับนี้ ขณะที่มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ได้แสดง ความจำนงที่จะเข้าร่วมอนุสัญญานี้ ส่วนประเทศไทยยังไม่ได้เป็นสมาชิกของอนุสัญญาฉบับนี้

จริงหรือไม? เกษตรกรไมสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไวใชในฤดูกาลถัดไปได UPOV 1991 กำหนดเป็นทางเลือกให้ประเทศสมาชิก สามารถกำหนดบัญชีรายชื่อพันธุ์พืชที่เกษตรกรสามารถเก็บไว้ใช้ เพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป โดยเกษตรกรยังสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ ไว้เพาะปลูกในพื้นที่ของตนเอง ต่อยอดการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา วิจยั และใช้เพือ่ การอืน่ ใดนอกเหนือจากเพือ่ ประโยชน์ในทางการค้า ซึง่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มนี โยบายในการกำหนดบัญชีรายชือ่ พืชที่เกษตรกรสามารถเก็บไว้ได้ในอนาคต โดยจะต้องคำนึงถึง วัฒนธรรมการเกษตรของไทย โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย จึงมัน่ ใจ ได้ว่าเกษตรกรจะยังคงเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ในฤดูกาลถัดไปได้ อนุสัญญา UPOV 1991 ทำใหราคาเมล็ดพันธุ์แพง ขึ้นเนื่องจากการผูกขาดเมล็ดพันธุ์ของบริษัทรายใหญ จริงหรือไม ราคาเมล็ ด พั น ธุ ์ พ ื ช จะขึ ้ น อยู ่ ก ั บ กลไกตลาดของธุ ร กิ จ เมล็ดพันธุ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับคุณภาพและความต้องการของผู้บริโภค ทัง้ นี้ กระทรวงเกษตรได้จดั ตัง้ ศูนย์เมล็ดพันธุเ์ พือ่ พัฒนาเมล็ดพันธุ์ ให้มีคุณภาพดี มีผลผลิตต่อไร่สูง (ทำน้อยได้มาก) และแจกจ่าย ให้ถึงมือเกษตรกรในราคาที่ถูก ซึ่งจะเป็นการเพิ่มทางเลือกและ ลดต้นทุนทางการผลิตให้แก่เกษตรกร เกษตรกรจะไดประโยชน์อยางไรจาก UPOV 1991 อนุสญ ั ญา UPOV 1991 เป็นปัจจัยกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนา และปรับปรุงเมล็ดพันธุใ์ ห้มคี ณ ุ ภาพสูงขึน้ สร้างผลผลิตต่อไร่เพิม่ ขึน้ และเป็นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น นอกจากนี้ยังทำให้เกษตรกร มีทางเลือกในการใช้พันธุ์ที่หลากหลายมากขึ้น ตลอดจนทำให้เกิด การแข่งขันในตลาดเมล็ดพันธุ์มากขึ้นอีกด้วย

อนุสัญญา UPOV 1991 เปนปจจัย กระตุนใหเกิดการพัฒนาและปรับปรุง เมล็ดพันธุใหมีคุณภาพสูงขึ้น สรางผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้น และเปนที่ตองการของตลาดมากขึ้น

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

3


จริงหรือไม?

เกษตรกรไมสามารถนำผลิตภัณฑ์ไป แปรรูปเพื่อจำหนายไดภายใต UPOV 1991 UPOV 1991 ให้สิทธิเกษตรกรสามารถซื้อเมล็ดพันธุ์พืชที่ ได้รบั การคุม้ ครองพันธุพ์ ชื ใหม่ไปเพาะปลูกและจำหน่ายผลผลิตได้ รวมทัง้ แปรรูปผลผลิตให้เป็นผลิตภัณฑ์เพือ่ จำหน่ายได้โดยไม่ขดั ต่อ อนุสญ ั ญาฯ เช่น ซือ้ เมล็ดพันธุส์ ตรอเบอรีไ่ ปเพาะปลูกและสามารถ จำหน่ายผลสตรอเบอรี่ รวมทัง้ สามารถนำผลสตรอเบอรีไ่ ปทำแยม เพือ่ จำหน่ายได้ เนือ่ งจากเกษตรกรได้ซอ้ื สิทธิจากนักปรับปรุงพันธุ์ เพื่อนำไปเพาะปลูกอย่างถูกต้องตามหลักการคุ้มครองเมล็ดพันธุ์ จึงถือว่าเกษตรกรได้สิทธิอย่างครบถ้วนแล้ว (exhaustive right) และสามารถนำผลผลิตและผลิตภัณฑ์แปรรูปมาจำหน่ายได้

จริงหรือไม? คุมครองได

นักปรับปรุงพันธุ์ตางชาติสามารถนำพันธุ์พืชพื้นเมืองหรือพันธุ์พืชทองถิ่นไทยไปจดทะเบียน การจดทะเบียนพันธุ์พืชพื้นเมืองและพันธุ์พืชท้องถิ่นไม่ สามารถทำได้ เนือ่ งจากเป็นพืชทีส่ ามารถพบและเข้าถึงได้โดยทัว่ ไป จึงทำให้ขาดคุณสมบัติในการเป็นพันธุ์พืชใหม่ อีกทั้งการนำ พันธุ์พืชพื้นเมืองหรือพันธุ์พืชท้องถิ่นไปทดลองหรือวิจัยต้องขอ อนุญาตจากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กอ่ น และต้องทำข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์หากจะนำพืชดังกล่าว ไปใช้ประโยชน์ในทางการค้าตามมาตรา 52 ของพระราชบัญญัติ คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542

จริงหรือไม? พันธุพ์ ชื พืน้ เมืองหรือพันธุพ์ ชื ทองถิน่ ของไทยจะสูญหายจากการนำไปปรับปรุงพันธุโ์ ดยตางชาติ ภาครัฐได้จดั ตัง้ ธนาคารเชือ้ พันธุพ์ ชื เพือ่ รวบรวมและอนุรกั ษ์ พันธุพ์ ชื ท้องถิน่ ของไทยทีเ่ สีย่ งต่อการสูญพันธุเ์ นือ่ งจากภัยธรรมชาติ การระบาดของโรคและแมลง รวมถึงเป็นแหล่งเก็บรักษาพันธุ์พืช เศรษฐกิจและพืชพันธุด์ ที ใ่ี ห้ผลผลิตสูง นอกจากนี้ ภาครัฐยังจัดตัง้ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ เพื่อให้มีเมล็ดพันธุ์คุณภาพดีเป็นทางเลือกแก่ เกษตรกร

3

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM


การประชุม JTC ไทย – อิหราน ระดับรัฐมนตร� ครัง้ ที่ 1 วันที่ 10 ตุลาคม 2559

ลงนามถวายความอาลัย วันที่ 17 ตุลาคม 2559

นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการร่ ว มทางการค้ า (Joint Trade Committee : JTC) ระดับรัฐมนตรีระหว่างไทยกับอิหร่าน ครัง้ ที่ 1 ณ โรงแรมดุสติ ธานี กรุงเทพฯ เพือ่ กระชับความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างกัน

นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ พร้อมด้วยผู้บริหาร ข้าราชการและบุคลากรกระทรวงพาณิชย์ ร่วมลงนามถวายความอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ณ กระทรวงพาณิชย์

รวมพระพิธ�ธรรมสวดพระอภิธรรมพระบรมศพ วันที่ 25 ตุลาคม 2559 ผูบ้ ริหาร และข้าราชการกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ร่วมพระพิธธี รรมสวดพระอภิธรรมพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง

ผูชวยรัฐมนตร�ฯ หาร�อ EABC วันที่ 11 พฤศจ�กายน 2559 นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวง พาณิ ช ย์ ร่ ว มหารื อ กั บ สมาคมการค้ า ยู โรเปี ย นเพื ่ อ ธุ ร กิ จ และการพาณิชย์ (European Association for Business and Commerce : EABC) และสภาธุรกิจสหภาพยุโรป-อาเซียน (EUABC) ณ กระทรวงพาณิชย์

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

37


การประชุม FTA ไทย-ปากีสถาน ครั้งที่ 5 วันที่ 16-18 พฤศจ�กายน 2559

รวมพลังแหงความภักดี วันที่ 22 พฤศจ�กายน 2559

นางสาวสุนันทา กังวาลกุลกิจ รองอธิบดีกรมเจรจา การค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหัวหน้าผูแ้ ทนไทย เข้ า ร่ ว มประชุ ม การเจรจา FTA ไทย-ปากีสถาน ครั้งที่ 5 ณ โรงแรมอินเตอร์ คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ

ผู้บริหารและข้าราชการกระทรวงพาณิชย์ ร่วมกิจกรรม “รวมพลั ง แห่ ง ความภั ก ดี ” เพื ่ อ แสดงความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในราชวงศ์จักรี และร่วมรำลึกถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาส วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพปีที่ 89 ณ กระทรวงพาณิชย์

มอบหองสมุดอาเซ�ยนเฉลิมพระเกียรติฯ จ.แมฮอ งสอน วันที่ 25 พฤศจ�กายน 2559

เปดตัว Application “DTN Drive” วันที่ 2 ธันวาคม 2559

นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่ า งประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ เป็ น ประธานในพิ ธ ี มอบห้ อ งสมุ ด อาเซี ย นเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 ให้แก่โรงเรียน ขุนยวมวิทยา อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน 38

วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

นางสาวสุนนั ทา กังวาลกุลกิจ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานเปิดตัว Application “DTN Drive” ณ กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งกรมเจรจาฯ จัดทำขึ้น เพือ่ เพิม่ ช่องทางในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร ณ กระทรวงพาณิชย์


การประชุม RCEP-TNC ครั้งที่ 16 วันที่ 7 ธันวาคม 2559

รับประกาศเกียรติคุณ PMQA ฉบับที่ 2 วันที่ 9 ธันวาคม 2559

นายรณรงค์ พูลพิพัฒน์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ หัวหน้าคณะเจรจา RCEP ของไทย เข้าร่วมการประชุม RCEP-TNC ครั้งที่ 16 ณ เมือง Banten ประเทศอินโดนีเซีย

นางสาวสุนนั ทา กังวาลกุลกิจ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นผู้แทนกรมฯ เข้ารับ ประกาศเกียรติคณ ุ การรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (PMQA) ฉบับที่ 2 จากสำนักงาน ก.พ.ร. ซึ่ง กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เป็น 1 ใน 26 หน่วยงาน ที่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าว

มอบหองสมุดอาเซ�ยนเฉลิมพระเกียรติฯ จ.ระนอง วันที่ 9 ธันวาคม 2559

มอบหองสมุดอาเซ�ยนเฉลิมพระเกียรติฯ จ.นครพนม วันที่ 16 ธันวาคม 2559

นางสาวสิรพิ รรณ ลิขติ วิวฒ ั น์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่ า งประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ เป็ น ประธานในพิ ธ ี มอบห้องสมุดอาเซียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 ให้แก่โรงเรียนกระบุรวี ทิ ยา อ.กระบุรี จ.ระนอง

นางสาวสิริพรรณ ลิขิตวิวัฒน์ รองอธิบดีกรมเจรจา การค้าระหว่างประเทศ เป็นประธานในพิธมี อบห้องสมุดอาเซียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื ่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 ให้แก่โรงเรียนอุเทนพัฒนา อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม วารสารการค้าระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL TRADE FORUM

39


¾Ò³ÔªÂ ÂؤãËÁ‹ ©ÑºäÇ â»Ã‹§ãÊ Áͧä¡Å ã¡ÅŒªÔ´»ÃЪҪ¹

ชองทางการติดตาม

วารสารการคาระหวางประเทศ

ขั้นตอนการใชงานผานอุปกรณ แท็บแล็ต / โทรศัพทมือถือ 1. โหลด App ช�่อ DTN Drive จาก App Store / Google Play 2. เปด App DTN Drive เพื่อทำการคนหา 3. เลื่อก Document และคลิกที่ "วารสารการคาระหวางประเทศ" 4. เลือกฉบับที่ตองการอาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.