ปที่ 3 ฉบับที่ 11 มกราคม - มีนาคม 2559
ªØµÔÁÒ ºØ³Â»ÃÐÀÑÈà »ÅÑ ´ ¡ÃзÃǧ¾Ò³Ô ª Â
11 »‚ ¤ÇÒÁµ¡Å§¡ÒäŒÒàÊÃÕ ä·Â-ÍÍÊàµÃàÅÕ “ÍÒà«Õ¹” à˧à¨Ã¨Ò RCEP à¨ÒÐÅÖ¡ÊÑÁÁ¹ÒÃдѺªÒµÔ MEGA DIVE âÍ¡ÒÊ·Ò§¡ÒäŒÒ·ÕèäÁ‹¤ÇÃÁͧ¢ŒÒÁ Ã×éÍ¿„œ¹¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í EU & ÊËÃÑ°Ï ÃдÁÊÁͧ¼ÙŒºÃÔËÒÃÀÒ¤ÃÑ°áÅÐàÍ¡ª¹à¾×è;Ѳ¹Ò ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¢Í§»ÃÐà·Èä·Â
P.10
P.04 Exclusive Interview º·ÊÑÁÀÒɳ »ÅÑ´¡ÃзÃǧ¾Ò³ÔªÂ ªØµÔÁÒ ºØ³Â»ÃÐÀÑÈÃ
FTA Society
P.04 P.10
11 »‚ ¤ÇÒÁµ¡Å§¡ÒäŒÒàÊÃÕ ä·Â-ÍÍÊàµÃàÅÕ âÍ¡ÒÊ·Ò§¡ÒäŒÒ·ÕèäÁ‹¤ÇÃÁͧ¢ŒÒÁ
AEC Beyond
P.14
“ÍÒà«Õ¹” à˧à¨Ã¨Ò RCEP Ã×éÍ¿„œ¹¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í EU & ÊËÃÑ°Ï
P.26
àÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§
P.17
P.17
¾ÒྌÍà¾ÃÒÐà¾Ôà ¸ àÁ×ͧÊѹâ´É·ÕèäÁ‹â´´à´ÕèÂÇ
ࢌÒã¨ãªŒ»ÃÐ⪹
P.23
Update!!! ¡®ËÁÒÂà¤Ã×èͧËÁÒ¡ÒäŒÒ©ºÑºãËÁ‹
Special Report
P.26
360 ¡ÒäŒÒâÅ¡ ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÍÒà«Õ¹-ÊËÃÑ°Ï : ¨Ò¡ Summit ÊÙ‹ TIFA
Q&A ÃÙŒËÃ×ÍäÁ‹??? Thailand 4.0 ËÃ×Í »ÃÐà·Èä·Â 4.0 ¤×ÍÍÐäÃ
DTN Report
P.23
P.29 P.33 P.36
à¨ÒÐÅÖ¡ÊÑÁÁ¹ÒÃдѺªÒµÔ MEGA DIVE ÃдÁÊÁͧ¼ÙŒºÃÔËÒÃÀÒ¤ÃÑ°áÅÐàÍ¡ª¹à¾×è;Ѳ¹Ò ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¢Í§»ÃÐà·Èä·Â
P.29
P.36
E
DITOR’S Talk
»‚·èÕ 3 ©ºÑº·Õè 11 Á¡ÃÒ¤Á - ÁÕ¹Ò¤Á 2559
¤Ø¡ѹ¡‹Í¹
ท่ามกลางสภาวะความร้อนและแห้งแล้ง ท้องฟ้าเริม่ โปรยปรายละอองฝน ราวกับปลอบใจให้ผา่ นพ้นเวลาทีแ่ สนอ่อนล้า เพือ่ ตัง้ หลักรอการฟืน้ ตัวเศรษฐกิจของ ประเทศ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ต้นเดินหน้าท้าทายกับสิง่ ใหม่ๆ ทีก่ ำลังจะเกิดขึน้ วารสารการค้ า ระหว่ า งประเทศ ได้ ร ั บ เกี ย รติ อ ย่ า งมากจากท่ า น ชุตมิ า บุณยประภัศร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ให้สมั ภาษณ์พเิ ศษในคอลัมน์ Exclusive Interview ถึงภารกิจสำคัญของกระทรวงพาณิชย์ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศให้เจริญเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพ ยัง่ ยืน และมีความสมดุล และโปร่งใส รวมถึง ความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะอำนวยความสะดวกเพือ่ รับใช้ประชาชน In trend สักนิดกับโมเดล “Thailand 4.0: ประเทศไทย 4.0” ซึง่ ขณะนี้ ประเทศไทยกำลังพัฒนาเพื่อปฏิรูปโครงการสร้างเศรษฐกิจของประเทศและนำพา ประชาชนมุง่ สูค่ วามมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ FTA ไทย-ออสเตรเลีย เป็นอีกเรื่องที่พลาดไม่ได้เพื่อขยาย โอกาสทางการค้าและการลงทุนระหว่างกัน รวมไปถึงความคืบหน้าของอาเซียน โดยไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (AEM Retreat) ครัง้ ที่ 22 ซึง่ ถือว่าเป็นการพบกันครัง้ แรกหลังจากทีอ่ าเซียนจัดตัง้ AEC เมือ่ ปลายปี 2558 เพือ่ เร่งเจรจา RCEP และรือ้ ฟืน้ การเจรจาความตกลงการค้าเสรี ASEAN-EU และสหรัฐฯ สุดท้ายนี้ พักเรือ่ งเครียดๆ มาหลบร้อนทีเ่ มืองเพิรธ์ ประเทศออสเตรเลีย ซึง่ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ หลงใหลและเป็นเมืองสันโดษแห่งหนึง่ ของโลกทีน่ า่ ติดตาม ซึง่ อาจจะทำให้ใครต่อใครเพ้อตามชือ่ เรือ่ งไปเลยทีเดียว บรรณาธิการ
¨Ñ´·Óâ´Â ¤³Ð·Ó§Ò¹ÇÒÃÊÒáÒäŒÒÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ¡ÃÁà¨Ã¨Ò¡ÒäŒÒÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ¡ÃзÃǧ¾Ò³ÔªÂ
ชุติมา บุณยประภัศร ปลัดกระทรวงพาณิชย์
ปี
2559 นับเป็นปีแห่งการปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ
รัฐบาลมุ่งหวังการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพยั่งยืน และมีความสมดุล ซึง่ ต้องสร้างให้เกิดขึน้ จากภายใน คือการพัฒนา เศรษฐกิจท้องถิน่ เพิม่ ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก ควบคู่ ไปกับการเน้นการส่งออก Exclusive Interview ฉบับนี้ ได้รับ เกียรติจากปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) ให้ ท ี ม งานได้ เ ข้ า สั ม ภาษณ์ ถ ึ ง การดำเนิ น การตามแนวนโยบาย รั ฐ บาลของกระทรวงพาณิ ช ย์ เพื ่ อ ผลั ก ดั น เศรษฐกิ จ การค้ า ของประเทศให้เติบโตอย่างยั่งยืน
“นโยบายและแนวทางสำคัญของกระทรวงพาณิชย์ ที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในปีน”ี้ Local Economy… ในช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และตลาดสำคัญ ของเราเกือบทุกตลาด มีกำลังซื้อลดลง ประเทศเราเป็นประเทศ ทีพ่ ง่ึ พาการส่งออกมาก เพราะฉะนัน้ เราต้องมาปรับกระบวนการ ทำงานของเรา ปรับยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานเพือ่ ให้สอดคล้อง กับนโยบายที่รัฐบาลได้ให้ไว้ด้วย คือ ต้องการความเข้มแข็งและ ความยั่งยืนจากภายใน ฉะนั้น กระทรวงพาณิชย์ซึ่งเดิมเคย มุง่ เน้นการส่งออกเป็นหลัก ก็ตอ้ งให้ความสำคัญในการสร้างความ เข้มแข็งให้แก่ท้องถิ่น หรือ Local Economy มากขึ้น เป็นการ
วางฐานรากให้มั่นคงจะได้เกิดความยั่งยืน เพราะฉะนั้นจะเห็น โครงการต่างๆ ของกระทรวงพาณิชย์ในปีนจ้ี ะมุง่ สูภ่ มู ภิ าค มีหลาย เรื่องที่เราจะทำไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา Market Place ให้กับ ท้องถิ่นให้มากขึ้น สร้างตลาดกลางสินค้าเกษตร หากจะพูดว่า สร้างอาจจะไม่ถูกนัก ตลาดกลางสินค้าเกษตรมีมานานแล้ว แต่ระยะหลังตลาดกลางถูกลดทอนความสำคัญลงไป เพราะ นโยบายต่างๆ ที่รัฐบาลนำไปใช้ ทำให้การค้าขายตามกลไก ตลาดถูกบิดเบือนไป เป็นการรับจำนำบ้าง ประกันรายได้บ้าง
Strengthening Exports…
เกษตรกรก็ไม่ต้องพึ่งพาตลาดทำให้ตลาดซบเซาไป ชั่วโมงนี้ เราจะไม่ให้ความเข้มแข็งของเกษตรกรเกิดจากการที่รัฐบาล เอาเงิ น ไปแจกอี ก แล้ ว เพราะว่ า มั น ทำลายหลายอย่ า งมาก ในระยะยาวมีผลเสียหายมาก เพราะฉะนั้นเราต้องมาฟื้นฟู Market Place ให้กับท้องถิ่น ก็มีทั้งตลาดกลาง ตลาดชุมชน และ เราก็พยายามจะเชือ่ มโยงเข้ากับเรื่องของการท่องเทีย่ วด้วย เพือ่ ให้ เป็นจุดดึงดูดให้คนสนใจมาเยีย่ มชมตลาด เรียกว่า “ตลาดต้องชม” ควบคู ่ ไ ปกั บ “เมื อ งต้ อ งห้ า มพลาด” ของการท่ อ งเที ่ ย วฯ จะมีการทำกิจกรรมร่วมกันซึ่งกระทรวงฯ โดยกรมการค้าภายใน จะเปิด “ตลาดต้องชม” ให้ได้ 77 ตลาด ทั่วประเทศ ขณะนี้ ดำเนินการไปแล้ว 30 ตลาดและในเดือนเมษายน/พฤษภาคมนี้ จะเปิดได้ 42 ตลาด สำหรับภารกิจในการดูแลค่าครองชีพและราคาสินค้า กระทรวงฯ ได้ตั้งทีมตรวจสอบราคาสินค้าสำคัญและดำเนินการ ตามกฎหมายอย่ า งเข้ ม งวด พร้ อ มกั บ รณรงค์ “ฉลาดซื ้ อ ประหยัดใช้” สร้างพลังให้ผู้บริโภคด้วยข้อมูล ให้หยุดคิดก่อน ตัดสินใจซือ้ สินค้า และขยายเครือข่าย “อาสาพาณิชย์” ไปสูภ่ าค ประชาชน สถาบันการศึกษา เพือ่ ช่วยติดตามดูแลราคาสินค้าร่วม กับกระทรวงพาณิชย์เป็นประจำ
ในส่วนของการผลักดันการส่งออก อย่างที่บอกว่าคู่ค้า หลักๆ ทีเ่ ป็นตลาดของเรา ไม่มกี ำลังซือ้ เพราะปัญหาเรือ่ งเศรษฐกิจ โลก แม้กระทั่งจีนซึ่งเคยเป็นตลาดหลักของเราแซงหน้าสหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่นขึ้นมา ตอนนี้เริ่มชะลอตัวแล้ว แต่ตลาดที่กลับมา แรงและเป็นตลาดที่เราทำได้ดี คือ ตลาดใกล้ตัวเรา ในภูมิภาค อาเซียนนี่เอง โดยเฉพาะเพื่อนบ้าน สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมา และเวียดนาม หรือกลุ่ม CLMV เป็นตลาดที่กำลังมีการขยายตัว ในอัตราสูง แล้วสินค้าไทยก็เป็นที่ยอมรับ ฉะนั้นนโยบายผลักดัน การส่งออกของเราก็จะมุ่งเน้นไปที่ภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ก็จะมีโครงการต่างๆ มากมาย ซึ่งกรมส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศจะเป็นแม่งาน ไม่ว่าจะพานักธุรกิจ SMEs เข้าไป ขยายช่องทางการค้าในตลาดต่างประเทศผ่านเครือข่ายของ บริษัทใหญ่ อย่าง “โครงการพี่จูงน้อง” ที่จะร่วมมือกันพัฒนา ความรู้ดา้ นการค้าระหว่างประเทศ การเตรียมสินค้าให้ตรงความ ต้องการของตลาด และการหาช่องทางการจัดจำหน่าย นอกจากนี้ ยังต้องเน้นกลยุทธ์เจาะตลาดเมืองหลักเมืองรองทั่วโลก เพื่อให้ ผูป้ ระกอบการไทยสามารถเข้าถึงตลาดได้กว้างขวางมากขึน้ มีจดุ กระจายสินค้าในเมืองหลัก และกระจายต่อไปยังเมืองรองได้ รวมทั ้ ง การสนั บ สนุ น ให้ ผ ู ้ ป ระกอบการทำธุ ร กิ จ ในรู ป แบบ e-commerce ให้มากขึ้น
“ตลาดทีแ่ รงและเป็นตลาดทีเ่ ราทำได้ดี คือ ตลาดใกล้ ต ั ว เรา ในภู ม ิ ภ าคอาเซี ย น โดยเฉพาะเพื่อนบ้าน สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมา และเวียดนาม หรือกลุ่ม
CLMV”
Border Trade…
Innovative Driven… อีกอย่างที่เรากำลังปรับตัว คือ เราดึงดูดการลงทุน จากต่างประเทศเข้ามาอยู่ในประเทศไทย เราต้องการให้การ ลงทุ น เหล่ า นั ้ น ขยั บ ตั ว สู ง ขึ ้ น เรี ย กว่ า “S Curve ใหม่ (New S Curve)” ก็คือ ในเรื่องของอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งเรามีอยู่แล้ว แต่เราต้องการให้เป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง อุตสาหกรรมโรบอติกส์ หรือในเรื ่ อ ง ของเคมี ภ ั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ ซึ ่ ง จะนำประเทศไทยให้ ก ้ า วไปสู ่ เทคโนโลยียุคใหม่
Outward Looking… ในเรื่องของการลงทุนในต่างประเทศ แต่ก่อนเราจะ ดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศ ตอนนีจ้ ะส่งเสริมให้นกั ธุรกิจไทย ไปแสวงหาโอกาสและประโยชน์ในตลาดต่างประเทศที่เราเข้าไป ลงทุนหรือทำข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างกัน หรือเป็นตลาดใหม่ๆ ที่เราเห็นว่าเค้าจะเป็น gateway ให้กับสินค้าเราได้ แทนที่เราจะ ส่ ง ออกสิ น ค้ า ไป ก็ ส นั บ สนุ น ให้ ธ ุ ร กิ จ ที ่ ม ี ค วามเข้ ม แข็ ง แล้ ว ไปลงทุนในประเทศที่จะเป็น gateway ให้กับสินค้าเรา เช่นที่เรา กำลั ง พยายามส่ ง เสริ ม ตลาดของประเทศอิ ห ร่ า น ซึ ่ ง เป็ น ตลาดที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพอย่ า งดี ใ นภู ม ิ ภ าคตะวั น ออกกลาง หรื อ Go for Services Trade… ตลาดศรีลังกาที่เราเพิ่งไปดูกันมา ศรีลังกาก็จะเป็น gateway สำหรั บ การส่ ง ออกในด้ า นอื ่ น ๆ ตอนนี ้ เราเห็ น ว่ า ที่ดีเข้าสู่เอเชียใต้ เป็นต้น นี่ก็จะเป็นทิศทางในการผลักดันการ ประเทศไทยควรจะต้องเปลี่ยนยุทธศาสตร์จากการส่งออกสินค้า ส่งออกของประเทศไทย ไปสู่การส่งออกภาคบริการ เพื่อให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ มากขึ้น ภาคบริการนี้มีหลายอย่างที่ประเทศไทยมีความเข้มแข็ง โดยเฉพาะภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะ เป็นโรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร การคมนาคมขนส่ง การบิน บริการสุขภาพ ค้าปลีกค้าส่ง ซึ่งทั้งหมดก็จะเกี่ยวโยงไปถึงธุรกิจ ก่อสร้าง เนื่องจากจะต้องมีการก่อสร้างทั้งสิ้น และการก่อสร้าง ก็จะโยงไปถึงวัสดุอุปกรณ์สำหรับก่อสร้าง ตกแต่ง ซึ่งเราก็มี อุตสาหกรรมภายในของเราอยู่แล้ว ก็จะทำให้เกิดการลงทุนขึ้น ภายในประเทศ
สำหรั บ การส่ ง เสริ ม การค้ า บริ เวณแนวชายแดนที ่ กรมการค้าต่างประเทศรับไปทำ ก็จะมีการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องให้เอื้ออำนวยต่อการค้าระหว่างไทยกับเพื่อนบ้านให้ มีความคล่องตัวมากขึ้น ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีที่จะนำไปสู่การ เป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจระหว่างกันต่อไป จัดให้มีงานแสดงสินค้า ร่วมกันบริเวณชายแดนทัง้ สองฝัง่ เพือ่ ให้ตลาดคึกคัก ให้สนิ ค้าไทย เป็นที่รู้จักมากขึ้น และเราก็จะผลักดันการค้าชายแดนให้ถึง 1.5 ล้านล้านบาท ตามที่ตั้งเป้าไว้
“การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจการค้า” ในเรือ่ งของการอำนวยความสะดวกทางการค้า นอกจากที่ รัฐบาลต้องการให้ระบบราชการของไทยมีการบริหารจัดการ ที ่ ม ี ค วามโปร่ ง ใสและอำนวยความสะดวกให้ แ ก่ ป ระชาชน ด้ ว ยการออกกฎหมายว่ า ด้ ว ยการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการมาแล้ว ทุกหน่วยราชการต้อง ปรับปรุงกฎระเบียบของตัวเอง ลดขั้นตอนต่างๆ ให้น้อยลง กระทรวงพาณิชย์ก็มีคู่มือให้กับประชาชน ให้เข้าใจวิธีในการ มาติดต่อกระทรวงซึ่งเราก็ได้ทบทวน ลดขั้นตอน และทำคู่มือ การดำเนินการต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน และได้รายงานผลกับรัฐบาล ไปแล้ว นอกจากนี้ เรายังได้พยายามทีจ่ ะลดภาระให้กบั ประชาชน ที่จะไม่ต้องเดินทางมาติดต่องานที่กระทรวงฯ เราจึงพัฒนา ระบบการยื่นเอกสารต่างๆ ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ใช้เทคโนโลยี ด้ า นดิ จ ิ ต อลให้ เ ป็ น ประโยชน์ เพื ่ อ ก้ า วเข้ า สู ่ ส ั ง คมดิ จ ิ ต อล ที่รัฐได้มีนโยบาย เราสามารถทำธุรกรรมผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้มากมาย อย่างตอนนี้เราเชื่อมโยงข้อมูลกับอาเซียนผ่านระบบ ASEAN Single Window ในการส่งออกสินค้าไปอาเซียน ต่อไป ไม่จำเป็นต้องมายืน่ เอกสารของหลายๆ หน่วยงาน แต่ละประเทศ ก็ทำ National Single Window ของตน แล้วมาเชื่อมต่อกัน ประเทศไทยก็ทดลองทำสินค้าบางตัวที่ต้องมีการขออนุญาต การนำเข้าส่งออก เช่น ข้าว เป็นต้น เป็นตัวแรกเลยทีเ่ ราทดลองทำ และใกล้จะเสร็จสิ้นแล้ว ต่อไปก็จะไปทดลองเชื่อมโยงข้อมูลร่วม กับสิงค์โปร์ และมาเลเซีย ดังนั้นถ้าสำเร็จ ต่อไปการส่งออก ในอาเซียนก็จะสะดวกมากขึ้น
MOC Life และ MOC Statistics สำหรับการให้บริการนักธุรกิจ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบการให้บริการด้านต่างๆ ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์เพิม่ มากขึน้ เช่น ระบบการจดทะเบียนนิตบิ คุ คล ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Registration) ซึง่ กำลังจะมีการประกาศใช้ ในเร็วๆ นี้ หรือ ระบบการนำส่งงบการเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (DBD e-filing) ที่นิติบุคคลสามารถนำส่งงบการเงินผ่านทาง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไ ด้ ท ั น ที 100% หรื อ การขอหนังสือรับรอง นิติบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Certificate) โดยสามารถ ยืน่ ขอผ่านทางธนาคารและรอรับหนังสือรับรองได้ทนั ที และขณะนี้ กระทรวงพาณิชย์ได้พัฒนาการให้บริการผ่านทางแอพพลิเคชั่น ต่างๆ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการผ่านทางสมาร์ทโฟนซึ่งเป็น การรองรับการอำนวยความสะดวกทางการค้าแก่ภาคธุรกิจ ให้เข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียมกันและสะดวกรวดเร็วที่สุด
นอกจากนี้ กระทรวงพาณิชย์ ได้พัฒนาระบบการให้ บริการข้อมูลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของทุกหน่วยงานภายใน กระทรวงพาณิชย์มารวมไว้ ณ จุดเดียว ทีเ่ รียกว่า MOC e-Service ซึง่ เป็นการรวมเนือ้ หาให้เว็บไซต์ของทุกหน่วยงานในเรือ่ งเดียวกันมา ไว้ดว้ ยกัน ผ่านเว็บไซต์ของกระทรวงพาณิชย์ และให้บริการข้อมูล ข่ า วสารต่ า งๆ ผ่ า นแอพพลิ เ คชั ่ น บนสมาร์ ท โฟนภายใต้ ช ื ่ อ Application MOC Life
“การป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นของกระทรวงพาณิชย์” เมื่อวันที่ดิฉันก้าวเข้ามารับตำแหน่ง หนึ่งในนโยบาย หลักที่ดิฉันเน้นมากเลยเรื่อง “ซีโร่ คอร์รัปชั่น” ในส่วนราชการ แห่งนี้ ในกระทรวงพาณิชย์ แคมเปญ “ซีโร่ คอร์รัปชั่น” เป็น แคมเปญของสากลทีส่ หประชาชาติทำเราหยิบเรือ่ งนีม้ าทำให้เป็น รูปธรรมตั้งแต่ที่ปปช. ให้ทุกส่วนราชการจัดตั้งศูนย์ต่อต้าน การทุ จ ริ ต คอร์ ร ั ป ชั ่ น ตอนที ่ ด ิ ฉ ั น เข้ า มายั ง ไม่ เ กิ ด ศู น ย์ น ี ้ เป็นรูปธรรม ขณะนี้ก็ได้ตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงพาณิชย์ขน้ึ แล้ว มีขา้ ราชการอยูป่ ระจำศูนย์ฯ ทำหน้าที่ รับผิดชอบหลัก คือ ให้ความรู้ ปลุกจิตสำนึกในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตให้แก่ข้าราชการกระทรวงพาณิชย์ ให้รู้ว่าคอร์รัปชั่นเป็นภัยร้ายแรงที่บั่นทอนความเจริ ญ และ ความมั่นคงของประเทศ สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้บุคลากรต้องมี จิตสำนึกร่วมกันที่จะรังเกียจ ไม่อยากไปข้องแวะเลย อันนีก้ เ็ ป็น การป้องกันเอาไว้ ขณะเดียวกันเราก็ต้องปราบปรามการกระทำ ที่เป็นการทุจริตไม่ปล่อยให้คนทำผิดโดยไม่ถูกลงโทษ เพราะ มั น จะกลายเป็ น เยี ่ ย งอย่ า งให้คนอื่นคิดว่าทำผิดก็ไม่เป็นไร เราก็ได้ดำเนินการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นของข้าราชการ ที่มีหลักฐานมีการร้องเรียนเข้ามา หรือแม้กระทั่งหน่วยงานอื่น แจ้งเราให้สอบสวน เราก็ดำเนินการทุกเรื่องไม่ละเว้น ไม่ว่าจะมี การลงชื ่ อ มาร้ อ งเรี ย นหรื อ ไม่ ม ี ก ารลงชื ่ อ ก็ ต าม เราจะตั ้ ง คณะกรรมการขึ้นมาสืบสวนข้อเท็จจริงก่อนว่ามีมูลหรือไม่ ถ้ามี ก็ดำเนินตามขั้นตอนของระเบียบ กพ. คือ ตั้งคณะกรรมการ ขึ้นมาสอบสวน ถ้ามีการกระทำผิดจริงก็ต้องมีการลงโทษตั้งแต่ ตักเตือน ตัดเงินเดือน ให้ออกไป จนถึงไล่ออก ซึ่งการกระทำ เช่นนี้เกิดขึ้นในยุคนี้หลายกรณี
“ปรัชญาในการดำเนินชีวิต”
ปรัชญาชีวิตของดิฉัน คือ การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย รู้หน้าที่ และมีความรับผิดชอบ อย่าไปสร้างเงื่อนไขอะไรมาก จะทำให้ เราเหนื ่ อ ย เราต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ รู ้ จ ั ก หน้ า ที ่ ต่อตัวเอง ต่อครอบครัว ต่อส่วนรวม ทุกอย่างมันจะเป็นไปตาม ครรลองของมันได้ ไม่ต้องทำอะไรมาก พี่ใช้หลักนี้มาตลอด เจ้านายให้งานมาชิ้นนึงก็เป็นหน้าที่ เป็นความรับผิดชอบต้องทำ ให้สำเร็จและต้องดีด้วย ก็ทำจนสำเร็จออกมาไม่ต้องไปคิดว่า เค้าให้เวลา 7 วัน เดี๋ยวทำ 7 วัน เค้าให้งานเราทำก็ทำให้มัน สำเร็ จ เร็ ว ๆ อย่ า งถู ก ต้ อ งด้ ว ย เพราะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบชี ว ิ ต จึงอยู่กับความเรียบง่ายและความรับผิดชอบในหน้าที่ของตัวเอง และในเดื อ นกั น ยายนนี ้ ดิ ฉ ั น จะครบเกษี ย ณอายุ ร าชการ อยากจะฝากไปถึงทุกคน เมือ่ ตัดสินใจเข้ามารับราชการรูอ้ ยูแ่ ล้วว่า ระบบราชการเป็นอย่างไร เป็นระบบที่มีระเบียบมีวินัย ทำอะไร
ตามใจไม่ได้ รูอ้ ยูแ่ ล้วว่าเงินเดือนข้าราชการน้อย ถ้าจะมารับราชการ ก็ต้องตั้งหลักไว้แล้วว่าจะอยู่ให้ได้ ไม่ว่าจะด้วยเงินเดือนของ ตัวเอง หรือด้วยความช่วยเหลือของพ่อแม่ ของครอบครัวก็ตาม เมื่อปฏิญาณตนแล้ว ต้องยึดมั่นในคำปฏิญาณ อย่าคิดว่าสิ่งที่พูด เป็นแค่ลมปาก ถ้ามาด้วยความตั้งใจแล้วก็อยากให้ดำเนินวิถชี วี ติ ของข้าราชการไปตามทีไ่ ด้กล่าวปฏิญาณตน ให้อยู่ในจิตใจของเรา จิตสำนึกของเรา ขอให้มีศักดิ์ศรี มีความกล้าหาญ ไม่เกรงกลัว ต่อสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ในระบบราชการได้วางระบบทุกอย่างไว้แล้ว ถ้าคุณกล้าหาญใครทำลายคุณไม่ได้ ต้องสู้ ต้องมีศกั ดิศ์ รีและ อย่าลืมต้องโปร่งใส สังคมของกระทรวงพาณิชย์รัง เกี ย จเรื ่ อ ง การทุจริตคอร์รัปชั่น ความโปร่งใสจะแก้ไขได้ทุกปัญหาจะขอ ฝากเอาไว้
“ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย รู้หน้าที่ และมีความรับผิดชอบ อย่าไปสร้างเงือ่ นไขอะไรมาก จะทำให้เราเหนือ่ ย เราต้องมีความรับผิดชอบ รู้จักหน้าที่ต่อตัวเอง ต่อครอบครัว ต่อส่วนรวม ทุกอย่างมันจะเป็นไป ตามครรลองของมันได้”
โดย สำนักอเมริกา แปซิฟิกและองค์การระหว่างประเทศ
10
ความตกลงการค้าเสรี ไทย-ออสเตรเลีย หรือ Thailand-Australia Free Trade Agreement (TAFTA) เป็นความตกลงการค้าเสรีทวิภาคีฉบับแรกที่ไทยจัดทำกับต่างประเทศ ครอบคลุมทั้งการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริ ก าร และการลงทุ น รวมทั ้ ง ความร่ ว มมื อ ในด้ า นต่ า งๆ ที ่ ส นใจร่ ว มกั น เช่ น พาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐและนโยบายการแข่งขัน เริ่มมีผลใช้บังคับมาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 11 ปี แล้ว ที่ความตกลงฉบับนี้ได้ช่วยส่งเสริมการค้าและเศรษฐกิจระหว่างกัน ให้เพิ่มพูนมากขึ้น โดยมูลค่าการค้าสองฝ่ายขยายตัวถึง 3 เท่าตัว การค้าระหว่างไทย-ออสเตรเลีย ระหว่าง ปี 2547-2558 ลานเหร�ยญสหรัฐ
มูลคาการคา การสงออก การนำเขา
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
ออสเตรเลีย...คู่ค้าสำคัญของไทย ออสเตรเลียมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้ากับไทยมายาวนาน แม้จะเป็นตลาดที่มีขนาดประชากรเพียง 23 ล้านคน แต่ก็มีกำลังซื้อสูง ในปี 2558 ออสเตรเลียเป็นคู่ค้าลำดับที่ 7 ของไทย ด้วยมูลค่าการค้าระหว่างกัน 14,000 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 5% จากปี 2557 สินค้าส่งออกสำคัญของไทย เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เม็ดพลาสติก อาหาร ทะเลกระป๋องและแปรรูป ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องสำอาง และ เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ในขณะที่สินค้าเข้าสำคัญจากออสเตรเลียมายังไทย ส่วนใหญ่จะเป็นวัตถุดิบในการผลิต เช่น น้ำมันดิบ อัญมณี เพชรพลอย ถ่านหิน และสินแร่โลหะ เป็นต้น
11
TAFTA ภาษีเป็นศูนย์แล้ว ประเทศไทยและออสเตรเลีย ได้ลงนามในความตกลงการค้า เสรี ไ ทย-ออสเตรเลี ย หรื อ Thailand-Australia Free Trade Agreement (TAFTA) เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2547 ณ กรุงแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย ถือเป็นการทำความตกลง FTA ฉบับแรกของไทย กั บ ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ที ่ ม ี ข อบเขตความตกลงอย่ า งกว้ า งขวาง ครอบคลุมทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการเปิดตลาดการค้าสินค้า บริการ และการลงทุน พิธกี ารศุลกากร นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สนิ ทางปัญญา การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับออสเตรเลีย TAFTA เป็นความตกลง FTA สองฝ่ายฉบับที่ 3 หลังจากได้จัดทำ FTA กับสิงคโปร์ ซึง่ มีผลบังคับใช้ในเดือนกรกฎาคม 2546 และ FTA กับสหรัฐฯ ในเดือนพฤษภาคม 2547 นับว่าออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีบทบาท สำคัญ และเล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดทำ FTA สองฝ่ายเพื่อเปิด เสรีการค้า บริการ และการลงทุน โดยเห็นว่าจะช่วยสนับสนุนการเปิด เสรีระดับพหุภาคี (Multilateral Liberalization) ซึ่งต้องใช้เวลาเจรจา เปิดตลาดนานกว่ามาก ปัจจุบันออสเตรเลียได้ลดภาษีศุลกากรภายใต้ TAFTA สำหรับสินค้าทุกรายการเป็น 0 หมดแล้ว ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 จึ ง เป็ น โอกาสดี ส ำหรั บ ผู ้ ป ระกอบการไทยที ่ จ ะส่ ง ออกสิ น ค้ า ต่ า งๆ ไปยังตลาดออสเตรเลีย และเช่นเดียวกัน ฝ่ายไทยเองก็ได้ลดภาษีสินค้า เป็น 0% เกือบทุกรายการให้แก่ออสเตรเลียแล้ว คงเหลือแต่เฉพาะ บางรายการสินค้าทีอ่ อ่ นไหว อาทิ สินค้าปศุสตั ว์ (เนือ้ วัว เนือ้ หมู นม เนย) ชา และกาแฟ ที่ไทยขอเวลาปรับตัว 15 ปี โดยจะทยอยลดภาษี จนเหลือ 0% ในปี 2563 12
การค้าและบริการสองฝ่ายขยายตัวดี TAFTA นับว่าช่วยให้การค้าระหว่างไทยกับออสเตรเลียขยายตัว เป็นที่น่าพอใจ จากสถิติการค้าระหว่างประเทศของไทยนั้น พบว่าการค้าระหว่าง ไทย-ออสเตรเลีย ก่อนจัดทำความตกลงฯ เฉลี่ย 3 ปี ระหว่างปี 2545 - 2547 มีมูลค่าเพียงราว 3,800 ล้านเหรียญสหรัฐ ภายหลังความตกลงมีผลบังคับใช้ การค้าระหว่างไทยกับออสเตรเลีย เฉลี่ย 3 ปี ระหว่างปี 2556 - 2558 ได้เพิ่มขึ้น เป็น 14,845.1 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว 3 เท่าตัว สินค้าส่งออกของไทยทีใ่ ช้สทิ ธิประโยชน์มาก อาทิ ยานยนต์และอุปกรณ์ เม็ดพลาสติก อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เครื่องปรับอากาศและอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ยาง อัญมณีและเครื่องประดับ ในด้านการนำเข้า ไทยยังได้ใช้สิทธิ ประโยชน์นำเข้าสินค้าหลายรายการเพื่อใช้ในกระบวนการผลิต อาทิ น้ำมันดิบ ถ่านหิน สินแร่โลหะ ก๊าซธรรมชาติ เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ นอกจากนี้ ภาคบริการและการลงทุนของไทยในออสเตรเลียยังมีโอกาส ขยายตัวเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะในกลุม่ ธุรกิจบริการทีม่ ศี กั ยภาพสูง เช่น ธุรกิจท่องเทีย่ ว โรงแรม ภัตตาคารไทย สุขภาพ ธุรกิจรักษาพยาบาลที่มีการพำนักระยะยาว เสริมความงาม ประดับยนต์ การออกแบบและก่อสร้าง เป็นต้น ซึ่งเป็นโอกาส ของผู้ประกอบการไทยที่จะขยายตลาดไปสู่ออสเตรเลียในสาขาดังกล่าวให้มากขึ้น นอกเหนือจากธุรกิจด้านพลังงาน และอาหารไทย ที่ถือว่าประสบความสำเร็จ เป็นอย่างดีในปัจจุบัน
อบ TAFTA ัน ร ก ้ ต ใ ย า การค้าภ ติดตามก ง อ ้ ต ง ค ย่างไร? ึ่งหลัง จะเป็นไปอ ดยเฉพาะในช่วงคร ีร่วม ้ชิด โ นตร อย่างใกล รประชุมระดับรัฐม ารค้า มีกา ก ะ ย จ ้ ี า น ี ย ข ป ง ่ ุ ง ม ขอ เลีย เพื่อ ร ต เ ส ้มากขึ้น อ ห ใ อ น ั ก กับ ง า ่ งทุนระหว ล ร า ก ะ ล แ
13
โดย : สำนักอาเซียน
14
เมื่อต้นเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม รั ฐ มนตรี เ ศรษฐกิ จ อาเซี ย นอย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการ (AEM Retreat) ครั ้ ง ที ่ 22 และการประชุมอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ถือเป็นการพบหารือของรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซียนเป็นครั้งแรกหลังจากที่อาเซียนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เมือ่ ปลายปี 2558 ก่อนทีจ่ ะมีการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่างเป็นทางการในเดือนสิงหาคม 2559 ต่อไป
อาเซียน ได้หารือถึงมาตรการทีต่ อ้ งดำเนินการต่อเนือ่ ง หลังเปิด AEC แล้ว เช่นมาตรการด้านการอำนวยความสะดวก ด้ า นการขนส่ ง ระบบการเชื ่ อ มโยงข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Single Window: ASW) ระบบ การรั บ รองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองของอาเซียน (ASEAN Self-Certification) การจัดทำความตกลงการค้าบริการฉบับใหม่ (ASEAN Trade inServices Agreement: ATISA) การดำเนินการระบบคลังข้อมูลการค้าอาเซียน (ASEAN Trade Repository: ATR) และการเจรจาความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ ระดั บ ภู ม ิ ภ าค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ที่จะต้องสรุปผลการเจรจาภายในปีนี้ เป็นต้น
15
นอกจากนี้ อาเซียนยังได้หารือประเด็นที่ สปป.ลาว ในฐานะ ประธานอาเซียนจะให้ความสำคัญ เช่น การจัดทำกรอบการดำเนินการ ด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้าของอาเซียน และการจัดทำกรอบ ระเบียบของอาเซียนเรื่องความปลอดภัยของอาหาร เป็นต้น สำหรับการผลักดันเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม) อาเซียนได้ให้ไทยและมาเลเซีย เข้าไปมีบทบาทในการช่วยเหลือและพัฒนา CLMV ให้มีความเข้มแข็ง เพิ่มขึ้น เพราะอาเซียนมองว่า CLMV เป็นกลุ่มประเทศในอาเซียนที่จะมี การขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ดี โดยในเร็วๆ นี้ จะมีการจัดประชุม CLMVT Forum เพื่อหารือกรอบในการพัฒนาร่วมกัน ทั้งนี้ อาเซียนยังได้หารือถึงการให้สหรัฐฯ เข้ามาตั้งสำนักงาน ASEAN Connect Center ในกรุงเทพฯ จาการ์ตาและสิงคโปร์ และ ข้อริเริ่มของสหรัฐฯ เกี่ยวกับการเชื่อมโยงใน 4 เรื่อง ได้แก่ ธุรกิจ พลังงาน นวั ต กรรม และนโยบาย เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างกันอย่าง เป็นรูปธรรม ทางด้านการหารือกับ H.E.Ms.Cecilia Malmström กรรมาธิการ การค้าสหภาพยุโรป อาเซียนและอียูได้ตกลงเพิ่มความร่วมมือในด้าน การค้าและการลงทุน รวมไปถึงการดำเนินการพิจารณาความเป็นไปได้ เพื่อรื้อฟื้นการเจรจาความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-สหภาพยุโรป ที่ได้ หยุดชะงักมาหลายปี สถานการณ์ ก ารค้ า รวมการค้ า ไทยกั บ อาเซี ย นขยายตั ว ขึ ้ น อย่างต่อเนื่องในช่วง 10 ปี (2548-2558) การค้าเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าจาก 46,014 ล้านเหรียญสหรัฐ เมือ่ ปี 2548 เป็นมูลค่า 93,596 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2558 โดยการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 24,390 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็น 55,155 ล้านเหรียญสหรัฐ การนำเข้าเพิม่ ขึน้ จาก 21,624 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็น 38,441 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งตลาดส่งออกและแหล่งนำเข้าสำคัญ ของไทยในอาเซียน ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์
16
หลั ง จากนี ้ จะมี ก ารประชุ ม เจ้ า หน้ า ที ่ อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน (SEOM) เพื่อหารือ แนวทางการดำเนินงานตามมติที่ประชุมรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซียน การจัดทำแผนงานรายสาขา และการดำเนินงานตามแผนงานประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนปี 2025 รวมทัง้ ประเด็นความสัมพันธ์กบั ประเทศคูเ่ จรจาของอาเซียน ในช่วงต้นเดือนเมษายน 2559 ที่ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
¾ÒྌÍà¾ÃÒÐ
เพิรธ… àÁ×ͧÊѹâ´É
·ÕèäÁ‹â´´à´ÕèÂÇ โดย : สายทอง สร้อยเพชร
17
(Perth) เมืองห่างไกลทีต่ ง้ั อยูฝ่ ง่ั ตะวันตกของ ประเทศออสเตรเลีย แม้ว่าจะห่างไกลจากนคร มหานิยมอย่างซิดนีย์ เมลเบอร์น หรือโกลด์โคสต์ ซึ่งอยู่อีกฟากหนึ่ง ของประเทศ แต่กลับอยู่ใกล้เมืองของประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนอย่าง เกาะบาหลีของอินโดนีเซีย เพียงใช้เวลาบินเพียง 3 ชั่วโมงเศษ จึ งไม่ แ ปลกใจเลยว่ า ทำไมชาวออสซี ่ ห ลายคนถึ งไม่ เ คยมาเยื อ น เมืองเพิร์ธเลย แต่เลือกที่จะบินข้ามไปท่องเที่ยวทีเ่ กาะบาหลีแทน ทัง้ ที่ เพิรธ์ เป็นเมืองขึน้ ชือ่ เรือ่ งอากาศบริสทุ ธ์ทเ่ี ต็มไปด้วยสายลมและแสงตะวัน
การเดินทางไปเมืองเพิรธ์ ในครัง้ นีเ้ ป็นการเยือนครัง้ แรก ในชีวิตค่ะ เพราะสมัยที่เรียนหนังสือในออสเตรเลียก็ใช้ชีวิต ประจำวันและท่องเทีย่ วในฟากตะวันออกของประเทศ แม้เคยคิด ลองจะบินจากเมลเบอร์นไปเที่ยวเมืองเพิร์ธช่วงปิดภาคเรียน แต่ก็พับโครงการไป เพราะค่าตั๋วเครื่องบินแพงมากพอบินกลับ กรุงเทพได้เลยทีเดียว ส่วนการเดินทางรอบนีใ้ ช้บริการสายการบิน ไทยตรงจากกรุงเทพไปเมืองเพิร์ธ เวลาบินกำลังดีค่ะ ออกจาก สนามบินสุวรรณภูมิเวลาเกือบเที่ยงคืน หลับตาพักไป 6 ชั่วโมง กว่าก็ถงึ สนามบินเพิรธ์ เวลา 7.45 น. ของวันรุง่ ขึน้ ค่ะ ก่อนเครือ่ ง ลงจอดพนักงานต้อนรับบนเครื่องแจกเอกสารผ่านเข้าเมืองและ แจ้งเตือนผู้โดยสารว่าห้ามถ่ายภาพในขณะที่กำลังผ่านพิธีการ เข้ า เมื อ ง รวมทั ้ ง ให้ ก รอกข้ อ มู ล ตามเอกสารตามความจริ ง ให้ครบถ้วน เพราะเสี่ยงต่อการถูกปรับเงินจำนวนมากถ้าไม่บอก ข้อเท็จจริง หรือบอกแต่ไม่ครบโดยเฉพาะเรื่องการนำอาหาร ผักหรือผลไม้เข้าประเทศ ซึ่งออสเตรเลียขึ้นชื่อเรื่องการเข้มงวด ตรวจตรามาก เพราะเป็นประเทศเกาะจึงต้องกักกันและป้องกัน การแพร่ ร ะบาดของเชื้อหรือแมลงแปลกปลอมค่ะ สนามบิน เมืองเพิร์ธไม่ใหญ่มาก และพิธีการตรวจคนเข้าเมืองก็ใช้เวลา ไม่นาน แต่หากใครนำอาหารแห้งติดตัวมาต้องแพ็คปิดให้สนิท แล้วสำแดงให้เจ้าหน้าที่ดูก่อนและขอแนะนำว่าควรแยกอาหาร ใส่ในกระเป๋าต่างหากเพื่อความสะดวก แต่จะสะดวกที่สุดคือ อย่าเอาอาหารมาดีกว่าค่ะ ถ้าไม่อยากมีปัญหากับเจ้าหน้าที่ หรือเสียเวลารอคิวตรวจนานมาก (ลากเสียงยาวๆ พร้อมกับ กรอกตามองบนขณะทีร่ อให้เจ้าหน้าทีผ่ ชู้ ำนาญการ ค้นทุกซอกมุม ของกระเป๋าค่ะ)
18
พอหลุดออกมาจากสนามบินก็ได้เวลาชมเมืองระหว่าง ทางไปยังโรงแรมที่พักใจกลางเมืองเพิร์ธ บ้านเมืองสะอาดเป็น ระเบียบเรียบร้อย ต้นไม้ใหญ่ ใบไม้เขียวชอุ่ม รายทางมีลมอ่อน พัดเป็นระยะๆ ผู้คนไม่ค่อยพลุกพล่านหนาตาเหมือนเมืองเอก ในรัฐอื่นของประเทศ ทั้งที่เพิร์ธเป็นเมืองเอกแห่งรัฐออสเตรเลีย ตะวันตกซึ่งเป็นรัฐใหญ่ที่สุดของประเทศ ขนาดพื้นที่ใหญ่กว่า ไทยถึง 5 เท่า แต่มปี ระชากรราว 2 ล้านคนเท่านัน้ ด้วยความทีต่ ง้ั อยู่ ริมมหาสมุทรอินเดีย อีกทั้งห่างจากเมืองหลักๆ ของประเทศ หลายพันกิโลเมตร จึงทำให้เพิรธ์ ถูกเปรียบเปรยว่าเป็นเมืองสันโดษ แห่งหนึง่ ของโลก อย่างไรก็ดี เมืองสันโดษแห่งนีก้ ลับมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวด้วยหลากหลายเหตุผลที่ทำให้รู้สึกโชคดีที่ได้มาสัมผัส สักครั้ง ทั้งสภาพอากาศแบบเมดิเตอเรเนียนที่เย็นสบายและ แสงแดดอบอุน่ เกือบตลอดทัง้ ปี รวมถึงผูค้ นมีอธั ยาศัยดีและใช้ชวี ติ เรียบง่าย ความสวยงามและมีชีวิตชีวาของเมืองที่ตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่น้ำสวอน (Swan River) ที่แปลว่าหงส์ แต่ไม่ใช่หงส์ธรรมดา สีขาวทีเ่ ราคุน้ ตากันนะคะ น่าแปลกใจมากทีเ่ ราจะพบกับหงส์สดี ำ ได้เฉพาะที่ทะเลสาบมองเก้อ (Monger Lake) แห่งเมืองเพิร์ธ เท่ า นั ้ น ค่ ะ หงส์ ด ำจึ ง กลายเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องเมื อ งเพิ ร ์ ธ ส่วนหงส์แดงเป็นแฟนบอลลิเวอร์พูล (^_^) นอกจากนี้ ยังเป็น เมืองที่มีวัฒนธรรมแบบชนบทและเต็มไปด้วยกิจกรรมท่องเที่ยว
19
มากมายนอกเมือง เช่น การเยี่ยมชมและชิมไวน์ที่สวอนวัลเลย์ (Swan Valley) หรื อ การเดิ น เล่ น ริ ม ชายหาดคอตเตสโล (Cottesloe Beach) ซึ่งมีหาดทรายขาวแนวยาวทางตอนใต้ ของเมืองเพิรธ์ หรือหากมีเวลาสักครึง่ วันก็สามารถลงรถไฟใต้ดนิ หรือจะขึน้ เรือเฟอรีล่ อ่ งไปตามแม่นำ้ สวอนไปยังเมืองฟรีแมนเทิล (Fremantle) หรือเรียกชื่อเล่นว่า ฟรีโอ ซึ่งนอกจากเป็นเมือง ท่าสำคัญเก่าแก่อายุเกือบสองร้อยปีทย่ี งั คงเปิดใช้งานแล้ว ยังเป็น เมืองทีส่ วยงามและมีเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรม หากไปตรงกับวันหยุดสุดสัปดาห์ก็จะได้เดินชมช้อปที่ตลาด ฟรีแมนเทิลทีเ่ ต็มไปด้วยชีวติ ชีวาและสีสนั ของสินค้าหลากหลาย ทั้งของเก่าแอนทีค งานศิลปหัตถกรรม ผักผลไม้ และอาหาร ทะเลสดหรือจะซื้ออาหารไปนั่งทานชิลล์ริมชายหาดรับลมเย็น ดื่มด่ำกับบรรยากาศดีก็ไม่มีใครว่าค่ะ อีกอย่างที่ต้องทานเมื่อ มาถึงฟรีโอ คือ พวกปลาชุบแป้งทอดคู่กับมันฝรั่งทอดชิ้นหนา (Fish and Chips) ซึ่งมีหลายร้านให้เลือกลองทานกัน แต่เตรียม เงินเตรียมท้องไว้ด้วยนะคะ เพราะอาหารจานใหญ่สมกับราคา ไม่เบาเลยค่ะ แถมกิจกรรมชิลล์อีกอย่างคือการนั่งจิบกาแฟ หอมกรุ่นพร้อมกับชมชีวิตชาวเมืองบนถนนสาย Cappuccino Strip ซึ่งสองข้างถนนเต็มไปด้วยร้านกาแฟและชุมชนเชื้อสาย อิตาเลียน
20
ส่วนดิฉันไม่ค่อยมีเวลามากพอที่จะออกไปนอกเมือง เลยขอตระเวนชม ชิม และช้อปในตัวเมืองเพิรธ์ แทนค่ะ ซึง่ สะดวกมาก โดยใช้บริการสองขาของเราและบริการรถบัสสองชั้นที่จะขึ้นลง ป้ายไหนก็ได้ (Hip On Hop Off Bus) ไม่จำกัด ภายในอายุตั๋ว 24 หรือ 48 ชัว่ โมงค่ะ ราคาตัว๋ ประมาณ 32-35 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย หรือจะนั่งรถเมล์ฟรีรอบเมืองที่มี 3 เส้นทาง จำง่ายๆ ค่ะว่า เจ้าอุ้งเท้าแมว 3 สี พาเรานั่งรถเมล์ฟรี คือ แมวฟ้า (Blue Cat) แมวแดง (Red Cat) และแมวเหลือง (Yellow Cat) ซึง่ จะเลือกขึน้ -ลง ตามป้ายเฉพาะต่างหากและควรตรวจสอบเส้นทางก่อน นับว่าเป็น ทางเลือกชมเมืองได้ทั่วที่เหมาะกับคนที่มีเวลาไม่มากนักค่ะ โดยรถจะวนตามจุดน่าสนใจต่างๆ รอบเมือง เช่น สวนสาธารณะ คิงส์ปาร์ค (Kings Park) ซึ่งเราสามารถชมวิวสวยในมุมสูงของ เพิร์ธได้ พิพิธภัณฑ์ออสเตรเลียตะวันตกที่เป็นแหล่งรวบรวม ประวัติศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานของชาวออสเตรเลียและชนเผ่า อะบอริจินส์ และหอศิลป์ออสเตรเลียตะวันตก ในตัวเมืองเพิร์ธ ยังมีสถาปัตยกรรมเก่าแก่น่าสนใจ อย่างเช่น ที่ลอนดอนคอร์ต (London Court) เป็นอาคารทรงทิวดอว์และมีรา้ นเล็กขายของชิคๆ กิ๊บเก๋ดีงามให้เดินชื่นชม ถ้าจะเลือกหาของฝากก็ลองสำรวจ ห้างสรรพสินค้าหรือซุปเปอร์มาร์เก็ตในตัวเมือง อย่างเช่น วูลเวิรธ์ หรือโคล์ ซึ่งมีสารพันสิ่งอย่างให้เลือกซื้อฝาก เช่น ช็อคโกแลต หลากหลายยี่ห้อท้องถิ่น (แคตบิวรี่ วิตเทกเกอร์ ทิมแทม) ขนมเจลลี่สีสวยเคี้ยวหนุบหนับ หรือชีสนานาชนิด ซึ่งจะหายไป จากชั้นวางอย่างรวดเร็วเมื่อมีชาวเอเชียลงช้อปค่ะ แต่หากมาถึง ออสเตรเลียแล้วไม่มีวิตามินหรือครีมรกแกะคุณภาพดีติดมือ กลับบ้านก็เหมือนยังมาไม่ถงึ ประเทศนีค้ ะ่ ขอแนะนำให้เข้าไปซือ้ ในร้านขายยา (Chemist Shop) หรือร้านขายวิตามินจากโรงงาน (Vitamin Outlet) ซึง่ จะถูกกว่าขายในซุปเปอร์มาร์เก็ต ส่วนมาก นิยมซื้อกันทั้งสารพัดวิตามิน น้ำมันปลา ครีมทาหน้า ทาผิว และแชมพู
ABORIGINE 21
ความเสียสละของทหารในการร่วมรักษาสันติภาพในสงคราม ทัว่ โลก โดยตลอดแนวถนนประดับริว้ ธงชาติ ในตัวเมืองเต็มไปด้วย ผู้คนที่แต่งกายสุภาพ สวมสูท หรือเครื่องแบบทหารชุดเต็มยศ และติดเหรียญตราเชิดชูเกียรติเต็มหน้าอก และปิดถนนสำหรับ ขบวนเดินสวนสนามและขบวนพาเหรดทหารผ่านศึกที่หน้าตานิ่ง ขรึม ซึ่งผู้คนที่ชมอยู่สองข้างทางต่างปรบมือและส่งเสียงโห่ร้อง แสดงความให้เกียรติอย่างสูงสุดและส่งผ่านความขอบคุณให้แก่ ทหารและครอบครัวของผู้เสียสละ ดิฉันเชื่อว่าถ้าท่านผู้อ่าน ได้สมั ผัสกับบรรยากาศแห่งความประทับใจท่ามกลางผู้คนมากมาย อย่ า งนี ้ แ ล้ ว จะสั ม ผั ส ได้ ถ ึ ง ความรู ้ ส ึ ก รั ก ชาติ แ ละภู ม ิ ใจกั บ ความเป็นชาติของเราที่ได้คงอยู่มาจนถึงปัจจุบันแน่นอนค่ะ
ในช่วงทีด่ ฉิ นั พำนักอยูใ่ นเมืองเพิรธ์ ไม่ได้รสู้ กึ ว่าเป็นเมือง ที่โดดเดี่ยวแต่กลับมีชีวิตชีวาใต้บรรยากาศที่เรียบง่าย และรู้สึก โชคดีที่ได้มีโอกาสร่วมงาน ANZAC Day ย่อมาจาก Australia and New Zealand Army Corps หรือวันทหารผ่านศึก ชาวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งตรงกับวันที่ 25 เมษายน ของทุ ก ปี และเป็ น วั น หยุดประจำชาติของออสเตรเลียและ นิ ว ซี แ ลนด์ เพื ่ อ รำลึกถึงทหารของทั้งสองประเทศที่ร่วมรบ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งงานพาเหรดปีนี้จัดอย่างยิ่งใหญ่ ในโอกาสครบรอบ 100 ปี ของความสู ญ เสี ย กำลั ง ทหาร จากการยกพลขึ้นบกที่เมืองกัลลิโปลี ประเทศตุรกี และรำลึกถึง
เมืองสงบแต่เต็มไปด้วยเสน่ห์ของธรรมชาติ และความมีชีวิตชีวาที่เรียบง่ายแต่ทรงพลัง แล้วอย่างนีจ้ ะไม่เพ้อเพราะเพิรธ์ ได้อย่างไรค่ะ... ฉบับนี้ขออำลาด้วยคำสแลงของ ชาวออสซี่ว่า Hooroo! (แปลว่าลาก่อน)
22
UPDATE กฎหมายเครื่องหมายการค้า
ฉบั บ ใหม่ โดย : แววดาว ดำรงผล กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ในยุคปัจจุบัน การประกอบธุรกิจมีการพัฒนาและแข่งขันกันมากขึ้น เครื่องหมายการค้าซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือ ส่งเสริมการตลาดที่สำคัญ ที่ทำให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าจึงยิ่งทวีความสำคัญขึ้นตามลำดับ กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ได้ตระหนัก ในข้อเท็จจริงดังกล่าว จึงได้ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเครือ่ งหมาย การค้ า เพื ่ อ ทำให้ ร ะบบการให้ ค วามคุ ้ ม ครองเครื ่ อ งหมาย การค้าของประเทศไทยมีความก้าวหน้า เหมาะสมเท่าทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางการค้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบ ธุรกิจและผู้บริโภค ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการค้าของประเทศ โดยเมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) ได้มีมติเห็นสมควรให้ประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติเครื่องหมาย การค้า (ฉบับที่...) พ.ศ. .... เป็นกฎหมาย โดยมีสาระสำคัญสรุปได้ ดังนี้
ขยายขอบเขตการให้ความคุ้มครองไปยังเครื่องหมายเสียง เนื ่ อ งจากการประกอบธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บ ั น มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ขึ ้ น การคิ ด ค้ น กลยุ ท ธ์ ท างการตลาดในการนำเสนอสิ น ค้ า จึงเปลี่ยนแปลงไป โดยมีการนำเครื่องหมายการค้ารูปแบบใหม่ คือ เสียง ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา มาใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้า เพื่อให้สามารถจดจำได้ง่ายและไม่สับสนหลงผิด โดยมีตัวอย่างเครื่องหมายเสียงที่เป็นที่รู้จัก และคุ้นเคยของสาธารณชน เช่น เสียงดนตรีจากรถขายไอศครีม เสียงเริ่มต้นรายการโทรทัศน์ เสียงเริ่มต้นรายการข่าว เป็นต้น
23
กฎหมายเครื่องหมายการค้าฉบับใหม่นี้จึงได้มีการขยาย ขอบเขตการให้ความคุม้ ครองไปยังเครือ่ งหมายดังกล่าว เพือ่ ให้สามารถ รับจดทะเบียนเสียงเป็นเครื่องหมายการค้าได้ ซึ่งจะทำให้ผู้ประกอบ ธุรกิจสามารถใช้เครื่องหมายเสียงในการส่งเสริมการตลาด โดย จะทำให้สนิ ค้าเป็นทีร่ จู้ กั ต่อผูบ้ ริโภคอย่างรวดเร็ว อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
ปรับปรุงขั้นตอนและระยะเวลาการจดทะเบียนให้มีความชัดเจนและรวดเร็วมากขึ้น โดยยกเลิกขั้นตอนที่ให้ผู้ขอจดทะเบียนหลายราย ซึ่งยื่น คำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายกันไปตกลง กันว่า รายหนึ่งรายใดจะเป็นผู้ขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า และให้นายทะเบียนดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียนที่ได้ยื่นไว้ เป็นรายแรกก่อน นอกจากนี ้ ได้ ม ี ก ารลดระยะเวลาปฏิ บ ั ต ิ ต ามคำสั ่ ง ของนายทะเบียน การคัดค้าน การโต้แย้ง การอุทธรณ์ คำสั่งของ นายทะเบียนต่อคณะกรรมการ การปฏิบัติตามคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ของคณะกรรมการจาก 90 วัน เหลือ 60 วัน ซึ่งจะทำให้ผู้ประกอบ ธุรกิจได้รับการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเร็วยิ่งขึ้น อันเป็น การสนองตอบต่อการประกอบธุรกิจในยุคปัจจุบัน
กำหนดบทกำหนดโทษสำหรับการนำหีบห่อหรือภาชนะที่แสดงเครื่องหมาย การค้ า ของบุ ค คลอื ่ น ที ่ จ ดทะเบี ย นไว้ ม าใช้ ส ำหรั บ สิ น ค้ า ของตนเองหรื อ ของบุคคลอื่น เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าของเจ้าของเครื่องหมาย การค้านั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเจ้าของเครื่องหมายการค้า เนือ่ งจากปัจจุบนั มีการนำหีบห่อหรือภาชนะทีม่ เี ครือ่ งหมาย การค้าทีจ่ ดทะเบียนแล้วของบุคคลอืน่ มาบรรจุสนิ ค้าทีไ่ ม่ใช่สนิ ค้าของเจ้าของเครือ่ งหมายการค้านัน้ เช่น น้ำมันเครือ่ ง ยาสระผม เป็นต้น โดยมีเจตนาที่จะให้ผู้ซื้อ/ผู้บริโภคหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าของเจ้าของเครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเจ้าของเครือ่ งหมายดังกล่าว และอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าอาหารและยา เป็นต้น
24
ปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติ เพือ่ ให้เหมาะสมและทันต่อสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยการปรับค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว ทุกรายการ เช่น ค่าธรรมเนียมคำคัดค้าน เดิมฉบับละ 1,000 บาท แก้ไขใหม่ฉบับละ 2,000 บาท เป็นต้น นอกจากนี้ได้มีการปรับวิธีคิด ค่าธรรมเนียม ในส่วนของการยื่นคำขอจดทะเบียนการจดทะเบียนและการต่ออายุ จากเดิมที่คิดเป็นรายการสินค้า/บริการ เป็นหากสินค้า/บริการแต่ละจำพวก 1 ถึง 5 อย่าง คิดเป็นรายการสินค้า/บริการ และหากสินค้า/บริการ แต่ละจำพวกมากกว่า 5 อย่าง คิดเป็นจำพวก ทั้งนี้การคิดเป็นจำพวกจะสอดคล้องกับการคิดค่าธรรมเนียมของพิธีสารมาดริด (Madrid Protocol) ซึ่ง ประเทศไทยกำลังจะเข้าเป็นภาคี
เพิ่มบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าภายใต้ พิธีสารมาดริด (Madrid Protocol) เพื ่ อ ให้ ม ี ก ฎหมายรองรั บ การเข้ า เป็ น ภาคี พ ิ ธ ี ส าร มาดริด ซึ่งจะเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการ และผู้ส่งออกของไทยในการยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมาย การค้าไปยังประเทศสมาชิกของพิธีสารดังกล่าวอีก 97 ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศในกลุม่ อาเซียน ได้แก่ สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และสปป.ลาว โดยเมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับ ผูป้ ระกอบการจะสามารถมายืน่ ขอจดทะเบียนได้ทก่ี รมทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ แทนการเดินทางไปยังประเทศ นั้นๆ ทั้งนี้ กฎหมายเครื่องหมายการค้าฉบับใหม่นี้ในส่วนของ การขยายขอบเขตความคุ้มครองไปยังเครื่องหมายเสียง การปรับ ปรุงขั้นตอนและระยะเวลาการจดทะเบียน บทกำหนดโทษ และ การปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมดังกล่าว จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้น กำหนด 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ส่วน การจดทะเบี ย นเครื ่ อ งหมายการค้ า ภายใต้ พ ิ ธ ี ส ารมาดริ ด (Madrid Protocol) จะมีผลใช้บังคับโดยการตราพระราช กฤษฎีกากำหนดวันใช้บังคับต่อไป
25
เจาะลึกสัมมนาระดับชาติ
MEGA DIVE
ระดมสมองผู้บริหารภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาความสามารถ โดย : สำนักการค้าสินค้า ในการแข่งขันของประเทศไทย ปัจจุบัน การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศต่างๆ โดยสถาบันหรือองค์กรต่างประเทศทีม่ ชี อ่ื เสียง เช่น World Economic Forum (WEF) International Institutefor Management Development (IMD) และ World Bank ล้วนส่งผลต่อภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือ ของประเทศที่ถูกจัดอันดับในสายตาของประเทศอืน่ ๆ และยัง ส่งผลต่อการตัดสินใจดำเนินนโยบายต่างๆ กับประเทศที่ถูกจัด อันดับ เช่น การตัดสินใจเข้ามาลงทุน และการโยกย้ายฐาน การผลิต เป็นต้น สถาบัน IMD หนึ่งในสถาบันประเมินและจัดอันดับ ความสามารถในการแข่งขันที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับระดับโลก ได้จัดลำดับความสามารถในการแข่งขันของไทยในปี 2556 ไว้ในอันดับที่ 27 จากทั้งสิ้น 60 ประเทศ และในปี 2557 ไทยตกลงมาอันดับที่ 29 ในขณะที่ประเทศอาเซียนอื่นมีพัฒนา
26
การที่ดีขึ้นในด้านความสามารถในการแข่งขันจึงถูกจัดอันดับ ให้ดีขึ้น อาทิ สิงคโปร์ ได้รับการจัดลำดับความสามารถในการ แข่งขันเป็นอันดับที่ 3 สูงขึ้น 2 อันดับ จากปี 2556 มาเลเซีย อยู่ที่อันดับ 12 สูงขึ้น 3 อันดับ จากปี 2556 ขณะที่อินโดนีเซีย อยู่อันดับที่ 37 ซึ่งสูงขึ้น 2 อันดับ จากปี 2556 เช่นกัน
นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี
นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
การจัดลำดับความสามารถในการแข่งขันของไทย มีสว่ นสำคัญต่อภาพลักษณ์ของประเทศ อีกทัง้ ยังส่งผลสะท้อน ต่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศ กระทรวงพาณิชย์จงึ ได้มอบหมาย กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ให้ร่วมกับสถาบัน IMD จัดงานระดมสมองผู้บริหารระดับประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในเรื่องความสามารถในการแข่งขันของไทย พร้อมทัง้ รับฟังข้อเสนอแนะในการพัฒนาความสามารถในการ แข่งขันจากเจ้าหน้าที่ และผู้บริหารทั้งของภาครัฐและเอกชน ภายใต้หวั ข้อเรือ่ งทีม่ นี ยั สำคัญต่อการเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของไทย 5 หัวข้อ ได้แก่ (1) ประสิทธิภาพ ภาครัฐต่อนโยบายการค้าโดยเฉพาะด้านการเงินการธนาคาร (2) ประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการ (3) การลงทุน จากต่างประเทศ (4) นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง และ (5) ภาคเกษตรกรรม
ในการแข่งขันของประเทศ อันจะนำไปสู่ความร่วมมือกัน อย่างเต็มที่ในวันงานสัมมนา
การจั ด งานระดมสมองครั ้ ง สำคั ญ นี ้ ได้ ร ั บ ความ ร่วมมืออย่างดีจากสถาบัน IMD ในการกำหนดรูปแบบของงาน ผู้เชี่ยวชาญ การถ่ายทอดความรู้ และวิธีการจัดงานสัมมนาที่ เรียกว่า “Mega Dive” ซึง่ เป็นการจัดงานสัมมนารูปแบบใหม่ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นอย่างเต็มที่ โดยไม่มีการปิดกั้นทางความคิด มี ก ารอบรมเทคนิ ค ให้ แ ก่ ผ ู ้ ช ่ ว ยดำเนิ น การสั ม มนา หรื อ Facilitator ที่คอยดูแลอำนวยความสะดวกในการสัมมนาให้ สามารถพูดกระตุ้นและดึงความคิดเห็น ตลอดจนควบคุมการ อภิปรายไปสู่ข้อสรุปได้ตรงกับหัวข้อการสัมมนามากที่สุด จึงใช้เวลาจัดงานทั้งหมด 3 วัน เป็นการเตรียมการ 2 วัน และวันจัดงานสัมมนา 1 วัน โดยให้ความสำคัญกับขั้นตอน การเตรียมงานเป็นพิเศษ เนื่องจากต้องการให้ทุกฝ่ายเข้าใจ และตระหนั ก ถึ ง ความจำเป็ น ในการพั ฒ นาความสามารถ
ส่วนหนึ่งของการจัดสัมมนาครั้งนี้ ได้มีผู้บริหาร ระดับสูงทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ รัฐมนตรีปลัดกระทรวง และผู้บริหารระดับสูงจากบริษัทชั้นนำของประเทศ เข้าร่วม พบปะหารือเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการพัฒนาขีด ความสามารถของไทย โดยรองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์) ได้กล่าวสุนทรพจน์ เรื่อง “ความสำคัญ ในการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทย” และ Prof. Arturo Bris ผู้อำนวยการสถาบัน IMD ได้บรรยายสรุป ผลการศึกษาเบื้องต้นในการประเมินความสามารถในการ แข่งขันของไทย ทั้งนี้ สถาบัน IMD และกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ ได้ร่วมกันจัดอบรม Facilitator ซึ่งประกอบด้วย เจ้าหน้าทีข่ องกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศทีไ่ ด้รบั คัดเลือก ให้เข้าร่วมปฏิบัติหน้าที่ ได้มีการชี้แจงถึงรายละเอียดของ หัวข้อต่างๆ และการเชื่อมโยงข้อคิดเห็น รวมถึงการกระตุ้น ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาแสดงความคิดเห็นภายใต้รูปแบบการ สัมมนา “Mega Dive” ในส่ ว นของการจั ด งานสั ม มนา “Mega Dive” ในวันที่ 20 มกราคม 2559 นัน้ มีผแู้ ทนจากภาครัฐและเอกชน ทั้งสิ้น 250 คน การสัมมนาครั้งนี้ มีจุดเด่นคือใช้ภาษาอังกฤษ ทั้งหมด ทั้งในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการนำ เสนอความคิดเห็น อีกทั้งยังมีการลงคะแนนให้แก่แนวคิดที่ดี ที่สุด เพื่อนำมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาข้อเสนอแนะต่างๆ สำหรับการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทย 27
จากผลของการสัมมนาในเบื้องต้น พบว่า ปัญหา ที่ทุกหัวข้อประสบเหมือนกันและต้องการให้มีการปรับปรุง แก้ไข อาทิ การขาดความต่อเนือ่ งของนโยบายรัฐบาล นโยบาย ของแต่ละหน่วยงานไม่สอดคล้องกัน ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น ในภาครัฐ กฎระเบียบของรัฐที่มากมายและซับซ้อน ยังขาด การลงทุนด้านพัฒนาบุคลากร/แรงงาน ขาดการวิจยั และพัฒนา ไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ และการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมสัมมนายังได้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อ เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา อาทิ การส่งเสริมให้มีความ ร่วมมือใกล้ชดิ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง และระหว่าง ภาครัฐกับภาคเอกชน สำหรับในการพิจารณานโยบายและ แนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ นั้น ให้จัดทำ Roadmap ในการ แก้ไขปัญหาโดยกำหนดกรอบระยะเวลาทีเ่ หมาะสม สำหรับการ ลงทุนจากต่างชาติ ได้เสนอให้มีการทบทวนกฎระเบียบที่เป็น อุปสรรค ปรับปรุงการอำนวยความสะดวกของภาครัฐ และปรับปรุง กฎระเบียบการจ้างแรงงานต่างชาติ ส่วนภาคการเกษตร ให้เน้นเรือ่ งการพัฒนาภาคเกษตรไปสูก่ ารเกษตรสมัยใหม่ สร้าง smart farmer ใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการเกษตร และส่งเสริม คนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ให้เข้าสู่ภาคเกษตรมากขึ้น ถึงแม้ว่าผลการสัมมนาจะยังเป็นเพียงเสียงสะท้อน จากภาครัฐและภาคเอกชนในเบือ้ งต้นแต่อย่างน้อยประเทศไทย ก็ได้ส่งสัญญาณที่ชัดเจนแล้วว่า ไทยมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยทั้งภาครัฐและ
28
Prof. Arturo Brisผู้อำนวยการสถาบัน IMD
ภาคเอกชนได้ร่วมแสดงศักยภาพทางความคิดเพื่อเสนอแนะ ปัญหาและข้อคิดเห็นในการแก้ไขปัญหาที่เป็นประโยชน์ ซึง่ นับว่าเป็นนิมติ รหมายของการเริม่ ต้นทีด่ ที จ่ี ะนำพาประเทศ ไทยให้สามารถแข่งขันในระดับโลกได้
โดย : สำนักอเมริกา แปซิฟิกและองค์การระหว่างประเทศ 29
เมือ่ กลางเดือนกุมภาพันธ์ทผ่ี า่ นมา พลเอก ประยุทธ์
จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมกับผู้นำประเทศอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ ได้เดินทางเข้าร่วมการประชุมตามคำเชิญ ของนายบารัค โอบามา ประธานาธิบดีสหรัฐฯ เพือ่ หารือแนวทาง เสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกันในด้านนวัตกรรม (Innovative) และการส่งเสริมผู้ประกอบการของอาเซียน (Entrepreneurial AEC) รวมทัง้ กระชับความสัมพันธ์กบั สหรัฐฯ ในทุ ก มิ ต ิ ภายหลั ง จากที ่ อ าเซี ย นและสหรั ฐ ฯ ได้ ย กระดั บ ความสั ม พั น ธ์ เ ป็ น หุ ้ น ส่ ว นเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ (Strategic Partnership) เมื่อปี 2558
ภายหลังจากการประชุม ASEAN-U.S. Leaders Summit รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ (นางอภิรดี ตันตราภรณ์) พร้อมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้เข้าร่วมกิจกรรม ASEAN Economic Ministers (AEM) Roadshow to U.S. ครั้งที่ 3 เมือ่ วันที่ 17-18 กุมภาพันธ์ 2559 ณ นครซานฟรานซิสโก และ Silicon Valley เพือ่ ยืนยันความสำคัญในฐานะหุน้ ส่วนยุทธศาสตร์ ระหว่างอาเซียนและสหรัฐฯ และประชาสัมพันธ์ศักยภาพของ ภูมิภาคอาเซียนภายหลังการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ ของอาเซียน (AEC)
30
วันแรก รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและผู้แทนการค้าของ สหรัฐฯ (USTR) ได้ร่วมประชุม ASEAN-U.S. TIFA Joint Council Meeting สมัยพิเศษ เพื่อสานต่อเรื่องที่ผู้นำได้ตกลงกัน ในการประชุม Summit มุ่งหวังที่จะเชื่อมโยงอาเซียนกับสหรัฐฯ 4 เรื่องหลัก ได้แก่ ธุรกิจ พลังงาน นวัตกรรม และนโยบาย พร้อมกับการเตรียมจัดตั้งสำนักงาน Connect Center ใน 3 เมืองหลักของอาเซียนช่วงปลายปี 2559 ได้แก่ กรุงเทพฯ จาการ์ตา และสิงคโปร์ และทัง้ สองฝ่าย ได้หารือเกีย่ วกับข้อเสนอ ของสหรั ฐ ฯ ที ่ จ ะจั ด การอบรมเชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารด้ า นการค้ า (U.S.-ASEAN Trade Workshops) ให้แก่อาเซียน เพื่อปูพื้นฐาน ความเข้ า ใจเกี ่ ย วกั บ ความตกลงการค้ า เสรี ท ี ่ ม ี ม าตรฐาน สูงอย่างความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (TPP) ซึ่งได้รับการตอบรับจากสมาชิกอาเซียนทุกประเทศเป็นอย่างดี นั บ เป็ น โอกาสดี ท ี ่ จ ะการสร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจในเชิ ง ลึ ก ในระหว่างที่ไทยศึกษาความพร้อมต่อความตกลง TPP ต่อไป
นอกจากนี ้ ทั ้ ง สองฝ่ า ยได้ ห ารื อ แนวทางกระชั บ ความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ โดยมุ ่ ง ให้ เ ป็ น รู ป ธรรมมากขึ ้ น ในอนาคต ฝ่ายอาเซียนได้ขอให้สหรัฐฯ แลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ ในการพัฒนา SMEs ICT และ e-commerce เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถทางการ แข่งขันให้แก่อาเซียน รวมทั้งได้ขอให้สหรัฐฯ สนับสนุนการจัด Trade Fair ตามเมืองต่างๆ เพื่อให้ชาวอเมริกันรู้จักอาเซียน มากขึน้ พร้อมกับขอให้สหรัฐฯพิจารณาตัง้ U.S.-ASEAN Center ในสหรัฐฯด้วย
นอกเหนือจากการหารือแผนงานฯ กับรัฐบาลสหรัฐฯ แล้ว รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนทั้ง 10 ประเทศยังได้เข้าร่วม เปิดงานสัมมนา U.S.-ASEAN Business Council Conference ของสภาธุรกิจสหรัฐฯ-อาเซียน และได้มีการอภิปรายเกี่ยวกับ ความสำเร็จในการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและ วิสัยทัศน์อาเซียนหลังปี 2558 เพื่อตอกย้ำการเป็นตลาดเดียว และฐานการผลิตของโลก และเหตุผลทีส่ นับสนุนว่า ทำไมอาเซียน จึงควรเป็นภูมิภาคที่นักธุรกิจสหรัฐฯ ต้องให้ความสำคัญเป็น อันดับแรก ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้กล่าวย้ำ กับทางนักธุรกิจสหรัฐฯว่า นอกเหนือจากการขจัดมาตรการที่ เป็นอุปสรรคทางการค้าแล้วอาเซียนยังมุ่งเน้นการปรับประสาน มาตรฐานให้เป็นหนึง่ เดียว เพือ่ อำนวยความสะดวกและเสริมสร้าง บรรยากาศการค้าและการลงทุนในอาเซียน นอกจากนี้ นายโจโก วีโดโด ประธานาธิบดีอนิ โดนีเซีย ได้กล่าวถ้อยแถลงในงานสัมมนา ดังกล่าวด้วย
31
สำหรับกิจกรรมโรดโชว์ในวันที่สอง รัฐมนตรีเศรษฐกิจ อาเซียนได้เดินทางไปเยี่ยมชมและดูงานด้านนวัตกรรมของ สหรัฐฯ อาทิ Autodesk Gallery แกลอรี่ที่รวบรวมผลงาน นวัตกรรมการออกแบบและวิศวกรรมที่โดดเด่นจากทั่วโลก โดยนำเสนอความคิดสร้างสรรค์และแสดงการนำเทคโนโลยีจาก ซอฟต์แวร์ของบริษทั ฯ มาเป็นเครือ่ งมือในการคิดค้นงานนวัตกรรม เช่น อาคาร Shanghai tower เครือ่ งบิน Airbus plane of 2050 ทีห่ อ้ งโดยสารเครือ่ งบินใช้วสั ดุโปร่งใสสามารถมองเห็นบรรยากาศ ภายนอก เป็นต้น Silver Spring Networks เป็นผู้ให้บริการ ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ที่ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศมาจัดการ ควบคุมการผลิตส่งและจ่ายพลังงานไฟฟ้า โดยสามารถรองรับการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าจากแหล่งพลังงาน ทางเลือก และบริหารการใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด Google ซึ่งได้นำเสนอโครงการ “Loon” ที่เป็นการกระจายเครือข่าย การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็ว 1 กิกะไบท์ต่อวินาทีให้กับพื้นที่ ทั่วโลก โดยไม่ต้องมีการติดตั้งโครงสร้างเสาเครือข่าย และ Prospect Silicon Valley ซึ ่ ง เป็ น องค์ ก รที ่ ส นั บ สนุ น ผูป้ ระกอบการรายใหม่ให้เกิดการพัฒนาทางด้านการค้า โดยจัดเตรียม ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นให้แก่บริษัทด้านเทคโนโลยี มีเป้าหมายในการสร้างเครือข่ายทีเ่ ชือ่ มโยงผูน้ ำทางด้านเทคโนโลยี
Project Loon
ผู้วิจัยและพัฒนาไว้ด้วยกัน ผ่านการจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน ทีแ่ ข็งแกร่งและทันสมัย เพื่อให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่สู่ ตลาดโลก การเข้ า ร่ ว ม AEM Roadshow to U.S. ในครั ้ ง นี ้ ถือเป็นประโยชน์ต่อทั้งอาเซียนและไทย เนื่องจากได้สร้างความ ตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียนที่มีต่อสหรัฐฯ ให้ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน โดยเฉพาะศักยภาพของภูมิภาคอาเซียนในการเข้าสู่ การเป็น AEC นอกจากนี้ การได้เยีย่ มชมและดูงานด้านนวัตกรรม ที่บริษัทของสหรัฐฯ ก็จะทำให้ไทยสามารถนำการดำเนินงานที่มี ประสิทธิภาพต่างๆ เช่น การส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs การพัฒนานวัตกรรมสินค้าใหม่และพัฒนาธุรกิจด้วยเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ได้อีกด้วย
Roadshow to U.S. เป็ น หนึ ่ ง ในกิ จ กรรมภายใต้ แผนงานภายใต้ ก รอบความร่ ว มมื อ ด้ า นการค้ า และ การลงทุน (ASEAN–US TIFA) ซึ่งอาเซียนและสหรัฐฯ ได้ลงนามเมื่อปี 2549 เพื่อเป็นช่องทางขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน โดยที่ผ่านมา อาเซียนและสหรัฐฯได้จัดกิจกรรม AEM Roadshow to U.S. มาแล้ว จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 3-5 พฤษภาคม 2553 ณ เมือง ซีแอตเทิลและกรุงวอชิงตัน ดีซี และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9-13 มิถุนายน 2556 ณ นครลอสแองเจลลิสนครซานฟรานซิสโก และกรุงวอชิงตัน ดีซี
32
ในอดีตที่ผ่านมามีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่โมเดล “ประเทศไทย 1.0” ที่เน้น ภาคการเกษตรไปสู่ “ประเทศไทย 2.0” ทีเ่ น้นอุตสาหกรรมเบา และก้าวสูโ่ มเดลปัจจุบนั “ประเทศไทย 3.0” ทเ่ี น้นอุตสาหกรรมหนัก ซึ่งภายใต้โมเดลนี้ต้องเผชิญกับกับดักสำคัญ ได้แก่ กับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) กับดักความเหลื่อมล้ำ (Inequality Trap) กับดักความไม่สมดุลของการพัฒนา (Imbalance Trap)
เป็นประเด็นความท้าทายที่รัฐบาลต้องปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศและนำพาประชาชนก้าวข้าม “ประเทศไทย 3.0” มุ่งสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม ผ่านโมเดล “ประเทศไทย 4.0” 33
Wealth of the Nation
Thailand 4.0 Thailand 1.0 Agriculture
Middle Income Trap Inequality Trap Imbalance Trap
Thailand 2.0 Light Industry
Thailand 3.0 Heavy Industry
Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine Green Growth Engine
Thailand 4.0
Industry for the Future
Prosperity Security Sustainability
โมเดล “ประเทศไทย 4.0” ประกอบด้วย กลไก ขับเคลื่อน (Engines of Growth) ดังนี้ 1. Productive Growth Engine เพื่อปรับเปลี่ยน ประเทศไทยสู่ High Income Country ทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม ปัญญา เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ โดยการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือในรูปแบบประชารัฐ การบริหารจัดการสมัยใหม่ และการสร้างคลัสเตอร์ทางด้านเทคโนโลยี การพัฒนาขีดความ สามารถด้านการวิจยั และพัฒนา การพัฒนาโมเดลธุรกิจทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยนวัตกรรม รวมถึงการบ่มเพาะธุรกิจด้านเทคโนโลยี เป็นต้น Productive Growth Engine เป็นการตอบโจทย์ ความพยายามในการก้าวข้าม “กับดักประเทศรายได้ปานกลาง” ที่เรากำลังเผชิญอยู่ 2. Inclusive Growth Engine เพือ่ ให้ประชาชนได้ รับประโยชน์และเป็นการกระจายรายได้ โอกาส และความมั่งคั่ง ที่เกิดขึ้น โดยสร้างคลัสเตอร์เศรษฐกิจระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานรากในชุมชน การส่งเสริมวิสาหกิจ เพื่อสังคม เพื่อตอบโจทย์ประเด็นปัญหาและความท้าทายทาง สังคมในมิติต่างๆ การส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมเข้มแข็งและสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก การยกระดับขีดความสามารถ การเสริมสร้างทักษะและการ เติมเต็มศักยภาพของประชาชนให้ทันกับพลวัตการเปลี่ยนแปลง จากภายนอก และการจ่ายภาษีให้แก่ผู้ที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ ที่กำหนดแบบมีเงื่อนไข (Negative Income Tax) เป็นต้น 34
Inclusive Growth Engine เป็นการตอบโจทย์ความ พยายามในการก้าวข้าม “กับดักความเหลื่อมล้ำ” ที่เกิดขึ้น ในปัจจุบัน
“ประเทศไทย 4.0” จึงเป็นการเปลีย่ นผ่านทัง้ ระบบ ใน 4 องค์ประกอบสำคัญ คือ
3. Green Growth Engine การสร้างความมัง่ คัง่ ของ ประเทศไทยในอนาคต จะต้องคำนึงถึงการพัฒนาและใช้เทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการมุ่งเน้นการใช้พลังงานทดแทน การปรับแนวคิดจากเดิมที่คำนึงถึงความได้เปรียบเรื่องต้นทุน (Cost Advantage) เป็นหลัก มาสู่การคำนึงถึงประโยชน์ที่ได้ จากการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งระบบ (Lost Advantage) หัวใจสำคัญอยู่ที่การพัฒนากระบวนการผลิตให้ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด อันจะเกิดประโยชน์กับประเทศและ ประชาคมโลกด้วยในเวลาเดียวกัน
1. เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) ในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหาร จั ด การและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกร ต้ อ งร่ ำ รวยขึ ้ น และเป็ น เกษตรกรแบบเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ (Entrepreneur)
Green Growth Engine เป็ น การตอบโจทย์ การหลุดออกจาก “กับดักความไม่สมดุลของการพัฒนา” (ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อม) ที่กำลังเผชิญอยู่ ณ ขณะนี้
2. เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มี อยู่ที่รัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง 3. เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งมีการสร้าง มูลค่าค่อนข้างต่ำ ไปสู่ High Value Services 4. เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง
ดังนั้น “ประเทศไทย 4.0” จะเป็นการปรับเปลี่ยนประเทศไทยไปสู่ประเทศที่มี รายได้สูงเป็นความมัง่ คัง่ ทีก่ ระจาย ตลอดจนเป็นระบบเศรษฐกิจสีเขียว ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอันเป็นคุณลักษณ์สำคัญของการเป็น “ประเทศโลก ที่หนึ่ง” ในศตวรรษที่ 21 นี้แน่นอน
35
รมว.พาณิชย์ หารือเอกอัครราชทูตคาซัคสถาน วันที่ 4 มกราคม 2559 นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ หารือกับ H.E. Mr. Marat Yessenbayev เอกอัครราชทูตคาซัคสถานประจำประเทศไทย ณ กระทรวงพาณิชย์
โครงการ FTA/AEC สัญจรขับเคลื่อน ความรูส้ เู่ ยาวชน 2016 ครัง้ ที่ 3 จังหวัดเชียงราย วันที่ 12 มกราคม 2559 กรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ จัดกิจกรรมภายใต้โครงการ “FTA/AEC สัญจรขับเคลือ่ น ความรู้สู่เยาวชน 2016” ครั้งที่ 3 ณ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จังหวัดเชียงราย โดยโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย ได้รบั รางวัล ชนะเลิศ ทัง้ ในการประกวดจัดซุม้ นิทรรศการ และการแข่งขันตอบ ปัญหาภาษาอังกฤษ
รองนายกฯ สมคิด กล่าวสุนทรพจน์ในงาน Mega Dive วันที่ 18 มกราคม 2559 นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีฝา่ ยเศรษฐกิจ กล่าวสุนทรพจน์ เรื่อง “ความสำคัญในการพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ของไทย” ในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความ สามารถในการแข่งขันของไทย (Mega Dive) ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ
36
การประชุม SEOM ครั้งที่ 1/47 ระหว่างวันที่ 19-21 มกราคม 2559 นางสาวอรุณี พูลแก้ว ผูต้ รวจราชการกระทรวงพาณิชย์ เป็นผูแ้ ทนไทยเข้าร่วม การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน (SEOM) ครั้งที่1/47 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ณ นครหลวง เวียงจันทน์ สปป.ลาว
เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ หารือ รมว.พาณิชย์ วันที่ 20 มกราคม 2559 H.E.Mr.Glyn T. Davies เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มแห่งสหรัฐอเมริกาประจำ ประเทศไทย เข้าเยี่ยมคารวะ นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ เนื่องในโอกาสเข้ารับตำแหน่งใหม่ อย่างเป็นทางการ และหารือในประเด็นความร่วมมือด้านต่างๆ ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพฯ
รองนายกฯสมคิด เยือนรัฐสุลต่านโอมาน และสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ระหว่างวันที่ 31 มกราคม - 5 กุมภาพันธ์ 2559 นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีฝ่าย เศรษฐกิจ พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ เดินทางเยือน รัฐสุลต่านโอมาน และสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน อย่างเป็น ทางการ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับโอมานและ อิหร่าน
37
ËÒÃ×Í·Õè»ÃÖ¡ÉÒËÍ¡ÒäŒÒáÅÐÍصÊÒË¡ÃÃÁÞÕè»Ø†¹ วันที่ 2 กุมภาพันธ 2559 นายวินิจฉัย แจมแจง ผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงพาณิชย หารือกับ Mr. Yoichi Kobayashi ที่ ป รึ ก ษาหอการค า และอุ ต สาหกรรมญี่ ปุ น ณ กระทรวงพาณิชย
µÃǨÊͺÀÒÇÐÃÒ¤ÒÊÔ¹¤ŒÒ ³ µÅÒ´ÃØ‹§à¨ÃÔÞ วันที่ 6 กุมภาพันธ 2559 นางสาวศิรินารถ ใจมั่น อธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ พรอมคณะ เดินทาง ตรวจสอบภาวะราคาสินคาอุปโภคบริโภค ณ ตลาดรุงเจริญ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ
¡ÒûÃЪØÁ AEM Retreat ¤ÃÑ駷Õè 22 ³ »ÃÐà·Èä·Â ระหว า งวั น ที่ 2-3 มี น าคม 2559 นางอภิ ร ดี ตันตราภรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เขารวมการ ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอยางไมเปนทางการ (AEM Retreat) ครั้งที่ 22 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมกับ รัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียนอีก 9 ประเทศ ที่ประเทศไทย เปนเจาภาพ ณ จังหวัดเชียงใหม
38
à» ´¡ÒûÃЪØÁàªÔ§»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃ
CAM
ER A
วันที่ 7 มีนาคม 2559 นางสาวสุนนั ทา กังวาลกุลกิจ รองอธิ บ ดี ก รมเจรจาการค า ระหว า งประเทศ เป น ประธาน เปดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การสงเสริมการเขามี สวนรวมของ SMEs ในหวงโซคุณคาโลกสาขาธุรกิจการเกษตร ภายใตกรอบเอเปค (The Integration of SMEs into Agribusiness Global Value Chains)” ซึ่งจัดโดยกรมเจรจาการคาระหวาง ประเทศ กระทรวงพาณิชย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และศู น ย บ ริ ก ารวิ ช าการแห ง จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซาลาดพราว กรุงเทพฯ
ÃÁª.¾Ò³ÔªÂ ËÒÃ×Í ÃÁª.¡ÒäŒÒÏ ÊÒ¸ÒóÃÑ°à¡ÒËÅÕ วันที่ 20 มีนาคม 2559 ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงพาณิชย นําคณะผูแ ทนไทย เขาพบ Mr. Woo Taehee รั ฐ มนตรี ช ว ยว า การกระทรวงการค า อุตสาหกรรมและพลังงาน (Ministry of Trade Industry and Energy (MOTIE) สาธารณรั ฐ เกาหลี เพื่ อ หารื อ ประเด็ น ดานพลังงาน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดานการ คาการลงทุนระหวางไทย - เกาหลีใต ดาน Creative Economy และประเด็นเศรษฐกิจการคาโลก
ÃÁÇ.¾Ò³ÔªÂ ËÒÃ×Í͸Ժ´Õ¡ÃÁ¡ÒäŒÒÏ ÞÕè»Ø†¹ วันที่ 28 มีนาคม 2559 อธิบดีกรมการคาและ ความร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ กระทรวงเศรษฐกิ จ การค า และ อุตสาหกรรมประเทศญี่ปุน เขาพบนางอภิรดี ตันตราภรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เพื่อหารือการดําเนินการเพื่อ พัฒนาทรัพยากรมนุษยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และประเด็น ความรวมมือทางเศรษฐกิจ
39
E-learning : http://elearning.dtn.go.th/
Google Play