ความคิด โดยเฟรเก

Page 1

1

ความคิด

ก็อตต์ลอบ เฟรเก

เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน์ ผู้แปล

เช่นเดียวกับการที่คำาว่า “งาม” ชี ้ทางให้ แก่สนุ ทรี ยศาสตร์ และคำาว่า “ดี” ชี ้ทางให้ แก่จริ ยศาสตร์ คำา อย่างเช่น “จริง” ก็ชี ้ทางให้ แก่วิชาตรรกศาสตร์ ด้ วยเช่นกัน วิทยาศาสตร์ ทกุ สาขามีความจริ งเป็ นเป้าหมาย แต่ตรรกศาสตร์ สมั พันธ์กบั ความจริงในวิธีที่คอ่ นข้ างจะแตกต่างออกไปจากวิทยาศาสตร์ ตรรกศาสตร์ มี ความสัมพันธ์กบั ความจริงมากเท่าที่ฟิสิกส์มีความสัมพันธ์กบั น้ำ าหนักหรื อความร้ อน การค้ นพบความจริ ง เป็ นหน้ าที่ของวิทยาศาสตร์ แต่ภาระของตรรกศาสตร์ คือการค้ นหากฎของความจริ ง คำาว่า “กฎ” ถูกใช้ ใน สองความหมาย เมื่อเราพูดถึงกฎศีลธรรมหรื อกฎหมาย เราหมายถึงข้ อบัญญัติที่ควรได้ รับการเชื่อฟั ง ที่ใน ความเป็ นจริ งคนอาจไม่ยอมปฏิบตั ิตามก็ได้ กฎธรรมชาติคือคุณสมบัติทวั่ ไปของสิ่งที่เกิดขึ ้นในธรรมชาติ และปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นในธรรมชาติจะสอดคล้ องกับกฎธรรมชาติเสมอ นี่จะเป็ นความหมายที่ข้าพเจ้ า อยากจะใช้ เมื่อพูดถึงกฎของความจริง ในความหมายเช่นนัน้ ก็ยอ่ มแน่นอนว่ามันไม่ใช่เรื่ องของสิ่งที่จะเกิด ขึ ้น แต่เป็ นเรื่ องของสิ่งที่เป็ นอยู่ จากกฎของความจริ งจะตามมาด้ วยข้ อบัญญัติเกี่ยวกับ การยืนยัน การคิด การตัดสิน การอนุมาน และเราอาจจะพูดถึงกฎของความคิดในลักษณะแบบเดียวกัน แต่ ณ ที่นี ้จะมี อันตรายของการเอาสิ่งมาสับสนกันเกิดขึ ้นทันที คนทังหลายอาจจะตี ้ ความ “กฎของความคิด” โดยการ เปรี ยบเทียบกับ “กฎของธรรมชาติ” แล้ วเข้ าใจคุณสมบัติทวั่ ๆ ไปของการคิดว่าเป็ นปรากฏการณ์ทางจิต กฎ ของความคิดในความหมายนี ้จะถูกถือเป็ นกฎทางจิตวิทยา เมื่อเป็ นเช่นนัน้ พวกเขาอาจจะเผลอคิดไปว่า ตรรกศาสตร์ เกี่ยวข้ องกับกระบวนการทางการคิดของจิต และเกี่ยวข้ องกับกฎทางจิตวิทยา โดยกระบวนการ ทางความคิดจะสอดคล้ องไปกับกฎทางจิตวิทยา นี่ยอ่ มเป็ นการเข้ าใจหน้ าที่ของตรรกศาสตร์ อย่างผิดๆ ซึง่ เป็ นเพราะเรายังได้ วางความจริงไว้ ในตำาแหน่งที่ถกู ต้ องเหมาะสม ความหลงผิดและไสยศาสตร์ ก็ยอ่ มมี สาเหตุ เหมือนกันกับที่การรู้อย่างถูกต้ อง ก็ยอ่ มต้ องมีสาเหตุ ไม่วา่ สิ่งที่คณ ุ ถือเอาว่าจริ ง มันจะเป็ นเท็จ หรื อ เป็ นจริ ง การถือเอาเช่นนันของคุ ้ ณ ก็ยอ่ มเกิดขึ ้นตามกฎทางจิตวิทยา การอนุมานจากกฎเหล่านี ้ ซึง่ ก็คือ คำา อธิบายของกระบวนการทางจิตที่สร้ างให้ เกิดการคิดว่าบางสิ่งเป็ นจริ งนัน้ ไม่สามารถแทนที่การพิสจู น์คา่ ความจริ งของสิ่งที่ถกู ยึดถือว่าจริง แต่กฎทางตรรกศาสตร์ จะไม่มีในบทบาทในกระบวนการคิดด้ วยเลยหรื อ 

แปลจาก Gottlob Frege, “Thoughts”, in G. Frege, Collected Papers on Mathematics, Logic, and Philosophy (Oxford: Basil Blackwell, 1984), ed. B. McGuinness, trans. P. Geach and R. H. Stoothoff, 351-72. ฉบับแปลภาษาอังกฤษอีกฉบับหนึง่ มีชื่อว่า “The Thought: A Logical Inquiry” ใน P. F. Strawson (ed.), Philosophical Logic, (Oxford Readings in Philosophy, 1976), 17-38.


2

ข้ อนี ้ผมไม่อยากโต้ แย้ ง แต่ถ้ามันเป็ นคำาถามเรื่ องความจริ ง ความเป็ นไปได้ นี ้ก็ยงั ไม่เพียงพอ เพราะมันย่อม เป็ นไปได้ เช่นกันที่บางสิ่งที่ไม่ใช่ตรรกศาสตร์ จะมีสว่ นในกระบวนการคิดและทำาให้ มนั ไถลออกไปจากความ จริ ง เราจะสามารถตัดสินได้ ก็ตอ่ เมื่อเรารู้กฎของความจริ งแล้ วเท่านัน้ แต่เมื่อถึงตอนนัน้ เราก็นา่ ที่จะ สามารถทิ ้งเรื่ องการอนุมานและคำาอธิบายกระบวนการทางจิตไปได้ นัน่ คือ ถ้ าเรื่ องที่เราสนใจคือการตัดสิน ว่ากระบวนการทางการคิดลงเอยด้ วยการยึดบางสิ่งว่าจริ ง อย่างมี เหตุผลรองรับหรื อไม่ เพื่อที่จะหลีกเลี่ยง ความเข้ าใจผิดและป้องกันความไม่ชดั เจนของเส้ นแบ่งระหว่างจิตวิทยาและตรรกศาสตร์ ผมขอกำาหนดว่า หน้ าที่ของตรรกศาสตร์ คือการค้ นพบกฎของความจริ ง ไม่ใช่การค้ นพบกฎของการยึดถือว่าสิ่งต่างๆ เป็ นจริ ง หรื อกฎของการคิด ความหมายของคำาว่า “จริ ง” จะถูกอธิบายออกมาในกฎของความจริ ง แต่ก่อนอื่น ผมจะพยายามให้ เค้ าโครงคร่าวๆ ของคำาว่า “จริ ง” ตามที่ผมอยากใช้ ในประเด็นนี ้ เพื่อ ตัดการใช้ คำาว่า “จริง” ที่ไม่เกี่ยวข้ องออกไป คำาว่า “จริ ง” ไม่ได้ ใช้ ณ ที่นี ้ในความหมายแบบ “แท้ ” หรื อ “ปลอ ม” และไม่ใช่ในแบบที่เกิดขึ ้นในการอภิปรายเรื่ องศิลปะ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อคนทังหลายพู ้ ดถึงความจริ งใน ศิลปะ เมื่อความจริงถูกตังขึ ้ ้นมาว่าเป็ นเป้าหมายของศิลปะ เมื่อมีการพูดถึงความจริ งของงานศิลปะชิ ้นหนึง่ หรื อพูดถึงความรู้สกึ ที่แท้ จริงของงาน นอกจากนันคำ ้ าว่า “จริ ง” ก็ถกู นำาไปวางไว้ หน้ าคำาอื่นเพื่อแสดงว่าคำา นันควรเข้ ้ าใจในความหมายเฉพาะของคำา ๆ นันเอง ้ ไม่เจือปนด้ วยความหมายอื่น การใช้ แบบนี ้ก็อยูน่ อก ทางเดินของเราเช่นกัน สิ่งที่อยูใ่ นใจผมก็คือความจริ งชนิดที่วิทยาศาสตร์ อยากค้ นหา หากมองด้ านไวยากรณ์ คำาว่า “จริง” ดูเหมือนจะเป็ นคำาที่แทนคุณสมบัติ ดังนัน้ เราต้ องการจะ จำากัดให้ แคบลงไปอีกว่าความจริงสามารถใช้ เป็ นภาคแสดงได้ ในขอบเขตไหน นัน่ ก็คือเราอยากจะชี ้ให้ ชดั ว่า คำาถามเรื่ องความจริงเกิดขึ ้นได้ ในอาณาเขตไหน ซึง่ เราก็จะพบว่า ความจริ งถูกใช้ ในการบรรยายรูปภาพ มโนคติ ประโยค และความคิด เห็นได้ ชดั ว่า มีทงสิ ั ้ ่งที่มองเห็นได้ ได้ ยินได้ และสิ่งที่ไม่สามารถรับรู้ได้ ด้วย ประสาทสัมผัส ซึง่ แฝงนัยว่า น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงความหมายเกิดขึ ้น และมันก็เกิดขึ ้นแล้ วจริ งๆ รูปภาพ ในฐานะของสิ่งที่มองเห็นได้ และสัมผัสได้ เป็ นจริ ง แล้ วก้ อนหินหรื อใบไม้ ไม่เป็ นจริ งอย่างนันหรื ้ อ เห็นได้ ชดั ว่าเราไม่อาจบอกได้ ว่ารูปภาพเป็ นจริง จนกว่าจะมีเจตนาบางอย่างเข้ ามาประกอบ รูปภาพถูกเจตนาให้ เป็ น ตัวแทนของอะไรบางอย่าง (แม้ แต่มโนคติก็ยงั ไม่ถือว่าจริ งในตัวของมันเอง แต่เมื่อมีเจตนามาเกี่ยวข้ อง เท่านันที ้ ่มโนคติจงึ จะสอดคล้ องกับอะไรบางอย่าง) จากจุดนี ้เราอาจจะคิดว่า ความจริ งของรูปภาพอยูท่ ี่ ความสอดคล้ องสมนัยกัน (correspondence) ระหว่างรูปภาพนันกั ้ บสิ่งที่รูปพรรณนาถึง ความสมนัยคือ ความสัมพันธ์ แต่มนั ขัดกับการใช้ คำาว่า “จริง” ซึง่ ไม่ใช่คำาศัพท์ที่แสดงความสัมพันธ์ และไม่มีตวั บ่งชี ้ไปถึง อะไรซึง่ บางสิ่งสอดคล้ องสมนัยด้ วย ถ้ าผมไม่ร้ ูวา่ รูปภาพรูปหนึง่ ถูกกำาหนดให้ เป็ นตัวแทนของวิหารโค โลจ์ญ ผมก็จะไม่ร้ ูว่าจะเอารูปนันไปเปรี ้ ยบเทียบกับอะไรเพื่อตัดสินค่าความจริ งของมัน นอกจากนี ้ ความ สอดคล้ องสมนัยจะเป็ นไปโดยสมบูรณ์ได้ ก็ตอ่ เมื่อ สิ่งที่สอดคล้ องกันนันสมนั ้ ยกันในทุกด้ าน และ ดังนัน้ ไม่ เป็ นของคนละอย่างกัน เราถือกันว่าเป็ นไปได้ ที่จะทดสอบธนบัตรใบหนึง่ ว่าจริ งหรื อไม่ โดยการเปรี ยบเทียบ รายละเอียดและเนื ้อกระดาษของมันกับธนบัตรจริ ง แต่มนั คงตลกมากหากเราพยายามเปรี ยบเทียบทอง


3

ก้ อนหนึง่ กับธนบัตรยี่สิบมาร์ กในเชิงรายละเอียดและตัววัสดุ มันจะเป็ นไปได้ ที่จะเปรี ยบเทียบมโนคติหนึง่ กับสิ่งๆ หนึง่ ก็ตอ่ เมื่อสิ่งนันเป็ ้ นมโนคติด้วยเช่นกัน แล้ วถ้ าสิ่งแรกสอดคล้ องแบบสมนัยกับสิ่งที่สองอย่าง สมบูรณ์ ทังสองสิ ้ ่งก็จะตรงกัน แต่นี่ไม่ใช่สิ่งที่คนตังใจจะหมายถึ ้ ง เมื่อพวกเขานิยาม ความจริ ง ว่าคือความ สอดคล้ องกันระหว่างมโนคติกบั อะไรบางสิ่งที่เป็ นจริ ง เพราะในกรณีนี ้ มันสำาคัญมาก ว่าความเป็ นจริ งต้ อง เป็ นของคนละอย่างกับมโนคติ แต่ถ้าเช่นนัน้ ก็จะไม่มีความสอดคล้ องกันอย่างสมบูรณ์ และไม่มีความจริ งที่ สมบูรณ์ ดังนันก็ ้ ไม่มีอะไรเลยที่จะเป็ นจริงได้ เพราะสิ่งที่จริ งครึ่งหนึง่ ก็ยงั ไม่จริ ง ความจริ งไม่ยอมรับให้ เป็ น อะไรที่ครึ่งๆ กลางๆ แต่เราไม่สามารถยืนยันได้ เลยหรื อว่า มีความจริ งเมื่อมีความสอดคล้ องสมนัยในแง่ใด แง่หนึง่ แต่แง่ไหนล่ะ เพราะถ้ าเป็ นเช่นนัน้ เราควรทำาอะไรละเพื่อจะได้ สามารถตัดสินได้ ว่าสิ่งหนึง่ จริ งหรื อ ไม่ เราควรต้ องสอบถามว่าจริ งหรือไม่ ที่มโนคติและความเป็ นจริ งจะสอดคล้ องสมนัยกันในแง่ที่ระบุถึง แต่ แล้ วเราก็อาจเผชิญหน้ ากับคำาถามแบบเดียวกันอีก แล้ วเกมถามปั ญหาก็เริ่ มขึ ้นอีก ดังนัน้ คำาอธิบายว่า ความจริ งคือความสอดคล้ องจึงตกประเด็นไป และความพยายามอื่นๆ ที่จะนิยามความจริ งก็ตกประเด็นไป ด้ วย เพราะในคำานิยามหนึง่ ๆ ลักษณะเฉพาะบางอย่างจะต้ องถูกระบุลงมา และเมื่อเอาไปใช้ ในกรณีเฉพาะ ไม่วา่ กรณีใด คำาถามก็จะโผล่ขึ ้นมาเสมอว่ามันจริ งหรื อไม่ที่ว่าลักษณะเฉพาะนันปรากฏอยู ้ ่ ดังนัน้ เราก็จะ เดินวนเป็ นวงกลม ด้ วยเหตุนี ้ ดูเหมือนว่า เนื ้อหาของคำาว่า “จริ ง” นัน้ เป็ นสิ่ งพิ เศษทีไ่ ม่มีอะไรเหมื อน และ ไม่อาจนิยามได้ เมื่อเราอ้ างว่ารูปภาพรูปหนึง่ เป็ นจริง เราไม่ได้ ตงใจจริ ั้ ง ๆ ที่จะอ้ างถึงคุณสมบัติหนึง่ ซึง่ อาจจะเป็ น ของรูปภาพนี ้อย่างเป็ นอิสระจากคุณสมบัติอื่นๆ สิ่งที่อยูใ่ นใจเราเสมอเป็ นวัตถุอะไรบางอย่างที่แตกต่างไป โดยสิ ้นเชิง และเราอยากบอกว่า รูปภาพนันสอดคล้ ้ องกับวัตถุนี ้ในบางลักษณะ “มโนคติของผมสอดคล้ อง กับวิหารโคโลจ์ญ” เป็ นประโยค ๆ หนึง่ และสิ่งที่เป็ นปั ญหาก็คือตัวความจริ งของประโยคนี ้ ฉะนัน้ สิ่งที่มกั จะเรี ยกกันอย่างไม่คอ่ ยเหมาะสมนักว่าความจริ งของรูปภาพและความจริ งของมโนคติ จะถูกลดทอนลงไป เป็ นความจริ งของประโยค แล้ วอะไรกันละคือสิ่งที่เราเรี ยกว่าประโยค คำาตอบคือเสียงที่เรี ยงลำาดับกันไปชุด หนึง่ แต่ก็ตอ่ เมื่อมันมีความหมายเท่านัน้ (นี่ไม่ได้ หมายความที่จะบอกว่า กลุม่ เสียงใดๆ ก็ตามที่มีความ หมายจะต้ องเป็ นประโยค) และเมื่อเราบอกว่าประโยคหนึง่ จริ ง เราหมายความว่า ความหมายของประโยค นันเป็ ้ นจริ ง ดังนัน้ สิ่งเดียวที่ทำาให้ เกิดประเด็นคำาถามเรื่ องความจริ ง ก็คือความหมายของประโยค แล้ ว ความหมายของประโยคใช่มโนคติหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ความจริ งไม่ได้ อยูท่ ี่ความสอดคล้ องสมนัยระหว่าง ความหมายกับสิ่งอื่น เพราะถ้ าเป็ นเช่นนัน้ คำาถามเรื่ องความจริ งจะวนซ้ำ าไม่ร้ ูจกั จบสิ ้น ผมไม่ได้ กำาลังเสนอให้ นี่เป็ นนิยาม แต่ด้วยคำาว่า “ความคิด” ผมหมายถึงบางสิ่งบางอย่างที่คำาถาม เรื่ องความจริ งจะถูกตังขึ ้ ้นมาถามได้ เท่านัน้ ดังนันผมจะถื ้ อว่าสิ่งที่เป็ นเท็จก็เป็ นความคิดไม่ตา่ งไปจากสิ่งที่ เป็ นจริ ง1 ด้ วยเหตุนี ้ ผมสามารถพูดว่า ความคิดคือความหมายของประโยค โดยไม่ยืนยันว่า ความหมาย ของประโยคทุกๆ ประโยคคือความคิดๆ หนึง่ โดยตัวของมันเองแล้ ว ความคิดไม่สามารถรับรู้ได้ ด้วย


4

ประสาทสัมผัส และจะถูกสวมใส่ไว้ ในอาภรณ์ที่ทำาให้ รับรู้ได้ ของประโยคคำาพูด และด้ วยวิธีเช่นนันพวกเราก็ ้ สามารถเข้ าใจมันได้ เรากล่าวว่า ประโยคคำาพูดแสดงออกถึงความคิด ความคิด เป็ นสิ่งที่ไม่อาจรับรู้ได้ ด้วยประสาทสัมผัส อะไรก็ตามที่ประสาทสัมผัสสามารถรับรู้ได้ จะ อยูน่ อกอาณาเขตที่เรื่องของความจริงเท็จจะตังขึ ้ ้นมาถามได้ ความจริ งไม่ใช่คณ ุ ภาพที่ตรงกับกับรอย ประทับทางผัสสะ (sense-impression) ประเภทหนึง่ ดังนัน้ มันจึงแตกต่างจากคุณภาพที่เราเรี ยกว่า “แดง” “ขม” “กลิ่นหอม” อย่างชัดเจน แต่ไม่จริงหรือว่าเราเห็นว่าพระอาทิตย์ขึ ้นแล้ ว และเราไม่เห็นหรอกหรื อว่านี่ เป็ นความจริ ง ความจริงที่ว่าพระอาทิตย์ขึ ้นแล้ วไม่ใช่วตั ถุที่กำาลังส่งลำาแสงมาถึงตาของเรา มันไม่ใช่สิ่งที่ มองเห็นได้ เหมือนอย่างตัวของพระอาทิตย์เอง ข้ อว่าพระอาทิตย์ขึ ้นแล้ ว ถูกยอมรับว่าจริ งบนพื ้นฐานของ รอยประทับทางผัสสะ แต่การเป็ นจริงไม่ได้ เป็ นคุณสมบัติที่รับรู้ได้ และสังเกตได้ ด้วยประสาทสัมผัส การที่ สิ่งๆ หนึง่ เป็ นแม่เหล็กก็ตระหนักรู้บนพื ้นฐานของรอยประทับทางผัสสะของวัตถุ ถึงแม้ คณ ุ สมบัติของการ เป็ นแม่เหล็กนี ้จะไม่ได้ สอดคล้ องกับรอยประทับทางผัสสะเฉพาะประการใดประการหนึง่ มากไปกว่าในกรณี ของความจริ ง เท่าที่พดู มา คุณสมบัติพวกนี ้ตรงกัน อย่างไรก็ตาม เราจำาเป็ นต้ องมีรอยประทับทางผัสสะ เพื่อจะยอมรับว่าวัตถุชิ ้นหนึง่ เป็ นแม่เหล็ก ในทางตรงกันข้ าม เมื่อผมพบว่ามันเป็ นความจริ งที่ว่า ผมไม่ได้ กลิ่นอะไรในตอนนี ้ ผมไม่ได้ พบว่ามันเป็ นจริ งบนพื ้นฐานของรอยประทับทางผัสสะ เช่นเดียวกัน มันเป็ นสิ่งที่น่าคิดอย่างยิ่ง เกี่ยวกับข้ อที่วา่ เราไม่สามารถหมายรู้คณ ุ สมบัติประการ หนึง่ ของสิ่งๆ หนึง่ โดยปราศจากการพบไปพร้ อม ๆ กันว่า ความคิดว่า สิ่ งนีม้ ี คณ ุ สมบัตินี้ เป็ นจริ ง ดังนัน้ สำาหรับทุกๆ คุณสมบัติของสิ่ง ๆ หนึง่ จะมีคณ ุ สมบัติหนึง่ ของความคิดผูกติดอยูด่ ้ วย นัน่ ก็คือ ความจริ ง นอกจากนี ้ก็ยงั น่าสังเกตด้ วยเช่นกันว่า ประโยคคำาพูดว่า “ผมได้ กลิ่นดอกไวโอเล็ต” จะมีเนื ้อหาที่เหมือนกัน กับประโยคคำาพูดว่า “มันเป็ นจริงที่ว่าผมได้ กลิ่นดอกไวโอเล็ต” ดังนัน้ มันดูเหมือนว่าไม่มีสิ่งใดถูกเพิ่มเติม เข้ าไปในความคิดที่ผมระบุว่ามีคณ ุ สมบัติของความจริ ง แต่กระนันมั ้ นไม่ใช่ผลลัพธ์อนั ยิ่งใหญ่หรอกหรื อ ที่ ในท้ ายที่สดุ หลังจากการวิจยั อย่างหนักและด้ วยความลังเลใจอย่างมาก นักวิทยาศาสตร์ จะสามารถที่จะ กล่าวออกมาว่า “การคาดคะเนของฉันเป็ นจริ ง” ความหมายของคำาว่า “จริ ง” ดูเหมือนว่าจะเป็ นสิ่ งพิ เศษ เฉพาะที ไ่ ม่มีอะไรเหมือน ด้ วยประการทังมวล ้ บางที เป็ นไปได้ หรื อไม่วา่ เราอาจกำาลังยุง่ อยูก่ บั สิ่งที่ไม่ สามารถเรี ยกได้ ว่าเป็ นคุณสมบัติในความหมายธรรมดาๆ เลยก็เป็ นได้ ? ถึงแม้ จะมีข้อสงสัยนี ้อยู่ ผมก็จะขอ เริ่ มด้ วยการแสดงความคิดของผมตามแบบการใช้ โดยทัว่ ๆ ไป คือประหนึง่ ว่า ความจริ งเป็ นคุณสมบัติอย่าง หนึง่ จนกระทัง่ จะพบวิธีการพูดที่เหมาะสมกว่านี ้ เพื่อจะได้ เห็นชัดเจนขึ ้น ว่าสำาหรับผม คำาว่า “ความคิด”หมายถึงอะไร ผมจะแยกแยะให้ เห็นถึง ประโยคคำาพูดหลายๆ แบบ2 เราคงไม่ปฏิเสธว่าคำาสัง่ มีความหมาย แต่ความหมายแบบนี ้ไม่ใช่สิ่งที่จะถาม เรื่ องค่าความจริงเท็จได้ ดังนันผมจะไม่ ้ เรียกความหมายของคำาสัง่ ว่าเป็ นความคิด ประโยคขอร้ องหรื อ ประโยคที่แสดงความปรารถนาก็ถกู ตัดออกไปด้ วยเหตุเดียวกัน เฉพาะประโยคที่เราสื่อสารหรื อยืนยันบาง สิ่งบางอย่างเท่านันที ้ ่เข้ าประเด็น แต่ ณ ที่นี ้ ผมจะไม่นบั ประโยคอุทานที่เราใช้ แสดงความรู้สกึ การ


5

คร่ำาครวญ การถอนหายใจ การหัวเราะ นอกเสียจากว่าจะมีข้อตกลงพิเศษอะไรบางอย่างมาตัดสินว่ามัน เป็ นประโยคที่มงุ่ จะสื่อสารอะไรบางอย่าง แล้ วประโยคคำาถามล่ะ? ในการถามด้ วยคำา3 เรากล่าวประโยคที่ ไม่สมบูรณ์ ซึง่ หมายความว่าจะได้ รับความหมายที่จริ งของมันก็ตอ่ เมื่อเติมส่วนที่เรากำาลังถามอยูใ่ ห้ สมบูรณ์ ดังนัน้ ณ ที่นี ้ การถามด้ วยคำาก็ถกู ตัดออกจากการพิจารณา เช่นเดียวกัน การถามด้ วยข้ อความ4 เป็ นสิ่งที่แตกต่างออกไป เราคาดหวังที่จะได้ ยินคำาว่า “ใช่” หรื อ “ไม่ใช่” คำาตอบ “ใช่” มีคา่ เท่ากับประโยค ยืนยัน เพราะเมื่อพูดว่า “ใช่” ผู้พดู นำาเสนอว่าความคิดซึง่ ถูกบรรจุอยูแ่ ล้ วอย่างสมบูรณ์ในประโยคคำาถาม นันเป็ ้ นจริ ง นี่คือวิธีการที่คำาถามในรูปข้ อความสามารถสร้ างออกมาจากประโยคยืนยัน และนี่คือสาเหตุว่า ทำาไมประโยคอุทานจึงไม่ถือว่าเป็ นการสื่อสาร คือ เพราะเราไม่สามารถสร้ างคำาถามในรูปข้ อความออกมา จากประโยคอุทานได้ นนั่ เอง ประโยคคำาถามและประโยคยืนยันบรรจุความคิดเดียวกัน แต่ประโยคยืนยันยัง บรรจุสิ่งอื่นไว้ ด้วย ซึง่ ก็คือ การยืนยันนัน่ เอง ประโยคคำาถามบรรจุสิ่งอื่นด้ วย กล่าวคือ การร้ องขอ ด้ วยเหตุ นี ้ ในประโยคยืนยัน เราต้ องแยกแยะสิ่งสองสิ่งออกจากการกัน นัน่ ก็คือ ตัวเนื ้อหา ซึง่ มีร่วมกันกับคำาถามที่ อยูใ่ นรูปข้ อความ และตัวการยืนยัน สิ่งแรกเป็ นความคิด หรื ออย่างน้ อยก็บรรจุความคิด ดังนัน้ จึงเป็ นไป ได้ ที่เราสามารถแสดงความคิดได้ โดยไม่ต้องกล่าวว่ามันจริ ง ทังสองสิ ้ ่งนี ้เชื่อมติดกันใกล้ ชิดมากในประโยค ยืนยันจนเป็ นการง่ายที่จะมองข้ ามความสามารถที่จะแยกออกจากกัน ด้ วยเหตุนี ้ เราจึงต้ องแยกแยะ (1) การเข้ าใจความคิด ซึง่ ก็คือ การคิด (2) การยอมรับความจริงของความคิด ซึง่ ก็คือ การกระทำาการตัดสิน5 (3) การแสดงการตัดสินออกมา ซึง่ ก็คือ การยืนยัน เราได้ กระทำาการกระทำาแรกไปแล้ ว เมื่อเราสร้ างประโยคคำาถามแบบข้ อความ ความก้ าวหน้ าทาง วิทยาศาสตร์ ก็เริ่มต้ นด้ วยวิธีการแบบนี ้อยูเ่ สมอ เริ่ มแรกก็คือความคิดหนึง่ ถูกเข้ าใจ แล้ วบางทีจะแสดงออก มาในรูปแบบประโยคคำาถามแบบข้ อความ หลังจากสำารวจเพียงพอแล้ ว ความคิดนี ้ก็จะได้ รับการยอมรับว่า จริ ง เราแสดงการยอมรับความจริงนี ้ในรูปแบบประโยคยืนยัน เราไม่จำาเป็ นต้ องใช้ คำาว่า “จริ ง” กับการกระ ทำานี ้ และแม้ แต่ตอนที่เราใช้ คำานี ้ พลังของการยืนยันก็ไม่ได้ อยูใ่ นคำาๆ นี ้ แต่อยูใ่ นรูปประโยคแบบยืนยัน ต่างหาก และเมื่อรูปแบบประโยคสูญเสียแรงพลังของการยืนยัน คำาว่า “จริ ง” ก็ไม่สามารถนำาพลังนันกลั ้ บ มาได้ กรณีเช่นนี ้เกิดขึ ้นเมื่อเราไม่ได้ พดู อะไรอย่างเอาจริ งเอาจัง ฟ้าร้ องบนละครเวทีเป็ นแค่ฟ้าร้ องปลอมๆ และการต่อสู้ก็เป็ นการต่อสู้ปลอมๆ ดังนัน้ การยืนยันบนเวทีก็เป็ นการยืนยันปลอมๆ เป็ นแค่การแสดง เป็ น แค่เรื่ องแต่งเรื่องเล่น นักแสดงเมื่อเขาเล่นไปตามบทของเขา ไม่ได้ กำาลังยืนยันอะไรทังนั ้ น้ แต่เขาก็ไม่ได้ โกหกแม้ เขาจะพูดสิ่งที่เขาเชื่อว่าเป็ นเท็จ ในกรณีของกวีนิพนธ์ เรามีความคิดที่ถกู แสดงออกมาโดยไม่ได้ ยืนยันว่าจริ ง ทังที ้ ่อยูใ่ นรูปประโยคยืนยัน ถึงแม้ บทกวีจะเสนอแนะให้ ผ้ ฟู ั งทำาการยืนยันข้ อตัดสินด้ วยตัวเอง ด้ วยเหตุนี ้ แม้ กบั สิ่งที่อยูใ่ นรูปประโยคยืนยัน ก็ยงั คงมีคำาถามว่า มันจะมีการยืนยันอยูด่ ้ วยจริ งๆ หรื อไม่ ถ้ า ความเอาจริ งเอาจังในคำาพูดขาดหายไป คำาถามนี ้ต้ องได้ รับคำาตอบปฏิเสธ ไม่สำาคัญว่าจะมีการใช้ คำาว่า


6

“จริ ง” อยูห่ รื อไม่ นี่อธิบายว่าทำาไมจึงดูเหมือนว่าไม่มีอะไรใหม่เพิ่มเข้ าไปในความคิดเลย เมื่อเราอธิบายว่า มันมีคณ ุ สมบัติของความจริง ประโยคยืนยัน นอกจากจะมีตวั ความคิดและการยืนยันแล้ ว ยังมักจะบรรจุสว่ นประกอบที่สาม ซึง่ ไม่ได้ คลอบคลุมด้ วยการยืนยัน คำาพวกนี ้มักจะมีมงุ่ เจตนาต่อความรู้สกึ และอารมณ์ของผู้ฟัง หรื อกระตุ้น จินตนาการของเขา คำาอย่าง “น่าเสียดายที่” “โชคดีที่” อยูใ่ นส่วนนี ้ ส่วนประกอบพวกนี ้จะโดดเด่นมากใน ร้ อยกรอง แต่ก็ใช้ วา่ จะหาได้ ยากในร้ อยแก้ ว แต่แทบจะไม่พบเห็นเลยในคำาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ฟิ สิกส์ หรื อเคมี แต่จะพบบ้ างในคำาอธิบายทางประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์ เป็ นสิ่งที่คอ่ นไปทางร้ อยกรอง จึงเป็ น วิทยาศาสตร์ น้อยกว่าวิทยาศาสตร์ ที่แน่นอนตายตัวอื่นๆ ซึง่ ย่อมแห้ งแล้ งไปตามสัดส่วนของความแน่นอน ตายตัว เพราะวิทยาศาสตร์ ศาสตร์ ที่ตายตัวจะมุง่ ตรงไปสูค่ วามจริ งเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ ดังนันส่ ้ วน ประกอบทุกส่วนของประโยค ซึง่ ไม่ได้ ถกู ครอบคลุมอยูใ่ ต้ พลังการยืนยัน จึงไม่เป็ นส่วนหนึง่ ของคำาอธิบาย ทางวิทยาศาสตร์ แต่บางครัง้ แม้ แต่สำาหรับคนที่เห็นอันตรายในคำาเหล่านันก็ ้ ยงั อาจหลีกเลี่ยงมันได้ ยาก หากประเด็นหลักคือการพยายามเข้ าถึงสิ่งที่ไม่อาจเข้ าใจได้ ในทางความคิด ส่วนประกอบเหล่านี ้ก็มีเหตุผล รองรับ ยิ่งคำาอธิบายมีความเป็ นวิทยาศาสตร์ เข็มงวดมากขึ ้นแค่ไหน เราก็แทบจะยิ่งเห็นสัญชาติของผู้เขียน น้ อยลงเท่านัน้ และก็จะยิ่งแปลได้ ง่ายขึ ้นเท่านัน้ ในทางตรงกันข้ าม ส่วนประกอบพวกนี ้ของประโยค ซึง่ ผม ต้ องการให้ ข้อสังเกตอยู่ ณ ที่นี ้ กลับทำาให้ การแปลกวีนิพนธ์เป็ นเรื่ องยากลำาบาก และทำาให้ แทบจะไม่มีทาง แปลได้ อย่างสมบูรณ์ เพราะภาษาจะต่างกันไปมากที่สดุ ก็ในที่สิ่งที่ทำาให้ เกิดคุณค่าทางกวีนิพนธ์นี ้เอง ในเรื่ องของความคิดแล้ วมันย่อมไม่แตกต่างอะไรเมื่อผมใช้ คำาว่า “ม้ า” “อาชา” หรื อ “พาชี” พลัง การยืนยันไม่ได้ คลอบคลุมวิธีที่คำาพวกนี ้แตกต่างกัน สิ่งที่รียกว่าอารมณ์ บรรยากาศ ภาพพจน์ ในบทกวี หรื อสิ่งที่พรรณาด้ วยสุม่ เสียงและจังหวะไม่ได้ เป็ นส่วนหนึง่ ของความคิด ในภาษา มีสิ่งมากมายที่ทำาหน้ าที่ช่วยความเข้ าใจของผู้ฟัง ยกตัวอย่างเช่น การเน้ นส่วนหนึง่ ของ ประโยคด้ วยเสียงเน้ น หรือการเรียงลำาดับคำา ณ ที่นี ้ ขอให้ เรานึกถึงคำาจำาพวก “ยัง” หรื อ “แล้ ว” บางคน ต้ องการสื่อความหมายว่า “อัลเฟรดยังคงมาไม่ถึงเลย” แต่พดู ว่า “อัลเฟรดยังไม่มา” ในขณะเดียวกันก็บอก เป็ นนัยว่า ผู้พดู กำาลังรอให้ อลั เฟรดมาถึง ไม่มีใครสามารถบอกได้ วา่ ถ้ าไม่มีการรอให้ อลั เฟรดมาถึงแล้ ว ประโยคนี ้จะเท็จ สิ่งที่ “แต่” แตกต่างจาก “และ” ก็คือการบอกว่า สิ่งที่ตามมาจะขัดแย้ งกับสิ่งที่คาดหวังจาก สิ่งที่เกิดก่อนหน้ า การแนะเช่นนี ้ไม่ได้ สร้ างความแตกต่างให้ แก่ความคิดในบทสนทนา ประโยคหนึง่ ๆ สามารถเปลี่ยนให้ กรรตุวาจกเป็ นกรรมวาจกได้ และเปลี่ยนให้ กรรมตรงเป็ นประธานได้ ด้ วยวิธีเดียวกันนี ้ เรายังเปลี่ยนกรรมรองให้ เป็ นประธานได้ ด้วย และเปลี่ยนคำาว่า “ให้ ” เป็ น “ได้ รับ” แน่นอน การเปลี่ยนแปลง พวกนี ้ ไม่ใช่วา่ ไม่สลักสำาคัญอะไรเลย แต่การเปลี่ยนแปลงพวกนี ้กลับไม่ได้ แตะต้ องตัวความคิด นัน่ คือ มัน ไม่ได้ แตะต้ องสิ่งที่จริงหรือเท็จ ถ้ าหากมีกฎที่ไม่ยอมให้ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเช่นนี ้ การวิเคราะห์ทาง ตรรกะที่ละเอียดก็จะมีอปุ สรรค เป็ นเรื่องสำาคัญที่จะละเลยความแตกต่างที่ไม่กระทบกระเทือนหัวใจของ เรื่ อง เท่าๆ กับการแยกแยะในสิ่งที่เป็ นตัวสารัตถะของเรื่ อง แต่สิ่งที่เป็ นสารัตถะสำาคัญขึ ้นอยูก่ บั จุดประสงค์


7

ของคนพูด สำาหรับจิตใจที่สนใจในความงามของภาษา เรื่ องเล็กน้ อยสำาหรับนักตรรกศาสตร์ อาจเป็ นเรื่ อง ใหญ่ของเขาก็ได้ ดังนัน้ เนื ้อหาของประโยคจึงมักจะก้ าวไกลเกินความคิดที่มนั แสดงออกมา แต่ก็อาจเป็ นไปในทาง ตรงกันข้ าม การเอาคำามาเรียงร้ อยกัน ซึง่ สามารถทำาให้ เป็ นสิ่งถาวรได้ โดยการเขียนหรื อการบันทึกลงแผ่น เสียง ไม่เพียงพอสำาหรับการแสดงความคิดออกมา ปั จจุบนั กาลใช้ ในสองกรณี อย่างแรก ใช้ บอกเวลา อย่าง ที่สอง ใช้ เพื่อสลายการจำากัดขอบเขตทางกาลเวลา นัน่ ก็คือ เมื่อภาวะอกาละหรื อภาวะนิรันดรเป็ นส่วนหนึง่ ของความคิด ยกตัวอย่างเช่นกฎทางคณิตศาสตร์ ปั ญหาก็คือประโยคไม่ได้ แสดงให้ เห็นว่าใช้ ในกรณีไหน ของสองกรณีนนั ้ แต่ต้องเดาเอาเอง ถ้ ารูปปั จจุบนั กาลใช้ บง่ บอกเวลา เราต้ องรู้ว่าประโยคนันถู ้ กพูดเมื่อไหร่ จึงจะสามารถเข้ าใจความคิดได้ ถกู ต้ อง ดังนัน้ เวลาที่พดู จึงเป็ นส่วนหนึง่ ของการแสดงออกทางความคิด ถ้ า ในวันนี ้ มีคนอยากพูดสิ่งที่ตนได้ อธิบายไปเมื่อวานโดยใช้ คำาว่า “วันนี ้” ในเมื่อวาน เขาจะเปลี่ยนคำานี ้เป็ นคำา ว่า “เมื่อวาน” ถึงแม้ ความคิดจะเหมือนกัน แต่การแสดงออกทางคำาพูดจะต้ องแตกต่างกัน เพื่อที่การเปลี่ยน ความหมายที่อาจจะเกิดขึ ้นจากเวลาการพูดที่ตา่ งกัน จะถูกหักล้ างออกไป เช่นเดียวกับคำาว่า “ที่นี ้” และ “ที่ นัน่ ” ในทุกกรณี การนำาคำามาเรียงร้ อยกัน ซึง่ สงวนรูปไว้ ได้ ด้วยการเขียน ไม่ใช่การแสดงออกทังหมดของ ้ ความคิด จำาเป็ นจะต้ องใช้ ความรู้ถึงเงื่อนไขบางอย่าง ซึง่ ควบคูม่ ากับการเปล่งคำาพูด ซึง่ ถูกใช้ เป็ นวิถีของ การแสดงความคิด ในฐานะสิ่งที่จำาเป็ น สำาหรับการที่เราจะเข้ าใจตัวความคิดได้ อย่างถูกต้ อง การชี ้นิ ้ว ท่าทางของมือ การชำาเลือง อาจเป็ นส่วนหนึง่ ได้ เช่นกัน การเปล่งคำาพูดที่มคี ำาว่า “ฉัน” จากปากของคนที่ แตกต่างกัน ย่อมจะแสดงความคิดที่แตกต่างกัน ซึง่ บางความคิดก็จริ ง บางความคิดก็เท็จ การที่มคี ำาว่า “ฉัน” ปรากฏอยูใ่ นประโยคก็ทำาให้ เกิดปั ญหาอืน่ ๆ ตามมา ลองพิจารณากรณีตอ่ ไปนี ้ ดร.กุสตาฟ เลาเบ็น พูดว่า “ฉันได้ รับบาดเจ็บ” ลีโอ ปี เตอร์ ได้ ยนิ เข้ าและ นำาไปพูดในวันหลังว่า “ดร.กุสตาฟ เลาเบ็นได้ รับบาดเจ็บ” ประโยคนี ้แสดงความคิดเดียวกับประโยคที่ ดร.เลาเบ็นพูดเองหรือไม่? สมมุติวา่ รูดอล์ฟ ลิงเง็นส์อยูเ่ มื่อตอนที่ ดร.เลาเบ็นพูด และตอนนี ้ได้ ยินสิ่งที่พดู โดยลีโอ ปี เตอร์ ถ้ าทังดร.เลาเบ็ ้ นและลีโอ ปี เตอร์ พดู ความคิดเดียวกันออกมา รูดอล์ฟ ลิงเง็นส์ ซึง่ เชี่ยวชาญ ภาษาเป็ นอย่างดี และจำาสิ่งที่ดร.เลาเบ็นพูดไว้ ตอนที่เขาอยูด่ ้ วย จะต้ องรู้ทนั ทีจากการรายงานของลีโอ ปี เตอร์ ว่า เขากำาลังพูดถึงสิ่งเดียวกันอยู่ แต่ความรู้ทางภาษาเป็ นสิ่งพิเศษ เมื่อเกี่ยวข้ องกับคำาวิสามัญนาม อาจจะเกิดกรณีที่มีคนเพียงไม่กี่คนที่เชื่อมความคิดที่จำาเพาะเจาะจงเข้ ากับประโยค “ดร.เลาเบ็นได้ รับบาด เจ็บ” เพราะถ้ าจะให้ เข้ าใจโดยสมบูรณ์ เราต้ องรู้จกั คำาว่า “ดร.กุสตาฟ เลาเบ็น” ถ้ าทังลี ้ โอ ปี เตอร์ และรูด อล์ฟ ลิงเง็นส์ เข้ าใจว่า “ดร.กุสตาฟ เลาเบ็น” เป็ นหมอคนเดียว ที่อยูใ่ นบ้ านซึง่ พวกเขาทังสองคนรู ้ ้ จกั พวก เขาทังสองก็ ้ จะเข้ าใจประโยคที่วา่ “ดร.กุสตาฟ เลาเบ็นได้ รับบาดเจ็บ” ในแบบเดียวกัน เพราะพวกเขานำา ความคิดเดียวกันมาเชื่อมกับมันได้ แต่ก็อาจเป็ นได้ ที่รูดอล์ฟ ลิงเง็นส์ไม่ร้ ูจกั ดร.เลาเบ็นเป็ นการส่วนตัว และ ไม่ร้ ูวา่ ดร.เลาเบ็นเป็ นคนพูดก่อนหน้ านี ้ว่า “ฉันได้ รับบาดเจ็บ” ในกรณีนี ้ รูดอล์ฟ ลิงเง็นส์ไม่มีทางรู้ว่า กำาลัง


8

พูดถึงเหตุการณ์เดียวกันอยู่ ผมจึงกล่าวว่า ในกรณีนี ้ ความคิดที่ลีโอ ปี เตอร์ แสดงออกมา ไม่เหมือนกับ ความคิดที่ดร.เลาเบ็นพูดออกมา สมมุติตอ่ อีกว่า เฮอร์ เบิร์ต การ์ เนอร์ ร้ ูวา่ ดร.กุสตาฟ เลาเบ็น เกิดวันที่ 13 กันยายน 1875 ใน N.N. และเป็ นคนเดียวที่เกิดในวันที่และสถานที่นนั ้ อย่างไรก็ตาม สมมุติว่า เขาไม่ร้ ูว่าดร.เลาเบ็นตอนนี ้อยูท่ ี่ไหน และทังไม่ ้ ร้ ูอะไรอื่นทังสิ ้ ้นเกี่ยวกับเขา ในทางตรงกันข้ าม สมมุติว่าลีโอ ปี เตอร์ ไม่ร้ ูว่า ดร.กุสตาฟ เลาเบ็น เกิดวันที่ 13 กันยายน 1875 ใน N.N. ดังนัน้ เท่าที่เกี่ยวข้ องกับคำาวิสามัญนาม “ดร.กุสตาฟ เลาเบ็น” เฮ อร์ เบิร์ต การ์ เนอร์ และลีโอ ปี เตอร์ ไม่ได้ พดู ภาษาเดียวกัน ถึงแม้ ในข้ อท็จจริ งพวกเขาจะอ้ างถึงผู้ชายคน เดียวกันด้ วยชื่อนี ้ เพราะพวกเขาไม่ร้ ูว่า พวกเขากำาลังอ้ างถึงคนคนเดียวกัน ด้ วยเหตุนี ้ เฮอร์ เบิร์ต การ์ เนอร์ จึงไม่ได้ เชื่อมโยงความคิดเดียวกันกับประโยคที่วา่ “ดร.กุสตาฟ เลาเบ็นได้ รับบาดเจ็บ” ตามที่ลีโอ ปี เตอร์ ต้ องการแสดงออกมาโดยใช้ ประโยคนี ้ เพื่อหลีกเลี่ยงความพิลกึ พิลนั่ ที่วา่ เฮอร์ เบิร์ต การ์ เนอร์ กบั ลีโอ ปี เตอร์ ไม่ได้ พดู ภาษาเดียวกันอยู่ ผมขอเสนอให้ สมมุติว่า ลีโอ ปี เตอร์ ใช้ ชื่อเฉพาะว่า “ดร.เลาเบ็น” และเฮอร์ เบิร์ต การ์ เนอร์ ใช้ ชื่อเฉพาะว่า “กุสตาฟ เลาเบ็น” ด้ วยวิธีนี ้ ยังพอเป็ นไปได้ ที่ เฮอร์ เบิร์ต การ์ เนอร์ จะยอมรับความ หมายของประโยค “ดร.เลาเบ็นได้ รับบาดเจ็บ” ว่าเป็ นจริ ง แต่ เนื่องจากได้ รับข้ อมูลที่ผิดพลาดมาจึงถือว่า ความหมายของประโยค “กุสตาฟ เลาเบ็นได้ รับบาดเจ็บ” ว่าเป็ นเท็จ จากข้ อสมมติฐานของเรานี ้ ความคิด ทังหลายเหล่ ้ านี ้จึงแตกต่างกัน ฉะนัน้ เมื่อพูดถึงคำาวิสามัญนาม จึงเป็ นเรื่ องของวิธีที่วตั ถุที่ถกู เรี ยกชื่อถูกนำาเสนอให้ เรารู้จกั ซึง่ นี่ อาจจะเกิดขึ ้นได้ ในหลายวิธี และแต่ละวิธีจะสอดคล้ องกับความหมายพิเศษของประโยคที่มีชื่อเฉพาะนัน่ อยู่ ความคิดที่แตกต่างกันซึง่ ได้ รับมาจากประโยคเดียวกันจึงสอดคล้ องกันในค่าความจริ งเท็จ กล่าวคือ ถ้ า ความคิดหนึง่ จริง ทังหมดก็ ้ จะจริง ถ้ าความคิดหนึง่ เท็จ ทังหมดก็ ้ จะเท็จ แต่ถึงกระนัน้ เราก็ต้องตระหนักถึง ความแตกต่าง ดังนัน้ เราต้ องกำาหนดเงื่อนไขว่า สำาหรับชื่อเฉพาะหรื อวิสามัญนามแต่ละชื่อ จะมีรูปแบบ การนำาเสนอของวัตถุที่ถกู เรียกชื่อ เชื่อมโยงอยูเ่ พียงแค่รูปแบบเดียว บางครัง้ อาจที่ไม่สำาคัญว่าจะต้ องเป็ น ไปตามเงื่อนไขที่ตงไว้ ั ้ นี ้ แต่ก็ไม่เสมอไปว่าจะไม่สำาคัญ ทุกคนจะปรากฏต่อตัวเองในรูปแบบที่เป็ นพิเศษและพื ้นฐานที่สดุ ซึง่ จะไม่เหมือนกับวิธีที่เขา ปรากฏต่อคนอื่น ดังนัน้ เมื่อดร.เลาเบ็นมีความคิดว่า เขาได้ รับบาดเจ็บ เขาอาจจะกำาลังใช้ วิธีการที่เขา ปรากฏต่อตัวเองในแบบพื ้นฐานดังกล่าวเป็ นฐาน และมีเพียงดร.เลาเบ็นคนเดียวที่สามารถเข้ าใจความคิด ในลักษณะแบบนี ้ แต่ตอนนี ้เขาอาจจะอยากสื่อสารกับคนอื่น เขาไม่อาจสื่อสารความคิดที่เขาคนเดียว เข้ าใจ ดังนัน้ ถ้ าเขาพูดว่า “ฉันได้ รับบาดเจ็บ” เขาต้ องใช้ คำาว่า “ฉัน” ในความหมายที่คนอื่นสามารถเข้ าใจ ได้ บางทีอาจจะเป็ นความหมายว่า “คนที่กำาลังพูดกับคุณอยูใ่ นขณะนี ้” ด้ วยการทำาเช่นนี ้ เขาทำาให้ เงื่อนไข ทังหลายที ้ ่ควบคูม่ ากับการเปล่งวาจาของเขา รับใช้ ตอ่ การแสดงออกของความคิดหนึง่ 6 กระนัน้ ก็ยงั มีข้อสงสัยว่า ทังหมดใช่ ้ ความคิดเดียวกันหรื อไม่ ความคิดที่ชายคนนันแสดงออกมา ้ ตอนแรก กับความคิดที่ชายคนนี ้แสดงออกมาตอนหลัง


9

คนที่ไม่เคยถูกกระทบจากปรัชญา จะเริ่ มต้ นด้ วยการรู้จกั สิ่งต่างๆ ที่เขาเห็นและสัมผัส สามารถรับรู้ โลกในทันทีด้วยประสาทสัมผัส เช่น ต้ นไม้ ก้ อนหิน และบ้ านเรื อน และเขาเชื่อมัน่ ว่า คนอื่นก็สามารถเห็น และสัมผัสต้ นไม้ ต้นเดียวกัน ก้ อนหินก้ อนเดียวกัน กับที่เขาเห็นและสัมผัส เห็นได้ ชดั ว่า ความคิดไม่ได้ อยู่ ร่วมประเภทกับสิ่งพวกนี ้ แต่กระนัน้ มันจะสามารถปรากฏต่อผู้คนว่าเป็ นสิ่งเดียวกัน เหมือนต้ นไม้ หรื อไม่ แม้ แต่คนที่ไม่คิดเรื่องปรัชญาก็ยงั พบว่าจำาเป็ นที่จะต้ องยอมรับว่าโลกภายในแตกต่างจากโลกภาพ นอกอย่างสิ ้นเชิง ไม่ว่าจะเป็ นโลกของรอยประทับทางผัสสะ การสร้ างสรรค์ทางจินตนาการของเขา ผัสสะ ความรู้สกึ และอารมณ์ โลกของอุปนิสยั ใจปรารถนา และการตัดสินใจ เพื่อให้ กระชับ ผมอยากใช้ คำาว่า “มโนคติ” เพื่อครอบคลุมปรากฏการณ์ทงหมดนี ั้ ้ ยกเว้ นการตัดสินใจ แล้ วความคิดทังหลายอยู ้ ใ่ นโลกภายในเช่นนี ้ หรื อไม่ ความคิดเป็ นมโนคติหรื อเปล่า แต่เห็นได้ ชดั ว่าความคิดไม่ใช่การตัดสินใจ แล้ วมโนคติแตกต่างจากสิ่งต่างๆ ของโลกภายนอกอย่างไร ประการแรก มโนคตินนั ้ เราไม่สามารถมองเห็น สัมผัส ได้ กลิ่น รับรู้รสชาด หรื อได้ ยินได้ ผมไปเดินเล่นกับสหาย ผมเห็นท้ องทุ่งสีเขียว ดังนัน้ ผมจึงมีรอยประทับทางจักษุผสั สะของสีเขียว ผมมีมนั แต่ผมไม่ได้ เห็นมัน ประการที่สอง มโนคติเป็ นสิ่งที่เรามี เรามีการรับรู้ทางผัสสะ ความรู้สกึ อารมณ์ ความชื่นชอบ ความปรารถนา มโนคติที่คนมีเป็ นส่วนหนึง่ ของเนื ้อหาของมโนสำานึกของเขา ท้ องทุ่งและกบทังหลายในทุ ้ ่ง พระอาทิตย์ที่สาดแสงให้ พวกมัน มีอยู่ ไม่ว่าผมจะมองดูพวกมันหรือ ไม่ แต่รอยประทับทางผัสสะที่ผมมีของสีเขียวนัน้ มีอยูเ่ พียงเพราะจากผมเท่านัน้ ผมเป็ นเจ้ าของมัน อาจ เป็ นเรื่ องประหลาดสำาหรับเราที่ ความเจ็บปวด อารมณ์ ความปรารถนา จะมีอยูใ่ นโลกโดยปราศจาก เจ้ าของ โลกภายในกำาหนดล่วงหน้ าว่าต้ องมีใครบางคน ซึง่ โลกภายในนันเป็ ้ นของเขา ประการที่สาม มโนคติจำาเป็ นต้ องมีเจ้ าของ แต่ในทางตรงกันข้ าม สิ่งต่างๆ ของโลกภายนอกกลับ เป็ นอยูอ่ ย่างอิสระ สหายของผมกับผมเชื่อว่า เราทังคู ้ เ่ ห็นทุ่งเดียวกัน แต่เราแต่ละคนต่างมีรอยประทับทางผัสสะของสี เขียวที่เป็ นเฉพาะตน ผมเหลือบเห็นสตรอเบอร์ รีผลหนึง่ ท่ามกลางใบสตรอเบอร์ รีสีเขียวทังหลาย ้ สหายผม ไม่สามารถหาเจอ เพราะเขาตาบอดสี รอยประทับทางสีสนั ที่เขาได้ จากผลสตรอเบอร์ รีไม่แตกต่างจากรอย ประทับทางสีสนั ที่เขาได้ จากใบของมัน ทีนี ้ ขอถามว่า สหายผมเห็นใบไม้ สีเขียวเป็ นสีแดงหรื อเปล่า หรื อว่า เขาเห็นผลเบอร์ รีสีแดงเป็ นสีเขียวหรือไม่ หรือว่าเขาเห็นสิ่งของทังสองเป็ ้ นสีหนึง่ ที่ผมไม่ร้ ูจกั คุ้นเคยเลยซัก นิด คำาถามเหล่านี ้ไม่อาจตอบได้ แถมยังเป็ นคำาถามที่ไร้ สาระจริ งๆ เพราะเมื่อคำาว่า “แดง” ไม่ได้ จงใจจะเป็ น ตัวบอกคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ แต่เป็ นตัวแยกแยะรอยประทับทางผัสสะที่เป็ นของมโนสำานึกของผม มันก็ สามารถใช้ ได้ แค่ในขอบเขตของมโนสำานึกของผมเท่านัน้ เพราะเป็ นไปไม่ได้ ที่จะเปรี ยบเทียบรอยประทับ ทางผัสสะของผมกับรอยประทับทางผัสสะของผู้อื่น หากจะทำาอย่างนัน้ จะต้ องนำารอยประทับทางผัสสะของ


10

มโนสำานึกหนึง่ กับรอยประทับทางผัสสะของอีกมโนสำานึกหนึง่ มาใส่ในอีกมโนสำานึกหนึง่ แต่ถึงแม้ วา่ เรา สามารถทำาให้ มโนคติหนึง่ หายไปจากมโนสำานึกหนึง่ ได้ ในขณะเดียวกันก็สามารถทำาให้ มโนคติหนึง่ ปรากฏ ในอีกมโนสำานึกอื่นได้ คำาถามที่ว่ามันจะยังเป็ นมโนคติเดียวกันหรื อไม่นี ้ก็ยงั ไม่อาจตอบได้ มันเป็ นเรื่ องของ แก่นแท้ ของมโนคติอนั หนึง่ อันใดของผม ที่มนั จะเป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึกของผม มากเท่ากับการที่มโนคติ ใดที่ผ้ อู ื่นมีจะต้ องแตกต่างไปจากมโนคติของผม แต่เป็ นไปไม่ได้ หรื อว่า มโนคติทงหลายของผม ั้ ซึง่ ก็คือ เนื ้อหาทังหมดของมโนสำ ้ านึกผม พร้ อมๆ กันไปนัน้ ก็อาจเป็ นเนื ้อหาของสิ่งที่ครอบคลุมกว้ างกว่า เช่น อาจ จะเป็ นมโนสำานึกของพระเจ้ า ถ้ าเพียงแค่ผมเป็ นส่วนหนึง่ ของพระเจ้ า แต่ถ้าเช่นนัน้ มโนคติเหล่านันจะเป็ ้ น ของผมจริ งๆ หรือเปล่า? ผมเป็ นเจ้ าของมโนคติพวกนันจริ ้ งหรื อ? คำาถามนี ้เลยขอบเขตความเข้ าใจของ มนุษย์ จนเราต้ องทิ ้งความเป็ นไปได้ ออกจากประเด็น ไม่วา่ กรณีใดก็ตาม ไม่มีทางที่มนุษย์อย่างเราจะ สามารถเปรี ยบเทียบมโนคติของผู้อื่นกับของเราได้ ผมหยิบสตรอเบอร์ รีผลนันขึ ้ ้นมา ผมถือไว้ ด้วยนิ ้วมือ แล้ วสหายผมก็เห็นมันเช่นกัน สตรอเบอร์ รีผลเดียวกันนี ้ แต่เราต่างก็มีมโนคติของตัวเอง ไม่มีใครอื่นจะมี มโนคติของผม แต่คนทังหลายสามารถเห็ ้ นสิ่งเดียวกันได้ ไม่มีใครอื่นจะมีความเจ็บปวดของผม แต่ก็อาจมี ใครสงสารผม แต่ความเจ็บปวดนันก็ ้ ยงั เป็ นของผม และความสงสารก็เป็ นของเขา เขาไม่มีความเจ็บปวด ของผม และผมไม่มีความรู้สกึ สงสารของเขา ประการที่สี่ ทุกๆ มโนคติมีเจ้ าของเพียงแค่ผ้ เู ดียว ไม่มีทางที่คนสองคนจะมีมโนคติเดียวกัน เพราะหากเป็ นเช่นนัน้ มันจะเป็ นสิ่งที่อยูอ่ ย่างอิสระจากคนนี ้และอิสระจากคนนัน้ ต้ นมะนาวต้ นนัน้ ใช่มโนคติของผมหรือไม่ เมื่อผมใช้ ถ้อยคำาว่า “ต้ นมะนาวต้ นนัน” ้ ในคำาถาม ผมกำาลังคาดเดาคำาตอบเอาไว้ ล่วงหน้ าแล้ ว เพราะผมตังใจที ้ ่จะใช้ คำาพูดนี ้เพื่อบอกถึงสิ่งที่ผมเห็นและคนอื่นก็สามารถมองดูและสัมผัสได้ มีความเป็ นไปได้ สองอย่าง ถ้ าเป็ นไปตามเจตนาของผม ถ้ าผมบ่งเรี ยกถึงบางสิ่งบางอย่างด้ วยวลีว่า “ต้ น มะนาวนัน” ้ ได้ ก็เห็นได้ ชดั ว่า ความคิดที่แสดงออกมาในประโยค “ต้ นมะนาวนันคื ้ อมโนคติของผม” ก็เห็น ได้ ชดั ว่าต้ องถูกปฏิเสธ แต่ถ้าไม่ได้ เป็ นไปตามเจตนาของผม ถ้ าผมคิดว่าผมเห็นโดยที่ไม่ได้ เห็นจริ งๆ ถ้ าการ บ่งชี ้ “ต้ นมะนาวนัน” ้ เป็ นความว่างเปล่า ในกรณีนนั ้ ผมก็คงเดินหลงเข้ าไปในดินแดนของเรื่ องเพ้ อฝั น โดย ไม่ร้ ูตวั หรื อไม่ได้ ตงใจให้ ั้ เป็ นเช่นนัน้ ในกรณีเช่นนัน้ ไม่วา่ เนื ้อหาของประโยคคำาพูด “ต้ นมะนาวต้ นนันเป็ ้ น มโนคติของผม” หรือเนื ้อหาของประโยค “ต้ นมะนาวนันไม่ ้ ได้ เป็ นมโนคติของผม” ต่างก็ไม่จริ ง เพราะในทัง้ สองกรณี ผมมีภาคขยายที่ขาดวัตถุรองรับ ดังนัน้ ผมสามารถปฏิเสธที่จะตอบคำาถามได้ โดยให้ เหตุผลว่า เนื ้อหาของประโยคคำาพูด “ต้ นมะนาวนันใช่ ้ มโนคติของผม” เป็ นเรื่ องเพ้ อฝั น แน่นอน ผมมีมโนคติ แต่นนั่ ไม่ใช่สิ่งที่ผมใช้ คำาว่า “ต้ นมะนาวนัน” ้ บ่งชี ้ออกมา ทีนี ้ อาจมีใครต้ องการบ่งชี ้ถึงมโนคติหนึง่ ของตัวเองโดย ใช้ คำาว่า “ต้ นมะนาวนัน” ้ เขาอาจจะเป็ นเจ้ าของสิ่งที่เขาต้ องการบ่งชี ้ถึงโดยใช้ คำาเหล่านัน้ แต่เขาไม่ได้ เห็น ต้ นมะนาวต้ นนัน้ และไม่มีใครอื่นเห็นมันหรือเป็ นเจ้ าของมัน ผมจะหันมาสูค่ ำาถามว่า ความคิดเป็ นมโนคติหรื อไม่? ถ้ าคนอืน่ สามารถยอมรับความคิดที่ผม แสดงออกมาในทฤษฎีบทของไพทากอรัสเช่นเดียวกันกับผม ความคิดก็ไม่ได้ เป็ นส่วนหนึง่ ของเนื ้อหาของ


11

มโนสำานึกของผม ผมไม่ใช่เจ้ าของมัน แต่ถึงกระนันผมก็ ้ สามารถยอมรับความจริ งของมัน อย่างไรก็ตาม หากสิ่งที่ผมและคนอื่นถือว่าเป็ นเนื ้อหาของทฤษฎีบทของไพทากอรัสไม่ใช่ความคิดเดียวกันแล้ ว เราก็ไม่ ควรจะพูดว่า “ทฤษฎีบทของไพทากอรัส” แต่ควรพูดว่า “ทฤษฎีบทของไพทากอรัสของผม” “ทฤษฎีบทของ ไพทากอรัสของเขา” และนี่ยอ่ มแตกต่างกัน เพราะความหมายจำาเป็ นต้ องเป็ นไปตามประโยคคำาพูด ในกรณี เช่นนัน้ ความคิดของผมอาจเป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึกของผม ความคิดของเขาก็เป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึก ของเขา เป็ นไปได้ ไหมว่าความหมายของทฤษฎีบทของไพทากอรัสของผมจะเป็ นจริ งและของเขาเป็ นเท็จ ผมได้ กล่าวว่าคำาว่า “แดง” ใช้ ได้ เพียงในขอบเขตของมโนสำานึกของผม ถ้ าหากว่ามันมิได้ ถกู หมายให้ กล่าว ถึงคุณสมบัติของสิ่ง แต่ให้ บรรยายถึงรอยประทับทางผัสสะบางอย่างของตัวผมเอง ดังนันแล้ ้ ว คำาว่า “จริ ง” และ “เท็จ” ตามที่ผมเข้ าใจ อาจจะใช้ ได้ เพียงในอาณาเขตของมโนสำานึกของผมด้ วยเช่นกัน หากมันไม่ได้ มงุ่ หมายที่จะใช้ กบั บางสิ่งที่ผมไม่ได้ เป็ นเจ้ าของ แต่มงุ่ หมายที่ใช้ ในทางที่จะบรรยายถึงเนื ้อหาของมโนสำานึก ของผม ความจริงก็ยอ่ มถูกตีกรอบไว้ ในเนื ้อหานี ้ และก็จะเป็ นเรื่ องที่น่าสงสัยว่า จะมีอะไรที่คล้ ายกันปรากฏ อยูใ่ นมโนสำานึกของคนอื่นหรือไม่ ถ้ าทุกความคิดต้ องการเจ้ าของและเป็ นส่วนหนึง่ ของเนื ้อหาของมโนสำานึกของเขา ความคิดก็จะมี แต่เจ้ าของผู้นี ้เท่านัน้ และจะไม่มีวิทยาศาสตร์ ที่คนหลายๆ คนจะทำางานร่วมกัน อาจมีแต่วิทยาศาสตร์ ของ ผม ซึง่ ก็คือความคิดทังหมดที ้ ่มีผมเป็ นเจ้ าของ และคนอื่นก็มีวิทยาศาสตร์ ของเขาเอง เราแต่ละคนก็จะยุง่ อยูก่ บั เนื ้อหาของมโนสำานึกของตนเอง ความขัดแย้ งระหว่างสองวิทยาศาสตร์ ยอ่ มเป็ นไปไม่ได้ และก็จะเป็ น เรื่ องไร้ ประโยชน์ที่จะเถียงกันเรื่องความจริง ไร้ ประโยชน์ จนอาจจะดูพิลกึ เสียด้ วยซ้ำ า เหมือนที่คนสองคนจะ เถียงกันว่า ธนบัตรใบหนึง่ เป็ นของแท้ หรือของปลอม เมื่อแต่ละคนหมายไปถึงธนบัตรใบที่เขามีอยูใ่ น กระเป๋ า และต่างก็เข้ าใจความหมายของคำาว่า “แท้ ” ในความหมายเฉพาะของตนเอง ถ้ าใครถือเอาความคิด ว่าเป็ นมโนคติ อะไรที่เขายอมรับว่าจริง ในทัศนะของเขาเองแล้ ว ก็คือ เนื ้อหาของมโนสำานึก และไม่ เกี่ยวข้ องอะไรกับใครอื่นอีกเลย ถ้ าเขาได้ ยินความคิดเห็นของผมว่าความคิดไม่ใช่มโนคติ เขาก็ยอ่ มไม่อาจ โต้ เถียงได้ เพราะมันจะไม่ได้ เกี่ยวข้ องอะไรกับเขา ดังนัน้ ผลดูเหมือนจะเป็ นว่า ความคิดไม่ใช่ทงสิ ั ้ ่งในโลกภายนอก และไม่ใช่ทงมโนคติ ั้ เราจึงต้ องยอมรับให้ มีอาณาเขตที่สาม อะไรก็ตามที่อยูใ่ นอาณาเขตนี ้ ย่อมมีลกั ษณะร่วมกับ มโนคติในแง่ที่ว่า มันไม่สามารถที่จะรับรู้ได้ ด้วยประสาทสัมผัส แต่ก็มีลกั ษณะร่วมกับสิ่งของในแง่ที่ว่า มัน ไม่ได้ ต้องการเจ้ าของ หรือเป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึก ฉะนัน้ ความคิดที่เราแสดงออกในทฤษฎีบทของไพทา กอรัสเป็ นจริ งอย่างไร้ กาลเวลา จริงอย่างเป็ นอิสระจากการที่มีใครถือมันว่าจริ งหรื อไม่ มันไม่ต้องการ เจ้ าของ มันไม่ได้ จริงเมื่อมันถูกค้ นพบ เช่นเดียวกับที่ดาวเคราะห์ดวงหนึง่ จะมีแรงกระทำาต่อดาวเคราะห์ดวง อื่น แม้ จะก่อนหน้ าที่ใครจะรับรู้ 7 แต่ผมคิดว่าผมได้ ยนิ ข้ อโต้ แย้ งแปลกๆ ผมได้ ถือเอาหลายๆ ครัง้ ว่า สิ่งเดียวกับที่ผมเห็นนันคนอื ้ ่นก็ สามารถเห็นด้ วย แต่อะไรจะเกิดขึ ้นถ้ าทุกอย่างเป็ นเพียงความฝั น ถ้ าผมเพียงแค่ฝันไปว่ากำาลังเดินไปกับคน


12

อื่น ถ้ าผมฝั นไปว่าสหายของผมเห็นทุ่งสีเขียวที่ผมเห็น ถ้ าทังหมดมั ้ นเป็ นเพียงละครที่แสดงอยูบ่ นเวทีของ มโนสำานึกของผม ก็ยอ่ มน่าสงสัยว่ามีสิ่งของแห่งโลกภายนอกอยูจ่ ริ งหรื อ บางทีอาณาเขตของสิ่งของอาจจะ ว่างเปล่า และผมไม่ได้ มองเห็นสิ่งของและมนุษย์คนไหน เพียงแค่มีแต่มโนคติที่ผมเป็ นเจ้ าของ มโนคติ ใน ฐานะที่เป็ นบางสิ่งที่ไม่อาจมีอยูอ่ ย่างเป็ นอิสระจากผมเช่นเดียวกับความรู้สกึ เมื่อยล้ า ย่อมไม่สามารถจะ เป็ นคน ไม่สามารถที่จะมองไปที่ท้องทุ่งพร้ อมกับผม ไม่สามารถเห็นลูกสตอรเบอร์ รีที่ผมกำาลังถืออยู่ มันเป็ น เรื่ องเหลือเชื่อว่าผมมีเพียงแค่โลกภายใน แทนที่จะมีสภาพภายนอกแวดล้ อมที่ผมคิดว่าแวดล้ อมตัวผมและ ที่ผมตอบโต้ แต่นี่เป็ นผลที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากญัตติที่วา่ มีแต่เพียงมโนคติเท่านันที ้ ่สามารถเป็ น วัตถุของการตระหนักรู้ของผม อะไรจะตามมาจากญัตตินี ้ถ้ ามันเป็ นจริ ง จะมีมนุษย์คนอื่นไหม อาจจะเป็ น ไปได้ แต่ผมจะไม่ร้ ูอะไรเลยเกี่ยวกับพวกเขา เพราะมนุษย์ไม่สามารถจะเป็ นมโนคติได้ ผลก็คือ ถ้ าญัตติของ เราเป็ นจริ ง เขาก็ไม่สามารถเป็ นวัตถุของความตระหนักรู้ของผมเช่นกัน แต่นี่ยอ่ มตัดตอนข้ อพินิจพิเคราะห์ ใดๆ ซึง่ ผมถือเอาว่าสิ่งบางอย่างเป็ นวัตถุของการตระหนักรู้ของคนอื่นเช่นเดียวกับของผม เพราะแม้ ว่านี่เกิด ขึ ้นจริ งๆ ผมก็ไม่อาจจะรู้อะไรได้ เลย มันย่อมเป็ นไปไม่ได้ ที่ผมจะแยกแยะสิ่งที่ผมเป็ นเจ้ าของออกจากสิ่งที่ ผมไม่ได้ เป็ นเจ้ าของ ในการตัดสินว่าบางอย่างไม่ใช่มโนคติของผม ผมจะทำาให้ มนั กลายเป็ นวัตถุของการคิด ของผม และดังนันกลายมาเป็ ้ นมโนคติของผม ตามทัศนะนี ้ มีท้องทุ่งสีเขียวหรื อไม่ บางทีอาจจะมี แต่มนั จะ ไม่ปรากฏให้ ผมเห็น เพราะถ้ าท้ องทุ่งไม่ใช่มโนคติของผม ตามญัตติของเราแล้ ว มันย่อมไม่อาจเป็ นวัตถุของ การตระหนักรู้ของผมได้ แต่ถ้ามันเป็ นมโนคติมนั ก็ไม่อาจมองเห็นได้ เพราะมโนคติไม่ใช่สิ่งที่เห็นได้ ผม สามารถมีมโนคติของท้ องทุ่งสีเขียวอยูจ่ ริง อย่างไรก็ตาม นี่ไม่ใช่สิ่งสีเขียว เพราะมโนคติมีสีเขียวไม่ได้ จรวด ทำาลายหนักหนึง่ ร้ อยกิโลกรัมมีอยูจ่ ริงไหม ตามทัศนะนี ้ อาจมีอยูจ่ ริ ง แต่ผมไม่อาจรู้อะไรเลยเกี่ยวกับมัน ถ้ า จรวดขีปนาวุธไม่ใช่มโนคติของผมแล้ ว ตามญัตติของเรา มันไม่สามารถเป็ นวัตถุของการตระหนักรู้ของผม คือของการคิดของผม แต่ถ้าจรวดขีปนาวุธเป็ นมโนคติของผม มันย่อมไม่มีน้ำาหนัก ผมสามารถคิดถึงจรวด ขีปนาวุธที่หนัก ซึง่ นี่มีความคิดเรื่องน้ำ าหนักเป็ นส่วนประกอบ แต่ความคิดที่เป็ นส่วนประกอบไม่ใช่ คุณสมบัติของตัวความคิดที่เป็ นหน่วยรวม มากไปกว่าที่เยอรมันนีจะเป็ นคุณสมบัติของยุโรป ดังนันผลก็ ้ คือ: ญัตติที่ว่ามีเพียงแต่มโนคติของผมเท่านันที ้ ่สามารถเป็ นวัตถุที่ผมจะตระหนักรู้ได้ จะต้ องเป็ นเท็จ หรื อมิฉะนันแล้ ้ ว ความรู้และการรับรู้ทงหมดของผมถู ั้ กจำากัดอยูภ่ ายในขอบเขตของมโนคติของผม คือบน เวทีของมโนสำานึกของผม ซึง่ ในกรณีเช่นนี ้ ผมควรจะมีเพียงแค่โลกภายใน และผมไม่ควรจะรู้อะไรเกี่ยวกับ คนอืน่ มันน่าประหลาดที่ ในการพินิจพิเคราะห์ของเรา สิ่งต่างๆ มันกลับตระปั ด ขอให้ เราลองสมมุติว่ามี นักกายภาพวิทยาที่ศกึ ษาระบบรับสัมผัส และสำาหรับใครที่ศกึ ษาธรรมชาติอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ เมื่อตอน เริ่ มต้ น เขาไม่ได้ คิดเลยว่าสิ่งต่างๆ ที่เขาเชื่อว่าเขาเห็นและสัมผัสจะเป็ นมโนคติของเขาเอง ในทางตรงกัน ข้ าม เขาเชื่อว่า ด้ วยรอยประทับทางผัสสะ เขามีประจักษ์ พยานที่น่าเชื่อถือที่สดุ ของสิ่งซึง่ เป็ นอิสระจาก ความรู้สกึ การคิด และจินตนาการของเขา โดยสิ ้นเชิง ซึง่ ไม่ได้ ต้องการมโนสำานึกของเขาเลย เขาไม่ได้ คิด


13

เลยว่าเส้ นประสาทและแกงกลิออนเซลจะเป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึกของเขา และในทางตรงกันข้ าม กลับคิด ว่ามโนสำานึกของเขานันขึ ้ ้นอยูก่ บั เส้ นประสาทและแกงกลิออนเซล เขาแสดงให้ เห็นว่า ลำาแสง ซึง่ หักเหอยูใ่ น ตา กระทบกับปลายของจักษุประสาท และทำาให้ เกิดกระแสประสาท จากการนี ้เองบางสิ่งถูกส่งผ่านเส้ น ประสาทไปยังแกงกลิออนเซล กระบวนการเหนือขึ ้นไปในระบบประสาทอาจตามมาจากนี ้ และเกิดรอย ประทับของสีขึ ้น และรอยประทับเหล่านี ้ก็ประสมกันเป็ นอะไรที่เราเรี ยกว่ามโนคติของต้ นไม้ กระบวนการ ทางฟิ สิกส์ เคมี กายภาพวิทยา เกิดขึ ้นตรงกลางระหว่างต้ นไม้ และมโนคติของผม มีแต่สิ่งที่เกิดขึ ้นในระบบ ประสาทของผมเท่านันที ้ ่เชื่อมต่อโดยตรงกับมโนสำานึกของผม หรื อดูเหมือนว่าจะเป็ นเช่นนัน้ และทุกๆ คนที่ มองดูต้นไม้ ก็มีเหตุการณ์เฉพาะของเขาเองเกิดขึ ้นในระบบประสาทของเขา ก่อนที่ลำาแสงจะเข้ าไปในตา อาจถูกสะท้ อนโดยกระจก และหักเหราวกับว่ามันพุง่ ออกมาจากที่ที่อยูห่ ลังกระจก ผลต่อระบบจักษุ ประสาทจะเกิดขึ ้นในลักษณะเดียวกับที่หากว่าแสงจะมาจากต้ นไม้ ที่อยูห่ ลังกระจกและเดินทางมาสูต่ า อย่างไม่มีอะไรสอดแทรกรบกวน ดังนันมโนคติของต้ นไม้ ก็จะบังเกิดขึ ้นแม้ ว่าจะไม่มีต้นไม้ อยูต่ รงนันเลย ้ การหักเหของแสงเอง ด้ วยการมีตาเป็ นสื่อกลางและการทำางานของระบบประสาท ก็อาจทำาให้ เกิดมโนคติ ซึง่ ไม่มีอะไรอยูจ่ ริง แต่การกระตุ้นของจักษุประสาทก็ไม่จำาเป็ นต้ องเกิดขึ ้นจากแสง ถ้ าฟ้าเกิดผ่าลงมาใกล้ เรา เราจะเชื่อว่าเราได้ เห็นเปลวไฟ ถึงแม้ เราจะไม่สามารถมองเห็นตัวฟ้าผ่านันเอง ้ ในกรณีนี ้ อาจเป็ นว่า จักษุประสาทของเราถูกกระตุ้นด้ วยกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ ้นในตัวเราอันเป็ นผลมาจากฟ้าผ่า หากจักษุ ประสาทที่ถกู กระตุ้นด้ วยวิธีนี ้เกิดขึ ้นในลักษณะเดียวกับที่ถกู กระตุ้นโดยลำาแสงที่มาจากเปลวไฟ เราจะเชื่อ ว่าเราเห็นเปลวไฟ มันแค่ขึ ้นอยูก่ บั การกระตุ้นของระบบประสาท ไม่สำาคัญว่ามันจะเริ่ มต้ นมาจากไหน เราสามารถก้ าวต่อไปอีกขันหนึ ้ ง่ ถ้ าพูดให้ ถกู ต้ องแล้ ว การกระตุ้นจักษุประสาทไม่ใช่สิ่งที่ถือว่าจริ ง อย่างไม่มีคำาถาม มันเป็ นเพียงแค่ข้อสันนิษฐาน เราเชื่อว่ามีสิ่งที่เป็ นอิสระจากเรากระตุ้นเส้ นประสาทและ นำาไปสูก่ ารเกิดรอยประทับทางผัสสะ แต่จริงๆ แล้ ว เรามีประสบการณ์เฉพาะขันตอนสุ ้ ดท้ ายของ กระบวนการซึง่ ส่งผลกระทบต่อมโนสำานึกของเรา เป็ นไปได้ ไหมว่า รอยประทับทางผัสสะ หรื อการสัมผัสรู้ ซึง่ เราถือว่าเป็ นผลของการกระตุ้นกระแสประสาทนี ้ อาจมีสาเหตุอนื่ อีกเช่นกัน เช่นเดียวกับที่ การกระตุ้นก ระแสประสาทแบบเดียวกัน อาจถูกทำาให้ เกิดขึ ้นได้ ด้วยหลายๆ วิธี? ถ้ าเราเรี ยกสิ่งที่เกิดขึ ้นในมโนสำานึกของ เราว่ามโนคติ เราก็มีประสบการณ์แต่เฉพาะกับมโนคติ และไม่เคยมีประสบการณ์กบั สาเหตุของมัน และถ้ า นักวิทยาศาสตร์ ต้องการเลี่ยงสิ่งที่เป็ นเพียงข้ อสันนิษฐาน เขาก็จะมีเหลือเพียงแค่มโนคติเท่านัน้ ทุกอย่าง สลายตัวลงมาสูม่ โนคติ แม้ แต่ลำาแสง เส้ นประสาท แกงกลิออนเซล ที่เขาใช้ เป็ นจุดเริ่ มต้ น ดังนัน้ ในที่สดุ เขา ก็ทำาลายฐานของการก่อสร้ างของเขาเอง หรื อว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็ นมโนคติ? หรื อว่าทุกสิ่งทุกอย่างต้ องการ เจ้ าของซึง่ หากปราศจากเสียแล้ ว ก็ไม่อาจจะมีอะไรมีอยูจ่ ริ งได้ ? ผมได้ ถือตัวว่าเป็ นเจ้ าของมโนคติของผม แต่ตวั ผมเองก็ไม่ได้ เป็ นมโนคติหรอกหรือ? มันดูเหมือนว่าผู้กำาลังเอนหลังอยูบ่ นเก้ าอี ้นอน ราวกับว่าผม สามารถมองเห็นส่วนหัวรองเท้ าที่ขดั มันของผม ส่วนหน้ าของกางเกงขายาว เสื ้อโค้ ตสัน้ กระดุม บางส่วน ของเสื ้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอปก มือสองข้ าง เคราบางส่วน และเส้ นรางๆ ของสันจมูก หรื อว่าผมเป็ นแค่


14

ผลรวมของรอยประทับทางผัสสะ เป็ นมโนคติที่เข้ ามาอยูด่ ้ วยกันอันนี ้ แต่มนั ก็ดเู หมือนกับว่าผมมองเห็น เก้ าอี ้อยูต่ รงนัน้ นัน่ เป็ นมโนคติ จริงๆ แล้ วผมก็ไม่ได้ ตา่ งอะไรไปมากนักจากตัวเก้ าอี ้ เพราะผมเองก็เป็ นแค่ ผลรวมของรอยประทับทางผัสสะ เป็ นโนคติเหมือนกัน ไม่ใช่หรื อ? แต่เจ้ าของของมโนคติพวกนี ้อยูท่ ี่ไหนละ? ทำาไมมันถึงเกิดเป็ นว่า ผมเลือกเอาหนึง่ ในมโนคติดงั กล่าวแล้ วกำาหนดให้ มนั เป็ นเจ้ าของส่วนที่เหลือ อะไรที่ ทำาให้ มโนคติที่ถกู เลือกนี ้กลายเป็ นมโนคติที่ผมชอบเรี ยกว่า “ฉัน”? ผมเลือกเอาส่วนที่ผมมักจะเรี ยกว่าเก้ าอี ้ แทนไม่ได้ หรื อ? แล้ วทำาไมมโนคติต้องมีเจ้ าของด้ วยล่ะ? เจ้ าของจะต้ องเป็ นอะไรบางอย่างที่แตกต่างใน สาระสำาคัญจากมโนคติที่ถกู เป็ นเจ้ าของ อะไรบางอย่างที่เป็ นอิสระ ไม่ต้องการเจ้ าของต่อไปอีก ถ้ าทุกสิ่งทุก อย่างเป็ นมโนคติ ก็จะไม่มีเจ้ าของมโนคติ และตรงนี ้ผมก็ต้องมาประสบกับอะไรที่กลับตระปั ดอีกแล้ ว ถัา ไม่มีเจ้ าของมโนคติ ก็ไม่อาจมีมโนคติได้ เพราะมโนคติต้องการเจ้ าของซึง่ ถ้ าไม่มีแล้ ว มโนคติก็ไม่อาจมีอยู่ ได้ ถ้ าไม่มีผ้ ปู กครอง ก็ไม่มีผ้ ถู กู ปกครอง ความขึ ้นต่อสิ่งอื่น ซึง่ ผมพบว่าผมถูกโน้ มน้ าวให้ ถือว่าเป็ น คุณสมบัติของตัวการสัมผัสรู้ ในฐานะที่เป็ นคนละสิ่งกับตัวผู้สมั ผัสรู้ จะหายไปถ้ าไม่มีผ้ เู ป็ นเจ้ าของ สิ่งที่ผม เรี ยกว่ามโนคติยอ่ มเป็ นวัตถุที่อิสระ ไม่เหลือเหตุผลอะไรอีกต่อไปสำาหรับให้ ยอมรับสถานะพิเศษสำาหรับวัตถุ อันนันที ้ ่ผมเรี ยกว่า “ฉัน” แต่นนั่ เป็ นไปได้ หรือ? เป็ นไปได้ หรือที่จะมีประสบการณ์ โดยไม่มีผ้ ทู ี่จะมีประสบการณ์ถึงมัน? ละครทังหมดนี ้ ้จะเป็ นอะไรถ้ าปราศจากซึง่ ผู้ดู เป็ นไปได้ หรื อที่จะมีความเจ็บปวดโดยไม่มีผ้ ใู ดรู้สกึ เจ็บ? การ ถูกรับรู้เป็ นเรื่ องจำาเป็ นสำาหรับความรู้สกึ เจ็บ และ ยิ่งไปกว่านัน้ การที่มีใครสักคนรู้สกึ ถึงมันจำาเป็ นสำาหรับ การที่มนั ถูกรู้สกึ แต่ถ้าเช่นนัน้ ก็มีบางสิ่งซึง่ ไม่ใช่มโนคติของผม แต่ก็ยงั สามารถเป็ นวัตถุแห่งการตระหนักรู้ ของผม คือ เป็ นวัตถุของการคิดของผม สิ่งเช่นนันก็ ้ คือตัวของผมเอง หรื อเป็ นไปได้ ไหมว่า ผมเป็ นส่วนหนึง่ ของเนื ้อหาของมโนสำานึกของผม ในขณะที่อีกส่วนหนึง่ อาจจะเป็ นมโนคติของผมเกี่ยวกับพระจันทร์ ? หรื อ ว่านี่คือสิ่งที่บางทีอาจเกิดขึ ้นเมื่อผมตัดสินว่าผมกำาลังมองดูพระจันทร์ ? ถ้ าเช่นนันแล้ ้ ว ส่วนที่หนึง่ ก็จะมีมโน สำานึก และส่วนหนึง่ ของเนื ้อหาของมโนสำานึกอันนี ้ก็จะเป็ นตัวของผมเองไปอีกรอบหนึง่ และต่อไปเรื่ อยๆ แต่ แน่นอนว่ามันเป็ นเรื่องที่ไม่อาจคิดถึงได้ ว่าผมควรจะอยูใ่ นตัวของผมแบบกล่องที่ซ้อนอยูใ่ นกล่อง ซึง่ ซ้ อน กันไปเรื่ อยๆ อย่างไม่ร้ ูจบ เพราะถ้ าเป็ นเช่นนันแล้ ้ วก็จะไม่มีผมเพียงหนึง่ แต่จะมากมายอย่างไม่ร้ ูจกั จบสิ ้น ผมไม่ใช่มโนคติของตัวเอง และเมื่อผมยืนยันบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับตัวเอง เช่นว่า ตอนนี ้ผมไม่ร้ ูสกึ เจ็บที่ ตรงไหน ข้ อตัดสินของผมเกี่ยวข้ องกับบางสิ่งบางอย่าง ซึง่ ไม่ใช่เนื ้อหาของมโนสำานึกของผม ไม่ใช่มโนคติ ของผม แต่คือตัวผมเอง ดังนัน้ อะไรบางอย่างซึง่ ผมกล่าวถึงไม่จำาเป็ นต้ องเป็ นมโนคติของผม แต่บางคนก็ อาจจะโต้ แย้ งว่า ถ้ าผมคิดว่าตอนนี ้ผมไม่ร้ ูสกึ เจ็บที่ตรงไหน ไม่ใช่ดอกหรื อว่า คำาว่า “ผม” ตอบรับต่อบางสิ่ง ในเนื ้อหาของมโนสำานึกของผม? และนัน่ ไม่ใช่มโนคติหรอกหรื อ? นัน่ อาจจะจริ ง บางมโนคติในมโนสำานึก ของผมอาจจะเชื่อมโยงอยูก่ บั มโนคติของคำาว่า “ฉัน” แต่นี่เป็ นมโนคติหนึง่ ในบรรดามโนคติทงหลาย ั้ และผม ก็เป็ นเจ้ าของมันเช่นเดียวกับที่ผมเป็ นเจ้ าของมโนคติอื่นๆ ผมมีมโนคติของตัวเอง แต่ผมก็ไม่ได้ เป็ นสิ่ง เดียวกันกับมโนคตินี ้ อะไรที่เป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึกของผม หมายถึง มโนคติของผม ควรจะต้ องถูกแบ่ง


15

แยกอย่างเด็ดขาด จากอะไรที่เป็ นวัตถุของความคิดของผม ดังนันแล้ ้ ว ญัตติที่วา่ มีแต่สิ่งซึง่ อยูใ่ นเนื ้อหาของ มโนสำานึกของผมเท่านันที ้ ่จะสามารถเป็ นวัตถุของการตระหนักรู้ของผม ซึง่ ก็คือ ของความคิดของผม จึง เป็ นญัตติที่ผิด ถึงตอนนี ้ทางก็เปิ ดให้ ผมยอมรับผู้อื่นว่าเป็ นเจ้ าของมโนคติผ้ ซู งึ่ เป็ นอิสระเช่นเดียวกัน ผมมีมโนคติ เกี่ยวกับเขา แต่ผมไม่เอามันไปสับสนปนเปกับตัวของเขาเอง และถ้ าผมกล่าวอะไรบางอย่างเกี่ยวกับพี่ชาย ของผม ผมไม่ได้ กล่าวเรื่องของมโนคติที่ผมมีเกี่ยวกับพี่ชายของผม ผู้ป่วยซึง่ รู้สกึ เจ็บเป็ นเจ้ าของความรู้สกึ เจ็บ แต่หมอซึง่ กำาลังรักษาเขาและกำาลังพิจารณาหาสาเหตุ ของความเจ็บปวดอันนี ้ ไม่ได้ เป็ นเจ้ าของความเจ็บปวด เขาไม่ได้ จินตนาการว่าเขาสามารถบรรเทาความ เจ็บปวดนี ้ได้ ด้วยการให้ ยาชากับตัวเขาเอง อาจเป็ นไปได้ อย่างยิ่งว่ามีมโนคติในจิตของหมอที่ตอบรับต่อ ความเจ็บปวดของผู้ป่วย แต่นนั่ ไม่ใช่ความเจ็บปวดและไม่ใช่สิ่งที่หมอต้ องการจะกำาจัดออกไป หมอคนนัน้ อาจจะไปปรึกษาหมอคนอื่น ถึงตรงนี ้เราต้ องแยกแยะ อันดับที่หนึง่ ตัวความเจ็บปวด ซึง่ ผู้ป่วยเป็ นเจ้ าของ อันดับที่สอง มโนคติเกี่ยวกับความเจ็บปวดอันนี ้ของหมอคนที่หนึง่ อันดับที่สาม มโนคติของหมอคนที่สอง ถึง ความเจ็บปวดอันนี ้ มโนคติอนั หลังนี ้เป็ นเนื ้อหาของมโนสำานึกของหมอคนที่สองจริ งๆ แต่มนั ไม่ใช่วตั ถุ แห่งการไตร่ตรองของเขา มันเป็ นสิ่งที่มาช่วยเหลือการไตร่ตรองต่างหาก เหมือนที่ภาพวาดอาจเป็ น หมอทัง้ สองคนมีวตั ถุที่เป็ นเป้าหมายของความคิดร่วมกัน ซึง่ ก็คือ ความเจ็บปวดของผู้ป่วย ซึง่ พวกเขาไม่ได้ เป็ น เจ้ าของ มันอาจจะเห็นได้ จากข้ อนี ้ว่า ไม่ใช่เพียงแค่สำาหรับวัตถุสิ่งของเท่านัน้ แต่มโนคติก็สามารถเป็ นวัตถุ ร่วมของความคิด สำาหรับคนที่ไม่ได้ มีตวั มโนคตินนั ้ ได้ เช่นกัน ด้ วยวิธีการเช่นนี ้ สำาหรับผมแล้ ว ดูเหมือนว่าเรื่ องราวกลายเป็ นสิ่งที่สามารถเข้ าใจได้ ถ้ าคนไม่ สามารถคิดถึงและไม่สามารถถือเอาบางสิ่งบางอย่างที่เขาไม่ได้ เป็ นเจ้ าของมาเป็ นวัตถุของความคิดของเขา แล้ ว เขาย่อมจะมีแต่โลกภายในและไม่มีสิ่งแวดล้ อมภายนอก แต่อาจเป็ นได้ ไหมว่านี่วางอยูบ่ นความคิดที่ ผิด? ผมเชื่อมัน่ ว่ามโนคติที่ผมเชื่อมโยงกับคำาว่า “พี่ชายของผม” สอดคล้ องกับอะไรบางอย่างซึง่ ไม่ใช่ มโนคติของผม และเป็ นอะไรที่ผมสามารถกล่าวบางอย่างถึงได้ แต่อาจเป็ นได้ ไหมว่า ผมกำาลังคิดผิดในเรื่ อง นี ้ ความผิดพลาดแบบนันเกิ ้ ดขึ ้นได้ จริง เราถึงตกลงไปสูเ่ รื่ องคิดเพ้ อฝั นไปเอาเองโดยไม่ตงใจ ั ้ ใช่ มันเกิดขึ ้น ได้ จริ งๆ ด้ วยขันตอนที ้ ่ผมใช้ รักษาสิ่งแวดล้ อมให้ ตวั ผม ผมเปิ ดตัวเองต่อโอกาสของความผิดพลาด และตรง นี ้เอง ผมเผชิญกับความแตกต่างขันต่ ้ อไประหว่างโลกภายในและโลกภายนอกของผม ผมไม่สามารถสงสัย ได้ ว่าผมกำาลังมีรอยประทับทางจักษุของสีเขียว แต่มนั ไม่อาจถือว่าแน่นอนเท่ากันๆ ว่า ผมกำาลังเห็นใบไม้ ดังนันนี ้ ่ยอ่ มตรงกันข้ ามกับความคิดที่เป็ นอยูท่ วั่ ไป คือ เราพบความแน่นอนในโลกภายใน แต่เราไม่เคยก้ าว พ้ นไปจากข้ อสงสัยเมื่อเราเดินทางออกไปสูโ่ ลกภายนอก แต่ถึงกระนันความน่ ้ าจะเป็ นในหลายกรณีก็ยากที่ จะแยกจากความแน่นอน ดังนันเราจึ ้ งอาจหาญที่จะตัดสินเกี่ยวกับสิ่งในโลกภายนอก และเราต้ องกล้ าที่จะ ทำาเช่นนันแม้ ้ จะเสี่ยงกับความผิดพลาด หากเราไม่ต้องการตกลงไปสู้อนั ตรายที่ใหญ่หลวงกว่า


16

ในฐานะผลของข้ อพิจารณาส่วนหลังนี ้ ผมขอเสนอดังนี ้ คือ ไม่จริ งว่าทุกอย่างที่สามารถเป็ นวัตถุ ของความคุ้นเคยของผมต้ องเป็ นมโนคติ ผม ในฐานะเจ้ าของมโนคติ ด้ วยตัวเองแล้ วไม่ใช่มโนคติ จากตรงนี ้ ย่อมไม่มีอะไรจะกันผมจากการยอมรับว่าคนอืน่ ก็เป็ นเจ้ าของมโนคติอย่างที่ตวั ผมเองเป็ น และทันทีที่รับ ความเป็ นไปได้ นี ้ ความน่าจะเป็ นย่อมสูง สูงถึงขันที ้ ่ในความคิดเห็นของผมแล้ ว ไม่อาจแยกขาดจากความ แน่นอน ถ้ าไม่เช่นนันแล้ ้ วจะมีวิทยาศาสตร์ ของประวัติศาสตร์ หรื อ? ถ้ าไม่อย่างนันแล้ ้ วทฤษฎีศีลธรรมทัง้ หลาย กฎหมายทังหลาย ้ จะไม่ล้มทลายลงหรอกหรื อ? แล้ วศาสนาจะเหลืออะไร วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติเอง ก็ยอ่ มถูกตีคา่ ว่าเป็ นแค่นิทานเหมือนโหราศาสตร์ และวิชาเล่นแร่แปรธาตุ ฉะนันข้ ้ อพิเคราะห์ที่ผมได้ นำาเสนอ เกี่ยวกับข้ อสมมติฐานว่ามีมนุษย์คนอื่นนอกจากตัวผม ผู้ซงึ่ สามารถจับเอาสิ่งเดียวกันกับผมมาเป็ นวัตถุของ การไตร่ตรองของเขา หรือ ของการคิดของเขา จึงยังคงมีพลังอย่างไม่ได้ ออ่ นลงในสาระสำาคัญแต่ประการใด ไม่ใช่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็ นมโนคติ ดังนันผมย่ ้ อมสามารถยอมรับเช่นกันถึงว่าความคิดเป็ นสิ่งที่เป็ น อิสระจากตัวผม คนอื่นสามารถเข้ าใจมันได้ มากเท่ากับที่ผมเข้ าใจ ผมสามารถยอมรับในวิทยาศาสตร์ ซงึ่ คน หลายๆ คนสามารถเข้ ามาร่วมค้ นคว้ าวิจยั เราไม่ได้ เป็ นเจ้ าของความคิดอย่างที่เราเป็ นเจ้ าของมโนคติ เรา ไม่ได้ มีความคิด อย่างที่เรามีรอยประทับทางผัสสะ แต่เราก็ไม่ได้ มองเห็นความคิดเหมือนที่เรามองเห็น ดวงดาว ดังนันเราจึ ้ งสมควรจะเลือกหาคำาพิเศษ คำาว่า “เข้ าใจ” ดูจะเหมาะสมสำาหรับวัตถุประสงค์ของเรา8 การเข้ าใจความคิดจะต้ องสอดคล้ องกับความสามารถพิเศษของจิต นัน่ ก็คืออำานาจในการคิด และในการคิด เราไม่ได้ สร้ างความคิด เราเข้ าใจมัน เพราะว่าอะไรที่ผมเรี ยกว่าความคิดนันสั ้ มพันธ์อย่างไกล้ ชิดที่สดุ ต่อ ความจริ ง อะไรที่ผมยอมรับว่าจริง ผมตัดสินว่าจริ ง อย่างแยกจากการยอมรับของผมว่ามันเป็ นจริ ง หรื อ แยกแม้ จากการคิดถึงมัน ข้ อที่วา่ มีคนคิดถึงความคิดหนึง่ ไม่มีอะไรเกี่ยวข้ องกับความเป็ นจริ งของมัน นัก วิทยาศาสตร์ ร้องว่า “ข้ อเท็จจริง ข้ อเท็จจริง ข้ อเท็จจริ ง” ถ้ าเขาต้ องการให้ คนตระหนักรู้ถึงความเที่ยงแท้ แน่นอนของฐานที่เข้ มแข็ง ข้ อเท็จจริงคืออะไร? ข้ อเท็จจริ งคือความคิดที่เป็ นจริ ง แน่นอนว่านักวิทยาศาสตร์ จะไม่ยอมรับบางสิ่งบางอย่างว่าเป็ นฐานที่เข้ มแข็งของวิทยาศาสตร์ ถ้ าหากมันขึ ้นกับสภาวะของมโนสำานึก ของคนที่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา งานของวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่การสร้ าง แต่คือการค้ นพบความคิดที่จริ ง นัก ดาราศาสตร์ สามารถประยุกต์ความเป็ นจริงทางคณิตศาสตร์ ในการค้ นคว้ าเหตุการณ์ในอดีตที่เกิดขึ ้น โดย อย่างน้ อยที่สดุ ก็ไม่มีใครบนโลกตระหนักรู้ถึงความจริ งนัน้ เขาทำาสิ่งนี ้ได้ ก็เพราะความจริ งของความคิดเป็ น สิ่งซึง่ ไร้ กาลเวลา ดังนันความจริ ้ งจึงไม่ได้ เกิดมีขึ ้นเมื่อมีการค้ นพบมัน ไม่ใช่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็ นมโนคติ ถ้ าไม่เช่นนันแล้ ้ ว จิตวิทยาก็จะครอบคลุมวิทยาศาสตร์ ทงหลาย ั้ หรื ออย่างน้ อยที่สดุ มันก็จะเป็ นผู้ตดั สินสูงสุดเหนือวิทยาศาสตร์ ทงหลาย ั้ มิเช่นนันแล้ ้ ว จิตวิทยาก็จะ ปกครองแม้ แต่ตรรกศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่จะไม่มีอะไรจะเป็ นการเข้ าใจคณิตศาสตร์ อย่างผิดพลาดยิ่ง ไปกว่าการทำาให้ มนั อยูใ่ ต้ อำานาจของจิตวิทยา ตรรกศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ไม่ได้ มีหน้ าที่ในการตรวจสอบ จิตและเนื ้อหาของมโนสำานึกที่เป็ นของมนุษย์แต่ละคน เราอาจเสนอว่าหน้ าที่ของมันคือการตรวจสอบจิต ร่วมหรื อจิตที่เป็ นหนึง่ ในฐานะที่แทนจิตทังมวล ้ (the mind) ไม่ใช่ของจิตหลายๆ จิต (minds)


17

การเข้ าใจความคิดกำาหนดล่วงหน้ าว่าต้ องมีผ้ ทู ี่เข้ าใจ นัน่ ก็คือ ผู้ที่คิดตัวความคิด เขาเป็ นเจ้ าของ การคิด ไม่ใช่เจ้ าของตัวความคิด ถึงแม้ ว่าความคิดไม่ได้ เป็ นส่วนของเนื ้อหาของมโนสำานึกของผู้คิด มันต้ อง มีอะไรบางอย่างในมโนสำานึกของเขาที่มงุ่ เล็งไปที่ความคิดนัน้ แต่นี ้ไม่ควรจะเอาไปสับสนกับตัวความคิดนัน้ เอง ตัวอัลกอล์ (Algol) เองเป็ นคนละสิ่งกับมโนคติที่ใครมีเกี่ยวกับอัลกอล์ ความคิดไม่ได้ อยูใ่ นอาณาเขตของโลกภายในของผมเหมือนอย่างมโนคติ พร้ อมกับไม่ได้ อยูใ่ นโลก ภายนอก คือโลกของสิ่งของที่รับรู้ด้วยประสาทสัมผัส ผลข้ อนี ้ ไม่วา่ จะตามมาจากคำาอธิบายอย่างน่าเชื่อถือเพียงไร ก็อาจไม่ได้ รับการยอมรับอย่างไม่มี ข้ อโต้ แย้ ง ผมคิดว่า สำาหรับบางคนแล้ วมันอาจดูเหมือนเป็ นไปไม่ได้ ที่เราจะได้ รับข้ อมูลเกี่ยวกับอะไรที่ไม่ได้ อยูใ่ นโลกภายในหากไม่ใช่ได้ มาด้ วยประสาทสัมผัส ที่จริ งแล้ วมักคิดว่าประสาทสัมผัสเป็ นแหล่งของความรู้ ที่แน่นอน หรื อแม้ กระทัง่ ว่าเป็ นแหล่งเดียวเท่านันของความรู ้ ้ ของทุกอย่างที่ไม่ได้ เป็ นของโลกภายใน แต่ด้วย สิทธิอะไร? เพราะประสาทสัมผัสจำาเป็ นต้ องมีรอยประทับทางผัสสะเป็ นองค์ประกอบ และนี่เป็ นส่วนของ โลกภายใน ไม่วา่ อย่างไรคนสองคนก็ไม่มีรอยประทับทางผัสสะเดียวกัน ถึงแม้ จะมีคล้ ายกันก็ตาม ลำาพังตัว รอยประทับทางผัสสะก็ไม่อาจเปิ ดเผยโลกภายนอกต่อเราได้ บางทีอาจจะมีสิ่งมีชีวิตซึง่ มีเพียงแค่รอย ประทับทางผัสสะ แต่ไม่ได้ มองเห็นหรือสัมผัสรู้วตั ถุในโลก การมีรอยประทับทางจักษุสมั ผัสไม่ใช่การมอง เห็นวัตถุสิ่งของ การที่ผมมองเห็นต้ นไม้ อยูใ่ นที่ๆ ผมมองเห็นนันมั ้ นเกิดขึ ้นมาได้ อย่างไร? เห็นได้ ชดั ว่ามันขึ ้น กับรอยประทับทางจักษุสมั ผัสที่ผมมีและขึ ้นกับลักษณะพิเศษที่ปรากฎขึ ้นจากการที่ผมเห็นด้ วยสองตา พูด ตามภาษาแบบฟิ สิกส์ บนเรตินาของตาแต่ละข้ างปรากฏภาพที่มีลกั ษณะจำาเพาะขึ ้น ใครอื่นเห็นต้ นไม้ ที่อยู่ ที่เดียวกัน เขาก็มีภาพอยูบ่ นจอเรตินาเช่นเดียวกันแต่แตกต่างไปจากของผม เราต้ องถือว่า ภาพบนเรตินา กำาหนดรอยประทับของเรา ผลก็คือ ไม่เพียงแค่วา่ รอยประทับทางจักษุผสั สะของเราจะไม่เหมือนกันเท่านัน้ แต่ตา่ งกันไปอย่างเด่นชัดด้ วย แต่ถึงกระนันเราก็ ้ เคลื่อนที่ไปมาอยูใ่ นโลกภายนอกเดียวกัน แน่นอนว่าการมี รอยประทับทางจักษุสมั ผัสเป็ นสิ่งจำาเป็ นสำาหรับการมองเห็นสิ่งของ แต่ก็ยงั ไม่ใช่สิ่งที่พอเพียง สิ่งที่ต้องเติม เข้ าไปไม่ใช่อะไรที่สมั ผัสรู้ได้ แต่กระนันนี ้ ่ก็คืออะไรที่เปิ ดโลกภายนอกสำาหรับเรา เพราะหากปราศจากสิ่งที่ สัมผัสรู้ไม่ได้ นี ้แล้ ว ทุกคนก็จะถูกปิ ดขังอยูใ่ นโลกภายในของเขาเอง ดังนัน้ อาจจะเป็ นเพราะว่าตัวการหลัก ในเรื่ องนี ้ ตังอยู ้ น่ อกการสัมผัสรู้ แม้ เมื่อปราศจากซึง่ ความร่วมมือของรอยประทับทางผัสสะ สิ่งที่ไม่อาจ สัมผัสรู้ได้ นี ้ก็ยงั สามารถพาเราออกจากโลกภายใน และช่วยให้ เราเข้ าใจความคิดได้ นอกขอบเขตของโลก ภายในของเรา เราจะต้ องแยกแยะตัวโลกภายนอกจริ งๆ คือโลกของสิ่งที่สมั ผัสและรับรู้ได้ และอาณาเขต ของอะไรบางอย่างที่ไม่สามารถรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสได้ เราต้ องการบางสิ่งบางอย่างที่สมั ผัสรู้ไม่ได้ สำาหรับที่จะตระหนักรู้ถึงทังสองอาณาเขต ้ แต่สำาหรับกับการสัมผัสรับรู้สิ่งของ เราต้ องการรอยประทับทาง ผัสสะเช่นกัน และนี่จำากัดขอบเขตอยูใ่ นโลกภายในเท่านัน้ ดังนัน้ การแบ่งแยกระหว่างลักษณะที่สิ่งของ และความคิดเข้ ามาสูเ่ ราจึงประกอบขึ ้นด้ วยบางสิ่งที่ไม่สามารถกำาหนดลงไปสูอ่ าณาเขตใดอาณาเขตหนึง่


18

แต่กำาหนดลงไปสูโ่ ลกภายใน ดังนันผมจึ ้ งไม่สามารถเห็นว่าการแบ่งแยกนี ้เป็ นเรื่ องใหญ่โตเสียจนทำาให้ การนำาเสนอว่าความคิดไม่ได้ อยูใ่ นโลกภายใน เป็ นไปไม่ได้ ต้ องยอมรับว่า ความคิดไม่ใช่ของประเภทที่ปกติเราจะใช้ คำาว่า “จริ ง” มาพูดถึงมัน โลกของความ เป็ นจริ งคือโลกที่สิ่งนี ้กระทบกับสิ่งนัน้ เข้ าไปเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่น และตัวมันเองก็ต้องผ่านการการกระทบ ตอบโต้ และถูกเปลี่ยนแปลงไป ทังหมดนี ้ ้เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ ้นในกาลเวลา ยากที่ราจะยอมรับอะไรซึง่ ไร้ กาลเวลาและคงตัวไม่เปลี่ยนแปลงให้ เป็ นอะไรที่เป็ นอยูจ่ ริ ง เอาละ มาดูสวิ ่า ความคิดเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนแปลง ได้ หรื อเป็ นสิ่งที่ไร้ กาลเวลาจริงหรือไม่? แน่นอนว่าความคิดที่เราแสดงออกโดยทฤษฎีบทของไพทากอรัส เป็ นสิ่งที่ไร้ กาลเวลา เป็ นอมตะ และไม่แปรผัน แต่ไม่มีความคิดที่เป็ นจริ งในวันนี ้แต่เท็จในอีกหกเดือนข้ าง หน้ าจริ งหรื อ? ตัวอย่างเช่น ความคิดที่ว่าต้ มไม้ ตรงนันปกคลุ ้ มด้ วยใบสีเขียว ย่อมกลายเป็ นเท็จในอีกหก เดือนข้ างหน้ า ไม่จริง เพราะนัน่ ไม่ใช่ความคิดเดียวกันแต่ประการใด คำาว่า “ต้ นไม้ ต้นนี ้มีใบสีเขียว” ด้ วยตัว เองแล้ วไม่เพียงพอสำาหรับการแสดงออกของความคิด เพราะมันเกี่ยวข้ องกับเวลาของการเปล่งคำาพูดด้ วย เมื่อไม่มีการระบุเวลากำากับมาด้ วยเราก็ได้ ความคิดที่ยงั ไม่สมบูรณ์ ซึง่ ก็คือการที่เรายังไม่ได้ ความคิดเลย มี แต่ประโยคที่เติมการระบุเวลาลงไปด้ วย ซึง่ เป็ นประโยคที่สมบูรณ์ในทุกๆ แง่ เท่านัน้ ที่เป็ นการแสดงออก ของความคิด แต่หากความคิดนี ้เป็ นจริง มันย่อมเป็ นจริ งไม่ใช่แค่ในวันนี ้หรื อพรุ่งนี ้ แต่เป็ นจริ งอย่างไร้ กาล เวลา ดังนัน้ รูปปั จจุบนั กาลใน “เป็ นจริง” (is true) ไม่ได้ อ้างอิงถึงปั จจุบนั ของผู้พดู ถ้ าจะยอมให้ พดู แล้ วละ ก็ มันคือรูปกาล (tense) ของความไร้ กาลเวลา ถ้ าเราเพียงแค่ใช่รูปประโยคแบบบอกเล่า และเลี่ยงการใช้ คำา ว่า “จริ ง” เราก็ต้องแยกแยะของสองสิ่งออกจากกัน คือ การแสดงออกของความคิด และการยืนยัน การระบุ เวลาซึง่ อาจจะบรรจุอยูใ่ นประโยค เป็ นส่วนของการแสดงออกของความคิดเท่านัน้ ตัวความจริ ง ซึง่ เรา ยอมรับ ด้ วยการใช้ รูปแบบประโยคบอกเล่า เป็ นเรื่ องไร้ กาลเวลา แน่นอนว่า คำาเดียวกัน หากพิจารณาถึง ความแปรผันไปตามกาลเวลาของภาษา อาจเปลี่ยนความหมายไป คือ แสดงออกถึงความคิดอืน่ อย่างไร ก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนี ้สัมพันธ์อยูเ่ พียงในขอบเขตของเรื่ องภาษาเท่านัน้ แต่ถึงอย่างนัน้ สิ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลงคงทนตลอดกาล แต่ทว่าก็ไม่สามารถกระทบกับเราหรื อทำาอะไร กับเราได้ จะมีคา่ อะไร? บางสิ่งบางอย่างซึง่ ไร้ ผลในทุกๆ แง่ทกุ ๆ ด้ านย่อมต้ องไม่เป็ นจริ งเป็ นจัง และเท่าที่ เกี่ยวข้ องกับเราแล้ ว ย่อมถือว่าไม่มีอยู่ แม้ แต่สิ่งซึง่ ไร้ กาลเวลา หากมันจะมีคา่ เป็ นอะไรบางอย่างสำาหรับเรา ก็จะต้ องเข้ ามามีสว่ นพัวพันกับสิ่งซึง่ อยูใ่ นกาลเวลาไม่ในทางใดก็ทางหนึง่ แต่ความคิดจะเป็ นอะไรสำาหรับ ผม ถ้ าผมไม่เคยเข้ าใจมัน แต่ด้วยการเข้ าใจความคิด ผมเข้ ามาสัมพันธ์กบั มัน และมันเข้ ามาสัมพันธ์กบั ผม เป็ นไปได้ ว่าความคิดเดียวกันซึง่ ผมคิดถึงมันในวันนี ้ ไม่ได้ ถกู ผมคิดเมื่อวานนี ้ แน่นอนว่านี ้ทำาให้ เรื่ องความ ไร้ กาลเวลาแบบตายตัวจบสิ ้นลง แต่เราอาจจะอยากที่จะแยกแยะระหว่างคุณสมบัติที่เป็ นสารัตถะกับ คุณสมบัติที่ไม่ใช่สารัตถะ และถือว่าบางสิ่งบางอย่างไร้ กาลเวลาถ้ าหากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับมัน เกี่ยวข้ องเฉพาะส่วนที่ไม่ใช่ตวั สารัตถะแก่นแท้ ของมัน คุณสมบัติของความคิดจะถูกถือว่าไม่ใช่คณ ุ สมบัติที่ เป็ นสารัตถะแก่นแท้ ถ้ ามันเกิดจาก หรือตามมาจาก ข้ อเท็จจริ งที่ว่าความคิดนี ้ถูกเข้ าใจโดยผู้คิดคนหนึง่


19

ความคิดกระทำาการอย่างไร? ด้ วยการถูกเข้ าใจและด้ วยการถูกถือว่าจริ ง นี่เป็ นกระบวนการในโลก ภายในของผู้คิด ซึง่ อาจมีผลต่อเนื่องไปในโลกภายใน ซึง่ อาจจะรุกล้ำ าเข้ าสูอ่ าณาเขตของเจตจำานงและ ประกาศตนออกมาในโลกภายนอกได้ เช่นกัน เช่น ถ้ าผมเข้ าใจความคิดที่แสดงออกมาในทฤษฎีบทของไพ ทากอรัส ผลก็อาจตามมาว่า ผมยอมรับว่ามันจริ ง และต่อจากนันก็ ้ นำามันมาใช้ ตดั สินใจซึง่ นำาไปสูก่ ารเร่ง ความเร็ วของมวลสาร นี่คือวิธีที่การกระทำาของเรามักจะเกิดตามมาจากกิจกรรมการคิดและการสร้ างข้ อ ตัดสิน ดังนันความคิ ้ ดอาจมีอิทธิพลโดยอ้ อมต่อการเคลื่อนไหวของมวลสาร อิทธิพลของมนุษย์ตอ่ มนุษย์ เกิดขึ ้นอย่างมากที่สดุ ก็ด้วยความคิด คนสื่อสารทางความคิด พวกเขาทำาสิ่งนี ้ได้ อย่างไร? พวกเขาสร้ างให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงในโลกภายนอก และสิ่งนี ้ก็ถกู มุง่ หมายให้ รับรู้โดยคนอืน่ และเปิ ดโอกาสให้ เขาเข้ าใจ ความคิดและถือว่ามันเป็ นจริง เหตุการณ์ใหญ่ๆ ในประวัติศาสตร์ ของโลกจะเกิดขึ ้นได้ หรื อถ้ าปราศจากการ สื่อสารทางความคิด? แต่กระนันเราก็ ้ อาจจะโน้ มไปในทางที่จะถือว่าความคิดเป็ นสิ่งที่ไม่เป็ นจริ ง เพราะมัน ดูเหมือนว่ามันจะไม่ได้ ทำาอะไรกับเหตุการณ์ ในขณะที่การคิด การตัดสิน การยืนยัน การเข้ าใจ คือสิ่งที่ เกี่ยวข้ องกับผู้คน ในการทำาสิ่งต่างๆ ทัว่ ไป สภาวะความเป็ นจริ งของค้ อน เมื่อเทียบกันของความคิดแล้ ว ดู ช่างต่างกันเหลือเกิน! การยื่นค้ อนให้ กนั ก็ช่างแตกต่างเหลือเกินจากการสื่อสารความคิด อำานาจการควบคุม ค้ อนผ่านจากคนหนึง่ ไปสูอ่ ีกคนหนึง่ มันถูกจับยึดไว้ มันผ่านแรงบีบ ดังนันความหนาแน่ ้ นของมัน ซึง่ เป็ น คุณสมบัติที่เป็ นไปในตัวของมันเองของส่วนประกอบของมัน ย่อมเปลี่ยนแปลงไปในบางจุด ไม่มีอะไรสักนิด ที่เป็ นเช่นนี ้กับความคิด มันไม่ได้ เดินทางหายจากอำานาจการควบคุมของผู้สื่อสารเมื่อมันถูกสื่อไปสูผ่ ้ อู ื่น เพราะไม่ว่าอย่างไรเสีย คนก็ไม่มีอำานาจเหนือมัน เมื่อความคิดหนึง่ ถูกเข้ าใจ ในตอนแรก มันก็แค่สร้ าง ความเปลี่ยนแปลงในโลกภายในของคนผู้ซงึ่ เข้ าใจมัน กระนันมั ้ นก็ไม่ได้ ถกู กระทบอะไรเลย ในแกนกลาง ของสารัตถะของมัน เพราะความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับมันมีผลเพียงแต่กบั คุณสมบัติที่ไม่ใช่แก่นแท้ มี อะไรบางอย่างหายไปจากที่นี่ จากที่เรามองเห็นอยูใ่ นทุกหนแห่งในกระบวนการทางกายภาพ นัน่ ก็คือ การก ระทำาต่อกันและกัน ความคิดไม่ใช่สิ่งที่ไม่จริงไปทังหมด ้ แต่ความเป็ นจริ งของมัน แตกต่างไปจากความเป็ น จริ งของวัตถุสิ่งของ และการกระทำาของมันถูกสร้ างขึ ้นโดยการปฏิบตั ิของผู้คิด ซึง่ หากปราศจากเสียแล้ วซึง่ ผู้ คิด มันก็ไร้ อำานาจกระทำาการ อย่างน้ อยที่สดุ ก็คือเท่าที่เราเห็นได้ และกระนันผู ้ ้ คิดก็ไม่ได้ สร้ างมันขึ ้น แต่รับ มันไว้ ตามที่มนั เป็ น มันสามารถเป็ นจริงแม้ โดยปราศจากการเข้ าใจของผู้คิด และแม้ จะเป็ นอย่างนัน้ มันก็ไม่ ได้ ไม่เป็ นจริ งไปเสียทังหมด ้ อย่างน้ อยที่สดุ มันก็สามารถที่จะถูกเข้ าใจและนำาพาไปสูก่ ารกระทำา.


1

เชิ งอรรถ

ดังนัน้ ในลักษณะเดียวกัน คนกล่าวว่า “ข้ อตัดสินคืออะไรบางอย่างที่ถ้าไม่จริงก็เท็จ” ที่จริงแล้ วผมใช้ คำาว่า “ความคิด” ค่อนข้ างจะ ตามความหมายของคำาว่า “ข้ อตัดสิน” ในงานเขียนของนักตรรกศาสตร์ ผมหวังว่าสิ่งที่ตามมาจะช่วยให้ ชดั ขึ ้นว่าทำาไมผมถึงเลือกคำาว่า “ความคิด” คำาอธิบายในลักษณะดังกล่าวถูกโต้ แย้ งบนพื ้นฐานที่ว่ามันแบ่งแยกข้ อตัดสินออกเป็ นข้ อตัดสินที่จริงและข้ อตัดสินที่เท็จ ซึง่ บางทีอาจเป็ นการแบ่งแยกที่เป็ นไปได้ ที่มีความหมายน้ อยที่สดุ ในบรรดาข้ อตัดสินทังหลาย ้ แต่ผมไม่เห็นว่ามันเป็ นความผิดทางตรรกะ ตรงไหน ที่จะให้ การแบ่งแยกมาพร้ อมกับการอธิบาย สำาหรับความสำาคัญของการแบ่งแยก ไม่วา่ จะอย่างไร มันก็ไม่ควรถูกถือว่าเป็ น เรื่ องเล็กน้ อย ถ้ าหากมันเป็ นไปตามที่ผมได้ พดู มา คือคำาว่า “จริง” เป็ นสิ่งที่ชี ้ทางให้ แก่ตรรกศาสตร์ 2 ตรงนี ้ ผมไม่ได้ กำาลังใช้ คำาว่า “ประโยค” ในความหมายตามหลักไวยากรณ์ ซึง่ นับรวม subordinate clause เมื่อ subordinate clause ถูกแยกออกมาเป็ นอิสระมันมักจะไม่คอ่ ยมีความหมายที่ทำาให้ สามารถเกิดคำาถามเรื่ องค่าความจริงขึ ้นได้ ไม่เหมือนประโยคซับ ซ้ อนซึง่ มันเป็ นส่วนประกอบที่จะมีความหมายในลักษณะดังกล่าว 3 เฟรเกหมายถึงหมายถึงคำาถามที่นำาหน้ าด้ วยคำาอย่างเช่น “ใคร” (ผู้แปลอังกฤษ) 4 นัน่ ก็คือ คำาถามแบบ ใช่ หรื อ ไม่ใช่ (ผู้แปลอังกฤษ) 5 มันดูเหมือนว่าความคิดและข้ อตัดสินจะไม่ได้ ถกู แยกแยะจากกันอย่างเพียงพอ บางทีภาษาอาจชวนให้ เข้ าใจผิด เพราะเราไม่มีสว่ น เฉพาะของประโยคยืนยันที่สอดคล้ องกับการยืนยัน นัน่ คือ การที่บางสิ่งกำาลังถูกยืนยันนันเป็ ้ นสิ่งที่แฝงอยู่ในรูปแบบเชิงยืนยัน ภาษา เยอรมันได้ เปรี ยบตรงที่ main clause และ subordinate clause ถูกแยกจากกันโดยลำาดับของคำา อย่างไรก็ตามในเรื่ องนี ้ เราต้ อง สังเกตุว่า subordinate clause อาจบรรจุการยืนยัน และบางครัง้ ทัง้ main clause และ subordinate clause ตามลำาพังล้ วนไม่ได้ แสดงความคิดที่สมบูรณ์ แต่ตวั ประโยคซับซ้ อนทังประโยคเป็ ้ นตัวแสดง 6 ตรงนี ้ ผมไม่ได้ อยู่ในสถานะที่น่าพอใจแบบนักเหมืองแร่วิทยาที่จะแสดงหินผลึกให้ ผ้ ชู มของเขาดูได้ ตรงๆ ผมไม่สามารถเอาความคิด ใส่ลงไปในมือของผู้อา่ นของผม แล้ วขอร้ องให้ เขาตรวจสอบมันจากทุกๆ ด้ าน ความคิด ในฐานะบางสิ่งบางอย่างที่ไม่สามารถรับรู้ด้วย ประสาทสัมผัส ถูกนำาเสนอต่อผู้อา่ นโดยถูกหุ้มห่อไว้ ในรูปร่างที่รับรู้ได้ ของภาษา และผมก็ต้องพึงพอใจแค่นนั ้ แง่ที่เป็ นภาพพจน์ของ ภาษานำาเสนอเรื่ องยุ่งยาก สิง่ ที่สมั ผัสรู้ได้ แหกเข้ ามาอยู่เสมอและทำาให้ การแสดงออกกลายเป็ นภาพพจน์และดังนันจึ ้ งไม่ถกู ต้ อง ดังนัน้ คนจึงต้ องต่อกรกับภาษา และผมถูกบังคับให้ ต้องหมกหมุ่นอยู่กบั ภาษา แม้ วา่ มันจะไม่ใช่สิ่งที่ผมสนใจจริงๆ ผมหวังว่าผมจะประสบ ความสำาเร็จในการทำาให้ ผ้ อู า่ นของผมเข้ าใจว่าด้ วยคำาว่า “ความคิด” ผมหมายความอย่างไร 7 บุคคลเห็นสิ่งของ มีมโนคติเกิดขึ ้นในใจ เข้ าใจหรื อคิดถึงความคิดหนึง่ เมื่อเขาเข้ าใจ หรื อ เมื่อเขาคิดถึงความคิดหนึง่ เขาไม่ได้ สร้ าง มันขึ ้นมา แต่เขาก้ าวเข้ าไปอยู่ในความสัมพันธ์กบั อะไรบางอย่างที่มีอยู่แล้ ว เป็ นความสัมพันธ์ที่แตกต่างจากการเห็นหรื อการมีมโนคติ 8 ถ้ อยคำาว่า “เข้ าใจ” ก็เป็ นอุปมาอุปมัยเท่าๆ กับ “เนื ้อหาของมโนสำานึก” ธรรมชาติของภาษาไม่อนุญาตให้ ทำาอย่างอื่นได้ แน่นอนว่าสิ่ง ที่ผมถืออยู่ในมือย่อมถือว่าเป็ นเนื ้อหาของมือของผม แต่มนั ก็เป็ นเนื ้อหาของมือของผมในทางที่ตา่ งออกไปและเป็ นของภายนอกไม่ เหมือนกระดูกและกล้ ามเนื ้อซึง่ เป็ นส่วนประกอบของมือ รวมทัง้ ความตึงเครี ยดที่พวกมันรับอยู่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.