ว่าด้วยความจริงและการโกหกในความหมายที่อยู่นอกศีลธรรม โดย นิตเช่

Page 1

ภาคผนวก


25 Friedrich Nietzsche, “On Truth and Lies in a Nonmoral Sense” From Friedrich Nietzsche, Philosophy and Truth: Selections from Nietzsche’s Notebooks of the Early 1870s, ed. And tr. Daniel Breazeale. New Jersey: Humanities Library, 1990, pp.79-91, 93-4, 97 [some notes and passages omitted; asterisked notes are the translator’s]; reprinted by permission of Humanities Press International, Inc., Atlantic Highlands. NJ.

On Truth and Lies in a Nonmoral Sense (1873) 1 [1]Once upon a time, in some out of the way corner of that universe which is dispersed into numberless twinkling solar systems, there was a star upon which clever beasts invented knowing. [2]That was the most arrogant and mendacious minute of ‘world history,’ but nevertheless, it was only a minute. [3]After nature had drawn a few breaths, the star cooled and congealed, and the clever beasts had to die. [4]-One might invent such a fable, and yet he still would not have adequately illustrated how miserable, how shadowy and transient, how aimless and arbitrary the human intellect looks within nature. [5]There were eternities during which it did not exist. [6]And when it is all over with the human intellect, nothing will have happened. [7]For this intellect has no additional mission which would lead it beyond human life. [8]Rather, it is human, and only its possessor and begetter takes it so solemnly-as though the world’s axis turned within it. [9]But if we could communicate with the gnat, we would learn that he likewise flies through the air with the same solemnity, that he feels the flying center of the universe within himself. [10]There is nothing so reprehensible and unimportant in nature that it would not immediately swell up like a balloon at the slightest puff of this power of knowing. [11]And just as every porter wants to have an admirer, so even the proudest of men, the philosopher, supposes that he sees on all sides the eyes of the universe telescopically focused upon his action and thought. [12]It is remarkable that this was brought about by the intellect, which was certainly allotted to these most unfortunate, delicate, and ephemeral beings merely as a device for detaining them a minute within existence. [13]For without this addition they would have every reason to flee this existence as quickly as Lessing’s son [who


26 died on the day of his birth]. [14]The pride connected with knowing and sensing lies like a blinding fog over the eyes and senses of men, thus deceiving them concerning the value of existence. [15]For this pride contains within itself the most flattering estimation of the value of knowing. [16]Deception is the most general effect of such pride, but even its most particular effects contain within themselves something of the same deceitful character. [17]As a means for the preserving of the individual, the intellect unfolds its principle powers in dissimulation, which is the means by which weaker, less robust individuals preserve themselves-since they have been denied the chance to wage the battle for existence with horns or with the sharp teeth of beasts of prey. [18]This art of dissimulation reaches its peak in man. [19]Deception, flattering, lying, deluding, talking behind the back, putting up a false front, living in borrowed splendor, wearing a mask, hiding behind convention, playing a role for others and for oneself-in short, a continuous fluttering around the solitary flame of vanity-is so much the rule and the law among men that there is almost nothing which is less comprehensible than how an honest and pure drive for truth could have arisen among them. [20]They are deeply immersed in illusions and in dream images; their eyes merely glide over the surface of things and see “forms.� [21]Their senses nowhere lead to truth; on the contrary, they are content to receive stimuli and, as it were, to engage in a groping game on the backs of things. [22]Moreover, man permits himself to be deceived in his dreams every night of his life. [23]His moral sentiment does not even make an attempt to prevent this, whereas there are supposed to be men who have stopped snoring through sheer will power. [24]What does man actually know about himself? [25]Is he, indeed, ever able to perceive himself completely, as if laid out in a lighted display case? [26]Does nature not conceal most things from him-even concerning his own body-in order to confine and lock him within a proud, deceptive consciousness, aloof from the coils of the bowels, the rapid flow of the blood stream, and the intricate quivering of the fibers! [27]She threw away the key. [28]And woe to that fatal curiosity which might one day have the power to peer out and down through a crack in the chamber of consciousness and then suspect that man is sustained in the indifference of his ignorance by that which is pitiless, greedy, insatiable, and murderous-as if hanging in


27 dreams on the back of a tiger. [29]Given this situation, where in the world could the drive for truth have come from? [30]Insofar as the individual wants to maintain himself against other individuals, he will under natural circumstances employ the intellect mainly for dissimulation. [31]But at the same time, from boredom and necessity, man wishes to exist socially and with the herd; therefore, he needs to make peace and strives accordingly to banish from his world at least the most flagrant bellum omni contra omnes. [32]This peace treaty brings in its wake something which appears to be the first step toward acquiring that puzzling truth drive: to wit, that which shall count as “truth” from now on is established. [33]That is to say, a uniformly valid and binding designation is invented for things, and this legislation of language likewise establishes the first laws of truth. [34]For the contrast between truth and lie arises here for the first time. [35]The liar is a person who uses the valid designations, the words, in order to make something which is unreal appear to be real. [36]He says, for example, ‘I am rich,’ when the proper designation for his condition would be ‘poor.’ [37]He misuses fixed conventions by means of arbitrary substitutions or even reversals of names. [38]If he does this in a selfish and moreover harmful manner, society will cease to trust him and will thereby exclude him. [39]What men avoid by excluding the liar is not so much being defrauded as it is being harmed by means of fraud. [40]Thus, even at this stage, what they hate is basically not deception itself, but rather the unpleasant, hated consequences of certain sorts of deception. [41]It is in a similarly restricted sense that man now wants nothing but truth: he desires the pleasant, life-preserving consequences of truth. [42]He is indifferent toward pure knowledge which has no consequences; toward those truths which are possibly harmful and destructive he is even hostilely inclined. [43]And besides, what about these linguistic conventions themselves? [44]Are they perhaps products of knowledge, that is, of the sense of truth? [45]Are designations congruent with things? [46]Is language the adequate expression of all realities? [47]It is only by means of forgetfulness that man can ever reach the point of fancying himself to possess a “truth” of the grade just indicated. [48]If he will not be satisfied with truth in the form of tautology, that is to say, if he will not be content with empty husks, then he will always exchange truths for illusions. [49]What is a


28 word? [50]It is the copy in sound of a nerve stimulus. [51]But the further inference from the nerve stimulus to a cause outside of us is already the result of a false and unjustifiable application of the principle of sufficient reason. [52]If truth alone had been the deciding factor in the genesis of language, and if the standpoint of certainty had been decisive for designations, then how could we still dare to say ‘the stone is hard,’ as if ‘hard’ were something otherwise familiar to us, and not merely a totally subjective stimulation! [53]We separate things according to gender [in German,] designating the tree as masculine and the plant as feminine. [54]What arbitrary assignments! [55]How far this oversteps the canons of certainty! [56]We speak of a ‘snake’: this designation touches only upon its ability to twist itself and could therefore also fit a worm. [57]What arbitrary differentiations! [58]What one-sided preferences, first for this, then for that property of a thing! [59]The various languages placed side by side show that with words it is never a question of truth, never a question of adequate expression; otherwise, there would not be so many languages. [60]The ‘thing in itself’ (which is precisely what the pure truth, apart from any of its consequences, would be) is likewise something quite incomprehensible to the creator of language and something not in the least worth striving for. [61]This creator only designates the relations of things to men, and for expressing these relations he lays hold of the boldest metaphors. [62]To begin with, a nerve stimulus is transferred into an image: first metaphor. [63]The image, in turn, is imitated in a sound: second metaphor. [64]And each time there is a complete overleaping of one sphere, right into the middle of an entirely new and different one. [65]One can imagine a man who is totally deaf and has never had a sensation of sound and music. [66]Perhaps such a person will gaze with astonishment at Chladni’s sound figures; perhaps he will discover their causes in the vibrations of the string and will now swear that he must know what men mean by ‘sound.’ [67]It is this way with all of us concerning language; we believe that we know something about the things themselves when we speak of trees, colors, snow, and flowers; and yet we possess nothing but metaphors for things--metaphors which correspond in no way to the original entities. [68]In the same way that the sound appears as a sand figure, so the mysterious X of the thing in itself first appears as a nerve stimulus, then as an image, and finally as a sound. [69]Thus the genesis of language does not proceed logically in any case, and all the


29 material within and with which the man of truth, the scientist, and the philosopher later work and build, if not derived from never-never land, is a least not derived from the essence of things. [70]In particular, let us further consider the formation of concepts. [71]Every word instantly becomes a concept precisely insofar as it is not supposed to serve as a reminder of the unique and entirely individual original experience to which it owes its origin; but rather, a word becomes a concept insofar as it simultaneously has to fit countless more or less similar cases--which means, purely and simply, cases which are never equal and thus altogether unequal. [72]Every concept arises from the equation of unequal things. [73]Just as it is certain that one leaf is never totally the same as another, so it is certain that the concept ‘leaf’ is formed by arbitrarily discarding these individual differences and by forgetting the distinguishing aspects. [74]This awakens the idea that, in addition to the leaves, there exists in nature the ‘leaf’: the original model according to which all the leaves were perhaps woven, sketched, measured, colored, curled, and painted--but by incompetent hands, so that no specimen has turned out to be a correct, trustworthy, and faithful likeness of the original model. [75]We call a person ‘honest,’ and then we ask ‘why has he behaved so honestly today?’ [76]Our usual answer is, ‘on account of his honesty.’ [77]Honesty! [78]This in turn means that the leaf is the cause of the leaves. [79]We know nothing whatsoever about an essential quality called ‘honesty’; but we do know of countless individualized and consequently unequal actions which we equate by omitting the aspects in which they are unequal and which we now designate as ‘honest’ actions. [80]Finally we formulate from them a qualities occulta which has the name ‘honesty.’ [81]We obtain the concept, as we do the form, by overlooking what is individual and actual; whereas nature is acquainted with no forms and no concepts, and likewise with no species, but only with an X which remains inaccessible and undefinable for us. [82]For even our contrast between individual and species is something anthropomorphic and does not originate in the essence of things; although we should not presume to claim that this contrast does not correspond to the essence of things: that would of course be a dogmatic assertion and, as such, would be just as indemonstrable as its opposite.


30 [83]What then is truth? [84]A movable host of metaphors, metonymies, and; anthropomorphisms: in short, a sum of human relations which have been poetically and rhetorically intensified, transferred, and embellished, and which, after long usage, seem to a people to be fixed, canonical, and binding. [85]Truths are illusions which we have forgotten are illusions; they are metaphors that have become worn out and have been drained of sensuous force, coins which have lost their embossing and are now considered as metal and no longer as coins. [86]We still do not yet know where the drive for truth comes from. [87]For so far we have heard only of the ‘duty’ which society imposes in order to exist: to be truthful means to employ the usual metaphors. [88]Thus, to express it morally, this is the duty to lie according to a fixed convention, to lie with the herd and in a manner binding upon everyone. [89]Now man of course forgets that this is the way things stand for him. [90]Thus he lies in the manner indicated, unconsciously and in accordance with habits which are centuries’ old; and precisely by means of this unconsciousness and forgetfulness he arrives at his sense of truth. [91]From the sense that one is obliged to designate one thing as ‘red,’ another as ‘cold,’ and a third as ‘mute,’ there arises a moral impulse in regard to truth. [92]The venerability, reliability, and utility of truth is something which a person demonstrates for himself from the contrast with the liar, whom no one trusts and everyone excludes. [93]As a “rational” being, he now places his behavior under the control of abstractions. [94]He will no longer tolerate being carried away by sudden impressions, by intuitions. [95]First he universalizes all these impressions into less colorful, cooler concepts, so that he can entrust the guidance of his life and conduct to them. [96]Everything which distinguishes man from the animals depends upon this ability to volatilize perceptual metaphors in a schema, and thus to dissolve an image into a concept. [97]For something is possible in the realm of these schemata which could never be achieved with the vivid first impressions: the construction of a pyramidal order according to castes and degrees, the creation of a new world of laws, privileges, subordinations, and clearly marked boundaries-a new world, one which now confronts that other vivid world of first impressions as more solid, more universal, better known, and more human than the immediately perceived world, and thus as the regulative and imperative world. [98]Whereas each perceptual metaphor is individual and without


31 equals and is therefore able to elude all classification, the great edifice of concepts displays the rigid regularity of a Roman columbarium and exhales in logic that strength and coolness which is characteristic of mathematics. [99]Anyone who has felt this cool breath [of logic] will hardly believe that even the concept-which is as bony, foursquare, and transposable as a die-is nevertheless merely the residue of a metaphor, and that the illusion which is involved in the artistic transference of a nerve stimulus into images is, if not the mother, then the grandmother of every single concept. [100]But in this conceptual crap game “truth” means using every die in the designated manner, counting its spots accurately, fashioning the right categories, and never violating the order of caste and class rank. [101]Just as the Romans and Etruscans cut up the heavens with rigid mathematical lines and confined a god within each of the spaces thereby delimited, as within a templum,† so every people has a similarly mathematically divided conceptual heaven above themselves and henceforth thinks that truth demands that each conceptual god be sought only within his own sphere. [102]Here one may certainly admire man as a mighty genius of construction, who succeeds in piling up an infinitely complicated dome of concepts upon an unstable foundation, and, as it were, on running water. [103]Of course, in order to be supported by such a foundation, his construction must be like one constructed of spiders’ webs: delicate enough to be carried along by the waves, strong enough not to be blown apart by every wind. [104]As a genius of construction man raises himself far above the bee in the following way: whereas the bee builds with wax that he gathers from nature, man builds with the far more delicate conceptual material which he first has to manufacture from himself. [105]In this he is greatly to be admired, but not on account of his drive for truth or for pure knowledge of things. [106]When someone hides something behind a bush and looks for it again in the same place and finds it there as well, there is not much to praise in such seeking and finding. [107]Yet this is how matters stand regarding seeking and finding “truth” within the realm of reason. [108]If I make up the definition of a mammal, and then, after inspecting a camel, declare ‘look, a mammal’ I have indeed brought a truth to light in this way, but it is a truth of limited value. [109]That is to say, it is a thoroughly anthropomorphic truth which contains not a single point which would be ‘true in itself’ or really and universally valid apart from man. [110]At bottom, what the investigator of such truths


32 is seeking is only the metamorphosis of the world into man. [111]He strives to understand the world as something analogous to man, and at best he achieves by his struggles the feeling of assimilation. [112]Similar to the way in which astrologers considered the stars to be in man’s service and connected with his happiness and sorrow, such an investigator considers the entire universe in connection with man: the entire universe as the infinitely fractured echo of one original sound-man; the entire universe as the infinitely multiplied copy of one original picture-man. [113]His method is to treat man as the measure of all things, but in doing so he again proceeds from the error of believing that he has these things [which he intends to measure] immediately before him as mere objects. [114]He forgets that the original perceptual metaphors are metaphors and takes them to be the things themselves. [115]Only by forgetting this primitive world of metaphor can one live with any repose, security, and consistency: only by means of the petrification and coagulation of a mass of images which originally streamed from the primal faculty of human imagination like a fiery liquid, only in the invincible faith that this sun, this window, this table is a truth in itself, in short, only by forgetting that he himself is an artistically creating subject, does man live with any repose, security, and consistency. [116]If but for an instant he could escape from the prison walls of this faith, his ‘self consciousness’ would be immediately destroyed. [117]It is even a difficult thing for him to admit to himself that the insect or the bird perceives an entirely different world from the one that man does, and that the question of which of these perceptions of the world is the more correct one is quite meaningless, for this would have to have been decided previously in accordance with the criterion of the correct perception, which means, in accordance with a criterion which is not available. [118]But in any case it seems to me that ‘the correct perception’-which would mean ‘the adequate expression of an object in the subject’-is a contradictory impossibility. [119]For between two absolutely different spheres, as between subject and object, there is no causality, no correctness, and no expression; there is, at most, an aesthetic relation: I mean, a suggestive transference, a stammering translation into a completely foreign tongue-for which there is required, in any case, a freely inventive intermediate sphere and mediating force. [120] ‘Appearance’ is a word that contains many temptations, which is why I avoid it as much as possible. [121]For it is not true that the essence of things


33 ‘appears’ in the empirical world. [122]A painter without hands who wished to express in song the picture before his mind would, by means of this substitution of spheres, still reveal more about the essence of things than does the empirical world. [123]Even the relationship of a nerve stimulus to the generated image is not a necessary one. [124]But when the same image has been generated millions of times and has been handed down for many generations and finally appears on the same occasion every time for all mankind, then it acquires at last the same meaning for men it would have if it were the sole necessary image and if the relationship of the original nerve stimulus to the generated image were a strictly causal one. [125]In the same manner, an eternally repeated dream would certainly be felt and judged to be reality. [126]But the hardening and congealing of a metaphor guarantees absolutely nothing concerning its necessity and exclusive justification. [127]Every person who is familiar with such considerations has no doubt felt a deep mistrust of all idealism of this sort: just as often as he has quite clearly convinced himself of the eternal consistency, omnipresence, and infallibility of the laws of nature. [128]He has concluded that so far as we can penetrate here-from the telescopic heights to the microscopic depths-everything is secure, complete, infinite, regular, and without any gaps. [129]Science will be able to dig successfully in this shaft forever, and all the things that are discovered will harmonize with and not contradict each other. [130]How little does this resemble a product of the imagination, for if it were such, there should be some place where the illusion and unreality can be divined. [131]Against this, the following must be said: if each of us had a different kind of sense perception-if we could only perceive things now as a bird, now as a worm, now as a plant, or if one of us saw a stimulus as red, another as blue, while a third even heard the same stimulus as a sound-then no one would speak of such a regularity of nature, rather, nature would be grasped only as a creation which is subjective in the highest degree. [132]After all, what is a law of nature as such for us? [133]We are not acquainted with it in itself, but only with its effects, which means in its relation to other laws of nature-which, in turn, are known to us only as sums of relations. [134]Therefore all these relations always refer again to others and are thoroughly incomprehensible to us in their essence. [135]All that we actually know about these laws of nature is what we ourselves bring to them-time and space, and


34 therefore relationships of succession and number. [136]But everything marvelous about the laws of nature, everything that quite astonishes us therein and seems to demand explanation, everything that might lead us to distrust idealism: all this is completely and solely contained within the mathematical strictness and inviolability of our representations of time and space. [137]But we produce these representations in and from ourselves with the same necessity with which the spider spins. [138]If we are forced to comprehend all things only under these forms, then it ceases to be amazing that in all things we actually comprehend nothing but these forms. [139]For they must all bear within themselves the laws of number, and it is precisely number which is most astonishing in things. [140]All that conformity to law, which impresses us so much in the movement of the stars and in chemical processes, coincides at bottom with those properties which we bring to things. [141]Thus it is we who impress ourselves in this way. [142]In conjunction with this, it of course follows that the artistic process of metaphor formation with which every sensation begins in us already presupposes these forms and thus occurs within them. [143]The only way in which the possibility of subsequently constructing a new conceptual edifice from metaphors themselves can be explained is by the firm persistence of these original forms. [144]That is to say, this conceptual edifice is an imitation of temporal, spatial, and numerical relationships in the domain of metaphor.

2 [145]We have seen how it is originally language which works on the construction of concepts, a labor taken over in later ages by science. [146]Just as the bee simultaneously constructs cells and fills them with honey, so science works unceasingly on this great columbarium of concepts, the graveyard of perceptions. [147]It is always building new, higher stories and shoring up, cleaning, and renovating the old cells; above all, it takes pains to fill up this monstrously towering framework and to arrange therein the entire empirical world, which is to say, the anthropomorphic world. [148]Whereas the man of action binds his life to reason and its concepts so that he will not be swept away and lost, the scientific investigator builds his hut right next to the tower of science so that he will be able to work on it


35 and to find shelter for himself beneath those bulwarks which presently exist. [149]And he requires shelter, for there are frightful powers which continuously break in upon him, powers which oppose scientific “truth” with completely different kinds of “truths” which bear on their shields the most varied sorts of emblems. [150]The drive toward the formation of metaphors is the fundamental human drive, which one cannot for a single instant dispense with in thought, for one would thereby dispense with man himself. [151]This drive is not truly vanquished and scarcely subdued by the fact that a regular and rigid new world is constructed as its prison from its own ephemeral products, the concepts. [152]It seeks a new realm and another channel for its activity, and it finds this in myth and in art generally. [153]This drive continually confuses the conceptual categories and cells by bringing forward new transferences, metaphors, and metonymies. [154]It continually manifests an ardent desire to refashion the world which presents itself to waking man, so that it will be as colorful, irregular, lacking in results and coherence, charming, and eternally new as the world of dreams. [155]Indeed, it is only by means of the rigid and regular web of concepts that the waking man clearly sees that he is awake; and it is precisely because of this that he sometimes thinks that he must be dreaming when this web of concepts is torn by art. [156]Pascal is right in maintaining that if the same dream came to us every night we would be just as occupied with it as we are with the things that we see every day. [157]“If a workman were sure to dream for twelve straight hours every night that he was king,” said Pascal, “I believe that he would be just as happy as a king who dream for twelve hours every night that he was a workman.” [158]In fact, because of the way that myth takes it for granted that miracles are always happening, the waking life of a mythically inspired people-the Ancient Greeks, for instance- more closely resembles a dream than it does the waking world of a scientifically disenchanted thinker. [159]When every tree can suddenly speak as a nymph, when a god in the shape of a bull can drag away maidens, when even the goddess Athena herself is suddenly seen in the company of Peisastratus driving through the market place of Athens with a beautiful team of horses-and this is what the honest Athenian believed- then, as in a dream, anything is possible at each moment, and all of nature swarms around man as if it were nothing but a masquerade


36 of the gods, who were merely amusing themselves by deceiving men in all these shapes. [160]But man has an invincible inclination to allow himself to be deceived and is, as it were, enchanted with happiness when the rhapsodist tells him epic fables as if they were true, or when the actor in the theater acts more royally than any real king. [161]So long as it is able to deceive without injuring, that master of deception, the intellect, is free; it is released from its former slavery and celebrates its Saturnalia. [162]It is never more luxuriant, richer, prouder, more clever and more daring. [163]With creative pleasure it throws metaphors into confusion and displaces the boundary stones of abstractions, so that, for example, it designates the stream as “the moving path which carries man where he would otherwise walk.� [164]The intellect has now thrown the token of bondage from itself. [165]At other times it endeavors, with gloomy officiousness, to show the way and to demonstrate the tools to a poor individual who covets existence; it is like a servant who goes in search of booty and prey for his master. [166]But now it has become the master and it dares to wipe from its face the expression of indigence. [167]In comparison with its previous conduct, everything that it now does bears the mark of dissimulation, just as that previous conduct did of distortion. [168]The free intellect copies human life, but it considers this life to be something good and seems to be quite satisfied with it. [169]That immense framework and planking of concepts to which the needy man clings his whole life long in order to preserve himself is nothing but a scaffolding and toy for the most audacious feats of the liberated intellect. [170]And when it smashes this framework to pieces, throws it into confusion, and puts it back together in an ironic fashion, pairing the most alien things and separating the closest, it is demonstrating that it has no need of these makeshifts of indigence and that it will now be guided by intuitions rather than by concepts. [171]There is no regular path which leads from these intuitions into the land of ghostly schemata, the land of abstractions. [172]There exists no word for these intuitions; when man sees them he grows dumb, or else he speaks only in forbidden metaphors and in unheard-of combinations of concepts. [173]He does this so that by shattering and mocking the old conceptual barriers he may at least correspond creatively to the impression of the powerful present intuition.


37 [174]There are ages in which the rational man and the intuitive man stand side by side, the one in fear of intuition, the other with scorn for abstraction. [175]The latter is just as irrational as the former is inartistic. [176]They both desire to rule over life: the former, by knowing how to meet his principle needs by means of foresight, prudence, and regularity; the latter, by disregarding these needs and, as an ‘overjoyed hero,’ counting as real only that life which has been disguised as illusion and beauty. [177]Whenever, as was perhaps the case in Ancient Greece, the intuitive man handles his weapons more authoritatively and victoriously than his opponent, then, under favorable circumstances, a culture can take shape and art’s mastery over life can be established. [178]All the manifestations of such a life will be accompanied by this dissimulation, this disavowal of indigence, this glitter of metaphorical intuitions, and, in general, this immediacy of deception: neither the house, nor the gait, nor the clothes, nor the clay jugs give evidence of having been invented because of a pressing need. [179]It seems as if they were all intended to express an exalted happiness, an Olympian cloudlessness, and, as it were, a playing with seriousness. [180]The man who is guided by concepts and abstractions only succeeds by such means in warding off misfortune, without ever gaining any happiness for himself from these abstractions. [181]And while he aims for the greatest possible freedom from pain, the intuitive man, standing in the midst of a culture, already reaps from his intuition a harvest of continually inflowing illumination, cheer, and redemption-in addition to obtaining a defense against misfortune. [182]To be sure, he suffers more intensely, when he suffers; he even suffers more frequently, since he does not understand how to learn from experience and keeps falling over and over again into the same ditch. [183]He is then just as irrational in sorrow as he is in happiness: he cries aloud and will not be consoled. [184]How differently the stoical man who learns from experience and governs himself by concepts is affected by the same misfortunes! [185]This man, who at other times seeks nothing but sincerity, truth, freedom from deception, and protection against ensnaring surprise attacks, now executes a masterpiece of deception: he executes his masterpiece of deception in misfortune, as the other type of man executes his in times of happiness. [186]He wears no quivering and changeable human face, but, as it were, a mask with dignified, symmetrical features. [187]He does not cry; he does not even alter his voice. [188]When a real


38 storm cloud thunders above him, he wraps himself in his cloak, and with slow steps he walks from beneath it.

“ว่าด้วยความจริงและการโกหกที่อยู่นอกขอบเขตของศีลธรรม”

1 [1]

*

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ณ.หนทางที่สุดแสนไกลที่ไร้มุมแห่งจักรวาล ซึ่งถูกทาให้กระจัด กระจายพร่างพรายไปสู่แสงระยิบระยับสุดจะแสนคณานับในระบบสุริยจักรวาล มีดวงดาวดวงหนึ่ง ซึ่งมีสัตว์ที่แสนชาญฉลาดซึ่งสร้างการรู้ขึ้น. [2]นั่นคือชั่วขณะของความหยิ่งผยองและจอมปลอม อย่างที่สุดของ ‘ประวัติศาสตร์โลก’ แต่ถึงกระนั้นมันก็เป็นเวลาเพียงแค่หนึ่งนาที. [3] หลังจากอีก ไม่กี่อึดใจของธรรมชาติดวงดาวก็ได้เย็นลงและแข็งตัวขึ้น สัตว์ที่สุดแสนชาญฉลาดก็ต้องตายลงไป. [4]-คนอาจจะสร้างนิทานเช่นนั้น ขึ้นมา แต่มันก็คงยังไม่พอที่จะบรรยายให้เห็นได้ว่า ปัญญาของ มนุษย์นั้นเมื่อมองดูแล้วช่างน่าเศร้า เป็นเหมือนดั่งเงาสลัว ไม่มั่นคง ไร้จุดหมายเพียงไรเมื่ออยู่ใน ท่า มกลางของธรรมชาติ. [5]มีระยะเวลาอัน เป็ น นิรันดร์ที่ปัญ ญาของมนุษย์ นั้ นมันมิได้มีอยู่ . [6]และเมื่อ มันจบสิ้น ลงก็ คงจะไม่มีสิ่งใดอี กเลยที่ได้เคยเกิ ดขึ้น . [7]เพราะเจ้า สติปั ญญานี้ไม่มี ภารกิจอะไร ซึ่งจะนาพามันให้ดารงคงอยู่ต่อไปภายหลังการจบสิ้นลงของชีวิตมนุษย์ . [8]มีแต่ มนุษย์ซึ่งเป็นผู้ครอบครองและผู้ให้กาเนิดมันเท่านั้น ที่จะรับมันไว้อย่างเคร่งขรึมเอาจริงเอาจัง ราวกับว่าแกนของโลกนั้นหมุนวนอยู่ภายในมัน . [9]แต่ถ้าว่าเราสามารถติดต่อกับแมลงบินตัวเล็ก ๆ เราจะเรียนรู้ได้ว่ามันบินไปในอากาศด้วยอาการอันเคร่งขรึมเอาจริงเอาจัง เช่นเดียวกันด้วยการ ที่รู้สึกได้ถึงศูนย์กลางการบิน ของจักรวาลอยู่ภายในตัวของมันเอง. [10]ไม่มีสิ่งใดอีกแล้วที่ไร้ ความสาคัญทีม่ ันจะไม่พลันขยายตัวออกอย่างใหญ่โตเหมือนดังบอลลูน ที่ถูกเป่าด้วยพลังลมเพียง น้อยนิดของการรู้. [11]และเหมือนกับที่แม้แต่พนักงานยกกระเป๋าก็ยังต้องการคนมาชมเชย ดังนั้น มนุษย์ที่ภาคภูมิใจในตนเองอย่างที่สุดซึ่งก็คือนักปรัชญา เขาจะสมมติว่าเขาเห็นว่า รอบ ๆ ตัวของ เขามีสายตาแห่งจักรวาลกาลังมุ่งเป้าการมองมาที่บนการกระทาและความคิดของเขา. [12]เป็นที่น่าสังเกตว่าสิ่งนี้เกิดขึ้นเพราะสติปัญญาซึ่ งถูกจัดสรรไว้ให้กับสัตว์ผู้เคราะห์ร้าย อ่อนแอและอายุสั้นเหล่านี้ เป็นเพียงแค่เครื่องมือสาหรับกักขังพวกเขาเอาไว้ในระยะเวลาเพียงแค่ ชั่วขณะนาทีแห่งการดารงอยู่. [13]เพราะหากไร้ซึ่งสิ่งนี้ พวกเขาก็จะมีเหตุทุกประการให้หนีหายไป ให้เร็วที่สุดจากการดารงอยู่เฉกเช่นเดียวกันกับบุตรชายของเลสซิ่ง [ซึ่งตายลงไปในวันที่เขาเกิด]. *

อ้างอิงถึงลาดับที่ในประโยคต้นฉบับภาษาอังกฤษ Friedrich Nietzsche, “On Truth and Lies in a Nonmoral Sense.”

ของ Daniel Breazeale.


39 [14]ความหยิ่งลาพองที่เกี่ยวเนื่องกับการรู้

และการมีสัมผัสรู้เป็นเหมือนดังหมอกควันที่มืดมัวที่ ปกคลุมดวงตาและความรู้สึก ของมนุษย์ จึงได้ หลอกลวงพวกเขาถึงคุณ ค่า แห่งการดารงอยู่ . [15]เพราะความหยิ่งลาพองนี้บรรจุไว้ด้วยการสรรเสริ ญเยินยออย่างถึงที่สุดต่อ คุณค่าของการรู้ . [16]การหลอกลวงเป็นผลของความหยิ่งลาพองเช่นนั้น แต่ถึงกระนั้นผลเฉพาะของมัน เองก็ยังได้ บรรจุบางสิ่งบางอย่างที่หลอกลวงเอาไว้ภายในเช่นกัน. [17]ในฐานะเครื่องมือที่ใช้สาหรับปกป้องปัจเจกชน สติปัญญาได้เปิดเผยถึงพลังที่สาคัญ ของมันในการอาพราง ซึ่งมันเป็นศาสตราวุธของคนอ่อนแอด้อยพลังเพื่อที่จะใช้ปกป้องตนเอง– เนื่องเพราะพวกเขาถูกปฏิเสธโอกาสที่จะต่อสู้ดิ้นรนสาหรับการดารงอยู่ ด้วยคมเขาหรือฟันที่ แหลมคมของสัตว์ร้าย. [18]ศิลปะในการอาพรางตัวนี้บรรลุถึงจุดสูงสุดในตัวมนุษย์. [19]การ หลอกลวง การประจบสอพลอ ปลิ้นปล้อน ตบตา ตลบตะแลง การพูดลับหลัง การยกเอาความเท็จ ไว้เบื้องหน้า การมีชีวิตอยู่ด้วยความร่ารวยที่หยิบยืมมา การสวมหน้ากาก การซ่อนตัวไว้เบื้องหลัง ธรรมเนียม การสวมบทบาทสาหรับผู้อื่นและตนเอง-พูดสั้น ๆ ก็คือ การดิ้นรนอย่างไม่ยอมหยุดนิ่ง รอบ ๆ เปลวไฟที่อ้างว้างแห่งความทะนงตน–การกระทาพวกนี้ได้กลายมาเป็นกติกาและกฎหมาย ระหว่างมนุษย์อย่างมาก จนกระทั่งแทบไม่มีอะไรเลยที่จะเข้าใจได้น้อยไปกว่าการที่แรงขับอัน บริสุทธิ์จริงใจซึ่งนาไปสู่ความจริง สามารถที่จะเกิดขึ้นได้ระหว่างพวกมนุษย์ . [20]พวกเขาถูก ครอบงาอย่างมืดมิดในความลวงและภาพฝัน; สายตาของพวกเขาเพียงแค่มองผิวเผินผ่านสิ่งต่าง ๆ แล้วก็ได้พบกับ “แบบ.” [21]ความรู้สึกของพวกเขาไม่เคยนาพาไปสู่ความจริง; พวกเขาพอใจที่ จะรับสิ่งเร้าเพื่อที่จะเข้าร่วมในเกมส์การค้นหาเบื้องหลังของสิ่งต่างๆ . [22]ยิ่งไปกว่านั้น มนุษย์ ยอมให้ตนเองถูกลวงหลอกในความฝันของตนทุกค่าคืนของชีวิต . [23]ความรู้สึกทางศีลธรรมของ เขาไม่ได้สร้างความพยายามที่จะป้องกันการถูกหลอกลวงนี้ ในขณะที่พูดกันว่ามีคนที่สามารถหยุด การกรนของตนได้เพียงด้วยเจตนารมณ์แห่งอานาจของความตั้งใจ. [24]อันที่จริงแล้วมนุษย์รู้อะไร เกี่ยวกับตนเองจริง ๆ บ้างไหม? [25]พวกเขาเคยรับรู้ตนเองอย่างกระจ่างสมบูรณ์ราวกับของที่วาง แสดงไว้ใต้แสงไฟบ้างหรือไม่? [26]หรือธรรมชาติได้ปกปิดสิ่งทั้งหลายจากเขา –แม้กระทั่งสิ่งที่ เกี่ยวข้องกับร่างกายของเขาเอง–เพื่อที่จะกักขังเขาไว้ภายในความภาคภูมิและสติสัมปชัญญะที่ ลวง หลอก ซึ่งได้ลอยตัวอยู่เหนือขดลาไส้ ไปสู่การไหลเวียนของกระแสโลหิต และผ่านการสั่นสะท้าน อย่างละเอียดยิบของใยประสาทและเนื้อเยื่อ ! [27]ธรรมชาติโยนกุญแจแห่งปริศนาเหล่านี้ทิ้งไป . [28]ภัยจะมาสู่ความอยากรู้อยากเห็นที่ร้ายกาจซึ่งในวันหนึ่ง อาจจะมีกาลังที่จะมองรอดผ่านรอย ร้าวเล็ก ๆ ในห้องแห่งสติสัมปชัญญะแล้วสงสัยว่า มนุษย์ถูกรั้งเอาไว้ในความไม่รู้สึกรู้สมของความ โง่งมของตนเองโดยสิ่งที่ไร้ความปราณี โลภ ไม่รู้จักพอ และอันตราย-ราวกับว่าการถูกห้อยไว้ใน ความฝันอยู่บนหลังเสือ . [29]ในสถานการณ์อย่างที่ว่านี้แรงขับเพื่อแสวงหาความจริงจะมาจากที่ ไหนในโลกได้เล่า? [30]ตราบเท่าที่ปัจเจกต้องการที่จะปกป้องตนเองจากปัจเจกอื่น ก็ย่อมเป็นเรื่องธรรมดาที่ เขาจะใช้ปัญญาเพื่อการปลอมแปลงตัวเป็นหลัก. [31]แต่ในขณะเดียวกันจากความซ้าซากจาเจและ


40 ความจาเป็นของชีวิต มนุษย์ก็ปรารถนาที่จะดารงอยู่ กันเป็นสังคม เป็นสัตว์ฝูง; ดังนั้นเขาจึง จาเป็นต้องสร้างสันติภาพและมุ่งมั่นที่จะกาจัด สงครามที่คนทุกคนเป็นศัตรูต่อกัน ออกไปจากโลก ใบนี้. [32]พันธะสัญญาสันติภาพนี้ได้นาพามาสู่บางสิ่งบางอย่างซึ่งดูราวกับว่า เป็นก้าวแรกไปสู่การ ได้มาซึ่งแรงขับสู่ความจริงอันน่าฉงน: นั่นคืออะไรซึ่งถูกถือว่าคือ “ความจริง” ก็ได้ถูกสถาปนาขึ้น. [33]นั่นคือนามที่เป็นที่ยอมรับและผูกพันได้ถูกสร้างขึ้นสาหรับสิ่งต่าง ๆ และการบัญญัติกฎเกณฑ์ ทางภาษานี้ก็ได้บัญญัติกฎแห่งความจริงด้วยเช่นกัน. [34]การเปรียบเทียบระหว่างความจริงกับ การโกหกก็ได้ถือกาเนิดเกิดขึ้น ณ.ที่แห่งนี้เป็นครั้งแรก. [35]คนโกหกคือผู้ที่ใช้นามที่ได้รับการ ยอมรับแล้วเพื่อที่จะสร้างบางสิ่งบางอย่างที่ไม่เป็นจริงให้ปรากฏว่าจริง. [36]ยกตัวอย่างเช่นเขาพูด ว่า ‘ผมรวย’ ขณะที่คาพูดที่เหมาะสมสาหรับ ในเงื่อนไขของเขาควรจะเป็น ‘จน.’ [37]เขาได้ใช้ ข้อตกลงที่กาหนดร่วมกันไว้อย่างผิด ๆ โดยการเอาคามาแทนที่หรือสลับกันตามอาเภอใจ . [38]ถ้า เขาทาสิ่งนี้ในทางที่เห็นแก่ตัว และยิ่งไปกว่านั้นคือในทางที่ทาร้ายผู้อื่น สังคมจะลดความเชื่อมั่นต่อ เขาและก็จะกีดกันเขาออกไป. [39]อะไรที่คนหลีกเลี่ยงด้วยการกันคนโกหกออกไปไม่ใช่การถูก หลอกลวง แต่คืออันตรายที่อาศัยการหลอกลวงเป็นเครื่องมือ . [40]ดังนั้นแม้แต่ในขั้นนี้สิ่งที่พวก เขาเกลียดไม่ใช่ตัวการหลอกลวง แต่คือผลที่ไม่น่าพอใจและน่าเกลียดชังของการถูกหลอกลวงด้วย วิธีการบางอย่าง. [41]ในความหมายแคบ ๆ ของความรู้สึกนี้ มนุษย์จึงไม่ได้ต้องการอะไรนอกจาก ความจริง: นั่นคือเขาปรารถนาความน่าพอใจ -และผลที่เอื้อต่อชีวิตของความจริง . [42]เขาไม่ได้ แยแสกับความรู้บริสุทธิ์ซึ่งไม่ได้ให้ผลอะไร; แต่สาหรับความจริงอะไรที่จะทาร้ายเขาได้ เขาก็จะ โน้มเอียงไปในทางที่เป็นปฏิปักษ์เสียด้วยซ้า. [43]และเหนือไปจากนั้น พวกข้อตกลงทางภาษาเอง เล่าเราจะว่าอย่างไร? [44]บางทีพวกมันอาจจะเป็นผลผลิตของความรู้ งั้นหรือ หรือมันเป็นผลผลิต ของการรับรู้ความจริง? [45]ชื่อสอดคล้องกับสิ่งต่าง ๆ ใช่หรือไม่? [46]หรือภาษาเป็นสิ่งที่ แสดงออกถึงความเป็นจริงทั้งหลายได้อย่างเพียงพอจริง ๆ หรือ? [47]เพียงด้วยวิธีการลืมเท่านั้น ที่มนุษย์จ ะสามารถบรรลุถึงจุดที่เขาสามารถเพ้อไปว่า ตัวเองครอบครอง “ความจริง” ในระดับที่เพิ่งชี้ให้เห็น. [48]ถ้าเขารู้สึกว่าไม่พึงพอใจกับความจริง แบบกาปั้นทุบดินซึ่งก็คือถ้าเขาจะไม่พอใจกับเปลือกนอกที่ว่างเปล่าแล้วล่ะก็ เขาก็จะแลกเปลี่ยน ความจริงกับภาพความลวง. [49]คาพูดคืออะไร? [50]มันเป็นเพียงแค่เสียงที่จาลองการกระตุ้น ของเส้นประสาท. [51]แต่การอนุมานต่อไปจากการกระตุ้นของเส้นประสาทถึงสาเหตุภายนอกนั้น เป็นผลของการประยุกต์ใช้หลักแห่งเหตุผลทีเ่ พียงพออย่างผิด ๆ. [52]ถ้ามีแต่เพียงความจริงอย่าง เดียวเท่านั้นที่เป็นตัวตัดสินชี้ขาดในกาเนิดของภาษา และถ้าจุดยืนของความแน่นอนสามารถชี้ขาด สาหรับการบัญญัติเรียกแล้วล่ะก็ เรายังจะกล้าพูดว่า ‘หินนั้นแข็ง’ ราวกับว่า ‘แข็ง’ เป็นอะไรที่เรา คุ้นเคยไม่ใช่เพียงแค่การกระตุ้น ที่เป็นอัตวิสัยโดยสิ้นเชิงได้อย่างไร! [53]เราแยกแยะสิ่งของด้วย เพศ [ในเยอรมัน] เรียกไม้ใหญ่ว่าเป็นเพศชาย ไม้เล็กว่าเป็นเพศหญิง. [54]ช่างไร้หลักเกณฑ์ เหลือเกิน! [55]สิ่งนี้ได้ก้าวเลยหลักการแห่งความแน่นอนไปไกลเสียจริง ! [56]เราพูดถึง ‘งู’: การ ตั้งชื่อนี้เกี่ยวข้องเพียงแค่ความสามารถในการบิดส่ายตัวของมัน และดังนั้นก็อาจจะใช้กับไส้เดือน


41 ด้วยก็ได้. [57]ช่างเป็นการแยกแยะที่แสนไร้หลักเกณฑ์! [58]ช่างเป็นการเลือกจะเอาเพียงข้าง เดียวเสียจริง แรกเลยก็เป็นคุณสมบัตินี้ หลังจากนั้นก็เป็นคุณสมบัตินั้น! [59]เมื่อเอาภาษาที่ หลากหลายมาวางเทียบเคียงกันสิ่งที่จะเห็นก็คือสาหรับ คาพูดแล้ว มันไม่เคยเป็นประเด็นเรื่อง ความจริง ไม่เคยเป็นประเด็นเรื่องถ้อยคาที่เพียงพอ; มิฉะนั้นแล้วก็คงจะไม่มีภาษาที่มากมายถึง ป่านนี้. [60] ‘สิ่งในตัวเอง’ (ซึ่งก็คืออะไรที่ความจริงบริสุทธิ์ แยกจากผลทั้งหลายของมัน อาจจะ เป็น) เช่นเดียวกันคือ เป็นอะไรที่ค่อนข้างคับแคบยากที่จะเข้าใจสาหรับผู้สร้างภาษา และเป็นบาง สิ่งบางอย่างที่ไม่ควรค่าแก่การแสวงหาแม้สักนิด. [61]ผู้สร้างคานี้เพียงแค่บัญญัติความสัมพันธ์ ของสิ่งต่าง ๆ ให้แก่มนุษย์ และเพื่อที่จะแสดงความสัมพันธ์นี้ เขาก็ได้สร้างการเปรียบเทียบขึ้น อย่างมโหฬาร. [62]เริ่มต้นด้วยการกระตุ้นของเส้นประสาทได้ทาให้เกิดจินตภาพ: นี่คืออุปมาที่ หนึ่ง. [63]ต่อจากนั้นจินตภาพก็จะถูกลอกเลียนไว้ด้วยเสียง: นี่คืออุปมาที่สอง. [64]และแต่ละครั้ง ก็จะมีการกระโดดข้ามอย่างสมบูรณ์ จากอาณาบริเวณหนึ่ง ๆ เข้าไปสู่ท่ามกลางอาณาเขตใหม่และ ที่แตกต่างโดยสิ้นเชิง. [65]คนสามารถที่จะจินตนาการถึงผู้ชายหูหนวกและไม่เคยได้รับสัมผัสแห่ง เสียงดนตรีเลยก็ได้. [66]บางทีชายคนนั้น อาจจะมองภาพรูปทรงของเสียงแบบของ Chladni’s ด้วยความมหัศจรรย์ใจ; บางทีเขาอาจพบว่ามันมีสาเหตุมาจากการสั่นสะเทือนของเส้นลวดแล้วเขา ก็สาบานว่า เขารู้จักสิ่งที่มนุษย์เรียกกันว่า ‘เสียง’ แล้ว. [67]เรื่องของภาษาก็เป็นอย่างนี้สาหรับเรา ทุกคน; เราเชื่อว่าเรารู้บางสิ่งบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับตัวของสิ่งต่าง ๆ เมื่อเราพูดถึง ต้นไม้ สี หิมะ และดอกไม้; แต่เราไม่ได้ครอบครองอะไรเลยนอกไปจากอุปมา สาหรับสิ่งต่าง ๆ -การอุปมาซึ่งไม่ สอดคล้องอะไรเลยกับสิ่งที่เป็นต้นแบบ. [68]ในลักษณะเดียวกันกับที่เสียงปรากฏเป็นรูปร่างบน ทราย ดังนั้นตัว X อันลึกลับของสิ่งในตัวเองก็ได้ปรากฏขึ้นมาเป็นครั้งแรกในฐานะการกระตุ้นใน เส้นประสาท และแล้วก็เกิดขึ้นเป็นภาพ และกลายเป็นเสียงไปในที่สุด. [69]ดังนั้นการกาเนิดขึ้น ของภาษา จึงไม่ได้ดาเนินไปตามหลักการทางตรรกะใด ๆ และวัสดุทั้งหลายที่มนุษย์แห่งความจริง ซึ่งได้แก่ นักวิทยาศาสตร์และนักปรัชญาใช้ทางานประดิษฐ์และสร้างภาษา ถ้าไม่ได้มาจาก–ดินแดน แห่งความฝัน อย่างน้อยที่สุดมันก็ไม่ได้มาจากสารัตถะของสิ่งต่าง ๆ แน่นอน. [70]ลองมาพิจารณากันถึงการสร้างมโนทัศน์. [71]คาทุกคาได้กลายมาเป็นมโนทัศน์ ไม่ใช่ เพราะมันถูกกาหนดให้ทางานเป็นผู้เตือนถึงหน่วยพิเศษหนึ่งเดียวของประสบการณ์เฉพาะดั้งเดิม ที่ซึ่งเป็นต้นกาเนิดของมัน; แต่คาได้กลายมาเป็นมโนทัศน์เพียงเพราะว่า มันเข้ากับกรณีจานวนนับ ไม่ถ้วนที่คล้ายกันมากบ้างน้อยบ้าง -ซึ่งพูดง่าย ๆ ก็คือกรณีที่ไม่เคยเท่ากันและไม่มีทางเท่ากัน . [72]ทุกมโนทัศน์ล้วนเกิดมาจากสมการของสิ่งที่ไม่เท่าเทียมกัน. [73]ในเมื่อแน่นอนว่าใบไม้ใบ หนึ่งไม่เคยที่จะเหมือนกับใบไม้อีกใบหนึ่งโดยประการทั้งปวง ดังนั้นก็ย่อมแน่นอนว่า มโนทัศน์ ของ ‘ใบไม้’ ถูกสร้างขึ้นมาโดยการใช้อาเภอใจทอดทิ้งความแตกต่างที่เป็นปัจเจกเหล่านั้น และ โดยการลืมคุณลักษณะเฉพาะตัว. [74]จึงได้ปลุกความคิดที่ว่า นอกจากใบไม้ทั้งหลายแล้ว ยังมี ‘ใบไม้’ กลาง ๆ อยู่ในธรรมชาติอีกด้วย: ซึ่งเป็นตัวต้นแบบดั้งเดิมที่ใบไม้ทั้งหมดอาจถูก สาน ยืด ถูกวาดร่าง ถูกวัด ม้วน ถูกทา และระบายสี–แต่ด้วยมือที่ไร้ความสามารถจนกระทั่ง ที่ว่า ไม่มี


42 ตัวอย่างไหนที่จะสาเร็จผลออกมาอย่างถูกต้องและไว้ใจได้ว่า เหมือนกับตัวต้นแบบดั้งเดิมอย่าง เที่ยงตรง. [75]เราเรียกผู้คนว่า ‘ซื่อสัตย์’ และแล้วเราก็ถามว่า ‘เหตุใดเขาจึงประพฤติซื่อสัตย์ใน วันนี้?’ [76]คาตอบตามปกติของเราคือ ‘เพราะความซื่อสัตย์ของเขา.’ [77]ความซื่อสัตย์! [78]นี่ จึงกลายเป็นว่าใบไม้กลาง ๆ เป็นสาเหตุของใบไม้ทั้งหลาย. [79]เราไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับคุณภาพ ที่เป็นสารัตถะของสิ่งที่เราเรียกกันว่า ‘ความซื่อสัตย์’; แต่เรารู้เพียงแค่การกระทาในลักษณะเฉพาะ และไม่สมภาคกันของจานวนนับไม่ถ้วน ซึ่งเราทาให้มันเท่าเทียมกัน โดยการละเลยลักษณะที่มันไม่ เสมอภาค แล้วเราก็บัญญัติให้มันทั้งหมดเป็น ‘การกระทาที่ซื่อสัตย์.’ [80]ในที่สุดเราก็ได้สร้าง คุณภาพอันลี้ลับอันหนึ่งขึ้นมาซึ่งมีชื่อว่า ‘ความซื่อสัตย์.’ [81]เราได้มาซึ่งมโนทัศน์ด้วยวิธีการ เช่นเดียวกับการที่เราได้ “แบบ” โดยการมองข้ามสิ่งที่เป็นปัจเจกและเป็นจริง; ขณะที่ธรรมชาติไม่ เคยคุ้นเคยกับมโนทัศน์และแบบเลย และก็ไม่เคยรู้จักสปีชีด้วยเช่นเดียวกัน รู้จักแต่แค่ตัว X ซึ่ง เป็นบางสิ่งบางอย่างที่เราไม่สามารถเข้าถึงและให้คาจากัดความได้เสมอ. [82]เพราะแม้แต่การ เปรียบเทียบระหว่างสปีชีและปัจเจกก็เป็นเพียงสิ่งที่เป็น คุณลักษณะในแบบมนุษย์ และไม่ได้มี กาเนิดมาจากสาระของสิ่งต่าง ๆ เลย; ถึงกระนั้นเราก็ไม่ควรที่จะยืนยันว่า การเปรียบเทียบนี้ไม่ สอดคล้องกับสาระของสิ่งต่าง ๆ : เพราะนั่นคือการยืนยันอย่างฝังหัว และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ แสดงว่าจริงได้ เช่นเดียวกับข้ออ้างตรงข้ามกัน. [83]เมื่ อ เป็ น เช่ น นั้ น แล้ ว ความจริ ง คื อ อะไร ? [84]เป็ น กองทั พ ที่ เ คลื่ อ นย้ า ยได้ ข อง อุปมาอุปไมย คุณลักษณะในแบบมนุษย์: กล่าวอย่างสั้น ๆ คือผลรวมของความสัมพันธ์ของมนุษย์ ซึ่งได้รับการปรุงแต่ง ถ่ายทอด และประดับประดาเชิงกวีนิพนธ์และสานวนโวหาร หลังจากใช้ไป นาน ๆ เข้า ดูเหมือนว่าผู้คนจะคุ้นเคยกับมัน เป็นที่ยอมรับและยึดติดผูกพันกับมัน. [85]ความจริง เป็นเพียงความลวงที่เราลืมไปแล้วว่ามันเป็นความลวง; มันเป็นอุปมาซึ่งได้กลายเป็นสิ่งที่ใช้มานาน จนสูญเสียพลังทางความรู้สึก เป็นเหรียญซึ่งได้สูญเสียความงดงาม และถูกรับรู้ว่าเป็นโลหะยิ่งไป กว่าเป็นเหรียญ. [86]กระนั้นเราก็ยังคงไม่ทราบที่มาของแรงขับไปสู่ความจริง . [87]เพราะที่ผ่านมาเราได้ ยินเพียงแค่ ‘หน้าที่’ ซึ่งสังคมได้มอบให้มันเพื่อให้มันมีอยู่: การพูดจริงหมายการใช้อุปมาที่เป็น ปกติ. [88]ดังนั้นเมื่อพูดในเชิงศีลธรรม จึงเป็นหน้าที่ที่จะต้องโกหกไปตามธรรมเนียมนิยมที่ยึด มั่นแล้วคือ โกหกไปกับฝูงในที่ลักษณะที่เป็นการบังคับสาหรับทุกคน. [89]ซึ่งมนุษย์ก็ลืมไปแล้วว่า นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นกับเขา. [90]ดังนั้นเขาจึงโกหกในอาการที่ได้ระบุไว้โดยไม่รู้ตัวและสอดคล้องกับ อุปนิสัยซึ่งมีอายุยาวนานมาหลากหลายศตวรรษแล้ว ; และโดยวิธีการที่ไร้สานึก และการลืมนี้เองที่ เขาได้บรรลุถึงความหมายความจริงของเขา . [91]จากความหมายที่ว่าคนถูกบังคับให้บัญญัติเรียก สิ่ง ๆ หนึ่งว่า ‘แดง’ เช่นเดียวกับการบัญญัติสิ่งอื่นว่า ‘เย็น’ และอีกสิ่งหนึ่งว่า ‘ใบ้’ ก่อให้เกิดแรง ผลักทางศีลธรรมที่เกี่ยวข้องกับความจริง. [92]ความน่าเชื่อถือ น่าเคารพ และประโยชน์ของความ เป็นจริง เป็นแค่เพียงบางสิ่งบางอย่างที่มนุษย์ได้ ใช้แสดงเพื่อแยกตนเองออกจากคนโกหก ออก จากผู้ที่ไม่มีใครเชื่อและกีดกันออกไป. [93]ในฐานะที่เป็น “สัตเหตุผล” เขาได้จัดวางพฤติกรรม


43 ของเขาไว้ภายใต้แรงควบคุมของการคิดนามธรรม. [94]เขาจะไม่อดทนอีกต่อไปกับการเผลอตัวไป กับภาพประทับและอะไรที่รู้ขึ้นเอง. [95]แรกเลยเขาจะทาให้ภาพประทับเหล่านี้กลายเป็นมโนทัศน์ สากล มีสีสันลดน้อยลง เยือกเย็นขึ้นและเงียบสงบ เพื่อที่ว่าเขาจะสามารถใส่ความเชื่อมั่น เข้าไปใน การเป็นแนวทางนาพาชีวิต และการประพฤติปฏิบัติตนของเขาเองลงไปในมัน . [96]ทุกสิ่งทุกอย่าง ที่ทาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ขึ้นอยู่กับความสามารถแบบนี้ที่จะหลอมละลายหลาย ๆ อุปมาใน การรับรู้ไว้ในกรอบ ๆ หนึ่ง และแล้วก็คือการสลาย ‘ภาพ’ ให้เป็น ‘มโนทัศน์.’ [97]เพราะบางสิ่ง บางอย่างสามารถเป็นไปได้ในอาณาจักรของกรอบเหล่านี้ ซึ่งจะไม่สามารถบรรลุถึงได้จากภาพ ประทับเริ่มต้นที่คมชัด: นั่นคือการสร้างระเบียบแบบปีรามิดขึ้นมาให้สอดรับกับชนชั้นและระดับ ขั้น การสร้างโลกใหม่แห่ง กฎหมาย อภิสิทธิ์ การเป็นบริวาร และเขตแดนที่แบ่งแยกชัดเจน –โลก ใหม่ซึ่งตอนนี้เผชิญหน้ากับโลกของภาพประทับ อันแจ่มแจ้งกว่าเบื้องแรกราวกับว่า แน่นหนากว่า เป็นสากลกว่า รู้ได้ดีกว่า และเป็นมนุษย์มากกว่าโลกที่รับรู้ตรง ๆ และดังนั้นจึงเป็นโลกที่มีอานาจ กาหนดและควบคุม. [98]ขณะที่อุปมาในการรับรู้แต่ละอันเป็นปัจเจกและไม่มีทางเท่าเทียมกัน และดังนั้นจึงสามารถหนีพ้นจากการจัดจาแนกทั้งหลายซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างอันมโหฬารของมโนทัศน์ ซึ่งได้แสดงถึงกฎเกณฑ์อันแข็งทื่อของสถาปัตยกรรมที่บรรจุกระดูกของชาวโรมัน และหายใจ ออกเป็นตรรกศาสตร์ซึ่งแข็งทื่อและเย็นชืดทีเ่ ป็นลักษณะของคณิตศาสตร์. [99]ใครก็ตามที่ได้รู้สึก ถึงลมหายใจอันเย็นยะเยือก [ของตรรกศาสตร์] จะไม่อยากเชื่อเลยว่าแม้แต่มโนทัศน์–ซึ่งเป็นแค่ เพียงกระดูกสี่เหลี่ยม และพลิกไปพลิกมาได้เช่นเดียวกับลูกเต๋า-ก็เป็นเพียงแค่ตะกอนของอุปมา และจะไม่อยากเชื่อเลยว่าความลวง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการพลิกแพลงเปลี่ยนแปลงรูปของการกระตุ้น เซลประสาทมาเป็นจินตภาพ ถ้าไม่ใช่แม่ก็เป็นย่าของมโนทัศน์ทั้งสิ้นทั้งหลาย . [100]แต่ในเกมส์ โยนลูกเต๋าทางความคิดนี้ “ความจริง” หมายถึงการใช้ลูกเต๋าทุกอันตามวิถีที่ถูกบัญญัติ นับจานวน จุดให้ถูกต้อง แบ่งชั้น และประเภทที่ถูกต้อง และไม่ละเมิดระเบียบ และตาแหน่งทางชนชั้น . [101]เช่นเดียวกับที่ชาวโรมันและอีตรุสซ์ แคนซ์ตัดแบ่งท้องฟ้าด้วยเส้นสายทางคณิตศาสตร์ที่แข็ง ทื่อ และวางพระเจ้าให้อยู่ในอวกาศที่ตัดไว้แล้วเป็นส่วน ๆ เหมือนเขตต่าง ๆ ในโบสถ์† ทุกคนจึงมี สวรรค์แห่งมโนทัศน์ที่แบ่งเป็นส่วน ๆ ด้วยคณิตศาสตร์แบบเดียวกัน นั้น แล้วก็คิดว่า ความจริง บังคับให้มองหาพระเจ้าแห่งความคิดภายในอาณาบริเวณเฉพาะของแต่ละองค์. [102]ตรงนี้บาง คนอาจจะชื่นชมมนุษย์ว่ามีอัจฉริยะภาพอันยิ่งใหญ่ในการก่อสร้างซึ่งประสบความสาเร็จในการ สร้างโดมทางความคิดที่สลับซับซ้อนอย่างที่สุดขึ้นมาบนพื้นฐานอันง่อนแง่นคือบนสายน้าไหล . [103]อันที่จริงแล้วเพื่อที่จะให้มัน ตั้งอยู่ได้บนฐานเช่นนั้น การก่อสร้างของเขาต้องเป็นแบบการ สร้างใยของแมงมุม: ต้องยืดหยุ่นเพียงพอที่จะกระเพื่อมไปกับคลื่น และเหนียวเพียงพอที่จะไม่ ขาดไปด้วยแรงลม. [104]ดังนั้นในฐานะอัจฉริยะแห่งการสร้าง มนุษย์ยกตัวเองว่าเหนือผึ้งในแง่ ที่ว่า: ขณะที่ผึ้งผลิตขี้ผึ้งจากสิ่งที่รวบรวมมาจากธรรมชาติ แต่มนุษย์ก่อสร้างด้วยวัสดุแห่งมโนทัศน์ ที่ละเอียดอ่อนกว่ามากซึ่งผลิตขึ้นมาจากภายในตัว ของมนุษย์เอง. [105]ในกรณีเช่นนี้เขาย่อม สมควรแก่การยกย่อง แต่ไม่ใช่ในฐานะเจ้าของแรงขับ สู่ความจริงหรือความรู้บริสุทธิ์ของสิ่งต่าง ๆ.


44 [106]เมื่อมีผู้ซ่อนสิ่งของเอาไว้หลังพุ่มไม้แล้วค้นหามันอีกครั้งในที่เดิมแล้วก็จะพบมันอีกครั้ง ณ.ที่

นั่น! ย่อมไม่มีอะไรให้ยกย่องในการเล่นซ่อนหาเช่นนั้น. [107]แต่นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นในการค้นหา และค้นพบ “ความจริง” ในอาณาจักรของเหตุผล. [108]ถ้าเราสร้างคาจากัดความของสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมขึ้นมา และเมื่อหลังจากตรวจดูอูฐอย่างละเอียดแล้วประกาศว่า ‘ดูสิ นี่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม’ ด้วยวิธีเช่นนี้เรานาความจริงมาสู่แสงสว่างแต่มันเป็นความจริงที่มี คุณค่าจากัด. [109]กล่าวคือมัน เป็นเพียงความจริงคุณลักษณะในแบบมนุษย์ ซึ่งไม่มีอะไรเลยที่อาจจะเป็น ‘ความจริงในตนเอง’ หรือสมเหตุผลและเป็นสากลแยกขาดจากมนุษย์. [110]ลึก ๆ แล้วความจริงประเภทที่นักสารวจ กาลังมองหานั้น เป็นเพียงแค่การเปลี่ยนรูปร่างของโลกให้มาเป็นมนุษย์. [111]เขาพยายามที่จะ เข้าใจโลกในฐานะบางสิ่งที่คล้ายคลึงกับมนุษย์ และดีที่สุดที่เขาจะทาได้สาเร็จในการดิ้นรนต่อสู้ของ เขาก็คือความรู้สึกของความดูดซับรับเข้าไว้ได้. [112]ด้วยวิธีการเดียวกับทีน่ ักโหราศาสตร์ถือเอาว่า ดวงดาวเป็นสิ่งที่รับใช้มนุษย์และเกี่ยวพันถึงความสุขความทุกข์ของตน นักสารวจประเภทนั้นก็จะ ถือว่าจักรวาลทั้งสิ้นเกี่ยวข้องกับมนุษย์: นั่นคือจักรวาลทั้งหมดเป็นเสียงสะท้อนของมนุษย์ที่กระจัด กระจายออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จักรวาลทั้งสิ้นเป็นเพียงภาพสาเนาที่ทวีคูณอย่างไม่มีที่สิ้นสุดของ องคภาพดั้งเดิมภาพหนึ่งคือ -มนุษย์. [113]วิธีการของเขาคือการถือมนุษย์เป็นเครื่องวัดของทุก ๆ สิ่ง แต่ในการกระทาเช่นนั้นเขาเริ่มต้นจากความผิดพลาดของการที่เชื่อว่าสิ่งเหล่านี้ [ซึ่งเขาต้องการ ที่จะวัด] ที่เขามีอยู่ต่อหน้าเป็นเพียงวัตถุ. [114]เขาลืมไปว่าอุปมาในการรับรู้ดั้งเดิมนั้นเป็นอุปมา และเผลอถือว่ามันเป็นตัววัตถุเอง. [115]เพียงด้วยการลืมโลกของอุปมาดั้งเดิมนี้ให้ได้เท่านั้น ที่คนจะสามารถมีชีวิตที่สงบ มั่นคงและเสมอต้นเสมอปลาย: ทั้งที่เดิมแล้วมวลแห่งจินตภาพพวยพุ่งออกมาจากอานาจดิบแห่ง จินตนาการของมนุษย์ราวกับของเหลวที่ลุกเป็นไฟ แต่เพียงด้วยการทาให้มันแข็งทื่อเป็นหินเท่านั้น ด้วยศรัทธาที่ฝังแน่นว่า พระอาทิตย์ดวงนี้ หน้าต่างบานนี้ โต๊ะตัวนี้ เป็นสิ่งที่จริงในตนเอง สรุปก็คือ ด้วยการลืมว่าเขาเองคือตัวศิลปินผู้เสกสรรปั้นแต่งมันขึ้นมา มนุษย์จึงสามารถมีชีวิตอยู่ด้วยความ สงบนิ่ง มั่นคง และเสมอต้นเสมอปลายได้. [116]แต่ถ้าเขาสามารถที่จะหลบลี้จากกาแพงคุกแห่ง ความศรัทธานี้ไปได้สักขณะหนึ่ง ‘ความสานึกรู้ตนเอง’ ของเขาจะถูกทาลายลงในทันที. [117]แค่ การที่เขาจะยอมรับ ได้ว่า แมลงหรือนกรับ รู้ถึงโลกที่แ ตกต่า งจากของเขาโดยสิ้ น เชิงก็เป็ น สิ่ง ที่ ยากลาบากแล้ว และการถามว่า การรับรู้โลกแบบไหนถูกต้องกว่ากันก็ย่อมไร้ความหมาย เพราะนี่ เป็นสิ่งที่ต้องได้รับการตัดสินไว้ก่อนหน้าด้วยเกณฑ์ของ การรับรู้ที่ถูกต้อง ซึ่งหมายถึงต้องตัดสิน ด้วยเกณฑ์ที่หาไม่ได้. [118]แต่ในกรณีใด ๆ ก็ตามมันมักปรากฏว่า ‘การรับรู้ที่ถูกต้อง’-ซึ่งอาจจะ หมายถึ ง ‘การแสดงออกอย่า งเพียงพอถึงวั ตถุ ในผู้ รู้ ’-เป็ น ความเป็ น ไปไม่ ได้ที่ ขัด แย้ง กัน . [119]เพราะระหว่างขอบเขตที่ต่างกันสองขอบเขต เช่นระหว่างผู้รู้กับสิ่งที่ถู กรู้นั้นไม่มีความเป็น สาเหตุและผล ไม่มีความถูกต้อง และไม่มีการแสดงออก; อย่างมากที่สุดก็มีเพียงแค่ความสัมพันธ์ เชิงสุนทรียะ: ซึ่งผมหมายถึงการส่อนัยยะเชิงแนะนา การแปลอย่างตะกุกตะกักไปสู่ต่างภาษา-ซึ่งใน กรณีใด ๆ ก็ตาม ต้องการขอบเขตเชื่อมต่อสื่อกลางที่สร้างขึ้นอย่างอิสระและพลังสื่อกลาง.


45 [120]คาว่า ‘สิ่งปรากฏ’

เป็นคาซึ่งมีสิ่งล่อใจหลายอย่างอยู่ภายใน ซึ่งเป็นเหตุผลที่ผมพยายามละ เว้นที่จะใช้มันเท่าที่จะเป็นไปได้. [121]เพราะมันไม่จริงที่ว่า สารัตถะของสิ่งต่าง ๆ ‘ปรากฏ’ ใน โลกแห่งประสบการณ์. [122]จิตรกรไร้มือผู้ซึ่งปรารถนาที่จะให้บทเพลงแสดงภาพที่อยู่ในใจของ เขา ได้เผยถึงสารัตถะของสิ่งต่าง ๆ มากกว่าที่โลกแห่งประสบการณ์จะเปิดเผย ด้วยการใช้อาณา เขตหนึ่งแทนอีกอาณาเขตหนึ่ง. [123]แม้แต่ความสัมพันธ์ของการกระตุ้นเส้นประสาทกับภาพที่ ถูกสร้างขึ้นก็ไม่ใช่ความสัมพันธ์ที่จาเป็น. [124]แต่เมื่อจินตภาพเดียวกันถูกสร้างขึ้นเป็นล้าน ๆ ครั้งและได้รับการสืบทอดผ่านคนหลาย ๆ รุ่นแล้ว ในที่สุดแล้ว ก็จะปรากฏออกมาในทุกครั้งใน โอกาสแบบเดียวกันสาหรับมนุษย์ทุกผู้ทุกนาม ในที่สุดมันจึงยึดครองความหมายเดียวกันสาหรับ มนุษย์ราวกับเป็นจินตภาพที่จาเป็นหนึ่งเดียว และราวกับว่าความสัมพันธ์ของการกระตุ้นกระแส ประสาทดั้งเดิมกับจินตภาพ ที่ถูกสร้างขึ้นให้เป็นเรื่องของสาเหตุและผลอย่างเคร่งครัด. [125]ใน ลักษณะเดียวกันกับทีค่ วามฝันซ้าซากที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลง ก็จะถูกรู้สึกหรือตัดสินว่าเป็นความจริง. [126]แต่อุปมาที่เข้มข้นก็ไม่ได้รับประกันสิ่งใดเลยเกี่ยวกับความจาเป็น และการอ้างเหตุผลรองรับ แบบสมบูรณ์ในตัวเอง. [127]ใครก็แล้วแต่ที่คุ้นเคยกับข้อพิจารณาดังกล่าวย่อมรู้สึกกังขาอย่างไม่มีข้อต้องสงสัย ต่อลัทธิจิตนิยมประเภทนี้: เท่า ๆ กับที่เขาเชื่อมั่นต่อความสม่าเสมอ ความครอบคลุมทั่วตลอด ความไม่มีทางผิดพลาดเปลี่ยนแปลงไปของกฎธรรมชาติ. [128]เขาได้สรุปแล้วว่า ตราบเท่าที่เรา สามารถมองดูออกไปจากที่นี่ –จากการมองขึ้นสูงด้วยกล้องส่องทางไกล ไปสู่การมองลงต่าด้วย กล้องจุลทัศน์–ทุกสิ่งทุกอย่างมั่นคง สมบูรณ์ ไม่มีที่สิ้นสุด เป็นปกติ และปราศจากช่องว่าง. [129]วิทยาศาสตร์สามารถที่จะขุดเซาะไปในเส้นทางแคบ ๆ นี้ได้ตลอดกาล และทุกสิ่งที่ถูกค้นพบ จะสอดคล้องกลมกลืนและไม่ขัดแย้งซึ่งกันและกัน. [130]สิ่งนี้คล้ายคลึงกับผลผลิตของจินตนาการ เพียงน้อยนิด เพราะเมื่อมันเป็นเช่นนั้นก็จะมีที่บางแห่ง ทีค่ วามจริงและความลวงจะถูกตัดแยกจาก กันได้. [131]ต่อประเด็นนี้สิ่งที่จะต้องกล่าวไว้ก็คือ: ถ้าเราแต่ละคนมีความรู้สึกรับรู้ที่แตกต่างกันนั่นคือถ้าเราเพียงแค่สามารถรับรู้สิ่งต่าง ๆ ให้ขณะหนึ่งเป็นนก อีกขณะหนึ่งเป็นหนอน และอีก ขณะหนึ่งเป็นต้นไม้ หรือพวกเราคนหนึ่งรับรู้สิ่งกระตุ้นนี้ว่าแดง แต่คนอื่นรับรู้ว่าน้าเงิน ขณะที่คน ที่สามได้ยินเป็นเสียงแล้วละก็ -ก็ จะไม่มีใครพูดถึงความเป็นปกติ สม่าเสมอของธรรมชาติ แต่ ธรรมชาติจะกลับถูกเข้าใจว่าเป็นเพียงการเสกสรรซึ่งเป็นอัตวิสัยในระดับที่สูงสุด แทน. [132]ใน ที่สุดแล้วกฎธรรมชาติคืออะไรเล่าสาหรับเรา ? [133]เราไม่ได้คุ้นเคยกับมันในตัวของมันเอง เรา เพียงแค่คุ้นเคยกับผลของมัน ซึ่งหมายถึงในความสัมพันธ์ต่อกฎธรรมชาติอื่น-ซึ่งกฎอื่นเหล่านี้เรา ก็รู้จักในฐานะผลรวมของความสัมพันธ์. [134]ดังนั้นความสัมพันธ์เหล่านี้ทั้งหมด จึงอ้างอิงต่อไปสู่ ความสัมพันธ์อื่น ๆ และเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถเข้าใจในสารัตถะของมัน ได้เลย. [135]สาหรับเรา ทั้งหมดที่เรารับรู้จริง ๆ เกี่ยวกับกฎธรรมชาติเหล่านี้ คือสิ่งที่เราเองนาเข้าไปใส่ในมัน-ซึ่งก็คือกาละ และอวกาศ และกลายเป็นความสัมพันธ์ของลาดับขั้นและจานวน. [136]แต่ทุกสิ่งที่น่าอัศจรรย์ของ กฎธรรมชาติ ทุกๆ สิ่งทีน่ ่าแปลกใจสาหรับเราและทาให้เราต้องการคาอธิบาย ทุก ๆ สิ่งที่อาจจะนา


46 เราไปสู่การเสื่อมศรัทธาพร้อมกับกังขาต่อลัทธิมโนคตินิยม: สิ่งเหล่านี้ทั้งหมดล้วนถูกบรรจุไว้อย่าง สมบูรณ์ภายในความเคร่งครัดของคณิตศาสตร์ และความมีเอกสิทธิ์ละเมิดไม่ได้ของภาพตัวแทน ของกาละและอวกาศของเรา. [137]แต่เราสร้างภาพตัวแทนขึ้นภายในและจากภายในของตัวเรา เอง ด้วยความจาเป็นเหมือนกันกับการสร้างใยของแมงมุม . [138]ถ้าเราถูกบังคับให้เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดภายใต้แบบเหล่านี้ มันก็จะหมดความน่าทึ่งที่ว่าในทุกสิ่ง เรามิได้เข้าใจอะไรเลยนอกจาก แบบเหล่านี้. [139]เพราะภายในตัวของแบบเองก็ต้องบรรจุไว้ด้วยกฎของจานวน แต่สิ่งซึ่งทาให้ เราประหลาดใจเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ทั้งหลายก็คือจานวนนั่นเอง. [140]การคล้อยตามต่อกฎซึ่งทาให้ เราประทับใจอย่างเหลือเกิน ในการเคลื่อนที่ของดวงดาว และในกระบวนการทางเคมี ล้วนลงร่อง ลงรอยกับคุณสมบัติซึ่งเราใส่เข้าไป. [141]ดังนั้นมันจึงเป็นตัวเราเองที่สร้างความรู้สึกประทับใจให้ ตนเอง. [142]เมื่อผนวกเข้ากับข้อนี้ก็ย่อมแน่นอนว่า กระบวนการสร้างอุปมาอุปไมย ซึ่งเกิด ตามมาจากทุกการรับรู้ย่อมเกิดขึ้นภายใน‘แบบ’และสมมุติ‘แบบ’ไว้ล่วงหน้าแล้ว. [143]หนทาง เดียวที่เป็นไปได้สาหรับการสร้างสิ่งปลูกสร้างทางมโมทัศน์ อันใหม่ จากตัวอุปมาเองสามารถจะ อธิบายได้ จากความคงทนมั่นคงของแบบดั้งเดิม. [144]กล่าวคือโครงสร้างอันสลับซับซ้อนทาง ความคิด เป็นการจาลองของความสัมพันธ์เชิง กาละและอวกาศ และจานวนในอาณาเขตแห่ง อุปมาอุปไมย.

2 [145]เราได้ทราบแล้วว่าเริ่มแรกนั้นมันก็คือ

ภาษา ที่ทางานสร้างมโนทัศน์ขึ้นมา ซึ่งในยุคหลัง วิทยาศาสตร์ก็เข้ามารับหน้าที่แทน. [146]ด้วยวิธีการเดียวกันกับที่ผึ้งสร้างรังและน้าผึ้งขึ้นพร้อม ๆ กัน วิทยาศาสตร์ก็สร้างมหาสถูปอันยิ่งใหญ่สาหรับเก็บเถ้ากระดูก ของมโนทัศน์อันเป็นหลุมศพ แห่งการรับรู้ขึ้นมา. [147]ผึ้งจะขยายรวงรังให้ใหญ่ขึ้น มากห้องขึ้น ทาความสะอาด ซ่อมแซมส่วน เก่า ๆ; เหนืออะไรอื่น มันจะทุ่มเทที่จะเติมน้าผึ้งเข้าไปในโครงสร้างอันมหาศาลของมัน เพื่อจะจัด เรียบเรียงโลกเชิงประจักษ์ทั้งหมดของมันไว้ภายในซึ่งกล่าวได้ว่า เป็นโลกเชิงคุณลักษณะในแบบ มนุษย์. [148]ขณะที่มนุษย์ผู้ทรงพลังผูกมัดชีวิตของเขาไว้กับเหตุผลและมโนทัศน์ของมัน เพื่อที่ เขาจะไม่ถูกพัดพาไปจนหลงทาง นักค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ได้สร้างกระท่อมของเขาใกล้ ๆ กับ หอคอยของวิทยาศาสตร์เพื่อที่ว่าเขาจะสามารถทางานบนหอคอยนั้นได้ และมีแหล่งหลบภัยของ ตนเองภายใต้ปราการซึ่งยังคงมีอยู่ ให้เห็นในปัจจุบัน. [149]และเขาต้องการที่หลบภัยเพราะมันมี พลังต่อสู้ซึ่งกระหน่าเข้าใส่เขาอย่างไม่ลดละและต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา เป็นพลังซึ่งแย้ง “ความ จริง” ทางวิทยาศาสตร์ด้วย “ความจริง” ที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ซึ่งบนโล่ของมันแสดงดวงตรา สัญลักษณ์อันหลากหลาย. [150]แรงขับ สู่ก ารสร้า งอุ ป มาเป็ น แรงขับ พื้น ฐานซึ่งมนุษย์ไม่สามารถที่จ ะขาดมัน ได้ ใน ความคิดแม้เพียงขณะเดียว เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นมนุษย์ก็จะสูญเสียตัวเอง. [151]แรงขับนี้ไม่เคย


47 แพ้ หรืออ่อนลงแม้สักนิดเดียว ต่อข้อเท็จจริงที่ว่า โลกใหม่ที่มั่นคงสม่าเสมอถูกสร้างให้เป็น ห้อ งคุมขังจากผลผลิตที่ ฉาบฉวยของมัน เองซึ่ง ก็คือมโนทัศน์ . [152]มัน แสวงหาบริเวณและ ช่องทางอื่นสาหรับกิจกรรมของมันซึ่งโดยทั่วไปนั้น มันก็จะพบทางออกในตานานธรรมและในงาน ศิลปะ. [153]แรงขับนี้สร้างความสับสนระหว่างประเภทของมโนทัศน์และหน่วยย่อย โดยการนา การโยกย้ายอุปมาและการเรียกทางอ้อมแบบใหม่ ๆ เข้ามา. [154]มันแสดงถึงความปรารถนาอัน รุนแรงที่จะประดิดประดอยโลกใหม่ ซึ่งแสดงตัวต่อคนที่ตื่นอยู่เพื่อโลกจะได้มี สีสัน พิสดาร ขาด ซึ่งผลและความสมนัย มีเสน่ห์ และแปลกใหม่อยู่เสมอราวกับโลกในความฝัน. [155]อันที่จริงแล้ว ด้วยใยที่สานกันอย่างมั่นคงของมโนทัศน์นี้เอง ที่ทาให้มนุษย์ที่ตื่นเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเขาตื่น อยู่; และก็เพราะสิ่งนี้เองที่ทาให้บางครั้งเขาคิดว่าเขาจะต้องฝันไปแน่ ๆ เมื่อใยของมโนทัศน์ถูกศิลปะ ตัดขาดวิ่นไป. [156]ปาสคาลกล่าวถูกต้องว่า ถ้าความฝันเก่ามาเยือนเราทุก ๆ ค่าคืน เราจะยึดมั่น อยู่กับมันเช่นเดียวกับสิ่งที่เราเห็นทุก ๆ วัน. [157]ปาสคาลกล่าวว่า “ถ้าคนงานฝันนานถึงสิบสอง ชั่วโมงในทุก ๆ คืนว่าเขาเป็นราชา ผมเชื่อว่า เขาจะต้องมีความสุขเท่ากับราชาซึ่งฝันในทุก ๆ ค่าคืน ๆ ละสิบสองชั่วโมงว่าเขาเป็นคนงาน.” [158]ในความเป็นจริงแล้วเนื่องจากการที่ตานานปรัมปรา ถือว่าอภินิหารเกิดขึ้นเสมอ ชีวติ ขณะตื่นของผู้คนที่เชื่อในอานาจลึกลับ -อย่างชาวกรีกโบราณ-ย่อม คล้ายคลึงความฝันมากกว่าโลกขณะตื่นของคนที่คิดแบบวิทยาศาสตร์ที่ปฏิเสธในอานาจวิเศษ . [159]เมื่อต้นไม้ทุกต้นสามารถพูดขึน ้ ได้เหมือนรุกขเทวดา เมื่อพระเจ้าในรูปของวัวกระทิงสามารถ ลากเอาตัวหญิงสาวไป หรือเมื่อตัวเทวีเอธีนาถูกมองเห็นอยู่ในขบวนของเปแซสตราตัสที่สวยงาม ด้วยรถเทียมที่กาลังเคลื่อนผ่านตลาดแห่งนครรัฐเอเธนส์–และนี่คือสิ่งที่ชาวเอเธนส์ผู้ซื่อสัตย์เชื่อดังนั้นแล้วในฐานะของความฝันทุกอย่างก็ย่อมเป็นไปได้ในแต่ละชั่วขณะ และธรรมชาติทั้งมวลก็รุม ล้อมรอบตัวมนุษย์ราวกับว่าไม่มีอะไรนอกเสียจากงานรื่นเริงสวมหน้ากากของเหล่าเทพเจ้า ซึ่ง กาลังตลกขบขันกับการต้มตุ๋นมนุษย์ผ่านหน้าตาเหล่านี้. [160]แต่มนุษย์มีความโน้มเอียงที่จะยอมให้ตัวเองถูกหลอกและลุ่มหลงในความสุข อย่าง ในเวลาทีม่ หากวีเล่านิทานมหากาพย์ให้ฟังเสมือนหนึ่งว่ามันเป็นความจริง หรือเมื่อนักแสดงในโรง ละครแสดงความสง่าภูมิฐานได้เหมือนยิ่งกว่าพระราชาจริง ๆ เสียอีก. [161]ตราบเท่าที่สามารถที่ จะหลอกลวงโดยไม่ทาให้บาดเจ็บ เจ้าแห่งการหลอกลวงซึ่งก็คือสติปัญญานั้นย่อมมีเสรี ; มันถูก ปลดปล่อยออกจากสภาวะทาสเช่นดังเมื่อก่อน และเข้าร่วมเฉลิมฉลองเทพเจ้าดาวเสาร์. [162]ไม่มี อะไรที่จะฟุ้งเฟ้อ ร่ารวย ภาคภูมิ ฉลาด และกล้าแกร่งยิ่งไปกว่า. [163]ด้วยความสุขอันรังสรรค์มัน เหวี่ยงอุปมาลงสู่ความสับสนและหลักศิลาแห่งนามธรรมวางสลับที่สลับทาง เพื่อที่มันจะได้ขนาน นามกระแสนั้นว่า “ทางเลื่อนซึ่งแบกมนุษย์ไปแทนการที่เขาจะต้องเดินเอง.” [164]ตอนนี้ปัญญา ได้โยนสัญลักษณ์แห่งความเป็นทาสไปจากตน. [165]และในเวลาอื่น ด้วยท่าทีที่เคร่งขรึมเป็น ทางการ มันพยายามบอกทางและสาธิตเครื่องมือให้กับปัจเจกผู้น่าสงสารซึ่งปรารถนาลุ่มหลงความ มีอยู่; มันเป็นเหมือนคนรับใช้ที่จะหาทรัพย์และเหยื่อมาให้เจ้านาย . [166]แต่ตอนนี้มันกลายเป็น นายและกล้าลบสีหน้าอันน่าสมเพชออกไป. [167]เมื่อเปรียบเทียบกับการกระทาก่อนหน้า ตอนนี้


48 ทุก ๆ อย่างที่มันทาแสดงเครื่องหมายแห่งการปกปิดอาพรางเหมือนกับที่การกระทาเมื่อก่อนแสดง ความผิดเพี้ยน. [168]ปัญญาเสรีเลียนแบบชีวิตมนุษย์ แต่มันพิจารณาว่าชีวิตนี้เป็นสิ่งที่ดีและดู เหมือนจะพึงพอใจกับชีวิต. [169]กรอบมหึมาและไม้สะพานแห่งมโนทัศน์ซึ่งมนุษย์ผู้ขัดสนใช้เกาะ ยึดเพื่อรักษาชีวิตของตนนั้น ไม่ใช่อะไรเลยนอกจากนั่งร้านและของเล่น สาหรับไต่ขึ้นไปสู่ ความสาเร็จอย่างมุทะลุของปัญญาที่ได้รับอิสรภาพ. [170]และเมื่อปัญญาทลายเจ้าโครงร่างนี้ลง เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย เอามันมาประสมปนเปอย่างสับสน ต่อเข้าด้วยกันใหม่แบบล้อเลียน เอาสิ่งที่ ต่างที่สุดมาอยู่ด้วยกัน แยกสิ่งที่ใกล้ชิดที่สุดออกจากกัน นั้นเป็นการแสดงให้รู้ว่า มันไม่ต้องการเจ้า นั่งร้านชั่วคราวที่อ่อนแอนี้อีกต่อไป และตอนนี้มันยอมรับการนาทางของการรู้โดยสัญชาตญาณ มากกว่าของมโนทัศน์. [171]ไม่มีทางเดินปกติใดที่จะพาจากความรู้โดยสัญชาตญาณไปสู่ดินแดน แห่งกรอบทางความคิดอันคลุมเคลือ ดินแดนแห่งการคิดนามธรรม. [172]ไม่มีคาพูดสาหรับสิ่งที่รู้ โดยสัญชาตญาณเหล่านี้; เมื่อมนุษย์เห็นมัน เขาก็จะมึนงง หรือไม่เขาก็จะพูดด้วยอุปมาอุปไมยที่ ยุ่งยากและในการผสมผสานของความคิดที่ไม่เคยมีใครพูดมาก่อน . [173]เขาก็ทาดังกล่าวเพื่อที่ โดยการทุบทาลายและล้อเลียนเครื่องกั้นทางความคิดเก่า ๆ อย่างน้อยที่สุด เขาจะได้ตอบโต้อย่าง สร้างสรรค์ต่อความรู้สึกประทับใจของความรู้ตามสัญชาตญาณอันทรงพลังขณะนั้น. [174]มียุคสมัยซึ่งผู้ที่เชื่อในเหตุผลและผู้ที่เชื่อในสัญชาตญาณยืนเสมอกัน ฝ่ายหนึ่งกลัว ต่อการรู้โดยสัญชาตญาณ อีกฝ่ายหนึ่งดูหมิ่นสิ่งที่เป็นการคิดนามธรรม. [175]ฝ่ายหลังเป็นพวกไร้ เหตุผลเท่า ๆ กับที่ฝ่ายแรกไม่มีความเป็นศิลปิน . [176]แต่เขาทั้งสองฝ่ายต่างก็ปรารถนาที่จะ ควบคุมชีวิต: สาหรับพวกแรกด้วยการรู้วิธีตอบต่อความต้องการหลัก ๆ ด้วยการคิดล่วงหน้า ความรอบคอบ ความเป็นระเบียบ สาหรับพวกหลังด้วยการละทิ้งความต้องการยึดถือว่า จริงก็แต่ ชีวิตที่ถูกปลอมแปลงให้เป็นความลวงและความงาม ‘เป็นวีรบุรุษแสนสุข.’ [177]เหมือนอย่างที่ อาจจะเป็นไปได้ในสมัยกรีกโบราณ เมื่อไรก็ตามผู้ที่เชื่อถือในความรู้ตามสัญชาตญาณใช้ศาสตรา วุธของเขาอย่า งกล้ า แกร่งและมีชัยเหนื อ ฝ่า ยตรงข้า ม และแล้วในสถานการณ์ ที่เ อื้ออานวย วัฒนธรรมก็สามารถยืนหยัดขึ้นเป็นรูปเป็นร่างและความยิ่งใหญ่ของศิลปะเหนือชีวิตก็ จะสามารถ ถูกสถาปนาขึ้นมา. [178]การปรากฏขึ้นของชีวิตเช่นนี้ทั้งหมดจะเข้าคู่ไปกับการปิดบังอาพราง การ ไม่ยอมรับความขาดแคลน แสงระยิบระยับของการรู้ตามสัญชาตญาณผ่านอุปมานี้ และความ ฉับพลันแห่งการหลอกลวง: ไม่ว่าจะเป็นบ้าน กริยาท่าทาง เครื่องนุ่งห่ม และเหยือกดินเผา ต่างก็ ไม่ได้ให้ประจักษ์พยานของการที่ถูกประดิษฐ์มาขึ้นตามความต้องการที่บีบคั้น. [179]ดูราวกับว่า สิ่งเหล่านั้นล้วนมุ่งแสดงถึงความสุขอันเปี่ยมล้น เป็นภูเขาโอลิมปัสที่ปราศจากเมฆหมอกและเป็น การละเล่นที่เอาจริงเอาจัง. [180]ผู้ที่ใช้มโนทัศน์และความคิดนามธรรมเป็นเครื่องนาทาง ก็เพียง แค่ประสบความสาเร็จในการใช้มันหลบหลีกความโชคร้ายในชีวิต โดยไม่ได้รับความสุขอะไร สาหรับตนเองจากการคิดนามธรรมเหล่านั้นเลย. [181]และในขณะที่เขามุ่งไปสู่เสรีภาพและความ เป็นอิสระจากความเจ็บปวดอย่างสูงสุดที่สามารถจะเป็นไปได้ ผู้ที่เชื่อในการรู้ตามสัญชาตญาณซึ่ง ยืนอยู่ท่ามกลางวัฒนธรรม ก็ได้เก็บเกี่ยวผลผลิตของความสว่างไสว ความสุข และการไถ่บาปจาก


49 ความรู้ตามสัญชาตญาณของเขา-เพิ่มขึ้นจากการป้องกันตัวจากความโชคร้าย. [182]แน่ใจได้เลยว่า เขาจะรู้สึกทุกข์อย่างสาหัสรุนแรงมากขึ้น เมื่อเขารู้สึกเป็นทุกข์; เขาจะยิ่งเป็นทุกข์บ่อยขึ้น เพราะว่า เขายังไม่เข้าใจวิธีเรียนรู้จากประสบการณ์ และจะตกหลุมเดิมอยู่เรื่อย ๆ. [183]ดังนั้นเขาจึงรู้สึก โศกเศร้าไปอย่างไร้เหตุผลเท่า ๆ กับที่เขารู้สึกมีความสุขไปอย่างไร้เหตุผล เขาร้องไห้คร่าครวญแต่ จะไม่มีอะไรมาปลอบโยน. [184]คนสันโดษเคร่งขรึมแบบสโตอิค ผู้ซึ่งเรียนรู้จากประสบการณ์และ ควบคุมตนเองด้วยความคิด จะต่างจากคนอื่นที่ถูกกระทบด้วยเคราะห์กรรมเดียวกันมากสัก เพียงไร! [185]คน ๆ นี้ผู้ซึ่งในเวลาอื่นไม่สนใจที่จะแสวงหาสิ่งใดนอกไปจาก ความจริงใจ สัจจะ อิสรภาพจากการหลอกลวง และปกป้องตนเองจากความสนเท่ห์ที่เข้ามากระทบรบกวนจิตใจ เขา สร้างผลงานลวงโลกชั้นยอดเยี่ยม: เขาสรรสร้างผลงานที่ลวงโลกในความโชคร้าย เช่นเดียวกับที่คน ประเภทอื่นสร้างความลวงโลกในเวลาแห่งความสุข. [186]เขาไม่ยอมแสดงใบหน้าแห่งมนุษย์ที่สั่น สะท้านและเปลี่ยนแปลงไปมา แต่เขากลับสวมหน้ากากที่แสดงคุณลักษณะแห่งความภูมิฐานและ ความสมดุล. [187]เขาจะไม่ร้องไห้; และทาไม่แม้แต่จะเปลี่ยนแปลงน้าเสี ยง. [188]และเมื่อพายุ เมฆฝนฟ้าคะนองได้โหมกระหน่าลงมาที่ตัวเขาจริง ๆ เขาก็จะห่อตัวเองไว้ในเสื้อคลุม ซึ่งภายใต้มัน เขาก็จะก้าวเท้าเดินจากไปอย่างช้าๆ.


50 ประวัติผู้เขียน นายรณรงค์ ยงศรีชูชาติ เกิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี สาขาการจัดการทางอุตสาหกรรม คณะบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยา เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เมื่อปีการศึกษา 2542 และได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาวิชาปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปีการศึกษา 2545


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.