คำบรรยายของทิโมที เร็คเก็ต เรื่อง genealogy of morality ของนิตเช่

Page 1

1

จริยศาสตร์ ของนิตเช่ Nietzsche การตีความของ Nietzsche - การสร้างจริ ยธรรมของมนุษย์ ำ - การตีความวัฒนธรรมชองยุโรปซึ่งเขามองว่ากำาลังตกต่าลง - ปัญหาของมนุษย์ที่นิตเช่ตอ้ งการเอาชนะ ได้แก่ ความรังเกียจมนุษย์และความเห็นอก เห็นใจ “สิ่ งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมา มีการทำาลายล้างมากเท่าไร ไม่วา่ จะอุดมคติหรื อความดีต่าง ำ ๆ ล้วนมีรากฐานมาจากความต่าทราม” - Diagnosis pathology of sickness of European Culture. - Problem for Nietzsche to be overcome is Disgust at Man and Compassion for Man” Nietzsche เล่าเรื่ องแบบรหัสนัย (Mystery) มีความลึกลับ เพราะคิดว่ามนุษย์ใช้ชีวิตเหมือน ถูกมนต์คาถาสะกด ให้หลงเชื่อเพ้อฝัน และหลงอยูใ่ นความเพ้อฝันนั้น โดยเฉพาะนักปรัชญาและ เขายังได้วิพากษ์แนวความคิดของตนเองด้วย มโนภาพ อุดมคติและคุณค่า (Idea Ideal and Value) ไม่ใช่ของที่เกิดจากธรรมชาติภายใน ของสิ่ งนั้นและเป็ นสิ่ งเหนือประสบการณ์ Transcendental แต่เป็ นสิ่ งที่มนุษย์ผลิตมันขึ้นมา การตัดสิ นทางศีลธรรมมีเงื่อนไขต่อการดำารงอยูอ่ ย่างไร มาจากไหน และถูกสร้างมาเพื่อจุด ประสงค์อะไร? อีกทั้งเขาไม่ยอมรับสิ่ งต่าง ๆ ง่าย ๆ คุณค่า โดยตัวของมันเองแล้วดีตรงไหน อะไร ทำาให้คุณค่ากลายเป็ นสิ่ งที่มีคุณค่า มันทำาให้มนุษย์มีความก้าวหน้าอย่างไร มันสร้างหรื อสนับสนุน ให้มนุษย์มีความเข้มแข็งหรื ออ่อนแออย่างไร เป็ นการตั้งคำาถามของ Nietzsche ศีลธรรมมันมีค่า อย่างไร ซึ่งคนโดยมากเชื่อว่ามันมีคุณค่าและประโยชน์ Nietzsche ถามว่า มันมีคุณค่าจริ งหรื อไม่ Aseptic Ideal วิมุตตินิยม การแสวงหาความหลุดพ้น โดยละทิ้งทุกอย่างไว้เบื้องหลัง แนว ำ าจิต การชำาระกายให้สะอาด เพื่อให้จิตบริ สุทธิ์ ซึ่งศาสนาหลักของโลกล้วน ความคิดเรื่ องกายต่ากว่ เป็ นเช่นนั้น แนวความคิดยุคกรีก - Apollonian ความสงบ ใช้ชีวิตอย่างสงบ ไม่ร่าเริ ง (แบบนักบวชที่หนีโลก หนีความ เป็ นจริ งของโลกที่ตนเองกำาลังเผชิญอยู่ ปฏิเสธความสุ ขทางกาย) - Dionysian ร่ าเริ ง ใช้ชีวิตตามความต้องการของตนเอง ยอมรับความสุ ขทางกาย ไม่หลีก หนีความสุข ใช้ชีวิตและให้คุณค่าแก่ชีวิต


2 สิ่ งที่เป็ น Transcendental เป็ นสิ่ งไร้ความหมาย ไม่มีค่าอะไร? เพราะเป็ นการปฏิเสธความ จริ งของชีวิต จึงต้องหันไปหาโลกเหนือประสบการณ์ มันนำาไปสู่ความคิดแบบสูญนิยม นำาไปสู่ ความว่างเปล่า ทำาไมเราต้องไปให้ความสำาคัญกับสิ่ งบางสิ่ งว่าเป็ นสิ่ งที่มีอยูจ่ ริ ง เช่น ความดี เป็ นต้น Nietzsche ตั้งคำาถามว่า Compassion เป็ นความป่ วยไข้ของวัฒนธรรมตะวันตก ปัญหาแรก ของมนุษย์ไม่ใช่ความทุกข์ แต่คือการที่ความทุกข์ไม่ได้ถูกให้ความหมาย (ว่ามีคุณค่า) หรื อการตอบ คำาถามเรื่ องทุกข์ไม่ได้วา่ มีมาเพื่ออะไร ทำาไมเราต้องเผชิญกับมันด้วย Nietzsche ปฎิเสธทุกอย่างที่เป็ นเรื่ องธรรมดาของชีวิต Genealogy of Morality Morality เปิ ดเผยเจตจำานงที่จะไปสู่อาำ นาจ โดยกลุ่มคนที่พยายามมีอาำ นาจเหนือกันและกัน ความดีถูกสร้างขึ้นมาให้เราโดยคนอื่น ไม่ใช่เกิดจากการกระทำาเพื่อผูอ้ ื่น แต่มาจากผูม้ ีอาำ นาจในการ ปกครอง ถ้าจะให้ดีตอ้ งมองมันว่าถูกใช้อย่างไรในการดำาเนินชีวิตของผูค้ นตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั คนที่ใช้คาำ ว่า “ดี” คือกลุ่มชนชั้นสูง (Aristocrat) ที่อยูเ่ หนือคนทัว่ ไป ดังนั้นคำาว่า “ดี” จึงมาจาก ระบบชนชั้นของผูค้ น สิ่ งที่เป็ นกลไกทางการเมือง เงื่อนไขทางการเมือง ถูกเปลี่ยนแปลงไปสู่การจัด ลำาดับเชิงจิตวิญญาณ (Spiritual Range) สถานภาพในโลกจึงถูกทำาให้กลายเป็ นเรื่ องของจิตวิญญาณ ำ กทำาให้มีจิตใจต่าำ และได้ทาำ สิ่ งเหล่านี้ให้ฝังอยูใ่ น (คนชั้นสูงถูกทำาให้เป็ นผูม้ ีจิตใจสูง ส่วนชั้นต่าถู จิตใจของผูค้ น) ในวิถีของชนชาวกรี ก แนวความคิดเรื่ องบริ สุทธิ์ และไม่บริ สุทธิ์ (Pure and Impure) มาจาก ำ ไหน เพราะคนชั้นสูงไม่สมคบกับคนชั้นต่าเพราะจะให้ ชนชั้นของตนไม่บริ สุทธิ์ นำาไปสู่แนวความ คิดของพวกนักบวชที่แยกตนออกจากความไม่บริ สุทธิ์ ท้ งั ปวง ทั้งวิถีชีวิตและจิตวิญญาณ ความ บริ สุทธิ์ และไม่บริ สุทธิ์ ดี ไม่ดี มาจากชนชั้น อำานาจสามารถนำาไปสู่การเปลี่ยนรู ป สถานะทางจิต วิญญาณ ทำาให้เกิดการแยกโลกออกจากกัน คือโลกทางการเมืองและโลกของนักบวช Nietzsche ตั้งคำาถามว่า เป็ นไปได้อย่างไรที่โลกแยกออกจากกันได้เป็ น 2 โลก เพราะใน ความเป็ นจริ ง เราอยูใ่ นโลกใบนี้ ตลอดเวลา เราจะเป็ นอิสระจากโลกนี้ ได้อย่างไร? เพราะดี ชัว่ ไม่ได้ แยกออกจากกันจริ ง ๆ ดีอาจมาจากชัว่ และชัว่ อาจจะมาจากดีได้เช่นเดียวกัน นักบวชได้สร้างเจตจำาเสรี ข้ ึนมาเพื่ออธิ บายถึงบาปกำาเนิด (Original sin) เพื่อแสดงให้เห็นว่า มนุษย์มีเจตจำานงเสรี สามารถที่จะเลือกได้ และสิ่ งที่มนุษย์ได้เลือกก็คือความชัว่ ความคิดแบบพวก คริ สเตียนดูเหมือนว่ามีเล่ห์เหลี่ยม ทำาให้พระเจ้าพ้นผิดจากการสร้างบาปกำาเนิดให้มนุษย์ โดยอ้าง การมีเจตจำานงเสรี ของมนุษย์ สามารถเลือกดีกไ็ ด้ ชัว่ ก็ได้ แต่มนุษย์ได้เลือกความชัว่ (การกินผลไม้ ในสวน) ด้วยตัวเอง พระเจ้าได้บงั คับก็หาไม่


3 ความสัมพันธ์ แบบนาย – ทาส เริ่ มจากคนบางคนมีความกล้าหาญ พร้อมแลกชีวิตและสร้างตัวเองขึ้นมาเป็ นนาย พวกที่มี ความขี้ขลาดต้องให้คนอื่นปกป้ อง ได้ทาำ ตัวให้กลายเป็ นทาส ดังนั้น ความเป็ นนายและความเป็ น ทาสจึงเกิดมาจากบุคลิกภาพด้านจิตใจของแต่ละคน การต่อสูค้ ือการเผชิญหน้ากับความเจ็บปวดและทำาให้เรามีความเข้มแข็งมากขึ้ น การพร้อม เผชิญหน้ากับสิ่ งที่เรากลัวทำาให้เราเข้มแข็ง “เมื่อกลัวสิ่ งใด จงเผชิญหน้ากับมัน” การเอาชนะความ กลัวได้เป็ นเสมือนการสร้างตนเอง คนที่ไร้อาำ นาจสามารถสร้างวิธีคิดให้กบั ตนเองจนสามารถมีพลัง เหนือผูอ้ ื่นได้ ความดีของชาวโรมหรื อชนชั้นสูง คือ สูงส่ ง มีอาำ นาจ งดงาม และมีความสุ ข (Noble ำ powerful beautiful and happy) ส่วนชาวยิวซึ่งเป็ นชนชั้นต่าในสมั ยนั้น ปฏิเสธความมีค่าตามทัศนะ ของชนชั้นสูง ว่าไม่ใช่ความดี แต่สิ่งตรงข้ามต่างหากที่คือความดี ชาวยิวสามารถพลิกศีลธรรมของ ตนเองจากความเกลียด นำาไปสู่ความรัก (เมื่อเขาตบหน้าท่าน จงหันหน้าอีกข้างหนึ่งให้เขาตบ หรื อ จงรักศัตรู ของท่าน เป็ นต้น) จนสามารถปฏิวตั ิระบบศีลธรรมของชาวโรมได้ Nietzsche ได้เปรี ยบเทียบพระเยซูเหมือนลูกแกะที่อ่อนแอ ไม่สามารถปกป้ องตนเองได้ เพราะด้วยคุณสมบัติแบบนี้ จะทำาให้สามารถปกครองโลกได้ (แต่หลังจากตายแล้ว ไปพบพระเจ้า) นี่ คือความรู้สึกของพวกที่ถูกกระทำา – ทาส (Slave) แต่ชนชั้นสูงเหมือนอินทรี ยบ์ ินอยูใ่ นอากาศและมี ลูกแกะเป็ นอาหาร พระเยซูประกาศพระเจ้า แต่ชาวยิวไม่ยอมรับพระเยซู และนำาพระเยซูไปให้ชาวโรมันตรึ ง กางเขน และในที่สุดก็เอาบุตรของพระเจ้าไปสังเวย เป็ นเหมือนว่า ด้วยการยอมรับความทุกข์ ทรมานจึงจะเป็ นผูช้ นะได้ เป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์ ได้ และพวกยิวก็รับเอาความรู ้สึกแห่ งการฆาตกรรมบุตร ของพระเจ้าเอาไว้ อะไรเกิดขึ้นกับชาวยิว(เชื่อพระเจ้า แต่ฆ่าบุตรของพระเจ้า) ชาวยิวต้องยอมสละตนเองเพื่อ ความสู งส่ ง เพื่อพระเจ้า โรมันก็เอาชาวยิวมาต่อสู ้กบั สัตว์ร้าย และชาวยิวก็ยอมตายเพื่อให้พระเจ้า รั บ เอาวิ ญ ญาณของตนและนำา ไปสู่ ส รวงสวรรค์ ซึ่ ง สอดคล้อ งกับ ความเชื่ อ ในคัม ภี ร์ ไ บเบิ ล Nietzsche มีความสุขกับการเห็นความทุกข์ทรมาน การสูญเสี ยของผูอ้ ื่น และโรมันก็มีความ สุ ขตรงนั้น และมนุษย์กเ็ ป็ นเช่นนั้น มนุษย์เหมือนสัตว์ แต่ได้สร้างภาพพจน์วา่ ตนเองสูงส่ งกว่าสัตว์ ฟรอยด์ บอกว่า มนุษย์มีส่วนของความเป็ นคนซาดิสม์และมาโซคิส (การทำาร้ายผูอ้ ื่นและถูกผูอ้ ื่น ทำาร้าย แล้วมีความสุข) คน ๆ เดียวอาจจะมีท้ งั สองแบบ อยากเหนือคนอื่นและบางครั้งก็อยากให้คน อื่นเหนือกว่าตน Nietzsche ได้วิพากษ์สงั คมนิยมและประชาธิ ปไตยไว้วา่ สังคมนิยมเกิดมากจาก ศาสนาคริ สต์ ซึ่งนำาไปสู่ความเชื่อเรื่ องความทัดเทียมกันในสายตาพระเจ้า ส่ วนประชาธิ ปไตยมาจาก


4 อำานาจของประชาชนในการตัดสิ นถูกผิด ซึ่งทั้งสองอย่างนั้นมีรากฐานมาจากความหลงผิด เพราะ ทั้งสองระบบนั้นได้พยายามทำาให้คนเท่าเทียมกัน แต่ความเป็ นจริ งไม่เป็ นเช่นนั้น เพราะคนบางคน เกิดมาด้วยบุคลิกภาพทางจิตใจแบบนาย ส่ วนบางคนเกิดมาด้วยบุคลิกภาพทางจิตใจแบบทาส Nietzsche สนับสนุนระบบ Merit คือคนควรจะมีอาำ นาจตามความสูงส่ งที่เขามี Slave Morality ศีลธรรมแบบทาส อยูภ่ ายใต้การควบคุมของอารมณ์ การแสดงออกทางศีล ธรรมที่มีเบื้องหลังบางอย่าง Noble or Aristocratic Morality ศีลธรรมแบบนาย หรื อแบบผูด้ ี เป็ นอิสระจากสิ่ งที่ควบคุม อารมณ์ ซื่อตรงต่ออารมณ์ของตนเอง ศีลธรรมที่ไม่มีเบื้องหลัง ศีลธรรมทั้ง 2 แบบ เป็ นผลแห่งเจตจำานงที่จะไปสู่อาำ นาจ ในเขาวงกต (Labylinth) มีทางออกหรื อไม่ ชีวิตของเราเป็ นเหมือนติดอยูก่ บั เขาวงกต ทำาให้เราต้อง แสวงหาทางออก จึงหาทนทางที่จะเข้าสู่ภาวะอะไรบางอย่าง เช่น ภาวะความเป็ นพระเจ้า ซึ่งอันที่ จริ งภาวะเช่นนั้นหามีอยูไ่ ม่ Nietzsche มองนักปรัชญาว่า - ปฏิเสธชีวิตในที่สุด - เป็ นปฏิปักษ์ต่อประสาทสัมผัส จึงได้ต้ งั ข้อสงสัยในความแน่นอนของมัน - หาทางเป็ นอิสระจากร่ างการและสัมผัส มนุษย์มีความคิดลอยสูงใหญ่มีจินตนาการสูงส่ ง แต่เท้าติดดินและเปื้ อนอยูก่ บั ดิน มนุษย์ ำ อนหัวกับเท้า อย่าเล่นตลก โกหกว่าตัวเองสูง เพราะเท้าเรายังติดดิน สร้างสิ่ งที่สูงส่ง แต่ตวั อยูต่ ่าเหมื อยูน่ นั่ เอง การตรึ งการเขนซึ่งเป็ นการล้างบาปสำาหรบชาวคริ สต์แต่ Nietzsche มองว่าเป็ นเพียงการ ยอมตัวลงไปเป็ นทาส ชัยชนะที่อยูเ่ หนืออาณาจักรโรมันของชาวคริ สต์(ยิว) เกิดจากฝูงสัตว์ชนะคน เลี้ยงได้ สิ่ งที่ผลักดันชาวคริ สต์ให้ชนะโรมันคือความแค้นที่ถูกกระทำารังแกมานาน และเป็ น ปฏิกิริยาของชาวยิวเป็ นการโต้กลับและปฏิเสธกับพวกโรมัน โดยปฏิเสธการกระทำา(active) ของ ชาวโรมันและการยืนยันคุณค่าของชีวิตตามสัญชาตญาณของชาวโรมันที่เห็นว่ามีคุณค่า แต่ชาวยิว ปฏิเสธ(reactive) สิ่ งเหล่านั้น เช่นเมื่อชาวยิวถูกปล่อยให้ต่อสูก้ บั สิ งห์โต ชาวยิวก็นิ่งเฉย(Passive) ไม่ยอมต่อสูแ้ ละปล่อยให้ตวั เองตายไปเพื่อไปเกิดบนสวรรค์ ท่าทีแบบนิ่งเฉยและมีปฏิกิริยาต่อชาว โรมันและการกระทำาของชาวโรมัน


5 พวกทาสแบบนี้ จะไม่สร้างการกระทำา แต่บนการไม่กระทำาการก็ได้สร้างเครื่ องปลอบประโลมใจต่อ การสูญเสี ยของตนเอง เพื่อปลอบใจตนเองในการสูญเสี ย โดยการสร้างสวรรค์ เมื่อถึงวันพิพากษา โลก ตนจะได้ข้ ึนสวรรค์แต่พวกโรมันจะตกนรก เป็ นการสร้างมายาหลอกตนเอง ท่าทีแบบศีลธรรมแบบทาสคือปฏิเสธชีวิต ปฏิเสธอารมณ์ ท่าทีแบบนาย คือยืนยันชีวิต สิ่ งต่าง ๆ ของชีวิตตามที่ปรากฏอยู่ Slave Morality Resentment We are good. (You are evil : therefore we are good.) No to life

Master/Noble/Aristocratic Morality Proactive Spontaneous Self-affirmation Yes to life

ฝ่ ายทาส มีความเชื่อว่า “เราไม่ใช่พวกนั้น พวกนั้นไม่ใช่เรา” “เราไม่เหมือนพวกนั้น พวก นั้นเป็ นคนเลว ดังนั้น พวกเราจึงเป็ นคนดี” “วิธีคิด”ของพวกทาสต้องมีอีกฝ่ ายหนึ่ง เพื่อปฏิเสธพวก นั้นและยืนยันสถานะหรื อภาวะของตนเอง พวกอภิสิทธิ์ชน/นาย จะพูดยันยันเรา “เราก็คือผูท้ ี่ดี” ยืนยันคุณค่าของตนเองโดยไม่ตอ้ ง ปฏิเสธผูอ้ ื่น ขณะที่พวกทาสบอกว่า “พวกแกคือคนชัว่ ร้าย” ดังนั้น “พวกเราจึงเป็ นคนดี” การยืนยัน ของพวกทาสต้องปฏิเสธพวกอภิสิทธิ์ชน แต่พวกอภิสิทธิ์ ชนยืนยันตัวเองโดยไม่ตอ้ งปฏิเสธผูอ้ ื่น “การสร้างความเป็ นอารยะของตนในสังคมจะต้องชี้ ไปที่ผอู ้ ื่นว่าไม่ดี ป่ าเถื่อน ไร้ วัฒนธรรม เพื่อยืนยันความเป็ นอารยะของตนเองขึ้นมาจากความเลวร้ายของผูอ้ ื่น” คนมักเข้าใจว่า Nietzsche แยกนาย-ทาส สนับสนุนให้คนเข้าใจสถานะทางอำานาจ จนนำาไป สู่การฆ่าล้างเผ่าพันธุข์ องพวกยิวในลัทธินาซี เกิดการแบ่งชั้นของคนในสังคม แต่เขาชี้วา่ “การครอบ ครองผูอ้ ื่น เกิดจากการปฏิเสธผูอ้ ื่นแล้วยืนยัน” มีคนนำาความคิดของ Nietzsche ไปสู่ภาวะความเป็ น ชาตินิยม เหยียดเผ่าพันธุ์ โดยการปฏิเสธผูอ้ ื่น พวกอภิสิทธิ์ชน เริ่ มจากสัญชาตญาณ มีมโนคติเกี่ยวกับ “ความดี” แล้วใช้มโนคติไปตัดสิ น การกระทำา แต่พวกทาส รับรู้สิ่งที่ “ชัว่ ” แล้วนำาไปสู่ “ความดี” พวกทาสมีความเชื่อว่า “สิ่ งที่พวกเรา เกลียด แค้นเคือง คือสิ่ งที่เลว” Nietzsche ถามว่ า ใครกันแน่ ที่เลว พวกนาย หรื อพวกทาสกันแน่ พวกผูด้ ีเป็ นเหมือนสัตว์ที่คอยล่าเหยือ่ มีความสนุกสนานกับการตื่นตระหนกของเหยือ่ ไม่มีการสะกดกั้นอะไรไว้ มีความบ้าบิ่น อาจหาญ สนุกเต็มที่กบั ชีวิตบนความเจ็บปวดของผูอ้ ื่น สิ่ ง เหล่านั้นอยูเ่ หนือเรื่ อง “ดี” และ “เลว” (beyond good and evil)


6 สัญชาตญาณแห่งความสนุกสนานเป็ นไปเอง แต่พวกทาสบอกว่านี่คือความชัว่ ราย พวก ทาสจึงตกอยูใ่ นภาวะแห่งความขัดแย้ง ไม่ยอมรับความรู ้สึกตนเอง ปิ ดบังความรู ้สึกของตนเอง ขณะที่พวกอภิสิทธิ์ชน ยอมรับความรู้/สัญชาตญาณแบบนั้นแล้วหาทางใช้ชีวิตแบบนั้น ให้เป็ นไป ได้ มีระเบียบ และมีความกลมกลืน ไม่เข้าไปปฏิเสธอย่างสิ้ นเชิงในสัญชาตญาณของตนเอง แต่ พยายามปรับให้กลมกลืนกัน ศีลธรรมแบบทาสเริ่ มจากความโกรธแค้นและเกลียดชัง และไม่สามารถปล่อยความรู ้สึกนั้น ได้ ความเคียดแค้นชิงชัง ฝังใจอยูอ่ ย่างนั้น แล้วพยายามปฏิเสธมัน แต่กไ็ ม่สามารถสลัดให้หลุดไป ได้ การสร้างเรื่ องความดี โดยการอ้างว่าผูอ้ ื่นชัว่ นั้น ทำาให้เกิดเป็ นโรคประสาท ทำาให้รู้สึกว่าตนเอง เป็ นผูถ้ ูกกระทำาอยูต่ ลอดเวลา การทำาให้สิ่งที่อยูข่ า้ งนอกให้เข้าไปอยูใ่ นจิตใจตนเอง เช่น ความเกลียดชัง แล้วตนเองก็ร้อน รุ่ มอยูภ่ ายใน (ความคิดแบบทาส) ในที่สุดแล้ว คำาว่า “วัฒนธรรม” มันคืออะไร? คือการเปลี่ยนมนุษย์ซ่ ึงเป็ นสัตว์ผลู ้ า่ มีชีวิต เสรี ให้มาเป็ นสัตว์เลี้ยงในบ้าน โดยการทำาให้สญ ั ชาตญาณของตนเองเชื่องช้าลง ซิกมันด์ ฟรอยด์ กล่าวว่า วัฒนธรรมได้ปิดกั้นสัญชาตญาณของพวกมนุษย์และทำาให้มนุษย์ เป็ นโรคประสาท ทำาให้บิดเบือนตนเองจากสัญชาตญาณที่แท้จริ ง การเป็ นคนหน้ าเนือ้ ใจเสื อ สูก้ าร เป็ นคนหน้ าเสื อใจเสื อไม่ได้ เพราะการเป็ นคนหน้าเสื อใจเสื อเป็ นการซื่อสัตย์ต่อสัญชาตญาณของ ตนเอง การบูชาความเสมอภาค ศิวิไลซ์ ความยุติธรรม และสิ่ งที่มนุษย์ต้ งั มาเป็ นอุดมคติท้ งั หลาย แล้วหลงลืมธรรมชาติหรื อสัญชาตญาณของตนเอง ในที่สุดก็นาำ ไปสู่การทำาสงคราม ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ บางครั้งความชัว่ ร้ายก็ถูกกระทำาภายใต้หน้ากากแห่ งความดีงาม เมื่ออยูใ่ นระบบศีลธรรมแบบทาส อะไรคือความต้องการของตนเองกันแน่ การมองแบบ ทาส ต้องการพ้นจากการเป็ นเหยือ่ เพื่อต้องการให้ผอู ้ ื่นเป็ นเหยือ่ (ให้พระเจ้าลงโทษพวกโรมัน แทน) แล้วอะไรคือความดีของระบบศีลธรรมแบบทาส การปฏิวตั ิ ก็เป็ นการเปลี่ยนแปลงคนข้างล่างให้ไปอยูข่ า้ งบนและให้คนข้างบนลงมาอยูข่ า้ ง ล่าง นัน่ คือความโหดร้ายของมนุษย์ ในมุมมองแบบ Nietzsche นอกจากนี้วฒั นธรรมเป็ นผลมาจาก วิถีคิดแบบระบบศีลธรรมแบบทาส เพื่อเป็ นการทำาให้คนเชื่อง โดยการกดธรรมชาติและ ำ สัญชาตญาณเอาไว้ Nietzsche มองว่านี่คือการเสื่ อม การถดถอย การตกต่าของมนุ ษย์ มนุษย์ถูก กระทำาให้กลายเป็ นสิ่ งสามัญ กลาง ๆ พื้น ๆ แทนที่จะเป็ นอย่างที่ตนเองเป็ น การที่ลดสมรรถภาพ ของมนุษย์ ไม่ใช่การสร้างสรรค์เลย รุ สโซ กล่าวว่า สังคมได้ฉอ้ ฉลมนุษย์ คือทำาให้มนุษย์เสี ยภาวะ สมดุลตามธรรมชาติของตนเอง


7 Nietzsche กล่าวว่าโดยปกติแล้ว สัญชาตญาณของมนุษย์ ไม่ได้ดีและชัว่ มาติน ไฮเดกเกอร์ บอกว่า มนุษย์คือศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ ซึ่ง Nietzsche คิดนี่คือการ ำ ตกต่าของมนุ ษย์ พวกสุญนิยม (Nihilism) ทุกอย่างมีอยูใ่ นฐานที่เท่าเทียมกัน ความคิดแบบสุ ญนิยมแบบ กระทำาการ (Active Nihilism) นำาไปสู่การแยกลูกแกะกับอินทรี ยห์ รื อเหยีย่ ว โดยลูกแกะมองว่า อินทรี ยห์ รื อเหยีย่ วคือความชัว่ ร้ายและเกลียดชัง แต่เหยีย่ วก็ไม่ได้มีใจเกลียดชังต่อพวกลูกแกะเลย กินลูกแกะเพราะลูกแกะเป็ นอาหารเท่านั้น พวกชาวยิวพยายามอธิบายว่าพวกโรมันชัว่ ร้ายได้อย่างไร โดยการสร้างเจตจำานงเสรี ข้ ึนมา ว่า พวกอภิสิทธิ์ชนมีเจตจำานงเสรี และเลือกที่จะเป็ นคนชัว่ ร้าย แต่เลือกเพราะอะไร เพราะจิตใจ อ่อนแอ ต่อความทะยายอยาก มักได้ของตนเอง ความคิดแบบเจตจำานงเสรี ทาำ ให้พวกอภิสิทธิ์ ชนซึ่ง เป็ นคนเหนือกว่ากลายเป็ นคนที่ถูกมองว่าอ่อนแอทางด้านจิตใจได้ พวกอภิสิทธิ์ชนชัว่ เพราะมีเจตจำานงเสรี ของมนุษย์ เพราะมีจิตใจอ่อนแอ เมื่อเลือกแล้วต้องรับผิด ชอบ และต้องถูกพระเจ้าทำาโทษ ความคิดแบบนี้นาำ ไปสู่สุญนิยม คือการมองทุกอย่างว่าสูญ ทำาให้พวกที่แข็งแรงกลายเป็ น คนที่อ่อนแอ ในที่สุดการคิดศีลธรรม เจตจำานงเสรี ความรับผิดชอบ เปลี่ยนคนแข็งแรงให้เป็ นคน อ่อนแอ และเป็ นการบังคับคนแข็งแรงให้ยอมรับระบบศีลธรรม และเปลี่ยนแปลงตนเองให้อยูภ่ าย ใต้ระบบศีลธรรมเดียวกัน ทำาให้ชนชั้นสูงมาอยูใ่ นระดับเดียวกับตนเอง เอาศีลธรรมคอยควบคุมการ ตอบตอบโต้และแลกเปลี่ยนทางอำานาจ เอาพวกโรมมาอยูใ่ นระบบที่เท่ากัน ก่อนหน้านี้ พวกอภิสิทธิ์ชนก็มีวฒั นธรรมเป็ นของตนเอง โดยการเลือกสิ่ งต่าง ๆ ให้กบั ตนเอง ว่าต้องการจะสร้างตนเองให้เป็ นอย่างไร โดยการสร้างจากภายในสัญชาตญาณของตนเอง แต่การเปลี่ยนระบบศีลธรรมโดยเอาศีลธรรมจากภายนอกมาควบคุมระบบคุณธรรมภายใน ทำาให้ เกิดการสูญเสี ย เป็ นสุญนิยมแบบปฏิกิริยา Reactive Nihilism Action การกระทำา เป็ นทุกสิ่ งทุกอย่างที่สมบูรณ์อยูแ่ ล้ว ไม่มีเจ้าของซึ่งเลือกที่จะกระทำา ไม่มีวญ ิ ญาณ จิตวิญญาณ คิด ตัดสิ นหรื อเลือกที่จะกระทำา เสรี ภาพของ Nietzsche คือการมีอิสรภาพ อยูภ่ ายในการต่อสูข้ องระบบสัญชาตญาณของตนเอง ชีวิตจึงไม่ใช่การเลือกและไม่มีศีลธรรม แต่ มันเป็ นอย่างนั้นของมันเอง (ความดี ความชัว่ จึงไม่มี สิ่ งที่มีอยูค่ ือการกระทำา) การคิดเรื่ อง วิญญาณ หรื อจิตวิญญาณ Nietzsche บอกว่าเป็ นศิลปะชั้นสุ ดยอดแห่ งการหลอกตนเอง เพราะทำาให้คน ธรรมดาอ่อนแอ บอกตนเองว่าตนเองเลือกไม่กระทำาสิ่ งนั้น สิ่ งนี้ ทั้ง ๆ ที่ความจริ งเขาอ่อนแอ ไม่


8 สามารถทำาสิ่ งนั้นได้ เป็ นเพียงการหลอกตนเอง พวกชาวยิวได้สร้างความดี ศีลธรรมขึ้นมา เพื่อ ปกป้ องตนเองและเอาชนะชาวโรมันและปิ ดบังความอ่อนแอของตนเอง การเป็ น Active Nihilism สุญนิยมแบบกระทำาการ โดยการเลือกจากภายในตนเอง จะสร้าง ตนเองให้เป็ นอะไรก็ได้ในแต่ละขณะเวลา ถามว่า “เราสามารถแยกตัวเราเองออกจากการกระทำาได้หรื อไม่” ตอบว่า “ไม่ได้ เพราะว่า เราคือการกระทำา ทำาอย่างไร เราก็เป็ นอย่างนั้น ไม่มีผกู ้ ระทำาและการกระทำาที่แยกออกจากกัน เรา คือสิ่ งที่เรากระทำา“ ตัวเราจริ ง ๆ แล้วมีแต่ความขัดแย้งในสัญชาตญาณ มีแต่พลังที่ขบั ดันเราให้ กระทำาสิ่ งต่าง ๆ พลังที่สร้างสรรค์และยืนยันที่กระทำาการ ยืนยันตัวเอง ไม่ใช่พลังทางกายภาพ ทุกคนมี Will To Power เจตจำานงไปสู่อาำ นาจ มีความปรารถนาจะมีอาำ นาจ ทำาให้บางคน เกิดมามีอาำ นาจ ก็ใช้อาำ นาจ คนที่เกิดมาไร้อาำ นาจก็พยายามแสวงหาอำานาจเพื่อเปลี่ยนตนให้เป็ นผูใ้ ช้ อำานาจ สิ่ งที่มีอยูใ่ นตัวมนุษย์คือพลังที่เป็ นรากเง้าคือเจตจำานงที่จะมีอาำ นาจของแต่ละคน พลังใน ร่ างกายของเรามีความขัดแย้งกัน เราไม่ตอ้ งปฏิเสธหรื อหลีกหนีมนั แต่เราเลือกมัน เลือกที่จะสร้าง มัน ต้องการให้มนั เป็ นอย่างนั้น อย่างนี้ Nietzsche มองว่า ความรู้มาจากอำานาจ เอามาใช้เพื่อสร้างอำานาจ สิ่ งที่เกิดขึ้น เกิดจากการ ปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ทางอำานาจ ความคิดเรื่ องโลกหน้า สำาหรับเขาแล้วเป็ นเรื่ องแปลก ประหลาด ทำาไมต้องปฏิเสธตัวเอง เลือดเนื้อ ร่ างกาย ที่มีอยูด่ ว้ ย มนุษย์คือผูส้ ร้างพระเจ้าขึ้นมา ไม่ใช่พระเจ้าสร้างมนุษย์ สิ่ งที่ Nietzsche พยายามจะสื่ อคือ - ให้คนตั้งคำาถาม ระแวง - บทบาทของคำาว่า “ดี” “ชัว่ ” มีเบื้องหลังอะไร หรื อไม่ อย่างไร - บทบาทของศีลธรรมเป็ นอย่างไร Credit Debt and Conscience ความเชื่อมั่น หนี้ และศีลธรรม คำามัน่ สัญญาเกิดขึ้นในสังคมได้อย่างไร อะไรทำาให้เราเชื่อมัน่ ในพันธะสัญญา การลืมเป็ นสิ่ งที่เรากระทำาแบบตั้งใจ(Active) เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งกระทำาในเชิงการสร้าง เพื่อเวลา ปั จจุบนั และการสร้างปัจจุบนั ในการลืมบางสิ่ งบางอย่างเอาไว้ ลืมมโนธรรมของตนเองบ้าง การลืม เป็ นไปเพื่อควบคุมตนเอง เพื่อสร้างระเบียบควบคุมตนเองเหมือนการอยูก่ บั ปั จจุบนั ในพุทธศาสนา โดยการไม่สนใจหรื อหมกมุ่นอยูก่ บั สิ่ งที่เป็ นอดีต Nietzsche กล่าวว่าการลืมคือการทำาโดยจงใจ มนุษย์สร้างตนเองอยูต่ ลอดเวลาและสร้างตนเองใหม่ทุกขณะ ไม่มี “ตัวตน”ที่คงที่ตลอด เวลา มีแต่ตวั เราที่สร้างชีวิตแต่ละขณะ


9 ถ้าเราอยูก่ บั อดีตที่เจ็บปวด ถ้าปล่อยวางไม่ได้ เราก็จะสร้างภาวะความเจ็บป่ วยทางจิตให้กบั ตนเองเหมือนกับการทำาให้ชีวิตปัจจุบนั ตายโดยการมีชีวิตอยูก่ บั อดีต ฝังใจอยูก่ บั อดีตที่เจ็บปวด การสร้างคำามัน่ สัญญา ทำาให้มนุษย์ควบคุมตนเองและเจตจำานงให้เป็ นไปตามคำามัน่ สัญญา นั้น เป็ นการสร้างความรับผิดชอบและระบบศีลธรรมให้กบั มนุษย์ สิ่ งที่สร้างมานี้ขดั กับ สัญชาตญาณดัง่ เดิมของมนุษย์ ในการรักษาคำามัน่ สัญญา มนุษย์ตอ้ งถูกฝึ กให้เป็ นอย่างนั้น คือถูก ฝึ กให้รับศีลธรรมตามขนบธรรมเนียม และกลายเป็ นทาส เพราะตามความชอบธรรมของสังคม เพราะถูกฝึ กให้เป็ นอย่างนั้น ผูท้ ี่เป็ นอิสระคือผูเ้ ลือกให้พนั ธะสัญญาแล้วเลือกที่จะรักษาพันธะ สัญญาหรื อไม่กไ็ ด้ ตามแต่สถานการณ์ เรารับสิ่ งที่สงั คมสร้างขึ้น ศีลธรรมอยูภ่ ายนอกตัวเรา แล้วเราก็รับมันมาไว้ขา้ งในตัวเรา กลายเป็ นมโนธรรมไป เพื่อควบคุมตัวเอง แล้วมนุษย์กจ็ ดจำามันเอาไว้ โดยการผ่านความเจ็บปวด มโนธรรมเป็ นสิ่ งที่อยูภ่ ายนอกตัวเราและเราก็ทาำ ให้มนั มาอยูข่ า้ งในตัวเรา โดยผ่านความรุ นแรง โดย จิตวิทยาแห่งความสะพรึ งกลัว(Horror) เช่นถ้าฝ่ าฝื นแล้วจะถูกทำาโทษหรื อทำาร้าย ด้วยความกลัวต่อ การทำาโทษนั้น มนุษย์กไ็ ด้เรี ยนรู้เพื่อที่จะอยูภ่ ายใต้อาำ นาจของพันธะสัญญานั้น ความเจ็บปวดจาก การละเมิดพันธะสัญญา ถูกฝังตรึ งอยูใ่ นความคิดของมนุษย์และฝังตรึ งไว้ในร่ างกายของมนุษย์ใน ที่สุด ธรรมชาติของสังคม ความมัน่ คง เหนียวแน่น เกิดขึ้นเพราะการยอมสูญเสี ยอิสรภาพ เสรี ภาพบางส่วนของตนเอง และเกิดการรวมกลุ่มกันของผูค้ น เมื่อยูใ่ นกลุ่มแล้ว ต้องไม่ด้ือรั้น ไม่ เป็ นปฏิปักษ์ต่อสังคม เมื่อขัดขืนก็จะถูกทำาโทษต่อหน้าสาธารณะ การทำาโทษแบบนี้ ก็จะสร้าง ความกลัวให้กบั ผูค้ น ทำาให้เกิดการอยูร่ ่ วมกันและทำาให้คนยอมอยูใ่ ต้อาำ นาจของสังคม การทำาโทษ ที่รุนแรงก็จะเข้าไปอยูใ่ นทรงจำาของมนุษย์ การทำาโทษเป็ นเพียงวิธีหนึ่งที่ทาำ ให้คนอยูใ่ นสังคม ในปั จจุบนั ใช้ระบบคุกแทนการทรมาน หรื อแขวนคอต่อหน้าสาธารณะ (เลิกทำาร้ายร่ างกาย มาทำาร้ายจิตใจแทน) ฟูโก กล่าวว่า วัฒนธรรมมนุษย์ มองจากอาชญากรรมและการลงโทษ จะเห็นวิธีการที่ เปลี่ยนแปลงไป จากการแขวนคอ ฯลฯ มาเป็ นวิธีการที่นุ่มนวลมากขึ้น เช่นยิงเป้ า ฉี ดยาประหาร เป็ นต้น จากสิ่ งเหล่านี้มนั เป็ นสิ่ งที่เปลี่ยนไปหรื อเปล่า (เพราะการฆ่ายังคงเดิม) สิ่ งเหล่านี้แสดงว่า มนุษย์มีวฒั นธรรมมากขึ้นหรื อเปล่า อาจนำาไปสู่การสร้างคำาอธิ บายที่เหนือกว่าของเดิม สร้างระบบ คุณค่าเพื่ออธิบายการกระทำาของมนุษย์วา่ สูงส่ ง ก้าวหน้ากว่าเดิม (ทั้ง ๆ ที่เหมือนเดิม) การลงโทษของคนที่ยอมอยูใ่ ต้สงั คมจึงเป็ นเหมือนการใช้หนี้ เนื่องจากการเข้ามาสู่สงั คม ทำาให้คนได้รับการยอมรับจากสมาชิก เป็ นผูม้ ีเครดิต เมื่อไม่รักษาสิ่ งที่สังคมมอบให้ จึงต้องถูก ทำาโทษ(ใช้หนี้) การลงโทษตนเองคือการรู ้สึกผิด(Guilty) ซึ่งมันถูกสร้างมาให้เรา การรู ้สึกผิดคือ การรู ้สึกเป็ นหนี้ เพราะรับประโยชน์บางอย่างจากผูอ้ ื่นแล้วไม่ยอมใช้หนี้ ทำาให้เราต้องรู ้สึกผิด


10 ระบบศีลธรรมเป็ นเรื่ องของเศรษฐศาสตร์ การแลกเปลี่ยนกันระหว่างความเชื่อมัน่ จาก สังคมและการรักษาพันธะสัญญา ซึ่งเป็ นเรื่ องศีลธรรมและสังคม เป็ นการแลกเปลี่ยนกันภายใน สังคม การแลกเปลี่ยนกันในผลประโยชน์นาำ ไปสู่การตอบแทน ระหว่างเครดิตและผลประโยชน์ เมื่อไม่ตอบแทนก็ตอ้ งใช้หนี้ (Debt) คือความเจ็บปวด ทุกอย่างในสังคมเป็ นการแลกเปลี่ยนกัน ระหว่างเจ้าหนี้ และลูกหนี้ เมื่อมีการละเมิดไม่ยอมชำาระหนี้ ลูกนี้จะต้องยอมสูญเสี ยหรื อยอมเจ็บ ปวด เพื่อการชดใช้ “หนี้” จากสิ่ งเหล่านี้ แสดงว่าสังคมมนุษย์ซ่อนความสุ ขจากการเห็นความเจ็บปวด ความทุกข์ของ ผูอ้ ื่นไว้ในระบบศีลธรรม สร้างสิ ทธิที่จะทำาร้ายผูอ้ ื่นที่ไม่ยอมจ่ายหนี้ ความรู้สึกผิด มโนธรรม หน้าที่ หน้าที่ต่อสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ และทุก ๆ อย่างที่ยงิ่ ใหญ่ ก็ลว้ นแต่ เกิดมาจากเลือด แม้กระทัง่ แนวคิดของค้านท์ เนื่องจากค้านท์ใช้เหตุผลชักนำามนุษย์ให้มีศีลธรรม ด้วยเหตุผลบริ สุทธิ์ แต่มีบุคคลผูห้ นึ่งใช้กระบวนการเหตุผลแบบเดียวกับค้านท์แต่ผลกลับกลายเป็ น แนวคิดที่มีผลตรงข้ามกับของค้านท์ ความทุกข์ สามารถชดเชยหนี้ ได้หรื อไม่? ตอบว่า ได้ เพราะเห็นคนอื่นทุกข์ ทำาให้มนุษย์มี ความสุ ขได้ มนุษย์ถูกฝึ กให้เชื่องแล้ว จนกระทัง่ รู ้สึกว่าตนเองเป็ นสัตว์ที่มีเหตุผล ซึ่งเป็ นการลืม สัญชาตญาณของมนุษย์ ซึ่งเป็ นการไม่มีความรู ้จกั ตนเอง Nietzsche กล่าวว่า การทำาให้คนอื่นมีความทุกข์เป็ นความสุ ขอย่างหนึ่งของมนุษย์ และเราจะมีความ สุขมากขึ้น ถ้าเราเป็ นคนทำาให้คนอื่นมีความทุกข์เสี ยเอง ธรรมชาติที่แท้จริ งของมนุษย์คือความโหดร้าย นี่คือภาวะของชีวิตและการยืนยันชีวิต เห็น ได้จากพวกโรมัน ชอบเห็นคนอื่นทุกข์แล้วมีความสุ ข (หรื อแม้กระทัง่ ในปั จจุบนั จะพบว่ามีเกมกีฬา หลายประเภทที่แฝงไว้ดว้ ยความรุ นแรง และมนุษย์กช็ มด้วยความสนุกสนาน) ดังนั้น เราไม่ควรปฏิเสธสัญชาตญาณความเป็ นสัตว์ในตัวเรา แต่ให้เราควบคุม จัดการกับ มันให้พอดี ให้มีความสมดุล ให้เราอยูเ่ หนือศีลธรรม ความดี ความเลว ของศีลธรรมในสังคม มีชีวิต แบบศิลปิ น ที่สร้างงานศิลปะให้มีความสมดุล เราจึงจะไม่ถูกควบคุมด้วยอำานาจทางสังคม คำาถามของ Nietzsche คือคำาถามว่ าเราควรมีชีวติ อย่ างไร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.