ข้อพินิจว่าด้วยปฐมปรัชญา Meditations 1639
Rene Descartes
เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน์ แปล มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2557
บทนำำ คำาว่า“ปรัชญา” มาจาก “ปร+วิชา” แปลว่า “ปั ญญาและความรู้อนั ยิ่งใหญ่” ถ้ าเช่นนันอะไรจึ ้ งควรจะ ได้ ชื่อว่า “ปฐมปรัชญา”? ความรู้หรือปั ญญาสัมพันธ์กบั ความจริ ง เพราะไม่มีสิ่งที่เรี ยกว่าความรู้อนั เป็ นเท็จ หรื อปั ญญาอันเข้ า ไม่ถึงความจริง นัน่ เป็ นสิ่งที่ต้องเรียกว่าความเขลาหรื อความไม่ร้ ูจงึ จะถูกต้ อง ในชีวิตประจำาวัน เรามีความรู้และความไม่ร้ ูมากมาย ซึง่ เบื ้องหลังการรู้และไม่ร้ ูนี ้ มีของที่ตา่ งประเภท กันโดยสิ ้นเชิงสองประเภทถูกนำามานิยามให้ สมั พันธ์กนั คือ เราในฐานะผู้ร้ ู (หรื อผู้ไม่ร้ ู )ที่เรี ยกว่า “อัตตา” (ตรงกับคำาภาษาอังกฤษว่า subject) และสิ่งอันเป็ นเป้าหมายของการรู้ (หรื อการไม่ร้ ู )ของเราที่เรี ยกว่า “วัตถุ” (ตรงกับคำาภาษาอังกฤษว่า object) โดยสามัญสำานึกแล้ วเราเชื่อว่า อัตตาที่เป็ นตัวเรานันเป็ ้ นสิ่งมีชีวิตที่เรี ยกว่ามนุษย์ มีร่างกายที่เป็ น วัตถุ อยูร่ ่วมกับสิ่งที่เป็ นวัตถุกายภาพอื่นๆ ทังหลายทั ้ งมวล ้ และทังเราในฐานะผู ้ ้ รับรู้วตั ถุและวัตถุใน ฐานะสิ่งที่ถกู เรารับรู้นนั ้ มีความมีอยูท่ ี่เป็ นอิสระจากกันโดยสิ ้นเชิง เราเชื่อว่า แม้ จะไม่มีสิ่งมีชีวิตใดเลย มารับรู้สิ่งแวดล้ อม แต่ ก้ อนหิน ดิน น้ำ า อากาศ ก็จะยังคงมีอยูไ่ ด้ เหมือนกับเมื่อครัง้ ที่มีสิ่งมีชีวิตมารับรู้ และดูเหมือนไม่ยากเลยที่จะคิดตามแบบศาสนาว่า เราในฐานะผู้ร้ ูจะมียงั คงมีอยูไ่ ด้ เหมือนเดิม แม้ เมื่อ สิ่งที่ถกู รู้ในโลกแห่งวัตถุกายภาพนี ้สูญสิ ้นไปทังหมด ้ เดส์การ์ ตส์เสนอว่าการครุ่นคิด และการตังปั ้ ญหา ในเรื่ องที่พดู มาคือ “ปฐมปรัชญา” เขาถามว่าสิ่งที่ เราถือเอาว่าจริงโดยสามัญสำานึกนันเป็ ้ นสิ่งที่เรา ”รู้” จริ งๆ หรื อเปล่า หมายความว่า เราแน่ใจหรื อว่าเป็ น จริ งอย่างไม่เหลือข้ อให้ ต้องสงสัยใดๆ ทังสิ ้ ้น เขาถามว่าเรามีทางพิสจู น์หรื อไม่ว่า “อัตตา” และ “วัตถุ” มี อยูจ่ ริ ง โดยที่เขาเรียกร้ องให้ เราหาเหตุผลมาสงสัยในสิ่งทังสองประเภท ้ แล้ วพยายามหาเหตุผลอื่นมาหัก ล้ างข้ อสงสัยนันให้ ้ ได้ คนที่เริ่มเรียนปรัชญาวิเคราะห์จะถูกท้ าทายให้ ตงข้ ั ้ อสงสัยกับประสบการณ์ของตน เช่น คุณรู้ได้ อย่างไรว่าคุณกำาลังอ่านบทนำาของ “ข้ อพินิจว่าด้ วยปฐมปรัชญา” อยูจ่ ริ งๆ? เป็ นไปได้ ไหม ว่าที่จริ งแล้ วคุณกำาลังฝั นอยู่? คุณมีเหตุผลอะไรมาใช้ หกั ล้ างความเป็ นไปได้ นี ้หรื อไม่? คุณใช้ เกณฑ์อะไร ในการแยกความฝั นและความตื่นออกจากกัน? ประเด็นก็คือ อะไรคือวิธีที่เราจะใช้ แยกความจริ งออกจากความลวง? นี่คือคำาถามของเดส์การ์ ตส์ และคือคุณค่าอันใหญ่หลวงของปรัชญา ที่ทรราชย์ทงหลายพยายามปิ ั้ ดกันไม่ ้ ให้ พลเมืองได้ เรี ยนรู้ที่จะ ถามและค้ นหาคำาตอบ คุณรู้ได้ อย่างไรว่าคุณไม่ได้ กำาลังมีชีวิตอยูใ่ นความโกหกที่ชนชันที ้ ่มีอำานาจสร้ าง ภาพหลอกให้ พวกคุณบูชาพวกเขา คุณรู้ได้ อย่างไรว่าชีวิตคุณนันต่ ้ างออกไปหรื อไม่ จากผู้คนที่นอนเป็ น ก้ อนแบตเตอรี่ป้อนพลังงานให้ กบั ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดยักษ์ ซึง่ ใช้ พลังงานที่ได้ นนเลี ั ้ ้ยงตัว
เอง และมาป้อนความฝั นใส่เข้ าไปในสมองของร่างกายที่นอนเป็ นแบตเตอรี่ ทงหลาย ั้ (อย่างในภาพยนตร์ เรื่ อง The Metrix) คุณจะรู้ได้ อย่างไรว่าคุณไม่ได้ เป็ นพลเมืองของประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่ถกู ล้ างสมองให้ เชื่อในสิ่งที่ขดั กับประโยชน์สขุ อันแท้ จริ งของพวกเขาเอง ถ้ าคุณมีชีวิตอยูใ่ นความลวงคุณจะรู้ได้ อย่างไร และคุณจะค้ นพบว่าความจริ งคืออะไรได้ อย่างไร? แน่นอนว่าใน “ปฐมปรัชญา” นี ้ เดส์การ์ ตส์มีคำาตอบบางอย่างให้ คณ ุ (แม้ เขาจะไม่ได้ ถึงพูดเรื่ องอย่างที่ กล่าวถึงนี ้เลยก็ตาม) [งานชิ ้นนี ้แปลจากฉบับภาษาอังกฤษที่ได้ รับการขัดเกลาสำานวนให้ อา่ นง่ายขึ ้นกว่าของฉบับดังเดิ ้ ม โดย พยายามที่จะแปลให้ ตรงตามตัวอักษร และตรงตามโครงสร้ างของประโยคอังกฤษ ให้ มากที่สดุ เท่าที่จะ ทำาได้ และนำาภาษาอังกฤษมาวางเทียบไว้ ในแต่ละย่อหน้ า ทังนี ้ ้เพื่อให้ ผ้ ทู ี่ประสงค์จะหัดอ่านตัวบทจาก ภาษาอังกฤษสามารถใช้ เรียนรู้การแปลได้ ] เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน์ สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น aksak@kku.ac.th มิถนุ ายน 2557
i
สำรบัญ บทนำา...................................................................................................................................................3 สารบัญ.................................................................................................................................................i ข้ อพินิจที่หนึง่ .........................................................................................................................................5 ว่าด้ วยสิ่งที่อาจสงสัยได้ .......................................................................................................................5 ข้ อพินิจที่สอง.......................................................................................................................................13 ธรรมชาติแห่งจิตมนุษย์ และทำาไมจึงรู้ถึงจิตได้ ดีกว่าร่างกาย......................................................................13 ข้ อพินิจที่สาม.......................................................................................................................................27 ความมีอยู่ของพระเจ้ า.......................................................................................................................27 ข้ อพินิจที่ส.ี่ .........................................................................................................................................49 ความจริงและความเท็จ......................................................................................................................49 ข้ อพินิจที่ห้า.........................................................................................................................................63 สารัตถะของสสารวัตถุ และการพิจารณาครัง้ ที่สองถึงความมีอยู่ของพระเจ้ า .................................................63 ข้ อพินิจที่หก........................................................................................................................................74 ความมีอยู่จริงของสรรพสิ่ง และความแตกต่างที่แท้ จริงระหว่างกายและจิต ...................................................74
ii
iii
เรเน เดส์ การ์ ตส์ (อ่ านว่ า เด-กาต) ข้ อพินิจว่ าด้ วยปฐมปรัชญา อันแสดงถึงความมีอยู่ของพระเจ้ า และการแบ่ งแยกระหว่ างวิญญาณและร่ างกายของมนุษย์ Rene Descartes Meditations on First Philosophy in which are demonstrated the existence of God and the distinction between the human soul and the body 1639
iv
5
ข้ อพินิจทีห่ นึ่ง ว่ าด้ วยสิ่งทีอ่ าจสงสัยได้ FIRST MEDITATION: On what can be called into doubt หลายปี ก่อนฉันตกใจกับการที่สิ่งที่ฉนั เชื่อมากมายเป็ นเท็จ และกับการที่โครงสร้ างความเชื่อที่ฉนั สร้ างขึ ้นมาบนฐานของสิ่งพวกนันก็ ้ เป็ นที่นา่ สงสัยอย่างยิ่ง ฉันพบว่าถ้ าฉันต้ องการจะยืนยันอะไรสัก อย่างในวิทยาศาสตร์ที่จะทนทานมัน่ คง ฉันต้ อง(สักครัง้ หนึง่ ในชีวิต)ลบล้ างความเชื่อทุกอย่างแล้ วเริ่ มต้ น ใหม่จากฐาน นี่ดเู หมือนจะเป็ นภาระที่หนักหนาสาหัส และฉันได้ ตดั สินใจรอจนฉันมีอายุมากขึ ้น พอที่จะ สามารถมัน่ ใจได้ ว่าจะไม่เกิดประโยชน์จากการรออีกต่อไป ฉันได้ รอมานานเสียจนไม่มีข้ออ้ างที่จะ วางแผนที่จะทำา ยิ่งไปกว่าที่จะลงมือทำามันเสียที ดังนันวั ้ นนี ้ฉันได้ ปล่อยวางความกังวลอืน่ และได้ หา เวลาว่างให้ ตวั เอง ฉันอยูค่ นเดียว และในที่สดุ ฉันจะอุทิศตนอย่างจริ งใจและไม่รัง้ รออีกต่อไปที่จะทำาลาย ความคิดเห็นทังหลายของฉั ้ นลง Some years ago I was struck by how many false things I had believed, and by how doubtful was the structure of beliefs that I had based on them. I realized that if I wanted to establish anything in the sciences that was stable and likely to last, I needed – just once in my life – to demolish everything completely and start again from the foundations. It looked like an enormous task, and I decided to wait until I was old enough to be sure that there was nothing to be gained from putting it off any longer. I have now delayed it for so long that I have no excuse for going on planning to do it rather than getting to work. So today I have set all my worries aside and arranged for myself a clear stretch of free time. I am here quite alone, and at last I will devote myself, sincerely and without holding back, to demolishing my opinions. ฉันสามารถทำาเช่นนี ้ได้ โดยไม่ต้องแสดงว่าความเชื่อทังหมดของฉั ้ นเป็ นเท็จ ซึง่ คงเป็ นเรื่ องที่เกินกำาลัง ของฉัน เหตุผลของฉันบอกฉันว่า เช่นเดียวกับที่ต้องระงับการยอมรับต่อประพจน์ที่เห็นได้ ชดั ๆ ว่าเป็ น เท็จ ฉันก็ควรจะระงับการยอมรับต่อประพจน์ที่ไม่แน่นอนอย่างเต็มที่ ที่สามารถสงสัยได้ ด้ วยเช่นกัน ดัง นันสิ ้ ่งที่ฉนั ต้ องการ เพื่อที่จะปฏิเสธความคิดเห็นทังหมดของฉั ้ น คือค้ นหาเหตุผลบางอย่างมาสงสัยพวก มันแต่ละข้ อ เป็ นอย่างน้ อย ฉันสามารถทำาอย่างนี ้ได้ โดยไม่ต้องทำาไปทีละข้ อ ซึง่ คงต้ องใช้ เวลาทังชี ้ วิต
6
นัน่ ก็คือ ทันทีที่ฐานของสิ่งก่อสร้ างถูกทำาลาย ส่วนที่เหลือก็จะทลายตามลงมา ดังนัน้ ฉันจะตรงไปหา หลักการพื ้นฐาน ที่รองรับความเชื่อก่อนๆ ของฉัน I can do this without showing that all my beliefs are false, which is probably more than I could ever manage. My reason tells me that as well as withholding assent from propositions that are obviously false, I should also withhold it from ones that are not completely certain and indubitable. So all I need, for the purpose of rejecting all my opinions, is to find in each of them at least some reason for doubt. I can do this without going through them one by one, which would take forever: once the foundations of a building have been undermined, the rest collapses of its own accord; so I will go straight for the basic principles on which all my former beliefs rested. อะไรก็ตามที่ฉนั ได้ ยอมรับมาจนนับบัดนี ้ว่าจริ งอย่างที่สดุ ล้ วนมาจากประสาทสัมผัส แต่ในบางเวลา ฉันพบว่าพวกมันได้ หลอกฉัน ดังนันมั ้ นไม่ฉลาดเลยที่จะไว้ ใจอย่างเต็มที่ ต่อผู้ที่เคยหลอกเราไว้ แม้ แค่ครัง้ เดียว แต่ แม้ วา่ ประสาทสัมผัสบางครัง้ หลอกเราในเรื่ องของวัตถุที่เล็กมากหรื อไกลมาก แต่นนั่ ก็ใช้ ไม่ได้ กับความเชื่อของฉันที่ว่าฉันกำาลังนัง่ อยูข่ ้ างกองไฟนี ้ ใส่ชดุ สำาหรับหน้ าหนาว ถือกระดาษแผ่นนี ้อยูใ่ นมือ และอะไรอื่นๆ ประเภทนี ้ ดูเหมือนจะเป็ นไปไม่ได้ เลยที่จะสงสัยความเชื่อพวกนี ้ ที่มาจากประสาทสัมผัส Whatever I have accepted until now as most true has come to me through my senses. But occasionally I have found that they have deceived me, and it is unwise to trust completely those who have deceived us even once. Yet although the senses sometimes deceive us about objects that are very small or distant, that doesn’t apply to my belief that I am here, sitting by the fire, wearing a winter dressing-gown, holding this piece of paper in my hands, and so on. It seems to be quite impossible to doubt beliefs like these, which come from the senses. อีกหนึง่ ตัวอย่างก็คือ ฉันสามารถที่จะสงสัยได้ อย่างไรว่ามือนี ้หรื อทังร่้ างกายนี ้เป็ นของฉันจริ งหรื อไม่ ในการสงสัยของอย่างนี ้ฉันคงเปรียบเสมือนคนเสียสติ ที่เชื่อว่าตัวเองเป็ นพระราชา ทังที ้ ่ที่จริ งแล้ วเป็ น ยาจก หรื อพูดว่าสวมเสื ้อผ้ าสีมว่ งในขณะที่ที่จริงแล้ วเปลือยกาย หรื อพูดว่าพวกเขาเป็ นฟั กทอง หรื อ สร้ างจากแก้ ว คนพวกนันเสี ้ ยสติ ฉันคงถูกคิดว่าเสียสติเท่าๆกัน ถ้ าฉันคิดให้ ตวั เองเป็ นแบบพวกเขา Another example: how can I doubt that these hands or this whole body are mine? To doubt such things I would have to liken myself to brain-damaged madmen who are convinced they are kings when really they are paupers, or say they are dressed in purple when they are
7
naked, or that they are pumpkins, or made of glass. Such people are insane, and I would be thought equally mad if I modelled myself on them. เป็ นเหตุผลที่ยอดเยี่ยมอะไรอย่างนี ้! พูดราวกับว่าฉันไม่ใช่คนที่นอนหลับตอนกลางคืน และมักมี ประสบการณ์ทงหมดในเวลาหลั ั้ บที่เหมือนกันกับที่คนเสียสติมีเวลาที่ตื่น (ที่จริ งแล้ ว บางครัง้ ก็ไม่น่าเป็ น ไปได้ เสียยิ่งกว่า) บ่อยครัง้ ที่ในความฝั นฉันเชื่อมัน่ กับเหตุการณ์ที่ค้ นุ เคยประเภทนี ้ (ว่าฉันกำาลังนัง่ อยู่ ข้ างกองไฟในชุดนอน) แต่ที่จริงฉันกำาลังนอนเปลือยอยูบ่ นเตียง กระนัน้ ตอนนี ้ ตาของฉันเปิ ดกว้ างอยู่ อย่างแน่นอน ในขณะที่ฉนั มองที่กระดาษแผ่นนี ้ ฉันส่ายศรี ษะและมันไม่ได้ หลับอยู่ เมื่อฉันเอามือถูกนั ฉันทำาโดยตังใจและรู ้ ้ ตวั ว่ากำาลังทำาอะไรอยู่ สิ่งนี ้คงจะไม่เกิดขึ ้นด้ วยความชัดแจ้ งอย่างยิ่งกับคนที่หลับ อยู่ What a brilliant piece of reasoning! As if I were not a man who sleeps at night and often has all the same experiences while asleep as madmen do when awake – indeed sometimes even more improbable ones. Often in my dreams I am convinced of just such familiar events – that I am sitting by the fire in my dressing-gown – when in fact I am lying undressed in bed! Yet right now my eyes are certainly wide open when I look at this piece of paper; I shake my head and it isn’t asleep; when I rub one hand against the other, I do it deliberately and know what I am doing. This wouldn’t all happen with such clarity to someone asleep. จริ งๆเลย! แต่นี่ก็พดู ราวกับว่าฉันจำาไม่ได้ ถึงเวลาอื่นๆที่ฉนั ถูกหลอกด้ วยความคิดแบบเดียวกันนี ้ใน ขณะที่หลับอยู่! เมื่อฉันคิดเรื่องนี ้อย่างถี่ถ้วนยิ่งขึ ้น ฉันก็พบว่าไม่มีวิธีไหนเลยที่วางใจได้ ที่จะบอกได้ วา่ ฉันหลับหรือตื่นอยู่ Indeed! As if I didn’t remember other occasions when I have been tricked by exactly similar thoughts while asleep! As I think about this more carefully, I realize that there is never any reliable way of distinguishing being awake from being asleep. การค้ นพบนี ้ทำาให้ ฉนั รู้สกึ งงงวย ซึง่ ตัวมันเองสนับสนุนความคิดที่ว่าฉันอาจกำาลังนอนหลับอยู่ ! ดังนัน้ ขอให้ คิดเสียว่าฉันกำาลังฝั นอยู่ คือด้ วยตาที่เปิ ดอยู่ มันไม่เป็ นจริ งที่ว่าฉันกำาลังขยับหัวและยื่นแขนออกไป ที่จริ งขอให้ คดิ ว่าฉันไม่ มี มือหรือร่างกายเสียด้ วยซ้ำ า This discovery makes me feel dizzy, which itself reinforces the notion that I may be asleep! Suppose then that I am dreaming – it isn’t true that I, with my eyes open, am moving my head and stretching out my hands. Suppose, indeed that I don’t even have hands or any body at all. แต่ก็ต้องยอมรับว่าภาพที่มาจากความฝั นนันก็ ้ เป็ นเหมือนภาพวาด มันจะต้ องมาจากการลอกเลียน แบบของจริง ดังนัน้ อย่างน้ อยที่สดุ สิ่งทัว่ ๆ ไปประเภทนี ้ คือ ตา หัว มือและร่างกาย ต้ องเป็ นจริ งและ
8
ไม่ใช่จินตนาการ เพราะแม้ เมื่อจิตรกรพยายามที่จะวาดนางเงือก หรื อม้ ามังกร ที่มีร่างกายที่พิเศษอย่าง ที่สดุ พวกเขาก็แค่นำาชิ ้นส่วนของร่างกายของสัตว์จริ งๆมาผสมปนเปกัน ยิ่งกว่าที่จะคิดประดิษฐ์ อะไรที่ เป็ นของใหม่ล้วนๆ ถ้ าพวกเขาสามารถที่จะคิดอะไรที่ใหม่ทงหมดและไม่ ั้ เสมือนจริ งขึ ้นมาสำาเร็ จ คือไม่ เหมือนอะไรที่เคยเห็นมาก่อนเลยแม้ แต่น้อย อย่างน้ อยที่สดุ สีที่ใช้ ในการระบายภาพก็ต้องเป็ นจริ ง ใน แบบเดียวกัน สิ่งทัว่ ๆ ไปประเภท ตา หัว มือ และอื่นๆ อาจมาจากจินตนาการ แต่ก็ไม่สามารถที่จะ ปฏิเสธได้ เลยว่า สิ่งประเภทที่พื ้นฐานกว่าและเป็ นสากลกว่าบางอย่าง ต้ องเป็ นจริ ง สิ่งเหล่านี ้คือองค์ ประกอบพื ้นฐานที่เราใช้ สร้ างภาพของสิ่งต่างๆ ขึ ้นในจิต ไม่วา่ จะเป็ นจิตภาพที่จริ งหรื อเท็จ Still, it has to be admitted that the visions that come in sleep are like paintings: they must have been made as copies of real things; so at least these general kinds of things – eyes, head, hands and the body as a whole – must be real and not imaginary. For even when painters try to depict sirens and satyrs with the most extraordinary bodies, they simply jumble up the limbs of different kinds of real animals, rather than inventing natures that are entirely new. If they do succeed in thinking up something completely fictitious and unreal – not remotely like anything ever seen before – at least the colours used in the picture must be real. Similarly, although these general kinds of things – eyes, head, hands, and so on – could be imaginary, there is no denying that certain even simpler and more universal kinds of things are real. These are the elements out of which we make all our mental images of things – the true and also the false ones. ประเภทที่พื ้นฐานกว่าและสากลกว่าเหล่านี ้ประกอบด้ วย กาย และ การแผ่ออกไป รู ปร่ างของสิ่งที่แผ่ ออกไป ปริ มาณของพวกมัน คือ ขนาด และ จำ านวน สถานที ่ ที่สิ่งต่างๆ สามารถเข้ าไปอยูใ่ นนันได้ ้ และ เวลาที่สิ่งเหล่านันสามารถคงตั ้ วอยูไ่ ด้ These simpler and more universal kinds include body, and extension; the shape of extended things; their quantity, size and number; the places things can be in, the time through which they can last, and so on. ดังนัน้ ดูเหมือนจะมีเหตุผลให้ สรุปว่า ฟิ สิกส์ ดาราศาสตร์ การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ อื่นๆทังหลาย ้ ที่เกี่ยวข้ องกับสิ่งที่มีโครงสร้ างซับซ้ อน เป็ นสิ่งที่นา่ สงสัย ในขณะที่คณิตศาสตร์ เรขาคณิต และการศึกษา ในสิ่งซึง่ เป็ นพื ้นฐานที่สดุ และเป็ นเรื่องทัว่ ไปที่สดุ (ไม่วา่ จะมีอยูจ่ ริ งในธรรมชาติหรื อไม่) มีอะไรบางอย่าง ที่แน่นอนและไม่สามารถสงสัยได้ เพราะไม่ว่าฉันจะนอนหลับหรื อตื่นอยู่ สองบวกสามย่อมได้ ห้า และ สี่เหลี่ยมย่อมมีสี่ด้าน ดูเหมือนจะเป็ นไปไม่ได้ เลย ที่จะสงสัยความจริ งพวกที่เห็นได้ ตรงๆเช่นนี ้ว่าอาจเป็ น เท็จ
9
So it seems reasonable to conclude that physics, astronomy, medicine, and all other sciences dealing with things that have complex structures are doubtful; while arithmetic, geometry and other studies of the simplest and most general things – whether they really exist in nature or not – contain something certain and indubitable. For whether I am awake or asleep, two plus three makes five, and a square has only four sides. It seems impossible to suspect that such obvious truths might be false. อย่างไรก็ตาม ฉันเชื่อมัน่ มาตลอดว่ามีพระเจ้ าผู้ทรงอานุภาพผู้ซงึ่ สร้ างให้ ฉนั เป็ นอย่างที่ฉนั เป็ น ฉันจะ รู้ได้ อย่างไรว่าพระเจ้ าจะไม่ได้ บนั ดาลให้ ไม่ให้ มีโลก ไม่ให้ มีท้องฟ้า ไม่ให้ มีอะไรที่กินพื ้นที่ ไม่มีรูปทรง ไม่มีขนาด ไม่มตี ำาแหน่ง ในขณะที่ทำาทุกอย่างที่ทำาได้ เพื่อให้ สิ่งพวกนี ้ปรากฏต่อฉันว่ามีจริ ง ? แต่ในบาง เวลาฉันก็คดิ ว่าผู้อื่นผิดในขณะที่เขาเชื่อว่าเขารู้เรื่ องนันอย่ ้ างสมบูรณ์ แล้ วฉันจะรู้ได้ อย่างไรว่าตัวฉันเอง ไม่ได้ ทำาผิด ทุกครัง้ ที่ฉนั บวกสองกับสาม หรื อทุกครัง้ ที่ฉนั นับด้ านของสี่เหลี่ยม? คุณอาจจะบอกว่า พระเจ้ าไม่ยอมปล่อยให้ ฉนั ถูกหลอกแบบนันหรอก ้ เพราะกล่าวกันว่าพระเจ้ าเป็ นผู้ที่มีคณ ุ ธรรมสูงสุด แต่ ฉันคงตอบว่า ถ้ าความดีของพระเจ้ า จะทำาให้ พระเจ้ าไม่ยอมให้ ฉนั ถูกหลอกไปเสียทุกครัง้ ไป คุณก็คง หวังว่า นัน่ จะทำาให้ พระเจ้ าไม่ยอมให้ ฉนั ถูกหลอกแม้ แต่เพียงในบางครัง้ บางคราว แต่เห็นได้ ชดั ว่าในบาง เวลาฉันถูกหลอก However, I have for many years been sure that there is an all-powerful God who made me to be the sort of creature that I am. How do I know that he hasn’t brought it about that there is no earth, no sky, nothing that takes up space, no shape, no size, no place, while making sure that all these things appear to me to exist? Anyway, I sometimes think that others go wrong even when they think they have the most perfect knowledge; so how do I know that I myself don’t go wrong every time I add two and three or count the sides of a square? Well, you might say·, God would not let me be deceived like that, because he is said to be supremely good. But, I reply, if God’s goodness would stop him from letting me be deceived all the time, you would expect it to stop him from allowing me to be deceived even occasionally; yet clearly I sometimes am deceived. คนบางคนอาจปฏิเสธความมีอยูข่ องพระเจ้ าผู้ทรงอานุภาพเช่นนัน้ ยิ่งกว่าที่จะเชื่อว่าสิ่งอื่นทังหลาย ้ ไม่แน่นอน แต่เพื่อประโยชน์ของการถกเถียงขอให้ เรายอมรับตามพวกเขาไปก่อนว่าพระเจ้ าไม่มีอยูจ่ ริ ง และเทววิทยาเป็ นนิยาย ดังนัน้ ตามทัศนะของพวกเขา ฉันเป็ นผลผลิตของชะตากรรม หรื อความบังเอิญ หรื อ สายของสาเหตุและผล แต่ยิ่งพวกเขาทำาให้ สาเหตุเริ่ มต้ นของฉันเป็ นสิ่งที่มีอานุภาพน้อยลงเท่าใด ก็ ยิ่งเป็ นไปได้ มากยิ่ งขึ้นเท่านันว่ ้ า ฉันจะไม่สมบูรณ์แบบอย่างที่จะถูกหลอกได้ ตลอดเวลา (เพราะการ หลอกและความผิดพลาดดูเหมือนจะเป็ นความไม่สมบูรณ์แบบ) ด้ วยการที่ไม่มีคำาตอบให้ กบั ข้ อโต้ เถียง
10
เหล่านี ้ ฉันถูกผลักให้ กลับไปอยูบ่ นจุดยืนที่ว่าความเชื่อก่อนๆทังหมดของฉั ้ นเป็ นสิ่งที่สามารถที่จะตังข้ ้ อ สงสัยได้ ทงสิ ั ้ ้น ฉันไม่ได้ บรรลุถึงข้ อสรุปนี ้ด้ วยการคิดแบบลวกๆ เล่นๆ แต่บนฐานของเหตุผลที่หนักแน่น และไตร่ตรองอย่างรอบคอบแล้ ว ดังนัน้ ในอนาคตถ้ าฉันต้ องการจะค้ นพบความจริ งอันแน่นอนใดๆ ฉัน ต้ องระงับการยอมรับต่อความเชื่อที่ฉนั มีอยูก่ ่อนหน้ านี ้อย่างระแวดระวัง เท่าๆ กับที่ระงับการยอมรับใน สิ่งที่ปรากฏชัดว่าเป็ นเท็จ Some people would deny the existence of such a powerful God rather than believe that everything else is uncertain. Let us grant them – for purposes of argument – that there is no God, and theology is fiction. On their view, then, I am a product of fate or chance or a long chain of causes and effects. But the less powerful they make my original cause, the more likely it is that I am so imperfect as to be deceived all the time – because deception and error seem to be imperfections. Having no answer to these arguments, I am driven back to the position that doubts can properly be raised about any of my former beliefs. I don’t reach this conclusion in a flippant or casual manner, but on the basis of powerful and well thought-out reasons. So in future, if I want to discover any certainty, I must withhold my assent from these former beliefs just as carefully as I withhold it from obvious falsehoods. กระนัน้ เพียงแค่ตระหนักถึงเรื่องนี ้ ยังไม่อาจนับว่าเพียงพอ ฉันต้ องพยายามจดจำามันให้ ได้ ความคิด เห็นเก่าๆ ที่ค้ นุ เคยคอยหวนกลับมาอยูเ่ รื่อยๆ แล้ วก็เข้ ายึดความเชื่อของฉันโดยที่ฉนั ไม่เต็มใจ ราวกับว่า พวกมันมีสิทธิ์ ที่จะเข้ ามานัง่ อยูใ่ นระบบความเชื่อของฉัน ด้ วยเหตุแห่งการที่พวกมันยึดครองที่นงั่ นันอยู ้ ่ นานและเป็ นไปตามกฎของธรรมเนียม เป็ นจริงว่าความคิดเห็นอันเป็ นไปตามนิสยั พวกนี ้ของฉันน่าจะ จริ งอย่างยิ่ง แม้ ว่าในแง่หนึง่ จะน่าสงสัย อย่างที่แสดงไป แต่ก็ควรต่อเหตุผลที่จะเชื่อมากกว่าที่จะปฏิเสธ แต่ถ้าฉันจะยังมองพวกมันด้ วยวิธีนี ้ต่อไปเรื่อยๆ ฉันก็จะไม่มีวนั ละนิสยั ที่จะยอมรับพวกมันอย่างมัน่ อกมัน่ ใจ ดังนัน้ เพื่อที่จะเอาชนะนิสยั นัน้ ฉันก็ควรจะกลับหลังหันและแสร้ งทำา (สักขณะหนึง่ ) ว่าความ คิดเห็นแต่เดิมของฉันพวกนี ้เป็ นเท็จและเป็ นเพียงผลของจินตนาการล้ วนๆ ฉันจะทำาเช่นนี ้ จนกว่าฉันจะ มีอะไรมาถ่วงน้ำ าหนักของทัศนะเก่าๆ และจนกว่าอิทธิพลที่บิดเบือนของนิสยั จะไม่กนั ฉันออกจากการ ตัดสินความอย่างถูกต้ องอีกต่อไป ไม่วา่ ฉันจะถือทัศนคติที่ไม่ยอมไว้ ใจของฉันไปไกลแค่ไหนก็จะไม่เกิด อันตรายจริ งๆแต่อย่างใด เพราะว่าแผนการของฉันจะไม่กระทบต่อการกระทำาของฉัน และจะกระทบก็แต่ ในเรื่ องของวิธีที่ฉนั หาความรู้เท่านัน้ It isn’t enough merely to have noticed this, though; I must make an effort to remember it. My old familiar opinions keep coming back, and against my will they capture my belief. It is as though they had a right to a place in my belief-system as a result of long occupation and the law of custom. It is true that these habitual opinions of mine are highly probable; although
11
they are in a sense doubtful, as I have shown, it is more reasonable to believe than to deny them. But if I go on viewing them in that light I shall never get out of the habit of confidently assenting to them. To conquer that habit, therefore, I had better switch right around and pretend (for a while) that these former opinions of mine are utterly false and imaginary. I shall do this until I have something to counter-balance the weight of old opinion, and the distorting influence of habit no longer prevents me from judging correctly. However far I go in my distrustful attitude, no actual harm will come of it, because my project won’t affect how I act, but only how I go about acquiring knowledge. ดังนัน้ ฉันจะสมมติว่าปี ศาจเจ้ าเล่ห์ที่เก่งกล้ าสามารถ ได้ ทำาทุกอย่างที่เขาจะทำาได้ เพื่อที่จะหลอกลวง ฉัน (ไม่ใช่วา่ ทำาโดยพระเจ้ าผู้ประเสริ ฐสุดและผู้เป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความจริ ง ) ฉันจะคิดว่าท้ องฟ้า อากาศ โลก สี รูปทรง เสียง และสิ่งภายนอกทังหลาย ้ เป็ นเพียงความฝั นที่ปีศาจนันเสกสรรปั ้ น้ แต่งขึ ้นมา ให้ เป็ นหลุม พรางสำาหรับการตัดสินจริงเท็จของฉัน ฉันจะถือว่าตัวเองไม่มีมือ หรื อตา หรื อเลือดเนื ้อ หรื อประสาท สัมผัส แต่กลับเชื่อไปเองอย่างผิดๆ ว่าฉันมีสิ่งต่างๆ พวกนัน้ ฉันจะดึงดันอยูใ่ นกระบวนความคิดนี ้อย่าง ถึงที่สดุ และแม้ นว่าฉันไม่อาจเรียนรู้ความจริ งใดเลย อย่างน้ อยที่สดุ ฉันก็ทำาในสิ่งที่สามารถกระทำาได้ ซึง่ ก็คือระวังที่จะไม่ยอมรับความเท็จใดๆ เพื่อที่เจ้ านักต้ มตุน๋ (ไม่ว่าจะเจ้ าเล่ห์แสนกลสักเพียงไหน) จะไม่ อาจทำาอะไรฉันได้ แม้ สกั น้ อยนิด นี่จะเป็ นงานที่ยาก และการเผลอปล่อยตัวแม้ สกั เล็กน้ อย ก็อาจจะดึง ฉันกลับไปสูว่ ิถีเดิมๆ ของฉัน So I shall suppose that some malicious, powerful, cunning demon has done all he can to deceive me – rather than this being done by God, who is supremely good and the source of truth. I shall think that the sky, the air, the earth, colours, shapes, sounds and all external things are merely dreams that the demon has contrived as traps for my judgment. I shall consider myself as having no hands or eyes, or flesh, or blood or senses, but as having falsely believed that I had all these things. I shall stubbornly persist in this train of thought; and even if I can’t learn any truth, I shall at least do what I can do, which is to be on my guard against accepting any falsehoods, so that the deceiver – however powerful and cunning he may be – will be unable to affect me in the slightest. This will be hard work, though, and a kind of laziness pulls me back into my old ways. เช่นเดียวกับนักโทษที่ฝันว่าตนเองเป็ นอิสระ เริ่ มที่จะสงสัยว่ามันเป็ นเพียงแค่ความฝั น แล้ วอยากที่จะ ฝั นต่อไปมากกว่าที่จะตื่นขึ ้นมา ดังนันฉั ้ นพอใจที่จะย้ อนกลับไปมีความคิดเห็นแบบเดิมๆ ฉันกลัวที่จะถูก กระชากออกจากความคิดเห็นพวกนัน้ เพราะฉันกลัวที่ความฝั นอันสงบของฉันจะตามมาด้ วยการทำางาน
12
ที่หนักหนาในยามตื่น และฉันจะต้ องต่อสู้ดิ ้นรน ไม่ใช่ในแสงสว่าง แต่ในกรงขังแห่งความมืดมิด ของ ปั ญหาที่ฉนั ได้ ก่อขึ ้น Like a prisoner who dreams that he is free, starts to suspect that it is merely a dream, and wants to go on dreaming rather than waking up, so I am content to slide back into my old opinions; I fear being shaken out of them because I am afraid that my peaceful sleep may be followed by hard labour when I wake, and that I shall have to struggle not in the light but in the imprisoning darkness of the problems I have raised.
13
ข้ อพินิจทีส่ อง ธรรมชาติแห่ งจิตมนุษย์ และทำาไมจึงรู้ถงึ จิตได้ ดกี ว่ าร่ างกาย SECOND MEDITATION: The nature of the human mind, and how it is better known than the body การพินิจพิเคราะห์เมื่อวานก่อในเกิดข้ อสงสัย (ที่ร้ายแรงเกินกว่าที่จะละเลยได้ ) ที่ฉนั ไม่เห็นวิธีที่จะ แก้ ไข ฉันรู้สกึ เหมือนคนที่อยูด่ ีๆ ก็ถกู โยนลงไปในน้ำ าวน ถูกเหวี่ยงไปมา ทำาให้ ไม่สามารถยืนที่ก้นหรื อว่าย ขึ ้นมาเหนือน้ำ าได้ อย่างไรก็ตาม ฉันจะขืนสู้ และจะพยายามอีกครัง้ ที่จะดำาเนินแผนการที่ฉนั ได้ ริเริ่ มขึ ้น เมื่อวานให้ สำาเร็จ ฉันจะปล่อยวางอะไรก็ตามที่เปิ ดรับต่อการสงสัยแม้ แต่น้อยน้ อยที่สดุ ปฏิบตั ิราวกับว่า ฉันได้ พบแล้ วว่ามันเป็ นเท็จ และฉันจะค้ นหาต่อไปจนกว่าฉันจะพบอะไรที่แน่นอน หรื อ (ที่แย่ที่สดุ ) จนกว่าฉันจะพบอย่างแน่นอนว่าไม่มีอะไรที่แน่นอน อะคามีดิสพูดว่าถ้ าเขาหาจุดที่ตรึงแน่นไม่ ขยับเขยื ้อนได้ สกั จุดหนึง่ เขาจะสามารถยกโลกได้ ด้วยคานงัดที่ยาวพอ ดังนัน้ ฉันก็หวังในสิ่งที่ยิ่งใหญ่ได้ เช่นกัน ถ้ าฉันสามารถหาสิ่งเล็กๆ ที่แน่นอนและมัน่ คงได้ เจอ Yesterday’s meditation raised doubts – ones that are too serious to be ignored – which I can see no way of resolving. I feel like someone who is suddenly dropped into a deep whirlpool that tumbles him around so that he can neither stand on the bottom nor swim to the top. However, I shall force my way up, and try once more to carry out the project that I started on yesterday. I will set aside anything that admits of the slightest doubt, treating it as though I had found it to be outright false; and I will carry on like that until I find something certain, or – at worst – until I become certain that there is no certainty. Archimedes said that if he had one firm and immovable point he could lift the world ·with a long enough lever·; so I too can hope for great things if I manage to find just one little thing that is solid and certain. ฉันจะคิดเสียว่าทุกอย่างที่ฉนั เห็นนันจอมปลอม ้ ฉันจะเชื่อว่าความจำาของฉันบอกแต่เรื่ องโกหก ฉัน ไม่มีประสาทสัมผัส ร่างกาย รูปทรง พื ้นที่ การเคลื่อนไหว ตำาแหน่ง ล้ วนเป็ นมายา ดังนันแล้ ้ วจะเหลือ อะไรที่เป็ นจริง? บางที อาจจะมีแค่ข้อเท็จจริ งหนึง่ เดียวที่ว่าไม่มีอะไรที่แน่นอน!
14
I will suppose, then, that everything I see is fictitious. I will believe that my memory tells me nothing but lies. I have no senses. Body, shape, extension, movement and place are illusions. So what remains true? Perhaps just the one fact that nothing is certain! อย่างไรก็ตามฉันจะรู้ได้ อย่างไรว่าไม่มีอะไรบางอย่าง (ที่ไม่อยูใ่ นรายการนัน) ้ ที่ไม่เหลือพื ้นที่ให้ ความ สงสัยแม้ สกั น้ อยนิด ไม่จริงหรือว่ามีพระเจ้ า (เรียกว่าอย่างไรก็ได้ ตามใจคุณ) ผู้ที่ให้ ความคิดต่างๆที่ฉนั กำาลังมีอยูต่ อนนี ้แก่ฉนั แล้ วทำาไมฉันถึงคิดอย่างนี ้ เพราะตัวฉันเองอาจจะเป็ นผู้ที่สร้ างความคิดพวกนี ้ขึ ้น มาก็ได้ ไม่ใช่หรื อ? ดังนันสิ ้ ่งที่ตามมาก็คือ อย่างน้ อยที่สดุ ฉันก็คืออะไรบางอย่างไม่ใช่หรื อ? นี่ชวนให้ สับสนอย่างยิ่ง เพราะว่าฉันเพิ่งจะบอกว่าฉันไม่มีอายาตนะและร่างกาย และฉันผูกพันกับร่างกายกับ ประสาทสัมผัสเสียจนคนคงคิดว่าฉันไม่สามารถมีอยูไ่ ด้ โดยไม่มีสิ่งพวกนัน้ ตอนนี ้ฉันได้ ทำาให้ ตวั เองเชื่อ ว่าโลกนี ้ไม่มีอะไร (ไม่มีท้องฟ้า ไม่มีกายวัตถุทงหลาย ั้ ไม่มีแม้ กระทังโลกเอง) ้ ย่อมหมายความไม่ใช่หรื อ ว่าฉันเองก็ไม่มีอยูจ่ ริงด้ วยเช่นกัน? เปล่าเลย มันมิได้ หมายความเช่นนัน้ เพราะถ้ าฉันทำาให้ตวั เองเชื อ่ มัน่ ในบางอย่าง ฉันก็ต้องมีอยู่จริ งอย่างแน่นอน Still, how do I know that there isn’t something – not on that list – about which there is no room for even the slightest doubt? Isn’t there a God (call him what you will) who gives me the thoughts I am now having? But why do I think this, since I might myself be the author of these thoughts? But then doesn’t it follow that I am, at least, something? This is very confusing, because I have just said that I have no senses and no body, and I am so bound up with a body and with senses that one would think that I can’t exist without them. Now that I have convinced myself that there is nothing in the world – no sky, no earth, no minds, no bodies – does it follow that I don’t exist either? No it does not follow; for if I convinced myself of something then I certainly existed. แต่มีนกั ต้ มตุน๋ ที่เจ้ าเล่ห์แสนกลและทรงพลังอย่างที่สดุ ที่จงใจหลอกฉันอยูต่ ลอดเวลา! แม้ กระนัน้ ถ้ า เขากำาลังหลอกฉัน ฉันก็ต้องมีอยูจ่ ริงอย่างไม่ต้องสงสัย ให้ เขาพยายามหลอกฉันอย่างสุดกำาลัง เขาก็ไม่มี ทางทำาให้ เป็ นจริ งขึ ้นมาได้ ว่าฉันไม่ใช่อะไร ในขณะที่ฉนั กำ าลังคิ ดว่าฉันคืออะไรบางอย่าง ดังนันหลั ้ งจาก การคิดพิจารณาทบทวนเรื่องทังหมด ้ ฉันสรุปได้ วา่ ประพจน์ว่า ฉันมี อยู่ ต้ องเป็ นจริ ง ตราบใดที่ฉนั ยืนยัน มัน หรื อคิดถึงมัน But there is a supremely powerful and cunning deceiver who deliberately deceives me all the time! Even then, if he is deceiving me I undoubtedly exist: let him deceive me all he can, he will never bring it about that I am nothing while I think I am something. So after thoroughly
15
thinking the matter through I conclude that this proposition, I am, I exist, must be true whenever I assert it or think it. แต่‘ฉัน’ที่วา่ นี ้ที่ต้องมีอยูจ่ ริง ฉันก็ยงั ไม่เข้ าใจอย่างเป็ นจริ งเป็ นจังว่าคืออะไรกันแน่ เพราะฉะนันฉั ้ นจึง เสี่ยงที่จะสับสนมันกับอย่างอื่น ซึง่ ก็จะเป็ นการถลำาไปสูค่ วามผิดพลาดในเรื่ องของตัวความรู้ที่ฉนั ยืนยัน ว่าแน่นอนและชัดเจนที่สดุ นัน่ เอง ดังนัน้ เพื่อที่จะคิดให้ ออกว่า‘ฉัน’ที่ว่านี ้คืออะไร ฉันจะย้ อนกลับและคิด ให้ มากขึ ้นไปอีกว่าฉันเชื่อว่าฉันคืออะไรก่อนที่ฉนั จะได้ เริ่ มการพินิจพิเคราะห์นี ้ ฉันจะตัดอะไรก็ตามใน ความเชื่อพวกนัน้ ที่สามารถตังข้ ้ อสงสัยได้ แม้ เพียงสักน้ อยนิดจากข้ อโต้ เถียงที่ฉนั ใช้ มา ซึง่ จะเหลือไว้ ให้ ฉันก็แต่เพียงความเชื่อเกี่ยวกับตัวฉันเองที่แน่นอนและมัน่ คง But this ‘I’ that must exist I still don’t properly understand what it is; so I am at risk of confusing it with something else, thereby falling into error in the very item of knowledge that I maintain is the most certain and obvious of all. To get straight about what this ‘I’ is, I shall go back and think some more about what I believed myself to be before I started this meditation. I will eliminate from those beliefs anything that could be even slightly called into question by the arguments I have been using, which will leave me with only beliefs about myself that are certain and unshakeable. ถ้ าอย่างนันสิ ้ ่งที่ฉนั คิดว่าฉันเป็ นในตอนนันคื ้ ออะไร? มนุษย์คนหนึง่ กระมัง แต่มนุษย์คืออะไรละ? ฉัน ควรพูดว่าสัตว์ที่มีเหตุผลหรือไม่? ไม่เลย เพราะถ้ าอย่างนันฉั ้ นก็จะต้ องถามต่อว่าสัตว์คืออะไรและ เหตุผลคืออะไร (แต่ละคำาถามคงจะนำาไปสูค่ ำาถามอื่นที่ยากกว่าเก่า และนี่จะใช้ เวลามากกว่าที่ฉนั จะมี ให้ ) แทนที่จะทำาเช่นนัน้ ขอให้ ฉนั พิจารณาความคิดง่ายๆ ที่ผดุ ขึ ้นมาในใจเมื่อไหร่ก็ตามที่ฉนั คิดว่าฉันคือ อะไร ความคิดแบบนันอย่ ้ างแรกก็คือ ฉันเชื่อว่าฉันมี หน้ า มือ แขนและส่วนอื่นๆที่ศพก็มีซงึ่ ฉันเรี ยกมันว่า กาย ความเชื่อต่อไปก็คือ ฉันกินและดื่มเคลื่อนที่ไปมา วุน่ อยูก่ บั การใช้ ประสาทสัมผัสรับรู้โลกและกับ การคิด โดยฉันเชื่อว่าสิ่งพวกนี ้ถูกกระทำาโดยวิ ญญาณ ถ้ าเกิดฉันคิดว่าวิญญาณเป็ นอย่างไร ฉันคง จินตนาการว่ามันเป็ นอะไรที่บางเบาและโปร่งใสเหมือนอย่างลม หรื อไฟ หรื อธาตุอากาศ ซึมซาบอยูใ่ น ส่วนที่เป็ นเนื ้อหนังมังสาของฉัน แต่ด้วยการที่คดิ ว่ารู้แน่วา่ ร่างกายคืออะไรฉันจึงมัน่ ใจในร่างกาย มากกว่า แล้ วถ้ าฉันจะพยายามแสดงความคิดเรื่ องร่างกายของฉันออกมาเป็ นคำาพูด ฉันคงจะพูดว่า ด้ วย คำาว่า ‘กาย’ หรือ ‘กายวัตถุ’ ฉันเข้ าใจว่าคืออะไรก็ตามที่มีรูปร่างและตำาแหน่งที่แน่นอน และสามารถ ครองพื ้นที่ในอวกาศในลักษณะที่ขวางกันไม่ ้ ให้ กายอืน่ วัตถุอนื่ ทังหมดเข้ ้ าไปอยูใ่ นพื ้นที่นนั ้ สามารถถูก รับรู้ได้ โดยการสัมผัส การมองเห็น การได้ ยิน การรับรสและกลิ่น และสามารถที่จะเคลื่อนไหวได้ ใน ลักษณะต่างๆ Well, then, what did I think I was? A man. But what is a man? Shall I say ‘a rational animal'? No; for then I should have to ask what an animal is, and what rationality is – each question
16
would lead me on to other still harder ones, and this would take more time than I can spare. Let me focus instead on the beliefs that spontaneously and naturally came to me whenever I thought about what I was. The first such belief was that I had a face, hands, arms and the whole structure of bodily parts that corpses also have – I call it the body. The next belief was that I ate and drank, that I moved about, and that I engaged in sense-perception and thinking; these things, I thought, were done by the soul. If I gave any thought to what this soul was like, I imagined it to be something thin and filmy – like a wind or fire or ether – permeating my more solid parts. I was more sure about the body, though, thinking that I knew exactly what sort of thing it was. If I had tried to put my conception of the body into words, I would have said this: By a ‘body’ I understand whatever has a definite shape and position, and can occupy a ·region of· space in such a way as to keep every other body out of it; it can be perceived by touch, sight, hearing, taste or smell, and can be moved in various ways. ฉันคงจะขอเสริมว่ากายวัตถุไม่สามารถที่จะเริ่ มต้ นเคลื่อนไหวได้ ด้วยตัวของมันเอง และสามารถ เคลื่อนที่ก็แต่โดยการถูกทำาให้ เคลื่อนที่โดยสิ่งอื่นที่มากระทบมัน สำาหรับฉันมันดูแปลกๆที่กายวัตถุหนึง่ จะสามารถเริ่ มต้ นการเคลื่อนไหวได้ เอง หรือสามารถที่จะรับรู้หรื อคิด ฉันรู้สกึ ฉงนต่อการที่บางกายวัตถุ ได้ แก่ร่างกายมนุษย์ สามารถทำาเช่นนันได้ ้ I would have added that a body can’t start up movements by itself, and can move only through being moved by other things that bump into it. It seemed to me quite out of character for a body to be able to initiate movements, or to able to sense and think, and I was amazed that certain bodies – ·namely, human ones· – could do those things. แต่ตอนนี ้ฉันกำาลังสมมติว่ามีสิ่งที่ทรงพลังและชัว่ ร้ ายกำาลังหลอกลวงฉันอยูใ่ นทุกวิถีทางดังนันตอนนี ้ ้ ฉันจะพูดว่าฉันคืออะไรได้ บ้าง? ฉันสามารถที่จะอ้ างตอนนี ้วา่ มีคณ ุ ลักษณะที่ฉนั เคยคิดว่าเป็ นของกาย วัตถุได้ บ้างหรื อไม่? เมื่อฉันคิดถึงของพวกนันอย่ ้ างละเอียดถี่ถ้วนจริ งๆ ฉันพบว่าคุณลักษณะพวกนัน้ ล้ วนแต่มีข้อให้ อาจสงสัยได้ ฉันจะไม่เสียเวลาแสดงให้ เห็นเช่นนันแยกกั ้ นไปทีละอย่าง แล้ วเรื่ องของ คุณลักษณะที่ฉนั อธิบายว่าเป็ นของวิญญาณละ? การกินอาหารหรื อการเคลื่อนไหว ในเมื่อฉันกำาลัง สมมุติว่าฉันไม่มีร่างกาย คุณลักษณะพวกนันก็ ้ เป็ นเพียงแค่เรื่ องเพ้ อเจ้ อ การรับรู้ทางประสาทสัมผัสละ? สิ่งหนึง่ ต้ องมีต้องมีร่างกายถึงจะรับรู้โลกได้ และยิ่งกว่านัน้ ในขณะที่ฉนั กำาลังหลับอยูม่ นั ดูเหมือนว่าฉัน รับรู้หลายสิ่งหลายอย่างผ่านประสาทสัมผัส แต่ตอ่ มาฉันพบว่าไม่ได้ รับรู้ในลักษณะอย่างนันเลย ้ แล้ ว การคิดละ? ในที่สดุ ฉันก็ค้นหามันจนพบ ความคิด! นี่คือสิ่งที่ไม่สามารถที่จะแยกจากการเป็ นฉันได้ ฉัน เป็ นอยู่ ฉันมีอยู่ นี่เป็ นสิ่งที่แน่นอน แต่จะนานสักแค่ไหน? นานตราบเท่าที่ฉนั กำาลังคิดอยู่ แต่อาจไม่นาน ไปกว่านัน้ อาจจะเป็ นว่าถ้ าฉันหยุดคิดฉันก็จะสิ ้นสุดความมีอยู่ และฉันต้ องปฏิบตั ิตอ่ ความเป็ นไปได้ นี ้
17
เสมือนกับว่ามันเป็ นจริง เพราะว่าหลักการปั จจุบนั ของฉันคือปฏิเสธทุกอย่างที่ไม่เป็ นจริ งอย่างเด็ดขาด ตายตัว พูดให้ ชดั เจนก็คือ ฉันเป็ นแค่สิ่งหนึง่ ที่คิด เป็ นจิตหรื อสติปัญญา หรื อความเฉลียวฉลาด หรื อ เหตุผล สิ่งพวกนี ้เป็ นคำาซึง่ ฉันเพิ่งจะรู้ความหมายของพวกมัน กระนัน้ ฉันก็เป็ นสิ่งที่มีอยูจ่ ริ ง แต่เป็ นสิ่ง เช่นไรละ? ฉันได้ ตอบคำาถามนันไปแล้ ้ ว นัน่ ก็คือ ฉันคือสิ่งที่คิด But now that I am supposing there is a supremely powerful and malicious deceiver who has set out to trick me in every way he can – now what shall I say that I am? Can I now claim to have any of the features that I used to think belong to a body? When I think about them really carefully, I find that they are all open to doubt: I shan’t waste time by showing this about each of them separately. Now, what about the features that I attributed to the soul? Nutrition or movement? Since now I am pretending that I don’t have a body, these are mere fictions. Sense-perception? One needs a body in order to perceive; and, besides, when dreaming I have seemed to perceive through the senses many things that I later realized I had not perceived in that way. Thinking? At last I have discovered it – thought! This is the one thing that can’t be separated from me. I am, I exist – that is certain. But for how long? For as long as I am thinking. But perhaps no longer than that; for it might be that if I stopped thinking I would stop existing; and I have to treat that possibility as though it were actual, because my present policy is to reject everything that isn’t necessarily true. Strictly speaking, then, I am simply a thing that thinks – a mind, or intelligence, or intellect, or reason, these being words whose meaning I have only just come to know. Still, I am a real, existing thing. What kind of a thing? I have answered that: a thinking thing. แล้ วฉันเป็ นอะไรอื่นอีกหรือไม่? ฉันจะใช้ จิตนาการของฉันเพื่อดูวา่ ฉันเป็ นอะไรมากกว่านัน้ ฉันไม่ใช่ สิ่งที่มาจากการประกอบของชิ ้นส่วนต่างๆที่ฉนั เรี ยกว่าร่างกายมนุษย์ และก็ไม่ใช่กลุม่ ไอที่ซมึ ซาบอยูใ่ น ร่างกาย ได้ แก่ลม ไฟ อากาศ ลมหายใจ หรื ออะไรก็ตามที่ฉนั จินตนาการขึ ้นมา เพราะฉันได้ คิดไว้ แล้ วว่า ทุกอย่างที่กล่าวมานี ้ล้ วนไม่มีอยู่ จากที่ฉนั ได้ คดิ ไว้ ก่อนว่ากายวัตถุทกุ อย่างไม่มีอยูจ่ ริ ง ถึงแม้ ฉนั ยังคงคิด ต่อไปว่าของพวกนัน้ ไม่มีจริง ฉันก็ยงั เป็ นอะไรบางอย่างอยู่ แต่สิ่งพวกนี ้ที่ฉนั คิดว่าไม่มีอยูเ่ พราะว่าฉัน ไม่ร้ ูถึงพวกมัน ที่จริงแล้ วพวกมันอาจจะเป็ นสิ่งหนึง่ สิ่งเดียวกันกับฉันที่ฉนั รู้อยูห่ รื อเปล่า? ฉันไม่ร้ ู และ สำาหรับตอนนี ้ฉันจะไม่พดู ถึงมัน เพราะฉันสามารถจะสร้ างความคิดเห็นขึ ้นมาได้ ก็แต่เฉพาะเกี่ยวกับ สิ่งที่ ฉันรู้เท่านัน้ ฉันรู้วา่ ฉันมีตวั ตนและฉันกำาลังถามว่าฉันที่ฉนั รู้นี ้คืออะไร? ความรู้ของฉันเกี่ยวกับมันไม่อาจ ขึ ้นกับสิ่งที่ฉนั ไม่ร้ ูว่ามีอยูจ่ ริงหรือไม่ ดังนันฉั ้ นจะไม่พงึ่ อะไรที่ฉนั สร้ างขึ ้นมาในจินตนาการ คำาว่า‘สร้ างขึ ้น มา’ชี ้ให้ เห็นว่ามันผิดพลาดแค่ไหนที่จะพึง่ จินตนาการในเรื่ องนี ้ ถ้ าฉันใช้ จินตนาการเพื่อแสดงให้ เห็นว่า ฉันเป็ นอะไรสักอย่างหนึง่ นัน่ คงจะเป็ นเพียงแค่สิ่งที่สรรค์สร้ างขึ ้น เป็ นแค่เพียงนิยาย เพราะการ
18
จินตนาการเป็ นแค่การคิดไตร่ตรองถึงลักษณะรูปร่างของสิ่งที่มีกาย นันทำ ้ าให้ การจิตนาการน่าสงสัย เพราะขณะที่ฉนั รู้อย่างแน่นอนว่าฉันมีอยูจ่ ริง ฉันก็ร้ ูว่าทุกอย่างที่เกี่ยวข้ องกับธรรมชาติของร่างกาย รวม ถึงจินตนาการ อาจเป็ นแค่ความฝั น ดังนันคงจะเป็ ้ นเรื่ องเหลวไหลที่จะพูดว่า ‘ฉันจะใช้ จินตนาการมาส ร้ างความกระจ่างให้ กบั ความเข้ าใจว่าฉันคืออะไร’ เหลวไหลเท่ากับที่จะพูดว่า‘ฉันกำาลังตื่นอยูแ่ ละเห็น ความจริ งบางอย่าง แต่ฉนั จะตังใจนอนหลั ้ บเพื่อที่จะเห็นความจริ งมากขึ ้นและที่เป็ นจริ งยิ่งกว่านันใน ้ ความฝั น!’ ถ้ าจิตฉันตังใจที ้ ่จะเข้ าใจธรรมชาติของตัวมันเองให้ กระจ่าง มันไม่ควรจะหันไปหาจินตนาการ เพื่องานนี ้ What else am I? I will use my imagination to see if I am anything more. I am not that structure of limbs and organs that is called a human body; nor am I a thin vapour that permeates the limbs – a wind, fire, air, breath, or whatever I imagine; for I have supposed all these things to be nothing because I have supposed all bodies to be nothing. Even if I go on supposing them to be nothing, I am still something. But these things that I suppose to be nothing because they are unknown to me – might they not in fact be identical with the I of which I am aware? I don’t know; and just now I shan’t discuss the matter, because I can form opinions only about things that I know. I know that I exist, and I am asking: what is this I that I know? My knowledge of it can’t depend on things of whose existence I am still unaware; so it can’t depend on anything that I invent in my imagination. The word ‘invent’ points to what is wrong with relying on my imagination in this matter: if I used imagination to show that I was something or other, that would be mere invention, mere story-telling; for imagining is simply contemplating the shape or image of a bodily thing. That makes imagination suspect, for while I know for sure that I exist, I know that everything relating to the nature of body – including imagination – could be mere dreams; so it would be silly for me to say ‘I will use my imagination to get a clearer understanding of what I am’ – as silly, indeed, as to say ‘I am now awake, and see some truth; but I shall deliberately fall asleep so as to see even more, and more truly, in my dreams'! If my mind is to get a clear understanding of its own nature, it had better not look to the imagination for it. ถ้ าอย่างนันฉั ้ นคืออะไร? สิ่งที่คิด นัน่ คืออะไร? สิ่งที่สงสัย เข้ าใจ ยืนยัน ไม่ยอมรับ ต้ องการ ปฏิเสธ พร้ อมทังจิ ้ นตนาการและสัมผัสรู้ Well, then, what am I? A thing that thinks. What is that? A thing that doubts, understands, affirms, denies, wants, refuses, and also imagines and senses.
19
นันเป็ ้ นรายการคุณสมบัติที่ยาวสำาหรับฉันที่จะมี และเป็ นจริ งว่าฉันเป็ นผู้ที่มีคณ ุ สมบัติทงหมดนั ั้ น่ ทำาไมถึงไม่ควรจะเป็ นเช่นนันละ? ้ ไม่จริ งดอกหรื อว่า ‘ฉัน’ ผู้ซงึ่ ตอนนี ้สงสัยในเกือบจะทุกอย่าง เข้ าใจใน บางอย่าง ยืนยันในสิ่งหนึง่ ได้ แก่ข้อที่วา่ ฉันมีอยูจ่ ริ ง และคิด ปฏิเสธสิ่งอื่นทังหมด ้ ต้ องการจะรู้มากขึ ้นไป อีก ปฏิเสธที่จะถูกหลอก จินตนาการหลายสิ่งโดยไม่ตงใจ ั ้ และตระหนักถึงสิ่งอื่นที่ดเู หมือนว่ามาจาก ประสาทสัมผัส เป็ นฉันที่เป็ นสิ่งหนึง่ สิ่งเดียวกัน? ไม่จริ งดอกหรื อว่าทังหมดนี ้ ้เป็ นจริ งเท่าๆ กับข้ อที่ว่าฉัน มีอยูจ่ ริง แม้ ว่าฉันจะอยูใ่ นฝั นอันไม่ร้ ูจกั จบสิ ้น และแม้ ว่าผู้ที่สร้ างฉันขึ ้นมากำาลังทำาทุกวิถีทางที่จะหลอง ลวงฉัน? กิจกรรมเหล่านี ้ทังหมดล้ ้ วนเป็ นแง่ของการคิดของฉัน และทังหมดล้ ้ วนไม่สามารถแยกจากตัว ฉัน ข้ อเท็จจริงที่วา่ มันก็คือฉันซึง่ เป็ นผู้ที่สงสัยและเข้ าใจและต้ องการ เป็ นสิ่งที่ชดั แจ้ งเสียจนฉันมองไม่ เห็นวิธีที่จะทำาให้ มนั ชัดแจ้ งไปมากกว่านี ้ แต่‘ฉัน’ผู้ซงึ่ จิ นตนาการนันก็ ้ เป็ น ‘ฉัน’ เดียวกันด้ วย เพราะถึงแม้ (อย่างที่ฉนั กำาลังสมมุติอยู่) สิ่งที่ฉนั จินตนาการขึ ้นมาทังหมดล้ ้ วนไม่มีอยูจ่ ริ ง ก็เป็ นเรื่ องจริ งว่าฉันเป็ นผู้ จิ นตนาการพวกมันขึ้นมา และนี่เป็ นส่วนหนึง่ ของการคิดของฉัน ท้ ายที่สดุ มันก็คือ‘ฉัน’เดียวกันอีกเช่น กันที่เป็ นผู้รับสัมผัสหรือรู้ถึงสิ่งอันเป็ นกายวัตถุตา่ งๆ อย่างที่เหมือนกับว่าผ่านทางประสาทสัมผัส เพราะ ว่าฉันอาจกำาลังฝั นอยูฉ่ นั จึงไม่สามารถกล่าวอย่างแน่นอนลงไปได้ ว่าตอนนี ้ฉันเห็นเปลวไฟ ได้ ยินเสียงไม้ ปะทุแตกและรู้สกึ ถึงความร้ อนของเปลวไฟ แต่ที่แน่นอนก็คือฉันดูเหมื อนว่าเห็น ได้ ยิน และรู้สกึ อุน่ นี ้ไม่ สามารถเป็ นเท็จ อะไรที่ถกู เรียกว่า‘รับรู้ ’ที่จริ งแล้ วเป็ นแค่การดูเหมื อนว่าเป็ นในแบบที่ว่านี ้ และเมื่อ การ‘รับรู้ ’ถูกเข้ าใจในความหมายที่จำากัดเฉพาะนี ้ มันก็เป็ นเพียงแค่การคิดเช่นกัน That is a long list of attributes for me to have – and it really is I who have them all. Why should it not be? Isn’t it one and the same ‘I’ who now doubts almost everything, understands some things, affirms this one thing – namely, that I exist and think, denies everything else, wants to know more, refuses to be deceived, imagines many things involuntarily, and is aware of others that seem to come from the senses? Isn’t all this just as true as the fact that I exist, even if I am in a perpetual dream, and even if my creator is doing his best to deceive me? These activities are all aspects of my thinking, and are all inseparable from myself. The fact that it is I who doubt and understand and want is so obvious that I can’t see how to make it any clearer. But the ‘I’ who imagines is also this same ‘I’. For even if (as I am pretending) none of the things that I imagine really exist, I really do imagine them, and this is part of my thinking. Lastly, it is also this same ‘I’ who senses, or is aware of bodily things seemingly through the senses. Because I may be dreaming, I can’t say for sure that I now see the flames, hear the wood crackling, and feel the heat of the fire; but I certainly seem to see, to hear, and to be warmed. This cannot be false; what is called ‘sensing’ is strictly just
20
this seeming, and when ‘sensing’ is understood in this restricted sense of the word it too is simply thinking. ทังหมดนี ้ ้เริ่ มจะทำาให้ ฉนั เข้ าใจมากยิ่งขึ ้นว่าฉันคืออะไร แต่ฉนั ก็ยงั ช่วยไม่ได้ ที่จะคิดว่า กายวัตถุทงั ้ หลาย ซึง่ ฉันสร้ างภาพขึ ้นในจิตและเป็ นสิ่งที่ประสาทสัมผัสเข้ าไปตรวจสอบ เป็ นสิ่งที่ฉนั รู้อย่างกระจ่าง แจ้ งยิ่งกว่า ‘ฉัน’ ที่ชวนฉงนสนเท่ห์ที่ไม่สามารถสร้ างเป็ นภาพขึ ้นได้ ในจิตนาการ ถ้ านี่เป็ นจริ งก็คงจะน่า ประหลาดใจมาก เพราะคงจะเป็ นเรื่องน่าประหลาดใจ ถ้ าฉันมีความเข้ าใจที่ชดั เจนในสิ่งที่ฉนั รู้ว่าน่า สงสัย ไม่เป็ นที่ร้ ูจกั และแปลกหน้ าต่อฉัน (อันได้ แก่ร่างกาย) ที่มากยิ่งไปกว่าที่ฉนั มีความเข้ าใจในอะไรที่ เป็ นจริ งและเป็ นที่ร้ ูจกั (อันได้ แก่ตวั ฉันเอง) แต่ฉนั เห็นอยูว่ า่ ปั ญหาคืออะไร นัน่ ก็คือ ฉันคอยแต่ที่จะ คล้ อยไปสูข่ ้ อผิดพลาดนันเพราะใจฉั ้ นชอบที่จะออกเดินไปอย่างเรื่ อยเปื่ อย ปฏิเสธที่จะเคารพขอบเขตที่ ความเป็ นจริ งวางไว้ ถ้ าเช่นนันแล้ ้ วละก็ฉนั ก็จะปล่อยให้ มนั ได้ เดินเรื่ อยเปื่ อยไปสักพักหนึง่ เพื่อที่วา่ เมื่อ ถึงเวลาที่จะดึงบังเหียนให้ มนั เข้ าที่เข้ าทาง มันจะได้ ไม่ขดั ขืนมากนักต่อการถูกดึงกลับ All this is starting to give me a better understanding of what I am. But I still can’t help thinking that bodies – of which I form mental images and which the senses investigate – are much more clearly known to me than is this puzzling ‘I’ that can’t be pictured in the imagination. It would be surprising if this were right, though; for it would be surprising if I had a clearer grasp of things that I realize are doubtful, unknown and foreign to me – ·namely, bodies – than I have of what is true and known – namely my own self. But I see what the trouble is: I keep drifting towards that error because my mind likes to wander freely, refusing to respect the boundaries that truth lays down. Very well, then; I shall let it run free for a while, so that when the time comes to rein it in it won’t be so resistant to being pulled back. ขอให้ เราลองพิจารณาสิ่งที่ผ้ คู นมักจะคิดว่าเขาเข้ าใจดีกว่าสิ่งอื่นทังหมด ้ อันได้ แก่กายวัตถุที่เราจับ ต้ องและมองเห็น ฉันไม่ได้ หมายถึงกายวัตถุทวั่ ๆไป (เพราะว่าความคิดโดยทัว่ ไปของเรามีแนวโน้ มที่จะ สับสน) แต่หมายถึงกายวัตถุเฉพาะหนึง่ ชิ ้น ตัวอย่างเช่น ก้ อนขี ้ผึ ้งก้ อนนี ้ มันเพิ่งจะถูกนำามาจากรังผึ ้ง มันยังมีรสชาติของน้ำ าผึ ้งและยังมีกลิ่นของเกสรดอกไม้ ที่ถกู นำามารวมขึ ้นเป็ นน้ำ าผึ ้ง สีรูปร่างและขนาด ของมันเป็ นสิ่งที่เห็นได้ ชดั มันแข็ง เย็นและสามารถที่จะหยิบจับขึ ้นมาได้ อย่างง่ายดาย ถ้ าคุณเคาะมันก็ จะมีเสียง โดยรวมแล้ วมันมีทกุ อย่างที่ดเู หมือนจำาเป็ นต้ องมี สำาหรับการที่เราจะรู้จกั วัตถุชิ ้นหนึง่ อย่าง กระจ่างที่สดุ แต่ขณะที่ฉนั กล่าวคำาพูดพวกนี ้ ฉันนำามันไปเข้ าใกล้ ไฟ แล้ วดูสิ! รสชาดและกลิ่นหายไป สี และรูปเปลี่ยนไป ขนาดขยายออก ขี ้ผึ ้งกลายเป็ นของเหลวและร้ อน แทบจะไม่สามารถสัมผัสได้ และไม่มี เสียเวลาเคาะมัน แต่มนั ยังคงเป็ นขี ้ผึ ้งก้ อนเดิมอยูห่ รื อไม่? แน่นอนว่าใช่ ไม่มีใครปฏิเสธข้ อนี ้ แล้ วก้ อนขี ้ ผึ ้งที่ฉนั เข้ าใจอย่างกระจ่างนันคื ้ ออะไรกันแน่? ที่เด่นชัดก็คือมันไม่มีลกั ษณะตามที่ประสาทสัมผัสได้ บอก
21
ฉันเลย เพราะว่าลักษณะดังกล่าวทังหมดที ้ ่เข้ ามาสูฉ่ นั ผ่านทางรส กลิ่น การมองเห็น การสัมผัสหรื อการ ได้ ยนิ ตอนนี ้ได้ เปลี่ยนไปหมดแล้ ว แต่มนั ก็ยงั คงเป็ นขี ้ผึ ้งก้ อนเดิม Let us consider the things that people ordinarily think they understand best of all, namely the bodies that we touch and see. I don’t mean bodies in general – for our general thoughts are apt to be confused – but one particular body: this piece of wax, for example. It has just been taken from the honeycomb; it still tastes of honey and has the scent of the flowers from which the honey was gathered; its colour, shape and size are plain to see; it is hard, cold and can be handled easily; if you rap it with your knuckle it makes a sound. In short, it has everything that seems to be needed for a body to be known perfectly clearly. But as I speak these words I hold the wax near to the fire, and look! The taste and smell vanish, the colour changes, the shape is lost, the size increases; the wax becomes liquid and hot; you can hardly touch it, and it no longer makes a sound when you strike it. But is it still the same wax? Of course it is; no-one denies this. So what was it about the wax that I understood so clearly? Evidently it was not any of the features that the senses told me of; for all of them – brought to me through taste, smell, sight, touch or hearing – have now altered, yet it is still the same wax. บางทีสิ่งที่ฉนั คิดตอนนี ้เกี่ยวกับขี ้ผึ ้งก้ อนนันบ่ ้ งชี ้ว่าธรรมชาติของมันคืออะไรมาโดยตลอด ถ้ านัน่ เป็ น จริ ง ขี ้ผึ ้งก้ อนนันก็ ้ ไม่ใช่ความหวานของน้ำ าผึ ้ง กลิน่ หอมของดอกไม้ ความขาว รูปร่าง หรื อเสียง แต่น่าจะ เป็ นกายวัตถุที่เพิ่งจะแสดงตัวเองต่อฉันในลักษณะต่างๆ พวกนัน้ แต่ในตอนนี ้เปลี่ยนลักษณะไป แต่สิ่งที่ ฉันกำาลังจินตนาการอยูต่ อนนี ้คืออะไรกันแน่? เอาละ ถ้ าเรานำาเอาสิ่งที่ไม่ได้ เป็ นของขี ้ผึ ้งออกไป (นัน่ คือ อะไรที่แม้ เมื่อไม่มี ขี ้ผึ ้งก็ยงั สามารถเป็ นขี ้ผึ ้งได้ ) สิ่งที่เหลือก็คืออะไรบางอย่างที แ่ ผ่ขยายออกไป ยื ดหยุ่น และเปลี ย่ นแปลงได้ อะไรคือความหมายของ‘ยืดหยุน่ ’และ‘เปลี่ยนแปลงได้ ’ในที่นี ้? ฉันสามารถ จินตนาการขี ้ผึ ้งให้ เปลี่ยนรูปร่างจากกลมเป็ นสี่เหลี่ยม จากสี่เหลี่ยมเป็ นสามเหลี่ยม และรูปทรงอื่นต่อไป เรื่ อยๆ แต่การเปลี่ยนแปลงได้ ก็ไม่ได้ เป็ นอะไรเช่นนัน่ ในการรู้วา่ ขี ้ผึ ้งนันเปลี ้ ่ยนแปลงได้ ฉนั เข้ าใจว่ามัน สามารถผ่านการเปลี่ยนแปลงในแง่นนได้ ั ้ อย่างมากมายไม่มีทีส่ ิ้ นสุด มากไปกว่าที่ฉนั จะสามารถวาด ภาพขึ ้นมาในจินตนาการของฉันได้ ดังนันมั ้ นไม่ใช่จินตนาการของฉันที่ทำาให้ ฉนั เข้ าใจขี ้ผึ ้งว่ายืดหยุน่ และ เปลี่ยนแปลงได้ อีกอย่างหนึง่ ‘แผ่ขยายออก’หมายความว่าอย่างไร? การขยายออกของขี ้ผึ ้งก็ไม่เป็ นที่ร้ ู ด้ วยอย่างนันหรื ้ อ? การแผ่ออกเพิ่มขึ ้นเมื่อขี ้ผึ ้งละลายและเพิ่มขึ ้นอีกเมื่อมันเดือด ขี ้ผึ ้งสามารถที่จะแผ่ ขยายออกได้ ในอีกหลายรูปแบบ (นัน่ คือในหลายรูปร่าง) มากกว่าที่ฉนั จะคิดขึ ้นมาได้ ในจินตนาการ ฉัน ถูกบังคับให้ สรุปว่าธรรมชาติของขี ้ผึ ้งก้ อนนี ้ไม่ได้ ถกู เปิ ดเผยโดยจินตนาการของฉัน แต่ถกู รับรู้โดยจิต เพียงอย่างเดียว (ฉันกำาลังพูดถึงขี ้ผึ ้งเฉพาะก้ อนนี ้ แต่เหตุผลยิ่งเด่นขึ ้นเมื่อเป็ นเรื่ องของขี ้ผึ ้งทัว่ ๆไป) แน่นอนว่าขี ้ผึ ้งก้ อนนี ้ที่ถกู รับรู้ก็แต่โดยจิตของฉันเป็ นขี ้ผึ ้งชิ ้นเดียวกับที่ฉนั เห็น สัมผัส และสร้ างภาพขึ ้น
22
มาในจินตนาการของฉัน โดยสรุปก็คือขี ้ผึ ้งก้ อนเดียวกับที่ฉนั คิดว่ามันเป็ นมาตังแต่ ้ ต้น แต่ถึงแม้ ว่าการรับ รู้มนั ของฉันดูเหมื อนจะเป็ นเรื่องของการเห็น การได้ ยนิ และจินตนาการ แต่มนั ไม่ใช่และไม่เคยเป็ นเช่น นัน้ ที่จริ งมันคือการรับรู้โดยจิตแต่เพียงอย่างเดียว แต่เดิมนันไม่ ้ สมบูรณ์และสับสน แต่ตอนนี ้กระจ่าง ชัดเจน เพราะว่าตอนนี ้ฉันกำาลังเพ่งพินิจอย่างระมัดระวังว่าขี ้ผึ ้งนันประกอบขึ ้ ้นด้ วยอะไร Perhaps what I now think about the wax indicates what its nature was all along. If that is right, then the wax was not the sweetness of the honey, the scent of the flowers, the whiteness, the shape, or the sound, but was rather a body that recently presented itself to me in those ways but now appears differently. But what exactly is this thing that I am now imagining? Well, if we take away whatever doesn’t belong to the wax (that is, everything that the wax could be without), what is left is merely something extended, flexible and changeable. What do ‘flexible’ and ‘changeable’ mean here? I can imaginatively picture this piece of wax changing from round to square, from square to triangular, and so on. But that isn’t what changeability is. In knowing that the wax is changeable I understand that it can go through endlessly many changes of that kind, far more than I can depict in my imagination; so it isn’t my imagination that gives me my grasp of the wax as flexible and changeable. Also, what does ‘extended’ mean? Is the wax’s extension also unknown? It increases if the wax melts, and increases again if it boils; the wax can be extended in many more ways (that is, with many more shapes) than I will ever bring before my imagination. I am forced to conclude that the nature of this piece of wax isn’t revealed by my imagination, but is perceived by the mind alone. (I am speaking of this particular piece of wax; the point is even clearer with regard to wax in general.) This wax that is perceived by the mind alone is, of course, the same wax that I see, touch, and picture in my imagination – in short the same wax I thought it to be from the start. But although my perception of it seemed to be a case of vision and touch and imagination, it isn’t so and it never was. Rather, it is purely a perception by the mind alone – formerly an imperfect and confused one, but now clear and distinct because I am now concentrating carefully on what the wax consists in. เมื่อฉันบรรลุถึงข้ อสรุปนี ้ ฉันรู้สกึ ทึง่ กับการที่จิตของฉันมีแนวโน้ มที่จะผิดพลาดอย่างมาก เพราะถึง แม้ ฉนั กำาลังคิดทังหมดนี ้ ้ออกมาจากภายในตัวฉันเองอย่างเงียบๆ ฉันก็ทำาเช่นนันด้ ้ วยการอาศัยความ ช่วยเหลือของคำาพูด และฉันเสี่ยงที่จะถูกพาให้ หลงทางโดยคำาพูดพวกนัน้ เมื่อขี ้ผึ ้งอยูข่ ้ างหน้ าเรา เราพูด ว่าเราเห็นมัน ไม่ใช่วา่ เราตัดสินว่ามันอยูท่ ี่ตรงนันจากสี ้ หรื อรูปร่างของมัน และนี่อาจทำาให้ ฉนั คิดว่าความ รู้ถึงขี ้ผึ ้งก้ อนนันมาจากอะไรที ้ ่ตาเราเห็น มากกว่าที่จะมาจากการรับรู้ของจิตเพียงอย่างเดียว แต่นี่ผิด
23
ถนัดอย่างที่ตวั อย่างต่อไปจะแสดงให้ เห็น ถ้ าฉันมองออกไปนอกหน้ าต่างแล้ วเห็นผู้คนเดินข้ ามจตุรัส อย่างที่ฉนั เพิ่งจะทำา ฉันพูดว่าฉันเห็นตัวคนพวกนัน้ อย่างเดียวกับที่ฉนั พูดว่าฉันเห็นขี ้ผึ ้งก้ อนนัน้ แต่ฉนั เห็นอะไรนอกเหนือไปจากหมวกและเสื ้อคลุมที่อาจจะสามารถปกปิ ดหุ่นยนต์ได้ อย่างนันหรื ้ อ ? ฉันตัดสิ น ว่าพวกนันเป็ ้ นมนุษย์ As I reach this conclusion I am amazed at how prone to error my mind is. For although I am thinking all this out within myself, silently, I do it with the help of words, and I am at risk of being led astray by them. When the wax is in front of us, we say that we see it, not that we judge it to be there from its colour or shape; and this might make me think that knowledge of the wax comes from what the eye sees rather than from the perception of the mind alone. But this is clearly wrong, as the following example shows. If I look out of the window and see men crossing the square, as I have just done, I say that I see the men themselves, just as I say that I see the wax; yet do I see any more than hats and coats that could conceal robots? I judge that they are men. ดังนัน้ บางอย่างที่ฉนั คิดว่าฉันเห็นด้ วยตาของฉันที่จริ งแล้ วถูกเข้ าใจเพียงแค่ด้วยสมรรถภาพในการ ตัดสินของจิตของฉัน อย่างไรก็ตาม ผู้ใดที่อยากรู้ให้ มากกว่าฝูงชนธรรมดา ควรรู้สกึ ละอายที่จะตังข้ ้ อ สงสัยกับการพูดจาตามปกติวิสยั ดังนันขอให้ ้ เราเดินหน้ าต่อไปและถามว่า เมื อ่ ใดที่การรับรู้ในธรรมชาติ ของขี ้ผึ ้งก้ อนนี ้เป็ นไปอย่างกระจ่างและสมบูรณ์ยิ่งกว่าเดิม? เป็ นตอนที่ฉนั มองดูมนั ครัง้ แรกและคิดว่าฉัน รู้ถึงมันผ่านทางประสาทสัมผัสใช่หรือไม่? หรื อเป็ นตอนนี ้ หลังจากที่ฉนั ได้ พิจารณาอย่างระแวดระวังยิ่ง ขึ ้นในธรรมชาติของขี ้ผึ ้งก้ อนนันและในวิ ้ ธีที่มนั ถูกรู้อย่างนันหรื ้ อ ? เป็ นเรื่ องไร้ สาระที่จะลังเลในการตอบ คำาถามนี ้ เพราะมีความกระจ่างและคมชัดอะไรหรื อในการรับรู้ก้อนขี ้ผึ ้งก่อนหน้ านี ้ของฉัน ? มีอะไรในนัน้ ที่สตั ว์ชนต่ ั ้ าำ กว่าไม่สามารถมีเช่นนันหรื ้ อ? แต่เมื่อฉันพิจารณาขี ้ผึ ้งก้ อนนันนอกเหนื ้ อไปจากลักษณะ ภายนอก กล่าวก็คือถอดเสื ้อผ้ าของมันออกและพิจารณามันอย่างเปลือยเปล่า เมื่อนัน้ ถึงแม้ การตัดสิน ของฉันยังอาจมีข้อผิดพลาด อย่างน้ อยที่สดุ ตอนนี ้ฉันก็กำาลังมีการรับรู้แบบที่ต้องอาศัยจิตของมนุษย์ Something that I thought I saw with my eyes, therefore, was really grasped solely by my mind’s faculty of judgment. However, someone who wants to know more than the common crowd should be ashamed to base his doubts on ordinary ways of talking. Let us push ahead, then, and ask: When was my perception of the wax’s nature more perfect and clear? Was it when I first looked at the wax, and thought I knew it through my senses? Or is it now, after I have enquired more carefully into the wax’s nature and into how it is known? It would be absurd to hesitate in answering the question; for what clarity and sharpness was there in my earlier perception of the wax? Was there anything in it that a lower animal couldn’t have? But
24
when I consider the wax apart from its outward forms – take its clothes off, so to speak, and consider it naked – then although my judgment may still contain errors, at least I am now having a perception of a sort that requires a human mind. แต่ฉนั จะพูดอะไรได้ เกี่ยวกับจิตนี ้หรือเกี่ยวกับตัวฉันเอง? (โปรดจำาว่าเท่าที่ผ่านมาฉันไม่ยอมรับว่าฉัน มีอะไรที่นอกเหนือไปกว่าจิต) ฉันถามว่า‘ฉัน’ที่ดเู หมือนจะรับรู้ถึงก้ อนขี ้ผึ ้งอย่างชัดเจนนี ้คืออะไร? แน่นอนว่าฉันรู้ถึงตัวฉันเองในลักษณะที่แท้ จริงและแน่นอนยิ่งไปกว่าที่ฉนั รู้ถึงขี ้ผึ ้ง รวมทังในลั ้ กษณะที่ กระจ่างและประจักษ์ แจ้ งยิ่งกว่าอีกด้ วย อะไรที่ชกั จูงให้ ฉนั คิดว่าขี ้ผึ ้งมีอยูจ่ ริ ง (นันก็ ้ คือที่ทำาให้ ฉนั คิดว่า ฉันเห็นมัน) ชักนำาอย่างชัดแจ้ งยิ่งกว่านันอี ้ กมากในการสรุปว่าฉันมีอยูจ่ ริ ง สิ่งที่ฉนั เห็นนันที ้ ่จริ งแล้ วอาจ ไม่ใช่ขี ้ผึ ้ง ฉันอาจจะไม่มีตาให้ เห็นอะไรเสียด้ วยซ้ำ า แต่เมื่อฉันเห็นหรื อคิ ดว่าฉันเห็น (ฉันไม่ได้ กำาลัง แยกแยะสองสิ่งนี ้) มันเป็ นไปไม่ได้ เลยที่ฉนั ผู้ซงึ่ กำาลังคิดอยูน่ ี ้จะไม่เป็ น อะไรบางอย่าง ในแบบเดียวกัน ข้ อที่วา่ ฉันมีอยูจ่ ริงย่อมตามมาจากฐานอื่นๆที่รองรับการตัดสินว่าก้อนขี ผ้ ึ้งมี อยู่จริ ง ได้ แก่ข้อที่วา่ ฉัน สัมผัสมัน ฉันจินตนาการถึงมัน หรือพื ้นฐานอื่นใด และในแบบเดียวกัน ข้ อที่ว่าฉันมีอยูจ่ ริ งย่อมตามมา จากฐานทังหลายของฉั ้ นสำาหรับการตัดสินว่ามีอะไรอื่นอยูภ่ ายนอกฉัน แล้ วเมื่อฉันรับรู้ถึงก้ อนขี ้ผึ ้งอย่าง ชัดเจนมากยิ่งขึ ้น โดยไม่ใด้ ใช้ เพียงแค่กายสัมผัสและการมองเห็น แต่รวมไปถึงการใช้ ข้อพิจารณาอื่นๆ ด้ วย ทังหมดนี ้ ้ร่วมกันทำาให้ ฉนั รู้ถึงตนเองอย่างชัดเจนมากขึ ้นด้ วยเช่นกัน เพราะว่าอะไรก็ตามที่เข้ ามาสู่ การรับรู้ของฉันต่อก้ อนขี ้ผึ ้ง หรือต่อกายวัตถุอื่นใด ต้ องทำายิ่งกว่านันอี ้ กมากในการยืนยันธรรมชาติของ จิตของฉันเอง ดังนัน้ อะไรที่เข้ ามาสูจ่ ิตจากทางร่างกายย่อมช่วยฉันให้ ร้ ูถึงจิตของฉันอย่างชัดเจน แต่ ทังหมดนั ้ นกลั ้ บกลายเป็ นสิ่งที่ไม่สำาคัญ(อย่างแทบไร้ คา่ ที่จะกล่าวถึง)เมื่อเทียบกับอะไรที่จิตของฉัน ครอบครองอยู่ภายในตัวของมันเอง ที่ทำาให้ ฉนั รู้ถึงมันอย่างชัดแจ้ ง But what am I to say about this mind, or about myself? (So far, remember, I don’t admit that there is anything to me except a mind.) What, I ask, is this ‘I’ that seems to perceive the wax so clearly? Surely, I am aware of my own self in a truer and more certain way than I am of the wax, and also in a much more distinct and evident way. What leads me to think that the wax exists – namely, that I see it – leads much more obviously to the conclusion that I exist. What I see might not really be the wax; perhaps I don’t even have eyes with which to see anything. But when I see or think I see (I am not here distinguishing the two), it is simply not possible that I who am now thinking am not something. Similarly, that I exist follows from the other bases for judging that the wax exists – that I touch it, that I imagine it, or any other basis, and similarly for my bases for judging that anything else exists outside me. As I came to perceive the wax more distinctly by applying not just sight and touch but other considerations, all this too contributed to my knowing myself even more distinctly, because whatever goes into my
25
perception of the wax or of any other body must do even more to establish the nature of my own mind. What comes to my mind from bodies, therefore, helps me to know my mind distinctly; yet all of that pales into insignificance – it is hardly worth mentioning – when compared with what my mind contains within itself that enables me to know it distinctly. เห็นไหม! ฉันได้ มาถึงจุดที่ฉนั ต้ องการโดยไม่ยากลำาบากแต่อย่างใดเลย ตอนนี ้ฉันรู้แม้ กระทังว่ ้ ากาย วัตถุถกู รับรู้ไม่ใช่โดยประสาทสัมผัสหรื อจินตนาการ แต่โดยสติปัญญาเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ ผา่ นการที่ พวกมันถูกสัมผัสหรือถูกเห็น แต่โดยผ่านการถูกเข้ าใจ และนี่ช่วยให้ ฉนั เข้ าใจว่าฉันสามารถรับรู้จิตของ ฉันเองอย่างง่ายดายและกระจ่างแจ้ งยิ่งกว่าที่ฉนั สามารถรับรู้อะไรอื่นใดทังสิ ้ ้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก ทัศนะเก่าๆเป็ นสิ่งที่ยากที่จะสลัดทิ ้ง ฉันอยากที่จะพักและพินิจพิเคราะห์ถึงความรู้ใหม่ที่ฉนั มีนี ้สักชัว่ ขณะหนึง่ เพื่อตรึงมันให้ แน่นยิ่งขึ ้นในความทรงจำาของฉัน See! With no effort I have reached the place where I wanted to be! I now know that even bodies are perceived not by the senses or by imagination but by the intellect alone, not through their being touched or seen but through their being understood; and this helps me to understand that I can perceive my own mind more easily and clearly than I can anything else. Since the grip of old opinions is hard to shake off, however, I want to pause and meditate for a while on this new knowledge of mine, fixing it more deeply in my memory.
27
ข้ อพินิจทีส่ ำม ความมีอยู่ของพระเจ้ า THIRD MEDITATION: The existence of God ตอนนี ้ฉันจะหลับตา ปิ ดหู และตัดประสาทสัมผัสทังหมดของฉั ้ นออกไป ฉันจะคิดว่าภาพของสิ่งที่เป็ น กายวัตถุในจิตทังหมดนั ้ นล้ ้ วนว่างเปล่า ไม่จริ งและไร้ คา่ (ถ้ าทำาได้ ฉันจะนำามันออกจากจิตของฉันให้ หมด) ฉันจะสนทนากับตัวเอง พิจารณาตัวเองในลึกลงไปอีก และด้ วยวิธีนี ้ค่อยๆที่จะเข้ าใจตัวเองให้ ลกึ ซึ ้งยิ่งขึ ้น ฉันคือสิ่งที่คิด นันก็ ้ คือเป็ นสิ่งที่สงสัย ยืนยัน ปฏิเสธ เข้ าใจในบางอย่าง และไม่ร้ ูในสิ่งมากมาย เจตนา และไม่ยอมรับ สิ่งนี ้มีจินตนาการและการรับรู้ทางประสาทสัมผัสอีกด้ วย เพราะตามที่ฉนั ได้ กล่าว ไว้ ก่อนหน้ าแล้ วว่า แม้ วตั ถุที่ประสาทสัมผัสของฉันรับรู้และจินตนาการไม่ได้ มีอยูจ่ ริ งภายนอกฉัน แต่ ตัวการรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการจินตนาการเมื่อถูกพิจารณาเพียงแค่ว่าเป็ นเหตุการณ์ ทางจิ ต แน่นอนว่าเกิดขึ ้นในฉัน I will now shut my eyes, block my ears, cut off all my senses. I will regard all my mental images of bodily things as empty, false and worthless (if I could, I would clear them out of my mind altogether). I will get into conversation with myself, examine myself more deeply, and try in this way gradually to know myself more intimately. I am a thing that thinks, i.e., that doubts, affirms, denies, understands some things, is ignorant of many others, wills, and refuses. This thing also imagines and has sensory perceptions; for, as I remarked before, even if the objects of my sensory experience and imagination don’t exist outside me, still sensory perception and imagination themselves, considered simply as mental events, certainly do occur in me. นัน่ เป็ นรายการของทุกอย่างที่ฉนั รู้อย่างแท้ จริ ง หรื ออย่างน้ อยที่สดุ ก็เป็ นทุกอย่างที่ฉนั ได้ ค้นพบถึง บัดนี ้ว่าฉันรู้ ตอนนี ้ฉันจะพิจารณาอย่างระมัดระวังมากขึ ้นอีกเพื่อที่จะดูว่าฉันได้ มองข้ ามข้ อเท็จจริ งอะไร อื่นเกี่ยวกับตัวฉันไปหรือไม่ ฉันมัน่ ใจว่าฉันเป็ นสิ่ งซึ่งคิ ด นัน่ ไม่บอกหรอกหรื อว่าด้ วยอะไรฉันถึงจะแน่ใจ เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึง่ ? ในความรู้แรกนี ้มีการรับรู้ที่ชดั เจนและกระจ่างแจ้ งของสิ่งที่ฉนั กำาลังยืนยัน นี่ยอ่ ม ไม่เพียงพอที่จะทำาให้ ฉนั มัน่ ใจในความจริ งของมัน ถ้ าหากมันเป็ นไปได้ วา่ บางสิ่งที่ฉนั ได้ รับรู้มาอย่าง
28
กระจ่างแจ้ งและชัดเจนนันเป็ ้ นเท็จ ดังนันตอนนี ้ ้ฉันสามารถที่จะวางเป็ นกฎทัว่ ไปว่าอะไรก็ตามที ฉ่ นั รับรู้ อย่างกระจ่างแจ้งและชัดเจนย่อมเป็ นจริ ง That lists everything that I truly know, or at least everything I have, up to now, discovered that I know. Now I will look more carefully to see whether I have overlooked other facts about myself. I am certain that I am a thinking thing. Doesn’t that tell me what it takes for me to be certain about anything? In this first item of knowledge there is simply a clear and distinct perception of what I am asserting; this wouldn’t be enough to make me certain of its truth if it could ever turn out that something that I perceived so clearly and distinctly was false. So I now seem to be able to lay it down as a general rule that whatever I perceive very clearly and distinctly is true. แต่เดิมฉันยอมรับในหลายสิ่งว่าแน่นอนและประจักษ์ แจ้ งอย่างที่สดุ ที่ตอ่ มากลับพบว่าน่าสงสัย โลก ท้ องฟ้า ดวงดาว และทุกอย่างที่ฉนั รับรู้ผ่านประสาทสัมผัส แต่ในกรณีพวกนันอะไรที ้ ่ฉนั รับรู้อย่าง กระจ่างแจ้ งเป็ นเพียงแค่มโนคติหรือความคิดที่เข้ ามาสูจ่ ิตของฉัน และฉันยังไม่ปฏิเสธว่าความคิดพวก นันเกิ ้ ดขึ ้นภายในฉัน แต่ฉนั ก็เคยเชื่อด้ วยว่าความคิดของฉันนันมาจากสิ ้ ่งภายนอกที่คล้ ายคลึงกับมันใน ทุกๆแง่ ฉันเชื่อในสิ่งนี ้มานานจนฉันคิดผิดไปว่าฉันรับรู้มนั อย่างชัดเจน ที่จริ งแล้ วนันเป็ ้ นเท็จ หรื อถ้ ามัน เกิดเป็ นจริ งขึ ้นมาก็ไม่ใช่เพราะพลังของประสาทสัมผัสของฉัน I previously accepted as perfectly certain and evident many things that I afterwards realized were doubtful – the earth, sky, stars, and everything else that I took in through the senses – but in those cases what I perceived clearly were merely the ideas or thoughts of those things that came into my mind; and I am still not denying that those ideas occur within me. But I used also to believe that my ideas came from things outside that resembled them in all respects. Indeed, I believed this for so long that I wrongly came to think that I perceived it clearly. In fact, it was false; or anyway if it was true it was not thanks to the strength of my perceptions. แต่เรื่ องราวจะเป็ นอย่างไรหากฉันพิจารณาอะไรที่เรี ยบง่ายและตรงไปตรงมาเช่นคณิตศาสตร์ และ เรขาคณิต ตัวอย่างเช่นสองบอกสามได้ ห้า? ไม่จริ งหรอกหรื อว่าฉันเห็นของพวกนันชั ้ ดเจนพอที่จะยอมรับ ว่าเป็ นจริ ง? ที่จริ งเหตุผลเดียวที่ฉนั พอหาได้ ที่จะสงสัยในสิ่งพวกนี ้ก็คือ บางทีพระเจ้ าบางองค์อาจได้ สร้ างฉันขึ ้นมาให้ ถกู หลอกได้ แม้ กระทังในสิ ้ ่งที่ดเู หมือนว่าชัดเจนอย่างที่สดุ เมื่อไหร่ก็ตามที่ฉนั ย้ อนกลับ มาคิดถึงความเชื่อเก่าๆที่วา่ มีพระเจ้ าผู้ทรงอานุภาพ ฉันต้ องยอมรับว่าถ้ าพระเจ้ าต้ องการเขาก็อาจทำาให้ ฉันหลงผิดได้ อย่างง่ายดาย แม้ แต่ในสิ่งที่ฉนั คิดว่าฉันเห็นอย่างชัดเจนที่สดุ แต่เมื่อฉันคิดถึงตัวสิ่งพวกนัน้
29
เองแล้ ว (สิ่งพวกที่ฉนั คิดว่าฉันรับรู้อย่างชัดเจน) ฉันพบว่าพวกมันน่าเชื่อถือเสียจนฉันต้ องเอ่ยปากออก มาว่า “ให้ เขาพยายามหลอกฉันอย่างสุดความสามารถ เขาจะไม่มีวนั ทำาให้ ฉนั คิดว่าฉันไม่ใช่อะไรใน ขณะที่ฉนั คิดว่าฉันคืออะไรบางอย่าง หรื อทำาให้ เป็ นจริ งขึ ้นในอนาคตว่าฉันไม่เคยมีตวั ตนอยู่ หากยอมรับ ว่าฉันมีตวั ตนอยูใ่ นตอนนี ้ หรือทำาให้ สองบวกสามได้ มากหรื อน้ อยกว่าห้ า หรื ออะไรก็ตามที่ฉนั เห็นได้ อย่างชัดเจนว่าขัดแย้ งในตัวเอง” อีกอย่างหนึง่ ในเมื่อฉันไม่มีหลักฐานในการมีอยูข่ องพระเจ้ าที่หลอก ลวง และไม่ร้ ูแน่ชดั ด้ วยซ้ำ าว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริ งหรื อไม่ เหตุผลของข้ อสงสัยที่ขึ ้นอยูก่ บั เพียงแค่ข้อสมมุติที่ ว่ามีพระเจ้ าจึงเป็ นเหตุผลที่ออ่ นมากและเป็ นเพียงในเชิงทฤษฏี อย่างไรก็ตามฉันอาจจะต้ องการกำาจัด เหตุแห่งข้ อสงสัยที่ออ่ นอย่างยิ่งนี ้ ดังนันเมื ้ ่อฉันมีโอกาสฉันจะตรวจสอบว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริ งหรื อไม่ และ(ถ้ ามีอยูจ่ ริง)เขาสามารถที่จะเป็ นนักหลอกลวงหรื อไม่ ถ้ าฉันไม่จดั การเรื่ องนี ้ให้ เป็ นที่เรี ยบร้ อยก็ดู เหมือนว่าฉันจะไม่อาจแน่ใจในสิ่งใดได้ เลย But what about when I was considering something simple and straightforward in arithmetic or geometry, for example that two plus three makes five? Didn’t I see these things clearly enough to accept them as true? Indeed, the only reason I could find for doubting them was this: Perhaps some God could have made me so as to be deceived even in those matters that seemed most obvious. Whenever I bring to mind my old belief in the supreme power of God, I have to admit that God could, if he wanted to, easily make me go wrong even about things that I think I see perfectly clearly. But when I turn my thought onto the things themselves – the ones I think I perceive clearly – I find them so convincing that I spontaneously exclaim: ‘Let him do his best to deceive me! He will never bring it about that I am nothing while I think I am something; or make it true in the future that I have never existed, given that I do now exist; or bring it about that two plus three make more or less than five, or anything else like this in which I see a plain contradiction.’ Also, since I have no evidence that there is a deceiving God, and don’t even know for sure that there is a God at all, the reason for doubt that depends purely on this supposition of a deceiving God is a very slight and theoretical one. However, I shall want to remove even this slight reason for doubt; so when I get the opportunity I shall examine whether there is a God, and (if there is) whether he can be a deceiver. If I don’t settle this, it seems, then I can never be quite certain about anything else. ประการแรก ถ้ าฉันจะก้ าวต่อไปอย่างเป็ นระบบระเบียบ ฉันก็ควรจะจัดกลุม่ ของความคิดของฉันให้ เป็ นหมวดหมูแ่ ละถามว่ากลุม่ ไหนที่สามารถบอกว่าเป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ ความคิดบางอย่างของฉันพวกที่ เป็ นจินตภาพหรือรูปภาพของสิ่งต่างๆ อย่างเช่นเมื่อฉันคิดถึงมนุษย์หรื อสัตว์ในเทพนิยาย หรื อท้ องฟ้า หรื อเทวดา หรือพระเจ้ า พูดแน่ๆแล้ วสิ่งพวกนี ้เป็ นความคิดพวกเดียวที่ควรจะเรี ยกว่า ‘มโนคติ’
30
First, if I am to proceed in an orderly way I should classify my thoughts into definite kinds, and ask which kinds can properly be said to be true or false. Some of my thoughts are, so to speak, images or pictures of things – as when I think of a man, or a chimera, or the sky, or an angel, or God – and strictly speaking these are the only thoughts that should be called ‘ideas’. ความคิดอื่นมีอะไรมากไปกว่านัน้ เช่นเมื่อฉันเจตนาหรื อกลัวหรื อยืนยันหรื อปฏิเสธ ความคิดของฉัน เป็ นตัวแทนของสิ่งเฉพาะบางอย่าง แต่ก็ยงั รวมถึงอะไรที่มากไปกว่าความเหมือนกับสิ่งนัน้ ความคิดบาง ประการในหมวดหมูน่ ี ้ถูกเรียกว่าเจตนารมณ์หรืออารมณ์ ขณะที่ความคิดอื่นๆ เรี ยกว่า ข้ อตัดสิน Other thoughts have more to them than that: for example when I will, or am afraid, or affirm, or deny, my thought represents some particular thing but it also includes something more than merely the likeness of that thing. Some thoughts in this category are called volitions or emotions, while others are called judgments. เมื่อความคิดได้ รับการพิจารณาด้ วยตัวมันเองและไม่เชื่อมโยงกับสิ่งอื่นใด มันไม่สามารถเป็ นเท็จได้ เพราะไม่ว่าฉันกำาลังจิตนาการแพะหรือสัตว์ในเทพนิยาย มันก็เป็ นจริ งว่าฉันกำ าลังจิ ตนาการมันอยู่ รวม ทังไม่ ้ มีความเป็ นเท็จอยูใ่ นเจตนาหรืออารมณ์ เพราะแม้ ว่าสิ่งที่ฉนั ต้ องการนันชั ้ ว่ ร้ ายหรื อไม่มีอยูจ่ ริ ง แต่ ก็ยงั เป็ นความจริ งอยูด่ ีว่าฉันต้องการมัน สิ่งที่เหลือ อันเป็ นความคิดประเภทที่ฉนั ต้ องระวังข้ อผิดพลาด ก็ คือข้ อตัดสิน และความผิดพลาดที่พวกมันเกี่ยวพันไปถึงมากที่สดุ ก็คือการตัดสินว่า มโนคติของฉัน คล้ ายคลึงกับสิ่งที่อยูภ่ ายนอกฉัน แน่นอนว่าถ้ าฉันพิจารณาตัวมโนคติพวกนันว่ ้ าเป็ นเพียงคุณลักษณะ ของความคิดของฉันและไม่สมั พันธ์กบั สิ่งอื่นใด พวกมันก็จะไม่อาจนำาฉันไปสูค่ วามผิดพลาดได้ When ideas are considered solely in themselves and not taken to be connected to anything else, they can’t be false; for whether it is a goat that I am imagining or a chimera, either way it is true that I do imagine it. Nor is there falsity in the will or the emotions; for even if the things I want are wicked or non-existent, it is still true that I want them. All that is left – the only kind of thought where I must watch out for mistakes – are judgments. And the mistake they most commonly involve is to judge that my ideas resemble things outside me. Of course, if I considered the ideas themselves simply as aspects of my thought and not as connected to anything else, they couldn’t lead me into error. ในบรรดามโนคติของฉัน บางส่วนดูเหมือนว่าได้ มาแต่กำาเนิด บางส่วนดูเหมือนจะเกิดจากสิ่ง ภายนอก และส่วนอื่นได้ มาจากการคิดประดิษฐ์ ขึ ้นของฉัน ตามที่ฉนั เห็น ความเข้ าใจของฉันว่าสิ่ งๆหนึง่ คืออะไร ความจริ งคืออะไรและความคิ ดคืออะไร ล้ วนได้ มาจากธรรมชาติของฉันเอง ซึง่ หมายความว่าได้ มาแต่กำาเนิด การได้ ยินเสียง หรือการมองเห็นพระอาทิตย์ หรื อการรู้สกึ ถึงไฟ มาจากสิ่งภายนอกฉัน และ
31
สัตว์ในเทพนิยายและอะไรทำานองนัน้ มาจากการสร้ างสรรค์ของฉันเอง แต่จริ งๆ แล้ ว อาจเป็ นได้ วา่ มโนคติทงหมดของฉั ั้ นมาจากสิ่งภายนอก หรื อได้ มาแต่กำาเนิดล้ วนๆ หรื อถูกเสกสรรปั น้ แต่งขึ ้นทังหมด ้ เพราะฉันยังไม่ได้ รับรู้อย่างชัดเจนถึงที่มาที่แท้ จริ งของพวกมัน Among my ideas, some seem to be innate, some to be caused from the outside, and others to have been invented by me. As I see it, my understanding of what a thing is, what truth is, and what thought is, derives purely from my own nature, which means that it is innate·; my hearing a noise or seeing the sun or feeling the fire comes from things outside me; and sirens, hippogriffs and the like are my own invention. But perhaps really all my ideas are caused from the outside, or all are innate, or all are made up; for I still have not clearly perceived their true origin. แต่คำาถามหลักของฉันตอนนี ้เป็ นเรื่ องของมโนคติที่ฉนั ถือว่ามาจากสิ่งภายนอกฉัน ทำาไมฉันถึงคิดว่า พวกมันคล้ ายคลึงกับสิ่งพวกนัน? ้ ดูเหมือนว่าธรรมชาติสอนให้ ฉนั คิดว่ามันเป็ นเช่นนัน้ But my main question now concerns the ideas that I take to come from things outside me: why do I think they resemble these things? Nature has apparently taught me to think that they do. แต่ฉนั ก็ร้ ูจากประสบการณ์ด้วยว่า มโนคติพวกนี ้ไม่ขึ ้นกับเจตจำานงของฉัน และดังนันไม่ ้ ขึ ้นเพียงแค่ ต่อฉัน พวกมันมักเข้ ามาสูจ่ ิตของฉันโดยฉันไม่ได้ ตงใจให้ ั้ พวกมันเข้ ามา ตัวอย่างเช่น ตอนนี ้ฉันรู้สกึ อุน่ ไม่วา่ ฉันจะต้ องการหรือไม่ก็ตาม และนัน่ ทำาให้ ฉนั คิดว่าความรู้สกึ นี ้ หรื อมโนคติของความร้ อน มาจาก สิ่งอื่นบางอย่างที่ไม่ใช่ตวั ฉันเอง กล่าวคือ มาจากกองไฟที่ฉนั นัง่ อยูใ่ กล้ ๆ และดูจะเป็ นเรื่ องธรรมดาที่จะ คิดว่าอะไรที่สิ่งภายนอกสร้ างให้ เกิดในฉัน จะเหมือนกับมันยิ่งกว่าที่จะไม่เหมือนกับมัน But also I know from experience that these ideas don’t depend on my will, and thus don’t depend simply on me. They often come into my mind without my willing them to: right now, for example, I have a feeling of warmth, whether I want to or not, and that leads me to think that this sensation or idea of heat comes from something other than myself, namely the heat of a fire by which I am sitting. And it seems natural to suppose that what comes to me from that external thing will be like it rather than unlike it. ขอฉันดูสวิ ่าข้ อโต้ เถียงเหล่านี ้หนักแน่นพอหรื อไม่ เวลาที่ฉนั พูดว่า “ธรรมชาติสอนให้ ฉนั คิดเช่นนัน” ้ ฉันหมายความว่าฉันมีสญ ั ชาตญาณที่จะเชื่อเช่นนัน้ ไม่ใช่วา่ ฉันเห็นความจริ งของมันโดยแสงธรรมชาติ บางอย่าง มีความแตกต่างอย่างยิ่งระหว่างสองสิ่งนี ้ สิ่งที่เปิ ดเผยให้ เห็นโดยแสงแห่งธรรมชาติ ตัวอย่าง เช่น ถ้าฉันกำาลังสงสัย ฉันย่อมมีอยู่จริ ง นี่ไม่มีอะไรให้ สงสัยได้ เลย เพราะว่าไม่มีสมรรถภาพอื่นใดที่จะ แสดงให้ เห็นว่ามันเป็ นเท็จที่นา่ เชื่อถือเท่ากับแสงแห่งธรรมชาติ สัญชาติญาณของฉันก็ไม่มีอภิสิทธิ์เช่น
32
นัน้ บ่อยครัง้ ที่ฉนั คิดว่ามันได้ ผลักดันฉันไปในทางที่ผิดเกี่ยวกับคำาถามทางศีลธรรม และฉันไม่เห็นเหตุผล ที่จะเชื่อใจมันในสิ่งอื่นๆ Now let me see if these arguments are strong enough. When I say ‘Nature taught me to think this’, all I mean is that I have a spontaneous impulse to believe it, not that I am shown its truth by some natural light. There is a great difference between those. Things that are revealed by the natural light – for example, that if I am doubting then I exist – are not open to any doubt, because no other faculty that might show them to be false could be as trustworthy as the natural light. My natural impulses, however, have no such privilege: I have often come to think that they had pushed me the wrong way on moral questions, and I don’t see any reason to trust them in other things. และเช่นกัน แม้ วา่ มโนคติเหล่านี ้ไม่ได้ ขึ ้นอยูก่ บั เจตจำานงของฉัน แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าพวกมันต้ อง มาจากสิ่งที่ตงอยู ั ้ ภ่ ายนอกฉัน บางทีมนั อาจจะมาจากสมรรถภาพบางอย่างของฉันที่ไม่ใช่เจตจำานง (สมรรถภาพที่ฉนั ยังไม่ร้ ูถึงอย่างแน่ชดั ) ซึง่ สร้ างมโนคติพวกนี ้โดยไม่มีการช่วยเหลือจากสิ่งภายนอก แต่ ไม่วา่ จะอย่างไรฉันก็คดิ มาตลอดว่านี่คือวิธีที่มโนคติถกู สร้ างขึ ้นในขณะที่ฉนั กำาลังหลับ ในแบบเดียวกัน สัญชาติญาณที่ฉนั กำาลังพูดถึงอยูน่ ี ้ แม้ ว่ามันดูเหมือนจะขัดกับเจตจำ านงของฉัน มันก็มาจากภายในฉัน ซึง่ ให้ ประจักษ์ พยานว่าฉันสามารถก่อให้ เกิดสิ่งที่เจตจำ านงของฉันไม่ได้ ก่อก็ได้ Then again, although these ideas don’t depend on my will, it doesn’t follow that they must come from things located outside me. Perhaps they come from some faculty of mine other than my will – one that I don’t fully know about – which produces these ideas without help from external things; this is, after all, just how I have always thought ideas are produced in me when I am dreaming. Similarly, the natural impulses that I have been talking about, though they seem opposed to my will, come from within me; which provides evidence that I can cause things that my will does not cause. ท้ ายที่สดุ ถึงแม้ วา่ มโนคติพวกนี ้จะมาจากสิ่งอื่นนอกเหนือจากตัวฉันจริ งๆ ก็ไม่ได้ หมายความว่าพวก มันต้ องมีลกั ษณะคล้ ายกับสิ่งพวกนัน้ ที่จริงฉันคิดว่าฉันได้ ค้นพบบ่อยๆ ถึงวัตถุที่ตา่ งไปอย่างยิ่งจาก มโนคติที่ฉนั มีเกี่ยวกับมัน ตัวอย่างเช่น ฉันพบว่าภายในฉันมีสองมโนคติเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ มโนคติหนึง่ ดูเหมือนจะมาจากประสาทสัมผัส อันเป็ นตัวอย่างหลักของมโนคติที่ฉนั คิดว่ามีแหล่งกำาเนิดอยูภ่ ายนอก และมันทำาให้ ดวงอาทิตย์ดเู หมือนว่าเล็กมาก อีกมโนคติวางอยูบ่ นเหตุผลทางดาราศาสตร์ และนัน่ แสดง ให้ เห็นว่าดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่กว่าโลกหลายเท่า เห็นได้ ชดั ว่ามโนคติเหล่านี ้ไม่สามารถคล้ ายกับดวง อาทิตย์ทงคู ั ้ ไ่ ด้ และเหตุผลทำาให้ ฉนั เชื่อมัน่ ว่ามโนคติที่ดเู หมือนจะมาจากดวงอาทิตย์โดยตรง ในความ จริ งแล้ วไม่เหมือนกับดวงอาทิตย์เลย
33
Finally, even if these ideas do come from things other than myself, it doesn’t follow that they must resemble those things. Indeed, I think I have often discovered objects to be very unlike my ideas of them. For example, I find within me two different ideas of the sun: one seems to come from the senses – it is a prime example of an idea that I reckon to have an external source – and it makes the sun appear very small; the other is based on astronomical reasoning, and it shows the sun to be several times larger than the earth. Obviously these ideas cannot both resemble the external sun; and reason convinces me that the idea that seems to have come most directly from the sun itself in fact does not resemble it at all. ข้ อพิจารณาเหล่านี ้แสดงให้ เห็นว่าอะไรที่ทำาให้ ฉนั คิดว่ามีสิ่งต่างๆอยูภ่ ายนอกฉัน ซึง่ สร้ างมโนคติหรื อ ภาพของพวกมันผ่านอวัยวะรับสัมผัส หรื อในวิธีอื่นบางอย่างนัน้ ไม่ใช่การตัดสินที่ไว้ วางใจได้ แต่เป็ น เพียงแรงขับอันมืดบอดบางอย่างต่างหาก These considerations show that it isn’t reliable judgment but merely some blind impulse that has led me to think that there exist things outside me that give ideas or images of themselves through the sense organs or in some other way. กระนันเอง ้ บางทีอาจจะมีอีกวิธีหนึง่ ของการไต่สวนว่าบางสิ่งบางอย่างที่ฉนั มีมโนคติ มีอยูจ่ ริ งๆ ภายนอกฉันหรือไม่ เมื่อพิจารณาว่ามโนคติทงหลายของฉั ั้ นเป็ นแค่เหตุการณ์ทางจิต พวกมันดูเหมือนจะ เท่าเทียมกันหมด ดูเหมือนพวกมันจะเกิดมาจากภายในฉันในลักษณะเดียวกันทังหมด ้ แต่เมื่อพิจารณา ว่าเป็ นภาพที่เป็ นตัวแทนของถึงสิ่งอื่นนอกเหนือจากตัวมันเอง นี่ชดั เจนว่าพวกมันนันแตกต่ ้ างกันมาก ไม่มีอะไรให้ ต้องสงสัยว่า มโนคติที่แสดงถึงเนื ้อสาร (substance) เทียบเท่ากับอะไรบางอย่างที่มากกว่า นัน่ คือพวกมันมีความจริงที่ถกู แสดงถึงอยูใ่ นตัว มากกว่าของมโนคติที่เพียงแค่แสดงถึงคุณสมบัติ และ เช่นเดียวกันนัน้ มโนคติที่ให้ ความเข้ าใจต่อฉันในเรื่ องของพระเจ้ าผู้ทรงอำานาจ ว่าเป็ นอัมตะ อนันต์ เที่ยง แท้ ถาวร สัพพัญญู ทรงอานุภาพ และเป็ นผู้สร้ างของทุกสรรพสิ่งนอกจากตัวเขาเอง แน่นอนว่าในมโนคติ นันมี ้ ตวั แทนของความจริงอยูม่ ากกว่ามโนคติที่เป็ นเพียงแค่ตวั แทนของเนื ้อสารที่มีที่สิ ้นสุด Perhaps, though, there is another way of investigating whether some of the things of which I have ideas really do exist outside me. Considered simply as mental events, my ideas seem to be all on a par: they all appear to come from inside me in the same way. But considered as images representing things other than themselves, it is clear that they differ widely. Undoubtedly, the ideas that represent substances amount to something more – they contain within themselves more representative reality – than do the ideas that merely represent qualities. Again, the idea that gives me my understanding of a supreme God – eternal, infinite, unchangeable, omniscient, omnipotent and the creator of everything that exists except for
34
himself – certainly has in it more representative reality than the ideas that represent merely finite substances. ย่อมเป็ นที่ปรากฏอย่างชัดเจนโดยแสงแห่งธรรมชาติว่า สาเหตุรวบยอดของสิ่งบางอย่างต้ องมีความ จริ งที่มากเท่ากับที่ผลลัพธ์มีเป็ นอย่างน้ อยที่สดุ เพราะผลลัพธ์จะได้ ความจริ งมาจากที่ใดหากไม่ได้ มา จากตัวเหตุ? และเหตุจะให้ ความจริงกับผลได้ อย่างไรหากมันไม่มีความจริ งนันอยู ้ แ่ ล้ วแต่แรก? นี่ หมายความสองประการคือ สิ่งบางอย่างไม่สามารถเกิดออกมาจากความไม่มีอะไรเลยได้ และอะไรที่ สมบูรณ์กว่า นัน่ คือมีความจริงอยูใ่ นมันมากกว่า ไม่สามารถจะเกิดมาจากอะไรที่สมบูรณ์น้อยกว่าได้ และนี่เป็ นจริ งอย่างเห็นได้ ชดั ว่าไม่ใช่แค่สำาหรับความจริ งที่ ‘เป็ นอยูจ่ ริ งๆ’(actual) หรื อความจริ งที่ ‘อยูใ่ น เนื ้อแท้ ’(intrinsic) (อย่างที่นกั ปรัชญาเรียกมัน) แต่สำาหรับการเป็ นตัวแทนความจริ งของมโนคติด้วยเช่น กัน ซึง่ นัน่ ก็คือ สำาหรับความจริงที่มโนคติหนึง่ ๆ เป็ นตัวแทนด้ วย เช่น ก้ อนหินก้ อนหนึง่ จะเริ่ มต้ นมีอยูไ่ ด้ ก็ตอ่ เมื่อมันถูกสร้ างโดยบางอย่างบางอย่างที่ครอบครอง(ไม่วา่ จะอย่างตรงไปตรงมาหรื อในรูปแบบที่สงู กว่าบางอย่าง)ทุกอย่างที่จะสามารถค้ นพบได้ ในก้ อนหิน ในทำานองเดียวกัน ความร้ อนไม่สามารถถูก สร้ างขึ ้นมาจากวัตถุที่ก่อนหน้ านันเย็ ้ น เว้ นแต่โดยบางสิ่งบางอย่างที่ อย่างน้ อยที่สดุ ก็มีความสมบูรณ์ใน ระดับเดียวกันกับความร้ อน และอื่นๆ (ฉันจะไม่พดู ง่ายๆว่า ‘เว้ นแต่โดยบางสิ่งที่ร้อน’ เพราะว่านัน่ ไม่ จำาเป็ น สิ่งนันอาจจะถู ้ กทำาให้ ร้อนโดยบางสิ่งบางอย่างที่ไม่มีความร้ อนอยูใ่ นตัว อย่างตรงไปตรงมา นัน่ ก็ คือตัวมันเองไม่ร้อน แต่มีความร้ อนในรู ปแบบที ส่ ูงกว่า กล่าวก็คือเป็ นบางสิ่งบางอย่างที่มีระดับความ สมบูรณ์สงู กว่าความร้ อน ฉะนันในฐานะตั ้ วอย่าง แม้ จะชัดเจนว่าตัวพระเจ้ านันเองไม่ ้ ร้อนแต่ก็สามารถ ทำาให้ บางอย่างร้ อนได้ (เพราะว่าเขาไม่ได้ มีความร้ อนอย่างตรงไปตรงมาแต่มีในรูปแบบที่สงู กว่า) แต่ก็ เป็ นจริ งด้ วยเช่นกันว่ามโนคติ ของความร้ อนหรือของก้ อนหิน สามารถถูกสร้ างขึ ้นมาในฉันได้ ก็แต่เพียง โดยบางสิ่งที่ อย่างน้ อยที่สดุ ก็มีความจริงมากเท่ากับที่ฉนั เข้ าใจว่ามีอยูใ่ นความร้ อนหรื อมีอยูใ่ นก้ อนหิน เพราะถึงแม้ ว่าต้ นเหตุนี ้ไม่ได้ สง่ ต่อความจริงที่มีอยูใ่ นเนื ้อแท้ หรื อที่เป็ นอยูจ่ ริ งๆมาสูม่ โนคติของฉัน มันก็ ไม่อาจเป็ นจริ งน้ อยไปกว่านี ้ มโนคติไม่จำาเป็ นต้ องมีเนื ้อแท้ ของความจริ งเว้ นก็แต่อะไรที่ได้ มาจากความ คิดของฉันซึง่ มันเป็ นรูปแบบให้ แต่มโนคติใดก็ตาม ที่เป็ นตัวแทนความจริ งย่อมแน่นอนว่าต้ องมาจากตัว เหตุ ที่อย่างน้ อยที่สดุ ก็มีเนือ้ แท้ของความจริง มากเท่ากับที่มีอยูใ่ นมโนคติที่เป็ นตัวแทนความจริ ง เพราะ ถ้ าเราจะคิดไปว่ามโนคติครอบคลุมบางสิ่งบางอย่างที่ไม่มีอยูใ่ นสาเหตุของมัน มันต้ องได้ สิ่งนี ้มาจาก ความไม่มีอะไร แต่ความจริงประเภทที่เกี่ยวพันกับการที่บางอย่างถูกแสดงแทนในจิตโดยมโนคติ ถึงแม้ มันจะไม่สมบูรณ์มากนัก แต่ที่แน่ๆก็คือมันไม่ใช่ไม่มีอะไร และดังนันไม่ ้ สามารถมาจากความไม่มีอะไร Now it is obvious by the natural light that the total cause of something must contain at least as much reality as does the effect. For where could the effect get its reality from if not from the cause? And how could the cause give reality to the effect unless it first had that reality itself? Two things follow from this: that something can’t arise from nothing, and that what is more
35
perfect – that is, contains in itself more reality – can’t arise from what is less perfect. And this is plainly true not only for ‘actual’ or ‘intrinsic’ reality (as philosophers call it) but also for the representative reality of ideas – that is, the reality that a idea represents. A stone, for example, can begin to exist only if it is produced by something that contains – either straightforwardly or in some higher form – everything that is to be found in the stone; similarly, heat can’t be produced in a previously cold object except by something of at least the same order of perfection as heat, and so on. (I don’t say simply ‘except by something that is hot’, because that is not necessary. The thing could be caused to be hot by something that doesn’t itself straightforwardly contain heat – i.e. that isn’t itself hot – but contains heat in a higher form, that is, something of a higher order of perfection than heat. Thus, for example, although God is obviously not himself hot, he can cause something to be hot (because he contains heat not straightforwardly but in a higher form.) But it is also true that the idea of heat or of a stone can be caused in me only by something that contains at least as much reality as I conceive to be in the heat or in the stone. For although this cause does not transfer any of its actual or intrinsic reality to my idea, it still can’t be less real. An idea need have no intrinsic reality except what it derives from my thought, of which it is a mode. But any idea that has representative reality must surely come from a cause that contains at least as much intrinsic reality as there is representative reality in the idea. For if we suppose that an idea contains something that was not in its cause, it must have got this from nothing; yet the kind of reality that is involved in something’s being represented in the mind by an idea, though it may not be very perfect, certainly isn’t nothing, and so it can’t come from nothing. อาจคิดไปว่า เนื่องจากความจริงที่ฉนั กำาลังพิจารณาอยูใ่ นมโนคติของฉันนันเป็ ้ นเพียงแค่ความจริ ง แบบการเป็ นตัวแทน ดังนันมั ้ นจึงอาจมีอยูแ่ ล้ วในเหตุของมันอย่างที่เป็ นในเชิงของการเป็ นตัวแทน และ ไม่ใช่อย่างในเชิงที่อยูใ่ นเนื ้อแท้ นัน่ ย่อมจะหมายความว่าตัวเหตุเองก็เป็ นมโนคติ เพราะว่ามีแต่มโนคติ เท่านันที ้ ่มีความจริงแบบการเป็ นตัวแทน แต่นนั่ ไม่ถกู ต้ อง ถึงแม้ ว่ามโนคติหนึง่ อาจจะมาจากอีกมโนคติ หนึง่ แต่ก็ไม่สามารถที่จะมีการถอยหลังอย่างไม่ร้ ูจบของมโนคติเช่นนัน้ ท้ ายที่สดุ ก็ต้องมาลงเอยที่ มโนคติที่ไม่ได้ เกิดจากมโนคติอื่น และสาเหตุนีต้ ้ องเป็ นแม่แบบชนิดหนึง่ ที่โดยเนือ้ แท้แล้วมีความจริ ง ทังหมด ้ หรือความสมบูรณ์ทงหมดที ั้ ่มโนคตินนมี ั ้ ในฐานะที เ่ ป็ นตัวแทนเท่านัน้ ดังนันแสงแห่ ้ งธรรมชาติ แสดงให้ ฉนั เห็นอย่างชัดเจนว่ามโนคติของฉันเป็ นเหมือนรูปภาพ ซึง่ เป็ นเรื่ องง่ายอย่างยิ่งที่จะบกพร่องใน ความสมบูรณ์ของสิ่งที่พวกมันรับเข้ ามา แต่จะไม่สามารถมีเกินกว่านันได้ ้
36
It might be thought that since the reality that I am considering in my ideas is merely representative, it might be possessed by its cause only representatively and not intrinsically. That would mean that the cause is itself an idea, because only ideas have representative reality. But that would be wrong. Although one idea may perhaps originate from another, there can’t be an infinite regress of such ideas; eventually one must come back to an idea whose cause isn’t an idea, and this cause must be a kind of archetype containing intrinsically all the reality or perfection that the idea contains only representatively. So the natural light makes it clear to me that my ideas are like pictures or images that can easily fall short of the perfection of the things from which they are taken, but which can’t exceed it. ยิ่งฉันพิจารณาประเด็นเหล่านี ้อย่างรอบคอบและนานยิ่งขึ ้นเท่าไร ความจริ งของมันก็ยิ่งปรากฏอย่าง กระจ่างชัดต่อฉันยิ่งขึ ้นเท่านัน้ แต่ข้อสรุปของฉันจะเป็ นอะไรได้ บ้าง? ถ้ าฉันพบว่ามโนคติบางอย่างของ ฉันมีความจริ งที่มนั แสดงเป็ นตัวแทนมาก เสียจนฉันมัน่ ใจว่าความจริ งเดียวกันนันไม่ ้ ได้ ตงอยู ั ้ ใ่ นฉัน ไม่ว่า จะอย่างตรงไปตรงมาหรือในรูปแบบที่สงู กว่า และด้ วยเหตุนี ้ฉันไม่อาจจะเป็ นสาเหตุของมโนคตินี ้ได้ ดัง นันด้ ้ วยการที่ทกุ อย่างต้ องมาจากเหตุอะไรบางอย่าง จึงจำาเป็ นอย่างยิ่งที่จะสรุปว่าฉันไม่ได้ อยูต่ ามลำาพัง ในโลก แต่มีสิ่งอื่นบางอย่างอยูจ่ ริงที่เป็ นสาเหตุของมโนคตินนั ้ The longer and more carefully I examine all these points, the more clearly and distinctly I recognize their truth. But what is my conclusion to be? If I find that some idea of mine has so much representative reality that I am sure the same reality doesn’t reside in me, either straightforwardly or in a higher form, and hence that I myself can’t be the cause of the idea, then, because everything must have some cause, it will necessarily follow that I am not alone in the world: there exists some other thing that is the cause of that idea. ถ้ าหากว่ามโนคติประเภทนี ้ไม่สามารถพบในฉันได้ เลย ฉันก็จะไม่มีข้อโต้ เถียงที่จะแสดงว่ามีสิ่งอื่นที่ นอกเหนือไปจากฉันตัวอยูจ่ ริง เพราะถึงแม้ ว่าจะมีการสำารวจอย่างระมัดระวังและกว้ างขวางที่สดุ แล้ ว ก็ตาม นี่ก็เป็ นเพียงข้ อโต้ เถียงเดียวที่ฉนั สามารถหาพบจนบัดนี ้ If no such idea is to be found in me, I shall have no argument to show that anything exists apart from myself; for, despite a most careful and wide-ranging survey, this is the only argument I have so far been able to find. ในบรรดามโนคติทงหลายของฉั ั้ น นอกไปจากที่เป็ นตัวแทนของฉันเอง ซึง่ ไม่สามารถเสนอข้ อยุง่ ยาก ใดในบริ บทนี ้ มีมโนคติอีกนานัปการที่เป็ นตัวแทนของพระเจ้ า ของกายวัตถุที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เทวดา สิงสาราสัตว์ และท้ ายที่สดุ ของมนุษย์คนอื่นที่เหมือนตัวฉัน
37
Among my ideas, apart from the one that gives me a representation of myself, which can’t present any difficulty in this context, there are ideas that variously represent God, inanimate bodies, angels, animals and finally other men like myself. ในเรื่องของมโนคติของฉันเกี่ยวกับมนุษย์คนอื่นหรื อสัตว์ หรื อเทวดา ฉันสามารถเข้ าใจได้ อย่าง ง่ายดายว่าพวกมันสามารถถูกประกอบขึ ้นมาจากมโนคติที่ฉนั มีเกี่ยวกับตัวเอง และเกี่ยวกับกายวัตถุ และพระเจ้ า ถึงแม้ ถ้าโลกจะไม่มีมนุษย์คนอื่นนอกเหนือจากฉัน ไม่มีสตั ว์ และไม่มีเทพยดาอยูจ่ ริ งๆ เลย ก็ตาม As regards my ideas of other men, or animals, or angels, I can easily understand that they could be put together from the ideas I have of myself, of bodies and of God, even if the world contained no men besides me, no animals and no angels. ส่วนมโนคติของฉันเรื่องกายวัตถุตา่ งๆ นันเท่ ้ าที่ฉนั เห็น พวกมันไม่ประกอบด้ วยสิ่งอะไรที่วิเศษเลอ เลิศอย่างที่ไม่สามารถจะถือกำาเนิดมาจากในตัวฉันเองได้ เพราะหากว่าฉันพิจารณาพวกมันอย่าง ละเอียดถี่ถ้วนไปทีละชิ ้น อย่างที่ฉนั พิจารณามโนคติของขี ้ผึ ้งเมื่อวาน ฉันพบว่ารายการที่ตามมานี ้แสดง ให้ เห็นทุกอย่างที่ฉนั ได้ รับรู้อย่างกระจ่างแจ้ งในพวกมัน ได้ แก่ขนาด ซึง่ เป็ นการแผ่ขยายออกไปในความ กว้ าง/ยาว/ลึก รู ปร่างซึง่ เป็ นค่าของขอบเขตของการแผ่ออกไปนี ้ ตำาแหน่งซึง่ เป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยเฉพาะทังหลายที ้ ่เป็ นเจ้ าของรูปร่าง การเคลื อ่ นไหวซึง่ ก็คือการเปลี่ยนแปลงในตำาแหน่งที่ตงั ้ As to my ideas of bodies, so far as I can see they contain nothing that is so great or excellent that it couldn’t have originated in myself. For if I examine them thoroughly, one by one, as I did the idea of the wax yesterday, I realize that the following short list gives everything that I perceive clearly and distinctly in them: size, or extension in length, breadth and depth; shape, which is a function of the boundaries of this extension; position, which is a relation between various items possessing shape; motion, or change in position. ที่อาจเพิ่มเติมด้ วยเนื ้อสาร ระยะเวลาและจำานวน To these may be added substance, duration and number. แต่สำาหรับสิ่งที่เหลือทังหมดรวมถึ ้ งแสงและสี เสียง กลิน่ รส ความร้ อนและเย็นและคุณลักษณะอื่นๆที่ สามารถรับรู้ได้ โดยสัมผัส ฉันคิดถึงสิ่งพวกนี ้ด้ วยความมึนงงและกำากวมเสียจนกระทัง่ ฉันไม่ร้ ูแม้ กระทัง่ ว่าพวกมันเป็ นจริงหรือเท็จ นันก็ ้ คือ ฉันไม่ร้ ูวา่ มโนคติของฉันที่มีตอ่ พวกมันนันเป็ ้ นมโนคติของสิ่งที่เป็ น จริ งหรือของสิ่งที่ไม่เป็ นจริง ถ้ าพูดกันอย่างชัดเจนแล้ วมีก็แต่ข้อตัดสินเท่านันที ้ ่สามารถเป็ นจริ งหรื อเท็จ ได้ แต่เราก็สามารถพูดเช่นกันว่ามโนคติหนึง่ เป็ น‘เท็จ’ในความหมายบางอย่าง เรากล่าวว่ามันเป็ น‘เท็จใน สาระสำาคัญ’ หากว่ามันแสดงถึงสิ่งที่ไม่เป็ นจริ งว่าเป็ นจริ ง ตัวอย่างเช่น มโนคติของฉันต่อความร้ อนและ เย็นนันมี ้ ความกระจ่างชัดที่น้อยเสียจนไม่อาจช่วยให้ ฉนั รู้วา่ ความเย็นเป็ นเพียงแค่การขาดความร้ อน
38
หรื อความร้ อนเป็ นเพียงแค่การขาดความเย็น หรื อทังร้้ อนและเย็นเป็ นคุณภาพที่เป็ นจริ งเชิงบวก หรื อทัง้ ร้ อนและเย็นไม่เป็ นคุณภาพที่เป็ นจริงเชิงบวก But as for all the rest, including light and colours, sounds, smells, tastes, heat and cold and the other qualities that can be known by touch, I think of these in such a confused and obscure way that I don’t even know whether they are true or false, that is, whether my ideas of them are ideas of real things or of non-things. Strictly speaking, only judgments can be true or false; but we can also speak of an idea as ‘false’ in a certain sense – we call it ‘materially false’ – if it represents a non-thing as a thing. For example, my ideas of heat and cold have so little clarity and distinctness that they don’t enable me to know whether cold is merely the absence of heat, or heat is merely the absence of cold, or heat and cold are both real positive qualities, or neither heat nor cold is a real positive quality. หากว่าคำาตอบที่ถกู ต้ องคือความเย็นไม่ใช่อะไรนอกไปจากการปราศจากความร้ อน มโนคติที่แสดง มันต่อฉันว่าเป็ นจริงและเป็ นคุณภาพเชิงบวกก็สมควรที่จะถูกเรี ยกว่า ‘เท็จ’ และมโนคติอื่นๆประเภทนี ้ก็ จะเป็ นเช่นเดียวกัน If the right answer is that cold is nothing but the absence of heat, the idea that represents it to me as something real and positive deserves to be called ‘false'; and the same goes for other ideas of this kind. เห็นได้ ชดั ว่ามโนคติประเภทนี ้ไม่จำาเป็ นต้ องมีต้นเหตุมาจากสิ่งอืน่ นอกเหนือไปจากตัวฉัน หากว่ามัน เป็ นเท็จ นัน่ ก็คือหากว่ามันเป็ นตัวแทนของสิ่งที่ไม่มีอยู่ มันก็เกิดมีขึ ้นในฉันเพียงเพราะว่าฉันมีข้อ บกพร่องหรื อเพราะการที่ธรรมชาติของฉันขาดความสมบูรณ์ ซึง่ หมายความว่ามันไม่ได้ มาจากอะไรทัง้ สิ ้น ฉันรู้เช่นนี ้โดยแสงแห่งธรรมชาติ ในทางกลับกัน ถ้ าเกิดว่ามันเป็ นจริ ง ก็ไม่มีเหตุผลใดที่มนั จะไม่ได้ เกิดขึ ้นจากตัวฉันเอง เพราะว่ามันเป็ นตัวแทนของความจริ งที่เล็กน้ อยเสียจนฉันไม่อาจแยกแยะมันจาก สิ่งที่ไม่เป็ นจริ ง Such ideas obviously don’t have to be caused by something other than myself. If they are false – that is, if they represent non-things – then they are in me only because of a deficiency or lack of perfection in my nature, which is to say that they arise from nothing; I know this by the natural light. If on the other hand they are true, there is no reason why they shouldn’t arise from myself, since they represent such a slight reality that I can’t even distinguish it from a non-thing. ในเรื่ องขององค์ประกอบที่กระจ่างแจ้ งของมโนคติของฉันว่าด้ วยกายวัตถุ ดูเหมือนว่าฉันอาจจะหยิบ ยืมของพวกนันบางอย่ ้ างมาจากมโนคติเกี่ยวกับตัวฉันเอง อันได้ แก่เนือ้ สาร ระยะเวลา จำ านวน และอะไร
39
อื่นๆในประเภทเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ฉันคิดว่าหินเป็ นเนื ้อสาร หรื อสิ่งที่สามารถมีอยูไ่ ด้ ด้วยตัวเองและ คิดด้ วยว่าฉันก็เป็ นเนื ้อสาร ฉันยอมรับว่าฉันเข้ าใจตัวเองว่าเป็ นสิ่งที่คิดและไม่ได้ กินพื ้นที่และหินเป็ นสิ่งที่ กินพื ้นที่แต่ไม่คิด แนวคิดทังสองอย่ ้ างจึงแตกต่างกันอย่างมหาศาล แต่ก็ดเู หมือนจะอยูร่ ่วมกันในหมวด หมูข่ อง ‘เนื ้อสาร’ เช่นเดียวกัน ฉันรับรู้ว่าตอนนี ้ฉันมีอยูจ่ ริ งและจำาได้ ว่าฉันมีอยูจ่ ริ งมาช่วงเวลาหนึง่ แล้ ว ยิ่งไปกว่านัน้ ฉันมีความคิดหลากหลายประการที่ฉนั สามารถนับได้ ด้ วยการนี ้นี่เองที่ฉนั ได้ รับมโนคติของ ระยะเวลาและจำานวนที่ฉนั สามารถนำาข้ ามมาใช้ กบั สิ่งอื่น ส่วนในเรื่ องขององค์ประกอบอื่นๆที่รวมกันเป็ น มโนคติของกายวัตถุ ได้ แก่การแผ่ขยายออกไป รูปร่าง ตำาแหน่งและการเคลื่อนที่ นี่ไม่ได้ อยูใ่ นฉันตรงๆ เพราะฉันไม่ใช่อะไรอื่นนอกเหนือไปจากสิ่งที่คิด แต่ในเมื่อพวกมันเป็ นเพียงแค่รูปแบบของเนื ้อสารหนึง่ และฉันเป็ นเนื ้อสารหนึง่ ดูเหมือนจะเป็ นไปได้ ที่พวกมันจะมีอยูใ่ นฉันในรูปแบบบางอย่างที่สงู กว่านัน้ นัน่ คือ ฉัน(ด้ วยตัวเอง)ไม่ได้ แผ่ขยายออก มีรูปร่าง ฯลฯ แต่เพราะว่าฉันเป็ นเนือ้ สารหนึง่ (จะว่าไปแล้ ว)ฉันจึง เป็ นหนึง่ รูปแบบที่สงู ขึ ้นไปในเชิงอภิปรัชญาบนรู ปแบบพวกนี ้ ซึง่ หมายความว่าฉันสามารถมีอะไรก็ตาม ที่ใช้ สร้ างมโนคติของคุณสมบัติพวกนี ้อยูใ่ นตัว With regard to the clear and distinct elements in my ideas of bodies, it appears that I could have borrowed some of these from my idea of myself, namely substance, duration, number and anything else of this kind. For example, I think that a stone is a substance, or is a thing capable of existing independently, and I also think that I am a substance. Admittedly I conceive of myself as a thing that thinks and isn’t extended, and of the stone as a thing that is extended and doesn’t think, so that the two conceptions differ enormously; but they seem to have the classification ‘substance’ in common. Again, I perceive that I now exist, and remember that I have existed for some time; moreover, I have various thoughts that I can count; it is in these ways that I acquire the ideas of duration and number that I can then transfer to other things. As for all the other elements that make up the ideas of bodies – extension, shape, position and movement – these are not straightforwardly contained in me, since I am nothing but a thinking thing; but since they are merely modes of a substance, and I am a substance, it seems possible that they are contained in me in some higher form. That is, I am not myself extended, shaped etc., but because I am a substance I am (so to speak) metaphysically one up on these mere modes, which implies that I can contain within me whatever it takes to cause the ideas of them. ดังนันจึ ้ งเหลืออยูแ่ ค่มโนคติเกี่ยวกับพระเจ้ า มีอะไรในนัน้ ที่ไม่สามารถเกิดขึ ้นจากในตัวฉันเองหรื อ ไม่? ด้ วยคำาว่า‘พระเจ้ า’ฉันเข้ าใจว่าคือเนื ้อสารหนึง่ ที่ไร้ ขอบเขต เป็ นนิรันดร์ เที่ยงแท้ ถาวร ไม่ขึ ้นต่อสิ่งใด เป็ นสัพพัญญู มีอานุภาพสูงสุด ผู้ซงึ่ สร้ างฉันและสิ่งใดก็ตามที่อาจมีอยูข่ ึ ้นมา ยิ่งฉันพิจารณา
40
คุณลักษณะพวกนี ้อย่างถี่ถ้วนมากขึ ้นเพียงใดก็ยิ่งดูเหมือนว่าเป็ นไปได้ น้อยลงเรื่ อยๆที่คณ ุ ลักษณะ แต่ละอย่างจะเกิดมาจากฉันเพียงโดยลำาพัง ดังนันการอภิ ้ ปรายทังหมดนี ้ ้จึงหมายความว่าพระเจ้ าจำาเป็ น ต้ องมีอยูจ่ ริ ง So there remains only the idea of God: is there anything in that which couldn’t have originated in myself? By the word ‘God’ I understand a substance that is infinite, eternal, unchangeable, independent, supremely intelligent, supremely powerful, which created myself and anything else that may exist. The more carefully I concentrate on these attributes, the less possible it seems that any of them could have originated from me alone. So this whole discussion implies that God necessarily exists. เป็ นจริ งที่ว่าการที่ฉนั เป็ นเนื ้อสารหนึง่ อธิบายการที่ฉนั มีมโนคติเกี่ยวกับเนื ้อสาร แต่ไม่อธิบายเกี่ยวกับ การที่ฉนั มีมโนคติเกี่ยวกับเนื ้อสารที่ไม่มีที่สิ ้นสุด นัน่ ต้ องมาจากเนื ้อสารบางอย่างที่ตวั มันเองไม่มีที่สิ ้นสุด ฉันมีที่สิ ้นสุด It is true that my being a substance explains my having the idea of substance; but it does not explain my having the idea of an infinite substance. That must come from some substance that is itself infinite. I am finite. อาจคิดว่านี่ผิด เพราะแนวความคิดของฉันเกี่ยวการไม่มีที่สิ ้นสุดมาจากแค่การปฏิเสธการมีสิ ้นสุด เหมือนกับที่มโนทัศน์ของการหยุดนิ่งและความมืดมาจากการปฏิเสธการเคลื่อนไหวและแสงสว่าง แต่ นัน่ เองก็อาจผิด ฉันเข้ าใจอย่างชัดเจนว่ามีความจริ งอยูใ่ นเนื ้อสารที่ไม่มีที่สิ ้นสุดมากกว่าในเนื ้อสารที่มีที่ สิ ้นสุด และด้ วยเหตุนี ้เองที่การรับรู้ของฉันถึงสิ่งที่ไม่มีที่สิ ้นสุดซึง่ ก็คือพระเจ้ า ในบางแง่แล้ ว มีมาก่อนการ รับรู้ของฉันถึงสิ่งที่มีที่สิ ้นสุดซึง่ ก็คือ ตัวฉันเอง เมื่อใดก็ตามที่ฉนั รู้วา่ ฉันสงสัยบางสิ่งบางอย่างหรื อ ต้ องการบางสิ่งบางอย่าง ฉันเข้ าใจว่าฉันขาดบางสิ่งบางอย่างและดังนันจึ ้ งไม่สมบูรณ์ ฉันเข้ าใจเช่นนี ้ได้ อย่างไรถ้ าฉันไม่มีมโนคติของสัตที่สมบูรณ์ซงึ่ ช่วยให้ ฉนั รู้ถึงความพร่องของฉันโดยการเปรี ยบเทียบ? หรื อ จะกล่าวได้ อย่างไรว่ามโนคติเกี่ยวกับพระเจ้ านี ้‘เป็ นเท็จในสาระสำาคัญ’ ฉะนันจึ ้ งมาจากความไม่มีอะไร เช่นเดียวกับที่อาจเป็ นจริงกับมโนคติเกี่ยวกับความร้ อนและความเย็น (ที่ฉนั กล่าวถึงก่อนหน้ านี ้) ในทาง ตรงกันข้ าม มโนคติเกี่ยวกับพระเจ้ ามีความกระจ่างชัดอย่างสมบูรณ์ นัน่ ก็คือ มันเป็ นตัวแทนของบางสิ่ง ที่ยิ่งใหญ่กว่า มีอำานาจยิ่งกว่า และเป็ นจริงยิ่งกว่าสิ่งที่มโนทัศน์อนื่ ใดเป็ นตัวแทน ดังนันมั ้ นจึงเป็ นจริ งยิ่ง กว่า เปิ ดรับต่อการที่จะสงสัยว่าเป็ นเท็จน้ อยกว่ามโนคติอื่นใด มโนคติว่าด้ วยสัตที่สมบูรณ์สงู สุดและไร้ ขอบเขตจำากัดนี ้ ฉันขอกล่าวว่าเป็ นจริงในระดับสูงที่สดุ เพราะแม้ ใครอาจจะจินตนาการไปว่าสัตเช่นนัน้ ไม่มีอยูจ่ ริ ง ก็ไม่อาจคิดได้ เลยว่ามโนคติวา่ ด้ วยสัตเช่นนันเป็ ้ นตัวแทนของบางสิ่งที่ไม่จริ งในแบบเดียวกับ ที่มโนคติเรื่ องความเย็นอาจจะเป็ น ยิ่งไปกว่านัน้ มโนคตินนกระจ่ ั้ างแจ้ งชัดเจนอย่างสมบูรณ์ ไม่สำาคัญ ว่าฉันไม่ได้ ร้ ูแจ้ งเห็นจริงในสิ่งอันไร้ ขอบเขต หรือว่าพระเจ้ ามีคณ ุ ลักษณะที่เพิ่มขึ ้นมาอีกนับไม่ถ้วนที่ฉนั
41
ไม่อาจเข้าใจ และไม่อาจแม้ แค่จะสัมผัสในความคิดของฉัน เพราะย่อมมีอยูใ่ นธรรมชาติของสิ่งอันไม่มีที่ สิ ้นสุดอยูแ่ ล้ วที่จะไม่อาจเข้ าใจอย่างถ่องแท้ โดยสัตที่มีที่สิ ้นสุดอย่างตัวฉันเอง เป็ นการเพียงพอแล้ วที่ฉนั เข้ าใจสิ่งอันไร้ ขอบเขต และที่ฉนั ตัดสินว่าคุณลักษณะทุกอย่างที่ฉนั รู้อย่างชัดเจนด้ วยอายตนะและจิต บอกถึงความสมบูรณ์บางอย่าง และอาจมีอะไรอื่นอีกนับไม่ถ้วนที่ฉนั ไม่ลว่ งรู้ ตังอยู ้ ใ่ นพระเจ้ าไม่ว่าจะ อย่างตรงๆ หรือในรูปแบบบางอย่างที่สงู กว่า นี่พอแล้ วที่จะทำาให้ มโนคติที่ฉนั มีเกี่ยวกับพระเจ้ าเป็ นจริ ง อย่างที่สดุ และเป็ นมโนคติที่กระจ่างแจ้ งที่สดุ ในบรรดามโนคติทงหมดของฉั ั้ น It might be thought that this is wrong, because my notion of the infinite is arrived at merely by negating the finite, just as my conceptions of rest and darkness are arrived at by negating movement and light. That would be a mistake, however. I clearly understand that there is more reality in an infinite substance than in a finite one, and hence that my perception of the infinite, i.e. God, is in some way prior to my perception of the finite, i.e. myself. Whenever I know that I doubt something or want something, I understand that I lack something and am therefore not wholly perfect. How could I grasp this unless I had an idea of a perfect being, which enabled me to recognize my own defects by comparison? Nor can it be said that this idea of God could be ‘materially false’, and thus have come from nothing, as may be the case (I noted this a few moments ago) with the ideas of heat and cold. On the contrary, it is utterly clear and distinct, and contains in itself more representative reality than any other idea; that is, it stands for something that is grander, more powerful, more real, than any other idea stands for; so it is more true – less open to the suspicion of falsehood – than any other idea. This idea of a supremely perfect and infinite being is, I say, true in the highest degree; for although one might imagine that such a being does not exist, it can’t be supposed that the idea of such a being represents something unreal in the way that the idea of cold perhaps does. The idea is, moreover, utterly clear and distinct. It does not matter that I don’t grasp the infinite, or that there are countless additional attributes of God that I can’t grasp and perhaps can’t even touch in my thought; for it is in the nature of the infinite not to be grasped by a finite being like myself. It is enough that I understand the infinite, and that I judge that all the attributes that I clearly perceive and know to imply some perfection – and perhaps countless others of which I am ignorant – are present in God either straightforwardly or in some higher form. This is enough to make the idea that I have of God the truest and most clear and distinct of all my ideas.
42
นี่เป็ นข้ อที่อาจยกมาแย้ งต่อแนวความคิดนัน้ อาจเป็ นไปได้ ว่าฉันนันยิ ้ ่งใหญ่กว่าที่ฉนั เองเข้ าใจ บางที ความสมบูรณ์ที่ฉนั ถือว่าเป็ นคุณสมบัติของพระเจ้ านัน้ เป็ นสิ่งที่ฉนั ก็มีอยูใ่ นรูปของศักยภาพบางอย่าง และเป็ นสิ่งที่เพียงแค่ยงั ไม่ปรากฏในความเป็ นจริ ง ความรู้ของฉันค่อยๆเพิ่มขึ ้นทีละน้ อยและฉันมองไม่ เห็นถึงอุปสรรคที่จะกีดขวางไม่ให้ มนั เพิ่มขึ ้นจนเป็ นอนันต์ แล้ วฉันอาจจะสามารถใช้ ความรู้ที่เพิ่มขึ ้น อย่างไร้ ขีดจำากัดนี ้เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ความสมบูรณ์แบบอื่นๆทังมวลของพระเจ้ ้ า ในกรณีเช่นนันฉั ้ นมี ศักยภาพที่จะมีความสมบูรณ์แบบพวกนี ้อยูแ่ ล้ วในตัว ทำาไมศักยภาพพวกนี ้จึงไม่มากพอที่จะช่วยให้ ฉนั สร้ างมโนคติของพวกมัน ซึง่ ก็คือช่วยให้ ฉนั สร้ างมโนคติว่าด้ วยพระเจ้ าของฉัน? แต่ทงหมดนี ั้ ้เป็ นไปไม่ได้ ด้ วยเหตุผลสามประการ Here is a possible objection to that line of thought. Perhaps I am greater than I myself understand: perhaps all the perfections that I attribute to God are ones that I do have in some potential form, and they merely haven’t yet shown themselves in actuality. My knowledge is gradually increasing, and I see no obstacle to its going on increasing to infinity. I might then be able to use this increased and eventually infinite knowledge to acquire all the other perfections of God. In that case, I already have the potentiality for these perfections – why shouldn’t this potentiality be enough to enable me to have caused the idea of them that is, to have caused my idea of God·? But all this is impossible for three reasons. ประการที่หนึง่ ถึงแม้ จะเป็ นจริงว่าฉันรู้มากขึ ้นและเป็ นจริ งว่าฉันอาจมีศกั ยภาพหลายอย่างที่ยงั ไม่ กลายเป็ นความจริง นี่ไม่คอ่ ยจะเกี่ยวข้ องกับมโนคติของพระเจ้ าซึง่ ไม่มีสิ่งใดทังสิ ้ ้นที่เป็ นศักยภาพ ที่จริ ง แล้ วความรู้ที่คอ่ ยๆเพิ่มขึ ้นนี ้ ในตัวมันเองแล้ ว เป็ นเครื่ องแสดงที่ชดั เจนที่สดุ ของความไม่สมบูรณ์แบบ เพราะว่าถ้ าฉันกำาลังเรียนรู้ให้ มากขึ ้น นัน่ แสดงว่ามีสิ่งที่ฉนั ไม่ร้ ูและนัน่ เป็ นความไม่สมบูรณ์แบบของฉัน ยิ่งกว่านันถึ ้ งแม้ ความรู้ของฉันเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีวนั หยุด มันจะไม่มีทางไร้ ที่สิ ้นสุดอย่างแท้ จริ งได้ เลย เพราะมันจะไม่มีวนั ไปถึงจุด ที่มนั ไม่สามารถเพิ่มขึ ้นอีกได้ ในทางกลับกันฉันเข้ าใจว่าพระเจ้ าไร้ ข้อจำากัด อย่างแท้ จริ งดังนันจึ ้ งไม่มีอะไรที่สามารถจะเพิ่มเติมให้ กบั ความสมบูรณ์ของเขา และประการที่สาม สัต ในสภาวะศักยภาพ พูดจริงๆแล้ วก็คือความว่างเปล่า สิ่งที่จำาเป็ นต่อการสร้ างสัตแบบที่เป็ นตัวแทนของ มโนคติหนึง่ คือสัตในสภาวะที เ่ ป็ นจริ ง First, though it is true that my knowledge is increasing, and that I have many potentialities that are not yet actual, this is all quite irrelevant to the idea of God, which contains absolutely nothing that is potential. Indeed, this gradual increase in knowledge is itself the surest sign of imperfection, because if I am learning more, that shows that there are things I don’t know, and that is an imperfection in me. What is more, even if my knowledge increases for ever, it will never actually be infinite, since it will never reach the point where it isn’t capable of a further
43
increase; God, on the other hand, I take to be actually infinite, so that nothing can be added to his perfection. And, thirdly, strictly speaking potential being is nothing; what it takes to cause the representative being of an idea is actual being. หากว่าเราเพ่งพินิจอย่างระมัดระวัง ทังหมดนี ้ ้ก็เป็ นที่ประจักษ์ แจ้ งด้ วยแสงแห่งธรรมชาติ แต่เมื่อฉัน ผ่อนคลายการเพ่งพินิจของฉันลงไป และวิสยั ทัศน์แห่งจิตของฉันถูกทำาให้ ขนุ่ มัวไปโดยภาพของสิ่งที่ฉนั รับรู้ทางประสาทสัมผัส ฉันสูญเสียวิสยั ทัศน์ของเหตุผลว่าทำาไมมโนคติว่าด้ วยสัตที่สมบูรณ์แบบกว่าของ ฉันต้ องมาจากสัตที่สมบูรณ์แบบกว่าจริ งๆ ดังนัน้ ฉันอยากที่จะเดินหน้ าสืบสวนต่อไป แต่คราวนี ้ด้ วยการ ถามคำาถามใหม่ คือ ถ้ าหากว่าสัตที่สมบูรณ์แบบยิ่งกว่าฉันไม่มีอยูจ่ ริ งแล้ วฉันจะมีอยูจ่ ริ งได้ หรื อไม่ ? ฉัน หวังว่าคำาตอบนี ้จะให้ ข้อพิสจู น์ใหม่ถึงความมีอยูจ่ ริ งของสัตที่สมบูรณ์แบบยิ่งกว่าฉัน อันจะเป็ นข้ อพิสจู น์ ที่จะง่ายสำาหรับฉันที่จะรักษาไว้ ในจิตแม้ เมื่อฉันคลายการเพ่งพินิจของฉันลง If one concentrates carefully, all this is quite evident by the natural light. But when I relax my concentration, and my mental vision is blurred by the images of things I perceive by the senses, I lose sight of the reasons why my idea of more perfect being has to come from a being that really is more perfect. So I want to push on with my enquiry, now asking a new question: If the more perfect being didn’t exist, could I exist? My hope is that the answer to this will yield a new proof of the existence of a perfect being – a proof that it will be easier for me to keep in mind even when I relax my concentration. เอาละ ถ้ าหากว่าพระเจ้ าไม่มีอยูจ่ ริ ง ฉันได้ รับความมีอยูข่ องฉันมาจากไหน? คงจะต้ องมาจากตัวฉัน เองหรื อจากพ่อแม่ของฉัน หรือจากสัตอื่นที่สมบูรณ์แบบน้ อยกว่าพระเจ้ า (สัตที่สมบูรณ์แบบยิ่งกว่า พระเจ้ าหรือแม้ สมบูรณ์แบบเท่ากับพระเจ้ า เป็ นอะไรที่ไม่อาจคิดถึงได้ ) Well, if God didn’t exist, from what would I derive my existence? It would have to come from myself, or from my parents, or from some other beings less perfect than God (a being more perfect than God, or even one as perfect, is unthinkable). ถ้ าฉันได้ รับความมีอยูข่ องฉันมาจากฉันเอง ตอนนี ้ฉันคงจะไม่สงสัยหรื อต้ องการหรื อขาดในอะไรเลย เพราะฉันคงจะให้ ความสมบูรณ์แบบทุกอย่างแก่ตวั ฉันในเรื่ องใดก็ตามที่ฉนั มีมโนคติ ดังนันฉั ้ นคงเป็ น พระเจ้ า If I had derived my existence from myself, I would not now doubt or want or lack anything at all; for I would have given myself all the perfections of which I have any idea. So I would be God. นี่เป็ นความคิดที่อาจจะดูเหมือนจะคัดง้ างกับข้ อโต้ เถียงนัน้ บางทีฉนั อาจจะมีอยู่มาตลอดเหมือน อย่างที่ฉนั เป็ นอยูต่ อนนี ้ ในกรณีเช่นนันไม่ ้ หมายความหรอกหรื อว่าไม่จำาเป็ นต้ องมีสาเหตุของความมีอยู่
44
ตัวตนของฉัน? ไม่ ไม่หมายความเช่นนัน้ เพราะช่วงชีวิตสามารถถูกแบ่งได้ นบั ไม่ถ้วนและแต่ละช่วงเป็ น อิสระอย่างสมบูรณ์จากช่วงอื่น ดังนันจากการที ้ ่ฉนั มีอยูจ่ ริ งในในเวลาหนึง่ มันไม่หมายความว่าฉันจะมี อยูจ่ ริ งในเวลาต่อมา เว้ นแต่มีสาเหตุบางอย่างทำาให้ ฉนั คงความมีอยูจ่ ริ งต่อไป อาจพูดได้ ว่ามันสร้างฉัน ขึ้นมาใหม่ในแต่ละชัว่ ขณะ ใครที่ท่มุ เทคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของเวลาจะเข้ าใจว่าอะไรที่จำาเป็ นต่อการนำา บางสิ่งมาสูค่ วามมีอยู่ ย่อมจำาเป็ นต่อการรักษาสิ่งนันให้ ้ มีอยูใ่ นทุกขณะของช่วงเวลาแห่งการมีอยูข่ อง มัน ดังนันจึ ้ งไม่มีความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างการรักษาไว้ กบั การสร้ าง (คือมีแค่ในเชิงความคิด เท่านัน) ้ และนี่เป็ นหนึง่ ในสิ่งที่แสงแห่งธรรมชาติแสดงให้ เห็นอย่างแจ้ งชัด Here is a thought that might seem to undercut that argument. Perhaps I have always existed as I do now. In that case, wouldn’t it follow that there need be no cause for my existence? No, it does not follow. For a life-span can be divided into countless parts, each completely independent of the others, so that from my existing at one time it doesn’t follow that I exist at later times, unless some cause keeps me in existence – one might say that it creates me afresh at each moment. Anyone who thinks hard about the nature of time will understand that what it takes to bring something into existence is also needed to keep it in existence at each moment of its duration. Thus there is no real distinction between preservation and creation – only a conceptual one – and this is one of the things that the natural light makes evident. ดังนันฉั ้ นจึงต้ องถามตัวเองว่าฉันมีฤทธานุภาพที่จะทำาให้ เป็ นจริ งขึ ้นมาหรื อไม่ ว่าฉันผู้ที่ตอนนี ้มีอยูจ่ ะ ยังคงมีอยูใ่ นอีกหนึง่ นาทีตอ่ มา เพราะในเมื่อฉันไม่ใช่อะไรนอกไปจากสิ่งที่คิด (หรื อไม่วา่ อย่างไรนัน่ ก็ เป็ นเพียงส่วนเดียวของฉันที่ฉนั สนใจ) แล้ วถ้ าหากว่าฉันมีฤทธานุภาพเช่นนันก็ ้ คงไม่ต้องสงสัยว่าฉัน คงจะตระหนักถึงข้ อนัน้ แต่ฉนั ไม่มีประสบการณ์ถึงพลังอำานาจนี ้ และนี่แสดงอย่างชัดเจนว่าฉันต้ องพึง่ สัตอื่นเพื่อให้ ฉนั คงความมีอยูต่ อ่ ไป So I have to ask myself whether I have the power to bring it about that I, who now exist, will still exist a minute from now. For since I am nothing but a thinking thing – or anyway that is the only part of me that I am now concerned with – if I had such a power I would undoubtedly be aware of it. But I experience no such power, and this shows me quite clearly that I depend for my continued existence on some being other than myself. กระนันบางที ้ สตั นี ้อาจไม่ใช่พระเจ้ า บางทีฉนั อาจถูกสร้ างขึ ้นด้ วยสิ่งที่สมบูรณ์แบบน้ อยกว่าพระเจ้ า อย่างเช่นบิดามารดาของฉัน ไม่ใช่ เพราะจากที่ฉนั ได้ พดู มาก่อน มันชัดเจนที่ว่าต้ องมีความจริ งหรื อ ความสมบูรณ์แบบอยูใ่ นเหตุมากเท่ากับที่อยูใ่ นผล และดังนันหากยอมรั ้ บว่าฉันเป็ นสิ่งที่คดิ และฉันมี มโนคติบางอย่างเกี่ยวกับพระเจ้ าอยูใ่ นตัว เหตุแห่งฉันไม่ว่าจะเป็ นอะไรก็ตามในตัวเองแล้ วต้ องเป็ นสิ่งที่
45
คิด และมีมโนคติเกี่ยวกับความสมบูรณ์แบบทังหลายที ้ ่ฉนั ถือว่าเป็ นคุณสมบัติของพระเจ้ า แล้ วอะไรคือ เหตุของเหตุแห่งฉัน? ถ้ าหากว่ามันเป็ นเหตุแห่งความมีอยูข่ องตัวเองแล้ วละก็ มนั ก็คือพระเจ้า เพราะถ้ า หากว่ามันมีอำานาจที่จะสร้ างความมีอยูข่ ึ ้นมาจากพลังของมันเอง ก็ไม่ต้องสงสัยว่ามันย่อมมีอานุภาพที่ จะครอบครองความสมบูรณ์แบบทังมวลที ้ ่มนั มีมโนคติถึง นัน่ ก็คือ ความสมบูรณ์แบบทุกอย่างที่ฉนั คิด ว่ามีอยูใ่ นพระเจ้ า ถ้ าในอีกแง่หนึง่ หากมันได้ รับความมีอยูจ่ ริ งมาจากอีกเหตุหนึง่ คำาถามเดิมก็เกิดขึ ้นมา เกี่ยวกับเหตุที่ถอยต่อไปนี ้ มันได้ ความมีอยูม่ าจากตนเองหรื อจากอีกเหตุหนึง่ ? ท้ ายที่สดุ เราต้ องไปถึง เหตุสงู สุด และนี่ก็จะเป็ นพระเจ้ า Perhaps this being is not God, though. Perhaps I was produced by causes less perfect than God, such as my parents. No; for as I have said before, it is quite clear that there must be at least as much reality or perfection in the cause as in the effect. And therefore, given that I am a thinking thing and have within me some idea of God, the cause of me – whatever it is – must itself be a thinking thing and must have the idea of all the perfections that I attribute to God. What is the cause of this cause of me? If it is the cause of its own existence, then it is God; for if it has the power of existing through its own strength, then undoubtedly it also has the power of actually possessing all the perfections of which it has an idea – that is, all the perfections that I conceive to be in God. If on the other hand it gets its existence from another cause, then the question arises all over again regarding this further cause: Does it get its existence from itself or from another cause? Eventually we must reach the ultimate cause, and this will be God. เห็นได้ ชดั ว่าลำาดับของเหตุแห่งเหตุนี ้ไม่สามารถที่จะถอยหลังไปอย่างไม่มีที่สิ ้นสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเมื่อฉันกำาลังตังคำ ้ าถามกับเหตุที่ไม่เพียงแต่สร้ างฉันในอดีต แต่รักษาฉันไว้ ในขณะปั จจุบนั ด้ วย It is clear enough that this sequence of causes of causes can’t run back to infinity, especially since I am dealing with the cause that not only produced me in the past but also preserves me at the present moment. อาจเป็ นที่คิดว่าเหตุหลายประการทำางานร่วมกันในการสร้ างฉัน ฉันได้ รับมโนคติหนึง่ ของความ สมบูรณ์แบบทังหลายที ้ ่ฉนั คิดว่าเป็ นคุณสมบัติของพระเจ้ ามาจากเหตุหนึง่ และอีกมโนคติจากอีกเหตุ หนึง่ One might think this: Several partial causes contributed to my creation; I received the idea of one of the perfections that I attribute to God from one cause, and the idea of another from another. ความสมบูรณ์แต่ละข้ อนันจะพบได้ ้ สกั แห่งในเอกภพ แต่ไม่ใช่ว่าสิ่งหนึง่ มีทงหมด ั้
46
Each perfection is to be found somewhere in the universe, but no one thing has them all. นัน่ ย่อมไม่ถกู ต้ อง เพราะว่าความเรี ยบง่ายของพระเจ้ า อันได้ แก่เอกภาพหรื อความแบ่งแยกไม่ได้ ของ คุณลักษณะทังมวลของเขา ้ เป็ นหนึง่ ในความสมบูรณ์แบบที่สำาคัญที่สดุ ที่ฉนั เข้ าใจว่าเขามี มโนคติของ ความสมบูรณ์แบบทังมวลของเขาอย่ ้ างที่ประสานเป็ นเอกภาพอยูใ่ นเนื ้อสารหนึง่ เดียว ไม่สามารถถูกใส่ ไว้ ในฉันโดยเหตุใดก็ตามแต่ที่ไม่ได้ ให้ มโนคติของความสมบูรณ์แบบเหล่านันเองต่ ้ อฉันด้ วย เพราะไม่มี เหตุอะไรที่สามารถทำาให้ ฉนั เข้ าใจว่าความสมบูรณ์แบบทังหลายประสานเป็ ้ นเอกภาพ อย่างที่พร้ อมกัน นันไม่ ้ แสดงให้ ฉนั เห็นว่าพวกมันเป็ นอะไรบ้ าง That can’t be right, because God’s simplicity – that is, the unity or inseparability of all his attributes – is one of the most important of the perfections that I understand him to have. The idea of his perfections as united in a single substance couldn’t have been placed in me by any cause that didn’t also provide me with the ideas of the perfections themselves; for no cause could have made me understand that the perfections are united without at the same time showing me what they are. ท้ ายที่สดุ ในเรื่องของบิดามารดาของฉัน หากว่าทุกอย่างฉันได้ เคยเชื่อเกี่ยวกับพวกเขาเป็ นจริ งก็ แน่นอนว่าไม่ใช่พวกเขาที่รกั ษาความมีอยูข่ องฉันไว้ ในฐานะที่ฉนั เป็ นสิ่งที่คิดจริ งๆแล้ วพวกเขาไม่ได้ สร้างฉันด้ วยซ้ำ า พวกเขาเพียงแค่ทำาให้ สสารจัดเรี ยงตัวกันอย่างที่ฉนั ถือมาตลอดว่ามีฉนั อยูข่ ้ างใน (นันก็ ้ คือมีจิตฉันอยูข่ ้ างใน เพราะตอนนี ้นัน่ คือทังหมดที ้ ่ฉนั เข้ าใจว่าฉันเป็ น) ดังนันบิ ้ ดามารดาของฉันไม่ สามารถเป็ นสาเหตุแห่งฉันที่ฉนั กำาลังถามถึง Lastly, as regards my parents, even if everything I have ever believed about them is true, it is certainly not they who keep me in existence. Insofar as I am a thinking thing, indeed, they did not even make me; they merely brought about an arrangement of matter that I have always regarded as containing me (that is, containing my mind, for that is all I now take myself to be). So my parents can’t be the cause-of-me that I am enquiring about. เมื่อถือว่าความล้ มเหลวจะเกิดขึ ้นกับอะไรอื่นทุกอย่างที่เสนอตัวมารับบทบาทของสาเหตุแห่งฉันและ สาเหตุแห่งมโนคติว่าด้วยสัตที ส่ มบูรณ์แบบที ส่ ดุ ฉันอนุมานว่าผู้เสนอตัวที่จะประสบความสำาเร็ จคือ พระเจ้ าเท่านัน้ ดังนันฉั ้ นสรุปว่าเพียงแค่ความจริ งว่าฉันมีอยูแ่ ละฉันมีมโนคติของสิ่งที่สมบูรณ์แบบที่สดุ ซึง่ ก็คือพระเจ้ า ให้ ข้อพิสจู น์ที่ชดั เจนว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริ ง Given the failure of every other candidacy for the role of cause of me and of my idea of a most perfect being, I infer that the only successful candidacy is God’s. Thus, I conclude that the mere fact that I exist and have within me an idea of a most perfect being – that is, God – provides a clear proof that God does indeed exist.
47
สำาหรับฉัน เหลือแค่การถามว่าฉันได้ รับมโนคตินี ้มาจากพระเจ้ าด้วยวิ ธีเช่นไร ฉันไม่ได้ มโนคตินนมา ั้ จากประสาทสัมผัส มันไม่ได้ มาสูฉ่ นั อย่างไม่คาดฝั นเหมือนอย่างที่เกิดขึ ้นกับมโนคติอื่นๆที่เกิดขึ ้นเมื่อฉัน ดูเหมือนว่าเห็น สัมผัสและได้ ยินสิ่งต่างๆ และมันไม่ใช้ อะไรที่ฉนั ประดิษฐ์ ขึ ้นเช่นกัน เพราะชัดเจนว่าฉัน ไม่สามารถที่จะนำาอะไรออกจหรือเติมอะไรให้ กบั มโนคติดงั กล่าว เมื่อมโนคติหนึง่ ถูกประดิษฐ์ ขึ ้นล้ วนๆ นักประดิษฐ์ สามารถที่จะปรับแต่งมันได้ อย่างอิสระ เติมตรงนี ้นิดตัดตรงนันหน่ ้ อย แต่ทว่ามโนคติเกี่ยวกับ พระเจ้ าของฉันเป็ นหนึง่ หน่วยธรรมชาติ ที่ไม่เชื ้อเชิญหรื อแม้ กระทัง่ จะอนุญาตให้ มีการเข้ าแทรกแซงเช่น นัน้ ทางเลือกเดียวที่เหลือคือมโนคติเกี่ยวกับพระเจ้ านันเกิ ้ ดขึ ้นเองในฉัน เหมือนกับที่มโนคติเกี่ยวกับตัว ฉันเกิดขึ ้นเองในฉัน It remains for me only to ask how I received this idea from God. I didn’t get it from the senses: it has never come to me unexpectedly, as do most of the ideas that occur when I seem to see and touch and hear things. And it’s not something that I invented, either; for clearly I can’t take anything away from it or to add anything to it. ·When an idea is sheerly invented, the inventor is free to fiddle with it – add a bit here, subtract a bit there – whereas my idea of God is a natural unit that doesn’t invite or even permit such interference·. The only remaining alternative is that my idea of God is innate in me, just as the idea of myself is innate in me. ไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจว่าในการสร้ างฉันพระเจ้ าก็ควรจะใส่มโนคตินี ้ไว้ ในฉัน เพื่อที่จะใช้ เป็ น เครื่ องหมายในแบบเดียวกับที่ช่างฝี มือประทับเป็ นตราไว้ ในชิ ้นงานของเขา (แต่ก็ไม่ใช่ว่าเขาต้ องการ เครื่ องหมายใดที่นอกเหนือไปจากตัวชิ ้นงานเอง) แต่แค่ความจริ งที่วา่ พระเจ้ าสร้ างฉันก็เป็ นเหตุผลที่ดี ต่อ การคิดว่าฉันถูกสร้ างขึ ้นในฉายาของเขาและให้ เหมือนกับเขา และต่อการคิดว่าฉันรับรู้ความคล้ ายคลึง นันในแบบเดี ้ ยวกับที่ฉนั รับรู้ตวั เอง นัน่ คือ เมื่อฉันหันจักษุแห่งจิตมาดูตวั เอง ฉันเข้ าใจว่าฉันเป็ นสิ่งที่ไม่ สมบูรณ์และต้ องพึง่ สิ่งอื่น และเป็ นสิ่งซึง่ มุง่ หมายอย่างไร้ ขอบเขตในสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่าและดีกว่า แต่ฉนั ยัง เข้ าใจในเวลาเดียวกันว่าเขาซึง่ เป็ นผู้ที่ฉนั ต้ องพึง่ มีสิ่งที่ดีกว่าทังหมดพวกนั ้ นอยู ้ ใ่ นตัว และด้ วยเหตุนี ้ เข้ าใจว่าเขาคือพระเจ้ า แก่นของข้ อโต้ เถียงนี ้คือ ฉันไม่สามารถจะมีอยูไ่ ด้ ด้วยธรรมชาติที่ฉนั มี นันก็ ้ คือมี มโนคติเกี่ยวกับพระเจ้ าอยูใ่ นฉันถ้ าหากว่าพระเจ้ าไม่มีอยูจ่ ริ ง โดย‘พระเจ้ า’ฉันหมายถึงสัตที่ฉนั มีมโนคติ ของเขาอยูใ่ นตัว สัตที่ไม่มีข้อบกพร่อง และมีความสมบูรณ์แบบทังหมดที ้ ่ฉนั ไม่สามารถรู้แจ้งเห็นจริ ง แต่ ด้ วยวิถีบางอย่างสามารถสัมผัสแตะต้องด้ วยความคิดของฉัน It is no surprise that God in creating me should have placed this idea in me, to serve as a mark of the craftsman stamped on his work (not that he needed any mark other than the work itself). But the mere fact that God created me is a good reason for thinking that I am somehow made in his image and likeness, and that I perceive that likeness in the same way that I
48
perceive myself. That is, when I turn my mind’s eye upon myself, I understand that I am a thing that is incomplete and dependent on something else, and which aspires without limit to ever greater and better things; but I also understand at the same time that he on whom I depend has within him all those greater things, and hence that he is God. The core of the argument is this: I couldn’t exist with the nature that I have – that is, containing within me the idea of God – if God didn’t really exist. By ‘God’ I mean the very being the idea of whom is within me – the one that has no defects and has all those perfections that I can’t grasp but can somehow touch with my thought. นี่แสดงอย่างชัดเจนว่าไม่มีทางเป็ นไปได้ ที่เขาจะเป็ นผู้หลอกลวง ในเมื่อแสงแห่งธรรมชาติแสดงอย่าง ชัดเจนว่าการโกงและการหลอกลวงขึ ้นกับความบกพร่องบางอย่าง This shows clearly that it is not possible for him to be a deceiver, since the natural light makes it clear that all fraud and deception depend on some defect. แต่ก่อนที่จะพิจารณาประเด็นนี ้อย่างระแวดระวังยิ่งขึ ้น และก่อนที่จะตรวจสอบความจริ งอื่นที่อาจได้ มาจากมัน ฉันอยากจะหยุดพักตรงนี ้ และใช้ เวลาสักขณะหนึง่ ใคร่ครวญถึงพระเจ้ า เพื่อที่จะไตร่ตรอง คุณสมบัติของพระองค์และจ้ องดูด้วยความรู้สกึ ชื่นชมและอัศจรรย์ใจในความงามของแสงสว่างอันเจิด จ้ านี ้ เท่าที่ดวงตาแห่งปั ญญาอันมืดมัวของฉันจะรับไหว เพราะอย่างที่เราเชื่อโดยศรัทธาว่าความสุข อย่างที่สดุ ของชีวิตหน้ า วางอยูใ่ นการใคร่ครวญต่อความศักดิ์สิทธิของพระเจ้ า ประสบการณ์จงึ บอกเรา ว่าการใคร่ครวญเดียวกันนี ้ แม้ จะสมบูรณ์น้อยกว่าก็ตาม ให้ ความสุขที่ลกึ ล้ำ าที่สดุ ที่เรามีได้ ในชีวิตนี ้ But before examining this point more carefully and investigating other truths that may be derived from it, I want to pause here and spend some time contemplating God; to reflect on his attributes and to gaze with wonder and adoration on the beauty of this immense light, so far as the eye of my darkened intellect can bear it. For just as we believe through faith that the supreme happiness of the next life consists in contemplating the divine majesty, so experience tells us that this same contemplation, though much less perfect, provides the greatest joy we can have in this life.
49
ข้อพินิจทีส่ ี่ ความจริงและความเท็จ FOURTH MEDITATION: Truth and falsity ในสองสามวันที่ผา่ นมานี ้ฉันเริ่มคุ้นเคยกับการแยกจิตของฉันออกจากประสาทสัมผัส และฉัน ตระหนักอย่างยิ่งว่าฉันมีความรู้เกี่ยวกับกายวัตถุน้อยมาก ในขณะที่มีความรู้เกี่ยวกับจิตมากกว่ามาก และมากขึ ้นไปอีกเกี่ยวกับพระเจ้ า ดังนันตอนนี ้ ้ฉันพบว่าเป็ นเรื่ องง่ายที่จะหันเหจิตใจออกไปจากวัตถุแห่ง ประสาทสัมผัสและจินตนาการไปสูว่ ตั ถุแห่งปั ญญาเพียงอย่างเดียว ของพวกนี ้แยกขาดจากสสารใน ขณะที่วตั ถุแห่งประสาทสัมผัสและจินตนาการนันส่ ้ วนใหญ่แล้ วสร้ างมาจากสสาร In these past few days I have become used to keeping my mind away from the senses; and I have strongly aware that very little is truly known about bodies, whereas much more is known about the human mind and still more about God. So now I find it easy to turn my mind away from objects of the senses and the imagination, towards objects of the intellect alone; these are quite separate from matter, whereas the objects of sense and imagination are mostly made of matter. ที่จริงไม่มีมโนคติใดของฉันในเรื่องของสิ่งที่มีตวั มีตน ที่ชดั เจนเท่ากับมโนคติของฉันในเรื่ องของจิต ของมนุษย์ เมื่อถูกถือว่าเป็ นเพียงแค่สิ่งที่คิดที่ไม่มีขนาดหรื อรูปร่างหรื อลักษณะอื่นใด อันเป็ นของกาย วัตถุเข้ ามาเจือปนทังสิ ้ ้น Indeed, none of my ideas of corporeal things is as distinct as my idea of the human mind, considered purely as a thinking thing with no size or shape or other bodily characteristics. ตอนนี ้เมื่อฉันพิจารณาข้ อเท็จจริงว่าฉันมีความสงสัย ซึง่ หมายความว่าฉันนันไม่ ้ สมบูรณ์ และต้องพึ่ง พิ งสิ่ งอืน่ นัน่ พาไปสูก่ ารที่ฉนั มีมโนคติที่กระจ่างแจ้ งชัดเจนของสัตที่ เป็ นเอกเทศและสมบูรณ์ ซึง่ นัน่ ก็คือ การมีมโนคติเกี่ยวกับพระเจ้ า และจากเพียงแค่ข้อเท็จจริ งที่ว่าฉันมีอยูจ่ ริ งและมีมโนคติเช่นนัน้ ฉัน อนุมานว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริง และในทุกขณะจิตการมีอยูข่ องฉันขึ ้นกับเขา ฉะนันฉั ้ นเชื่อมัน่ จริ งๆ ว่านี่ หมายความอย่างชัดเจนว่าสติปัญญาของมนุษย์ไม่สามารถรู้อะไรที่ประจักษ์ ชดั หรื อแน่นอนกว่านี ้ และ ตอนนี ้ฉันสามารถนำาพระเจ้ าที่แท้ จริง เข้ ามาร่วมเป็ นคำาอธิบาย และภายในพระองค์นี่เองที่ขมุ ทรัพย์ทงั ้
50
มวลแห่งภูมิปัญญาและความรู้ซอ่ นอยู่ ฉันคิดว่าฉันสามารถเห็นทางที่จะผ่านไปสูค่ วามรู้ของสิ่งอื่นใน เอกภพ Now, when I consider the fact that I have doubts – which means that I am incomplete and dependent – that leads to my having a clear and distinct idea of a being who is independent and complete, that is, an idea of God. And from the mere fact that I exist and have such an idea, I infer that God exists and that every moment of my existence depends on him. This follows clearly; I am sure, indeed, that the human intellect can’t know anything that is more evident or more certain. And now that I can take into account the true God, in whom all the treasures of wisdom and knowledge lie hidden, I think I can see a way through to knowledge of other things in the universe. เริ่ มต้ นด้ วยการที่ฉนั เห็นว่าเป็ นไปไม่ได้ เลยที่พระเจ้ าจะหลอกฉัน มีก็แต่ผ้ ทู ี่มีความผิดอะไรบางอย่าง เท่านันที ้ ่จะเข้ าไปเกี่ยวข้ องกับกลอุบายหรือการหลอกลวง ข้ อที่วา่ คนบางคนสามารถที่จะหลอกลวงผู้อื่น เป็ นเครื่ องแสดงถึงทักษะหรืออำานาจของเขา แต่ความต้องการของเขาที่จะหลอกลวงผู้อนื่ เป็ นเครื่ อง แสดงถึงความปองร้ ายหรือความอ่อนแอของเขา และนี่ไม่อาจพบได้ ในพระเจ้ า To begin with, I see that it is impossible that God should ever deceive me. Only someone who has something wrong with him will engage in trickery or deception. That someone is able to deceive others may be a sign of his skill or power, but his wanting to deceive them is a sign of his malice or weakness; and those are not to be found in God. ต่อจากนัน้ ฉันรู้จากประสบการณ์ว่าฉันมีสมรรถภาพที่จะวินิจฉัยเรื่ องราว และนี่ก็เป็ นเช่นเดียวกับสิ่ง อื่นๆทุกอย่างที่ฉนั มีคือได้ รับมาจากพระเจ้ า ในเมื่อพระเจ้ าไม่ต้องการที่จะหลอกลวงฉัน ฉันมัน่ ใจว่าเขา ไม่ได้ ให้ สมรรถภาพที่จะวินิจฉัยเรื่องราวแก่ฉนั อย่างที่จะนำาฉันไปสูค่ วามผิดพลาด ในขณะที่ฉนั กำาลังใช้ งานมันอย่างถูกต้ อง Next, I know from experience that I have a faculty of judgment; and this, like everything else I have, was given to me by God. Since God doesn’t want to deceive me, I am sure that he didn’t give me a faculty of judgment that would lead me into error while I was using it correctly. ปั ญหาย่อมยุติหากไม่ใช่เพราะข้ อยุง่ ยากประการหนึง่ สิ่งที่ฉนั เพิ่งจะพูดมาเมื่อครู่นี ้ดูเหมือนจะบ่ง บอกว่าฉันไม่มีวนั ที่จะผิดพลาด ถ้ าหากว่าทุกอย่างที่อยูใ่ นฉันมาจากพระเจ้ า และเขาไม่ได้ ให้ ความ สามารถที่จะผิดพลาดแก่ฉนั มันไม่เป็ นจริงตามมาหรื อว่าฉันไม่มีวนั ที่จะเชื่ออะไรไปอย่างผิดๆ? เอาละ ฉันรู้จากประสบการณ์ว่าฉันมีความสามารถที่จะผิดพลาดไปได้ อย่างใหญ่หลวง แต่เมื่อฉันมุง่ ความสนใจ
51
ไปที่พระเจ้ าอย่างตัดขาดจากสิ่งอืน่ ทุกสิ่ง ฉันไม่พบสาเหตุแห่งความผิดพลาดหรื อความเท็จในพระองค์ ในการมองหาสาเหตุแห่งความผิดพลาดของฉัน ฉันได้ รับการช่วยเหลือจากความคิดดังนี ้คือ เช่นเดียวกับ การมีมโนคติของพระเจ้าที่เป็ นจริงและเป็ นเชิงบวก (สัตที่สมบูรณ์แบบอย่างที่สดุ ) ฉันยังมีสิ่งที่อาจเรี ยก ได้ ว่ามโนคติเชิงลบของความว่างเปล่า (อะไรซึง่ ห่างไกลอย่างที่สดุ จากความสมบูรณ์แบบทังมวล) ้ ฉัน รู้ตวั ว่าฉันอยูท่ ี่ใดที่หนึง่ ระหว่างพระเจ้ ากับความว่างเปล่าหรื อระหว่างอภิสตั และอสัต ความเป็ นจริ งเชิง บวกที่ฉนั ได้ รับมาจากอภิสตั ไม่มีสิ่งใดที่สามารถทำาให้ ฉนั หลงเชื่ออะไรไปอย่างผิดๆ ฉันคิดผิดพลาดซึง่ ก็ ไม่นา่ แปลกใจ เพราะธรรมชาติของฉันเกี่ยวพันกับความว่างเปล่าหรื ออสัต นัน่ คือตัวฉันเองไม่ใช่อภิสตั และขาดความสมบูรณ์อย่างเหลือคณานับ ดังนันความผิ ้ ดพลาดไม่ใช่อะไรบางอย่างที่เป็ นจริ งที่ขึ ้นกับ พระเจ้ า แต่เป็ นเพียงสิ่งที่เป็ นเชิงลบ เป็ นความขาด เป็ นความบกพร่อง ดังนันแล้ ้ วจึงไม่มีอะไรที่เป็ นเชิง บวกที่เป็ นตัวการสร้ างความผิดพลาดอยูใ่ นสมรรถภาพแห่งการวินิจฉัยที่พระเจ้ าประทานให้ แก่ฉนั เมื่อ ฉันคิดผิดฉันทำาเช่นนันเพราะว่ ้ าสมรรถภาพที่จะวินิจฉัยความจริ งที่ฉนั ได้ จากพระเจ้ า (ในกรณีของฉัน แล้ ว)ไม่เป็ นอิสระจากข้ อจำากัดทังหลาย ้ ซึง่ นัน่ ก็คือเพราะว่ามันมีสว่ นที่เกี่ยวพันถึงความว่างเปล่าอยูด่ ้ วย That would settle the matter, except for one difficulty: what I have just said seems to imply that I can never be in error. If everything that is in me comes from God, and he didn’t equip me with a capacity for making mistakes, doesn’t it follow that I can never go wrong in my beliefs? Well, I know by experience that I am greatly given to errors; but when I focus on God to the exclusion of everything else, I find in him no cause of error or falsity. In looking for the cause of my errors, I am helped by this thought: as well as having a real and positive idea of God (a being who is supremely perfect), I also have what you might call a negative idea of nothingness (that which is furthest from all perfection). I realize that I am somewhere in between God and nothingness, or between supreme being and non-being. Now, the positive reality that I have been given by the supreme being contains nothing that could lead me astray in my beliefs. I make mistakes, not surprisingly, because my nature involves nothingness or non-being – that is, because I am not myself the supreme being, and lack countless perfections. So error is not something real that depends on God, but is merely ·something negative, a lack, a defect. There is, therefore, nothing positively error-producing in the faculty of judgment that God gave me. When I go wrong I do so because the faculty of true judgment that I have from God is in my case not free of all limitations, ·that is, because it partly involves nothingness. แต่นนั่ ก็ยงั ไม่คอ่ ยถูกต้ องนัก เพราะความผิดพลาดไม่ได้ เป็ นเพียงการปฏิเสธ ก้ อนกรวดและธารน้ำ า แข็งขาดความรู้ และการขาดในพวกมันนันเป็ ้ นเพียงการปฏิเสธ อันได้ แก่การไม่มีอยูข่ องบางสิ่งบางอย่าง
52
ที่ไม่มีเหตุผลสำาหรับพวกมันที่จะมี ฉันมีความขาดประเภทนันเช่ ้ นกัน อันเป็ นเพียงการปฏิเสธอย่างเช่นที่ ฉันขาดความสามารถที่จะบิน หรือที่จะคูณเลข 30 หลักสองจำานวนในหัวของฉัน แต่การที่ฉนั มีแนวโน้ มที่ จะผิดพลาดไม่ใช่ของอย่างนัน้ จะว่าไปแล้ วมันเป็ นความขาดแคลนเสียมากกว่า นัน่ ก็คือการขาดความรู้ บางประการที่ฉนั ควรมี นัน่ หมายความว่าฉันยังมีปัญหาเกี่ยวกับวิธีที่มนั สัมพันธ์กบั พระเจ้ า เมื่อฉันคิด เรื่องพระเจ้ าอย่างหนัก มันดูเหมือนเป็ นไปไม่ได้ วา่ เขาควรมอบสมรรถภาพที่ขาดความสมบูรณ์บางอย่าง ที่มนั ควรจะมีให้ แก่ฉนั ยิ่งช่างฝี มือมีความเชี่ยวชาญมากขึ ้นเท่าไหร่ สิ่งที่เขาสร้ างก็ยิ่งสมบูรณ์ขึ ้นเท่านัน้ ดังนันเราอาจคาดคิ ้ ดว่าสิ่งที่สร้ างขึ ้นโดยผู้สร้ างสูงสุดจะสมบูรณ์ในทุกวิถีทาง ยิ่งกว่านันเป็ ้ นเรื่ องชัดเจน ว่าพระเจ้ าสามารถสร้ างฉันในแบบที่ฉนั ไม่เคยผิดพลาดได้ เลย และไม่มีข้อสงสัยที่วา่ เขาเลือกที่จะทำาใน สิ่งที่ดีที่สดุ นี่แสดงหรือไม่วา่ การที่ฉนั ผิดพลาดนันดี ้ กว่าการที่ฉนั ไม่ผิดพลาด? เมื่อคิดหนักยิ่งขึ ้นฉันได้ ความคิดที่ชว่ ยชี ้ทางออกให้ สามข้ อ สองความคิดในนันเป็ ้ นเรื่ องความรู้ของเราว่าด้ วยเหตุผลของพระเจ้ า ทัว่ ๆไป และความคิดที่สามเกี่ยวกับความผิดพลาดของมนุษย์ (1) ฉันตระหนักว่ามันไม่ใช่เหตุให้ ประหลาดใจถ้ าฉันไม่เข้ าใจถึงเหตุผลที่พระเจ้ ากระทำาในสิ่งที่พระองค์ทำาเสมอไป ฉันอาจจะพบสิ่งอื่นที่ พระเจ้ ากระทำาที่เหตุผลของเขาเกินกว่าที่ฉนั จะเข้ าใจ และนัน่ ไม่ใช่เหตุผลให้ สงสัยในความมีอยูข่ องเขา ตอนนี ้ฉันรู้แล้ วว่าธรรมชาติของฉันนันอ่ ้ อนแอและจำากัดแต่ทว่าธรรมชาติของพระเจ้ านันยิ ้ ่งใหญ่ยากที่จะ เข้ าใจและไม่มีที่สิ ้นสุด ดังนันแน่ ้ นอนว่าเขาสามารถที่จะกระทำาสิ่งนับไม่ถ้วนที่ฉนั ไม่สามารถรู้ถึงเหตุผล แค่นนั่ ก็เป็ นเหตุผลเพียงพอแล้ วที่จะยกเลิกในฐานะที่วา่ เป็ นสิ่งไร้ ประโยชน์โดยสิ ้นเชิง สำาหรับนักฟิ สิกส์ที่ จะพยายามเข้ าใจโลกในแง่ที่ว่าสรรพสิ่งมีอยู่เพือ่ อะไร นัน่ ก็คือในแง่ของความประสงค์ของพระเจ้ า มีแต่ เพียงบุคคลที่คิดอะไรไปอย่างง่ายๆเท่านัน้ ที่คดิ ว่าเขาจะสามารถพบคำาตอบของพระประสงค์ของ พระเจ้ าอันเราไม่อาจหยัง่ ถึงได้ That is still not quite right. For error isn’t a mere negation. ·Pebbles and glaciers lack knowledge, and in them that lack is a mere negation – the absence of something that there is no reason for them to possess. I have lacks of that kind too, mere negations such my lack of the ability to fly, or to multiply two 30-digit prime numbers in my head. But my tendency to error isn’t like that. Rather, it is a privation, that is, a lack of some knowledge that I should have, which means that I still have a problem about how it relates to God. When I think hard about God, it seems impossible that he should have given me a faculty that lacks some perfection that it should have. The more skilled the craftsman, the more perfect the thing that he makes; so one would expect something made by the supreme creator to be complete and perfect in every way. It is clear, furthermore, that God could have made me in such a way that I was never mistaken; and there is no doubt that he always chooses to do what is best. Does this show that my making mistakes is better than my not doing so?
53
Thinking harder about this, three helpful thoughts come to me. Two concern our knowledge of God’s reasons generally; the third is specifically about human error (1) I realize that it is no cause for surprise if I don’t always understand why God acts as he does. I may well find other things he has done whose reasons elude me; and that is no reason to doubt his existence. I am now aware that my nature is very weak and limited, whereas God’s nature is immense, incomprehensible and infinite; so of course he can do countless things whose reasons I can’t know. That alone is reason enough to give up, as totally useless, the attempt that physicists make to understand the world in terms of what things are for, that is, in terms of God’s purposes. Only a very rash man would think he could discover what God’s impenetrable purposes are. (2) ในการประเมินว่าผลงานของพระเจ้ านันสมบู ้ รณ์แบบจริ งหรื อไม่ เราควรดูที่เอกภพในฐานะภาพ รวม ไม่ใช่ดสู ิ่งที่ถกู สร้ างไปทีละชิ ้น บางสิ่งที่อาจดูไม่สมบูรณ์อย่างยิ่งถ้ าหากว่ามีอยูแ่ ต่เพียงลำาพัง สามารถมีหน้ าที่หนึง่ ที่สมั พันธ์กบั สิ่งที่เหลือในเอกภพและอาจสมบูรณ์แบบเมื่อพิจารณาในฐานะเช่นนัน้ การตัดสินใจของฉันที่จะสงสัยในทุกสิ่งนันทำ ้ าให้ ฉนั มัน่ ใจในความมีอยูแ่ ค่ของสิ่งสองสิ่งคือพระเจ้ าและ ฉัน แต่เมื่อฉันคิดถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้ าฉันต้ องยอมรับว่าเขาเคยสร้ าง หรื ออาจได้ เคยสร้ าง หลายสิ่งหลายอย่างที่นอกเหนือไปจากฉัน เพื่อที่อาจจะได้ มีกรอบอันเป็ นสากลของสรรพสิ่งอย่างที่มีฉนั ร่วมอยูใ่ นนัน้ ถ้ าเป็ นเช่นนันจริ ้ งการวินิจฉัยเกี่ยวกับสิ่งที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ในฉัน ก็ควรจะสร้ างขึ ้น บนฐานที่ไม่ได้ มาจากแค่ธรรมชาติภายในของฉัน แต่มาจากบทบาทหรื อหน้ าที่ของฉันในเอกภพด้ วยเช่น กัน (2) In estimating whether God’s works are perfect, we should look at the universe as a whole, not at created things one by one. Something that might seem very imperfect if it existed on its own has a function in relation to the rest of the universe, and may be perfect when seen in that light. My decision to doubt everything has left me sure of the existence of only two things, God and myself; but when I think about God’s immense power I have to admit that he did or could have made many things in addition to myself, so that there may be a universal scheme of things in which I have a place. If that is so, then judgments about what is perfect or imperfect in me should be made on the basis not just of my intrinsic nature but also of my role or function in the universe as a whole. (3) ความผิดพลาดของฉันเป็ นหลักฐานเดียวที่ฉนั มีที่แสดงว่าฉันนันไม่ ้ สมบูรณ์แบบ เมื่อฉันดูข้อผิด พลาดเหล่านี ้ของฉันอย่างใกล้ ชิดยิ่งขึ ้น ฉันพบว่ามันมีสองสาเหตุที่ทำางานร่วมกัน ได้ แก่สมรรถภาพที่จะรู้ ของฉัน และสมรรถภาพที่จะเลือกหรืออิสรภาพแห่งเจตจำานง ของฉัน นัน่ ก็คือ ความผิดพลาดของฉันเกิด
54
จากทัง้ (ก) สติปัญญาของฉัน และ (ข) เจตจำานงของฉัน ขอให้ เราพิจารณาสองสิ่งนี ้แยกกัน (ก) สติ ปั ญญาไม่ได้ ยืนยันหรือปฏิเสธอะไรทังสิ ้ ้น บทบาทของมันมีเพียงแค่นำาเสนอมโนคติ เพื่อที่ฉนั สามารถ สร้ างข้ อวินิจฉัยในเรื่องนันๆ ้ ได้ ดังนันพู ้ ดตรงๆ ก็คือมันไม่ยงุ่ เกี่ยวกับความผิดพลาดใดๆทังสิ ้ ้น อาจมี หลายสิ่งหลายอย่างที่มีอยูจ่ ริงที่สติปัญญาของฉันไม่ให้ มโนคติใดๆทังสิ ้ ้นเกี่ยวกับสิ่งพวกนัน้ แต่ก็ไม่ชดั ว่าเป็ นการถูกต้ องที่จะพูดว่าฉันถูกขัดขวางไม่ให้ มีมโนคติเช่นนัน้ อย่างที่จะเป็ นการถูกต้ องที่จะพูดถ้ า หากว่าด้ วยอะไรบางอย่าง ธรรมชาติของฉันให้ อำานาจต่อฉันที่จะมีมโนคติเกี่ยวกับสิ่งพวกนัน้ ฉันไม่อาจ ให้ เหตุผลว่าทำาไมพระเจ้ าจึงควรให้ มโนคติตอ่ ฉันมากกว่าที่เขาได้ ให้ มา เพียงเพราะฉันเข้ าใจคนบางคน ว่าเป็ นช่างฝี มือผู้เชี่ยวชาญ ฉันไม่อนุมานว่าเขาควรจะได้ ใส่ความสมบูรณ์แบบทังมวลไว้ ้ ในงานแต่ละชิ ้น ของเขาอย่างที่เขาสามารถใส่ไว้ ในงานบางชิ ้นของเขา ดังนันฉั ้ นพูดได้ แค่วา่ มีมโนคติบางอย่างที่ฉนั ไม่มี นี่เป็ นข้ อเท็จจริ งแง่ลบล้ วนๆ เกี่ยวกับฉัน เหมือนกับข้ อเท็จจริ งที่ว่าฉันบินไม่ได้ แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่ามี อะไรบางอย่างที่ผิดอยูใ่ นธรรมชาติของฉัน (ข) ฉันไม่อาจร้ องทุกข์ว่าพระเจ้ าให้ เจตจำานงหรื ออิสรภาพที่ จะเลือกต่อฉันอย่างที่กว้ างขวางหรือสมบูรณ์ไม่พอ เพราะฉันรู้ด้วยประสบการณ์ว่าเจตจำานงนันไร้ ้ ข้อ จำากัดโดยสิ ้นเชิง (3) My errors are the only evidence I have that I am imperfect. When I look more closely into these errors of mine, I discover that they have two co-operating causes – my faculty of knowledge and my faculty of choice or freedom of the will. My errors, that is, depend on both (a) my intellect and (b) my will. Let us consider these separately. (a) The intellect doesn’t affirm or deny anything; its role is only to present me with ideas regarding which I can make judgments; so strictly speaking it doesn’t involve any error at all. There may be many existing things of which my intellect gives me no ideas, but it isn’t strictly correct to say that I am deprived of such ideas, as it would be if my nature somehow entitled me to have them. I can give no reason why God ought to have given me more ideas than he did. Just because I understand someone to be a skilled craftsman, I don’t infer that he ought to have put into each of his works all the perfections he can give to some of them. So all I can say is that there are some ideas that I don’t have; this is a purely negative fact about me like the fact that I can’t fly; it doesn’t mean that there is anything wrong with my nature. (b) I can’t complain that God gave me a will or freedom of choice that isn’t extensive or perfect enough, since I know by experience that will is entirely without limits. เจตจำานงของฉันนันสมบู ้ รณ์และยิ่งใหญ่จนฉันไม่สามารถคิดให้ มนั ยิ่งใหญ่ และสมบูรณ์ยิ่งขึ ้นไปกว่า นัน้ เป็ นข้ อเท็จจริ งที่โดดเด่นอย่างยิ่งว่านี่เป็ นจริงกับเจตจำานงของฉันและไม่เป็ นจริ งกับคุณลักษณะอื่น ใดอีกเลยของธรรมชาติของฉัน ฉันเห็นได้ โดยง่ายว่าสมรรถภาพที่จะเข้ าใจของฉันนัน(พู ้ ดอย่างสุภาพ
55
แล้ ว)มีที่สิ ้นสุด และฉันคิดได้ ทนั ทีถึงความเข้ าใจที่ยิ่งใหญ่กว่านัน้ ที่จริ งคือคิดถึงความเข้ าใจที่ยิ่งใหญ่ อย่างที่สดุ และไม่มีที่สิ ้นสุด และความจริ งที่วา่ ฉันสามารถสร้ างมโนคติเช่นนันได้ ้ แสดงให้ ฉนั เห็นว่า พระเจ้ ามีความเข้ าใจเช่นนันจริ ้ งๆ และในทำานองเดียวกันถ้ าฉันตรวจดูความทรงจำาและจินตนาการและ สิ่งที่เหลือ ฉันก็จะค้ นพบว่า ในกรณีของฉันนันสมรรถภาพพวกนี ้ ้นันอ่ ้ อนแอและจำากัด ในขณะที่ใน พระเจ้ า สมรรถภาพพวกนันไม่ ้ อาจประมาณได้ มีเพียงแค่เจตจำานงหรื อเสรี ภาพที่จะเลือกเท่านันที ้ ่ฉนั รับ รู้วา่ ยิ่งใหญ่เสียจนฉันไม่สามารถที่จะเข้ าใจมโนคติของมันที่จะยิ่งใหญ่ขึ ้นไปกว่านัน้ ที่จริ งแล้ วความคิด ของฉันว่าตัวฉันเองมีอะไรบางอย่างเหมือนพระเจ้ าหลักๆแล้ วก็ขึ ้นอยูก่ บั เจตจำานงของฉัน เจตจำานงของ พระเจ้ านันยิ ้ ่งใหญ่จนเทียบกับของฉันไม่ได้ ในสองแง่ หนึง่ เจตจำานงของพระเจ้ ามาพร้ อมกับความรู้และ อำานาจที่ยิ่งใหญ่กว่าที่ฉนั มีมาก ซึง่ หนักแน่นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นด้ วยการนัน้ และสอง มีวตั ถุแห่ง เจตจำานงที่มากกว่าที่ฉนั มีมาก ซึง่ ก็คือพระเจ้ าสร้ างทางเลือกและการตัดสินใจมากกว่าฉัน แต่ข้อเปรี ยบ เทียบพวกนี ้ (ด้ วยการที่เกี่ยวข้ องอยูก่ บั ขนาดของความรู้ที่ควบคู่มาและที่ช่วยเหลื อเจตจำานง หรื อ เกี่ยวข้ องอยูก่ บั จำานวนของสภาวการณ์ที่มนั ถูกประยุกต์ใช้ ) ไม่ได้ เกี่ยวข้ องกับเจตจำานงอย่างที่เป็ นอยูใ่ น ตัวของมันเองแต่เกี่ยวข้ องกับความสัมพันธ์ของเจตจำานงต่อสิ่งอื่นเสียมากว่า เมื่อเจตจำานงไม่ได้ รับการ พิจารณาในเชิงสัมพัทธ์แต่ในตัวมันเองตรงๆ เจตจำานงของพระเจ้ านันดู ้ เหมือนจะไม่ยิ่งใหญ่ไปกว่าของ ฉัน เจตจำานงเป็ นเพียงการที่บคุ คลสามารถที่จะทำาหรื อสามารถที่จะไม่ทำาอะไรบางอย่าง การยอมรับหรื อ ปฏิเสธประพจน์ การมุง่ สูเ่ ป้าหมายหรื อการหลีกเลี่ยงบางสิ่ง หากจะอธิบายให้ ชดั เจนกว่านัน้ เสรี ภาพ แห่งเจตจำานงนันประกอบขึ ้ ้นด้ วยความจริ งที่ว่าเมื่อปั ญญามอบตัวเลือกให้ เราที่จะยอมรับหรื อปฏิเสธ หรื อเพื่อให้ เราเข้ าหาหรือหลีกเลี่ยง เราไม่ร้ ูสกึ ว่าเราได้ ถกู ผลักไปทางใดทางหนึง่ โดยแรงใดๆภายนอก ฉัน สามารถที่จะเป็ นอิ สระโดยไม่ถกู ทำาให้ เอนเอียงไปทัง้ สองทาง จริ งๆแล้ วยิ่งฉันเอนเอียงไปทางใดทางหนึง่ มากเท่าไหร่ฉนั ก็ยิ่งมีอิสระที่จะเลือกมากขึ ้นเท่านัน้ ถ้ าหากว่าการเอนเอียงนันมาจากความรู ้ ้ ที่เกิดขึ ้นโดย ธรรมชาติ(นัน่ คือจากการที่ฉนั มองเห็นอย่างชัดเจนว่าเหตุผลของความจริ งและความดีงามชี ้นำาไปในทาง นัน) ้ หรือจากน้ำ าพระทัย(นัน่ คือจากธรรมชาติที่เป็ นไปเองของจิตบางประการที่พระเจ้ าได้ ให้ ไว้ กบั ฉัน) เสรี ภาพไม่เคยลดลง ที่จริงแล้ วเพิ่มขึ ้นและแข็งแกร่งมากขึ ้น จากความรู้ตามธรรมชาติและจากน้ำ าพระทัย เมื่อไม่มีเหตุผลมาผลักฉันให้ เอียงเอนไปทางหนึง่ มากกว่าอีกทางหนึง่ ฉันมีความรู้สกึ ของความเป็ น กลางๆ นัน่ ก็คือของความรู้สกึ ว่าไม่สำาคัญว่าฉันจะไปทางใด และนัน่ เป็ นเสรี ภาพประเภทที่ตา่ำ ที่สดุ สิ่งที่ มันแสดงให้ เห็นก็คือเสรีภาพที่ได้ รับการยึดถือไม่ใช่ในฐานะของความสมบูรณ์แบบ หากแต่เป็ นในฐานะ ที่เกิดขึ ้นจากการขาดความรู้ เป็ นการปฏิเสธชนิดหนึง่ หากว่าฉันเห็นอย่างชัดเจนมาโดยตลอดว่าอะไรคือ สิ่งที่ดีและจริง ฉันไม่ควรจะต้ องเสียเวลาคิดถึงสิ่งที่จะเชื่อหรื อที่จะทำา และเช่นนันแล้ ้ วฉันคงจะเป็ นอิสระ อย่างเต็มที่แม้ ฉนั จะไม่เคยอยูใ่ นสภาพที่เป็ นกลางๆ เลยก็ตาม My will is so perfect and so great that I can’t conceive of its becoming even greater and more perfect; it is a striking fact that this is true of my will and not of any other aspect of my
56
nature. I can easily see that my faculty of understanding is finite, to put it mildly; and I immediately conceive of a much greater understanding – indeed, of a supremely great and infinite one; and the fact that I can form such an idea shows me that God actually has such an understanding. Similarly, if I examine memory and imagination and the rest, I discover that in my case these faculties are weak and limited, while in God they are immeasurable. It is only the will, or freedom of choice, which I experience as so great that I can’t make sense of the idea of its being even greater: indeed, my thought of myself as being somehow like God depends primarily upon my will. God’s will is incomparably greater than mine in two respects: it is accompanied by, and made firm and effective by, much more knowledge and power than I have; and it has far more objects than my will does – that is, God makes more choices and decisions than I do. But these comparisons – having to do with the amount of knowledge that accompanies and helps the will, or with the number of states of affairs to which it is applied – do not concern the will in itself, but rather its relations to other things. When the will is considered not relationally, but strictly in itself, God’s will does not seem any greater than mine. The will is simply one’s ability to do or not do something – to accept or reject a proposition, to pursue a goal or avoid something. More accurately: the freedom of the will consists in the fact that when the intellect presents us with a candidate for acceptance or denial, or for pursuit or avoidance, we have no sense that we are pushed one way or the other by any external force. I can be free without being inclined both ways. Indeed, the more strongly I incline in one direction the more free my choice is – if my inclination comes from natural knowledge (that is, from my seeing clearly that reasons of truth and goodness point that way) or from divine grace (that is, from some mental disposition that God has given me). Freedom is never lessened – indeed it is increased and strengthened – by natural knowledge and divine grace. When no reason inclines me in one direction rather than another, I have a feeling of indifference – that is, of its not mattering which way I go – and that is the poorest kind of freedom. What it manifests is freedom considered not as a perfection but rather as a lack of knowledge – a kind of negation. If I always saw clearly what was true and good, I should never have to spend time thinking about what to believe or do; and then I would be wholly free although I was never in a state of indifference. ดังนันพลั ้ งแห่งการกำาหนดเจตนารมย์ที่พระเจ้ าได้ มอบให้ ฉนั ซึง่ มีขอบเขตที่กว้ างขวางอย่างยิ่งและ สมบูรณ์แบบในชนิดของมัน จึงไม่ใช่สาเหตุของความผิดพลาดของฉัน และไม่ใช่อำานาจที่จะเข้ าใจของ
57
ฉันที่ควรถูกตำาหนิ พระเจ้ าให้ สิ่งนันต่ ้ อฉันดังนันไม่ ้ อาจมีความผิดพลาดในกิจกรรมของมัน เมื่อฉันเข้ าใจ บางอย่างไม่ต้องสงสัยเลยว่าฉันเข้ าใจอย่างถูกต้ อง แล้ วถ้ าอย่างนันความผิ ้ ดพลาดทังหลายของฉั ้ นมา จากไหน? แหล่งที่มาของพวกมันก็คือความจริ งที่ว่าเจตจำ านงของฉันมี ขอบเขตที ก่ ว้างกว่าที ส่ ติ ปัญญา ของฉันมี เพื่อที่ฉนั จะมีอิสระที่จะสร้ างความเชื่อบนเรื่ องที่ฉนั ไม่เข้ าใจ แทนที่จะกระทำาตัวเหมือนที่ฉนั ควร ทำา กล่าวคือจำากัดขอบเขตของเจตจำานงของฉันไว้ ในอาณาเขตที่ความเข้ าใจของฉันครอบคลุม ซึง่ ก็คือ ระงับการตัดสินไว้ ก่อนหากว่าด้ วยสติปัญญาแล้ วฉันยังไม่อาจกำาหนดรู้ทกุ อย่างของเรื่ อง แต่ฉนั กลับ ปล่อยให้ เจตจำานงของฉันตัดสินไปอย่างอิสระ ใช้ งานมันกับเรื่ องที่ฉนั ไม่เข้ าใจ ในกรณีเช่นนันไม่ ้ มีอะไรที่ จะหยุดเจตจำานงจากการเปลี่ยนไปทางนันที ้ ทางนี ้ที ดังนัน้ มันจึงสามารถที่จะหันเหออกจากสิ่งที่ดีและ จริ ง นัน่ คือแหล่งแห่งความผิดพลาดและบาปของฉัน So the power of willing that God has given me, being extremely broad in its scope and also perfect of its kind, is not the cause of my mistakes. Nor is my power of understanding to blame: God gave it to me, so there can be no error in its activities; when I understand something I undoubtedly understand it correctly. Well, then, where do my mistakes come from? Their source is the fact that my will has a wider scope than my intellect has, so that I am free to form beliefs on topics that I don’t understand. Instead of behaving as I ought to, namely by restricting my will to the territory that my understanding covers, that is, suspending judgment when I am not intellectually in control, I let my will run loose, applying it to matters that I don’t understand. In such cases there is nothing to stop the will from veering this way or that, so it easily turns away from what is true and good. That is the source of my error and sin. นี่เป็ นตัวอย่างของวิธีที่(1)พฤติกรรมของเจตจำานงเมื่อมี ความเข้ าใจอย่างแท้ จริ ง แตกต่างออกไป จาก(2)พฤติกรรมของเจตจำานงเมื่อไม่มีความเข้ าใจเช่นนัน้ (1)ในช่วงก่อนฉันถามว่าในโลกนี ้มีอะไรอยู่ หรื อไม่ และฉันจึงตระหนักว่าการที่ฉนั กำาลังถามคำาถามนี ้แสดงอย่างชัดเจนว่า ฉันมีอยูจ่ ริ ง ฉันเข้ าใจสิ่งนี ้ อย่างกระจ่างเสียจนฉันอดไม่ได้ ที่จะตัดสินมันว่าเป็ นจริ ง นี่ไม่ใช่‘การอดไม่ได้ ’ที่มาจากการถูกบังคับจาก แรงภายนอก สิ่งที่เกิดขึ ้นมีแค่นี ้คือ แสงที ย่ ิ่ งใหญ่ทีม่ ี อยู่ในสติ ปัญญาได้ตามมาด้วยความโน้มเอียงอัน ใหญ่หลวงของเจตจำ านง ฉันไม่ได้ อยูใ่ นสภาพของความรู้สกึ ไม่แยแสเป็ นกลาง ความรู้สกึ ว่าฉันสามารถ จะไปทางใดก็ได้ แต่การขาดความเป็ นกลางนี ้เป็ นมาตรวัดว่าความเชื่อของฉันเกิดขึ ้นเองและเป็ นอิสระ มากแค่ไหน มันคงจะได้ ชี ้ให้ เห็นถึงความไม่เป็ นอิสระ ถ้ าหากว่ามันเกิดมาจากการบังคับของสิ่งภายนอก บางอย่างแทนที่จะเกิดออกมาจากภายในฉันเอง (2)เช่นเดียวกับการที่ฉนั รู้ว่าฉันมีอยูอ่ ย่างน้ อยก็ใน ฐานะของสิ่ งที ค่ ิด ฉันมีมโนคติของธรรมชาติ แห่งการมี ร่างกายอยูใ่ นฉัน ฉันไม่แน่ใจว่าธรรมชาติแห่งการ คิดของฉัน ซึง่ ทำาให้ ฉนั เป็ นสิ่งที่ฉนั เป็ น เป็ นอย่างเดียวกันกับธรรมชาติแห่งการมีร่างกายหรื อแตกต่าง จากมัน ฉันเข้ าใจว่าสติปัญญาของฉันยังไม่พบเหตุผลที่น่าเชื่อถือสำาหรับคำาตอบไปในทางใดทางหนึง่ ดัง
58
นันฉั ้ นจึงรู้สกึ เป็ นกลางๆเกี่ยวกับคำาถามนี ้ ไม่มีอะไรผลักหรื อดึงฉันไปหาคำาตอบใดคำาตอบหนึง่ หรื อแม้ ที่จะให้ คำาตอบ Here is an example of how (1) the will’s behaviour when there is true understanding contrasts with (2) its behaviour when there isn’t. (1) A while ago I asked whether anything in the world exists, and I came to realize that the fact of my raising this question shows quite clearly that I exist. I understood this so clearly that I couldn’t help judging that it was true. This was not the ‘couldn’t help’ that comes from being compelled by some external force. What happened was just this: a great light in the intellect was followed by a great inclination in the will. I was not in a state of indifference, feeling that I could as well go one way as the other; but this lack of indifference was a measure of how spontaneous and free my belief was. It would have indicated unfreedom only if it had come from the compulsion of something external, rather than coming from within myself. (2) As well as knowing that I exist, at least as a thinking thing, I have in my mind an idea of corporeal nature; and I am not sure whether my thinking nature – which makes me what I am – is the same as this corporeal nature or different from it. I take it that my intellect has not yet found any convincing reason for either answer; so I am indifferent with regard to this question – nothing pushes or pulls me towards one answer or the other, or indeed towards giving any answer. เจตจำานงเป็ นกลางไม่ใช่เพียงแค่เมื่อสติปัญญานันขาดความรู ้ ้ โดยสิ ้นเชิง แต่เมื่อสติปัญญาไม่มีความ รู้ที่ชดั เจนในขณะที่เจตจำานงพยายามที่จะบรรลุถึงการตัดสินใจด้ วยเช่นกัน การคาดคะเนว่าน่าเป็ นจริ ง อาจดึงฉันไปทางหนึง่ แต่เมื่อฉันตระหนักว่ามันเป็ นเพียงแค่การคาดคะเนและไม่ใช่เหตุผลที่แน่นอน สงสัยไม่ได้ ข้ อนันในตั ้ วมันเองก็จะผลักฉันไปอีกทางหนึง่ ประสบการณ์ของฉันในไม่กี่วนั ที่ผา่ นมายืนยัน สิ่งนี ้ เพียงแค่ความจริงที่ว่าฉันพบว่าความเชื่อของฉันนันเปิ ้ ดช่องอะไรบางอย่างให้ อาจสงสัยได้ นนั ้ มาก พอที่จะเปลี่ยนฉันจากการเชื่อมัน่ ไปสูก่ ารคิดว่าพวกมันเป็ นเท็จล้ วนๆ The will is indifferent not only when the intellect is wholly ignorant but also when it doesn’t have clear enough knowledge at the time when the will is trying to reach a decision. A probable conjecture may pull me one way; but when I realize that it is a mere conjecture and not a certain and indubitable reason, that in itself will push me the other way. My experience in the last few days confirms this: the mere fact that I found all my previous beliefs to be somewhat open to doubt was enough to switch me from confidently believing them to supposing them to be wholly false.
59
ถ้ าหากว่าเมื่อฉันไม่รับรู้ถึงความจริ งอย่างชัดเจนและกระจ่างชัดมากพอฉันก็เลยรัง้ รอการตัดสินไว้ ก่อน ฉันก็กำาลังกระทำาในสิ่งที่ถกู ต้ องและหลีกเลี่ยงความผิดพลาด เป็ นการใช้ เจตจำานงเสรี ของฉันอย่าง ผิดๆ ที่จะมีทศั นะไปทางใดทางหนึง่ ในกรณีเช่นนัน้ ถ้ าหากว่าฉันเลือกด้ านที่ไม่ถกู ต้ องฉันก็จะตังอยู ้ ใ่ น ความผิดพลาด และหากแม้ วา่ ฉันเลือกด้ านถูกฉันก็จะยังผิดอยูด่ ี เพราะฉันบรรลุถึงความจริ งนี ้เพียงแค่ ด้วยโชคไม่ใช่ผ่านการรับรู้ของสติ ปัญญาของฉัน ตามที่แสงแห่งธรรมชาติสอ่ งให้ ฉนั เห็นอย่างชัดเจนนัน้ สิ่งหลังควรเป็ นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อเจตจำานงของฉันเมื่อฉันยืนยันสิ่งต่างๆ ฉันได้ พดู ว่าความผิดพลาดนัน้ โดยเนื ้อแท้ แล้ วเป็ นการสูญเสีย การขาดในบางสิ่งที่ฉนั ควรมี และตอนนี ้ฉันรู้วา่ การสูญเสียนี ้เกิดจาก อะไร มันไม่ได้ เกิดอยูใ่ นเจตจำานงที่พระเจ้ าได้ ให้ แก่ฉนั หรื อแม้ แต่ในลักษณะของการทำางานที่พระเจ้ าได้ สร้ างและใส่ไว้ ในเจตจำานง แต่มนั เกิดมาจากการใช้ เจตจำานงของฉันอย่างผิดๆต่างหาก โดยเฉพาะจาก การขาดการยับยังชั ้ ง่ ใจในการใช้ เจตจำานงของฉัน เมื่อฉันสร้ างทัศนะบนเรื่ องต่างๆที่ฉนั ไม่เข้ าใจอย่าง แท้ จริ ง If when I don’t perceive the truth clearly and distinctly enough I simply suspend judgment, I am behaving correctly and avoiding error. It is a misuse of my free will to have an opinion in such cases: if I choose the wrong side I shall be in error; and even if I choose the right side, I shall be at fault because I'll have come to the truth by sheer chance and not through a perception of my intellect. The latter, as the natural light shows me clearly, should be what influences my will when I affirm things. I have said that error is essentially a privation – a lack of something that I should have – and now I know what this privation consists in. It doesn’t lie in the will that God has given me, or even in the mode of operation that God has built into it; rather it consists in my misuse of my will. Specifically, it consists in my lack of restraint in the exercise of my will, when I form opinions on matters that I don’t clearly understand. ฉันไม่สามารถที่จะตำาหนิพระเจ้ าว่าไม่ยอมให้ พลังในการเข้ าใจที่ยิ่งใหญ่กว่าที่ได้ ให้ มาแก่ฉนั ปั ญญา ที่ถกู พระเจ้ าสร้ างเป็ นสิ่งที่โดยธรรมชาติแล้ วมีขอบเขตสิ ้นสุด และดังนันเป็ ้ นธรรมดาที่ยอ่ มขาดความ เข้ าใจในหลายสิ่ง พระเจ้ าไม่เคยมีอะไรที่ติดค้ างต่อฉัน ดังนันฉั ้ นควรที่จะขอบคุณเขาในความเอื ้ออาทรที่ ยิ่งใหญ่ที่เขาให้ แก่ฉนั มากกว่าที่จะรู้สกึ ว่าถูกโกง เพราะเขาไม่ได้ ให้ ทกุ อย่างแก่ฉนั I can’t complain that God did not give me a greater power of understanding than he did: created intellects are naturally finite, and so they naturally lack understanding of many things. God has never owed me anything, so I should thank him for his great generosity to me, rather than feeling cheated because he did not give me everything. ไม่มีเหตุผลเช่นกันที่ฉนั จะตำาหนิพระเจ้ าว่าได้ ให้ เจตจำานงที่กินขอบเขตกว้ างขวางกว่าสติปัญญาแก่ ฉัน เจตจำานงเป็ นสิ่งที่เป็ นเอกภาพหนึง่ เดียว อันดูเหมือนว่ามีธรรมชาติซงึ่ ไม่อาจมีวิธีใดที่จะแยกส่วน
60
ประกอบต่างๆออกจากมัน อย่างไรก็ตามไม่ควรหรอกหรื อที่ขอบเขตอันยิ่งใหญ่ของเจตจำานงของฉันจะ เป็ นเหตุแห่งการขอบคุณยิ่งๆขึ ้นไป ต่อเขาผู้ซงึ่ ให้ เจตจำานงอันกว้ างขวางแก่ฉนั ? ท้ ายที่สดุ ฉันต้ องไม่ ตำาหนิพระเจ้ าว่ายินยอมต่อการกระทำาของเจตจำานงที่นำาฉันไปผิดทาง อะไรที่มีอยูใ่ นการกระทำาพวกนี ้ ที่มาจากพระเจ้ านันล้ ้ วนแต่จริงและดีงาม และเป็ นความสมบูรณ์แบบแห่งฉันที่ฉนั สามารถกระทำาสิ่ง เหล่านันได้ ้ ความเท็จและความผิดพลาดนันโดยแก่ ้ นสารแล้ วเป็ นการสูญเสีย และการสูญเสียนี ้ไม่ใช่ อะไรที่พระเจ้ ายินยอมเพราะว่ามันไม่ใช่สิ่งหนึง่ สิ่งใดทังสิ ้ ้น ที่จริ งเมื่อมันถูกพิจารณาในความสัมพันธ์กบั พระเจ้ าในฐานะเหตุแห่งมัน มันก็ไม่ได้ เป็ นการสูญเสียจริ งๆ แต่เป็ นเพียงการปฏิเสธ นัน่ ก็คือมันเป็ น เพียงข้ อเท็จจริ งเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่างที่ไม่เป็ นจริ งไม่เกิดขึ ้นจริ ง มันไม่ได้ เกี่ยวพันไปถึงแนวคิดว่ามัน ควรจะเป็ นควรจะเกิดขึ ้น ฉันควรที่จะยับยังเจตจำ ้ านงของฉันเมื่อฉันไม่เข้ าใจ แต่ไม่จริ งว่าพระเจ้ าควรจะ ได้ บงั คับการยับยังชั ้ ง่ ใจนันต่ ้ อฉัน พระเจ้ าได้ ให้ อิสรภาพแก่ฉนั ในการที่จะยอมรับหรื อไม่ยอมรับในกรณีที่ พระเจ้ าไม่ได้ ให้ ความเข้ าใจที่ชดั เจนแก่ฉนั เขาย่อมไม่ควรถูกกล่าวโทษในเรื่ องนันอย่ ้ างแน่นอน แต่ฉนั ต่างหากที่ควรถูกกล่าวโทษจากการใช้ อิสรภาพนันอย่ ้ างผิดๆ ในการตัดสินสรุปในเรื่ องต่างๆที่ฉนั ไม่ เข้ าใจอย่างถ้ องแท้ แน่นอนว่าง่ายดายอย่างยิ่งที่พระเจ้ าจะจัดการสิ่งต่างๆให้ เป็ นไปในแบบที่รักษา อิสรภาพของฉันไว้ พร้ อมกับที่ความเข้ าใจของฉันยังถูกจำากัดโดยที่ฉนั ไม่อาจผิดพลาดได้ เลย เขาสามารถ ทำาเช่นนี ้ได้ โดยให้ ความเข้ าใจที่ชดั เจนและแน่นอนในทุกอย่างที่ฉนั น่าจะคิดไปถึง หรื อโดยบังคับให้ ฉนั จำา ไว้ เสมอว่าไม่ควรที่จะสร้ างทัศนะในเรื่องที่ฉนั ไม่เข้ าใจอย่างชัดเจนและแน่นอน ฉันมองเห็นได้ ว่าถ้ าหาก พระเจ้ าได้ สร้ างฉันขึ ้นมาในลักษณะเช่นนี ้ เมื่อพิจารณาเพียงแค่ในตัวเองเสมือนว่าสิ่งอื่นไม่มีอยูจ่ ริ ง ฉัน คงจะเป็ นสิ่งที่สมบูรณ์แบบมากกว่าที่ฉนั เป็ นอยูจ่ ริ ง Nor can I reasonably complain that God gave me a will that extends more widely than my intellect. The will is a single unitary thing; its nature is such, it seems, that there could be no way of taking away parts of it. Anyway, should not the great extent of my will be a cause for further thanks to him who gave it to me? Finally, I must not complain that God consents to the acts of will in which I go wrong. What there is in these acts that comes from God is wholly true and good; and it is a perfection in me that I can perform them. Falsity and error are essentially a privation; and this privation isn’t something to which God consents, because it isn’t a thing at all. Indeed, when it is considered in relation to God as its cause, it isn’t really a privation but rather a mere negation. That is, it is a mere fact about something that is not the case; it does not involve the notion that it ought to be the case. I ought to restrain my will when I don’t understand, but it isn’t true that God ought to have forced such restraint on me·. God has given me the freedom to assent or not to assent in cases where he did not give me clear understanding; he is surely not to blame for that. But I am to blame for misusing that freedom
61
by coming to conclusions on matters that I don’t fully understand. Of course God easily could have arranged things so that, while keeping although my freedom and still being limited in what I understand, I never made a mistake. He could do this either by giving me a clear and distinct understanding of everything that I was ever likely to think about; or by forcing me always to remember that I ought not to form opinions on matters I don’t clearly and distinctly understand. I can see that if God had made me this way, I would – considered just in myself, as if nothing else existed – have been more perfect than I actually am. แต่ทวั่ ทังเอกภพอาจมี ้ ความสมบูรณ์แบบบางอย่างที่ต้องการให้ บางส่วนของมันสามารถที่จะผิด พลาดได้ ในขณะที่สว่ นอื่นไม่ อย่างที่มนั จะเป็ นเอกภพที่ด้อยกว่าถ้ าหากว่าทุกส่วนของมันได้ รับการ ปกป้องจากการทำาผิดพลาดเหมือนกันหมด ฉันไม่มีสิทธิที่จะตำาหนิพระเจ้ าว่าได้ ให้ บทบาทที่ตา่ำ ต้ อยต่อ ฉันในกรอบของสรรพสิ่งของเขา โดยเลือกให้ ฉนั เป็ นสิ่งที่ไม่ได้ รับการปกป้องจากการทำาผิดพลาด But the universe as a whole may have some perfection that requires that some parts of it are capable of error while others are not, so that it would be a worse universe if all its parts were exactly alike in being immune from error. I am not entitled to complain about God’s giving me a lower role in his scheme of things by selecting me as one of the creatures that isn’t protected from error. ยิ่งกว่านัน้ ถ้ าหากว่าฉันไม่มีอำานาจที่จะหลีกเลี่ยงความผิดพลาดโดยมีการรับรู้ที่ชดั เจนของทุกสิ่งทุก อย่างที่ฉนั ต้ องคิดถึง ฉันก็ยงั สามารถทำาเช่นนันได้ ้ ด้ วยการแค่จำาว่าจะต้ องรัง้ รอการตัดสินไว้ ก่อนในเรื่ อง ใดก็ตามที่ไม่ชดั เจนต่อฉัน ฉันยอมรับว่ามีความอ่อนแอที่ไม่สามารถตรึงความสนใจของฉันไว้ บนความ คิดเดียว (อย่างเช่นบนกฎว่าอย่าตัดสิ นเมื อ่ การรับรู้ไม่ชดั เจน) แต่ด้วยการเพ่งพินิจอย่างเอาใจใส่และ กระทำาซ้ำ าหลายๆ ครัง้ ฉันก็สามารถเตือนตัวเองถึงข้ อนันได้ ้ ทนั ทีที่เกิดความจำาเป็ นและสร้ างตัวเองให้ มี นิสยั ที่จะหลีกเลี่ยงความผิดพลาด What is more, even if I have no power to avoid error by having a clear perception of everything I have to think about, I can avoid it simply by remembering to withhold judgment on anything that isn’t clear to me. I admit to having the weakness that I can’t keep my attention fixed on a single thought (such as the no-judgment-when-clarity-of-perception-islacking rule); but by attentive and repeated meditation I can get myself to remember it as often as the need arises, and thus to get into the habit of avoiding error. นี่คือที่ๆ เราจะพบความสมบูรณ์แบบที่ยิ่งใหญ่และสำาคัญที่สดุ ของมนุษย์ ดังนันด้ ้ วยการสืบสวนถึง สาเหตุแห่งความผิดพลาด การเพ่งพินิจของวันนี ้จึงสร้ างผลได้ ที่ยิ่งใหญ่ ฉันต้ องถูกต้ องในการอธิบาย สาเหตุของความผิดพลาดของฉัน ถ้ าฉันรัง้ เจตจำานงของฉันไว้ อย่างที่จะสร้ างทัศนะก็ตอ่ เรื่ องที่ปัญญา
62
ของฉันเปิ ดเผยให้ เห็นอย่างกระจ่างแจ้ งชัดเจน ฉันก็ไม่อาจผิดได้ เลย เหตุผลก็คือการรับรู้ที่กระจ่างแจ้ ง ชัดเจนทุกครัง้ เป็ นบางสิ่งบางอย่างที่ไม่ต้องสงสัยเลยว่าจริ งและเป็ นเชิงบวก ดังนันจึ ้ งไม่อาจมาจาก ความว่างเปล่าและต้ องมาจากพระเจ้ า เขาคือความสมบูรณ์แบบสูงสุด ย่อมเป็ นความขัดแย้ งตรงๆ ที่จะ คิดว่าเขาหลอกลวง ดังนันการรั ้ บรู้ที่กระจ่างแจ้ งชัดเจนต้ องเป็ นจริ ง ดังนันวั ้ นนี ้ฉันได้ เรี ยนรู้ไม่ใช่เพียงแค่ วิธีที่จะหลีกเลี่ยงความผิดพลาดแต่ได้ เรียนรู้ถึงวิธีที่จะเข้ าถึงความจริ งด้ วย เป็ นสิ่งเหนือคำาถามที่ว่า ฉัน จะเข้ าถึงความจริ ง ถ้ าฉันทุ่มเทความคิดมากพอในเรื่ องของสิ่งที่ฉนั เข้ าใจอย่างสมบูรณ์ ระวังที่จะแยกมัน ออกจากเรื่ องอื่นๆ ที่ความคิดของฉันสับสนและคลุมเครื อกว่า นี่คือสิ่งที่ฉนั จะระมัดระวังกระทำา ต่อแต่นี ้ ไป This is where man’s greatest and most important perfection is to be found; so today’s meditation, with its enquiry into the cause of error, has been very profitable. I must be right in my explanation of the cause of error. If I restrain my will so that I form opinions only on what the intellect clearly and distinctly reveals, I cannot possibly go wrong. Here is why. Every clear and distinct perception is undoubtedly something real and positive; so it can’t come from nothing, and must come from God. He is supremely perfect; it would be downright contradictory to suppose that he is a deceiver. So the clear and distinct perception must be true. So today I have learned not only how to avoid error but also how to arrive at the truth. It is beyond question that I shall reach the truth if I think hard enough about the things that I perfectly understand, keeping them separate from all the other matters in which my thoughts are more confused and obscure. That is what I shall be really careful to do from now on.
63
ข้ อพินิจทีห่ ้ ำ สารัตถะของสสารวัตถุ และการพิจารณาครั้งทีส่ องถึงความมีอยู่ของพระเจ้ า FIFTH MEDITATION: The essence of material things, and the existence of God considered a second time ยังมีเรื่องอีกมากมายที่จะต้ องถามเกี่ยวกับคุณลักษณะของพระเจ้ าและเกี่ยวกับธรรมชาติของฉันเอง (ซึง่ ก็คือธรรมชาติของจิตของฉัน) ฉันอาจหยิบยกคำาถามเหล่านี ้ขึ ้นพิจารณาในสักเวลาหนึง่ ข้ างหน้ าแต่ ในตอนนี ้ฉันมีงานที่สำาคัญยิ่งกว่า ในเมื่อตอนนี ้ฉันได้ เห็นถึงวิธีที่จะได้ มาซึง่ ความจริ ง (สิ่งที่ควรทำาและสิ่ง ที่ควรหลีกเลียง) ฉันจึงต้ องหนีให้ พ้นจากความสงสัยที่รุมเร้ าฉันในสองสามวันที่ผ่านมา และพิจาณาดูว่า มีอะไรบ้ างที่สามารถรู้ได้ อย่างแน่นอนใจเกี่ยวกับสสารวัตถุ There are many enquiries still to be made about God’s attributes, and many about my own nature (that is, the nature of my mind). I may take these up at some time; but right now I have a more pressing task. Now that I have seen how to reach the truth – what to do and what to avoid – I must try to escape from the doubts that beset me a few days ago, and see whether anything can be known for certain about material objects. ก่อนที่จะถามว่ามีสิ่งเช่นนันจริ ้ งหรื อไม่ฉนั ควรจะพิจารณามโนคติ ของพวกมันในความคิดของฉัน เพื่อ ที่จะดูวา่ มีมโนคติใดบ้ างของพวกมันที่ชดั เจนและมีมโนคติใดบ้ างที่สบั สน Before enquiring into whether there are any such things, I should consider the ideas of them in my thought, in order to see which of those ideas are distinct and which confused. ฉันสร้ างจินตภาพของปริ มาณได้ อย่างชัดเจน นัน่ ก็คือ ความกว้ าง ยาว และลึกของปริ มาณ หรื อที่จริ ง แล้ วก็คือของสิ่งที่ถกู วัด ฉันยังสามารถแจกแจงชิ ้นส่วนต่างๆ ของสิ่งนัน้ ซึง่ เป็ นสิ่งที่ฉนั ระบุว่ามีหลาย ขนาด รูปร่าง ตำาแหน่งและการเคลื่อนที่ และสำาหรับการเคลื่อนที่นนฉั ั ้ นระบุว่ามีคา่ ระยะเวลาต่างๆ นัน่ คือฉันบอกได้ วา่ การเคลื่อนไหวแต่ละครัง้ กินเวลานานเท่าใด I distinctly imagine quantity – that is, the length, breadth and depth of the quantity, or rather of the thing that is quantified. I also enumerate the thing’s parts, to which I attribute
64
various sizes, shapes, positions and movements; and to the movements I attribute various durations, that is, I say how long each movement lasts. ขนาด รูปร่าง ตำาแหน่ง รวมถึงสิ่งอื่นๆ เป็ นที่ร้ ูจกั เป็ นอย่างดีและโปรงใสต่อฉัน ว่าเป็ นประเภททัว่ ๆ ไปของปรากฏการณ์ แต่ก็ยงั มีข้อเท็จจริงเฉพาะอีกนับไม่ถ้วนที่เกี่ยวพันไปถึงพวกมันที่ฉนั รับรู้เมื่อฉันให้ ความสนใจกับพวกมัน ความจริงเกี่ยวกับเรื่องราวทังหมดเหล่ ้ านี ้เปิ ดต่อฉันและกลมกลืนกับธรรมชาติ ของฉัน มากเสียจนเมื่อฉันค้ นพบความจริงประการใดประการหนึง่ พวกนันเป็ ้ นครัง้ แรก ฉันรู้สกึ เหมือนว่า ได้ เรี ยนรู้สิ่งใหม่น้อยกว่าที่ร้ ูสกึ ว่าได้ ทบทวนความจำาในสิ่งที่ฉนั รู้อยูแ่ ล้ ว หรื อว่าได้ สงั เกตเห็นบางสิ่งบาง อย่างที่มีอยูแ่ ล้ วในจิตของฉันเป็ นครัง้ แรกโดยไม่ต้องเพ่งจักษุแห่งจิตของฉันไปที่มนั Size, shape, position and so on are well known and transparent to me as general kinds of phenomenon, but there are also countless particular facts involving them that I perceive when I attend to them. The truths about all these matters are so open to me, and so much in harmony with my nature, that when I first discover any of them it feels less like learning something new than like remembering something I had known before, or noticing for the first time something that was already in my mind without my having turned my mental gaze onto it. ประเด็นที่สำาคัญที่สดุ ก็คือ ฉันพบว่าในตัวฉันมีมโนคตินบั ไม่ถ้วนเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่ไม่สามารถเรี ยกได้ ว่าคือความว่างเปล่าถึงแม้ วา่ พวกมันจะไม่มีอยูจ่ ริ งภายนอกฉัน เพราะถึงแม้ ฉนั มีอิสระที่จะคิดมโนคติ พวกนี ้หรื อไม่คิดตามที่ฉนั เลือกฉันก็ไม่ได้สร้างมโนคติ พวกนีข้ ึ้นมา พวกมันมีธรรมชาติที่แท้ จริ งและถาวร ของตัวเองซึง่ ไม่อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของฉัน หากแม้ ว่าไม่มีและไม่เคยมีรูปสามเหลี่ยมใดๆ อยูภ่ ายนอก ความคิดของฉัน กระนันเมื ้ ่อฉันจินตนาการถึงสามเหลี่ยมฉันก็ถกู จำากัดวิธีที่จะทำา เพราะว่าสามเหลี ย่ มมี ธรรมชาติที่ตายตัว หรือเป็ นสารัตถะ หรือที่เป็ นแบบ ซึง่ เป็ นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลงและเป็ นอิสระจากจิต ของฉัน ขอให้ พิจารณาสิ่งที่ฉนั สามารถพิสจู น์ได้ เกี่ยวกับสามเหลี่ยม นัน่ คือมุมทังสามของมั ้ นมีคา่ เท่ากับ สองมุมฉาก และด้ านที่ยาวที่สดุ อยูต่ รงข้ ามกับมุมที่ใหญ่ที่สดุ เป็ นต้ น ฉันถูกบังคับให้ ต้องยอมรับว่า สามเหลี่ยมมีคณ ุ สมบัติพวกนี ้ถึงแม้ ฉนั ไม่ได้ คดิ ถึงพวกมันเลยเมื่อสามเหลี่ยมเข้ ามาปรากฏในจิตของฉัน เป็ นครัง้ แรก ดังนันคุ ้ ณสมบัติพวกนี ้จึงไม่อาจถูกสร้ างขึ ้นมาโดยฉัน The most important point is that I find in myself countless ideas of things that can’t be called nothing, even if they don’t exist anywhere outside me. For although I am free to think of these ideas or not, as I choose, I didn’t invent them: they have their own true and immutable natures, which are not under my control. Even if there are not and never were any triangles outside my thought, still, when I imagine a triangle I am constrained in how I do this, because there is a determinate nature or essence or form of triangle that is eternal, unchanging, and
65
independent of my mind. Consider the things that I can prove about the triangle – that its three angles equal two right angles, that its longest side is opposite its greatest angle, and so on. I am forced to agree that the triangle has these properties, even if I didn’t give them a thought when the triangle first came into my mind. So they can’t have been invented by me. ไม่มีผลอะไรที่จะชี ้ว่าบางครัง้ ฉันได้ เห็นกายวัตถุรูปร่างสามเหลี่ยม เพื่อที่วา่ มโนคติเกี่ยวกับ สามเหลี่ยมอาจจะเข้ ามาสูฉ่ นั ผ่านอวัยวะรับสัมผัสของฉัน ฉันสามารถที่จะพิสจู น์ความจริ งเกี่ยวกับ คุณสมบัติที่ไม่ใช่แค่ของสามเหลี่ยม แต่เป็ นของรูปทรงอื่นอีกนับไม่ถ้วนที่ฉนั รู้ว่าฉันไม่เคยได้ พบผ่านทาง ประสาทสัมผัสเลย คุณสมบัติเหล่านี ้ต้ องเป็ นอะไรบางอย่าง ไม่ใช่ความว่างเปล่าล้ วนๆ อะไรก็ตามที่จริ ง ย่อมเป็ นอะไรบางอย่าง และคุณสมบัติเหล่านี ้เป็ นจริ งเพราะว่าฉันรับรู้ถึงพวกมันอย่างชัดเจน (ฉันได้ พิสจู น์ไว้ แล้ วว่าทุกสิ่งที่ฉนั รับรู้ถึงอย่างชัดเจนย่อมเป็ นจริ ง และถึงแม้ ถ้าฉันยังไม่ได้ พิสจู น์มนั จิตของฉัน นันก็ ้ ถกู สร้ างขึ ้นมาในแบบที่ฉนั ต้องยอมรับต่อประพจน์ทางเรขาคณิตเหล่านี ้ตราบเท่าที่ฉนั รับรู้ถึงพวก มัน) ฉันจำาได้ เช่นกันว่า แม้ ย้อนไปถึงเวลาที่วตั ถุตา่ งๆของประสาทสัมผัสดึงดูดความสนใจของฉัน ฉันก็ ยึดถือประพจน์ที่เป็ นที่เข้ าใจอย่างชัดเจนของคณิตศาสตร์ บริ สทุ ธิ์ รวมไปถึงเลขคณิตและเรขาคณิตว่า เป็ นสิ่งที่แน่นอนอย่างที่สดุ It does not help to point out that I have sometimes seen triangular bodies, so that the idea of the triangle might have come to me from them through my sense organs. I can prove truths about the properties not only of triangles but of countless other shapes that I know I have never encountered through the senses. These properties must be something, not pure nothing: whatever is true is something; and these properties are true because I am clearly aware of them. (I have already proved that everything of which I am clearly aware is true; and even if I hadn’t proved it, my mind is so constituted that I have to assent to these geometrical propositions as long as I perceive them.) I remember, too, that even back in the times when the objects of the senses held my attention, I regarded the clearly apprehended propositions of pure mathematics – including arithmetic and geometry – as the most certain of all. สองย่อหน้ าที่ผา่ นมานำาไปสูข่ ้ อสรุปดังนี ้ได้ แก่ เพียงแค่ข้อเท็จจริ งที่ว่าในความคิดของฉัน ฉันพบ มโนคติของ ก ซึง่ เป็ นอะไรบางอย่าง และฉันรับรู้ ก อย่างกระจ่างแจ้ งชัดเจนว่ามีคณ ุ สมบัติบางประการ นัน่ ย่อมหมายความว่า ก มีคณ ุ สมบัตินนจริ ั ้ งๆ ฉันไม่สามารถที่จะหันข้ อนี ้ไปสูค่ ำาอธิบายในข้ อโต้ แย้ งที่ สอง เพื่อที่จะพิสจู น์ว่าพระเจ้ ามีจริงหรอกหรื อ? มโนคติวา่ ด้ วยพระเจ้ า(นันก็ ้ คือมโนคติของสัตที่สมบูรณ์ แบบอย่างที่สดุ )เป็ นหนึง่ มโนคติที่ฉนั พบว่ามีอยูใ่ นฉันอย่างแน่นอน เหมือนกับที่ฉนั พบมโนคติของรูปทรง และจำานวน และฉันเข้ าใจจากมโนคตินี ้ว่าเป็ นธรรมชาติของพระเจ้ าที่ เขาจะต้องมี อยู่จริ งเสมอ ความ
66
เข้ าใจนี ้กระจ่างแจ้ งชัดเจนมากเท่าๆกับความเข้ าใจที่อยูใ่ นข้ อพิสจู น์ทางคณิตศาสตร์ ของคุณสมบัติ ต่างๆ ของรูปทรงและจำานวน The preceding two paragraphs lead to this conclusion: The mere fact that I find in my thought an idea of something x, and clearly and distinctly perceive x to have a certain property, it follows that x really does have that property. Can I not turn this to account in a second argument to prove the existence of God? The idea of God (that is, of a supremely perfect being) is certainly one that I find within me, just as I find the ideas of shapes and numbers; and I understand from this idea that it belongs to God’s nature that he always exists. This understanding is just as clear and distinct as what is involved in mathematical proofs of the properties of shapes and numbers. ดังนันถึ ้ งแม้ ว่าบางครัง้ ฉันได้ ผิดพลาดไปในการเพ่งพินิจของฉันในหลายๆวันที่ผา่ นมา ฉันก็ยงั ควรที่ จะยึดถือความมีอยูข่ องพระเจ้ าว่า อย่างน้ อยที่สดุ ก็แน่นอนเท่ากับความจริ งที่ฉนั ถือว่าคณิตศาสตร์ มี ดู ครัง้ แรกนี่คล้ ายจะเป็ นเลห์เพทุบาย ในสิ่งที่ใดก็ตามที่ไม่ใช่เรื่ องของพระเจ้ า ฉันทำาตัวให้ ค้ นุ เคยกับการ จำาแนกความมีอยูข่ องสิ่งๆหนึง่ ออกจากธรรมชาติที่เป็ นสารัตถะแก่นแท้ ของมัน คำาถามที่วา่ “อะไรคือ สารัตถะของรูปสามเหลี่ยม(หรือของไฟหรือของนกกระจอก)?” เป็ นการถามว่าอะไรที่ทำาให้ บางสิ่งมี คุณสมบัติที่เข้ าเกณฑ์ของการเป็ นรูปสามเหลี่ยม(หรื อเป็ นไฟหรื อเป็ นนก) แต่แม้ เมื่อตอบคำาถามนันแล้ ้ ว คำาถามเรื่ องความมีอยู่ก็ยงั คงเปิ ดค้ างไว้ อยูด่ ี ซึง่ นำาไปสูก่ ารถามว่ามีสามเหลี่ยม(หรื อไฟหรื อนก กระจอก)อยูจ่ ริ งบ้ างหรือเปล่า ฉันสามารถที่จะเชื่อได้ ง่ายๆว่าในกรณีของพระเจ้ าความมีอยูก่ ็สามารถ แยกจากสารัตถะเช่นเดียวกัน ทำาให้ เราสามารถที่จะตอบคำาถามเรื่ องสารัตถะของพระเจ้ า ในขณะที่ทิ ้ง คำาถามเรื่ องความมีอยูค่ ้ างไว้ อย่างที่พระเจ้ าสามารถที่จะถูกคิดว่าไม่มีอยูจ่ ริ งก็ได้ แต่ด้วยการไตร่ตรอง อย่างรอบคอบยิ่งขึ ้น กลับเป็ นที่ประจักษ์ แจ้ งว่า เช่นเดียวกันกับที่การมีมมุ ภายในเท่ากับ 180 องศาไม่ สามารถที่จะแยกออกจากมโนคติหรือสารัตถะของรูปสามเหลี่ยม และเช่นเดียวกันกับที่มโนคติของที่ลมุ่ ไม่สามารถที่จะแยกออกจากมโนคติของที่ดอนได้ ดังนันความมี ้ อยูข่ องพระเจ้ าก็ไม่สามารถแยกจาก สารัตถะของพระเจ้ าได้ เช่นเดียวกับที่เป็ นการขัดแย้ งตนเอง การคิดถึงทีด่ อนในโลกที ป่ ราศจากทีล่ ่มุ เป็ นการขัดแย้ งตนเอง จึงเป็ นการขัดแย้ งตนเองเช่นกันที่จะคิดถึงพระเจ้าอย่างที ไ่ ม่มีอยู่ ซึง่ ก็คือ ที่จะคิด ว่าสิ่งที่สมบูรณ์แบบอย่างที่สดุ ขาดความสมบูรณ์แบบไปข้ อหนึง่ อันได้ แก่ความสมบูรณ์แบบของการมี อยูจ่ ริ ง So even if I have sometimes gone wrong in my meditations in these past days, I ought still to regard the existence of God as being at least as certain as I have taken the truths of mathematics to be. At first sight, this looks like a trick. Where things other than God are involved, I have been accustomed to distinguish a thing’s existence from its essence. The
67
question ‘What is the essence of triangles (or flames or sparrows)?’ asks what it takes for something to qualify as a triangle (or flame or sparrow). Answering this still leaves open the existence question, which asks whether there are any triangles (or flames or sparrows). I can easily believe that in the case of God, also, existence can be separated from essence, letting us answer the essence question about God while leaving the existence question open, so that God can be thought of as not existing. But on more careful reflection it becomes quite evident that, just as having-internal-angles-equal-to-180??can’t be separated from the idea or essence of a triangle, and as the idea of highlands can’t be separated from the idea of lowlands, so existence can’t be separated from the essence of God. Just as it is selfcontradictory to think of highlands in a world where there are no lowlands, so it is selfcontradictory to think of God as not existing – that is, to think of a supremely perfect being as lacking a perfection, namely the perfection of existence. ต่อไปจะเป็ นข้ อโต้ แย้ งที่เป็ นไปได้ ตอ่ สิ่งที่กล่าวมาในสองย่อหน้ าก่อน กล่าวคือ ฉันไม่สามารถที่จะ คิดถึงพระเจ้ ายกเว้ นแต่เมื่อถือว่ามีอยูจ่ ริ ง เหมือนกับที่ฉนั ไม่สามารถที่จะคิดถึงแม่น้ำาที่ไร้ ฝั่ง แต่จากข้ อ เท็จหลังนี ้แน่นอนว่ามันไม่ได้ หมายความว่าต้ องมีแม่น้ำาอยูจ่ ริ งๆในโลก แล้ วทำาไมจึงควรจะหมายความ ตามข้ อเท็จจริงแรกว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริง? การที่สิ่งต่างๆมีอยูจ่ ริ งในโลกไม่ใช่เรื่ องที่จะตัดสินโดยความคิด ของฉัน และในแบบเดียวกับที่ฉนั สามารถจินตนาการถึงม้ ามีปีกได้ แม้ ว่าจะไม่มีม้าตัวใดเลยที่มีปีก ฉันก็ สามารถที่จะเติมความมีอยูข่ องพระเจ้ าเข้ าไปในความคิดของฉันได้ ถึงแม้ ว่าพระเจ้ าจะไม่มีอยูจ่ ริ งเลย ก็ตาม Here is a possible objection to the preceding two paragraphs: I can’t think of God except as existing, just as I can’t think of a river without banks. From the latter fact, though, it certainly doesn’t follow that there are any rivers in the world; so why should it follow from the former fact that God exists? How things are in reality is not settled by my thought; and just as I can imagine a winged horse even though no horse has wings, so I can attach existence to God in my thought even if no God exists. มีการอ้ างเหตุผลอย่างผิดๆปนอยูใ่ นนี ้ จากข้ อเท็จจริ งที่วา่ ฉันไม่สามารถที่จะคิดถึงแม่น้ำาอย่างที่ ปราศจากฝั่ ง ไม่ได้ หมายความว่าต้ องมีแม่น้ำาที่มีฝั่งอยูท่ ี่ไหนสักแห่ง แต่หมายความเพียงแค่วา่ แม่นำ า้ และ ฝั่ ง ไม่วา่ จะมีอยูใ่ นโลกจริงหรือไม่ ไม่สามารถที่จะแยกจากกันได้ ในอีกแง่หนึง่ จากข้ อเท็จจริ งที่ว่าฉันไม่ สามารถที่จะคิดถึงพระเจ้ าได้ เลยเว้ นแต่จะคิดว่าเขามีอยูจ่ ริ ง นัน่ หมายความว่าพระเจ้าและความมี อยู่ จริ งไม่สามารถที่จะแยกจากกันได้ ซึง่ เท่ากับพูดว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริ ง ความคิดของฉันไม่ได้ ทำาให้ มนั เป็ น อย่างนัน้ มันไม่ได้ สร้ างความจำาเป็ นจริ งขึ ้นมา ที่จริ งแล้ วอิทธิพลเป็ นไปในทิศทางตรงกันข้ าม ความ
68
จำาเป็ นจริ งของสิ่งมีอำานาจควบคุมว่าฉันจะคิดอะไรได้ บ้าง ทำาให้ ฉนั ขาดอิสรภาพที่จะคิดถึงพระเจ้ าอย่าง ที่ปราศจากความมีอยูจ่ ริง (นันคื ้ อเป็ นสัตที่สมบูรณ์แบบอย่างที่สดุ โดยไม่มีความสมบูรณ์สงู สุด ) เหมือน อย่างที่ฉนั มีอิสรภาพที่จะจินตนาการถึงม้ าที่มีปีกหรื อไม่มีปีกก็ได้ This involves false reasoning. From the fact that I can’t think of a river without banks, it does not follow that a river with banks exists anywhere, but simply that river and banks – whether or not there are any in reality – are inseparable. On the other hand, from the fact that I can’t think of God except as existing it follows that God and existence are inseparable, which is to say that God really exists. My thought doesn’t make it so; it doesn’t create necessities. The influence runs the opposite way: the necessity of the thing constrains how I can think, depriving me of the freedom to think of God without existence (that is, a supremely perfect being without a supreme perfection), like my freedom to imagine a horse with or without wings. และจะต้ องไม่มีการอ้ างเป็ นข้ อคัดค้ านตรงนี ้ว่า ในความจริ งจำาเป็ นที่จะต้ องยอมรับว่าพระเจ้ ามีอยู่ จริ ง หลังจากที่คิดให้ เขามีความสมบูรณ์แบบทุกประการ ในเมื่อการมีตวั ตนอยูจ่ ริ งเป็ นหนึง่ ในความ สมบูรณ์แบบพวกนัน้ แต่มีข้อคัดค้ านว่าสมติฐานที่ยดึ ถือมาแต่เริ่ มต้ นของฉันนันไม่ ้ จำาเป็ นว่าต้ องจริ ง เหมือนกับที่ไม่จำาเป็ นต้ องคิดว่ารูปสี่เหลี่ยมทุกรูปสามารถที่จะขีดเขียนให้ อยูใ่ นวงกลม เพราะถ้ าฉันมีสม ติฐานเช่นนันฉั ้ นก็ควรจะถูกตีกรอบให้ ยอมรับว่า ด้ วยการที่เป็ นรูปที่มีสี่ด้าน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ย่อมสามารถที่จะถูกขีดเขียนลงเช่นนันแต่ ้ นี่เป็ นเท็จอย่างชัดเจน ฉันขอกล่าวว่าข้ อคัดค้ านนี ้ไม่มีน้ำาหนัก เพราะถึงแม้ ว่ามันอาจไม่จำาเป็ นที่ฉนั จะมีความคิดเรื่ องของพระเจ้ าอยูต่ ลอดเวลา แต่กระนันทุ ้ กครัง้ ที่ฉนั เกิดคิดขึ ้นมาถึงสัตแรกสุดและทรงอำานาจสูงสุด กล่าวก็คือเกิดคิดที่จะสร้ างมโนคติเรื่ องเขาออกมาจาก คลังของจิต ฉันย่อมถูกกำาหนดอย่างไม่อาจบิดพริว้ ว่าต้ องถือว่าเขามีคณ ุ สมบัติของความสมบูรณ์แบบ ทุกประการ ดังนันแล้ ้ วถึงแม้ ว่าฉันจะไม่สาธยายคุณสมบัติพวกนันทั ้ งหมด ้ และทังไม่ ้ คิดถึงความสมบูรณ์ แบบแต่ละอย่างลงไปอย่างเจาะจง และทันทีที่ฉนั ค้ นพบว่าการมีอยูจ่ ริ งนันเป็ ้ นความสมบูรณ์แบบ ประการหนึง่ ความจำาเป็ น(การที่ฉนั ถูกกำาหนดอย่างไม่อาจบิดพริว้ )นี ้ย่อมเพียงพอที่จะทำาให้ ฉนั อนุมาน ถึงการมีอยูจ่ ริ งของสัตแรกสุดและทรงอำานาจสูงสุดนี ้ ในแบบเดียวกันกับที่ไม่จำาเป็ นว่าฉันต้ องเคย จินตนาการรูปสามเหลี่ยมมาก่อน แต่เมื่อใดก็ตามที่ฉนั ปรารถนาที่จะพิจารณารูปอันกอปรด้ วยด้ านสาม ด้ านที่เป็ นเส้ นตรง ย่อมจำาเป็ นอย่างที่สดุ ที่จะต้ องถือว่ารูปนันมี ้ คณ ุ สมบัติทงหลายแบบที ั้ ่ทำาให้ เรา สามารถอนุมานอย่างถูกต้ องว่ามุมทังสามของมั ้ นจะมีคา่ ไม่มากไปกว่าสองมุมฉาก ถึงแม้ บางทีฉนั อาจ ไม่กล่าวถึงความสัมพันธ์ข้อนี ้อย่างเจาะจงเลยก็เป็ นได้ แต่เมื่อฉันพิจารณาว่ารูปอะไรบ้ างที่สามารถ เขียนลงในวงกลมได้ ไม่จำาเป็ นเลยว่ารูปสี่เหลี่ยมทุกรูปต้ องอยูใ่ นกลุม่ นี ้ ในทางตรงกันข้ าม ฉันไม่ สามารถที่จะจินตนาการให้ ของเช่นนันเกิ ้ ดขึ ้นได้ เลย ตราบเท่าที่ฉนั ไม่เต็มใจที่จะยอมรับสิ่งใดก็ตามที่ฉนั
69
ไม่รับรู้อย่างชัดเจนและกระจ่างแจ้ งในความคิด และผลก็คือมีความแตกต่างอย่างยิ่งระหว่างสมมุติฐาน ที่ผิด อย่างข้ อที่กล่าวถึง และมโนคติที่แท้ จริ งที่ถือกำาเนิดมาพร้ อมกับฉัน ซึง่ มีมโนคติของพระเจ้ าเป็ น มโนคติแรกและสำาคัญที่สดุ ด้ วยเหตุที่ฉนั เห็นจริ งๆบนพื ้นฐานนานัปการว่ามโนคตินี ้ไม่ใช่สิ่งประดิษฐ์ ที่ อิงอาศัยความคิดของฉัน แต่วา่ มันเป็ นตัวแทนของธรรมชาติที่จริ งและเที่ยงแท้ ถาวร ประการแรกเพราะ ว่าฉันไม่สามารถที่จะรับรู้ถึงสัตอื่นยกเว้ นก็แต่พระเจ้ า ที่การมีอยูข่ องเขาเกี่ยวข้ อง(อย่างจำาเป็ น)กับ สารัตถะของเขา ประการที่สอง เพราะว่าเป็ นไปไม่ได้ ที่จะรับรู้ถึงพระเจ้ าแบบนี ้ที่เป็ นสองหรื อมากกว่านัน้ และด้ วยการที่ถือว่ามีพระเจ้ าอยูห่ นึง่ ที่เป็ นเช่นนัน้ ฉันเห็นอย่างชัดเจนว่าเขาต้ องมีอยูม่ าแล้ วตังแต่ ้ เริ่ ม ต้ นแห่งกาลเวลา และจะมีอยูไ่ ปจนชัว่ กัปชัว่ กัลป์ และประการสุดท้ าย เพราะฉันเข้ าใจถึงคุณสมบัติอื่นๆ อีกหลายประการของพระเจ้ า ที่ไม่มีคณ ุ สมบัติใดเลยที่ฉนั สามารถตัดทอนหรื อเปลี่ยนแปลง Nor must it be alleged here as an objection, that it is in truth necessary to admit that God exists, after having supposed him to possess all perfections, since existence is one of them, but that my original supposition was not necessary; just as it is not necessary to think that all quadrilateral figures can be inscribed in the circle, since, if I supposed this, I should be constrained to admit that the rhombus, being a figure of four sides, can be therein inscribed, which, however, is manifestly false. This objection is, I say, incompetent; for although it may not be necessary that I shall at any time entertain the notion of Deity, yet each time I happen to think of a first and sovereign being, and to draw, so to speak, the idea of him from the storehouse of the mind, I am necessitated to attribute to him all kinds of perfections, though I may not then enumerate them all, nor think of each of them in particular. And this necessity is sufficient, as soon as I discover that existence is a perfection, to cause me to infer the existence of this first and sovereign being; just as it is not necessary that I should ever imagine any triangle, but whenever I am desirous of considering a rectilinear figure composed of only three angles, it is absolutely necessary to attribute those properties to it from which it is correctly inferred that its three angles are not greater than two right angles, although perhaps I may not then advert to this relation in particular. But when I consider what figures are capable of being inscribed in the circle, it is by no means necessary to hold that all quadrilateral figures are of this number; on the contrary, I cannot even imagine such to be the case, so long as I shall be unwilling to accept in thought aught that I do not clearly and distinctly conceive; and consequently there is a vast difference between false suppositions, as is the one in question, and the true ideas that were born with me, the first and chief of which is the idea of God. For indeed I discern on many grounds that this idea is not factitious
70
depending simply on my thought, but that it is the representation of a true and immutable nature: in the first place because I can conceive no other being, except God, to whose essence existence [necessarily] pertains; in the second, because it is impossible to conceive two or more gods of this kind; and it being supposed that one such God exists, I clearly see that he must have existed from all eternity, and will exist to all eternity; and finally, because I apprehend many other properties in God, none of which I can either diminish or change. แต่ที่จริ งไม่วา่ ท้ ายที่สดุ แล้ วฉันจะใช้ วิธีตรวจสอบแบบใดก็ตาม มันก็จะหวนกลับมาที่จดุ นี ้เสมอ ว่ามีก็ แต่สิ่งที่ฉนั รับรู้อย่างกระจ่างแจ้ งชัดเจนเท่านันที ้ ่มีอำานาจที่จะชักจูงฉันอย่างเต็มที่ และแม้ ว่าในเรื่ องของ วัตถุที่ฉนั รับรู้ในลักษณะเช่นนี ้ มีบางวัตถุที่เด่นชัดต่อทุกๆ คน ในขณะที่มีบางวัตถุที่จะถูกค้ นพบก็แต่ เพียงด้ วยการค้ นหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน แต่ทว่าหลังจากที่ถกู ค้ นพบแล้ วอย่างหลังก็ไม่ได้ ถกู ประเมินว่า แน่นอนน้ อยกว่าอย่างแรกเลย ตัวอย่างเช่น ในกรณีของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ถึงแม้ มนั ไม่ชดั เจนในตอน แรกว่ากำาลังสองของฐานมีคา่ เท่ากับผลรวมของกำาลังสองของด้ านอีกสองด้ านที่เหลือ โดยที่ถือว่าฐาน ของสามเหลี่ยมคือด้ านที่ตรงกันข้ ามกับมุมที่กว้ างที่สดุ แต่ทว่าหลังจากที่เข้ าใจแล้ วเราย่อมถูกชักนำา อย่างเหนียวแน่นให้ ถือข้ อแรกว่าจริงเท่าๆกับข้ อหลัง และในเรื่ องของพระเจ้ า ถ้ าหากว่าฉันไม่ได้ ถกู ครอบงำาโดยมิจฉาทิฐิและความคิดของฉันถูกรบกวนในทุกด้ าน จากการไหลเข้ ามาอย่างไม่ขาดสายของ จินตภาพของวัตถุแห่งผัสสะ ฉันไม่ควรจะรู้สิ่งใดอย่างรวดเร็ วและง่ายยิ่งไปกว่าความจริ งของความมีอยู่ ของเขา เพราะมีความจริงใดอีกหรือที่มีความชัดเจนยิ่งไปกว่าความมีอยูข่ องสัตสูงสุดหรื อของพระเจ้ า เมื่อเห็นว่าแค่ด้วยสารัตถะของเขาเพียงอย่างเดียว ความมีอยูก่ ็ถกู ครอบคลุมถึง(อย่างจำาเป็ นและไม่มีวนั สิ ้นสูญ)? But, indeed, whatever mode of probation I in the end adopt, it always returns to this, that it is only the things I clearly and distinctly conceive which have the power of completely persuading me. And although, of the objects I conceive in this manner, some, indeed, are obvious to everyone, while others are only discovered after close and careful investigation; nevertheless after they are once discovered, the latter are not esteemed less certain than the former. Thus, for example, to take the case of a right-angled triangle, although it is not so manifest at first that the square of the base is equal to the squares of the other two sides, as that the base is opposite to the greatest angle; nevertheless, after it is once apprehended, we are as firmly persuaded of the truth of the former as of the latter. And, with respect to God if I were not pre-occupied by prejudices, and my thought beset on all sides by the continual presence of the images of sensible objects, I should know nothing sooner or more easily than
71
the fact of his being. For is there any truth more clear than the existence of a Supreme Being, or of God, seeing it is to his essence alone that [necessary and eternal] existence pertains? และถึงแม้ แนวความคิดที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับความจริ งนี ้ทำาให้ ฉนั มีภาระที่ต้องคิดอย่างหนัก แต่ทว่าใน ขณะนี ้ฉันไม่ได้ เพียงแค่วา่ รู้สกึ มัน่ ใจกับมันเท่าๆกับอะไรที่ฉนั ตัดสินว่าแน่นอนอย่างที่สดุ แต่ฉนั ขอกล่าว ยิ่งขึ ้นไปกว่านันว่ ้ า ความเชื่อมัน่ ในความจริ งอื่นๆทังมวลล้ ้ วนขึ ้นอยูก่ บั ความจริ งนี ้ อย่างที่หากว่าไม่มี ความรู้นี ้เสียแล้ วก็จะเป็ นไปไม่ได้ เลยที่จะรู้อะไร อย่างสมบูรณ์ And although the right conception of this truth has cost me much close thinking, nevertheless at present I feel not only as assured of it as of what I deem most certain, but I remark further that the certitude of all other truths is so absolutely dependent on it that without this knowledge it is impossible ever to know anything perfectly. เพราะถึงแม้ ฉนั จะมีธรรมชาติอย่างที่ทำาให้ เป็ นว่า เมื่อฉันมีความเข้ าใจในเรื่ องหนึง่ อย่างกระจ่างแจ้ ง ชัดเจน ฉันจะไม่สามารถขัดขืนต่อการที่จะเชื่อมัน่ ในความจริ งของมัน แต่เพราะธรรมชาติของฉันก็ทำาให้ ฉันไม่สามารถที่จะตังจิ ้ ตให้ มนั่ อยูก่ บั สิ่งหนึง่ อย่างต่อเนื่องไปเรื่ อยๆ รวมถึงทำาให้ ฉนั รำ าลึกถึงข้ อตัดสินใน อดีตได้ บอ่ ยๆ โดยที่พร้ อมกันนันก็ ้ ไม่อาจจำาได้ ว่ามันมีฐานอะไรรองรับ ในเวลาเช่นนันอาจมี ้ การเสนอ เหตุผลอืน่ แก่ฉนั ซึง่ จะทำาให้ ฉนั เปลี่ยนความคิดเห็นอย่างง่ายดายถ้ าหากว่าฉันไม่ได้ ร้ ูว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริ ง และฉะนันแล้ ้ ว ฉันก็จะไม่ครอบครองความรู้ใดที่จริ งแท้ แน่นอน มีก็แต่เพียงความคิดเห็นที่คลุมเครื อเอา แน่นอนไม่ได้ ดังนันเมื ้ ่อฉันพิจารณาธรรมชาติของสามเหลี่ยม(ที่เกิดจากเส้ นตรง) มันปรากฏอย่างชัดเจน ต่อฉันผู้ซงึ่ เคยเรียนรู้หลักเรขาคณิต ว่ามุมทังสามมุ ้ มของมันรวมกันเท่ากับสองมุมฉาก และฉันเห็นว่า เป็ นไปไม่ได้ เลยที่จะเชื่อแบบอื่นในขณะที่ฉนั ใช้ จิตของฉันตรวจขันตอนการอนุ ้ มาน แต่ทนั ทีที่ฉนั หยุด พิจารณากระบวนการพิสจู น์ แม้ ฉนั จะยังจำาได้ วา่ ฉันเข้ าใจมันอย่างชัดเจน แต่ก็ง่ายมากที่ฉนั อาจจะ สงสัยความจริงที่ถกู พิสจู น์อย่างเป็ นขันเป็ ้ นตอนแล้ วนันถ้ ้ าหากว่าฉันไม่ร้ ูว่ามีพระเจ้ า เพราะฉันอาจจูงใจ ตัวเองให้ เชื่อว่าธรรมชาติสร้ างฉันขึ ้นมาให้ ถกู หลอกลวงได้ ในบางครัง้ แม้ แต่ในเรื่ องที่ฉนั คิดว่าฉันเข้ าใจ ด้ วยความประจักษ์ แจ้ งและด้ วยความมัน่ ใจอย่างที่สดุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อฉันหวนระลึกได้ วา่ มีบอ่ ย ครัง้ ที่ฉนั ถือว่าหลายสิ่งหลายอย่างเป็ นจริ งและแน่นอน ซึง่ เหตุผลอื่นภายหลังดึงรัง้ ให้ ฉนั ต้ องนับว่าเป็ น เท็จล้ วนๆ For although I am of such a nature as to be unable, while I possess a very clear and distinct apprehension of a matter, to resist the conviction of its truth, yet because my constitution is also such as to incapacitate me from keeping my mind continually fixed on the same object and as I frequently recollect a past judgment without at the same time being able to recall the grounds of it, it may happen meanwhile that other reasons are presented to me which would readily cause me to change my opinion, if I did not know that God existed; and
72
thus I should possess no true and certain knowledge, but merely vague and vacillating opinions. Thus, for example, when I consider the nature of the [rectilinear] triangle, it most clearly appears to me, who have been instructed in the principles of geometry, that its three angles are equal to two right angles, and I find it impossible to believe otherwise, while I apply my mind to the demonstration; but as soon as I cease from attending to the process of proof, although I still remember that I had a clear comprehension of it, yet I may readily come to doubt of the truth demonstrated, if I do not know that there is a God: for I may persuade myself that I have been so constituted by nature as to be sometimes deceived, even in matters which I think I apprehend with the greatest evidence and certitude, especially when I recollect that I frequently considered many things to be true and certain which other reasons afterward constrained me to reckon as wholly false. แต่หลังจากที่ฉนั ได้ พบว่าพระเจ้ ามีอยูจ่ ริง ฉันก็ได้ พบในเวลาเดียวกันนันว่ ้ าทุกสิ่งล้ วนขึ ้นอยูก่ บั เขา และพบว่าเขาไม่ใช่ผ้ ทู ี่จะหลอกลวง เพราะฉะนันจึ ้ งอนุมานว่าทุกอย่างซึง่ ฉันรับรู้อย่างกระจ่างแจ้ งชัดเจน จำาเป็ นที่จะต้ องเป็ นจริง แม้ แต่เมื่อฉันไม่สนใจต่อฐานของข้ อตัดสินข้ อหนึง่ อีกต่อไปแล้ ว ก็ไม่มีเหตุผลขัด แย้ งใดที่สามารถที่จะอ้ างว่าเพียงพอที่จะนำาฉันไปสูค่ วามสงสัยในความจริ งของมัน ขอเพียงแค่ฉนั จำาได้ ว่าครัง้ หนึง่ ฉันเคยมีความเข้ าใจที่กระจ่างและชัดเจนในข้ อตัดสินนัน้ ความรู้ของฉันในเรื่ องนันกลายเป็ ้ น สิ่งที่จริ งแท้ แน่นอน และความรู้เดียวกันนี ้ก็ขยายออกในลักษณะเดียวกันไปสูอ่ ะไรก็ตามที่ฉนั จำาได้ ว่าเคย รับรู้มาก่อนถึงขันตอนในการอนุ ้ มาน อย่างเช่นความจริ งของเรขาคณิตและความรู้อื่นๆประเภทเดียวกัน เพราะมีอะไรหรื อที่สามารถจะยกขึ ้นมาโจมตีเพื่อให้ ฉนั สงสัยในความรู้พวกนัน? ้ จะเป็ นข้ ออ้ างที่วา่ ฉันมี ธรรมชาติอย่างที่ทำาให้ ฉนั ถูกหลอกลวงอยูบ่ อ่ ยๆอย่างนันหรื ้ อ ? แต่ฉนั รู้แล้ วว่าฉันไม่สามารถที่จะถูก หลอกในเรื่ องของข้ อวินิจฉัยตัดสินที่ตงอยู ั ้ บ่ นฐานที่ฉนั มีความรู้ที่ชดั เจน หรื อจะเป็ นข้ อที่ว่าเพราะฉันได้ เคยตัดสินหลายสิ่งว่าจริงและแน่นอนมาก่อนแล้ วก็มาพบทีหลังว่าเป็ นเท็จ ? แต่ฉนั ไม่มีความเข้ าใจที่ กระจ่างและชัดเจนในสิ่งพวกนันเลยสั ้ กอย่างเดียว และด้ วยการที่ยงั ไม่ร้ ูถึงกฎเกณฑ์ที่จะใช้ ยืนยันความ จริ งของข้ อตัดสิน ฉันถูกชักจูงให้ ยอมรับพวกมันบนพื ้นฐานที่ฉนั มาพบทีหลังว่าหนักแน่นน้ อยกว่าที่ฉนั จินตนาการว่ามันมีในตอนนัน้ มีข้อคัดค้ านใดอีกที่ยงั เหลืออยู่? จะพูดไหมว่าบางทีฉนั อาจกำาลังฝั นอยูก่ ็ เป็ นได้ (ข้ อโต้ แย้ งที่ฉนั คิดขึ ้นมาเองในช่วงหลัง) หรื อว่าทุกความคิดที่ฉนั สำานึกรู้อยูต่ อนนี ้ไม่มีความจริ ง มากไปกว่าความละเมอเพ้ อพกแห่งความฝั นของฉัน? แต่หากแม้ นว่าในความจริ งแล้ วฉันกำาลังฝั นอยู่ กฎ ก็ยงั คงมีอยูว่ ่าทุกอย่างที่ปรากฏอย่างชัดเจนต่อปั ญญาของฉันนันจริ ้ งอย่างมิอาจโต้ แย้ ง But after I have discovered that God exists, I also at the same time observed that all things depend on him, and that he is no deceiver, and thence inferred that all which I clearly and distinctly perceive is of necessity true: although I no longer attend to the grounds of a
73
judgment, no opposite reason can be alleged sufficient to lead me to doubt of its truth, provided only I remember that I once possessed a clear and distinct comprehension of it. My knowledge of it thus becomes true and certain. And this same knowledge extends likewise to whatever I remember to have formerly demonstrated, as the truths of geometry and the like: for what can be alleged against them to lead me to doubt of them? Will it be that my nature is such that I may be frequently deceived? But I already know that I cannot be deceived in judgments of the grounds of which I possess a clear knowledge. Will it be that I formerly deemed things to be true and certain which I afterward discovered to be false? But I had no clear and distinct knowledge of any of those things, and, being as yet ignorant of the rule by which I am assured of the truth of a judgment, I was led to give my assent to them on grounds which I afterward discovered were less strong than at the time I imagined them to be. What further objection, then, is there? Will it be said that perhaps I am dreaming (an objection I lately myself raised), or that all the thoughts of which I am now conscious have no more truth than the reveries of my dreams? But although, in truth, I should be dreaming, the rule still holds that all which is clearly presented to my intellect is indisputably true. ด้ วยเหตุนี ้ฉันจึงเห็นอย่างชัดเจนว่าความแน่นอนและความจริ งของความรู้ ขึ ้นเป็ นอย่างยิ่งอยูก่ บั การ ที่ฉนั ตระหนักถึงพระเจ้ าที่แท้ จริง มากเสียจนว่าก่อนหน้ าที่ฉนั ตระหนักถึงเขาฉันไม่สามารถรู้อะไรได้ อย่างสมบูรณ์เลย ตอนนี ้ฉันสามารถที่จะบรรลุถึงความรู้ที่แน่นอนและครบถ้ วนในเรื่ องต่างๆนับไม่ถ้วน ทังในเรื ้ ่องของพระเจ้ าเองและสิ่งอื่นๆที่ธรรมชาติของพวกมันเป็ นเรื่ องของสติปัญญา รวมถึงที่เกี่ยวกับทัง้ มวลของธรรมชาติที่มีกายนัน้ ที่เป็ นเนื ้อหาสาระของคณิตศาสตร์ บริ สทุ ธิ์ Thus I see plainly that the certainty and truth of all knowledge depends strictly on my awareness of the true God. So much so that until I became aware of him I couldn’t perfectly know anything. Now I can achieve full and certain knowledge of countless matters, both concerning God himself and other things whose nature is intellectual, and also concerning the whole of that corporeal nature that is the subject-matter of pure mathematics.
74
ข้ อพินิจทีห่ ก ความมีอยู่จริงของสรรพสิ่ง และความแตกต่ างทีแ่ ท้ จริงระหว่ างกายและจิต SIXTH MEDITATION: The existence of material things, and the real distinction between mind and body งานที่เหลืออยูก่ ็คือการพิจารณาว่าสสารวัตถุทงหลายมี ั้ อยูจ่ ริ งหรื อไม่ ตราบเท่าที่พวกมันเป็ นเนื ้อหา สาระของคณิตศาสตร์ บริสทุ ธิ์ ฉันรับรู้พวกมันอย่างกระจ่างแจ้ งชัดเจน ดังนันอย่ ้ างน้ อยฉันก็ร้ ูว่าพวกมัน สามารถที่จะมีอยูจ่ ริง เพราะว่าอะไรก็ตามที่ฉนั รับรู้ในลักษณะเช่นนันสามารถที ้ ่จะถูกสร้ างขึ ้นโดย พระเจ้ า The remaining task is to consider whether material things exist. Insofar as they are the subject-matter of pure mathematics, I perceive them clearly and distinctly; so I at least know that they could exist, because anything that I perceive in that way could be created by God. (เหตุผลเดียวที่ฉนั ได้ เคยยอมรับสำาหรับการคิดว่าอะไรบางอย่างไม่สามารถที่จะได้ รับการสร้ างขึ ้นโดย พระเจ้ าก็คือ จะมีความขัดแย้ งในการรับรู้ของฉันที่มีตอ่ มันอย่างชัดเจน) ความสามารถในการ จินตนาการของฉันซึง่ ฉันรับรู้ว่าฉันใช้ ในเวลาที่คิดถึงวัตถุทงหลาย ั้ ก็สื่อว่าพวกมันมีอยูจ่ ริ ง เพราะเมื่อฉัน ทุ่มเทคิดเกี่ยวกับจินตนาการว่าคืออะไร ดูเหมือนว่ามันจะเป็ นเพียงแค่การใช้ สมรรถนะของการรู้กบั กาย ที่ปรากฏต่อมันอย่างใกล้ ชิดอย่างยิ่ง และนัน่ ต้ องเป็ นกายวัตถุที่มีอยูจ่ ริ ง (The only reason I have ever accepted for thinking that something could not be made by him is that there would be a contradiction in my perceiving it distinctly.) My faculty of imagination, which I am aware of using when I turn my mind to material things, also suggests that they really exist. For when I think harder about what imagination is, it seems to be simply an application of the faculty of knowing to a body that is intimately present to it – and that has to be a body that exists. เพื่อทำาให้ เรื่ องนี ้ชัดเจน ฉันจะตรวจสอบเสียก่อนว่าจินตนาการแตกต่างจากความเข้ าใจที่บริ สทุ ธิ ์ อย่างไร To make this clear, I will first examine how imagination differs from pure understanding.
75
ตัวอย่างเช่นเวลาที่ฉนั จินตนาการถึงรูปทรงสามเหลี่ยม ฉันไม่เพียงแค่เข้ าใจว่ามันเป็ นรูปที่มีสามด้ าน แต่ฉนั ยังเห็นเส้ นทังสามด้ ้ วยมโนจักษุของฉันราวกับว่าพวกมันถูกนำามาเสนอต่อหน้ าฉัน นัน่ คือสิ่งที่ จินตนาการเป็ น แต่ถ้าหากว่าฉันคิดถึงรูปพันเหลี่ยมถึงแม้ ฉนั เข้ าใจเป็ นอย่างดีวา่ มันคือรูปร่างที่มีพนั ด้ าน ฉันก็ไม่ได้ จินตนาการถึงเส้ นพันเส้ นหรื อเห็นเส้ นพวกนันราวกั ้ บว่าถูกนำามาเสนอต่อหน้ าฉัน เวลาที่ฉนั คิดถึงสิ่งที่มีรูปร่างปกติแล้ วฉันก็มกั จะสร้ างภาพบางอย่างขึ ้นมาในจิต ดังนันเมื ้ ่อคิดถึงรูปพันเหลี่ยม ฉัน อาจสร้ างภาพบางอย่างที่คลุมเครือที่ใช้ เป็ นตัวแทนขึ ้นมาในจิต พูดชัดๆก็คือในจินตนาการของฉัน แต่ เป็ นเรื่ องที่ชดั เจนว่ามันจะไม่ใช่รูปพันเหลี่ยม เพราะว่ามันจะเป็ นภาพเดียวกับที่ฉนั จะสร้ างขึ ้นมาเวลาที่ ฉันคิดถึงรูปที่มีหมื่นด้ าน ดังนันมั ้ นจะไม่ช่วยให้ ฉนั มองเห็นถึงคุณสมบัติที่แบ่งแยกรูปพันเหลี่ยมออกจาก รูปหลายเหลี่ยมชนิดอืน่ ในกรณีของรูปห้ าเหลี่ยมสถานการณ์จะแตกต่างออกไป แน่นอนว่าฉันสามารถที่ จะเข้าใจรูปนี ้โดยไม่ต้องอาศัยการช่วยเหลือจากจินตนาการ (เหมือนกับที่ฉนั สามารถเข้ าใจรูปพัน เหลี่ยม) แต่ฉนั ก็สามารถที่จะจิ นตนาการรูปห้ าเหลี่ยม โดยการใช้ มโนจักษุของฉันมุง่ มองไปที่ด้านทังห้ ้ า และพื ้นที่ที่ด้านพวกนันปิ ้ ดล้ อม ฉันพบว่าในการจินตนาการนี ้จิตต้ องออกแรงพยายามมากกว่าที่ใช้ ใน การเข้ าใจ และนันเพี ้ ยงพอที่จะแสดงให้ เห็นว่าจินตนาการแตกต่างจากความเข้ าใจที่บริ สทุ ธิ ์ When I imagine a triangle, for example, I don’t merely understand that it is a three-sided figure, but I also see the three lines with my mind’s eye as if they were present to me; that is what imagining is. But if I think of a chiliagon, although I understand quite well that it is a figure with a thousand sides, I don’t imagine the thousand sides or see them as if they were present to me. When I think of a body, I usually form some kind of image; so in thinking of a chiliagon I may construct in my mind – strictly speaking, in my imagination – a confused representation of some figure. But obviously it won’t be a chiliagon, for it is the very same image that I would form if I were thinking of, say, a figure with ten thousand sides. So it wouldn’t help me to recognize the properties that distinguish a chiliagon from other manysided figures. In the case of a pentagon, the situation is different. I can of course understand this figure without the help of the imagination (just as I can understand a chiliagon); but I can also imagine a pentagon, by applying my mind’s eye to its five sides and the area they enclose. This imagining, I find, takes more mental effort than understanding does; and that is enough to show that imagination is different from pure understanding. การสามารถที่จะจินตนาการได้ นนไม่ ั ้ ได้ เป็ นเรื่ องที่สำาคัญต่อฉันเหมือนอย่างที่การสามารถที่จะเข้ าใจ เป็ น เพราะถึงแม้ ฉนั ไม่มีพลังแห่งจินตนาการ ฉันก็ยงั อาจจะเป็ นบุคคลเดียวกับที่ฉนั เป็ นอยูต่ อนนี ้ นี่ดู เหมือนจะมีนยั ว่าพลังแห่งจินตนาการของฉันนันขึ ้ ้นอยูก่ บั สิ่งอื่นบางอย่างที่ไม่ใช่ตวั ฉันเอง และฉัน สามารถที่จะเข้ าใจอย่างง่ายดายว่าถ้ าหากว่ามีสิ่งที่เรี ยกว่า ร่ างกายของฉัน ซึง่ นันก็ ้ คือถ้ าหากว่าจิตของ
76
ฉันเชื่อมต่ออยูก่ บั กายวัตถุบางอย่างในลักษณะที่มนั สามารถที่จะพินิจพิเคราะห์กายวัตถุนนเมื ั ้ ่อไหร่ก็ได้ ที่มนั ต้ องการ เมื่อนันก็ ้ อาจเป็ นเจ้ ากายวัตถุนี ้นัน่ เองที่ทำาให้ ฉนั สามารถที่จะจินตนาการถึงสิ่งต่างๆที่มีรูป ร่างเป็ นตัวเป็ นตน ดังนันจิ ้ นตนาการอาจแตกต่างจากการเข้ าใจที่บริ สทุ ธิ์ในลักษณะเพียงแค่นี ้ คือเมื่อ จิตเข้ าใจ ด้ วยวิธีบางอย่างมันหันเข้ าสูต่ วั เองและตรวจสอบหนึง่ ในมโนคติทงหลายของมั ั้ นเอง แต่เมื่อมัน จินตนาการ มันหันออกจากตัวเองและมองไปที่บางสิ่งในกายวัตถุ (บางสิ่งที่เข้ ากันได้ กบั มโนคติหนึง่ ซึง่ เป็ นสิ่งที่เข้ าใจโดยจิตหรือไม่ก็เป็ นสิ่งที่ถกู รับรู้โดยประสาทสัมผัส ) ขอย้ำ าว่าฉันสามารถเห็นอย่างง่ายดาย ว่านี่อาจเป็ นวิธีที่จนิ ตนาการเกิดตามขึ ้นมาหากว่าร่างกายมีอยูจ่ ริ ง และในเมื่อฉันไม่สามารถที่จะคิดถึง วิธีอื่นที่ดีเท่ากับวิธีนี ้ที่จะใช้ อธิบายว่าจินตนาการคืออะไร ฉันก็สามารถที่จะคาดคะเนเอาว่ากายวัตถุมี อยูจ่ ริ ง แต่นี ้เป็ นเพียงแค่ความเป็ นไปได้ แม้ กระทังหลั ้ งจากการตรวจสอบอย่างระมัดระวังทังหมดของฉั ้ น แล้ ว ฉันก็ยงั คงไม่อาจมองเห็นถึงวิธีที่จะพิสจู น์อย่างแน่นอนว่าบางกายวัตถุมีอยูจ่ ริ ง บนฐานของมโนคติ ของธรรมชาติที่มีกายที่ฉนั พบในจินตนาการของฉัน Being able to imagine isn’t essential to me, as being able to understand is; for even if I had no power of imagination I would still be the same individual that I am. This seems to imply that my power of imagining depends on something other than myself; and I can easily understand that if there is such a thing as my body – that is, if my mind is joined to a certain body in such a way that it can contemplate that body whenever it wants to – then it might be this very body that enables me to imagine corporeal things. So it may be that imagining differs from pure understanding purely like this: when the mind understands, it somehow turns in on itself and inspects one of its own ideas; but when it imagines, it turns away from itself and looks at something in the body (something that conforms to an idea – either one understood by the mind or one perceived by the senses). I can, I repeat, easily see that this might be how imagination comes about if the body exists; and since I can think of no other equally good way of explaining what imagination is, I can conjecture that the body exists. But this is only a probability. Even after all my careful enquiry I still can’t see how, on the basis of the idea of corporeal nature that I find in my imagination, to prove for sure that some body exists. เช่นเดียวกับธรรมชาติที่มีกายที่เป็ นเนื ้อหาสาระของคณิตศาสตร์ บริ สทุ ธิ ์ ฉันก็ค้ นุ เคยเช่นกันกับการ จินตนาการถึงสี เสียง กลิ่น รส ความเจ็บปวด ฯลฯ แม้ จะไม่ชดั เจนสักเท่าใดก็ตาม ฉันรับรู้เรื่ องพวกนี ้ได้ ดีกว่ามากผ่านทางประสาทสัมผัสซึง่ เป็ นวิธีการที่ (ด้ วยการช่วยเหลือของความจำา)พวกมันดูเหมือนจะเข้ า มาจนถึงจินตนาการ ดังนันเพื ้ ่อที่จะต่อกรกับพวกมันได้ อย่างเต็มที่ยิ่งขึ ้น ฉันต้ องมุง่ ความสนใจไปที่ ประสาทสัมผัส นันก็ ้ คือไปที่การคิดชนิดที่ฉนั เรียกว่า‘การรับรู้สิ่งภายนอกผ่านประสาทสัมผัส’ ฉันต้ องการ
77
ที่จะรู้ว่าสิ่งที่ถกู รับรู้ผ่านประสาทสัมผัสให้ เหตุผลที่ไว้ ใจได้ สำาหรับความมีอยูจ่ ริ งของกายวัตถุทงหลาย ั้ หรื อไม่ As well as the corporeal nature that is the subject-matter of pure mathematics, I am also accustomed to imagining colours, sounds, tastes, pain and so on – though not so distinctly. Now, I perceive these much better by means of the senses, which is how (helped by memory) they appear to have reached the imagination. So in order to deal with them more fully, I must attend to the senses – that is, to the kind of thinking that I call ‘sensory perception’. I want to know whether the things that are perceived through the senses provide me with any sure argument for the existence of bodies. เริ่ มด้ วย (1)ฉันจะกลับไปพิจารณาทุกอย่างที่ฉนั เข้ าใจมาตัง้ แต่ตน้ ว่าถูกรับรู้โดยประสาทสัมผัสและ คิดเอาว่าเป็ นจริง และฉันจะทบทวนเหตุผลที่คิดไปเช่นนัน้ (2)ฉันจะกำาหนดเหตุผลของฉันที่ภายหลังเกิด สงสัยในสิ่งพวกนี ้ ท้ ายที่สดุ (3)ฉันจะพิจารณาว่าตอนนี ้ฉนั ควรจะเชื่ออะไรบ้ างเกี่ยวกับพวกมัน To begin with, I will (1) go back over everything that I originally took to be perceived by the senses, and reckoned to be true; and I will go over my reasons for thinking this. Next, I will (2) set out my reasons for later doubting these things. Finally, I will (3) consider what I should now believe about them. (1) แรกสุด ฉันได้ รับรู้โดยประสาทสัมผัสว่าฉันมีหวั มือ เท้ า และส่วนอื่นๆ สร้ างขึ ้นเป็ นร่างกายที่ฉนั ถือว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของตัวฉัน หรือบางทีอาจจะถือว่าเป็ นตัวฉันทังหมดด้ ้ วยซ้ำ า ฉันยังได้ รับรู้โดยประสาท สัมผัสของฉันว่าร่างกายนี ้อยูร่ ่วมกับกายอีกหลากหลายกายที่สามารถทำาร้ ายหรื อช่วยเหลือร่างกายนี ้ได้ ฉันได้ ตรวจสอบถึงผลที่พงึ ประสงค์โดยความรู้สกึ ของความสุขสบายและที่ไม่พงึ ประสงค์โดยความเจ็บ ปวด เช่นเดียวกับความเจ็บปวดและความสุข ฉันยังมีความรู้สกึ หิว กระหายน้ำ าและกระหายต่อสิ่งอืน่ ๆ และรู้สกึ ถึงสภาพของร่างกายว่าโน้ มเอียงไปทางร่าเริ ง เศร้ า โกรธและอารมณ์อื่นๆ โดยที่สำาหรับกายวัตถุ ที่อยูภ่ ายนอกฉันแล้ ว นอกเหนือไปจากขนาด รูปร่างและการเคลื่อนไหวของพวกมัน ฉันยังรู้สกึ ถึงความ แข็งและความร้ อนและรู้สกึ ถึงคุณสมบัติอื่น ๆ ที่สามารถรู้ได้ โดยกายสัมผัส นอกจากนี ้ฉันยังมีสมั ผัสของ แสง สี กลิ่น รสและเสียง และความแตกต่างในบรรดาสิ่งพวกนี ้ทำาให้ ฉนั สามารถที่จะแยกแยะท้ องฟ้า โลก ทะเลและกายวัตถุอื่น ๆ ออกจากกัน ทังหมดที ้ ่ฉนั รู้ โดยตรงในแต่ละกรณีคือมโนคติเหล่านันของฉั ้ น แต่ก็เป็ นเรื่องที่มีเหตุผลที่ฉนั จะคิดว่าอะไรที่ฉนั กำาลังรับรู้โดยประสาทสัมผัสเป็ นกายวัตถุภายนอกที่เป็ น สาเหตุแห่งมโนคติพวกนัน้ เพราะฉันได้ พบว่ามโนคติเหล่านี ้เข้ ามาสูฉ่ นั โดยไม่ต้องอาศัยความยินยอม ของฉัน ฉันไม่อาจมีมโนคติประเภทนัน้ ของวัตถุใดแม้ ว่าฉันต้ องการถ้ าหากว่าวัตถุนนไม่ ั ้ ได้ ปรากฏตัวต่อ อวัยวะรับสัมผัสของฉัน และฉันไม่อาจหลีกเลี่ยงที่จะมีมโนคติพวกนี ้เมื่อวัตถุอยูต่ อ่ หน้ าฉัน และจากการ ที่มโนคติที่เข้ ามาผ่านทางประสาทสัมผัสมีชีวิตชีวา สดใสและคมชัดยิ่งกว่าพวกที่ฉนั ได้ ตงใจสร้ ั้ างขึ ้นมา
78
เวลาที่คิดถึงสิ่งต่างๆ และยิ่งไปกว่าพวกที่ฉนั ได้ พบว่าถูกประทับไว้ ในความทรงจำาของฉัน จึงดูเหมือน เป็ นไปไม่ได้ เลยที่มโนคติของประสาทสัมผัสจะมาจากภายในฉันเอง ดังนันฉั ้ นต้ องสรุปว่าพวกมันมาจาก สิ่งภายนอก วิธีเดียวที่ฉนั จะรู้ในสิ่งพวกนี ้คือผ่านทางตัวมโนคติเหล่านันเอง ้ ดังนันฉั ้ นก็จำาต้ องคิดเห็นไป ว่าสิ่งพวกนี ้อาจคล้ ายคลึงกับมโนคติ นอกจากนี ้ฉันจำาได้ วา่ ฉันมีการใช้ ประสาทสัมผัสของฉันก่อนที่จะมี การใช่เหตุผล และฉันได้ เห็นว่ามโนคติที่ฉนั สร้ างขึ ้นนันส่ ้ วนมากแล้ วมีมโนคติของผัสสะเป็ นองค์ประกอบ นี่ได้ ทำาให้ ฉนั เชื่อมัน่ ว่าไม่มีอะไรในสติปัญญาของฉันที่ฉนั ไม่ได้ มีอยูก่ ่อนแล้ วในประสาทสัมผัส ส่วนใน เรื่องของกายวัตถุที่ด้วยสถานะพิเศษบางอย่างฉันได้ หมายเรี ยกมันว่า ’ของฉัน’ ฉันมีเหตุผลที่จะคิดว่ามัน เป็ นของฉันในแบบที่กายวัตถุอื่นไม่เป็ น มีเหตุผลอยูส่ ามข้ อสำาหรับเรื่ องนี่ ฉันไม่สามารถที่จะแยกขาด จากมันได้ เลยในขณะที่ฉนั สามารถทำาได้ กบั กายวัตถุอนื่ ฉันรู้สกึ ถึงความกระหายและอารมณ์ทงหมดว่ ั้ า เกิดขึ ้นในมันและจากมัน และฉันรู้ถึงความเจ็บปวดและความสุขที่ซาบซ่านอยูใ่ นส่วนต่างๆของกายวัตถุ นี ้ไม่ใช่ในกายวัตถุอนื่ ใด แต่ทำาไมความรู้สกึ ของความเจ็บปวดที่น่าฉงนนันถึ ้ งทำาให้ เกิดความเครี ยดทาง จิตใจแบบหนึง่ และทำาไมถึงความรู้สกึ เบิกบานใจแบบหนึง่ จึงตามมาจากสัมผัสที่ซาบซ่าน? ทำาไมความ รู้สกึ ปั่ นป่ วนอันน่าฉงนในกระเพาะที่ฉนั เรียกว่า’ความหิว’จึงบอกฉันว่าฉันควรกินอาหาร หรื อทำาไมความ แห้ งในลำาคอจึงบอกฉันว่าฉันควรดื่มน้ำ า และอื่นๆ อีกมากมาย? ฉันไม่สามารถที่จะอธิบายสิ่งพวกนี ้ เว้ น เสียแต่ที่จะพูดว่าธรรมชาติสอนฉันอย่างนี่ เพราะว่าไม่มีความเกี่ยวข้ องกัน(หรื อเท่าที่ฉนั เข้ าใจแล้ ว ไม่มี)ระหว่างความรู้สกึ ปั่ นป่ วนในท้ องและการตัดสินใจที่จะกิน หรื อระหว่างความรู้สกึ ว่าบางอย่างกำาลัง ทำาให้ เจ็บกับความเครียดทางจิตที่เกิดขึ ้นมาจากมัน (1) First of all then, I perceived by my senses that I had a head, hands, feet and other limbs making up the body that I regarded as part of myself, or perhaps even as my whole self. I also perceived by my senses that this body was situated among many other bodies that could harm or help it; and I detected the favourable effects by a sensation of pleasure and the unfavourable ones by pain. As well as pain and pleasure, I also had sensations of hunger, thirst, and other such appetites, and also of bodily states tending towards cheerfulness, sadness, anger and similar emotions. Outside myself, besides the extension, shapes and movements of bodies, I also had sensations of their hardness and heat, and of the other qualities that can be known by touch. In addition, I had sensations of light, colours, smells, tastes and sounds, and differences amongst these enabled me to sort out the sky, the earth, the seas and other bodies from one another. All I was immediately aware of in each case were my ideas, but it was reasonable for me to think that what I was perceiving through the senses were external bodies that caused the ideas. For I found that these ideas came to me quite without my consent: I couldn’t have that kind of idea of any object, even if I wanted to, if
79
the object was not present to my sense organs; and I couldn’t avoid having the idea when the object was present. Also, since the ideas that came through the senses were much more lively and vivid and sharp than ones that I formed voluntarily when thinking about things, and than ones that I found impressed on my memory, it seemed impossible that sensory ideas were coming from within me; so I had to conclude that they came from external things. My only way of knowing about these things was through the ideas themselves, so it was bound to occur to me that the things might resemble the ideas. In addition, I remembered that I had the use of my senses before I ever had the use of reason; and I saw that the ideas that I formed were, for the most part, made up of elements of sensory ideas. This convinced me that I had nothing at all in my intellect that I had not previously had in sensation. As for the body that by some special right I called ‘mine’: I had reason to think that it belonged to me in a way that no other body did. There were three reasons for this. I could never be separated from it, as I could from other bodies; I felt all my appetites and emotions in it and on account of it; and I was aware of pain and pleasurable ticklings in parts of this body but not in any other body. But why should that curious sensation of pain give rise to a particular distress of mind; and why should a certain kind of delight follow on a tickling sensation? Again, why should that curious tugging in the stomach that I call ‘hunger’ tell me that I should eat, or a dryness of the throat tell me to drink, and so on? I couldn’t explain any of this, except to say that nature taught me so. For there is no connection (or none that I understand) between the tugging sensation and the decision to eat, or between the sensation of something causing pain and the mental distress that arises from it. ดูเหมือนว่าธรรมชาติ ได้ สอนฉันให้ สร้ างข้ อตัดสินพวกนี ้เกี่ยวกับวัตถุของประสาทสัมผัส เพราะฉันได้ สร้ างข้ อตัดสินพวกนี ้ก่อนหน้ าที่ฉนั จะมีข้อโต้ เถียงใดๆ มาสนับสนุนมัน It seems that nature taught me to make these judgments about objects of the senses, for I was making them before I had any arguments to support them. (2) แต่หลังจากนันประสบการณ์ ้ ของฉันก็คอ่ ยๆกัดกล่อนศรัทธาทังหมดที ้ ่ฉนั เคยมีตอ่ ประสาทสัมผัส ไปทีละน้ อย หอคอยที่เมื่อดูจากระยะไกลมีรูปร่างกลม กลับดูเป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเมื่อดูใกล้ ๆ รูปปั น้ ขนาด ยักษ์ ที่ตงอยู ั ้ บ่ นเสาสูงไม่ได้ ดวู ่ามีขนาดใหญ่เมื่อดูจากพื ้น มีกรณีแบบนี ้นับไม่ถ้วนที่ฉนั ได้ พบว่าข้ อตัดสิน ของประสาทสัมผัสภายนอกนันผิ ้ ดพลาด และกับประสาทสัมผัสภายในก็เช่นกัน (2) Later on, however, my experiences gradually undermined all my faith in the senses. A tower that had looked round from a distance appeared square from close up; an enormous
80
statue standing on a high column didn’t look large from the ground. In countless such cases I found that the judgments of the external senses were mistaken, and the same was true of the internal senses. อะไรจะเป็ นภายในมากไปกว่าความเจ็บปวด? แต่ฉนั เคยได้ ยินมาว่าผู้พิการบางครัง้ จะรู้สกึ เจ็บใน แขนขาที่ขาดออกไปจากตัวแล้ ว ดังนันแม้ ้ กระทังในกรณี ้ ของฉันเอง ฉันก็ต้องสรุปว่า ไม่คอ่ ยแน่นอนนัก ว่าส่วนใดส่วนหนึง่ ของแขนขากำาลังถูกทำาร้ ายแม้ ว่าฉันรู้สกึ เจ็บปวดอยูใ่ นส่วนนันก็ ้ ตาม กับเรื่ องของ เหตุผลที่ทำาให้ สงสัยเช่นนี ้ ฉันเพิ่งจะเพิ่มเหตุผลที่เป็ นข้ ออ้ างทัว่ ๆไปสองประการ ประการแรกคือทุก ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสที่ฉนั เคยคิดว่ามีในขณะตื่นฉันก็สามารถที่จะคิดว่ามีในขณะที่หลับได้ เช่นกัน และในเมื่อฉันไม่เชื่อว่าอะไรที่ฉนั ดูเหมือนจะรับรู้ในขณะที่หลับมาจากสิ่งภายนอกฉัน ฉันก็ไม่ เห็นว่าทำาไมฉันควรจะเอนเอียงไปกว่านันที ้ ่จะเชื่อเช่นนี ้กับสิ่งที่ฉนั คิดว่าฉันรับรู้ในขณะที่ฉนั ตื่น เหตุผล ให้ สงสัยข้ อที่สองคือแม้ กบั ทุกอย่างที่ฉนั รู้ไปในทางตรงกันข้ าม ฉันก็ยงั อาจถูกสร้ างขึ ้นมาอย่างที่ฉนั อาจ จะผิดพลาดได้ แม้ แต่ในเรื่องที่ฉนั เห็นว่าจริงอย่างที่สดุ (ฉันไม่สามารถที่จะกันนี่ออกไป เพราะว่าฉันไม่ร้ ู หรื ออย่างน้ อยก็แสร้ งว่าไม่ร้ ู ว่าใครสร้ างฉัน) และเป็ นเรื่ องง่ายที่จะหักล้ างเหตุผลที่ก่อนหน้ านี ้ที่ทำาให้ ฉนั เชื่อมัน่ ในความจริงของสิ่งที่ฉนั รับรู้ทางประสาทสัมผัส ในเมื่อฉันดูเหมือนจะมีธรรมชาติที่จะถูกดึงเข้ าหา หลายๆสิ่งที่เหตุผลบอกให้ ฉนั หลีกเลี่ยง ฉันจึงได้ ประเมินว่าฉันไม่ควรจะมอบความไว้ วางใจให้ กบั สิ่งที่ ธรรมชาติสอนฉันมากนัก และฉันได้ ตดั สินใจว่า ลำาพังข้ อเท็จจริ งที่วา่ การรับรู้โดยประสาทสัมผัสไม่ขึ ้น อยูก่ บั เจตจำานงของฉันนัน้ ไม่เพียงพอที่จะแสดงว่าพวกมันได้ เข้ ามาจากภายนอกฉัน เพราะพวกมันอาจ ใด้ ถกู สร้ างขึ ้นมาโดยสมรรถภาพบางประการของฉัน ที่ฉนั ยังไม่ได้ ร้ ูจกั ก็เป็ นได้ What can be more internal than pain? Yet I heard that an amputee might occasionally seem to feel pain in the missing limb. So even in my own case, I had to conclude, it was not quite certain that a particular limb was hurting, even if I felt pain in it. To these reasons for doubting, I recently added two very general ones. The first was that every sensory experience I ever thought I was having while awake I can also think of myself as having while asleep; and since I don’t believe that what I seem to perceive in sleep comes from things outside me, I didn’t see why I should be any more inclined to believe this of what I think I perceive while awake. The second reason for doubt was that for all I knew to the contrary I might be so constituted that I am liable to error even in matters that seem to me most true. (I couldn’t rule this out, because I did not know – or at least was pretending not to know – who made me.) And it was easy to refute the reasons for my earlier confidence about the truth of what I perceived by the senses. Since I seemed to be naturally drawn towards many things that reason told me to avoid, I reckoned that I should not place much confidence in what I was
81
taught by nature. Also, I decided, the mere fact that the perceptions of the senses didn’t depend on my will was not enough to show that they came from outside me; for they might have been produced by some faculty of mine that I didn’t yet know. (3) แต่ตอนนี ้ เมื่อฉันเริ่มที่จะเข้ าใจตัวเองและผู้สร้ างฉันดีขึ ้น ถึงแม้ ว่าฉันไม่คิดว่าฉันควรจะผลีผลาม ยอมรับทุกอย่างที่ฉนั ดูเหมือนว่าได้ รับผ่านทางประสาทสัมผัส แต่ฉนั ก็ไม่คิดว่าทังหมดควรที ้ ่จะถูกตังข้ ้ อ สงสัย (3) But now, when I am beginning to know myself and my maker better, although I don’t think I should recklessly accept everything I seem to have got from the senses, neither do I think it should all be called into doubt. อย่างแรก ฉันรู้ว่าถ้ าหากว่าฉันมีความคิดที่กระจ่างแจ้ งของบางสิ่งบางอย่าง พระเป็ นเจ้ าอาจได้ สร้ าง มันขึ ้นมาให้ สอดคล้ องในทุกแง่มมุ กับความคิดของฉัน ดังนันจากข้ ้ อเท็จจริ งที่ฉนั สามารถที่จะมีความ คิดถึงสิ่งหนึง่ แยกจากอีกสิ่งหนึง่ ได้ อย่างกระจ่างแจ้ งและชัดเจน ย่อมประกันต่อฉันว่าทังสองสิ ้ ่งนันแตก ้ ต่างจากกัน ซึง่ ก็คือพวกมันเป็ นสิ่งสองสิ่ง เพราะพระเจ้ าสามารถที่จะแยกพวกมันได้ ไม่ต้องไปสนใจว่า พวกมันสามารถถูกแยกออกจากกันด้ วยวิ ธีอย่างไร นัน่ ไม่มีผลต่อการตัดสินว่าพวกมันเป็ นของคนละ อย่าง ดังนันจิ ้ ตฉันจึงเป็ นของคนละอย่างกับร่างกายของฉัน First, I know that if I have a clear and distinct thought of something, God could have created it in a way that exactly corresponds to my thought. So the fact that I can clearly and distinctly think of one thing apart from another assures me that the two things are distinct from one another – that is, that they are two – since they can be separated by God. Never mind how they could be separated; that does not affect the judgment that they are distinct. So my mind is a distinct thing from my body. ยิ่งกว่านัน้ จิตฉันก็คือฉันด้ วยเหตุผลต่อไปนี ้ ฉันรู้ว่าฉันมีอยูจ่ ริ งและไม่มีอะไรอื่นที่เป็ นของธรรมชาติ หรื อสารัตถะแก่นแท้ ของฉันยกเว้ นแต่ว่าฉันคือสิ่งที่คิด จากเหตุผลนี ้แปลว่าแก่นแท้ ของฉันมีเพียงแค่ว่า ฉันคือสิ่งที่คิด แม้ วา่ อาจจะมีร่างกายที่เชื่อมประสานกับฉันอย่างไกล้ ชิดก็ตาม ฉันมีมโนคติที่กระจ่างและ ชัดเจนถึงตัวฉันเองว่าเป็ นสิ่งที่คิดและไม่ครอบครองพื ้นที่ และมีมโนคติที่กระจ่างและชัดเจนถึงกายวัตถุ ว่าเป็ นสิ่งที่ครอบครองพื ้นที่และไม่คิด ดังนันจึ ้ งแน่นอนว่าฉันเป็ นคนละอย่างจากร่างกาย และสามารถที่ จะมีอยูไ่ ด้ โดยปราศจากมัน Furthermore, my mind is me, for the following reason·. I know that I exist and that nothing else belongs to my nature or essence except that I am a thinking thing; from this it follows that my essence consists solely in my being a thinking thing, even though there may be a body that is very closely joined to me. I have a clear and distinct idea of myself as something that
82
thinks and isn’t extended, and one of body as something that is extended and does not think. So it is certain that I am really distinct from my body and can exist without it. นอกจากนี ้ฉันพบว่าฉันมีความสามารถในการคิดที่พิเศษบางชนิดอันได้ แก่การจินตนาการและการรับ รู้ทางประสาทสัมผัส ตอนนี ้ฉันสามารถที่จะเข้ าใจได้ อย่างกระจ่างแจ้ งถึงตัวเองในฐานะสิ่งที่ครบถ้ วนโดย ไม่มีความสมรรถภาพพวกนี ้ แต่ฉนั ไม่สามารถเข้ าใจพวกมันโดยไม่มีฉนั นันคื ้ อ ไม่มีธาตุแห่งการรู้คิดมา เป็ นเจ้ าของพวกมัน สมรรถภาพหรือความสามารถหนึง่ นันโดยแก่ ้ นแท้ แล้ วเกี่ยวข้ องกับ การกระทำา ดังนัน้ มันจึงเกี่ยวข้ องกับบางสิ่ งซึง่ กระทำา ดังนันฉั ้ นจึงเห็นว่าฉันแตกต่างจากสมรรถภาพทังหลายของฉั ้ นเช่น เดียวกับที่สิ่งๆหนึง่ แตกต่างจากคุณสมบัติทงหลายของมั ั้ น แน่นอนว่ามีสมรรถภาพอื่นๆ เช่นการ เคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง และอื่นๆ ซึง่ ก็ต้องธาตุมาเป็ นเจ้ าของพวกมัน แต่มนั ต้ องเป็ นธาตุที่ เป็ นกายวัตถุหรื อเป็ นธาติที่กินเนื ้อที่และไม่ใช่สิ่งที่คิด เพราะด้ วยเนื ้อแท้ แล้ วสมรรถนะเหล่านี ้เกี่ยวข้ อง กับพื ้นที่แต่ไม่ใช่ความคิด ทีนี ้ฉันมีสมรรถภาพแบบที่เป็ นฝ่ ายถูกกระทำาของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส นัน่ ก็คือความสามารถที่จะรับเข้าไว้และรู้ถึงมโนคติของวัตถุที่รับรู้ได้ แต่ฉนั จะไม่อาจใช้ งานความ สามารถนี ้เลยเว้ นเสียแต่วา่ บางสิ่ง คือตัวฉันเองหรื ออะไรอื่น มีสมรรถภาพแบบที่เป็ นฝ่ ายกระทำาที่จะ สร้างมโนคติพวกนี ้ไว้ แต่ต้น แต่สมรรถภาพนี ้ไม่สามารถที่จะอยูใ่ นฉัน เพราะเห็นได้ อย่างชัดเจนว่ามันไม่ สมมติลว่ งหน้ าถึงความคิดใดๆที่ฉนั ต้ องทำา และมโนคติทางผัสสะนันเกิ ้ ดขึ ้นโดยที่ฉนั ไม่ได้ ร่วมสร้ างและ บ่อยครัง้ ก็ขดั กับเจตจำานงของฉัน ดังนันมโนคติ ้ ทางผัสสะจึงต้ องถูกสร้ างมาจากธาตุบางประการที่ตา่ ง หากจากฉัน ธาตุที่เป็ นเจ้าของอย่างแท้ จริง (ไม่ว่าจะตรงๆ หรื อในรูปแบบที่สงู กว่า) ของความจริ งทุก ประการที่มีมโนคติที่มนั สร้ างขึ ้นเป็ นตัวแทน ไม่ว่า (ก)ธาตุนี ้เป็ นกายวัตถุ ในกรณีเช่นนี ้มันจะมีทกุ อย่างที่ มีมโนคติเป็ นตัวแทน อย่างตรงๆอยูใ่ นตัวของมันเอง หรื อ (ข)พระเจ้ าหรื อสิ่งอันพระเจ้ าสร้ างขึ ้นที่สงู ส่ง กว่ากายวัตถุ ในกรณีนี ้มันจะมีอะไรก็ตามที่สามารถพบได้ ในมโนคติ ในรูปแบบที่สงู กว่า ฉันสามารถที่จะ ปฏิเสธ(ข)และมัน่ ใจว่าพระเจ้ าไม่ได้ สง่ มโนคติแห่งผัสสะมาที่ฉนั ไม่วา่ จะด้ วยตัวเขาเองโดยตรงหรื อผ่าน สิ่งอันพระองค์สร้ างขึ ้นบางสิ่ง ที่ไม่มีอะไรที่มโนคติเป็ นตัวแทนอยูใ่ นตนเองโดยตรง พระเจ้ าไม่ได้ ให้ วิธีที่ ฉันจะตระหนักถึงแหล่งที่มาที่‘สูงกว่า’ของมโนคติเหล่านี ้ ในทางตรงกันข้ ามเขาได้ ทำาให้ ฉนั โน้ มเอียงไป ในทางที่จะเชื่อว่ากายวัตถุทงหลายเป็ ั้ นสิ่งที่สร้ างพวกมันขึ ้นมา ดังนันถ้ ้ ากลายเป็ นว่ามโนคติถกู ส่งมา จากแหล่งที่นอกเหนือไปจากสิ่งที่มีตวั มีตนพระเจ้ าก็จะกลายเป็ นผู้หลอกลวง ซึง่ เขาไม่ใช่ ดังนันกายวั ้ ตถุ ทังหลายจึ ้ งมีจริ ง พวกมันอาจไม่ตรงกับคุณภาพของการรับเข้ ามาทางประสาทสัมผัสของฉันเสียทีเดียว เพราะหลายสิ่งที่เข้ ามาผ่านทางประสาทสัมผัสนันคลุ ้ มเคลือและสับสน แต่อย่างน้ อยที่สดุ กายวัตถุก็มี คุณสมบัติทกุ ประการที่ฉนั เข้ าใจอย่างกระจ่างแจ้ งชัดเจน นัน่ ก็คือ ทุกอย่างที่อยูภ่ ายในขอบเขตใช้ งาน ของคณิตศาสตร์ บริสทุ ธ์ Besides this, I find that I am capable of certain special kinds of thinking, namely imagination and sensory perception. Now, I can clearly and distinctly understand myself as a
83
whole without these faculties; but I can’t understand them without me, that is, without an intellectual substance for them to belong to. A faculty or capacity essentially involves acts, so it involves some thing that acts; so I see that I differ from my faculties as a thing differs from its properties. Of course there are other faculties – such as those of moving around, changing shape, and so on – which also need a substance to belong to; but it must be a bodily or extended substance and not a thinking one, because those faculties essentially involve extension but not thought. Now, I have a passive faculty of sensory perception, that is, an ability to receive and recognize ideas of perceptible objects; but I would have no use for this unless something – myself or something else – had an active faculty for producing those ideas in the first place. But this faculty can’t be in me, since clearly it does not presuppose any thought on my part, and sensory ideas are produced without my cooperation and often even against my will. So sensory ideas must be produced by some substance other than me – a substance that actually has (either in a straightforward way or in a higher form) all the reality that is represented in the ideas that it produces. Either (a) this substance is a body, in which case it will straightforwardly contain everything that is represented in the ideas; or else (b) it is God, or some creature more noble than a body, in which case it will contain in a higher form whatever is to be found in the ideas. I can reject (b), and be confident that God does not transmit sensory ideas to me either directly from himself or through some creature that does not straightforwardly contain what is represented in the ideas. God has given me no way of recognizing any such ‘higher form’ source for these ideas; on the contrary, he has strongly inclined me to believe that bodies produce them. So if the ideas were transmitted from a source other than corporeal things, God would be a deceiver; and he is not. So bodies exist. They may not all correspond exactly with my sensory intake of them, for much of what comes in through the senses is obscure and confused. But at least bodies have all the properties that I clearly and distinctly understand, that is, all that fall within the province of pure mathematics. สิ่งพวกนัน่ คือคุณสมบัติที่เป็ นที่เข้ าใจอย่างชัดเจนของกายวัตถุโดยทัว่ ไป แล้ วคุณสมบัติที่ไม่ได้ เข้ าใจ อย่างชัดเจน (เช่นแสง เสียงหรือความเจ็บปวด) และคุณสมบัติของกายวัตถุที่เป็ นสิ่งเฉพาะ (เช่นขนาด หรื อรูปร่างของดวงอาทิตย์) เป็ นอย่างไรบ้ าง? ถึงจะมีความสงสัยและความไม่แน่นอนอยูม่ าก ฉันก็หวัง อย่างเต็มเปี่ ยมว่าฉันจะสามารถพบความเป็ นจริ งในเรื่ องพวกนี ้ได้ นัน่ เป็ นเพราะพระเจ้ าไม่ใช่ผ้ หู ลอก ลวง ซึง่ แปลว่าเขาได้ มอบความสามารถที่จะแก้ ไขความผิดพลาดใดๆที่อาจมีอยูใ่ นความคิดเห็นของฉัน
84
ต่อฉัน เป็ นจริ งว่าทุกอย่างที่ฉนั ‘ถูกสอนโดยธรรมชาติ’มีความจริ งประกอบอยูด่ ้ วยอย่างแน่นอน สำาหรับ คำาว่า‘ธรรมชาติ’เมื่อเข้ าใจในแบบทัว่ ไปที่สดุ หมายถึงตัวพระเจ้ าเอง หรื อระบบของสิ่งที่ถกู สร้ างสรรขึ ้นที่ เขาจัดวางอย่างเป็ นระเบียบ และธรรมชาติของฉันเองก็เป็ นเพียงแค่ผลรวมของสิ่งต่างๆที่พระเจ้ าได้ ประทานให้ ฉนั Those are the clearly understood properties of bodies in general. What about less clearly understood properties (for example light or sound or pain), and properties of particular bodies (for example the size or shape of the sun)? Although there is much doubt and uncertainty about them, I have a sure hope that I can reach the truth even in these matters. That is because God isn’t a deceiver, which implies that he has given me the ability to correct any falsity there may be in my opinions. Indeed, everything that I am ‘taught by nature’ certainly contains some truth. For the term ‘nature’, understood in the most general way, refers to God himself or to the ordered system of created things established by him. And my own nature is simply the totality of things bestowed on me by God. อย่างมีชีวิตชีวาเหมือนเช่นที่มนั สอนฉันไม่วา่ ในเรื่ องอะไร ธรรมชาติของฉันเองสอนว่าฉันมีร่างกาย สอนว่าเมื่อฉันรู้สกึ เจ็บปวดแปลว่ามีบางอย่างผิดปรกติเกี่ยวกับร่างกายนัน้ สอนว่าเมื่อฉันหิวหรื อ กระหายน้ำ า ร่างกายของฉันต้ องการอาหารหรือน้ำ า ฯลฯ ดังนันฉั ้ นไม่ควรสงสัยว่ามีความจริ งอยูบ่ ้ างใน เรื่องนี ้ As vividly as it teaches me anything, my own nature teaches me that I have a body, that when I feel pain there is something wrong with that body, that when I am hungry or thirsty it needs food and drink, and so on. So I shouldn’t doubt that there is some truth in this. ผ่านทางความรู้สกึ เจ็บปวด ความรู้สกึ หิว ความรู้สกึ กระหาย ฯลฯ ธรรมชาติยงั สอนฉันอีกด้ วยว่า ฉัน(สิ่งที่คิด)ไม่ได้ อยู่ในร่างกายของฉัน เหมือนอย่างที่กะลาสีอยูใ่ นเรื อลำาหนึง่ แต่ ฉันประสานเชื อ่ มต่อ อยู่กบั มันอย่างใกล้ชิด กล่าวคือคลุกเคล้ าอยูก่ บั มันจนเป็ นเนื ้อเดียวกัน หากว่าไม่เป็ นเช่นนันฉั ้ นจะไม่รู้ สึกเจ็บเวลาที่ร่างกายถูกทำาร้ าย แต่จะรับรู้ความเสียหายในเชิงปั ญญาเหมือนกับกะลาสีเห็นว่าเรื อของ เขาต้ องได้ รับการซ่อมบำารุง และเมื่อร่างกายต้ องการอาหารหรื อน้ำ าฉันก็จะเข้ าใจข้ อเท็จจริ งนี ้ด้ วยปั ญญา แทนที่จะมีความรู้สกึ อันสับสนของความหิวและกระหาย(อย่างที่ฉนั มี) ความรู้สกึ เหล่านี ้เป็ นเหตุการทาง จิตอันสับสนที่เกิดขึ ้นมาจากการประสาน การคลุกเคล้ าอย่างที่เป็ นอยู่ ของจิตกับร่างกาย Nature also teaches me, through these sensations of pain, hunger, thirst and so on, that I (a thinking thing) am not merely in my body as a sailor is in a ship. Rather, I am closely joined to it – intermingled with it, so to speak – so that it and I form a unit. If this were not so, I wouldn’t feel pain when the body was hurt but would perceive the damage in an intellectual
85
way, like a sailor seeing that his ship needs repairs. And when the body needed food or drink I would intellectually understand this fact instead of (as I do) having confused sensations of hunger and thirst. These sensations are confused mental events that arise from the union – the intermingling, as it were – of the mind with the body. ธรรมชาติยงั สอนฉันอีกด้ วยว่ามีกายวัตถุอนื่ อีกมากมายอยูจ่ ริ งในสภาพแวดล้ อมของกายวัตถุของฉัน และสอนว่าในบรรดากายวัตถุเหล่านันฉั ้ นควรที่จะแสวงหาบางอย่างและหลีกเลี่ยงบางอย่าง และฉันรับรู้ โดยประสาทสัมผัสว่ามีสีเสียงกลิ่นและรสที่หลากหลายมากมาย เช่นเดียวกับความแตกต่างในความร้ อน ความแข็งและอื่นๆ ซึง่ ฉันอนุมานว่ากายวัตถุที่ก่อให้ เกิดการรับรู้ทางประสาทสัมผัสเหล่านี ้แตกต่างจาก กันในลักษณะที่สอดคล้องไปกับความแตกต่างของผัสสะ แม้ วา่ บางทีลกั ษณะที่กายวัตถุแตกต่างกันนัน้ อาจไม่เหมือนกับลักษณะที่ผสั สะแตกต่างกันก็ตาม ยิ่งกว่านันการรั ้ บรู้ในบางสิ่งให้ ความรู้สกึ น่าพึงพอใจ ในขณะที่การรับรู้ในสิ่งอื่นให้ ความรู้สกึ ที่ไม่นา่ พึงพอใจ ซึง่ แสดงว่าร่างกายของฉันนัน้ หรื อน่าจะเป็ นฉัน ทังหมดตราบเท่ ้ าที่ฉนั คือการประกอบกันของกายและจิต สามารถที่จะได้ รับผลกระทบจากกายวัตถุที่ให้ ประโยชน์หรือให้ โทษที่อยูร่ อบข้ าง Nature also teaches me that various other bodies exist in the vicinity of my body, and that I should seek out some of these and avoid others. Also, I perceive by my senses a great variety of colours, sounds, smells and tastes, as well as differences in heat, hardness and so on; from which I infer that the bodies that cause these sensory perceptions differ from one another in ways that correspond to the sensory differences, though perhaps they don’t resemble them. Furthermore, some perceptions are pleasant while others are nasty, which shows that my body – or rather my whole self insofar as I am a combination of body and mind – can be affected by the various helpful or harmful bodies that surround it. อย่างไรก็ตามบางสิ่งที่ฉนั คิดว่าฉันได้ เรี ยนรู้จากธรรมชาติ จริ งๆแล้ วไม่ได้ มาจากธรรมชาติแต่มาจาก นิสยั ที่ชอบด่วนสรุป และความเชื่อเหล่านันก็ ้ อาจเป็ นเท็จ ตัวอย่างก็เช่น ความเชื่อว่าถ้ าหากว่าอาณา บริ เวณหนึง่ ไม่มีอะไรที่กระตุ้นประสาทสัมผัสของฉันมันก็ต้องว่างเปล่า ความเชื่อว่าความร้ อนในกาย วัตถุเหมือนกันกับมโนคติความร้ อนของฉัน ความเชื่อว่าสีที่ฉนั รับรู้ผ่านผัสสะมีอยูใ่ นกายวัตถุที่ฉนั รับรู้ ความเชื่อว่าในกายวัตถุที่ขมหรือหวานมีรสเดียวกันกับที่ฉนั มีประสบการณ์ ฯลฯ ความเชื่อว่าดาวและ หอคอยและกายวัตถุที่ห่างไกลอื่นๆ มีขนาดและรูปร่างอย่างที่พวกมันแสดงให้ เห็นทางประสาทสัมผัส However, some of what I thought I had learned from nature really came not from nature but from a habit of rushing to conclusions; and those beliefs could be false. Here are a few examples: that if a region contains nothing that stimulates my senses, then it must be empty; that the heat in a body resembles my idea of heat; that the colour I perceive through my
86
senses is also present in the body that I perceive; that in a body that is bitter or sweet there is the same taste that I experience, and so on; that stars and towers and other distant bodies have the same size and shape that they present to my senses. เพื่อที่จะคิดเรื่ องนี ้ให้ กระจ่าง ฉันต้ องนิยามว่าฉันหมายความว่าอะไรเวลาที่ฉนั พูดว่า‘ธรรมชาติสอน ฉัน’บางอย่าง ในตอนนี ้ฉันไม่ใช่‘ธรรมชาติ’เพื่อที่จะอ้ างอิงถึงทังหมดของสิ ้ ่งที่พระเจ้ าประทานต่อฉัน จาก ทังหมดนั ้ นฉั ้ นกำาลังยกเว้ นในสิ่งที่เป็ นของจิตเพียงอย่างเดียว เช่นความรู้ของฉันที่ว่าสิ่งที่ทำาไปแล้ วย่อม ไม่สามารถแก้ ไขกลับคืนได้ (ฉันรู้ข้อนี ้ผ่านแสงแห่งธรรมชาติโดยไม่มีการช่วยเหลือจากร่างกาย) ฉันยัง ยกเว้ นสิ่งที่สมั พันธ์กบั กายวัตถุเพียงอย่างเดียว อย่างเช่นแนวโน้ มที่กายวัตถุจะตกลงไปสูท่ ี่ตา่ำ สิ่งเดียวที่ ฉันสนใจคืออะไรที่พระเจ้ าได้ ให้ ฉนั ที่เป็ นการผสมผสานระหว่างจิตกับร่างกาย ดังนัน‘ธรรมชาติ ้ ’ของฉัน ในความหมายที่จำากัดนี ้ สอนให้ ฉนั หลีกเลี่ยงอะไรที่ทำาความเจ็บปวดและแสวงหาอะไรที่ให้ ความพึง พอใจ และอื่นๆ แต่มนั ดูเหมือนจะไม่สอนให้ ดว่ นสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่อยูภ่ ายนอกเราโดยไม่หยุดแล้ วคิด เกี่ยวกับคำาถาม เพราะความรู้เกี่ยวกับความจริงของสิ่งเช่นนี ้ดูเหมือนจะเป็ นของจิตเพียงอย่างเดียว ไม่ เกิดจากการประสานกันระหว่างจิตกับกาย ดังนันถึ ้ งแม้ ดาวจะไม่มีผลกระทบต่อตาฉันมากไปกว่าเปลว ไฟของเทียนไขเล่มหนึง่ ความคิดของฉันที่ว่าดาวจะไม่ใหญ่ไปกว่าขนาดของเปลวไฟของเทียนไขนันไม่ ้ ได้ มาจากแนวโน้ ม'ตามธรรมชาติ'เชิงบวกใดๆที่จะเชื่อสิ่งนี ้ มันเป็ นนิสยั ของความคิดที่ฉนั มีมาตังแต่ ้ เด็ก โดยไม่มีฐานเหตุผลรองรับ ในทำานองเดียวกันถึงแม้ ฉนั จะรู้สกึ ถึงความร้ อนหากว่าเข้ าใกล้ เปลวไฟและ รู้สกึ เจ็บเมื่อเข้ าใกล้ เกินไป ก็ไม่มีเหตุผลใดที่จะคิดว่ามีอะไรบางอย่างอยูใ่ นไฟที่เหมือนกันกับความร้ อน หรื อที่เหมือนกันกับความเจ็บปวด มีเพียงแค่เหตุผลที่ให้ คดิ ว่ามีอะไรบางอย่างในไฟที่ก่อให้ เกิดความ รู้สกึ ร้ อนหรื อเจ็บปวดในเรา และเช่นเดียวกัน ถึงแม้ อาณาบริ เวณหนึง่ จะไม่มีอะไรที่กระตุ้นประสาท สัมผัสของฉัน ก็ไม่ได้ หมายความว่าไม่มีกายวัตถุอยูใ่ นอาณาบริ เวณนัน้ ตอนนี ้ฉันตระหนักว่าในกรณี พวกนี ้และอีกมากมายฉันได้ สร้ างนิสยั ที่จะใช้ ระเบียบของธรรมชาติอย่างผิดๆ การใช่ประสาทสัมผัสที่ ธรรมชาติให้ เรามาในทางที่ถกู ก็คือในฐานะของสิ่งที่ช่วยบอกว่าอะไรเป็ นประโยชน์หรื อเป็ นโทษต่อกายจิตที่พนั กันอยู่ ประสาทสัมผัสกระจ่างและชัดเจนพอสำาหรับการดังว่า แต่จะเป็ นการใช้ งานการรับรู้ทาง ประสาทสัมผัสที่ผิด ที่จะถือว่าพวกมันเป็ นเครื่องชี ้ที่วางใจได้ ถึงธรรมชาติที่เป็ นสารัตถะของกายวัตถุที่ ตังอยู ้ ภ่ ายนอกฉัน เพราะในเรื่องนัน้ พวกมันให้ ก็แต่ข้อมูลที่คลุมเคลืออย่างยิ่ง To think clearly about this matter, I need to define exactly what I mean when I say that ‘nature teaches me’ something. I am not at this point taking ‘nature’ to refer to the totality of what God has given me. From that totality I am excluding things that belong to the mind alone, such as my knowledge that what has been done can’t be undone (I know this through the natural light, without help from the body). I am also excluding things that relate to the body alone, such as the tendency bodies have to fall downwards. My sole concern here is
87
with what God has given to me as a combination of mind and body. My ‘nature’, then, in this limited sense, does indeed teach me to avoid what hurts and to seek out what gives pleasure, and so on. But it doesn’t appear to teach us to rush to conclusions about things located outside us without pausing to think about the question; for knowledge of the truth about such things seems to belong to the mind alone, not to the combination of mind and body. So, although a star has no more effect on my eye than a candle’s flame, my thinking of the star as no bigger than the flame does not come from any positive ‘natural’ inclination to believe this; it’s just a habit of thought that I have had ever since childhood, with no rational basis for it. Similarly, although I feel heat when I approach a fire and feel pain when I go too near, there is no good reason to think that something in the fire resembles the heat, or resembles the pain. There is merely reason to suppose that something or other in the fire causes feelings of heat or pain in us. Again, even when a region contains nothing that stimulates my senses, it does not follow that it contains no bodies. I now realize that in these cases and many others I have been in the habit of misusing the order of nature. The right way to use the sensory perceptions that nature gives me is as a guide to what is beneficial or harmful for my mindbody complex; and they are clear and distinct enough for that. But it is a misuse of them to treat them as reliable guides to the essential nature of the bodies located outside me, for on that topic they give only very obscure information. ฉันได้ มองอย่างใกล้ ชิดกับวิธีฉนั อาจสร้ างข้ อตัดสินที่ผิดพลาดแม้ ว่าพระเจ้ าจะเป็ นผู้ประเสริ ฐก็ตาม ตอนนี ้มันปรากฏต่อฉันว่ามีปัญหาหนึง่ เกี่ยวกับความผิดพลาดที่ฉนั ได้ ก่อขึ ้นในเรื่ องของสิ่งที่ธรรมชาติ บอกฉันให้ แสวงหาหรือให้ หลีกเลี่ยง รวมทังในเรื ้ ่ องของประสาทสัมผัสภายในของฉันบางอย่างด้ วย บาง กรณีของเรื่องนี ้ไม่สร้ างปั ญหาอะไร คนบางคนอาจถูกหลอกให้ กินอาหารที่มีรสชาดดีที่มีพิษซ่อนอยู่ แต่ ในที่นี ้ธรรมชาติกระตุ้นให้ คนหาอาหารที่มีรสชาดดี ไม่ใช่ให้ หาพิษซึง่ ธรรมชาติไม่ร้ ูเรื่ องด้ วย ทังหมดนี ้ ่ แสดงให้ เห็นว่าธรรมชาติของบุคคลไม่ได้ ร้ ูทกุ สิ่งซึง่ ไม่น่าแปลกใจ I have already looked closely enough at how I may come to make false judgments, even though God is good. Now it occurs to me that there is a problem about mistakes I make regarding the things that nature tells me to seek out or avoid, and also regarding some of my internal sensations. Some cases of this are unproblematic. Someone may be tricked into eating pleasant-tasting food that has poison concealed in it; but here nature urges the person towards the pleasant food, not towards the poison, which it doesn’t know about. All this shows is that the person’s nature doesn’t know everything, and that is no surprise.
88
อย่างไรก็ตามกรณีอื่นๆก่อให้ เกิดปั ญหา ได้ แก่กรณีที่ธรรมชาติกระตุ้นให้ เราเข้ าหาบางสิ่งที่ทำาร้ ายเรา และเราไม่สามารถอธิบายเรื่องนี ้ผ่านการที่ธรรมชาติไม่ร้ ูบางสิ่งบางอย่างได้ Other cases, however, raise problems. They are ones where· nature urges us towards something that harms us ·and this can’t be explained through nature’s not knowing something. ตัวอย่างเช่นคนป่ วยอาจต้ องการอาหารหรือเครื่ องดื่มที่ไม่ดีตอ่ พวกเขา “พวกเขาผิดก็เพราะว่าพวก เขาป่ วย” นัน่ ก็จริ ง แต่ความยุง่ ยากก็ยงั คงมีอยู่ ผู้ที่ป่วยก็เป็ นผลงานของพระเจ้ าเหมือนกับผู้ที่แข็งแรง และในแต่ละกรณีดเู หมือนจะเป็ นข้ อที่ขดั แย้ งในตนเองหากจะคิดว่าพระเจ้ าได้ ให้ ธรรมชาติที่หลอกลวง แก่เขา นาฬิกาที่เลวย่อมทำางานไปตามกฎธรรมชาติของมันในการบอกเวลาอย่างผิดๆ เช่นเดียวกับที่ นาฬิกาที่ดียอ่ มทำางานไปตามกฎธรรมชาติของมันในการบอกเวลาที่เที่ยงตรง และเราอาจมองดูร่างกาย ของมนุษย์ในแบบเดียวกัน เราอาจมองให้ มนั เป็ นเครื่ องจักรชนิดหนึง่ ที่สร้ างมาจากกระดูก ระบบ ประสาท กล้ ามเนื ้อ หลอดเลือด เลือดและผิวหนัง ในแบบที่ทำาให้ แม้ เมื่อไม่มีจิตอยู่ภายใน มันก็จะยังคง ขยับเขยื ้อนไปตามแบบเดียวกับที่มนั ทำาอยูต่ อนนี ้ทุกประการในทุกกรณีที่การเคลื่อนไหวนันไม่ ้ ได้ อยูภ่ าย ใต้ การควบคุมของเจตจำานงหรือจิต ตัวอย่างเช่นถ้ าหากว่ามีร่างกายที่ปวยเป็ นโรคท้ องมาน และถูก กระทบจากความแห้ งในลำาคอที่โดยธรรมดาแล้ วจะสร้ างความรู้สกึ กระหายน้ำ าขึ ้นในจิต ซึง่ จะกระทบต่อ ระบบประสาทและส่วนประกอบของร่างกายอื่นๆ ในทางที่ทำาให้ ร่างกายดื่มน้ำ าซึง่ ทำาให้ อาการป่ วยแย่ลง ไปอีก แต่นี่เป็ นธรรมชาติ เท่ากันกับที่ร่างกายที่แข็งแรงถูกกระตุ้นจากความแห้ งที่คล้ ายๆกันในลำาคอให้ ดื่มน้ำ าซึง่ ดีตอ่ ร่างกายนัน้ ในทางหนึง่ เราอาจจะพูดว่ามันไม่ได้เป็ นธรรมชาติ เช่นเดียวกับที่เราอาจพูดได้ ว่านาฬิกาที่สร้ างขึ ้นอย่างเลวๆนัน้ ‘เบี่ยงเบนออกจากธรรมชาติของมัน’ เราอาจพูดได้ ว่าร่างกายที่เป็ น โรคท้ องมานที่ดื่มเครื่องดื่มที่ไม่ดีตอ่ ร่างกายกำาลัง‘เบี่ยงเบนออกจากธรรมชาติของมัน’ นันก็ ้ คือออกจาก แบบแผนของกระบวนการที่เกิดขึ ้นอย่างเป็ นปกติในร่างกายมนุษย์ แต่นนเกี ั ้ ่ยวข้ องการใช้ คำา ว่า‘ธรรมชาติ’ในทางที่เป็ นการเปรียบเทียบสิ่งหนึง่ กับอีกสิ่งหนึง่ ผู้ป่วยกับผู้ที่มีสขุ ภาพแข็งแรง นาฬิกาที่ สร้ างมาไม่ดีกบั นาฬิกาที่สร้ างมาให้ เที่ยงตรง แต่ทว่าฉันไม่ได้ ใช้ ‘ธรรมชาติ’เพื่อเปรี ยบเทียบแต่เพื่อพูดถึง อะไรที่สามารถพบได้ ในตัวของสิ่งพวกนันเอง ้ และนี่เป็ นการใช้ ที่ถกู ต้ องตามหลักการ Sick people, for example, may want food or drink that is bad for them. ‘They go wrong because they are ill’ – true, but the difficulty remains. A sick man is one of God’s creatures just as a healthy one is, and in each case it seems a contradiction to suppose that God has given him a nature that deceives him. A badly made clock conforms to the laws of its nature in telling the wrong time, just as a well made and accurate clock does; and we might look at the human body in the same way. We could see it as a kind of machine made up of bones, nerves, muscles, veins, blood and skin in such a way that, even if there were no mind in it, it
89
would still move exactly as it now does in all the cases where movement isn’t under the control of the will or, therefore, of the mind. If such a body suffers from dropsy, for example, and is affected by the dryness of the throat that normally produces in the mind a sensation of thirst, that will affect the nerves and other bodily parts in such a way as to dispose the body to take a drink, which will make the disease worse. Yet this is as natural as a healthy body’s being stimulated by a similar dryness of the throat to take a drink that is good for it. In a way, we might say, it is not natural. Just as we could say that a clock that works badly is ‘departing from its nature’, we might say that the dropsical body that takes a harmful drink is ‘departing from its nature’, that is, from the pattern of movements that usually occur in human bodies. But that involves using ‘nature’ as a way of comparing one thing with another – a sick man with a healthy one, a badly made clock with an accurate one – whereas I have been using ‘nature’ not to make comparisons but to speak of what can be found in the things themselves; and this usage is legitimate. ดังนันเมื ้ ่อเราพูดถึงร่างกายที่เป็ นโรคท้ องมานว่ามี ‘ธรรมชาติที่ผิดจากแบบแผน’ เราใช้ คำา ว่า‘ธรรมชาติ’เพียงแค่เพื่อที่จะเปรียบเทียบการป่ วยไข้ กบั สุขภาพที่แข็งแรง อย่างไรก็ตาม อะไรที่ผิด พลาดไปในการผูกกันของกายกับจิตที่ป่วยด้ วยโรคท้ องมานไม่ได้ เป็ นเพียงเรื่ องของการเปรี ยบเทียบกับ สิ่งอื่น มีความผิดพลาดอย่างแท้ จริงที่เกิดจากในตนเองของธรรมชาติ คือร่างกายรู้สกึ กระหายน้ำ าในเวลา ที่การดื่มน้ำ าจะเป็ นอันตรายต่อร่างกาย เราต้ องตังคำ ้ าถามว่าเป็ นไปได้ อย่างไรที่ความดีของพระเจ้ าไม่ ป้องกันธรรมชาติไม่ให้ หลอกเราเช่นนี ้ การสืบสวนนี ้จะแบ่งเป็ นสี่ตอน When we describe a dropsical body as having ‘a disordered nature’, therefore, we are using the term ‘nature’ merely to compare sick with healthy. What has gone wrong in the mind-body complex that suffers from dropsy, however, is not a mere matter of comparison with something else. There is here a real, intrinsic error of nature, namely that the body is thirsty at a time when drink will cause it harm. We have to enquire how it is that the goodness of God does not prevent nature from deceiving us in this way. This enquiry will fall into four main parts. มีความแตกต่างอย่างยิ่งระหว่างกายกับจิต ในขณะที่ทกุ กายวัตถุนนโดยธรรมชาติ ั้ ของมันเองแล้ ว สามารถแบ่งแยกได้ แต่จิตไม่สามารถแบ่งแยกได้ เพราะเมื่อฉันพิจารณาจิต หรื อพิจารณาฉันเองใน ฐานะเท่าที่ฉนั เป็ นเพียงแค่สิ่งที่คิด ฉันไม่สามารถตรวจพบส่วนต่างๆ ภายในฉัน ฉันเข้ าใจตัวฉันว่าเป็ นสิ่ง ที่เป็ นหน่วยเดียวและครบถ้ วนสมบูรณ์ในตัว ทังหมดของจิ ้ ตดูเหมือนจะประสานอยูก่ บั ทังหมดของ ้ ร่างกาย แต่ไม่ใช่โดยการประสานของส่วนประกอบต่อส่วนประกอบ ตามที่จะแสดงดังต่อไปนี ้ คือถ้ า
90
หากว่าเท้ าหรื อแขนหรือส่วนอื่นๆของร่างกายถูกตัดออกก็ไม่มีอะไรที่ถกู แยกออกไปจากจิต ส่วนในเรื่ อง ของสมรรถภาพของการตังเจตนา ้ การเข้ าใจ การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและอื่นๆ นี่ไม่ได้ เป็ นส่วน ประกอบของจิต เพราะเป็ นจิตหนึง่ เดียวที่เจตนา เข้ าใจและรับรู้ สมรรถภาพเหล่านัน(ฉั ้ นขอย้ำ า)ไม่ได้ เป็ น ส่วนประกอบต่างๆของจิต เพราะว่าพวกมันเป็ นคุณสมบัติหรื ออำานาจต่างๆของจิต ในทางตรงกันข้ าม สิ่งที่มีกายเป็ นตัวเป็ นตนใดๆก็ตามสามารถที่จะถูกแบ่งออกเป็ นส่วนๆได้ อย่างง่ายดายในความคิดของ ฉัน และนี่แสดงให้ ฉนั เห็นว่ามันสามารถที่จะแบ่งได้ จริ งๆ ข้ อโต้ แย้ งหนึง่ เดียวนี ้พอที่จะแสดงให้ ฉนั เห็นว่า จิตนันแตกต่ ้ างจากกายโดยสิ ้นเชิงหากว่าฉันจะไม่ได้ ร้ ูเช่นนันอยู ้ แ่ ล้ วจากข้ อพิจารณาอื่นๆ จิตไม่ได้ ถกู กระทบโดยตรงจากทุกส่วนของร่างกายแต่จากสมองเท่านัน้ หรื อบางทีจากเพียงแค่สว่ นเล็กๆของสมองที่ กล่าวกันว่าเป็ นที่ตงของ‘สามั ั้ ญสำานึก’ [เดส์การ์ ตส์กำาลังพูดถึงต่อมไพเนียล ‘สามัญสำานึก’เป็ น สมรรถภาพที่ถกู คาดคะเน กำาหนดตังขึ ้ ้นโดยอริสโตเติล ซึง่ มีหน้ าที่ประสานข้ อมูลจากประสาทสัมผัสทัง้ ห้ า] สัญญาณที่ไปถึงจิตขึ ้นอยูก่ บั ว่าส่วนนี ้ของสมองอยูใ่ นสภาวะอะไร ไม่เกี่ยวข้ องกับเงื่อนไขของส่วน อื่นๆของร่างกาย มีผลการทดลองมากมายในเรื่องนี ้ซึง่ ฉันไม่จำาเป็ นต้ องกล่าวถึง There is a great difference between the mind and the body. Whereas every body is by its nature divisible, the mind can’t be divided. For when I consider the mind, or consider myself insofar as I am merely a thinking thing, I can’t detect any parts within myself; I understand myself to be something single and complete. The whole mind seems to be united to the whole body, but not by a uniting of parts to parts, as the following consideration shows. If a foot or arm or any other part of the body is cut off, nothing is thereby taken away from the mind. As for the faculties of willing, of understanding, of sensory perception and so on, these are not parts of the mind, since it is one and the same mind that wills, understands and perceives. They are (I repeat) not parts of the mind, because they are properties or powers of it. By contrast, any corporeal thing can easily be divided into parts in my thought; and this shows me that it is really divisible. This one argument would be enough to show me that the mind is completely different from the body, even if I did not already know as much from other considerations. The mind isn’t immediately affected by all parts of the body but only by the brain – or perhaps just by the small part of it which is said to contain the ‘common sense’. [Descartes is referring to the pineal gland. The ‘common sense’ was a supposed faculty, postulated by Aristotle, whose role was to integrate the data from the five specialized senses.] The signals that reach the mind depend upon what state this part of the brain is in, irrespective of the condition of the other parts of the body. There is abundant experimental evidence for this, which I needn’t review here.
91
เมื่อใดก็ตามที่สว่ นหนึง่ ของกายวัตถุถกู ขยับโดยอีกส่วนหนึง่ ที่อยูห่ ่างออกไประยะหนึง่ มันสามารถที่ จะถูกขยับได้ ในแบบเดียวกันโดยส่วนใดก็ตามที่ตงอยู ั ้ ร่ ะหว่างทังสองจุ ้ ด โดยส่วนที่อยูห่ ่างไกลกว่าไม่ทำา อะไรทังสิ ้ ้น ตัวอย่างเช่น ในเส้ นเชือก กขคง ถ้ าหากว่าปลายด้ านหนึง่ คือ ง ถูกดึงจนปลายอีกด้ านหนึง่ คือ ก ขยับแล้ วละก็ ก ก็จะสามารถที่จะถูกขยับในแบบเดียวกันหากว่า ข หรื อ ค ถูกดึง โดยที่ ง ไม่ได้ ขยับ เลย ในทำานองเดียวกันเมื่อฉันรู้สกึ เจ็บในเท้ าของฉัน นี่เกิดขึ ้นโดยเส้ นประสาทที่เดินทางจากเท้ าไปสูส่ ม อง เมื่อใยประสาทในเท้ าถูกกระตุ้น มันกระตุ้นส่วนที่อยูภ่ ายในของสมองและทำาให้ สว่ นนันทำ ้ างาน และ ธรรมชาติได้ กำาหนดให้ การทำางานนี ้สร้ างความรู้สกึ เจ็บในฐานะทีก่ ำ าลังเกิ ดขึ้นในเท้าขึ ้นในจิต แต่ด้วยการ ที่เส้ นประสาทเดินจากเท้ าไปสูส่ มองผ่านน่อง ต้ นขา ส่วนเอว หลังและคอ ความรู้สกึ ‘เจ็บเท้ า’เดียวกันจึง สามารถที่เกิดขึ ้นเมื่อส่วนใดส่วนหนึง่ ที่อยูร่ ะหว่างกลางถูกกระตุ้นแม้ ไม่มีอะไรเกิดขึ ้นกับเท้ าเลยก็ตาม ความรู้สกึ อื่นๆ ก็อาจถือได้ วา่ เป็ นเช่นเดียวกัน Whenever any part of the body is moved by another part that is some distance away, it can be moved in the same fashion by any of the parts that lie in between, without the more distant part doing anything. For example, in a cord ABCD, if one end D is pulled so that the other end A moves, A could have been moved in just the same way if B or C had been pulled and D had not moved at all. Similarly, when I feel a pain in my foot, this happens by means of nerves that run from the foot up to the brain. When the nerves are pulled in the foot, they pull on inner parts of the brain and make them move; and nature has laid it down that this motion should produce in the mind a sensation of pain as though occurring in the foot. But since these nerves stretch from the foot to the brain through the calf, the thigh, the lumbar region, the back and the neck, that same sensation of ‘pain in the foot’ can come about when one of the intermediate parts is pulled, even if nothing happens in the foot. This presumably holds for any other sensation. หนึง่ ชนิดของการทำางานในส่วนของสมองที่มีผลโดยตรงต่อจิต สร้ างให้ เกิดความรู้สกึ ทางผัสสะเพียง ชนิดเดียวเสมอ และจะดีที่สดุ สำาหรับเราถ้ ามันเป็ นประเภทที่เกื ้อกูลอย่างที่สดุ ให้ เราอยูด่ ีมีสขุ เสมอ ประสบการณ์แสดงให้ เห็นว่าความรู้สกึ ทางผัสสะทุกอย่างที่ธรรมชาติให้ กบั เราเป็ นเช่นที่ว่า ดังนันทุ ้ ก อย่างเกี่ยวกับความรู้สกึ ทางผัสสะของเราจึงเป็ นพยานให้ กบั อำานาจและความดีของพระเจ้ า ตัวอย่างเช่น เมื่อเส้ นประสาทในเท้ าถูกกระตุ้นอย่างรุนแรงและผิดปกติ การกระตุ้นนี ้ไปถึงส่วนในของสมองผ่านเส้ น ประสาทในกระดูกสันหลัง และให้ สญ ั ญาณของมันต่อจิตสำาหรับการมีความรู้สกึ เจ็บว่ากำาลังเกิดขึ ้นใน เท้ า นี่เร่งเร้ าจิตให้ ทำาทุกอย่างเพื่อกำาจัดตัวต้ นเหตุของความรู้สกึ เจ็บที่จิตเข้ าใจว่าเป็ นอันตรายต่อเท้ า พระเจ้ าอาจสร้ างให้ เรามีธรรมชาติอย่างที่การกระตุ้นในสมองนี ้บอกอย่างอื่นต่อจิต เช่นทำาให้ จิตรู้ถึง การกระตุ้นจริงๆ ที่กำาลังเกิดขึ ้นในสมอง หรื อในเท้ า หรื อในบริ เวณที่อยูร่ ะหว่างกลางส่วนใดส่วนหนึง่ แต่
92
ก็ไม่มีอะไรอย่างอื่นที่จะนำาพาไปสูก่ ารคงอยูข่ องความเป็ นปกติสขุ ของร่างกายได้ เท่านัน้ ในทำานอง เดียวกันเมื่อเราต้ องการดื่มน้ำ าความแห้ งบางอย่างเกิดขึ ้นในลำาคอ นี่กระตุ้นเส้ นประสาทของลำาคอซึง่ จะ ต่อเนื่องไปสูก่ ารกระตุ้นสมองส่วนใน นัน่ สร้ างให้ เกิดความรู้สกึ กระหายน้ำ าขึ ้นในจิต เพราะสิ่งที่มี ประโยชน์ที่สดุ ที่เราควรจะรู้ ณ จุดนี ้ ก็คือเราต้ องการน้ำ าดื่มเพื่อที่จะคงสุขภาพที่เป็ นปกติสขุ ในกรณีอื่นๆ ก็เช่นเดียวกัน One kind of movement in the part of the brain that immediately affects the mind always produces just one kind of sensation; and it would be best for us if it were always the kind that would contribute the most to keeping us alive and well. Experience shows that the sensations that nature has given us are all of just such kinds; so everything about them bears witness to the power and goodness of God. For example, when the nerves in the foot are set in motion in a violent and unusual manner, this motion reaches the inner parts of the brain via the spinal cord, and gives the mind its signal for having a sensation of a pain as occurring in the foot. This stimulates the mind to do its best to remove the cause of the pain, which it takes to be harmful to the foot. God could have made our nature such that this motion in the brain indicated something else to the mind – for example, making the mind aware of the actual motion occurring in the brain, or in the foot, or in any of the intermediate regions. But nothing else would have been so conducive to the continued well-being of the body. In the same way, when we need drink a certain dryness arises in the throat; this moves the nerves of the throat, which in turn move the inner parts of the brain. That produces in the mind a sensation of thirst, because the most useful thing for us to know at this point is that we need drink in order to stay healthy. Similarly in the other cases. ทังหมดนี ้ ้ทำาให้ เห็นได้ อย่างชัดเจนว่าแม้ พระเจ้ ามีความดีอนั เหลือล้ น ธรรมชาติของมนุษย์ในฐานะที่ เป็ นการผสมผสามระหว่างจิตกับร่างกายนัน้ เป็ นไปในแบบที่จะนำาเขาไปผิดทางในบางครัง้ บางคราว เพราะตามเส้ นทางเดินของเส้ นประสาทจากเท้ าไปสมองหรื อแม้ กระทัง่ ในสมองเอง บางอย่างก็อาจเกิด ขึ ้นที่ทำาให้ เกิดการกระตุ้นในแบบเดียวกันที่โดยปกติแล้ วเกิดจากการได้ รับบาดเจ็บที่เท้ า และดังนันความ ้ เจ็บปวดจะรู้สกึ ราวกับว่าอยูท่ ี่เท้ า การหลอกลวงของประสาทสัมผัสนี ้เป็ นธรรมชาติเพราะว่าการกระตุ้น แบบหนึง่ ในสมองจะต้ องสร้ างความรู้สกึ แบบเดียวในจิตเสมอ และในเมื่อการกระตุ้นแบบนี ้ปกติแล้ วจะมี ต้ นกำาเนิดที่เท้ า ย่อมสมต่อเหตุผลที่มนั จะสร้ างความรู้สกึ ที่สื่อว่าความเจ็บปวดเกิดที่เท้ า ในทำานอง เดียวกันกับความแห้ งในลำาคอ เป็ นการดีกว่ามากถ้ าหากว่ามันจะชี ้ผิดอยูเ่ สมอในกรณีที่เกิดขึ ้นได้ ยาก นัน่ คือเมื่อบุคคลมีโรงท้ องมาน มากกว่าที่จะชี ้ผิดอยูเ่ สมอเมื่อร่างกายมีสขุ ภาพดี กรณีอื่นๆ ก็เช่น เดียวกัน
93
All of this makes it clear that, despite God’s immense goodness, the nature of man as a combination of mind and body is such that it is bound to mislead him from time to time. For along the route of the nerves from the foot to the brain, or even in the brain itself, something may happen that produces the same motion that is usually caused by injury to the foot; and then pain will be felt as if it were in the foot. This deception of the senses is natural, because a given kind of motion in the brain must always produce the same kind of sensation in the mind; and, given that this kind of motion usually originates in the foot, it is reasonable that it should produce a sensation indicating a pain in the foot. Similarly with dryness of the throat: it is much better that it should mislead on the rare occasion when the person has dropsy than that it should always mislead when the body is in good health. The same holds for the other cases. แนวความคิดนี ้ช่วยอย่างมากให้ ฉนั ตระหนักถึงทุกๆความผิดพลาดที่ธรรมชาติของฉันมีแนวโน้ มที่จะ พาฉันไป และยังช่วยในการแก้ ไขหรือหลีกเลี่ยงพวกมัน เพราะฉันรู้ว่าตราบใดที่เป็ นเรื่ องของการมี ร่างกายที่อยูด่ ีมีสขุ ปกติแล้ วประสาทสัมผัสของฉันจะบอกความจริ ง แล้ วฉันก็สามารถใช้ ประสาทสัมผัส มากกว่าหนึง่ อย่างในการตรวจสอบสิ่งเดียวกันอีกด้ วย ฉันยังสามารถได้ รับความช่วยเหลือมากขึ ้นไปอีก จากความจำาซึง่ เชื่อมประสบการณ์ในปั จจุบนั กับในอดีต และจากสติปัญญาซึง่ มาถึงตอนนี ้ได้ พิจารณา ทุกแหล่งของความผิดพลาด ดังนันฉั ้ นไม่ควรกลัวความผิดพลาดของสิ่งที่ประสาทสัมผัสทังหลายบอกฉั ้ น อยูท่ กุ วันอีกต่อไป ในทางตรงกันข้ ามความสงสัยที่เกินจริ งในไม่กี่วนั ที่ผ่านมาควรจะเลิกเสียในฐานะเรื่ อง น่าหัวเราะ นี่ใช้ ได้ อย่างเป็ นพิเศษกับเหตุผลหลักของข้ อสงสัย นันก็ ้ คือการไร้ ความสามารถของผมที่จะ แยกแยะฝั นออกจากประสบการณ์ยามตื่น This line of thought greatly helps me to be aware of all the errors to which my nature is liable, and also to correct or avoid them. For I know that so far as bodily well-being is concerned my senses usually tell the truth. Also, I can usually employ more than one sense to investigate the same thing; and I can get further help from my memory, which connects present experiences with past ones, and from my intellect, which has by now examined all the sources of error. So I should have no more fears about the falsity of what my senses tell me every day; on the contrary, the exaggerated doubts of the last few days should be dismissed as laughable. This applies especially to the chief reason for doubt, namely my inability to distinguish dreams from waking experience. เพราะตอนนี ้ฉันได้ สงั เกตเห็นว่าทังสองอย่ ้ างนันต่ ้ างกันอย่างยิ่ง ในการที่ความฝั นไม่เคยถูกความจำา เชื่อมเข้ ากับการกระทำาอื่นทังหมดของชี ้ วิตอย่างที่ประสบการณ์ยามตื่นถูกกระทำา ถ้ าหากว่าในขณะที่ฉนั
94
ตื่นอยูด่ ีๆ มีใครสักคนปรากฏตัวต่อฉันแล้ วก็หายไปอย่างกระทันหันเหมือนอย่างที่เกิดขึ ้นในยามหลับ จน ฉันไม่สามารถที่จะเห็นว่าเขามาจากไหนและไปทางไหน ฉันย่อมสามารถที่จะตัดสินอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล ได้ ว่าเขาเป็ นผีหรื อเป็ นภาพหลอนมากกว่าจะเป็ นมนุษย์ แต่ถ้าฉันเข้ าใจอย่างชัดเจนถึงเวลา สถานที่ และทิศทางที่อะไรบางอย่างเข้ ามาหาฉัน และถ้ าหากว่าฉันสามารถที่จะเชื่อมการรับรู้ ของฉันต่อสิ่งนัน้ กับทังหมดที ้ ่เหลือของชีวิตของฉันโดยไม่มีขาดตอน ฉันก็ยอ่ มมัน่ ใจว่าในการเผชิญหน้ ากับมันฉันไม่ได้ หลับหากแต่ตื่นอยู่ และฉันไม่ควรมีความสงสัยในความจริ งของมันถ้ าหากว่ามันได้ รับการยืนยันอย่าง เป็ นเอกฉันท์โดยประสาทสัมผัสทังหมดของฉั ้ นเช่นเดียวกับความจำาและสติปัญญาของฉัน จากข้ อเท็จ จริ งที่วา่ พระเจ้ าไม่ใช่ผ้ หู ลอกลวง มันย่อมเป็ นจริ งตามมาว่าในกรณีเฉกเช่นนี ้ฉันย่อมปลอดพ้ นโดยสิ ้นเชิง จากความผิดพลาด แต่เพราะความกดดันของชีวิตประจำาวันไม่อนุญาตให้ เราหยุดและตรวจสอบอย่าง รอบคอบ จึงต้ องยอมรับว่าชีวิตของมนุษย์นนไม่ ั ้ อาจปลอดพ้ นจากความผิดพลาดในเรื่ องของสิ่งจำาเพาะ หลายๆอย่าง และเราต้ องยอมรับต่อความอ่อนแอของธรรมชาติของเรา. For I now notice that the two are vastly different, in that dreams are never linked by memory with all the other actions of life as waking experiences are. If, while I am awake, anyone were suddenly to appear to me and then disappear immediately, as happens in sleep, so that I couldn’t see where he had come from or where he had gone to, I could reasonably judge that he was a ghost or an hallucination rather than a real man. But if I have a firm grasp of when, where and whence something comes to me, and if I can connect my perception of it with the whole of the rest of my life without a break, then I am sure that in encountering it I am not asleep but awake. And I ought not to have any doubt of its reality if that is unanimously confirmed by all my senses as well as my memory and intellect. From the fact that God isn’t a deceiver it follows that in cases like this I am completely free from error. But since everyday pressures don’t always allow us to pause and check so carefully, it must be admitted that human life is vulnerable to error about particular things, and we must acknowledge the weakness of our nature. ตัวบทภาษาอังกฤษมาจาก Descartres Archive | Philosophy Archive @ marxists.org