การศึกษาในฐานะส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม (บทความขนาดสั้น)

Page 1

1

การศึกษาในฐานะส่วนหนึ่ งของวัฒนธรรมความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่กบั เด็ก ในสังคมไทย รองศาสตราจารย์เอกศักดิ ์ ยุกตะนันทน์ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น AKSAK@KKU.AC.TH บทคัดย่อ การศึกษาของไทยเป็ นการให้ทที ่ าำ ลายทัง้ สติป ญั ญาและวิญญาณแห่งการเรียนรูข้ องผูเ้ ยาว์ เกิดจากการทีล่ ทั ธิ ชาตินิยมกษัตริย์นิยมได้รบั ชัยชนะในการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างชนชัน้ ทางสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม ปี 2519 ผูใ้ หญ่ไทยใช้การศึกษาเป็ นเครือ่ งมือทีจ่ ะครอบงำาชีวติ ของผูเ้ ยาว์ จิตสำานึกของคนไทยทุกคนล้วนกระหายอำานาจไปตาม ความสัมพันธ์แบบศักดินาเจ้าไพร่ทใี ่ ช้นิยามความเป็ นไทย ทำา ให้วฒ ั นธรรมแบบปิ ตาธิปไตยมีชยั ชนะเหนือวัฒนธรรม ประชาธิปไตยอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด และทำาให้ให้ผใู้ หญ่ไทยใช้ลทั ธิอนุรกั ษ์นิยมทางศีลธรรมแบบสุดขัว้ ต่อผูเ้ ยาว์ คำา ว่า “เรารักในหลวง” คือการแสดงออกของความปรารถนาจากจิตใต้สาำ นึกของคนไทย ทีจ่ ะมีเทพเจ้ามาดล บันดาลในสิง่ ต่างๆ ทีต่ นปรารถนาแต่เกินกำาลังทีจ่ ะหาได้ดว้ ยตนเอง พร้อมกับความปรารถนาทีจ่ ะเป็ นเทพเจ้าเหนือผูค้ น ทัง้ หลายทีต่ นเองให้การอุปถัมภ์ดูแล ในสายตาของผูใ้ หญ่ไทย เมือ่ ใดก็ตามทีเ่ ขาสามารถหลอกตนเองว่าทำาสิง่ ต่างๆ ให้ เด็กด้วยความรักความหวังดีอนั บริสุทธิ์ การกระทำานัน้ ย่อมถูกต้องเสมอ ไม่วา่ ลูกหรือศิษย์จะเจ็บปวดเพียงไร ผูใ้ หญ่ไทย ต้องการเป็ นเทพเจ้าผูม้ อี าำ นาจอย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์เหนือมนุษย์ผทู้ ตี ่ นมอบสิง่ อันมีค่าทัง้ หลายในชีวติ ให้ การตัง้ คำาถาม หรือการวิพากษ์วจิ ารณ์โต้เถียงพ่อแม่และครูบาอาจารย์จงึ เป็ นสิง่ ต้องห้าม

การศึกษาของไทยจึงเป็ นเพียงการบังคับควบคุมทางความคิดและการยัดเยียดศีลธรรมอันจอมปลอมเข้า สูส่ มองของผูเ้ ยาว์ เด็กไทยไร้ทงั ้ เสรีภาพทางปญั ญาและเสรีภาพทีจ่ ะค้นหาความหมายในชีวติ ให้ตนเอง ปญั ญา และศีลธรรมทีเ่ ด็กไทยมีจงึ เป็ นเพียงสิง่ ซึง่ จอมปลอมไร้จติ วิญญาณ เพราะครูคอยปิ ดกัน้ ความเป็ นจริงเพือ่ ให้เด็ก โง่จนต้องยอมตนอยู่ใต้อาำ นาจ และพ่อแม่กค็ อยแต่จะใช้อาำ นาจแห่งบุญคุณ เอาชีวติ ลูกมารับใช้เกียรติยศหน้าตา ของตนในสังคม.

Abstract

Thai education is an impure act of giving. It’s meant to destroy the soul of those who receive it. For, it undermines intelligence and the learning spirit of Thai youths, and that is because the soul of Thai grown-up is saturated with desire to dominate their youths. They never realize that they are nothing but tyrants; for, their consciousness belongs to the whole society and is cast from the same mould, namely, that of the radical conservatism. This is the result of the triumph of monarchism over democracy in Thai society When the Thais say, “we love the King,” they express their deep unconscious desire of having a supreme-being granting all the wishes which are beyond their limited power, and at the same time their desire of absolute power over those they patronize. From their point of view, when, by self-deception, the


2

Thai adults can conceive of their action towards the youths as emitted from a good will, it can’t never be wrong, no matter how painful it is for the youths. Thai adults want the youths to worship them as gods. As such, questioning, or arguing, is strictly forbidden, and criticism is a blasphemy. So, Thai education is nothing but thought-control, imposition of spurious morality, enslaving the youths’ mind. They have no freedom of thought essential for their search of the meanings of life. Wisdom and morality they then have are false, hollow, and without soul; for, at school, the teachers constantly block the truths, making them weak and submissive; and at home, the parents use gratefulness as control, turning their lives into servants of their desire for social status.

การให้การศึกษาคือความสัมพันธ์ของความรักระหว่างสมาชิกของสังคมที่ต่างรุ่นวัยกัน ฉะนัน้

การให้การศึกษาจึงควรเป็ นการให้อนั บริสุทธิ ์ และครูกค็ วรจะอ่อนโยนต่อศิษย์เช่นเดียวกับพ่อแม่ผรู้ กั ลูก ของตน แต่มนุ ษย์เราก็มกั จะไร้สติไปด้วยเหตุนานัปการ จนสิง่ อันควรบริสุทธิ ์ก็ด่างพร้อยไป ในสังคมไทย เหตุดงั กล่าวส่งผลรุนแรงจนน่ าสะท้อนใจ เพราะเด็กไทยได้ช่อื ว่ายิง่ เรียนยิง่ โง่ แต่กระนัน้ ผูค้ นก็ยงั ไม่ เฉลียวใจ เพราะมิจฉาทิฐอิ นั พาไปสู่ความไร้สติ เป็ นความดำามืดทีซ่ ่อนลึกอยู่ใต้กมลสันดานทีพ่ วกเขาไม่ เคยส่องสำารวจลงไปถึง แม้พวกเขาจะเรียกตนเองอยูท่ ุกเมือ่ เชือ่ วัน ว่าเป็ นสาวกของพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ผู้ รู้ ผูต้ ่นื ผูเ้ บิกบาน ผูซ้ ง่ึ ควรจะสำารวจจิตใจของตนเองอยูเ่ สมอ การศึกษาของไทยไม่ใช่ความสัมพันธ์ของการให้ดว้ ยความรักทีบ่ ริสุทธิ ์ แต่ดา่ งพร้อยไปด้วยความ กระหายอำานาจ การถือทิฐขิ องตนเป็ นใหญ่ ของผูใ้ ห้ ทำาให้เป็ นการให้ทก่ี ระด้างอย่างทีส่ ุดต่อจิตใจของผูร้ บั ซึง่ ส่งผลเป็ น ความสูญเสียในจิตวิญญาณแห่งการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน พวกเขาโง่ลง แล้วก็โง่ลง เพราะได้แต่ ท่องจำา อย่างแทบไม่เคยใช้ปญั ญาเข้าไปตรวจสอบ ไตร่ตรอง จนเข้าใจจริงๆในสิง่ ทีต่ นเรียน จนมันย้อน กลับไปทำาลายจิตวิญญาณแห่งความอยากรูอ้ ยากเห็นของพวกเขา แล้วก็ทง้ิ เอาไว้แต่ความกระหายอยาก ได้แค่เงินทองทีค่ วามรูจ้ ะเป็ นสะพานทอดไปสู่ การศึกษาไม่ได้มคี วามหมายใดๆ ทีแ่ ท้จริงในจิตวิญญาณ ของเด็กไทย พวกเขาแทบไม่รจู้ กั แม้สกั นิด ว่าสิง่ ทีเ่ รียกว่า การเติบโตทางปญั ญานัน้ คืออะไร เพราะจิต วิญญาณแห่งการเรียนรูข้ องเขาถูกฆ่าโดยผูท้ อ่ี ยากให้เขามีการศึกษา และโดยผูท้ ใ่ี ห้การศึกษานัน้ เอง กมลสันดานของมนุษย์ถูกหล่อหลอมด้วยสถานการณ์ของชีวติ และสิง่ ทีถ่ กั ร้อยขึน้ เป็ นโครงสร้าง ของสังคม ซึ่งก็คอื วัฒนธรรม ศีลธรรม จารีต ประเพณี ระบบเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง ตัวบท กฎหมาย สิง่ เหล่านี้คอื สิง่ ทีผ่ ูค้ นยึดถือร่วมกัน จนสร้างให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่าจิตสำานึกแห่งสังคม อันทำาให้ ผู้คนคิดและปฏิบตั ิไปในทิศ ทางเดียวกัน มีทศั นะคติ แนวโน้ ม นิส ยั วิธีท่ีจ ะคิด จนอาจเรียกได้ว่า มี บุคลิกภาพหรือ “สันดาน” เดียวกัน และเป็ นสันดานทีพ่ วกเขามักไม่ยอมทีจ่ ะเพ่งสายตาของตนเองลงไป ตรวจสอบ ว่ามีอะไรไม่ชอบมาพากลอยู่บ้างหรือไม่ ตราบใดก็ตามที่ชวี ติ ของเขาไม่เคยถูกสิง่ เหล่านัน้ ทำาร้ายเอาอย่างรุนแรง และเหตุทเ่ี ขาไม่อยากตรวจสอบมันเอาเสียเลยก็เพราะมันทำาให้เขารูส้ กึ ว่า ตราบใด ทีเ่ ขาสามารถยอมรับมันไว้ได้โดยดุษฎี เขาก็ยอ่ มเป็ นหนึ่งเดียวกับคนทัง้ หลาย ไม่แปลกแยกจากคนอื่นๆ เพราะฉะนัน้ เบื้องหลังการละเลยเพิกเฉยทีจ่ ะตรวจสอบ ก็คอื การทีผ่ ลประโยชน์ส่วนตัวของเขาแต่ละคน


3

กลมกลืนเข้ากันได้กบั ผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ และเพราะเหตุแห่งความขลาดกลัวอันซ่อนลึกอยูใ่ นจิต วิญญาณของพวกเขา ทีจ่ ะคิดในสิง่ อันผิดแผกแตกต่างไปจากคนอื่นๆ รอบข้าง วัฒนธรรมอันกำา หนดจิตสำา นึกของผู้ค นในสังคมนัน้ ซ่อนเร้นไว้ด้วยความหลงตนเองอยู่เสมอ เพราะเกิดจากการสอดประสานของผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ และจากความ รูส้ กึ ของความมีอยู่ของตัวตนอันจอมปลอม ทีพ่ องใหญ่ขน้ึ มาด้วยความรูส้ กึ เป็ นกลุ่มก้อน เพราะมีช่อื เรียก เดียวกัน ความจอมปลอมดังกล่าวจะพาไปสู่ความกลัว ต่อการสูญเสียความมีอยู่ของตัวตนขึ้นมาทันที หากตัวตนของพวกเขาต้องถูกวิพากษ์วจิ ารณ์ จนพ่ายแพ้ นี่เป็ นความอ่อนแอของมนุ ษย์ท่ยี ่อมสามารถ เยียวยาแก้ไขได้ ด้วยการเห็นคุณค่าของตัวเองในทางนามธรรมแบบปรัชญาหรือศาสนา ซึ่งก็คอื ด้วย กระบวนการตรวจสอบตนเองอย่างลึกซึง้ ฉะนัน้ แทนทีจ่ ะกลัวต่อการตรวจสอบ วัฒนธรรมควรจะต้องเห็น การวิพากษ์วจิ ารณ์ เป็ นหนทางแห่งการพัฒนาคุณค่าทีแ่ ท้จริงใดๆ ก็ตามทีต่ นอาจมีอยู่ และเป็ นทางแห่ง การสลัดทิง้ คุณค่าปลอมๆ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างบังเอิญ ทัง้ หลาย ด้วยตัวของมันเองแล้ว การศึกษาน่ าจะเป็ นคุณค่าอันแท้จริงทีท่ ุกวัฒนธรรมพยายามถ่ายทอดจาก คนรุ่นหนึ่งไปสูค่ นรุ่นต่อไป ฉะนัน้ การทีก่ ารศึกษาของเราตกอยู่ในวิกฤตอย่างชัดเจน ย่อมเรียกร้องให้เรา ตรวจสอบวัฒนธรรมของเราอย่างจริงจัง คือตรวจสอบให้ลกึ ลงไปถึงรากเหง้าแห่งจิตใจของเรา ว่ากำาลัง เกิดอะไรขึน้ กับจิตใจของผูใ้ หญ่ผเู้ ป็ นผูใ้ ห้ในสังคมไทย ความดำามืดอะไรได้เข้ามาครอบงำาจิตใจของเหล่า ผูใ้ หญ่ทงั ้ หลาย เรารูต้ วั หรือไม่ว่าเราเป็ นผูใ้ ห้ทก่ี าำ ลังทำาลายจิตวิญญาณในการเรียนรูข้ องผูร้ บั และกำาลัง ทำาลายคุณค่าอันแท้จริงของสิง่ ทีเ่ รากำาลังให้กบั ผูเ้ ยาว์ของเรา ฉะนัน้ ปญั หาก็คอื อะไรหรือทีถ่ กั ร้อยระบบ โครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมของเรา ทีส่ ร้างให้เราทุกคนกลายเป็ นเช่นนัน้ เหมือนกันไปหมด คำาตอบก็คอื ด้วยเหตุผลของการต่อสูร้ ะหว่างผูต้ ่างชนชัน้ ทางเศรษฐกิจ ในการเมืองของไทย ผูท้ ม่ี ี อำานาจและครองชัยชนะในการต่อสู้ดงั กล่าว ได้ถกั ร้อยความสัมพันธ์ทางสังคมของไทย จนทำาให้ผูใ้ หญ่ ไทยทุกคนกลายเป็ นผูม้ จี ติ ใจทีด่ าำ มืดไปตามตน กล่าวคือ เต็มไปด้วยโมหะ ถือตนเป็ นทีต่ งั ้ ใช้อาำ นาจเป็ น ใหญ่เหนือเหตุผล ไม่สนใจต่อจิตใจของเด็ก ทำาให้การศึกษาของเรากลายเป็ นสิง่ ซึ่งไร้หวั ใจ สิง่ ทีช่ วนให้ สมเพชทีส่ ุดก็คอื การกระทำาดังว่าทัง้ หมดใช้ความรักและความหวังดีเป็ นข้ออ้าง แต่เป็ นความรักและความ หวังดีทเ่ี ด็กไม่เคยมีโอกาสทีจ่ ะเอ่ยปากตัง้ คำาถามอะไรได้เลย เพราะถูกถือไว้แล้วว่าเด็กดีตอ้ งว่านอนสอน ง่าย มีความกตัญญูกตเวที ไม่มปี ากไม่มเี สียง เพราะ พ่อแม่ ครูบาอาจารย์คอื ผูม้ พี ระคุณ ผูใ้ ห้กาำ เนิด ผู้ เลีย้ งดู และผูใ้ ห้สงิ่ มีคา่ ต่างๆ ในชีวติ นัน่ ก็คอื ความกตัญญูกตเวทีได้กลายเป็ นคุณธรรมทีด่ าำ มืดทีส่ ุดในสังคมไทย เพราะถูกนำามารับใช้ ต่อการถือตนเป็ นทีต่ งั ้ การใช้อาำ นาจเหนือเหตุผล การไม่สนใจต่อจิตใจและความรูส้ กึ ของเด็ก และนี่คอื สิง่ ทีผ่ ใู้ หญ่ไทยทัง้ หลายล้วนแต่เป็ นกันไปหมด ด้วยเหตุผลของสถานการณ์ทางการเมือง ทีบ่ วกเข้ากับศีลธรรมแบบปิ ตาธิปไตย ผูใ้ หญ่ไทยได้ เข่นฆ่าชีวติ ของลูกหลานของสังคมไทยไปเสียจำานวนหนึ่ง ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 แล้วหลังจากนัน้ ผูใ้ หญ่ไทยทัง้ หลายก็ช่วยกันสร้างระบบอนุ รกั ษ์นิยมทางศีลธรรมขึน้ ครอบงำาสังคม 1 พร้อมกับขยายระบบ ทุนนิยมบริโภคนิยม ร่วมกันผลักดันของสองอย่างนี้ให้เติบโตไปให้ถงึ ที่สุด และนี่ย่อมเพียงพอแล้วที่จะ 1

ระบบอนุรักษ์นิยมทางศีลธรรมคือระบบชนชั้นทางศีลธรรม ที่แสดงออกโดย “ทวิมาตรฐาน” ระหว่างผูใ้ หญ่และเด็ก ซึ่ งถือว่าผูใ้ หญ่คือผู ้ ที่ดีพร้อมทางศีลธรรมแล้ว เด็กคือผูท้ ี่ยงั ไม่มีความดี และจะดีก็ต่อเมื่อยอมอยูใ่ ต้อาำ นาจของกฎระเบียบที่ผใู ้ หญ่สร้างขึ้ น แต่ผใู ้ หญ่เองไม่ตอ้ ง อยูใ่ ต้กฎระเบียบแบบเดียวกันนั้น


4

ทำาลายจิตวิญญาณของลูกหลานของเรา ส่งจิตวิญญาณของเขาไปลงนรก อย่างไม่มโี อกาสทีจ่ ะได้กลับมา ผุดมาเกิดอีกเลย เพราะว่า ระบบอนุรกั ษ์นิยมทางศีลธรรมทำาลายหลักการแห่งความสุขอันบริสุทธิ ์ ทีจ่ ะทำาให้ผคู้ น ได้คน้ พบคุณค่าและความหมายแห่งชีวติ ของตน ในขณะทีร่ ะบบทุนนิยมบริโภคนิยมปรนเปรอชีวติ ด้วย มายาและสิง่ อันจอมปลอมทัง้ หลาย จนผูค้ นไม่รวู้ า่ ทางเดินของชีวติ ทีถ่ กู ต้องคืออะไร แต่ทจ่ี ริง จิตวิญญาณของเด็กจะไม่ถกู ทำาลาย หรือถูกทำาให้หลงทางอยูใ่ นมายา ถ้าเขามีสติปญั ญา ทีจ่ ะใช้สกู้ บั มัน แต่ปญั ญาคืออาวุธทีจ่ ะใช้สกู้ บั ศัตรูได้ทุกชนิด ผูป้ กครองทีเ่ ป็ นทรราชจึงย่อมไม่ยอมปล่อย ให้ผอู้ ยู่ใต้ปกครองมีปญั ญา ฉะนัน้ ด้วยความกระหายอำานาจของชนชัน้ ปกครองไทย การศึกษาไทยจึงถูก ลดคุณภาพลงเพื่อผลทางการเมือง แต่แม้ว่าสิง่ นัน้ อาจเกิดขึน้ เพียงแค่ชวขณะ ั่ และแม้เมื่อเราหยุดการกระ ทำาเช่นนัน้ แล้ว ตัวของความกระหายอำานาจของชนชัน้ ปกครองก็ยงั เป็ นเสมือนเชือ้ โรคร้าย ทีแ่ พร่กระจาย ไปอย่างไม่อาจหยุดยัง้ ฉะนัน้ ความกระหายอำานาจจึงแพร่กระจายไปทัวทั ่ ง้ สังคมไทยอย่างต่อเนื่องมาเป็ น เวลากว่า 40 ปี ควบคู่ไปกับความรุ่งโรจน์ของจิตสำานึกแบบเจ้าไพร่ ทีห่ วนกลับมาใหม่ใน “การปกครอง แบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นพระประมุข” ของไทย ด้วยเหตุเช่นนัน้ ไม่ว่าเศรษฐกิจ ไทยจะร่าำ รวยจนสามารถทุ่มเทเงินทองลงไปในการศึกษาได้สกั ขนาดไหน ระดับสติปญั ญาเฉลีย่ ของเด็ก ไทยก็มแี ต่ตา่ำ ลง และมหาวิทยาลัยไทยก็พ่ายแพ้ต่อเพื่อนบ้านอย่างไม่มที างเทียบได้ พร้อมๆ กับที่เด็ก ไทยต้องทนกับความทุกข์ทรมานมากยิง่ ขึน้ ทุกทีๆ จากระบบศีลธรรมแบบอำานาจนิยมอนุ รกั ษ์นิยม และ การทีไ่ ม่เคยมีจะสิทธิ ์ทีจ่ ะมีปากมีเสียงในเรือ่ งสำาคัญๆ ใด ๆ ในชีวติ ของตนเองได้เลย ใครทีร่ า่ำ เรียนทฤษฎีจติ วิเคราะห์มาอย่างลึกซึ้งเพียงพอ ย่อมรูว้ ่า เมื่อเรากล่าวว่า เรารักในอะไร บางอย่าง อย่างทีม่ ากเสียจนไม่ยอมให้ใครมาแตะต้องหลบหลู่ได้นัน้ ต้องมีปมอะไรบางอย่างซ่อนอยู่ใน จิตใต้สาำ นึกของเรา เพราะในระดับของจิตสำานึกของเรานัน้ เมือ่ ผูท้ เ่ี รารักสังสอนอะไร ่ แล้วเราไม่กล้าเถียง ไม่กล้าตัง้ คำา ถามอะไรแม้สกั คำา เดียว ถือเสมือนว่าผู้ท่เี รารัก เป็ นเทพเจ้า หรือเป็ นพระพุทธเจ้า ผู้ทรง สัพพัญญู และเมื่อเราอยู่ท่บี ้านหรือที่โรงเรียน หรืออยู่ทม่ี หาวิทยาลัยที่เราสอน เราเองก็กาำ ลังคิดอุปมา อุปมัยให้เราเป็ นเทพเจ้าของลูกของเรา หรือของลูกศิษย์ของเรา อยูต่ ลอดเวลานันเอง ่ “ดังนัน้ จงเชือ่ ฟงั จง กตัญญู และจงเคารพบูชาฉัน ในแบบเดียวกันกับทีฉ่ ันเคารพบูชาบุคคลผูเ้ ป็ นเทพเจ้าของฉัน ” เรามีความ ปรารถนาแบบนี้ซ่อนอยู่เบื้องหลังจิตสำานึกของเรา และนี่คอื ความกระหายอำานาจอันซ่อนเร้นอยู่ใต้กมล สันดานของผูใ้ หญ่ไทยเกือบทุกคน มาเป็ นเวลากว่า 40 ปี และทำาให้การศึกษาไทยเป็ นการให้ทด่ี ่างพร้อย ไปด้วยความชัวร้ ่ ายของความกระหายอำานาจ โดยทีเ่ ราไม่เคยยอมสอดสายตาลงไปสำารวจ ว่ามันได้สร้าง ให้เกิดผลอะไรบ้างต่อชีวติ ของเราและลูกหลานของเรา เราแทบไม่ยอมให้ใครมาสัมผัสแตะต้องมันเลย เพราะมันคือความภาคภูมใิ จของ “ตัวตน” อันเปราะบางของคนไทยและความเป็ นคนไทย วัฒนธรรมของสังคมจึงทำาให้ความสัมพันธ์ทเ่ี ป็ นอยู่เดิม ตามธรรมชาติของความเป็ นมนุ ษย์และ สัตว์โลก กลายเป็ นความกระด้างทางจิตใจ ไปได้พร้อมๆ กับการสวมใส่หน้ากากของการปรุงแต่งด้วยหน้า ฉากที่งดงามของพิธีกรรม ตัวอย่างเช่น ในสังคมไทย พิธไี หว้ครู เป็ นพิธกี รรมเดียวกับการที่ไพร่ต้อง หมอบกราน นำาดอกไม้ถูกเทียนไปกราบเท้าถวายตัวไว้ใต้อาำ นาจเจ้าในระบบศักดินา ซึ่งเป็ นพิธกี รรมที่ แสดงออกถึงนัยเชิงอำา นาจอย่างชัดเจน โครงสร้างทางสังคมที่วฒ ั นธรรมเข้าไปร่วมถักร้อย จึงเป็ นตัว ทำาลายความสัมพันธ์ทบ่ี ริสุทธิ ์ระหว่างมนุ ษย์ แม้แต่ระหว่างบุพการีและบุตร หรืออย่างน้อยทีส่ ุดก็สร้าง การกระทำาอันไร้สติได้นานัปการ


5

ปกติ คนเรามักจะหลงคิดว่าตนเองถูกในทุกๆ เรื่องที่เราเชื่อร่วมกับคนส่วนใหญ่ และเราจะไม่ เรียนรูถ้ งึ ความโง่เขลาของตน จนกว่ามหันต์ภยั จะมาถึงตัว ความโง่เขลาของเราก็คอื ลัทธิปิตาธิปไตย ซึง่ คือการทีพ่ อ่ ในฐานะ “ผูใ้ ห้” คือผูท้ จ่ี ะกำาหนดว่าอะไรคือความดีงามสำาหรับลูกซึง่ เป็ น “ผูร้ บั ” โดยไม่สนใจว่า ลูกจะมีความคิดความต้องการ ทีเ่ กิดขึน้ มาจากภายในจิตใจของตนเองอย่างไร ลัทธิปิตาธิปไตยเป็ นส่วน หนึ่งของลัทธิอาำ นาจนิยม 2 และลัทธิอนุ รกั ษ์นิยมทางศีลธรรม เพราะมันสนับสนุ นการใช้อาำ นาจและการ ทำาลายเสรีภาพระหว่างผูค้ นทีต่ ่างชนชัน้ กันในสังคม ขอให้เราลองคิดดูให้ดวี า่ ทัง้ ในการเลีย้ งดูทบ่ี า้ นและใน การให้การศึกษาแก่เด็ก เราสร้างความแตกต่างทางชนชัน้ อะไรบ้าง และเด็กต้องสูญเสียสิทธิ ์และเสรีภาพ ใดบ้างให้กบั อำานาจของพ่อแม่ และครูอาจารย์ หรือแม้กระทังให้ ่ กบั “รุน่ พี”่ ในมหาวิทยาลัย คำาถามสำาหรับสังคมไทยก็คอื เราจะต้องรอให้มหันต์ภยั มาถึงตัวหรืออย่างไร เราจึงจะเห็นโทษ ของการยัดเยียดความคิดของผูใ้ หญ่ไปใส่สมองเด็ก และเห็นโทษของการทำาตัวเป็ นผูท้ รงภูมริ ู้ ใช้อาำ นาจ ปกครองลูกและศิษย์ ตัดสินทุกอย่างให้เด็ก อย่างทีเ่ ด็กไม่มสี ทิ ธิ ์แม้จะตัง้ คำาถาม การทีเ่ ด็กไทยโง่ลงๆ ทุก วันยังไม่ใช่มหันต์ภยั อีกหรืออย่างไร เมื่อไหร่พ่อแม่ของไทย ครูของไทย จะรูถ้ งึ ความโง่เขลาเบาป ญั ญา ของตนเองเสียที หลักการพืน้ ฐานของชีวติ คือการมีความสุขในทุกสิง่ ทีท่ าำ การมีทเ่ี ด็กมีความสุขกับสิง่ ต่างๆทีเ่ ป็ น ตัวเขาเป็ นสิง่ ทีผ่ ดิ ตรงไหน ในบางสถานการณ์ผใู้ หญ่อาจถูกผลักดันให้ตอ้ งตอบว่าผิด แต่กเ็ ป็ นการตัดสิน อย่างที่ผูใ้ หญ่จะไม่มปี ญั ญาอธิบายอะไรให้เด็กเข้าใจได้เลย เพราะโลกของเด็กและโลกของผู้ใหญ่เป็ น คนละโลกกันโดยสิน้ เชิง แต่ทป่ี ญั หาง่ายๆ ของการไม่อาจสื่อสารกันได้น้ี กลายเป็ นความรุนแรงของชีวติ อยู่เสมอ ก็เพราะผูใ้ หญ่เอาโลกของตนเองมากำาหนดโลกของเด็กอยู่ตลอดเวลา นี่คอื ผลของความรักทีไ่ ร้ สติ ความวิตกกังวลเกินกว่าเหตุ ความกระหายอำานาจ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือปนกันทัง้ หมด ชีวติ ควรจะมี ความสุขในทุกๆ อย่างทีเ่ ป็ นไปได้ แต่ทาำ ไมผูใ้ หญ่ถงึ ได้พยายามเสียเหลือเกิน ทีจ่ ะทำาลายความสุขในชีวติ ของเด็ก ในสิง่ ที่เขาเป็ นตัวของเขาเอง และในการที่เขาจะตัง้ คำา ถาม โต้แย้ง และคิดสิง่ ต่างๆ ให้ตนเอง อย่างอิสระ หลักการแห่งความสุขเป็ นหลักการที่สาำ คัญที่สุดของชีวติ เพราะถ้าในทุกกิจกรรมของชีวติ ไม่ม ี ความสุขของตัวเองรองรับเป็ นเหตุผลแล้ว กิจกรรมนัน้ ก็ยอ่ มไร้คา่ ไร้ความหมายในตัวของมันเอง ถ้าเราตัด ความสุขออกไปจากกิจกรรมในชีวติ ของเด็ก เราก็กาำ ลังฆ่าจิตวิญญาณของพวกเขาไปทีละนิด ทำาให้ชวี ติ ของเขาเหลือแต่ร่างกายทีเ่ คลือ่ นไหวไปตามคำาสังของเรา ่ ทำาทุกอย่างไปเพือ่ ความสุขของเราเอง หรือเพือ่ คุณธรรมแห่งความกตัญญูทเ่ี ขาอาจจะยังไม่พร้อมทีจ่ ะทำา หรือไม่ใช่สงิ่ ทีถ่ ูกต้องทีจ่ ะทำา (เช่นเรียนในสิง่ ที่ พ่อแม่ชอบแต่ลูกไม่ชอบ) หรือไม่ก็เพื่อคุณธรรมอะไรร้อยแปดพันประการ ที่เราพยายามยกขึ้นมากล่า วอ้าง ยัดใส่เข้าไปในสมองของพวกเขา จนแทบจะทำาให้เขาคิดว่าการทีเ่ ขาอยูใ่ นโอวาทของผูใ้ หญ่ อย่างไร้ สมองนัน้ เป็ นความดีจริงๆ ทัง้ ๆ ที่ ทีจ่ ริงแล้ว มันเป็ นความดีทจ่ี อมปลอมอย่างทีส่ ุด แต่ประเด็นทีแ่ ท้จริงทีเ่ ราจะต้องตระหนักตรงนี้ มีอยูป่ ระการเดียวเท่านัน้ คือ ถ้าสิง่ ทีเ่ ราต้องการให้ เด็กทำา มันทำาให้เขาสูญเสียความสุข แล้วเขาถามเราว่า ทำาไมเขาควรจะต้องทำามัน เราจะมีคาำ ตอบให้เขา อย่างถึงทีส่ ุดหรือไม่ ไม่ใช่ตอบแบบอ้างอำานาจ หรือแบบขอไปทีพอให้รอดตัวไปคราวๆ หรือไม่ว่าเราจะ 2

คือการถือว่า การใช้อาำ นาจเพื่อสร้างความดีเป็ นความถูกต้อง ตรงกันข้ามกับลัทธิเหตุผลนิ ยม ซึ่ งถือว่าอำานาจเป็ นสิ่ งชัว่ ร้ายในตัวเอง และ ความดีตอ้ งสร้างขึ้นด้วยการใช้เหตุผลมาแสดงความดีน้ นั ให้เป็ นที่ปรากฏต่อจิตใจเท่านั้น


6

ตอบอย่างไร มันก็จะเป็ นการตอบแบบเอาโลกของเราไปกำาหนดโลกของเขา โดยทีเ่ ราจะไม่ยอมมองโลก ของเด็กผ่านสายตาของเด็กเลยแม้แต่น้อย แล้วถ้าเราและเขาไม่สามารถเข้าใจกันได้ดว้ ยหัวใจ เราจะมอง หน้าพวกเขาตรงๆ ได้อย่างไร เราจะยืนยันได้อย่างไรว่าความรักที่เรามีต่อเขานัน้ บริสุทธิ ์สะอาดอย่าง แท้จริง อย่าลืมว่าเด็กอยู่ในโลกของเขาเอง และโลกของเขานัน้ บริสุทธิ ์สะอาดกว่าโลกของเรามากนัก เรา เองต่างหากที่ต้องเป็ นฝ่ายอดทนรอคอยให้เขาเติบโต จนเขาก้าวออกจากโลกของเขามาสู่โลกของเรา ไม่ใช่คอยฉุ ด คอยดึงเขาออกมาสู่โลกอันสกปรก วุ่นวาย และน่ าสมเพช ของเราอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราเห็น ว่าเขาควรต้องช่วยเราแบกภาระรับผิดชอบ ก็แบ่งงานให้เขาเท่าทีค่ วรแก่การกระทำา แต่เหนือจากนัน้ ขอ จงปล่อยชีวติ เขาไว้ตามเสรีเถิด จงสอนให้เขารูจ้ กั อันตรายของชีวติ แต่อย่าปกป้องเขาจากอันตรายด้วย การล่ามโซ่หรือขังเขาไว้ในกรงเลย การลงโทษด้วยการสร้างความเจ็บปวดทางกายนัน้ ไม่เคยช่วยอะไรเลย ยกเว้นแต่เมื่อมันคือการเรียนรูว้ ่ามันคือสิง่ แบบเดียวกับทีเ่ ขาทำากับคนอื่น และขอให้ลองคิดดูสวิ ่าชีวติ ของ เรานัน้ น่ าสมเพชแค่ไหนเมื่อเทียบกับเด็ก เมื่อเราโกรธใคร เราโกรธเสียนมนาน โกรธเสียจนเป็ นบ้า แต่ เด็กโกรธอยู่เดีย๋ วเดียว และเมื่อหายโกรธก็หายจริงๆ ดังนัน้ เราควรเป็ นเหมือนเขา หรือเขาควรเป็ น เหมือนเรากันแน่ โปรดจำาไว้ว่า เมือ่ ใดก็ตามทีเ่ ราห้ามเด็กไม่ให้เขาทำาในสิง่ ทีเ่ ขาปรารถนา อย่างไม่อาจให้คาำ อธิบาย ทีห่ วั ใจของเขารับรูค้ วามถูกต้องของมัน ได้นนั ้ เรากำาลังฆ่าจิตวิญญาณของเขา และในความเป็ นจริงแล้ว เมื่อเด็กปรารถนาสิง่ ใดด้วยหัวใจแล้ว จะเป็ นไปไม่ได้เลยที่เราจะหาคำา อธิบายแบบนัน้ ได้ เพราะความ ปรารถนาของเด็กย่อมบริสุทธิ ์สะอาดกว่าความปรารถนาของเราเสมอ ทุกอย่างทีเ่ ป็ นวัฒนธรรมก่อตัวมาจากจากความสัมพันธ์ตามธรรมชาติของชีวติ แต่แล้วก็ปรุงแต่ง ไปตามเงือ่ นไขและพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจการเมือง ในการปรุงแต่งนัน้ ความสัมพันธ์ระหว่างผูใ้ หญ่ และเด็กถูกทำาให้ด่างพร้อย แต่แล้วก็อาจจะได้รบั การแก้ไขภายหลัง ตามอนุสติทเ่ี กิดเมือ่ ยอมนำาปญั ญามา ไตร่ตรอง ฉะนัน้ เราควรกลับมาเป็ นชาวพุทธทีแ่ ท้ ทีค่ อยสำารวจจิตของตนเองกันเสียที ว่าความรักทีเ่ รามี ต่อเด็กนัน้ บริสุทธิ ์จริงหรือไม่ หรือเต็มไปด้วยมิจฉาทิฐทิ ไ่ี ด้มาจากเงื่อนไขทางสังคมและวัฒนธรรม เช่น จากลัทธิปิตาธิปไตย ระบบชนชัน้ แบบศักดินาเจ้าไพร่ ผูน้ ้อยผูใ้ หญ่ หรือจาก “ความเป็ นไทย” ทีใ่ นทีส่ ุดก็ คงต้องนิยามว่า คือการมีคุณสมบัตขิ องความบ้าอำานาจแบบเจ้า พร้อมกับความอ่อนน้อมแบบไพร่ อย่าง เบ็ดเสร็จอยู่ในคนๆ เดียว และทำาอย่างไร เราจึงจะมีสติเพิม่ มากขึน้ เมื่อเราอยู่กบั เด็ก จนเรารูว้ ่าความสุข คือสิง่ ทีม่ คี า่ ทีส่ ุดในทุกกิจกรรมในชีวติ ของเด็ก อะไรอื่นๆ ทัง้ หลายทีเ่ ราอยากให้เกิดขึน้ กับเขาเป็ นสิง่ ทีเ่ รา ต้องจะอดทนรอ จนกว่ามันจะเป็ นไปเองตามธรรมชาติ เพราะความสุขเป็ นสิง่ เดียวเท่านัน้ ทีจ่ ะทำาให้ชวี ติ ของเขาทุกวันมีความหมาย และทำาให้ทุกสิง่ ทีเ่ ขาทำามีความหมายต่อตัวเขาอย่างแท้จริง แน่ นอนว่านี่ย่อม หมายรวมไปถึงการศึกษาเล่าเรียน เพราะด้วยความสุขเท่านัน้ ที่จะทำา ให้เขาเรียนด้วยจิตวิญญาณของ ความอยากรูอ้ ยากเห็น ไม่ใช่เรียนเพราะความกระหายอยากได้งานทีม่ เี งินเดือนแพงๆ ซึง่ ความคิดความ เข้าใจว่าต้องเรียนหนังสือไปเพื่อเงินเช่นนี้ ย่อมไม่ใช่อะไรนอกไปจากความโลภที่ผูใ้ หญ่พยายามยัดใส่ เข้าไปในสมองเด็ก.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.