【 52311x52404 】เรื่อง การตรวจประเมินการเจ็บป่วยเบื้องต้น

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 1 จาก 13

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การตรวจประเมินการเจ็บป่วย

เบื้องต้น

ภาพปก “Dried Flowers” โดย Free-Photos (2016) จาก pixabay.com/en/dried-flowers-faded-pink-withered-1149191

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 2 จาก 13

การตรวจร่ า งกายเบื้ อ งต้ น เป็ น ขั้ น ตอนต่ อ จากการซั ก ประวั ติ เ พื่ อ หาความผิ ด ปกติ ก ่ อ นการ วิ นิ จ ฉั ย โรค สิ ่ ง ที่ ค วรทราบสำหรั บ ผู้ ต รวจก่ อ นตรวจร่ า งกายผู ้ ป ่ ว ย คื อ ผู ้ ต รวจต้ อ งมี ค วามสุ ภ าพ อ่ อ นโยน นุ่ ม นวล มี ค วามเป็ น กั น เองกั บ ผู้ ป่ ว ย และให้ เ กี ย รติ ผู้ ป่ ว ย ถ้ า ตรวจร่ า งกายเด็ ก เล็ ก ควรทำ ความคุ้นเคยกับ เด็ก ก่อ น

การเตรียมสถานที่ 1) สถานที่ในการตรวจต้อ งทำในที่มิด ชิด เช่น ในห้อ งตรวจหรือ เตียงผู้ป่ ว ย ปิดประตู รูดม่า นให้ เรียบร้อ ย 2) แสงสว่างในห้ อ งตรวจควรเพี ยงพอ 3) เตียงที่ใช้ในการตรวจควรมีความสะอาด มีห มอน ผ้าคลุม เตียง ผ้าห่ม บางๆ และควรเปลี่ยนผ้า คลุม เตียง ปลอกหมอนเมื่อ ตรวจผู้ป่วยรายต่อ ไป 4) โต๊ะ เก้าอี้ กรณีตรวจในท่านั่ง 5) อื่นๆ

การเตรียมผู้ป่วย 1) อธิ บ ายผู้ ป่ ว ยว่ า จะตรวจร่า งกายโดยละเอี ยด หากผู้ ป่ ว ยเป็ นเพศตรงกั น ข้ า มกับ ผู้ ตรวจควรมี บุคคลที่ 3 อยู่ในห้อ งตรวจด้วย 2) การจัดท่าผู้ป่วยสำหรับ ตรวจ หลัง จากซัก ประวัติผู้ป่วยแล้วยัง คงให้ผู้ป่วยนั่ง เพื่อ ตรวจร่า งกาย ในส่วนที่ผู้ตรวจสามารถใช้ทัก ษะในการดู การคลำ การเคาะ และการฟัง 3) การจัดท่านอนควรจั ด ให้ผู้ป่ วยนอนในท่ าที่ส บาย และมีผ้าสำหรับ ปกคลุม ร่ างกายผู้ป่ ว ย เพื่ อ ตรวจร่างกายในส่วนที่ผู้ตรวจสามารถใช้ทัก ษะในการดู การคลำ การเคาะ และการฟั ง 4) การตรวจในท่ า เดิ น หรื อ ยื น ผู้ ต รวจอาจสั ง เกตตั้ ง แต่ ผู้ ป่ ว ยเดิ น เข้ า มาในห้ อ งตรวจหรื อ ให้ ผู้ป่วยยืน หรือ เดินให้ดู 5) ควรตรวจให้ครบทุก ระบบไม่เ จาะจงเฉพาะที่คิดว่ามีปัญ หาเท่านั้น 6) ถ้ า มี ก ารตรวจที่ จ ะทำจะทำให้ เ กิ ด อาการเจ็ บ ต้ อ งอธิ บ ายให้ ผ ู้ ป่ ว ยเข้ า ใจก่ อ น เช่ น การกด อวัยวะบางส่วน 7) เมื่ อ ตรวจร่ า งกายทุ ก อวั ย วะครบถ้ว นแล้ ว หากพบสิ่ง ใดผิ ด ปกติ ค วรบอกผู้ป่ว ยหรื อ ญาติ และ อธิบ ายให้เ ข้าใจถ้าจำเป็นจะต้อ งมีก ารตรวจอย่างอื่นต่อ ไป 8) การตรวจควรทำอย่างรวดเร็ว ไม่ควรใช้เ วลานานเกินไปจนผู้ป่วยเกิดอาการอึดอัด เบื่อ หน่าย ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 3 จาก 13

อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจร่ างกาย หลั ก ปฏิ บ ั ติ ใ นการตรวจร่ า งกายทั่ ว ไป ประกอบด้ ว ย การตรวจทางชี ว ภาพและกายภาพ (Biological and physical examination) ได้แก่ ชั่ง น้ำหนัก วัดส่วนสูง ค่า BMI และการวัดสัญ ญาณ ชี พ (Vital signs) เป็นการตรวจวัดอุณหภูมิ ชีพ จร การหายใจ และความดันโลหิต ซึ่ง มีอุป กรณ์ส ำคัญ ในการตรวจร่างกายทางกายภาพ ประกอบด้วย 1) หู ฟั ง (Stethoscope) สำหรั บ ฟัง เสีย งการเต้ น ของหัว ใจ ฟั ง เสี ย งการหายใจ ฟั ง เสี ย งในช่อ ง ท้อ งฯลฯ 2) ไฟฉายแสงสี นวล สำหรั บ ตรวจดู ในช่ อ งหู ช่ อ งปาก ช่ อ งคอ ดูรู ม่ านตาฯลฯ 3) ไม้ก ดลิ้น ใช้ก ดลิ้นเพื่อ ให้มีความสะดวกในการตรวจในช่อ งคอ เพื่อ ดูท อนซิล 4) ไม้เ คาะเข่า สำหรับ การตรวจรีเ ฟล็ก ซ์ ที่มือ แขน ขา 4) ถุง มือ 5) เจลล้างมือ 6) กระดาษเช็ดมือ /สำลี 7) แบบบั น ทึ ก ารตรวจร่ า งกาย ซึ่ ง นั ก ศึ ก ษาควรดำเนิ น การตามลำดั บ ตั้ ง แต่ ก ารสั ง เกตอาการ ทั่วไป จนถึง การตรวจระบบประสาท

การตรวจร่างกายด้ว ยการดู (Inspection) หลั ก ในการดู คื อ ต้ อ งดู ใ ห้ ท ั่ ว และดู ใ ห้ เ ป็ น ระบบจากด้ า นหน้ า ด้ า นข้ า ง และด้ า นหลั ง เปรียบเทียบข้างขวา ซ้าย เพราะอาจพบความแตกต่างที่เ ป็นความผิดปกติ สิ่ง ที่ต้อ งดู คือ 1) สัง เกตดูกิริยา ท่าทางและลัก ษณะของผู้ป่วยตั้ง แต่เ มื่อ ผู้ป่วยเข้ามา เดินเข้ามาอย่างไร ท่าไหน ต้อ งมีใครช่วยพยุง ตัวมาหรือ ต้อ งหามมา หรือ นั่ง รถเข็น/เปลนอน ความพิก ารที่ม องเห็น 2) ผิวหนัง สีซีด หรือ เหลือ ง แดง เขียว คล้ำม่วง ผื่น ตุ่ม จ้ำ แผลหรือ ฝี ผิวหนัง เหี่ยวย่น เล็บ มือ เล็บ เท้า ซีด เหลือ ง เขียว ลัก ษณะผิวหนัง แห้ง ชุ่ม ชื้น 3) ศี ร ษะ ดู ห นั ง ศรี ษะ ลั ก ษณะ สะอาด หรื อ มี รั ง แค มี แผล ก้ อ นหรื อ ไม่ 4) หน้ า ดู ลั ก ษณะสี ภ ายนอก ปกติ หรื อ ซี ด เหลือ ง แดง เขี ย ว คล้ ำ ม่ ว ง บวม ฯลฯ มี ป ากเบี้ยว บวม มีแผล มีก้อ น หรือ ไม่ 5) หู ดูลัก ษณะหูภายนอก ติ่ง หู ยาวหรือ สั้น ใบหู ปกติห รือ ไม่ป กติ มีบ วม มีแผล มีก้อ นหรือ ไม่ มี รอยเจาะบริเ วณใบหูห รือ ไม่ ตำแหน่ง ของใบหูอ ยู่บ ริเ วณเดียวหรือ ต่ำกว่าหางตา ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 4 จาก 13

6) ตา ดู ก ารมองเห็ น ว่ า ชัด หรื อ ไม่ การเคลื่อ นไหวของลู ก ตา ลั ก ษณะผิ ด ปกติที่ พ บได้ คื อ สี ป กติ หรื อ เหลื อ ง แดง บวม ขี้ ต า กุ้ ง ยิ ง กระจกตา แก้ ว ตา (lens) ขุ่ น ขาว เยื่ อ ตาขาวอั ก เสบ (Conjunctivitis) เลื อ ดออกใต้ เ ยื ่ อ ตาขาว เยี ่ อ ตาขาวเป็ น สี เ หลื อ งแสดงถึ ง ภาวะดี ซ ่ า น (Jaundice) เปลือ กตา ปกติ แดงหรือ ซืดตรวจรูม่านตาโดยใช้ ไฟฉาย ว่ารูม่านตาขยายเท่ า กั น หรือ ไม่ ขนาดเท่าใด รูม่านตาไวต่อ แสงหรือ ไม่ 7) ปาก ดู ริ ม ฝี ป ากสี เ ป็ นอย่ า งไร ดู ภ ายในช่ อ งปาก มี บ วม มี แ ผลหรื อ ไม่ ใช้ ไ ฟฉายส่ อ งในช่ อ ง ปากโดยใช้ไ ม้ ก ดลิ้ น ช่ ว ย เพื่ อ ดู ฟั นมีฟัน ผุห รื อ ไม่ เหงื อ กปกติ ห รื อ อั ก เสบ ลิ้ น ปกติห รื อ หนา มันเลี่ยน เพดาน กระพุ้ง แก้ม ต่อ มทอนซิล เยื่อ บุคอ ปกติห รือ ผิดปกติ ขากรรไกแข็ง หรือ ไม่ 8) คอ ดูลัก ษณะภายนอกว่า มีคอแข็ง คางบวม หลอดเลือ ดที่คอโป่ง หรือ ไม่ต่อ มไทรอยด์แผ่นเยื่อ สีเ ทาเหลือ งปนเทาในลำคอ มีคอพอก หลอดเลือ ดดำที่คอโป่ง พอง คอเอียงหรือ ไม่ คอแข็ง คอ บวม มีก้อ นที่คอหรือ ไม่ 9) จมู ก ดู ภ ายในช่ อ งจมู ก และผนั ง กั้ น ช่ อ งจมู ก ดู ว่ า มี จุ ด เลื อ ดออกหรื อ มี สิ่ ง แปลกปลอมใดๆ หรือ ไม่ 10) ทรวงอกดูลั ก ษณะภายนอก รู ป ร่ า งทรวงอก มี แ ผล มี ก้ อ น มี ค วามพิ ก ารหรือ ไม่ ลั ก ษณะการ หายใจ ปกติห รือ หอบเหนื่อ ย

การตรวจร่างกายด้ว ยการคลำ (Palpation) เป็ น การใช้ นิ้ ว หรื อ ฝ่ า มื อ คลำ การคลำเป็ น สิ่ ง ที่ ต้ อ งทำเสมอในการตรวจทุ ก ราย เพื่ อ ยื น ยั น ความผิดปกติที่ม องเห็นด้วยตา เพื่อ หาสิ่ง ผิดปกติที่เ ห็นด้วยตา วั ตถุ ป ระสงค์ ของการคลำ 1) คลำก้อ น เพื่อ ดูขนาด ลัก ษณะ แข็ง อ่อ น อาการเจ็บ การคลำควรเริ่ม จากการคลำตื้นๆ บริเ วณ ผิ วหนั ง ก่ อ น แล้ วค่ อ ยๆ ลงลึ ก เข้ าไปถึง ส่วนกล้ามเนื้อ หรือ อวัยวะที่อ ยู่ข้างใน 2) คลำอวัยวะบางอย่างซึ่ง ในภาวะปกติจ ะคลำไม่ได้ เช่น ตับ ม้าม 3) คลำ เพื่อ เป็นการตรวจสอบอวัยวะบางอย่างที่อ ยู่ภายใต้ ว่ามีก ารเคลื่อ นไหวหรือ เต้นปกติห รือ ไม่ เช่น บริเ วณหัวใจ ปอด หลักและวิธีการคลำ ดัง นี้ 1) มือ ผู้ตรวจต้อ งสะอาดและควรใช้มือ ที่ถนัด ไม่ควรไว้เ ล็บ ยาว 2) ควรทำด้วยความสุภาพ นุ่ม นวล มือ ที่ใช้ไม่ควรจะเย็นจนเกินไป ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 5 จาก 13

3) ควรคลำส่ ว นที่ ต้ อ งการตรวจโดยไม่ มี เ สื้ อ ผ้ า คลุ ม การคลำควรใช้ทุก ส่ ว นของมื อ ที่ถ นั ด ให้ฝ่า มื อ และปลายนิ้ ว สั ม ผั ส โดยตรงกั บ บริ เ วณผิ ว หนั ง ที่ จ ะคลำ และขณะคลำให้ สั ง เกตสี ห น้ าของ ผู้ป่วยด้วย ค่อ ยๆ ทำ ไม่ควรขยำหรือ ใช้นิ้วจิก โดยคลำมือ เดียวหรือ คลำสองมือ 4) ในขณะคลำ ควรให้ส่วนที่ต้อ งการจะตรวจอยู่ในลัก ษณะคลายตัว หรือ หย่อ นตัว เพื่อ จะคลำได้ ง่ายขึ้น 5) ไม่คลำตรงบริเ วณที่เ จ็บ ปวดทันที ให้คลำบริเ วณรอบๆ ก่อ น แล้วจึง มาคลำที่เ จ็บ ปวดสุดท้าย 6) การคลำก้อ นต้อ งบอกขนาดและลัก ษณะ ความยืดหยุ่น การเคลื่อ นไหวการเจ็บ ปวดทุก ครั้ ง ที่ คลำ การคลำที่ต้องใช้เ ทคนิคพิเ ศษ 1) การคลำต่ อ มน้ ำ เหลื อ งบริ เ วณคอ ให้ ผู้ ป่ว ยก้ ม หน้ า เล็ ก น้ อ ย ผู้ ต รวจยื น ด้า นหลั ง หั น หน้ าตาม ผู้ป่วย วางมือ 2 ข้างลงบนคอผู้ป่วย ใช้ป ลายนิ้วส่วนของอุ้ง มือ กดคลึง ผิวหนัง ไปมา ผู้ป่วยต้อ ง ไม่ เ กร็ ง คลำต่ อ มน้ ำ เหลื อ งที ล ะกลุ่ ม กลุ่ ม ต่ อ มน้ ำ เหลื อ งบริ เ วณคอ ได้ แ ก่ หน้ า หู (preauricular) ห ลั ง หู ( posterior -auricular) ท้ า ย ท อ ย ( occipital) ต่ อ ม น้ ำ ล า ย ใ ก ล ้ หู (parotid) ใต้ ข ากรรไกรล่ า ง (submandibular) หน้ า คอ (anterior cervical) หลั ง คอ (posterior cervical) แนวคอลึ ก (deep cervical chain) และ เหนื อ ไหปลาร้ า (supraclavicular node) ต่อ มน้ำเหลือ งส่วนมากโตจากการติดเชื้อ แบคทีเ รีย สาเหตุจ ากการติดเชื้อ จากปาก ฟัน หู หน้า หนัง ศีร ษะ จะมีลัก ษณะนุ่ม ถ้าเกิดจากเชื้อ วัณโรคมัก จะแข็ง 2) การคลำต่ อ มธั ยรอยด์ ใช้ เ ทคนิ ค การคลำเหมือ นต่อ มน้ ำ เหลื อ ง แต่ ป ลายนิ้ ว ของมื อ ทั้ ง 2 ข้าง จะอยู่ บ นก้ อ นพร้ อ มทั้ ง ให้ ผู้ ป่ ว ยกลื น น้ ำ ลาย ดู ก ารเคลื่ อ นไหว ถ้ า เป็ น ต่ อ มธั ย รอยด์ ก้ อ นจะ เคลื่อ นตามการกลืน 3) การคลำหน้าท้อ งที่โ ตผิดปกติ สาเหตุได้แก่ 3.1) มีน้ำในช่ อ งท้อ ง (ascites) จะคลำไม่พ บก้อ นในภาวะตับ แข็ง การบวมที่เ ห็นภายในจะมี น้ ำ อยู่ ต้ อ งอาศั ย การเคาะจะได้ ยิ น เสี ย งทึ บ และเสี ย งเคาะจะเปลี่ ย นไป เมื่ อ ให้ ผู้ ป่ ว ยนอนหงายเป็น นอนตะแคง (Shift dullness) ถ้ า มี น้ ำ ในช่ อ งท้ อ งร่ ว มกั บ คลำก้ อ นใต้ ภ ายในช่ อ งท้ อ งได้ ใ ห้ นึ ก ถึ ง การ แพร่ ก ระจายของมะเร็ ง มายั ง เยื่ อ บุ ช่ อ งท้ อ งไว้ ด้ ว ย น้ ำ ที่ เ จาะออกมาจะเป็ น สี เ ลื อ ดแตกต่ า งกั บ ใน ผู้ป่วยตับ แข็ง 3.2) การตั้ ง ครรภ์ วิ นิ จ ฉั ย ได้ จ ากประวั ติ ก ารขาดประจำเดื อ น และพบการเคลื่ อ นไหวของ เด็ก จะคลำได้ก้อ น ซึ่ง เป็นขนาดของเด็ก ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 6 จาก 13

3.3) ลำไส้อุดตัน หน้าท้อ งจะบวมและผู้ป่วยจะมีอ าเจียน ท้อ งผูก ปวดท้อ ง 4) การคลำหน้าท้อ งผู้ป่วยที่มีอ าการปวดท้อ ง ภาวะปวดท้อ งเล็ก น้อ ยผู้ป่วยมัก จะทนได้และไม่ม า ตรวจ แต่ ถ้ า ผู้ ป่ ว ยปวดท้ อ งมากจนทำให้ น อนไม่ห ลับ ทำงานไม่ ไ ด้ จ นถึง เดิน ไม่ ไ ด้ จึ ง จะมาพบแพทย์ เทคนิ ค การตรวจให้ ผู้ ป่ว ยนอนหงายราบและใช้ นิ้ว ชี้ จี้ ตรงจุ ด ที่ เ จ็ บ มากที่ สุ ดให้ ดู ผู้ ต รวจควรให้ ผู้ ป่ วย ชั น เข่ า เล็ ก น้ อ ย และให้ อ้ า ปากหายใจเข้ า -ออกทางปาก การคลำหน้ า ท้ อ งบางครั้ ง อาจพบการแข็ ง เกร็ง ของกล้ามเนื้อ ทันทีทันใด ซึ่ง เป็นปฏิกิริยาของกล้ามเนื้อ เอง อาการปวดท้อ งมากที่นำผู้ป่ว ยมาหา ซึ่ ง พบบ่ อ ย ได้ แ ก่ การอั ก เสบเฉี ย บพลั นของไส้ ติ่ ง ไส้ ติ่ ง อั ก เสบแตกจนถึ ง มี ก ารอั ก เสบของเยื่ อ บุ ช่อ ง ท้อ ง (Peritonitis) ซึ่ง บางครั้ง จะรุนแรงและมีอันตรายถึง ตายได้ 5) การคลำตับ ม้าม 5.1) การคลำตั บ ตั บ อยู่ ใ ต้ ช ายโครงขวา การคลำให้ ผู้ ป่ ว ยนอนหงาย ใช้ มื อ ซ้ า ยรองรั บ ทาง ด้านหลัง ผู้ป่วย มือ ขวาวางบนหน้าท้อ ง โดยให้นิ้วทั้ง หมดขนานกับ ขอบชายโครงขวา หรือ ให้วางปลาย นิ้วทั้ง หมดหันหน้าไป ทางศีร ษะผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ ขยับ มือ เคลื่อ นขึ้นไปเรื่อ ยๆ จนคลำพบ ขอบตั บ เนื่ อ งจากตั บ เป็ น อวั ย วะที่ ส ำคั ญ ฉะนั้ น การคลำแล้ ว พบตั บ โตต้ อ งระบุ ขนาด (size) ลั ก ษณะผิ ว (surface) เรี ย บ (smooth) หรื อ ขรุ ข ระ (nodular) ขอบ (edge) บาง (thin) มน (blunt) หรือ คม (sharp) ความแน่น (consistency) นุ่ม (soft) แน่น (firm) หรือ แข็ง (hard) การ กดเจ็บ (tenderness) มี ห รือ ไม่ ในคนปกติตับ อาจคลำไม่ได้ห รือ คลำได้ขนาด 1-2 ซม. จากใต้ ชายโครงขวา ผิ วเรี ยบ ขอบบาง นุ่ม กดไม่เ จ็บ ลัก ษณะที่ผิดปกติ ได้แก่ ตับ โต ผิวเรียบ ขอบคม แน่น กดเจ็บ พยาธิส ภาพเป็นตับ แข็ ง ไขมั น ที่ ตั บ ตั บ โต ผิ ว เรี ยบ ขอบบางหรื อ มน นุ่ ม หรื อ แน่ น กดเจ็ บ พยาธิ ส ภาพเป็ น ตับ อั ก เสบ ฝี ที่ตับ เลื อ ดคั่ ง ในตั บ มะเร็ ง ตั บ ตั บ โต ผิ ว เรี ย บ ขอบคม แข็ ง กดเจ็ บ หรื อ ไม่ เ จ็ บ พยาธิ ส ภาพเป็ น มะเร็ ง ตั บ เป็นต้น 5.2) การคลำม้ า ม ม้ า มอยู่ ใ ต้ ช ายโครงซ้ า ย การคลำให้ ใ ช้ มื อ ซ้ า ยดั น จากด้ า นหลั ง ของผู้ ป่วย ระดั บ ชายโครงซ้ า ยมื อ วางบนหน้ า ท้ อ งผู้ ป่ ว ยให้ นิ้ ว ได้ ตั้ ง ฉากกั บ ชายโครงด้ า นซ้ า ย ตั้ ง ต้ น คลำตั้ ง แต่ ด้ า นล่ า งขึ้ น มาเรื่ อ ยๆ เพื่ อ ป้ อ งกั น การผิ ด พลาดในรายที่ ม้ า มโตมาก ถ้ า คลำไม่ ไ ด้ อ าจให้ ผู้ ป่ วยนอน ตะแคงขวา งอเข่าซ้าย และสะโพก เล็ก น้อ ย ม้ามมัก คลำได้เ มื่อ โต กว่าปกติ 2-3 เท่า บางโรคม้ามโต ไม่ม าก แต่มีบ างโรคม้ามโตมากจนเต็ม ช่อ งท้อ ง สาเหตุที่ม้ามโต คือ ม้ามโตไม่ม ากพบในโรคความดั น โลหิ ต สู ง ในตั บ (Portal Hypertension) ทั ย ฟอยด์ ธาลั ส ซี เ มี ย infectious mononucleosis

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 7 จาก 13

มาลาเรีย ฯลฯ ม้ามโตมากพบใน โรคธาลัส ซีเ มีย มะเร็ง เรื้อ รัง ชนิดไมอีโ ลไซด์ (Chronic myelocytic leukemia) ฯลฯ

การตรวจร่างกายด้ว ยการเคาะ (Percussion) เป็นวิธีก ารตรวจที่ยากกว่าวิธีอื่น ผู้ตรวจจำเป็นต้อ งฝึก ปฏิบัติให้ม าก การเคาะที่ถูก ต้อ งจะรู้ถึง ความโปร่ง หรือ แน่นทึบ ของอวัยวะที่อ ยู่ข้างใต้ท ำให้เ ราสามารถรู้ได้ว่า ควรเป็นอวัยวะใด หลักการเคาะ 1) วางนิ้วกลางของมือ ข้างซ้าย (ถ้าเราถนัดขวา) แนบลงบนผิวหนัง บริเ วณที่เ ราต้อ งการเคาะ 2) เคาะลงไปบนกระดูก ข้อ ที่ 2 ของนิ้วกลางซ้ายที่ว างไว้นั้น ด้ วยนิ้ วกลางด้ านขวา โดยการกระดก ข้อ มือ ขึ้นลง ในขณะที่นิ้วกลางข้างขวาที่เ ป็นตัวเคาะงอเล็ก น้อ ย 3) ควรเคาะประมาณ 2-3 ครั้ง ในแต่ล ะจุด 4) ขณะเคาะต้อ งพยายามฟัง เสียงที่เ กิดขึ้นว่าเป็นเสียงโปร่ง หรือ ทึบ มากน้อ ยเพียงใด 5) ควรเปรียบเทียบเสียงที่เ คาะได้จ ากอีก ข้างหนึ่ง เสมอ เสียงที่โ ปร่ง เกิดจากการเคาะลงไปบนอวั ย วะที่ เ ป็น โพรงและมีอ ากาศอยู่ เช่น ปอด กระเพาะ ลำไส้ ฯลฯ เสียงทึบ เกิดจากการเคาะลงไปบนอวัยวะที่เ ป็นเนื้อ แน่น เช่น ตับ หัวใจ ต้นขา ถ้าต้อ งการเคาะดู ข นาดของอวัย วะนั้ นๆ ควรรู้ขอบเขตของอวัย วะนั้ นๆ ให้ดีเ สียก่อ น และการ เคาะก็ควรวางนิ้วทาบขนานลงไปกับ ขอบของอวัยวะนั้น แล้วเคาะไล่จ ากด้านหนึ่ง ไปยัง อีก ด้านหนึ่ง เสียงที่ได้ยินจากการเคาะในสภาวะปกติบ นอวัย วะต่างๆ ได้แก่ ปอด เสียงโปร่ง (resonance) กระเพาะ ลำไส้ เสียงโปร่ง มาก หัวใจ ตับ เสียงทึบ ต้นขา เสียงทึบ มาก ผลของการเคาะที่บ่ง บอกโรคหรือ ความผิดปกติ ได้แก่ 1) การเคาะลงบนปอดที่ เ สี ย งโปร่ ง มาก แสดงว่ า ปอดนั้ น มี ถุ ง ลมใหญ่ ก ว่ า ถุง ลมในปอดปกติ อาจเกิ ด ขึ ้ น ในปอดเองหรื อ คลุ ม อยู ่ บ นปอด ถ้ า เป็ น ภาวะของถุ ง ลมปอดโป่ ง พอง (emphysema) พบในผู้ป่วยหอบหืดเรื้อ รัง ถ้าเป็นภาวะที่มีถุง ลมใหญ่เ กิดขึ้นในรายถุง ลม ในปอดแตก (pneumothorax) ในทางตรงกันข้ าม ถ้าเคาะลงบนปอดแล้ ว ได้ยิ นเสี ยงทึ บ แสดงว่ามีน้ำหรือ หนองในถุง ลมปอด ซึ่ง พบได้ในรายที่ป อดบวม แต่ถ้าได้ยินเสียงทึบ แน่ น มาก แสดงว่ า มี ถุ ง น้ ำ ใหญ่ ป กคลุ ม ปอดอยู่ พบในกรณี ที่ มี น้ ำ หรื อ หนองขั ง อยู่ ใ นช่ อ งปอด (pleural effusion หรือ empyema) และการเคาะลงบนปอดเด็ก ควรกระทำเบากว่ า ใน ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 8 จาก 13

ผู้ ใ หญ่ การเคาะแรงทำให้ ไ ม่ ส ามารถบอกความแตกต่ า งของเสี ย งได้ ว่ า โปร่ ง หรื อ ทึ บ เพียงใด 2) การเคาะดูขอบเขตของอวัยวะ เช่น ตับ ม้าม พบว่า ขยายโต กว่าปกติ แสดงว่าอวัยวะนั้น ขนาดโตขึ้ น และในทางตรงกั น ข้ าม ถ้ า อวั ย วะนั้ น มี ข นาดเล็ก การเคาะอาจบอกตำแหน่ง และขนาดของอวัยวะนั้นด้วย 3) การเคาะลงบนหน้ า ท้ อ งแล้ ว ได้ เ สี ย งทึ บ แทนที่ จ ะเป็ น เสี ย งโปร่ ง ของกระเพาะและลำไส้ ตามปกติอ าจแสดงว่า มี น้ ำหรื อ หนอง หรือ เลือ ด หรือ ก้อ นผิดปกติ ใ นช่อ งท้ อ ง จะตรวจได้ เหมือ นกับ มีน้ำในช่อ งท้อ ง (ascites) หรือ อาจคลำก้อ นได้ถ้าเป็นก้อ นผิดปกติ การเคาะโดยตรง (direct percussion) ส่ ว นใหญ่ เ คาะเพื่ อ ตรวจหาตำแหน่ ง ที่ ส งสั ย จะมี อ วั ย วะ ภายในอั ก เสบ อาจตรวจโดยการใช้ ป ลายนิ้ว ฝ่ า มื อ สั น มื อ หรื อ กำปั้ น ทุ บ เบาๆ ลงตรงตำแหน่ ง นั้น หรื อ ตรงตำแหน่ ง อื่ น แต่ มี ผ ลกระทบต่ อ บริเ วณที่อัก เสบถ้ า มี ก ารอัก เสบภายใน ผู้ ป่ ว ยจะมี อ าการเจ็บ มาก เช่น การใช้ก ำปั้นทุบ เบาๆ บริเ วณกระเบนเหน็บ (Cost vertebral angle) เป็นการทดสอบการ อั ก เสบของกรวยไต (pyelonephritis) ฯลฯ

การตรวจร่างกายด้ว ยการฟั ง (Auscultation) เป็ น วิ ธี ก ารตรวจโดยอาศั ย การได้ ยิ น โดยทั่ ว ไปแล้ ว จะต้ อ งมี เ ครื่ อ งช่ ว ยในการฟั ง ให้ ไ ด้ ยิ น ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น คื อ หู ฟ ั ง (Stethoscope) การฟั ง เป็ น การตรวจแยกโรคในระบบหั ว ใจ หลอดเลื อ ด ระบบหายใจ และระบบทางเดินอาหาร ซึ่ง การฟัง ด้วยหูฟัง มีห ลัก ดัง นี้ 1) ห้อ งตรวจจะต้อ งเงียบไม่มีเ สียงรบกวนจากภายนอก 2) ควรวางหู ฟั ง ส่ ว นอก (chest piece) ลงบนอกให้แ นบแน่ น ไม่ ใ ห้ เ ผยอข้ า งใดข้ า งหนึ่ง เพราะจะ ทำให้ ไ ด้ ยิ น เสี ย งอี่ น ๆ และการวางหู ฟั ง ส่ ว นอกบนเสื้ อ จะทำให้ ไ ม่ ไ ด้ ยิ น เสี ย ง ไม่ ชั ด เจน หรื อ ผิ ดพลาดได้ 3) การกระทบกันของสายท่ อ ยาง (tubing) และนิ้วของผู้ตรวจไปเสี ยดสีกับ ท่อ ยาง หรือ หูฟัง ส่ ว น อกจะทำให้เ กิดเสียงเสียดสีกัน 4) การใช้ หู ฟั ง ส่ ว นอกชนิด แบน (diaphragm) จะช่ ว ยตั ด เสี ยงที่ มี ความถี่ต่ ำให้ ค่ อ ยลงทำให้ ไ ด้ยิน เสี ย งที่ มีค วามถี่ สู ง ดั ง เพิ่ม ขึ้ น เวลาใช้ ต้ อ งกดหู ฟั ง ส่ ว นอกชนิ ด แบนให้ แ นบกั บ ผิ ว หนั ง ผู้ ป่ ว ยให้ มากที่สุด

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 9 จาก 13

5) การใช้หูฟัง ส่วนอกชนิด ถ้ วย (bell) ปกติใช้รับ ฟัง เสียงที่มีค วามถี่ต่ำโดยวางหูฟัง ส่ วนอกรูป ถ้ ว ย เบาๆ บนผิวหนัง ผู้ป่วยให้เ พี ยงพอที่จ ะตั ดเสียงรบกวนจากภายนอก ถ้ากดแรงๆ ผิวหนัง ผู้ ป่ ว ย ส่วนที่ถูก กดจะทำหน้าที่คล้ายหูฟัง ส่วนอกชนิดแบนแล้วตัดเสียงต่ำออกไป 6) ควรฟั ง จากบนและล่ า งเที ยบกั น สองข้ างในระดั บ เดี ย วกั น ทั้ ง ด้ านหน้ า และหลัง เช่ น ในการฟั ง เสียงหายใจ ในการรัก ษาพยาบาลเบื้อ งต้ น ผู้ให้บ ริก ารตรวจควรมีความสามารถที่จ ะใช้หูฟัง เพื่อ แยกระบบ ที่ส ำคัญ 2 ระบบ คื อ

1) ระบบหัวใจและหลอดเลือ ด ใช้หูฟัง ในการแยกเสียงหัวใจที่ป กติ และผิดปกติได้ หัวใจปกติ มี 2 เสียง เสียงที่ห นึ่ง จะดัง กว่าเสียงที่ส อง ถ้าระหว่าง 2 เสียงมีเ สียงแปลกปลอมแทรกเข้ามาเรียกว่า เมอร์เ มอร์ (murmur) ซึ่ง แสดงถึง ความผิดปกติ ถ้าพบต้อ งแนะนำให้ พบแพทย์ต่อ ตำแหน่ง ที่นิยมฟั ง เสียงหัวใจใช้ตำแหน่ง หมายเลข 1 อยู่ตรงช่อ งระหว่างซี่โ ครงที่ 5 ด้ านซ้ าย ห่ างจากแนวถึง กึ่ ง กลาง กระดู ก ไหปลาร้ า ซึ่ ง เป็ น ตำแหน่ ง ยอดของหั ว ใจ (apex) เป็ น การตรวจสภาพของลิ้ น หั ว ใจไมทรั ล หมายเลข 2 อยู่ตรงช่อ งระหว่างซี่โ ครงที่ 2 ด้านซ้ายของหน้าอก เป็นตำแหน่ง ของลิ้นหัวใจพลูโ มนารี (pulmonary valve) หมายเลข 3 อยู่ตำแหน่ง เดียวกับ หมายเลข 2 แต่อ ยู่ด้านขวาของหน้ าอก เป็ น ตำแหน่ ง ของลิ้ น หั ว ใจเอออติ ก (aortic valve) หมายเลข 4 อยู่ ต ำแหน่ ง ข้ า งซ้ า ยของปลายล่ า ง กระดูก หน้าอก เป็นตำแหน่ง ของลิ้นหัวใจไตรคัส ปิด (tricuspid valve) ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 10 จาก 13

2) เสี ย งหายใจ ปกติ จ ะมี เ สี ย งหายใจเข้ า (inspiration) และหายใจออก (expiration) บางครั้ ง เสี ย งจะฟั ง ยาก โดยเฉพาะในผู้ ที่ มี ก ล้ า มเนื้ อ หนา ควรบอกให้ ผู้ ป่ ว ยหายใจลึ ก ๆ จึ ง จะได้ ยิน เสียง การได้ยินเสียงหายใจที่ผิดปกติ เช่น 2.1) Stridor เป็ น เสี ยงหายใจที่ ดั ง พบในรายมี ก ารอุด ตัน ของหลอดลมส่ว นต้น หรื อ มีสิ่ง แปลกปลอมอุดตั นทางเดินหายใจ 2.2) Wheezing เสี ย งลั ก ษณะเดี ยวกับ Stridor แต่ เ บากว่ า เนื่ อ งจากเกิ ด การอุ ดตันของ หลอดลมเล็ก ส่วนปลาย เช่น พวกหอบหืด 2.3) Rhonchi เป็ น เสี ย งลมที่ ผ่ า นหลอดลมที่ มี น้ำ อยู่ ภ ายใน หรื อ เยื่ อ บุห ลอดลมบวม คั่ ง ด้วยน้ำ พบได้ในรายที่มีห ลอดลมอัก เสบ (Bronchitis) 2.4) Rale หรือ Crepitation เป็นเสียงลมที่ผ่านเข้าถุง ลมปอด ที่มีน้ำหลั่ง อยู่ภายใน และ มีผ นัง ถุง ลมบางส่วนติดกัน เมื่อ มีล มผ่านเข้าไปทำให้ถุง ลมแยกออกจากกันจะเกิดเสียงคล้ายเสียงบี้ ผ ม พบได้ในผู้ป่วยปอดบวม

การบันทึกผลการตรวจร/างกาย อาการทั่วไป General Appearance ผิวหนัง Skin

ศีรษะ

Head หน/า Face

q ดี q ซึม q เอะอะ q ไม8รู/สกึ ตัว q อ/วน q ปานกลาง q ผอม q ปกติ q ต/องมีคนพยุงเดิน q นั่งรถเข็น q ปกติ q ซีด q เหลือง q เขียว q ไม8มี q มี โปรดระบุตำแหน8งที่พบและขนาด………………………………….. q ไม8มี q มี โปรดระบุตำแหน8งที่พบและขนาด………………………………….. q ไม8มี q มี โปรดระบุตำแหน8งที่พบและขนาด………………………………….. q ปกติ q ซีด q เหลือง q เขียว q ปกติ q แห/ง q ชุ8มชื้น ลักษณะ q สะอาด q มีรังแค แผล q ไม8มี q มี โปรดระบุตำแหน8งและขนาด…………………….……… ก/อน q ไม8มี q มี โปรดระบุตำแหน8งและขนาด…………………….……… คลำ ก/อนหนังศีรษะ กดเจ็บ q ไม8มี q มี โปรดระบุตำแหน8งและขนาด…….…… ดูลักษณะสี q ปกติ q ซีด q แดง q เหลือง ภายนอก ปากเบี้ยว q ไม8มี q มี พบที่……………………………….. บวม q ไม8มี q มี พบที่……………………………….. แผล q ไม8มี q มี พบที่……………………………….. ก/อน q ไม8มี q มี ระบุขนาดและตำแหน8งพบที…่ ……………… คลำ ทั่วใบหน/า กดเจ็บ q ไม8มี q มี พบที่……………………………….. ความรู/สึกตัว รูปร8าง ท8าเดิน ดู สีผิวทั่วไป ผื่น ตุม8 จ้ำ แผลหรือฝ[ ผิวหนังเหี่ยวย8น เล็บมือเล็บเท/า ลักษณะผิวหนัง ดู หนังศีรษะ

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 11 จาก 13

การบันทึกผลการตรวจร/างกาย หู Ears

ตา Eyes

ตา Eyes

จมูก Nose ปาก Mouth

คอ

ติ่งหู q ยาว q สั้น ใบหู q ปกติ q ไม8ปกติ โปรดระบุ.................... ใบหู q เท8ากันทั้ง 2 ข/าง q ไม8เท8ากันทั้ง 2 ข/าง บวม q ไม8มี q มี ระบุขนาดและตำแหน8ง…………………………… แผล q ไม8มี q มี ระบุขนาดและตำแหน8ง…………………………… ก/อน q ไม8มี q มี ระบุขนาดและตำแหน8ง…………………………… รอยเจาะบริเวณใบหู q ไม8มี q มี ตำแหน8งของใบหู q อยู8บริเวณเดียวกับหางตา q ต่ำกว8าหางตา คลำ ใบหู q ไม8มีกดเจ็บ q กดเจ็บ ดูภายในรูหู ใช/ไฟฉายส8อง ทีละข/าง ขี้หู q ไม8มี q มี น้ำเหลืองไหล q ไม8มี q มี มีอาการ หูอื้อ q ไม8มี q มี หูหนวก q ไม8มี q มี ดูลักษณะภายนอก สี q ปกติ q เหลือง q แดง บวม q ไม8มี q มี พบที่…………………… ขี้ตา q ไม8มี q มี พบที่…………………… กุ/งยิง q ไม8มี q มี พบที่…………………… กระจกตา q ใส q ขุ8น q เปiนแผล แก/วตา q ใส q ขุ8น รูม8านตา q เท8ากัน 2 ข/าง ขนาด.................ม.ม. q ไม8เท8ากัน ขนาด ซ/าย.................ม.ม. ขวา.................ม.ม. q ไวต8อแสง q ช/า q ไม8มีปฏิกิริยาต8อแสง เปลือกตา q ปกติ q แดง q ซีด ดูภายในช8องจมูก q ปกติ q มี…………..…………. ผนังกั้นช8องจมูก q ปกติ q มี…………..…………. ดูลักษณะ ภายนอก

ดูลักษณะภายนอก ริมฝ[ปาก สี q ปกติ q ซีด q แดง บวม q ไม8มี q มี แผล q ไม8มี q มี ฟqน q ปกติ q ฟqนผุ q ฟqนคุด เหงือก q ปกติ q อักเสบ q เปiนแผล ลิ้น q ปกติ q ผิวหนา q มันเลี่ยน จุดแดงที่กระพุง/ แก/ม/เพดานปาก/ลิ้นไก8 q ไม8มี q มี พบที่………..…… จุดค็อปลิก (Koplik spot) q ไม8มี q มี พบที่…………………………...…… เยื่อบุคอ q ปกติ q แดง qระบุขนาด………...เล็กน/อย ปานกลาง มาก แผ8นเยื่อสีเทา/เหลืองปนเทาในลำคอ q ไม8มี qมี พบที่.................. ขากรรไกรแข็ง q ไม8มี q มี ดูลักษณะภายนอก คอแข็ง q ไม8มี q มี พบที่……………….……

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

หน้ า 12 จาก 13

การบันทึกผลการตรวจร/างกาย Neck

ทรวงอกและ ปอด Thorax and lung

คางบวม q ไม8มี q มี พบข/าง…………………. คลำ ก/อนที่คอ q ไม8มี q มี พบที่……………….…… หลอดเลือดที่คอ q ปกติ q โปvง พบที่……………….…. ต8อมน้ำเหลือง q ปกติ q โต พบที่………………..…. ขนาด.........ซ.ม. ลักษณะภายนอก รูปร8างทรวงอกทั่วไป q ปกติ q ผิดปกติ ระบุ………………………..…..…. แผล q ไม8มี q มี ก/อน q ไม8มี q มี ความพิการ q ไม8มี q มี ลักษณะการหายใจ q ปกติ q หอบ หลอดลม q อยู8ตรงกลาง q เบี้ยวไปข/าง...................................... การเคลื่อนไหวของปอด q เท8ากัน 2 ข/าง q ไม8เท8ากัน คลำทรวงอกทั่วไป กดเจ็บ q ไม8มี q มี พบที.่ ......................................... เคาะ เสียงเคาะ q ปกติ q ทึบ q โปร8ง ฟqง เสียงหายใจ q ปกติ q เสียงค8อย พบที.่ ................................ q เสียงอี๊ดค8อย พบที.่ ................................................... q เสียงกรอบแกรบ พบที่............................................. q เสียงวี้ด พบที่...........................................................

ท/อง Abdomen

ดูลักษณะภายนอก รูปร8าง q ปกติ q อืด หลอดเลือดพองที่หน/าท/อง q ไม8มี q มี พบที.่ ................................. รอยผ8าตัด q ไม8มี q มี พบที.่ ......................................... ท/องมาน q ไม8มี q มี ระบุขนาด.................................. ฟqง ลำไส/เคลื่อนไหว q ปกติ q มาก q น/อย q ไม8ได/ยินเลย เคาะ ท/อง เสียงเคาะ q ปกติ q โปร8ง q ทึบ คลำ ท/องแข็ง q ไม8มี q มี ระบุขนาดและตำแหน8ง.................................... อาการกดเจ็บ q ไม8มี q มี พบที่........................................... อาการกดปล8อยแล/วเจ็บ q ไม8มี q มี พบที่........................................... คลำ ก/อน q ไม8มี q มี พบที่........................................... ขนาด ............. ซม. กดเจ็บ q ไม8มี q มี

แขนขา Extremities

ดูลักษณะภายนอก รูปร8าง q ปกติ q มีความพิการ บวม q ไม8มี q บวม ระบุขนาด ……………………………….…….. ข/อ q ปกติ q บวม q แดงพบที…่ ………………………..….. กำลังกล/ามเนื้อ q แข็งแรง q อ8อนแรง พบที่.................................. q อัมพาต (ยกไม8ได/) พบที่ ................................................... นิ้วมือ q ไม8ปุ~ม q ปุ~ม ฝvามือ q ปกติ q ซีด q แดง

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจประเมิ นการเจ็ บป่ วยเบื้ อ งต้ น

การบันทึกผลการตรวจร/างกาย ระบบประสาท Neurologic

ระดับความรูส/ ึกตัว q ดี ความจำ q ดี คำพูด q ปกติ

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

q ซึม q เอะอะ q ไม8มี q ไม8ปกติ

หน้ า 13 จาก 13

q ไม8รู/สึกตัว

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.