【 52311x52404 】เรื่อง การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการบวม

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการบวม

หน้ า 1 จาก 4

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการบวม ภาพปก “Flower meadow” โดย Gerhard Gellinger (2018) จาก pixabay.com/en/ nature-flowers-spring-flower-meadow-3232010

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการบวม

หน้ า 2 จาก 4

ความหมายของอาการบวม การบวม (edema) เป็ น อาการแสดงของภาวะผิ ด ปกติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการมี ส ารน้ ำ อยู่ ใ น เนื้อ เยื่อ หรือ ในช่อ งว่างระหว่างเซลล์ ปริม าณน้ำที่เ พิ่ม ขึ้นจากปกติ ตั้ง แต่ร้อ ยละ 5 ของร่างกาย หรื อ ประมาณ 2.5-3 ลิตรขึ้นไป จึง จะแสดงให้เ ห็นเป็นอาการบวม

ลักษณะของอาการบวม ส่ ว นใหญ่ ข องอาการบวมมัก เป็ นแบบกดบุ๋ ม (Pitting Edema) ส่ ว นมากจะเริ่ม บวมที่ ห นั ง ตา บนก่อ น เนื่อ งจากเป็นบริเ วณที่มีแรงดันของเนื้อ เยื่อ ต่ำ หรือ พบในส่วนล่างของร่างกาย เช่น หน้าแข้ ง หลั ง เท้ า เป็ น ต้ น เนื่ อ งจากผลของแรงโน้ ม ถ่ ว งของโลก กรณี ที่ บ วมไม่ ม าก ผู้ ป่ ว ยมั ก ให้ ป ระวั ติ ว่ า แหวนหรือ รองเท้าที่ส วมอยู่คับ ขึ้น (ดัง ภาพที่ 8.8) ส่ วนน้ อ ยของอาการบวมเป็ นแบบกดไม่บุ๋ม (Non pitting Edema) เช่น ที่พ บในผู้ป่วยที่มี ภ าวะพร่อ งฮอร์ โ มนธัยรอยด์ (Hypothyroidism) (ดัง ภาพ ที่ 8.9)

ภาพที่ 8.8 อาการบวมแบบกดบุ๋ม (Pitting Edema)

ภาพที่ 8.9 อาการบวมแบบกดไม่บุ๋ม (Non Pitting Edema)

สาเหตุของอาการบวม ภาวะที่ท ำให้เ กิดการบวมมีอ ยู่ห ลายสาเหตุ อาจสรุป ได้กัง นี้ 1) หลอดเลือ ดฝอยได้รับ อันตราย ทำให้มีของเหลวไหลออกจากหลอดเลือ ดฝอยเข้าสู่ช่อ งว่างใน เนื้อ เยื่อ มากขึ้น จะทำให้เ กิดการบวม ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการบวม

หน้ า 3 จาก 4

2) การอุ ด ตั น ของหลอดน้ ำ เหลื อ งและต่ อ มน้ ำเหลื อ ง ทำให้ ไ ม่ ส ามารถถ่ า ยเทน้ำ เหลื อ งให้ไหล ออกไปจากช่อ งว่างในเนื้อ ยื่อ ได้ จะมีก ารคั่ง ของน้ำเหลือ งภายในช่อ งว่ างของเนื้อ เยื่ อ เช่น ใน ผู้ ป่ ว ยโรคเท้ า ช้ า ง ที่ มี พ ยาธิ ไ ปอุ ด ตั น หลอดน้ ำ เหลื อ งบริ เ วณขาหนี บ ทำให้ ข าบวมโต หรื อ ผู้ป่วยที่มีก ารแพร่ก ระจายของมะเร็ง มาที่ต่อ น้ำเหลือ ง 3) ภาวะโปรตี น ในเลื อ ดลดต่ ำ ลง ทำให้ เ กิ ด การบวมขึ้ น พบได้ ใ นโรคที่ มี ค วามผิ ด ปกติ ใ นการ ทำงานของไต และคนที่ขาดสารอาหารโปรตีน 4) ผู้ป่วยโรคหัวใจจะมีอ าการบวมที่ขา และในระยะที่หัวใจล้ม เหลวจะบวมทั่วตัว เกิดจากมีเ ลือ ด คั่ง ไม่ส ามารถจะไหลกลับ เข้าหัวใจได้ จึง เกิดอาการบวมขึ้น 5) สำหรับ ผู้ป่วยที่มีภาวะพร่อ งฮอร์ โ มนธั ยรอยด์ (Hypothyroidism) จะพบมีก ารรั่วของโปรตี น จากหลอดเลือ ดมาจับ กับ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการบวมแบบกดไม่บุ๋ม (ดัง ภาพที่ 8.9)

การวินิจฉัยแยกโรค การวิ นิ จ ฉั ย หาสาเหตุข องอาการบวมทำได้โ ดยการใช้ข้ อ มู ล ทั้ง จากการตรวจร่า งกายและจาก ผลการส่ง ตรวจทางห้อ งปฏิบัติก าร ได้ดัง นี้ การวิ นิ จ ฉั ย หาสาเหตุ ข องอาการบวม สามารถแบ่ ง อาการบวมออกเป็ น 2 กลุ่ ม ใหญ่ คื อ อาการบวมทั้ง ตัว (Generalized Edema) กับ อาการบวมเฉพาะที่ (Localized Edema) 1) อาการบวมทั้งตัว (Generalized Edema) ส่ วนใหญ่ เ กิ ดจากโรคหั วใจล้ ม เหลว โรคตั บ แข็ ง โรคไต หรือ ภาวะทุพ โภชนาการ อาการบวมในโรคหัวใจล้ม เหลว อาจเกิดภาวะน้ำท่วมปอด มี อาการตับ โต และเส้นเลือ ดดำที่คอโป่ง พองขึ้นอยู่กับ ตำแหน่ง พยาธิส ภาพของหัวใจ 2) อาการบวมเฉพาะที่ (Localized Edema) ส่ ว นใหญ่ เ กิ ดจากการอุ ด ตั น ของหลอดเลื อ ดดำ หรือ ทางเดินน้ำเหลือ ง เช่น ผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ด้ วยปัญ หาปวดน่ อ ง บวม แดง ร้อ นและกด เจ็บ ตามหลอดเลือ ดดำที่ขา มีภาวะตับ แข็ง แล้วทำให้เ กิ ดอาการบวมที่ ขาและอาการท้อ งมาน สำหรับ ผู้ป่วยที่มีภาวะพร่อ งฮอร์โ มนธัยรอยด์ จะมี อาการบวมแบบกดไม่บุ๋ม การวินิจฉัย หาสาเหตุข องอาการบวมทำได้โ ดยการใช้ข้ อมูล ทั้ง จากการตรวจร่า งกายและ จากผลการส่งตรวจทางห้ อ งปฏิบัติการ เช่น ตรวจหาระดับ ของโปรตีนหรื อ อัล บูมิ นในเลือ ด ครีเ อติ นิ น ในเลื อ ด โปรตี น ในปั ส สาวะ เพื่ อ แยกโรคไตวาย โรคไตในกลุ่ ม อาการเนโฟรติ ก การอุ ด ตั น ของ ระบบ โรคตั บ แข็ ง โรคขาดสารอาหารอย่ างรุ นแรง เป็ นต้ น การซัก ประวัติ ตรวจร่างกาย และบางครั้ง อาจมีผ ลชั ณสู ตรทางห้อ งปฏิบั ติก ารมาประกอบ จะทำให้ ส ามารถวิ นิ จ ฉั ย แยกโรคในกลุ่ ม อาการบวมได้ ถู ก ต้ อ งยิ่ ง ขึ ้ น นั ก ศึ ก ษาสามารถศึ ก ษา รายละเอียดการวินิจ ฉัยแยกโรคในกลุ่ม อาการบวมได้ในเอกสารการสอน ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการบวม

หน้ า 4 จาก 4

การดูแลเบื้องต้นกลุ่มอาการบวม เนื่องจากอาการบวมเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ การรักษาที่ดีที่สุดจึงเป็นการรักษาที่ต้นเหตุนั้น 1) วิธีการรักษาอาการบวมเบื้องต้น โดยทั่วๆ ไป มีดัง ต่อ ไปนี้ 1.1 จำกั ด การได้ ร ั บ สารน้ ำ เกลื อ แร่ โดยจำกั ด ปริ ม าณน้ ำ ไว้ เ ท่ า กั บ ปริ ม าณที่ ผู้ ป ่ ว ยได้ ปัส สาวะออกไป (Urinary Loss) รวมกับ ปริม าณน้ำที่สูญ เสียไปโดยไม่รู้สึก ตั ว (insensible Loss) ใน แต่ล ะวัน จำกัดปริม าณเกลือ แร่โ ซเดียมที่ได้รับ ต่อ วัน 1.2 ให้ น อนพั ก ผ่ อ นในท่ า หนุ น ขาสู ง เพื่ อ ให้ น้ ำ ไหลกลั บ เข้ า สู่ ภ ายในหลอดเลื อ ดมากขึ้ น ปัส สาวะจะได้อ อกมากขึ้น 1.3 แพทย์จ ะใช้ยาขั บ ปั ส สาวะ (Diuretics) เพื่อ ลดการดูดซึม เกลือ แร่โ ซเดียมกลับ ที่ท่อ ไต 2) การลดอาการบวม ควรให้น้ำ หนักตัวค่อยลดลงอย่า งช้า ๆ เพื่อ ป้อ งกันภาวะแทรกซ้อ น 3) กรณี ที่ เ กิ ด จากภาวะหั ว ใจล้ ม เหลว หรื อ บวมจากจากโรคไตในกลุ่ ม อาการเนโฟรติ ก หรือเกิดจากการมีส ารอัล บูมินต่ำ แพทย์จ ะให้ยาอย่างอื่นร่วมด้วย

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.