【 52311x52404 】เรื่อง การเช็ดตัวลดไข้

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 1 จาก 9

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การเช็ดตัวลดไข้ ภาพปก “Fever Thermometer” โดย Myriam (2017) จาก pixabay.com/en/cold-ill-fever-thermometer-1972619

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 2 จาก 9

เมื่อไร ? ต้องเช็ดตัวลดไข้ 1.1 อุณหภูมิเ ท่าไรจึงจัดว่าเป็นไข้ ไข้ เกิ ด จากกลไกของร่ า งกายที่ ต่ อ สู้ กั บ เชื้ อ โรค ทำให้ ร ่ า งกายมี อุ ณ หภู มิ สู ง กว่ า ปกติ เป็ น สัญ ญาณเตือ นว่ามีก ารติดเชื้อ ในร่ างกายและร่างกายกำลัง สร้างกลไกต่อ สู้กับ เชื้อ โรคอยู่ การจะทราบ ว่าเด็ก มีไข้โ ดยการใช้ป รอทวัดไข้ อุณหภูมิป กติของร่างกายคนเราจะอยู่ที่ 36.0 – 37.5 องศาเซลเซียส ถ้ า อุ ณ หภู มิ อ ยู่ ร ะหว่ า ง 37.6 – 38.4 องศาเซลเซี ย ส จั ด ว่ า มี ไ ข้ ต่ ำ ถ้ า มี อุ ณ หภู มิ ตั้ ง แต่ 38.5 องศา เซลเซียสขึ้นไป จัดว่ามีไข้สูง ดัง นั้น ถ้าอุณหภูมิของร่างกายสูง เกิ น 37.5 องศาเซลเซียส ถือ ว่า“มี ไ ข้ ” ควรได้รับ การดูแลรัก ษา

1.2 วิธีวัดไข้ จะใช้ป รอทสำหรับ วั ดอุณหภูมิของร่างกายมี 2 ชนิดคือ ดัง ภาพที่ 1 1. ปรอทสำหรับ วัดอุณหภูมิท างปาก หรือ ทางรัก แร้ 2. ปรอทสำหรับ วัดอุณหภูมิท างทวารหนัก

ภาพที่ 1 ลัก ษณะปรอทวัดไข้ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 3 จาก 9

1.2.1 วิ ธี การวั ดไข้ ในทารก แบ่ง ออกเป็น 3 วิธี ตามช่ อ งทาง ดัง นี้ 1) วิ ธีวัดปรอททางปาก วิธีนี้เ หมาะสำหรับ เด็ก อายุเ กิน 6 ปี และผู้ใหญ่ ไม่ควรวัดปรอททาง ปากในเด็ก เล็ก มีวิธีก ารวัด ดัง นี้ 1.1) ใช้ ป รอทสะอาดจั บ ปรอทให้แ น่ น สลั ด ปรอทลงสู่ ก ระเปาะ หรื อ อุณ หภู มิ ต่ำกว่า 35 องศาเซลเซียส 1.2) บอกให้ ผู้ ป่ ว ยทราบ แล้ ว ให้ อ้ า ปากกระดกลิ้ น ขึ้ น วางปรอทไว้ ใ ต้ ลิ้ น หุ บ ปากไว้ (ระวั ง อย่ า กั ด ปรอท เพราะจะเป็ น อั น ตรายได้ ) ถ้ า ผู้ ป่ ว ยดื่ ม น้ ำ ร้ อ น หรื อ รั บ ประทานอาหาร เสร็จ ใหม่ๆ ควรรออย่างน้อ ย 15 นาที 1.3) วั ด ปรอทนาน 3-5 นาที แล้ ว จึ ง นำปรอทออกจากปาก อ่ า นผลที่ วั ด ได้ โ ดยถื อ ปรอทให้อ ยู่ในระดับ สายตา 2) วิ ธี วัดปรอททางรั กแร้ การวัดปรอททางรัก แร้ มัก ใช้กับ เด็ก เล็ก มีวิธีก ารวัด ดัง นี้ 2.1) ใช้ ป รอทชนิ ดเดี ย วกั บ ปรอทปาก สลั ดปรอทลงสู่ ก ระเปาะ หรื อ อุ ณ หภูมิต่ ำกว่า 35 องศาเซลเซียส 2.2) ซับ เหงื่อ บริเ วณรัก แร้ให้แห้ง วางปรอทไว้บ ริเ วณรัก แร้ จับ แขนแนบลำตัว วัดนาน 5-10 นาที แล้วอ่านผล ค่าอุณหภูมิที่วัดได้จ ะต่ำกว่าการวัดปรอททางปากประมาณ 0.5 องศา เซลเซียส 3) การวั ดปรอททางทวารหนั ก มัก ใช้กั บ เด็ก อายุ ต่ำกว่ า 2 ปี เช่น ทารกแรกเกิด วิธีวัดปรอท ทางทวารหนัก มีดัง นี้ 3.1) ใช้ป รอทสำหรับ วัดทางทวารหนัก เท่านั้น โดยสลัดให้ป รอทลงสู่ก ระเปาะ หรือ ต่ำ กว่า 35 องศาเซลเซียส ทาวาสลินบริเ วณกระเปาะประมาณ 1-1.5 นิ้วเพื่อ สะดวกในการสอด และลดการระคายเคือ ง 3.2) ให้ ผู้ ป่ว ยนอนตะแคงค่ อ ยๆสอดปรอทเข้ าทางทวารหนั ก ลึ ก ประมาณ 1-1.5 นิ้ ว ควรจับ ปรอทไว้ในลัก ษณะเช่นนี้จ นกระทั่ง วัดปรอทเรียบร้อ ยแล้ว โดยวัดนาน 1 นาที 3.3) นำปรอทออกจากทวารหนั ก เช็ ด ด้ ว ยสำลีแ ห้ง หรือ กระดาษชำระ แล้ ว อ่ านผลที่ วั ด ได้ ก ารวั ด ปรอททางทวารหนั ก นี้ ค่ า ของอุ ณ หภู มิ จ ะสู ง กว่ า การวั ด ปรอททางปากประมาณ 0.6 องศาเซลเซียส

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 4 จาก 9

1.2.2 วิธีวัดไข้ในผู้ใหญ่นิย มวัดไข้ 2 ทาง คื อ ทางปากและทางรักแร้ หลังจากวัดไข้แล้วจะต้องทำความสะอาดปรอทวัดไข้ โดยมีขั้นตอนคือ 1) นำปรอทที่ ใ ช้แ ล้ ว มาทำความสะอาด โดยล้ า งน้ ำ และน้ำ สบู่ ให้ ส ะอาด เช็ ด ให้ แห้ ง ด้ วยสำลี โดยเช็ดหมุนจากบนลงล่าง 2) เก็บ ปรอทใส่ป ลอกหรือ กล่อ งให้เ รียบร้อ ยเพื่อ ป้อ งกันปรอทแตก

1.3 อันตรายจากการมีไข้ การมีไ ข้อาจทำให้ป วดศี รษะ ซึม ถ้าเราปล่อ ยให้เ ด็ก มีไข้สูง มากๆ สิ่ง ที่จ ะตามมาคือ เด็ก จะมี โอกาสเกิ ด ภาวะแทรกซ้ อ นได้ และที่ เ ป็ น อั น ตรายมากคื อ เกิ ด อาการชั ก เกร็ ง หรื อ ที่ เ ราคุ้ น หู ว่ า “ชั ก จากไข้สูง ” โดยเฉพาะเด็ก ที่มีป ระวัติในครอบครัวว่าเคยมีอ าการชัก จากไข้เ หตุผ ลที่ควรให้ค วามสำคั ญ กั บ เรื่ อ ง “ชั ก จากไข้ ” ก็ เ พราะภายหลั ง ที่ เ ด็ ก ชั ก เกร็ ง จะมี ผ ลเสี ย เกิ ด ขึ้ น คื อ เซลล์ ส มองบางส่ วนจะ ขาดออกซิเ จน ยิ่ง ถ้าชัก บ่อ ยๆ เกิน 3 ครั้ง ขึ้นไปในการเจ็บ ป่วยครั้ง เดียวกัน อาจส่ง ผลให้เ ด็ก กลายเป็น โรคลมชั ก สมองเสื่ อ ม มี ค วามผิ ด ปกติ ข องการเคลื่ อ นไหวและการรั บ ความรู้ สึ ก ผลต่ อ ระบบ ไหลเวี ย น อั ต ราการบี บ ตั ว ของหั ว ใจมากขึ้ น เพิ่ ม การทำงานของหั ว ใจ ระบบย่ อ ยอาหาร เบื่ อ อาหาร คลื่ น ไส้ อาเจี ย น การเคลื่ อ นไหวของลำไส้ ล ดลง การดู ด ซึ ม อาหารไม่ ดี เสี ย น้ ำ ทางเหงื่ อ และทางการหายใจมากขึ้ น ทำให้ มี อ าการท้ อ งผู ก ระบบทางเดิน ปั ส สาวะ พบว่ า ปั ส สาวะน้อยละ เนื่องจากเสีย น้ำ มากจากกระบวนการระบายความร้อนออกจากร่า งกาย การเผาผลาญของร่า งกาย เพิ่ม มากขึ้น

วิธีการเช็ดตัวลดไข้ การเช็ ดตั ว ลดไข้เ ป็น กระบวนการนำความร้อ นออกจากร่า งกายสู่ ผ้า เปี ยกที่ใ ช้เ ช็ ด ตั ว โดยการ ใช้ผ้าชุบ น้ำอุ่นให้เ ปียกเช็ดถูตามส่วนต่างๆของร่างกาย ร่วมกับ การประคบผิวหนัง บริเ วณที่เ ป็นจุดรวม ของหลอดเลือ ดขนาดใหญ่ใต้ผิวหนัง เช่น หน้าผาก ซอกคอ รัก แร้ ขาหนีบ และข้อ พับ ต่างๆ เพื่อ ช่วยให้ ถ่ายเทความร้อ นจากหลอดเลือ ดสู่ผิวหนัง และสู่ผ้าเปี ยกตามลำดั บ ประเภทและวิธีการเช็ดตัวเพื่อลดไข้ สามารถแบ่ง ออกได้เ ป็น 4 ชนิด ตามระดับ อุณหภูมิของน้ำและชนิดของเหลวที่ใช้ ดัง นี้ 1) การเช็ดตัวด้วยน้ำธรรมดา (Tepid sponge) 2) การเช็ดตัวด้วยน้ำเย็นจัด (Cold sponge) ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 5 จาก 9

3) การเช็ดตัวด้วยน้ำอุ่น (Warm sponge) 4) เช็ดตัวลดไข้ด้วยแอลกอฮอล์ (Alcohol sponge) จุดประสงค์ 1) เพื่อ ลดอุณหภูมิในร่างกาย ช่วยป้อ งกันอาการชัก เนื่อ งจากไข้สูง ได้ 2) เพื่อ ช่วยกระตุ้นให้ก ารไหลเวียนของโลหิตและอวัยวะต่าง ๆ ทำงานดีขึ้น 3) เพื่อ ให้ป ระสาทคลายความตึง เครียด และลดอาการกระสับ กระส่าย 4) ช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายและพัก ผ่อ นได้ม ากขึ้น อุ ป กรณ์ 1) กะละมัง เช็ดตัว จำนวน 1-2 ใบใส่น้ำอุ่นประมาก 1/2 ของกะละมัง 2) ผ้ าขนหนู ผื นเล็ ก จำนวน 2-4 ผื น 3) ผ้ าเช็ ดตั วผื นใหญ่ 2.1 การเช็ดตัวลดไข้ ด้ วยน้ ำ ธรรมดา การเช็ดตัวเพื่ อ ลดไข้ ในเด็ก เป็นหัต ถการที่ ใ ช้บ่อ ยมาก โดยเฉพาะในเด็ก อายุร ะหว่าง 6 เดือ น ถึ ง 6 ปี ซึ่ง มีโ อกาสชัก จากภาวะไข้สูง ได้ การเช็ดตัวเด็ก จะช่ว ยลดอุ ณหภูมิ ของร่ างกาย โดยใช้น้ำเป็ น ตั วนำความร้ อ นออกจากร่ างกาย การเช็ดตัวด้วยน้ำ ธรรมดา เป็นการเช็ดตัวเพื่อ ลดไข้ด้ว ยผ้าชุบ น้ ำ ให้ เปียกหมาด ๆ โดยมีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิของร่างกายแต่สูง กว่า15 ๐ C หรือ ประมาณ 30๐ C เพราะ อุ ณหภู มิ ต่ำกว่ า 15 ๐ C จะทำให้ห ลอดเลื อ ดบริเ วณผิ วหนัง หดตัว ในขณะเช็ ดตั วด้ว ยผ้ าเปี ยกจะทำให้ หลอดเลือ ดบริเ วณผิวหนัง ขยายตั ว ทำให้ ค วามร้อ นภายในร่างกายออกมาสู่ผิ วหนัง มากขึ้ นโดยการพา ของเลือ ด มายัง ผิวหนัง เพิ่ม ขึ้น และความร้อ นจะระบายออกจากร่างกายโดยการถ่ายเทความร้ อ นจาก ผิ ว หนั ง มาสู่ ผ้ า เปีย กโดยการนำความร้ อ นและจากการที่ผิว หนัง เปี ย กน้ ำ ทำให้ ค วามร้ อ นเสี ย ไป โดย การระเหยของน้ำตามบริเ วณผิวหนัง นอกจากนี้ขณะเช็ดตัวจะมีก ารเปิดเผยผิวหนัง ดัง นั้นความร้ อ น จะระบายโดยพาและการแผ่รัง สีเ พิ่ม ขึ้น วิ ธีก ารเช็ ดตั วด้ วยน้ ำธรรมดา จะใช้ผ้าเปี ยกเช็ ดตั วหรื อ ถู ตาม ส่ วนต่ าง ๆ ของร่างกาย และมี ก ารประคบผิวหนัง ร่ วมด้วย และมี ก ารประคบผิ วหนัง ร่วมด้วย โดยการ ใช้ ก ระเป๋ า น้ ำ แข็ ง หรื อ ผ้ า เปี ย กประคบบริ เ วณศี ร ษะซอกคอ รั ก แร้ ขาหนี บ มื อ และข้ อ พั บ ต่ า ง ๆ เนื่อ งจากบริเ วณเหล่านี้มีห ลอดเลือ ดใหญ่ไหลผ่ านทำให้ก ารระบายความร้อ นออกจากร่ างกายได้ ดี ขึ้ น การเช็ดตัวด้วยน้ำธรรมดามัก จะทำในรายที่มีอุณหภูมิของร่างกายสูง กว่า 38 ๐ C ขึ้นไป

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 6 จาก 9

ข้อบ่งชี้ 1) ผู้ป่วย อุณหภูมิ > 38.2 ๐ C 2) เด็ก ที่มีป ระวัติก ารชัก ไข้ > 38 ๐ C ขั้นตอนปฏิบัติ 1) เตรียมสถานที่ ที่จ ะเช็ดตัวเด็ก และควรปิดแอร์/พัดลม 2) ถอดเสื้อ ผ้าผู้ป่วย 3) ปูผ้าเช็ดตัวรองส่วนที่เ ช็ด เพื่อ ป้อ งกันน้ำเปียกที่นอน 4) ใช้ผ้าขนหนูชุบ น้ำอุ่นบิดน้ำให้ห มาดพอควร เริ่ม เช็ดบริเวณใบหน้า และพัก ไว้ที่ หน้าผาก ซอกคอ ทำซ้ำ 3-4 ครั้ง 5) เช็ดบริเ วณหน้าอกและลำตัว 6) เช็ดแขนด้านไกลตัว จากปลายแขนเข้าหาต้นแขน และรัก แร้เ ป็นการเช็ดในลัก ษณะย้อ นรูขุม ขน เพื่อ ระบายความร้อ นทำซ้ำ 3-4 ครั้ง และพัก ผ้ าไว้ บ ริเ วณข้อ พับ แขน และรัก แร้ 7) เช็ดแขนด้านใกล้ตัว โดยทำเช่นเดียวกัน 8) เช็ดขาด้านไกลตัว จากปลายขาเข้าหาต้นขา และขาหนีบ 3-4 ครั้ง และพัก ผ้าบริเ วณใต้เ ข่า ขาหนีบ 9) เช็ดขาด้านใกล้ตัว โดยทำเช่นเดี ยวกั น 10) นอนตะแคงเช็ดบริเ วณหลัง ตั้ง แต่ก้นกบขึ้นบริเ วณคอทำซ้ำ 3-4 ครั้ง 11) เช็ดตัวให้แห้ง แล้วใส่เสื้อ ผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อ ย หมายเหตุ 1) การเช็ดตัวเพื่อ ลดไข้ ไม่ท ำให้เ กิดอันตราย และควรทำนานประมาณ 15-20 นาที จึง จะได้ผ ล 2) ขณะทำถ้าผู้ป่วยมีอ าการหนาวสั่น ให้ห ยุดทำทันทีและห่ม ผ้าให้ 3) ควรนำผ้าเช็ดตัวมาชุบ ลงน้ำในอ่างบ่อ ย ๆ เพื่อ ระบายความร้อ นออก 4) ควรเติม น้ำลงในอ่างบ่อ ย ๆ หรือ เปลี่ยนน้ำในอ่างบ่อ ย ๆ เพื่อ รัก ษาอุณหภูมิของน้ำให้คงที่ 5) ถ้ ามี เ ช็ ดตั วผื นเล็ ก หลาย ๆ ผื น ควรพัก ผ้าไว้บ ริเ วณที่ร วมของหลอดเลือ ด ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 7 จาก 9

เช่น ซอกคอ หลัง หู หัวใจ รั ก แร้ ฝ่ ามื อ และข้ อ พั บ ต่ าง ๆ 6) ขณะทำไม่ควรพลิก ตะแคงตัวผู้ป่วยบ่อ ย ๆ 7) ขณะทำต้อ งให้ผู้ป่วยดื่ม น้ำบ่อ ย ๆ ถ้าไม่ขัดกับ โรคของผู้ป่วย 2.2 การเช็ดตัวด้วยน้ำ เย็นจัด การเช็ ด ตั ว ด้ ว ยน้ ำ เย็ น จะทำให้ อุ ณ หภู มิ ที่ ผิ ว หนั ง ต่ ำ ทำให้ เ กิ ด ความแตกต่ า งของอุ ณ หภู ม ิ ในร่างกายและอุณหภูมิที่ผิวหนัง ความร้อ นภายในร่างกายจะถ่ายเทที่ผิ วหนัง เพิ่ม ขึ้น และผิวหนัง ก็ จ ะ ระบายความร้ อ นออกจากร่ างกายโดยอาศั ยน้ ำเป็ นตั วกลาง การเช็ดตัวโดยวิธีนี้จ ะมีผ ลช่วยลดอุณหภูมิ ได้ม ากที่สุดในทันทีที่เ ช็ ดตั วเสร็จ โดยมากใช้เ ช็ดตั วผู้ป่ วยที่มีอุณหภูมิร่างกายสู ง มาก ๆ และต้ อ งการ ให้ ไ ข้ ล ดลงเร็ ว เช่ น อุ ณ หภู ม ิ ข องร่ า งสู ง เกิ น 40 ๐ C โดยใช้ น้ ำ แข็ ง ผสมน้ ำ ให้ เ ย็ น ในอั ต ราส่ ว น 1:1 ซึ่ง จะมีอุณหภูมิของน้ำประมาณ 15 ๐ C หลัก ในการเช็ดตัวทำเช่นเดียวกันกับ การเช็ดตัวด้วยน้ ำ ธรรมดา การเช็ ดตัว ด้ว ยวิธี นี้อ าจทำให้ อุ ณหภู มิ ของร่า งกายลดอย่า งรวดเร็ว และต่ำ มาก โดยเฉพาะ ในเด็ก จะทำให้เ ด็ก รู้สึก ไม่ส บายเพราะร่ างกายปรับ ตั ว ไม่ทัน ทำให้ห ลอดเลือ ดตีบ และอาจตายได้ ใน ผู้ป่วยที่มีไข้สูง บางรายมีอ าการหนาวสั่นร่วมด้วย ถ้ าเช็ ดตั วด้ วยน้ ำเย็ นจั ด จะทำให้ก ล้ามเนื้อ หดรัดตัว ทำให้เ กิดความร้อ นเพื่อ ที่จ ะปรับ ตัวให้เ ข้ากับอุณหภูมิของน้ำที่ใช้เ ช็ดตัว เพิ่ม อาการสั่นมากขึ้น และทำ ให้ผู้ป่วยรู้สึก ไม่สุขสบาย 2.3 การเช็ดตัวด้วยน้ำ อุ่น การเช็ดตัวเพื่อ ลดไข้ด้ วยน้ำอุ่ นที่มีอุ ณหภูมิป ระมาณ 40 ๐ C โดยเชื่อ ว่า น้ ำอุ่นซึ่ง มีอุณ หภู ม ิ ที่ สู ง กว่า จะทำให้ ห ลอดเลื อ ดขยายตั ว และระเหยได้ เ ร็ ว กว่ าน้ ำ ที่ มี อุ ณ หภู มิ ต่ ำ กว่ าจึ ง พาความร้ อ นได้ เ ร็ ว และทำให้ ผู้ ป่ ว ยรู้ สึ ก สบายในขณะเช็ ด ตั ว ไม่ มี ปั ญ หาการปรั บ ตั ว มากเพื่ อ ให้ เ ข้ า กั บ อุ ณ หภู ม ิ ข องน้ ำ เหมือ นกับ การเช็ ดตัว ด้ว ยน้ ำเย็นจัด แต่จ ากการศึ ก ษาของอุ ไร เสรีป ระเสริฐ (2520) พบว่า การเช็ ด ตัวด้วยน้ำอุ่นมีผ ลต่อ การลดอุ ณหภูมิไ ด้น้อ ยมากในทันทีที่เ ช็ ดตัวเสร็จ หลัง จากนั้นอุณหภูมิจ ะค่อ ย ๆ เพิ่ม ขึ้นสูง กว่าก่อ นให้ก ารเช็ดตัว

หลัก ในการเช็ดตัวด้วยน้ำอุ่นมี วิ ธีป ฏิบั ติเ ช่นเดี ยวกั นกับ การเช็ ด ตั ว

ด้ วยน้ ำธรรมดา

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 8 จาก 9

ข้อห้ามสำหรับการเช็ดตัวลดไข้และการดูแลภายหลังเช็ดตัวลดไข้ 3.1 ข้อห้ า มสำหรับ การเช็ดตัวลดไข้ ได้แก่ 1) ควรระวังในการใช้ น้ำ เย็นมาเช็ด ตั วลดไข้ เพราะความเย็นจะทำให้ห ลอดเลือ ดหดตั ว การระบายความร้อ นออกทางผิ วหนั ง จึ ง เป็ นไปได้ น้อ ย และการใช้น้ำเย็นจะส่ง เสริม ให้ ผู้ป่วยรู้สึก หนาวสั่นจะส่ ง ผลให้อุ ณหภู มิของร่างกายสูง ขึ้น 2) ไม่ ค วรเปิด พั ดลมหรือ เปิ ดเครื่ องปรั บ อากาศในขณะที่เ ช็ด ตัว ลดไข้ เพราะความเย็น จากอุ ป กรณ์ท ำความเย็ น ดัง กล่ า วร่ ว มกั บ ผ้ าที่ ชุ บ น้ำ ขณะเช็ด ตั ว จะเย็นมากขึ้น ส่ง ผล ให้ผู้ป่วยมีอ าการหนาวสั่นได้ง่าย ทำให้ก ารเช็ดตั วลดไข้ไม่ได้ผ ลดี 3) ไม่ควรใช้แป้งฝุ่นทาบริเ วณใบหน้า ลำตัว แขน หรือ ขา เพราะแป้ง ฝุ่นจะไปอุดรูขุม ขน ทำให้ ก ารระบายความร้อ นออกได้น้อ ย ดั ง นั้ น จึง ควรหลี ก เลี่ย งการใช้แ ป้ ง ฝุ่ นหลั ง เช็ด ตั วลดไข้ 3.2 การดูแลภายหลังเช็ดตัวลดไข้ 1) ให้เ ด็ก นอนพัก ในขณะเช็ดตัวและหลัง เช็ดตัวเพื่อ ลดการเผาผลาญในร่างกายให้น้อ ยลง 2) หลั ง จากที่ไ ด้ เ ช็ด ตัว ลดไข้ ไ ปแล้ ว จำเป็น อย่ างยิ่ง ที่ จ ะต้ อ งมีป รอทวั ดไข้ ม าวัด อุ ณ หภูมิ อีก ครั้ง เพื่อ ประเมินผลการเช็ดตัวลดไข้ ว่าไข้ ล ดลงหรือ ไม่ หลัง จากเสร็จ จากการเช็ดตัว ลดไข้ ไ ปแล้ ว ประมาณ 30 นาที เพราะหากไข้ ล ดลงแล้ว ไม่ จ ำเป็น ต้อ งเช็ด ตัว ลดไข้ อี ก แต่ ถ้ า หากยั ง คงมี ไ ข้ สู ง อยู่ ค วรเช็ ด ตั ว ลดไข้ ซ้ ำ อี ก ครั้ ง และประเมิ น ผลอี ก ครั้ ง โดยใช้ ปรอทวั ด อุ ณ หภู มิ ร่ า งกาย ถ้ า สู ง กว่ า 37.5 องศาเซลเซี ย ส หรื อ สั ม ผั ส ร่ า งกายแล้ วยัง ร้ อ นจั ด ควรเช็ ดตั วซ้ ำอี ก 3) ให้รับ ประทานยาลดไข้ถ้าอุณหภูมิสูง ตั้ง แต่ 38.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป 4) พยายามให้เ ด็ก ดื่ม น้ ำหรือ เครื่อ งดื่ม บ่ อ ยๆ เพื่อ ชดเชยการเสียน้ำจากไข้สูง และดื่ม น้ ำ ระหว่ างเช็ ดตั วลดไข้ 5) การมี ไข้สูง อยู่นานเกิน 1 - 2 วั น เช็ ดตั วลดไข้ และรับ ประทานยาลดไข้แล้ว ไข้ ไม่ล ดลง เป็นสัญ ญาณที่บ่ง ว่า ร่างกายน่าจะมีก ารอั ก เสบหรือ การติดเชื้ อ เกิด ขึ้ นแล้ว ควรรีบ ไป พบแพทย์ / ไปโรงพยาบาลเพื่ อ ให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ อย่ า งรี บ ด่ ว น เพื่ อ สุ ข ภาพและความ ปลอดภัยของชีวิต

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเช็ ด ตั ว ลดไข้

หน้ า 9 จาก 9

6) ถ้ า เด็ ก มี อ าการชั ก ให้ จ ั บ นอนตะแคงหน้ า ไปข้ า งใดข้ า งหนึ ่ ง เพื่ อ ให้ เ สมหะ น้ ำ มู ก น้ำลายไหลได้ส ะดวก ป้อ งกัน การสำลัก ห้ามป้อ นยาเด็ก ในขณะที่ยัง มีอ าการชัก และ แม้ เ ด็ ก จะหยุด ชั ก แล้ ว ก็ ค วรนำไปตรวจที่โ รงพยาบาลเพราะอาจมีค วามผิ ด ปกติของ สมองตามมาได้ เอกสารอ้า งอิง งานการพยาบาลผู้ป่วยกุม ารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิท ยาลัยเชียงใหม่. (2561). การเช็ดตัวลดไข้. จาก http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nped/2011/index.php?option=com_conte nt&view=article&id=94:tepid-sponge&catid=93&Itemid=435 วรางคณา จันทร์คง และนภัส ชล ฐานะสิท ธิ์. (2556). หน่วย 7 “การรัก ษาพยาบาลเบื้อ งต้นกลุ่ม อาการที่พ บบ่อ ยในทารกและเด็ก ” ในเอกสารการ สอนชุดวิช า 50301 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เล่ม ที่ 1. นนทบุ รี: โรงพิม พ์ม หาวิท ยาลัยสุโ ขทัยธรรมาธิร าช. หน้า 7-1 ถึ ง 7-71.

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.