【 52311x52404 】เรื่อง การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 1 จาก 10

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ภาพปก “Baby” โดย Lisa Runnels (2014) จาก pixabay.com/en/ baby-boy-smiling-kid-infant-happy-390555

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 2 จาก 10

การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วั คซีน ความสำคัญในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค การฉี ด วั ค ซี น ในเด็ ก ทำเพื่ อ กระตุ้ น ให้ ร่ า งกายมี ร ะดั บ ภู มิ คุ้ ม กั น ต่ อ โรคสู ง ขึ้ น เพี ย งพอที่ จ ะ ป้อ งกันโรคได้ในระยะเวลานาน ป้อ งกันโรคติดต่อ ร้ายแรง ขั ดขวางการแพร่ ร ะบาด และลดผลกระทบ ร้ ายแรงของโรคในเด็ ก โดยเฉพาะ โรคหัด คอตีบ ไอกรน และโปลิโ อ ที่ล้วนเป็นสาเหตุก ารเสียชี วิ ต ที่ สำคัญ ของเด็ก ความสำคัญ ของการฉีดวัคซีนก็เ พื่อ 1) ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง โดยเฉพาะกับ เด็ก เช่น โรคคอตีบ เป็นโรคที่เ กิดจากเชื้อ แบคทีเ รีย อาการส่วนใหญ่ คือ คออัก เสบอย่างรุนแรง และ มี ส ะเก็ ด และโรคนี้ อ าจเป็ น อั น ตรายมาก และทำให้ เ สี ยชี วิ ต ได้ แบคที เ รี ย จะสร้ า งสารพิ ษ แล้ ว ส่ง ออกไปยัง กระแสเลือ ด ทำลายเนื้อ เยื่อ เช่น กล้ามเนื้อ หัวใจ ยาแก้อัก เสบนั้น สามารถฆ่าแบคทีเ รี ย ได้ แต่ไม่ส ามารถป้อ งกันผลกระทบของพิษได้ ดัง นั้นการฉีดวัคซีน จึง เป็นสิ่ง เดียวที่จ ะป้อ งกันโรคนี้ ไ ด้ โรคคอตี บ นั้ น พบไม่ บ่อ ยแล้ ว ในปั จ จุบั น เพราะว่ า มี ก ารฉี ด วั ค ซีน ที่ ค รอบคลุ ม และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน การป้อ งกันโรค 2) ขัดขวางการแพร่ระบาดของโรค และลดผลกระทบที่ร้า ยแรงของโรคติดต่อ เช่น โรคหั ด เกิ ด จากเชื้ อ ไวรั ส และแพร่ เ ชื้ อ โดยง่ า ยระหว่ า งคนต่ อ คนโดยละอองไอ อาการของโรคนั้ น แตกต่ า งกั น ออกไป โรคนี้ นั้ น อั น ตรายและอาจเสี ย ชี วิ ต ได้ ผู้ ติ ด เชื้ อ อาจได้ รั บ ผลข้ า งเคี ยงที่ ร้ า ยแรง เช่ น สมองอั ก เสบ หรื อ ปอดบวม การฉี ด วั ค ซี น จึง นอกจากจะการป้ อ งกั นที่ดี แล้วยัง ขัดขวางการแพร่ร ะบาดของโรคและลดผลกระทบที่ร้ายแรงของการเกิดโรคติดต่อ ได้ 3) กำจัดโรคได้หมดไป เช่น โรคโปลิ โ อ หรื อ โรคแขนขาลี บ เกิ ด จากเชื้ อ ไวรั ส สามารถแพร่ เ ชื้ อ สู่ ค นได้ โ ดย สิ่ ง ปฏิ กู ล อาหาร และน้ ำ อาจรวมไปถึ ง ละอองไอด้ ว ย อาการของโรค อาจมี เ พี ย งเล็ ก น้ อ ย หรื อ อาจ ร้ายแรงเนื่อ งจากอาการอัม พาตจนอาจถึง ชี วิต ได้ ไม่มียาประเภทใดที่รัก ษาโรคนี้ ได้ การฉีดวัค ซี น นั้ น ให้ป ระสิท ธิภาพที่ดี และใกล้ที่จ ะกำาจัดโรคนี้ให้ห มดไปจากโลกได้ ปั จ จุ บัน การให้ วั ค ซี น ถือ ได้ ว่า เป็ น วิธี ที่ ดี ที่ สุ ดในการป้ อ งกัน โรคติ ด เชื้อ ร้ า ยแรง เนื่ อ งจาก เป็ น วั ค ซี น ป้ อ งกั นที่มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง วั ค ซี นมี บ ทบาทสำคั ญ ในการควบคุ ม ป้ อ งกัน กำจั ด กวาดล้าง โรคติดเชื้อ ที่เ ป็นปัญ หาสาธารณสุขมาตั้ง แต่อ ดีตจนถึง ปัจ จุบันและประสบผลสำเร็จ อย่างสูง จึง นับ ได้ว่า ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 3 จาก 10

เป็นเครื่อ งมือ ทางการแพทย์และสาธารณสุข ที่ได้รับ การยอมรับ ว่ามีป ระสิท ธิภาพและคุ้ม ทุนอย่างมาก ในการป้อ งกันควบคุม โรค

วัคซีนที่จำเป็นสำหรับเด็ก และวัคซีนทางเลือ ก ตามแผนการสร้างเสริม ภูมิคุ้ม กั นโรคของกระทรวงสาธารณสุ ข ที่คำนึง ถึง ประโยชน์ ในการนำ วั ค ซี น ไปใช้ ป ระโยชน์ แบ่ ง วั ค ซี นออกเป็ น 4 ประเภท ได้ แ ก่ วั ค ซี น พื้น ฐานหรื อ วัค ซี น บัง คั ย วั ค ซี นที่ อยู่นอกแผนการสร้างเสริม ภูมิคุ้ม กันโรค วัคซีนรวม และวัคซีนเสริม สำหรับ ผู้ที่มีภาวะความเสี่ยงสู ง ที่ จะเป็ นโรค ซึ่ ง ประเภทของวั ค ซี นดั ง กล่ า วจะครอบคลุม ในเรื่ อ งวัค ซี น ที่ จ ำเป็ น สำหรับ เด็ ก และวัคซีน ทางเลือ ก วั ค ซี น ที่ จ ำเป็ น สำหรั บ เด็ ก : เด็ ก ทุ ก คนสามารถเข้ า รั บ การให้ วั ค ซี น ได้ ต ามโรงพยาบาล อนามัย หรือ ศูนย์บ ริก ารสาธารณสุขโดยไม่เ สียค่าใช้จ่าย โดยวั คซีนที่จ ำเป็นสำหรับ เด็ก ได้แก่ - วั คซี นป้ อ งกั นบี ซีจี (BCG) - วั คซี นรวมป้ อ งกั นคอตี บ -บาดทะยัก -ไอกรน (DTP) - วั คซี นโปลิ โ อ (OPV) - วั คซี นรวมหั ด-หัดเยอรมัน-คางทูม (MMR) - วั คซี นตั บ อั กเสบบี (HB) - วั คซี นไข้ ส มองอั ก เสบ (JE) วัคซีนทางเลือก (สำหรับ กลุ่ม เฉพาะ) : วั ค ซี น ทางเลือกหรื อวั ค ซี น เสริ ม คือ วัคซีนที่มี ประสิท ธิภาพดี มีป ระโยชน์ในการป้อ งกันโรค แนะนำให้ฉีดในเด็ก ทั่วไป แต่ไม่ได้อ ยู่ใ นแผนวัคซีนของ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่ง บุคคลจะรับ วัคซีนทางเลือ กหรือ ไม่ก็ได้ วัคซีนทางเลือ กที่ส ำคัญ มีดัง นี้ -สำหรับ กลุ่ม เด็ก เช่น วัคซีน ไวรัส โรต้า วัคซีนฮิบ ช่วยป้ อ งกันเยื่อหุ้ม สมองอักเสบ วั คซี นอี สุ ก อี ใส วั คซี นไว้ รั ส ตั บ อั ก เสบเอ วั คซี นโรคไข้ ห วั ดใหญ่ เป็ นต้ น -สำหรับ ผู้สูง อายุ 65 ปีขึ้นไป เช่น วัคซีนป้อ งกันโรคบาดทะยัก โรคคอตีบ และโรค ไอกรน วัคซีนป้อ งกันไข้ห วัดใหญ่ วัคซีน้อ งกันโรคตับ อัก เสบบี วัคซีนป้อ งกันโรคติดเชื้อ นิวโมคอคคั ส และวัคซีนป้อ งกันโรคงูส วั ส เป็ นต้ น -สำหรับ ผู้ที่จะเดิน ทางไปยั งประเทศที่มีค วามเสี่ย งต่ อโรค หรือ วัคซีนที่จ ำเป็ น ต้ อ ง ดั้บ ก่อ นเข้าประเทศบางประเทศ เช่น วัคซีนไข้เ หลือ ง และวัคซีนไข้ก าฬหลัง แอ่น

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 4 จาก 10

ระยะเวลาที่ต้อ งได้รับวัคซี น : ตามตารางการให้วัคซีนดัง นี้

การบริหารวัคซีน การเตรียมผู้รับบริ การวัค ซีนโดยการคัดกรอง การคัดกรอง ประกอบด้วย 1. การซั ก ประวั ติ แ ละการประเมิน คั ด กรองผู้ รับ บริ ก ารจะช่ว ยให้ ผู้ ใ ห้ บ ริ การทราบ ในเบื้องต้นว่าผู้รับ บริ ก ารมี ข้อ จำกั ดหรือ ข้อ ควรระวัง ในการที่จ ะให้ วั คซี นหรือ ไม่ สามารถให้ได้ใ นการ มาครั้ ง นี้ ห รื อ ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งเลื่ อ นการรั บ วั ค ซี น หรื อ ไม่ และยั ง สามารถพิ จ ารณาได้ อี ก ว่ า ผู้ รั บ บริ ก าร ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 5 จาก 10

ได้ รั บ ภู มิ คุ้ ม กั น ตามวั ย และตามเกณฑ์ ที่ ค วรจะได้ รั บ หรื อ ไม่ รายละเอี ย ดที่ จ ำเป็ น ในการซั ก ประวั ติ ได้ แ ก่ การถามความเจ็ บ ป่ ว ยหรื อ สภาพร่ า งกายในนั จ จุ บั น ประวั ติ ก ารแพ้ ย าหรื อ สารอาหารต่ า งๆ ประวั ติ ค รอบครั ว เป็ น โรคชั ก และมีป ระวั ติ ชั ก จากไข้ สู ง ประวั ติ ก ารได้ รั บ เลื อ ด/ยากดภู มิ คุ้ ม กั น การ ตั้ ง ครรภ์ การที่ เ คยได้ รั บ วั ค ซี น DTP แล้ ว มี ไ ข้ สู ง (เกิ น 40.5 °C) ประวั ติ ก ารมี ภู มิ คุ้ ม กั น ผิ ด ปกติ แ ต่ กำเนิ ด นอกจากนี้ ก ารซั ก ประวั ติ ยั ง ควรต้ อ งถาม หรื อ ดู เ อกสารการได้ รั บ วั ค ซี น ครั้ ง สุ ด ท้ า ยในสมุ ด สุ ข ภาพด้ ว ย การให้ วั ค ซี น ห่ า งเกิน กว่ า กำหนดไม่ ไ ด้ ท ำให้ ภู มิคุ้ ม กั น เกิ ด น้ อ ยลงแต่ ใ นทางตรงกั น ข้ าม การฉีดวัคซีนที่เ ร็วกว่ากำหนด อาจทำให้ภูมิคุ้ม กันเกิดขึ้นได้น้อ ยลง หรือ อยู่ไม่นานตามกำหนด ดัง นั้ น ถ้ามาฉีดวัคซีนเลยกำหนดนัด สามารถฉีดเข็ม ต่อ ไปได้เ ลยโดยไม่ต้อ งตั้ง ต้นใหม่ 2. การสั ง เกตอาการก่ อ นให้ วั ค ซี น สิ่ ง ที่ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารควรสั ง เกต คื อ ลั ก ษณะท่ า ทาง การตอบสนองของเด็ก และตรวจร่า งกายเบื้ อ งต้ น เพื่ อ ประเมิน ความพร้ อ มที่ จ ะรั บ วัค ซี น ใช้ ห ลัก การ ตรวจร่ า งกายพื้ น ฐาน คื อ ดู คลำ เคาะ ฟั ง หากเด็ ก มี เ สมหะหรื อ น้ ำ มู ก ให้ สั ง เกตลั ก ษณะ สี ก ลิ่ น ที่ ผิ ดปกติ ห ากเกิ ดร่ วมกั บ การมี อุ ณหภู มิร่ างกายมากกว่ า 38°C ก็ควรเลื่อ นการฉีดวัคซีนออกไปก่อ นและ ทำความเข้าใจกับ ผู้รับ บริก ารว่าการฉีดวัคซีนที่ล่าช้าไปกว่ากำหนดไม่ได้มีผ ลทำให้ภูมิคุ้ม กันในร่า งกาย ลดน้อ ยลง นอกจากนี้ห ากสามารถให้เ วลาในการ ประเมินสภาพเด็ก ตั้ง แต่ ศีร ษะจรดเท้าจะทำให้ ผู้ ใ ห้ บริ ก ารทราบถึง ภาวะสุ ข ภาพของเด็ ก และอาจนำไปสู่ ก ารส่ ง ต่ อ หรื อ การดู แ ลรั ก ษาที่ ถู ก ต้ อ งต่ อ ไป สิ่ ง สำคั ญ นอกเหนือ จากการสั ง เกตอาการทางร่า งกายแล้ ว ยั ง ต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง ความพร้ อ มทางด้ า นจิตใจ อารมณ์ ก ารสั ง เกตลั ก ษณะพื้ น ฐานอารมณ์ ข องเด็ ก จะทำให้ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารคำนึ ง ถึ ง การเตรี ย มเด็ ก และ รั บ มื อ กั บ เด็ ก ได้ นอกจากการเตรียมผู้รับบริก ารวัคซีนโดยการคัดกรองแล้ว ผู้ให้บ ริก ารต้องคำนึง ถึง เรื่องการ สื่อ สารเกี่ยวกับประโยชน์ของวัคซีน และการดูแลไม่ให้วิตกกัง วลด้วย

การเตรียมผู้รับบริ การวัค ซีนโดยการจัดท่าและการควบคุมให้เ ด็ กอยู่นิ่ง ผู้ให้บ ริก ารต้อ งดู แลช่ วยเหลือ ในเรื่อ งปลอบโยน ความปลอดภั ย อายุ ระดับ กิจ กรรม และ ตำแหน่ง ที่ใหวัคซีนของผู้รับ บริก ารซึ่ง เป็นเด็ก ในวั ยต่ างๆ พ่อ แม่/ผู้ป กครอง ควรมีส่วนช่วยอุ้ม และจั บ เด็ก ระหว่างการฉีดวัคซีน ผู้ให้บ ริก ารต้อ งสอนพ่อ แม่/ผู้ป กตรองถึง วิธีก ารอุ้ม เด็ก ให้อ ยู่นิ่ง ๆ

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 6 จาก 10

การเตรียมวัคซีนและการเคลื่อ นย้าย/จัดเก็บวัคซี น การเตรี ย มการก่ อ นให้ วั ค ซี น การเตรี ย มที่ ถู ก ต้ อ งเป็ น ส่ ว นสำคั ญ ที่ จ ะทำให้ ก ารได้ รั บ วั คซีน เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารต้ อ งให้ ค วามสำคั ญ ตั้ ง แต่ ก ารเลื อ กอุ ป กรณ์ การตรวจสอบ วั คซี น และการเตรี ยมวั คซี นประกอบด้ วย 1.

การเตรียมกลุ ่ม เป้าหมายผู ้รั บ บริ ก าร

2.

การเตรียมสถานที่และอุป กรณ์ที่ใช้ในการให้วัคซีน :

อุป กรณ์ที่ใช้ในการให้วัคซีน ประกอบด้วย - ผ้าสะอาดปูบ นโต๊ะ เนื้อ ที่วางวัคซีน เข็ม เบอร์ 21, 25 และ 26 ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 7 จาก 10

- กระบอกฉีดยา (Syringe) ขนาด 1, 3 และ 5 มล. กระปุ ก สำลี แอลกอฮอล์ กระปุ ก สำลีแห้ง พลาสเตอร์ - กระติก วัคซีน, ซองน้ำแข็ง (Icepack) ที่เริ่มละลาย - กล่อ งสำหรับ เก็บ ขวดวัคซีนที่ใช้แล้ว (เก็บ ในตู้เ ย็น +2 ถึง +8°c เป็นเวลา 7 วัน) - กล่อ งใส่เ ข็ม ที่ใช้แล้วเป็นถัง พลาสติกหนา - ถั ง ขยะ (ขยะธรรมดา, ขยะติดเชื้อ , กล่อ งทิ้ง ขวดวัคซีน) การเตรีย มวัคซีน 1. ตรวจสอบชนิดของวัคซีนที่จ ะให้กับ ใบสั่ง การรัก ษา 2. ตรวจสอบวันหมดอายุและเครื่องหมาย 3. เช็ดแอลกอฮอล์ในบริเ วณที่จ ะแทงเข็ม 4. ในกรณีที่เ ป็นวัคซีนบรรจุขวดละหลายโด๊ส ใช้เ ข็ม เบอร์ 21-25 ดู ดวั คซี นใส่ syringe ตามปริม าณที่ต้อ งการ และเปลี่ยนเข็มเป็นเข็ม ฉีดก่อ นจะฉีดทุก ครั้ง 5. หากวัคซีนเป็นผงและผสมน้ำยาทำละลาย ควรดูดน้ำยาทำละลายให้ห มดขวดแล้วผสมใน ขวดวั คซีน ต้อ งเขย่าให้แน่ใจว่าน้ำยาทำละลายกับ ผงวัคซีนรวมเป็นเนื้อเดียวกัน จึง ค่อ ยนำวัคซีนมาใช้ การใช้/การเคลื่อนย้าย/จัดเก็บ วัคซีน : • วัคซีนที่อ ยู่ในรูป ของผงแห้ง ต้อ งใช้น้ำ ยาละลาย (diluents) ของวัคซีนชนิด นั้ นๆ ก่อ นจะนำ diluents มาละลายวัคซีน ต้อ งเก็บ ไว้ ในอุ ณหภูมิ 2-8 °C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง มิฉะนั้นจะทำให้วั ค ซี น สู ญ เสี ยความแรงหลั ง การผสมได้ • วัคซีนที่อ ยู่ในรูป ของผงแห้ง เช่น หัด และ MMR ปัจ จุบันองค์ก ารอนามัยโลกแนะนำว่า หลั ง การผสมวั ค ซี น เหล่ า นี้ แ ล้ ว ให้ เ ก็ บ ในตู้ เ ย็ บ อุ ณ หภู มิ 2-8 °C จนถึ ง เวลาสิ้ น สุ ด การให้ บ ริ ก ารในวั น นั้น หรือ เก็บ ไว้ไม่เ กิน 6 ชั่วโมง (แล้วแต่เ วลาใดถึง ก่อ น) แต่วัคซีน BCG ที่ผ ลิตโดยสภากาชาดไทย แนะนำ ให้เ ก็บ ไว้ไม่เ กิน 2 ชั่วโมง หลัง จากการผสมแล้วควรห่อ ด้วยกระดาษหรือ กระดาษฟอยล์ (foil) หรือ ใส่ ไว้ในกล่อ งโฟมใต้ฝ ากระติก เก็บ วัคซีน โดยไม่ให้ขวดวัคซีนเปียกหรือ จุ่ม ในน้ำ • วั ค ซี น ชนิ ด น้ ำ ได้ แ ก่ DTP , dT และ TT เมื่ อ เปิ ด ใช้ แ ล้ ง ยั ง เหลื อ อยู่ องค์ ก ารอนามั ย โลก แนะนำว่ า สามารถเก็ บ ในตู้ เ ย็ บ อุ ณ หภู มิ 2-8 °C ได้ น าน 4 สั ป ดาห์ โดยมี ก ารป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด การ ปนเปื้อ น แต่แผ่นงานเสริม สร้างภูมิคุ้ม กันโรคของประเทศไทย แนะนำให้เ ก็บ วัคซีนชนิดน้ำที่ใช้กับ เด็ ก ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 8 จาก 10

และหญิง มีครรภ์ได้ไม่ เ กิ น 6 ชั่ง โมง หรือ จนถึง เวลาสิ้นสุดการให้บ ริก ารในวั นนั้น (ภายใน 24 ชั่วโมง) เท่านั้น หลัง จากนั้นให้ท ำลายวัคซีนที่เ หลือ อยู่

ประเภท ภาวะแทรกซ้อน และการดูแลภายหลังได้รับวัคซีน ประเภทการได้รับวัคซีน การให้วัคซีนสามารถแบ่ง ได้ 5 ประเภท โดยในบทบาทของนัก สาธารณสุขการให้วัคซีนต้อ ง เป็นไปตามพระราชบัญ ญัติวิชาชีพ การสาธารณสุขชุม ชน โดยเน้นการให้คำแนะนำสำหรับ การให้วัคซีน เป็นหลัก ในที่นี้จ ะกล่าวถึง ประเภทการได้รับ วัคซีนโดยทั่วไป ดัง นี้ 1. การกิ น (oral route) ใช้ ใ นกรณี ที่ ต้ อ งการกระตุ้ น ภูมิคุ้ม กั นเฉพาะที่ โดยมากใช้ กั บ วัคซีน ชนิดเชื้อ เป็น เช่น วัคซีนโปลิโ อ วัคซีนทัยฟอยด์ท ำให้เ กิดภูมิคุ้ม กันทั้ง ในสำไล้และกระแสเลือ ด 2. การพ่นเข้าทางจมูก เช่น วัคซีนไข้ห วัดใหญ่ท ำให้เ กิดภูมิคุ้ม กันในทางเดินหายใจด้วย 3. การฉี ด เข้ า ในหนั ง (intradermal) วิ ธี ก ารนี ้ ใ ช้ เ พื่ อ ต้ อ งการลดแอนติ เ จนลง ทำให้ เ กิ ด ภูมิคุ้ม กันได้เ พราะกระตุ้นเซลล์ในผิวหนัง และดูดซึม ไปยัง ท่อ น้ำเหลือ งกระตุ้นภูมิคุ้ม กันชนิดเซลล์เ ป็น สื่อ ได้ดี ใช้วัคซีนปริม าณน้อ ย การฉีดทำได้ยากต้อ งอาศัยความชำนาญทางนี้ ได้แก่ วัคซีน BCG วั คซี น พิษสุนัขบ้า เป็นต้น 4. การฉี ด เข้ า ใต้ ห นั ง (subcutaneous route) ใช้ กั บ วั ค ซี น ที่ ไ ม่ ต้ อ งการให้ ดู ด ซึ ม เร็ ว เกินไป เพราะอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรงและเป็นวั คซี นที่ไม่มีส ารดูดซับ (adjuvant) เช่น วัคซีนรวมหัด คางทูม และหัดเยอรมัน (MMR) วั คซี นทั ยฟอยด์ วั คซี นไข้ ส มองอั ก เสบเจอี (JE) เป็นต้น 5. การฉี ด เข้ า กล้ า มเนื้ อ (intramuscular route) ใช้ เ พื่ อ ต้ อ งการให้ ก ารดู ด ซึ ม ของวั ค ซี น ดี วัคซีนที่มีส ารดูดซับ (adjuvant) ต้อ งฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เสมอ เพราะ ถ้าฉีดเข้าในหนัง หรือ ใต้ห นัง จะทำ ให้เ กิดการอัก เสบเป็ น ไตแข็ง เฉพาะที่ ได้ก ารฉี ดเข้ ากล้ ามเนื้ อ มี บ ริเ วณที่ เ หมาะสมสำหรับ การฉี ดอยู่ 2 ที่ คื อ บริ เ วณต้ น แขน (deltoid) ซึ่ ง เป็ น บริ เ วณที่ มี ก ารดู ด ซึม ดี ที่ สุด เพราะไขมั น ไม่ ม ากเลือ ดเลี้ ยงดี และแขนมีก ารเคลื่อ นไหวทำให้ก ารดูดซึม ของยาดีและบริเ วณกึ่ง กลางต้นขา ด้านหน้าค่อ นไปด้านนอก (mid anterolateral thigh) บริ เ วณกล้ า มเนื้ อ vastas lateral การฉี ด บริ เ วณหน้ า ขามั ก นิ ย มฉี ดใน เด็ ก เล็ ก เนื่ อ งจากแขนยั ง มี ก ล้ า มเนื้ อ น้อ ย ในเด็ ก วั ย เรีย นและผู้ ใ หญ่ จ ะฉี ด บริ เ วณต้ น แขน วั ค ซี น ที่ ให้ ทางกล้ ามเนื้ อ ได้ แ ก่ วั ค ซี น รวมคอตี บ บาดทะยั ก ไอกรน (DTP) วั ค ซี น ตั บ อั ก เสบบี (HBV) และวั ค ซีน พิษสุนัขบ้า เป็นต้น ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 9 จาก 10

ห้ า มฉี ด วั ค ซี น ที่ ส ะโพก เพราะอาจฉี ด เข้ า ชั้ น ไขมั น ใต้ ห นั ง ลงลึ ก ไม่ ถึ ง กล้ า มเนื้ อ นอกจากนี้ เลื อ ดยั ง ไปเลี้ย งสะโพกน้ อ ยกว่ า ที่ ต้ น แขน อี ก ทั้ ง สะโพกมี ก ารเคลื่ อ นไหวน้ อ ย ทำให้ ย าดู ด ซึ ม ได้ ไ ม่ดี และจะมี ผ ลให้ ก ารสร้ า งภู มิ ต้ า นทานไม่ ดี ด้ ว ย และที่ ส ำคั ญ คื อ อาจทำให้ เ กิ ด Sciatic nerve injury (เดินขาเป๋ตลอดชี พ ) ทำให้เ กิดความพิก ารได้

การให้วัคซีนป้อ งกันโรคโปลิโอ วั คซี นป้ อ งกั นไวรัส โปลิโ อในปัจ จุบันมี 2 แบบ คือ 1. วั ค ซี น ป้ องกั นไวรัส โปลิโ อชนิดรับ ประทาน (Oral poliovirus vaccine หรื อ Oral polio vaccine, OPV): เป็ น วั ค ซี นที่ เ ตรี ย มขึ้ นจากเชื้ อ ไวรัส โปลิโ อที่มี ชีวิ ต โดยเพาะเลี้ยง เชื้ อ ไวรั ส โปลิ โ อในเซลล์ เ พาะเชื้ อ ไวรั ส นี้ จากนั้ น นำมาผ่ า นกระบวนการที่ ท ำให้ เ ชื้ อ ฯอ่ อ นฤทธิ ์ ล ง เพื่อ ให้ไม่ก่อ เกิดโรคในผู้รับ วัคซีนนี้ที่มี ภูมิ คุ้ม กันปกติ และเนื่อ งจากเป็นวั คซี นฯที่ก ระตุ้นภูมิคุ้ม กั น โดย การเลียนแบบการติดเชื้อ โปลิโ อทางธรรมชาติ คื อ บริ ห ารวั คซี น/ให้วัคซี นด้ วยวิ ธีรั บ ประทาน จึ ง ทำให้ ผู้ได้รับ วัคซีน มีภูมิคุ้ม กันทั้ง ในลำไส้ และในเลือ ด จึ ง เป็ นวั คซี นหลัก ในการลดอุบัติก ารณ์ โ รคโปลิโ อ สำหรั บ ข้ อ เสี ย ของวั ค ซี นป้ อ งกั น ไวรั ส โปลิ โ อชนิ ด รั บ ประทาน คื อ การกลายพั น ธุ์ แ ละก่ อ โรค ของเชื้อ ไวรัส โปลิโ อที่ถูก ทำให้อ่ อ นฤทธิ๋ ดัง นั้นประเด็นเรื่อ งการกลายพัน ธุ์ และเป็น ตั วก่อ โรคนี้เ อง จึ ง ยัง เป็นเรื่อ งที่จ ำเป็นต้อ งพิจ ารณาทบทวนมาตรการให้ วั คซี นป้ อ งกั น ไวรัส โปลิโ อชนิ ดรับ ประทาน เพื่อ ลดความเสี่ยงการติดเชื้อ นี้ 2. วั ค ซี น ป้ องกั นไวรัส โปลิโ อชนิดฉีด (lnactivated polio virus vaccine หรื อ Inactivated polio vaccine, IPV): เป็ น วั ค ซี น ที ่ เ ตรี ย มขึ้ น จากเชื้ อ ไวรั ส โปลิ โ อที่ ต ายแล้ ว เนื่ อ งจากเป็น วั คซี น ชนิด ฉีด จึ ง ทำให้ ภู มิ คุ้ ม กั น ของร่ า งกายต่ อ เชื้ อ ไวรั ส โปลิ โ อสู ง ขึ้ น เฉพาะในกระเเส เลือ ด ปัจ จุบั นวั คซี นป้ อ งกั น ไวรัส โปลิโ อชนิ ดฉีด มีทั้ง อยู่ในรูป วั คซีน ชนิดเดี่ ย ว และวั คซี นชนิ ดรวมกั บ วัคซีนอื่น เช่น รวมกับ วัคซีนฮิบ เป็นต้น ปั จ จุ บั น สำหรั บ ประเทศที่ ส ามารถจั ด การกั บ การติ ด เชื้ อ ไวรั ส โปลิ โ อให้ ห มดไปได้ ได้ แ ล้ ว ประเทศนั้นจะใช้วัคซี นป้ อ งกั นไวรัส โปลิโ อชนิดฉีด IPV ทดแทนวั คซี นชนิ ดรับ ประทาน OPV เนื่อ งจาก ลดโอกาสเกิดภาวะติดเชื้อ ไวรัส โปลิโ อจากตั ววั คซี นฯเอง เพราะวั คซี นป้ อ งกั นไวรัส โปลิโ อชนิ ดฉีด IPV ถูก เตรียมขึ้นจากเชื้อ ไวรัส โปลิโ อที่ตายแล้ว แต่วัคซี นฯชนิดรับ ประทาน OPV เตรียมจากเชื้อ ฯที่มีชีวิต

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ มกั น

หน้ า 10 จาก 10

ข้อ แนะนำภาวะแทรกซ้อ นและการดูแ ลหลังได้รับวัคซีน ควรสัง เกตอาการผู้รับ บริก ารภายหลัง ได้รับ วัคซีน อย่างน้อ ย 30 นาที ปฏิกิริยาที่อ าจเกิดขึ้น จำแนกได้ 2 ประเภท ได้ แก่ ปฏิกิริยาที่เ กิดขึ้นเฉพาะที่ และปฏิกิริยาทั้ง ระบบ 1. ปฏิกิริย าซึ่งเกิดขึ้นเฉพาะที่ อาการและอาการแสดง ได้แก่ อาการบวม แดง คัน บริเ วณ ที่ฉีดวัคซีน อาจมีเ ลือ ดออกซึม เล็ก น้อ ยและหยุดในระยะเวลาอันสั้น อาการเหล่านี้จ ะหายไปได้เ องโดย การจัดการเบื้อ งต้น คำแนะนำทั่วไป 1) ไม่แนะนำให้สัม ผัส กดแรง คลึง หรือ นวดบริเ วณที่ฉีดวัคซีน 2) ดู แ ลความสะอาดสั ง เกตอาการว่ ามีอ าการปวดบวมแดงร้ อ นบริเ วณที่ ฉีด หรื อ ไม่ห รือ มี ลัก ษณะผิดปกติใดๆ เช่น มีเ ลือ ดออกมา มีตุ่ม หนอง มีอ าการไข้สูง มากให้รีบ มาพบแพทย์ 3) สามารถประคบเย็น เพื่อ ลดอาการปวดได้ห รือ รับ ประทานยาแก้ป วดลดไข้ 4) หากมี ไข้ ร่ วมด้ วย สามารถเช็ ดตั วลดไข้ และให้ ยาลดไข้ โดยคำนวณจากน้ ำหนั ก ตั ว คื อ 10 mg./น้ำหนัก ตัว 1 กิโ ลกรัม /ครั้ง 2. ปฏิ กิ ริ ย าที่เ กิ ดขึ้น ทั้ง ระบบ มี ทั้ ง ชนิด ไม่รุน แรงและชนิ ด รุ นแรง อาการและอาการแสดง ชนิดไม่รุนแรง ได้ แก่ มี ไข้ สู ง มากกว่ า 39°C ซึม เบื่อ อาหาร ร้อ งกวน อาเจียน หรือ มีผื่นขึ้นตามตัว โดย มี วิธีก ารจั ดการ คำแนะนำทั่วไป 1) เช็ ดตั วลดไข้ พ ร้ อ มกั บ ให้ ยาลดไข้ ทั นที 2) ให้เ ด็ก ดื่ม น้ำ ดื่ม นมให้ม ากๆ 3) สัง เกตอาการผิดปกติที่แสดงถึง ปฏิกิริย าที่เ กิด ขึ้นทั้ง ระบบชนิดรุ นแรง ได้แก่ อาการไข้ แบบ anaphylaxis เช่น หายใจลำบาก หายใจมีเ สียงวี้ด มีผื่นขึ้นทั้ง ตัว มือ เท้า หน้า ปาก บวม หรือ มี อาการผิดปกติท างสมอง เช่น ซึม อ่อ นแรง ภาวะรู้ส ติเ ปลี่ยนแปลง มีอ าการชัก หากพบอาการผิดปกติ ชนิดรุนแรงให้ม าพบแพทย์ทันที หรือ หากพบอาการเบื้อ งต้นเป็นอาการและอาการแสดงชนิดไม่รุนแรง แต่เ มื่อ ให้ก ารดูแลแล้วอาการไม่ดีขึ้นและมีอ าการแสดงที่ดูเ หมือ นเด็ก แย่ล งให้พ ามาโรงพยาบาลทันที

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.