【 52311x52404 】เรื่อง การตรวจประเมินและการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ง การดู แ ลผู้ ป่ ว ยเบื้ อ งต้ น กลุ่ ม อาการซี ด

หน้ า 1 จาก 2

ชุ ด วิ ช า 52311x52404 การปฐมพยาบาล การตรวจประเมิ น การบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น การฟื้ น ฟู ส ภาพและการส่ ง ต่ อ สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การตรวจประเมินและการดูแลสุขภาพ ในผู้สูงอายุ ภาพปก “Aged” โดย Siggy Nowak (2018) จาก Pixabay

ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช


1

บทนำผู้สูงอำยุ (พู ด ) ผู้สูง อายุคือผู้ที่มี อายุ 60 ปี ขึน้ ไป ในปั จ จุบันสัดส่วนประชากรผู้สูง อายุเพิ่ม จานวนมากขึน้ อย่าง รวดเร็ว ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างทางอายุของประชากร คือ ประชากรสูงอายุเพิ่มจานวนขึ ้น ในขณะที่สดั ส่วนของประชากรวัยเด็ก และวัยทางานมีแนวโน้ มลดลง สหประชาชาติระบุว่า ประเทศใดมี ประชากรอายุ 60 ปี ขึ ้นไป ในสัดส่วนเกินร้ อยละ 10 ของประชากรทังประเทศ ้ ถือว่าประเทศนันก้ ้ าวเข้ าสู่ สังคมผู้สูงอายุ หรื อ Aging Society ประเทศไทยได้ เข้ าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตงแต่ ั ้ ปี พ.ศ.2543 และจะเป็ น สังคมผู้สงู อายุเต็มรู ปแบบ หรื อ Aged Society เมื่อสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ ้นไปเพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ 20 คาดการณ์ว่าในปี 2564 ไทยจะเข้ าสู่สงั คมประชากรสูงวัยแบบสมบูรณ์ สถานการณ์ ดงั กล่าวเป็ นผลมา จากการพัฒนาเศรษฐกิจและ ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการแพทย์ทาให้ ประชากรมี อายุยืนยาว (พูด) ผู้สงู อายุมีความเสื่อมตามธรรมชาติของร่ างกายและอาจมีโรคประจาตัวเรื อ้ รัง จาเป็ นต้ องได้ รับการ ดูแลที่แตกต่างไปจากกลุ่มวัยอื่น นอกจากนี ้การเจ็บป่ วยของผู้สงู อายุอาจเกิดขึ ้นกับอวัยวะต่าง ๆ ในเวลา เดียวกัน หากไม่ได้ รับการรักษาอย่างทันท่วงทีจะทาให้ มีความรุนแรงเพิ่มขึ ้น (รู ป) กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพในวัยสูงอำยุ มีดังนี ้ ผิวหนั ง มีลกั ษณะแห้ งและหยาบกร้ านเนื่องจากปริ มาณต่อมเหงื่ อลดลง ต่อมไขมันผลิตไขมันได้ ลดลง ผิวหนังบาง เกิดจ ้าเลือดง่ายกว่าปกติ ผิวหนังเหี่ยวย่น ตกกระ กล้ ำมเนือ้ และกระดูก มีมวลกระดูกลดลง ทาให้ ความแข็งแรงลดลงและเกิดกระดูกหักได้ ง่าย ยังพบโรค ข้ อเข่าเสื่อมได้ บอ่ ยขึ ้น กำรมองเห็น มีหนังตาตก สายตายาว ความไวต่อแสงและการปรับ ตัวในที่มืดลดลง เสี่ยงต่อการหกล้ มได้ ง่ายโดยเฉพาะเวลากลางคืน กำรได้ ยิน ความสามารถในการได้ ยินเสียงที่มีความถี่สงู ลดลง หูตงึ เส้ นประสาทการได้ ยินเสื่อม บางราย จาเป็ นต้ องใช้ อปุ กรณ์เครื่ องช่วยฟั ง ระบบประสำท มีความสามารถในการจาลดลง ใช้ เวลาในการคิดนานขึ ้น การนอนหลับจะเปลี่ยนไป ที่พบ บ่อย คือ ระยะหลับลึกจะสัน้ และตื่นง่าย ระบบหัวใจและหลอดเลือด ความยืดหยุ่นของหลอดเลื อดแดงลดลงทาให้ พบความดันโลหิตสูงมากขึ ้น และอาจพบภาวะความดันโลหิตต่าเมื่อเปลี่ยนท่าได้ บอ่ ย เสี่ยงต่อการหกล้ มได้ ระบบทำงเดินหำยใจ ผู้สงู อายุจะเหนื่อยเร็วขึ ้นและออกกาลังกายได้ ลดลงผลมาจาก ช่องทรวงอกมีขนาด เล็กลง มีความยืดหยุ่นน้ อย จากภาวะหลังค่อมและกระดูกสันหลังคด (kyphoscoliosis) สมรรถภาพของ ปอดลดลง นอกจากนี ้การที่ภมู ิต้านทานต่าลงทาให้ ติดเชื ้อทางเดินหายใจได้ ง่ายขึ ้น

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


2

ระบบต่ อมไร้ ท่อ การทางานของตับอ่อนเสื่อมลงทาให้ ผ้ สู งู อายุเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานมากขึ ้น และหาก มีความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์มกั มีอาการไม่ชดั เจนทาให้ วินิจฉัยล่าช้ าได้ ระบบสืบพันธุ์ ผู้สงู อายุสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ หากไม่มีข้อจากัดด้ านสุขภาพ การมีสมรรถภาพทางเพศ เสื่อม มักเป็ นผลเนื่องมาจากโรคอื่นๆที่เป็ นร่ วมด้ วย เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดัน โลหิตสูง ในผู้หญิงอาจมีภาวะช่องคลอดแห้ งบางครัง้ ต้ องใช้ สารหล่อลื่นเวลามีเพศสัมพันธ์ ระบบทำงเดินปั สสำวะ ผู้สูงอายุจะมีจานวนและขนาดของหน่วยไต (nephron) ลดลงร่ วมกับเลือดไป เลีย้ งที่ ทาให้ การทางานของไตลดลง ในผู้ชายพบต่อมลูกหมากโตได้ บ่อย อาจมีอาการปั สสาวะลาบาก ปั สสาวะไม่พงุ่ ปั สสาวะไม่สดุ หรื อปั สสาวะบ่อยขึ ้นได้ ส่วนในผู้หญิงพบการกลันปั ้ สสาวะไม่อยูบ่ อ่ ย

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


3

ภำวะเปรำะบำง (พูด) ภาวะเปราะบางเป็ นกลุม่ อาการจาเพาะของผู้สงู อายุ จากพลังงานสารอง และความสามารถทาง กายภาพ การรับรู้ และสุขภาพในการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นของร่างกายลดลง ทาให้ ผ้ สู งู อายุเกิดปั ญหา สุขภาพได้ ง่าย เช่น การเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง การเดินและการทรงตัว เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ ม เกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน บกพร่องทางความคิด เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สงู อายุ กำรดูแลภำวะเปรำะบำงต้ องคำนึงถึงสิ่งสำคัญ 5 ประกำร 1) พลั ง งำนส ำรองของร่ ำงกำยลดลง (reduced body reserve) ความสามารถในการท ากิ จ วัต ร ประจาวันและกิจกรรมต่างๆลดลง เกิดความเจ็บป่ วยได้ ง่ายและรุนแรง อาการที่พบ เช่น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เบื่ออาหาร ซึมลง ไม่พดู หรื อมีอาการสับสน 2) อำกำรและอำกำรแสดงทำงคลินิกไม่ ชัดเจน (atypical presentation) ส่งผลให้ การวินิจฉัยล่าช้ า หรื อนาไปสู่การดูแลรักษาที่ไม่เหมาะสม เช่น ผู้ป่วยสูงอายุที่มีปอดอักเสบติดเชื ้อ อาจไม่มี ไข้ ไม่มีอาการไอ แต่พบเพียงอาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง เบื่ออาหาร อาการธัยรอยด์ฮอร์ โมนสูง (hyperthyroidism) ซึ่งส่วน ใหญ่จะต้ องกระสับกระส่าย ตื่นเต้ นตกใจง่าย แต่ในผู้สงู อายุอาจไม่มีอาการ ภาวะน ้าตาลต่าในเลือดอาจ ทาให้ เกิดภาวะหมดสติโดยไม่พบอาการเตือน เช่น ใจสัน่ ใจหวิวนามาก่อน 3) มีพยำธิสภำพของอวัยวะหลำยอย่ ำงร่ วมกัน (multiple pathology) มีความผิดปกติของอวัยวะต่างๆ หลายๆอย่างเกิดขึ ้นพร้ อมกัน ทาให้ เกิดอาการรุนแรงหรื อเกิดภาวะแทรกซ้ อนได้ ง่าย 4) กำรใช้ ยำร่ วมหลำยขนำน (polypharmacy) ผู้สูงอายุได้ รับยาหลายขนานเสี่ยงต่อการเกิดผลไม่พึง ประสงค์จากยาได้ มาก การดูดซึมยา (drug absorption) การกระจายของยา (drug distribution) และการ ขับถ่ายยาออกจากร่างกาย (drug excretion) เปลี่ยนแปลง นอกจากนัน้ ผู้สูงอายุบางราย อาจมีปัญหาทางด้ านสายตา ความจาบกพร่ อง หูไม่ค่อยได้ ยิน ทาให้ เกิด ปั ญหาการใช้ ยาไม่ถกู ต้ อง ได้ แก่ รับประทานยาไม่ตรงตามที่แพทย์สงั่ ใช้ ยาผิด หรื อซื ้อยารับประทานเอง 5) ปั ญหำด้ ำนสังคม (social adversity) ผู้สงู อายุมกั มีปัญหาด้ านจิตใจและสังคมเกิดจากความสูญเสีย ในชีวิตหลายด้ าน เช่น การเกษี ยณอายุการทางาน สูญเสียเพื่อน หรื อคูค่ รองจาการเสียชีวิต สภาพร่างกาย ที่เสื่อมลง มีโรคประจาตัวเรื อ้ รังหลายโรค ผู้สงู อายุอาจเกิดความรู้สกึ ว่าตนเองมีคณ ุ ค่าน้ อยลง ส่งผลให้ เกิด ปั ญหาทางสุขภาพจิตตามมา รวมถึงส่งผลต่อสุขภาพโดยรวม

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


4

(พูด) กำรประเมินภำวะเปรำะบำง (Frail) ใช้ แบบคัดกรองภาวะเปราะบางที่เรี ยกว่า “FRAIL scale” โดยเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะเปราะบาง 5 ข้ อ (FRAIL Scale) ประกอบด้ วย F : Fatique ความรู้สึกอ่อนเพลียไม่มีแรงในช่วง 4 สัปดาห์ที่ผา่ นมา R : Resistance เวลาเดินขึ ้นบันได 10 ขันด้ ้ วยตนเองไม่ใช้ อปุ กรณ์ ต้ องพักระหว่างเดินขึ ้นบันได A : Ambulation เวลาเดินในแนวราบด้ วยตนเองโดยไม่ใช้ อปุ กรณ์ชว่ ยเดิน มีปัญหาเวลาเดินไกล I : Illness มีโรคประจาตัว L: Loss of weight น ้าหนักลดลงโดยไม่ตงใจอย่ ั้ างน้ อย 4.5 กิโลกรัมหรื อมากกว่าร้ อยละ 5 ในปี ที่ผ่านมา หากพบตังแต่ ้ 3 ข้ อขึ ้นไป ถือว่าผู้สงู อายุมีภาวะเปราะบาง (Frail)

1.

2. 3. 4. 5.

(รู ป) กำรป้องกันและกำรส่ งเสริมสุขภำพให้ ไม่ เปรำะบำง การป้องกันและการส่งเสริมสุขภาพให้ ไม่เปราะบาง ได้ แก่ การออกกาลังกาย ทังออกก ้ าลังกายต้ านทาน (endurance exercise)และการออกกาลังกายแอโรบิก (aerobic exercise) โดยการยกน ้าหนักช่วยเพิ่มมวลกล้ ามเนื ้อในร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงของ กล้ ามเนื ้อ กิจกรรมไทชิ เป็ นการออกกาลังกายที่ช้าและอ่อนโยน เกี่ยวข้ องกับการเคลื่อนไหวและการทาสมาธิที่จะ ให้ เกิดความสมดุลและฝึ กการเดิน รับประทานทานอาหารให้ ครบทัง้ 5 หมู่ การบารุงรักษาสุขภาพช่องปาก และฟั นเพื่อป้องกันฟั นผุ และรักษารากฟั นในการบดเคี ้ยวอาหาร ประเมินสิ่งแวดล้ อมของบ้ านหรื อที่อยูอ่ าศัยในพื ้นที่ รวมถึงความปลอดภัย เพื่อลดความเสี่ยงต่อการ เกิดการพลัดตกหกล้ ม เช่น สร้ างราวจับในห้ องอาบน ้า ฝั กบัวอาบน ้าที่มีที่นงั่ ปรับความสูงเคาน์เตอร์ ตู้ ประตูกว้ าง ทาสีตดั กันของเคาน์เตอร์ พื ้นผนัง และพื ้นผิวไม่ลื่น ลาดเอียง มีแสงสว่างที่เพียงพอ เหมาะสมและติดตังระบบกดเรี ้ ยกฉุกเฉิน

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


5

ภำวะหกล้ ม (พูด) ภำวะหกล้ ม (Fall) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายของบุคคลหนึ่งล้ มลงไปอยู่ที่พืน้ หรื อพืน้ ผิวที่ต่ากว่า ร่างกายโดยไม่ตงใจ ั ้ เป็ นภาวะที่พบบ่อยในผู้สงู อายุ พบว่า 1 ใน 3 ของผู้ที่อายุตงแต่ ั ้ 65 ปี ขึ ้นไปมีประวัติ หกล้ มอย่างน้ อย 1 ครัง้ ในรอบปี และมีความเสี่ยงที่จะมีอุบตั ิการณ์หกล้ มซ ้าๆ ผลกระทบของภาวะหกล้ ม ทาให้ ผ้ สู งู อายุได้ รับบาดเจ็บ เช่น กระดูกหัก โดยกระดูกต้ นขาเป็ นตาแหน่งที่พบบ่อยที่สุด ภาวะเลือดออก ในสมอง ทาให้ ผ้ สู งู อายุต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนาน เสียค่ารักษาพยาบาล มีผลต่อความสามารถ ในการทากิจวัตรประจาวัน เป็ นเหตุให้ ต้องมีคนดูแลระยะยาว เสี่ยงต่อการนอนติดเตียง และต้ องอาศัยอยู่ ในสถานบริ บาล คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลง และมีอตั ราการเสียชีวิตสูงขึ ้น หลังจากเกิดภาวะหกล้ ม อาจจะทาให้ ผ้ สู งู อายุกลัวที่จะหกล้ มในการทากิจกรรมต่างๆ ลดลง ทาให้ ไม่ไปทากิจกรรมนอกบ้ าน อยู่ติด บ้ านมากขึ ้น ส่งผลต่อสภาวะสุขภาพทางกาย การเข้ าสังคม และคุณภาพชีวิต (รู ป) ภำวะหกล้ มต้ องคำนึงถึงสิ่งต่ อไปนี ้ 1. มวลกล้ ำมเนือ้ และควำมแข็งแรงของกล้ ำมเนือ้ เมื่อถึงวัยสูงอายุจะลดลง การรับความรู้สึก โดยเฉพาะการรับแรงสัน่ สะเทือน (Vibratory sensitivity) เวลายืนหรื อเดินจะลดลง เป็ นผลให้ การเดินและ การทรงตัวเปลี่ยนไป บางรายมีการทางานด้ านรู้คิดบกพร่อง (Cognitive dysfunction) โดยพบว่าเดินช้ าลง ระยะทางของแต่ละก้ าวลดลง 2. ระบบกำรมองเห็น เมื่อถึงวัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงการมองเห็น ได้ แก่ ความคมชัด การรับรู้มิติ ความลึกของภาพ ความไวในการปรับสายตาเมื่ออยู่ในที่มืดลดลง และลานสายตาแคบลง การ มีโรคทางสายตาจะส่งผลให้ การมองเห็นลดลง เช่น ต้ อกระจก ต้ อหิน และจอประสาทตาเสื่อม เป็ นต้ น นอกจากนี ้การได้ รับยาที่ทาให้ รูมา่ นตาเล็กลง จะส่งผลให้ การมองเห็นในที่มืดลดลง 3. ระบบเวสติบูลำร์ ในหูชัน้ ใน การทางานของระบบเวสติบลู าร์ ในผู้สงู อายุจะเสื่อมมากขึ ้น จาก ความหนาแน่นของเซลล์ขน (hair cell) ลดลง โดย เซลล์นี ้ทาหน้ าที่เป็ นตัวจับการเคลื่อนไหวของศีรษะที่ สัมพันธ์กบั การเคลื่อนไหวของร่างกาย ร่วมกับโรคที่มีผลต่อระบบดังกล่าวพบมากในผู้สงู อายุ เช่นโรคเวียน ศีรษะขณะเปลี่ยนท่า หรื อโรคหินปูนในหูชนั ้ ในเคลื่ อน (benign paroxysmal peripheral vertigo) โรคมี เนียร์ (Minere disease) ทาให้ ผ้ สู งู อายุมีอาการเซได้ ง่าย 4. ระบบประสำทส่ วนกลำง มีหลายส่วนที่เกี่ยวข้ องกับการทรงตัว ได้ แก่ ก้ านสมองและประสาท ไขสันหลัง ทาหน้ าที่เกี่ยวกับกาหนดรูปแบบพฤติกรรมการก้ าวเดิน ซึง่ ถูกควบคุมจากสมอง ดังนันโรคที ้ ่มีผล ต่อระบบประสาทเหล่านี ้ จะส่งผลต่อการทรงตัว

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


6

5. ภำวะที่ทำให้ ระบบประสำทส่ วนกลำงขำดเลือด เนื่องจากระบบประสาทเหล่านี ้ไวต่อการ ขาดเลือด ดังนันโรคหรื ้ อภาวะที่มีผลต่อระบบไหลเวียนโลหิตจะมีผลต่อการเดิน เช่ น ภาวะความดันโลหิต ต่าเมื่อเปลี่ยนท่า โรคลิ ้นหัวใจเอออร์ ตกิ ตีบ (aortic stenosis) ภาวะเสื่อม เช่น ในโรคพาร์ กินสัน 6. ระบบกำรเคลื่อนไหวและกำรตอบสนอง ได้ แก่ ส่วนของกล้ ามเนื ้อและข้ อ ภาวะกล้ ามเนื ้อ อ่อนแรง เป็ นภาวะที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ส่วนหนึ่งเป็ นผลจากความชรา ได้ แก่ ภาวะมวลกล้ ามเนือ้ น้ อย และเป็ นผลจากโรคที่เกิดร่วม หรื อพฤติกรรมที่มีกิจกรรมต่างๆลดลง เช่น โรคของระบบประสาทส่วนปลาย โรคของกล้ ามเนื ้อเอง ระดับวิตามินดีที่ต่าลง ส่วนความผิดปกติของข้ อ เช่น โรคข้ อเสื่อม ภาวะข้ ออักเสบ จากสาเหตุต่างๆ ทาให้ การเคลื่อนไหวของข้ อลดลง เกิดอาการปวด เป็ นผลให้ การเดินและการลงนา้ หนัก ผิดปกติ นอกจากนี ้ภาวะใดๆ ก็ตามที่ทาให้ เกิดความล้ า (fatigue) เช่น ภาวะซีด ภาวะหัวใจวาย จะทาให้ การทรงตัวเสียไป และเพิ่มความเสี่ยงในการหกล้ มได้ (สำธิ ต ) การประเมิ น ความสามารถโดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ทดสอบความสามารถในการเคลื่ อ นไหว (functional mobility test) เช่ น timed get-up-and-go test (TGUT) ท าได้ โ ดยให้ ผ้ ูสูง อายุลุก จากเก้ า อี ้ สามารถใช้ อปุ กรณ์ช่วยเดินที่ใช้ ประจาได้ เดินตรงไป 10 ฟุต หรื อประมาณ 3 เมตร โดยให้ เดินเป็ นเส้ นตรง ด้ วยความเร็ วปกติแล้ วหมุนตัวกลับมานัง่ ที่เดิม ปกติใช้ เวลาไม่เกิน 20 วินาที หากใช้ เวลา 15 วินาทีขึ ้นไป ถือว่ามี ความเสี่ยงต่อการหกล้ มและถ้ าใช้ เวลานาน 30 วินาทีขึ ้นไป ถือว่าผิดปกติ (สำธิต) TUGT

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


7

(สำธิต) BERG BALANCE

(พูด) กำรป้องกันภำวะหกล้ มโดยระมัดระวังสำเหตุท่ ีทำให้ เกิดภำวะหกล้ ม ได้ แก่ 1. ทบทวนยา และการรักษาโรคหรื อภาวะต่างๆ ที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้ ม ลดหรื อหลีกเลี่ยงการใช้ ยาที่เสี่ยง ต่อภาวะหกล้ ม และลดจานวนยาให้ เหลือเท่าที่จาเป็ น 2. การออกกาลังกาย ที่เป็ นกิจกรรมฝึ กการทรงตัว เช่น การฝึ กไทชิ (Tai chi) โปรแกรมการออกกาลังกาย แบบโอตาโกะ (Otago) 3. การออกกาลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อ ฝึ กทรงตัว การเคลื่อนย้ ายตัว และการเดิน 4. การให้ วิตามินดีเสริ ม เนื่องจากภาวะขาดวิตามินดีพบได้ บ่อยในผู้สงู อายุ และมีความสัมพันธ์กบั ความ แข็งแรงของกล้ ามเนื ้อ 5. หลีกเลี่ยงการใช้ ยาที่ไม่จาเป็ น และปรึกษาแพทย์หรื อเภสัชกรทุกครัง้ ลดการใช้ ยาที่มีผลต่อจิตประสาท โดยเฉพาะกลุม่ benzodiazepines ในผู้ที่รับประทานยา diazepam ซึง่ เป็ นยาที่ออกฤทธิ์ยาว ให้ เปลี่ยน ยามาเป็ น benzodiazepine ที่ออกฤทธิ์สนั ้ 6. การปรับเปลี่ยนการมองเห็นให้ เหมาะสม การใช้ แว่นสายตาชนิดมีหลายเลนส์ในแว่นเดียวกัน เพิ่มความ เสี่ยงในการหกล้ มได้ เพราะเมื่อผู้สูงอายุลูกเดิน จะมองเห็นพื ้นไม่ชดั เจน ดังนันจึ ้ งควรใช้ แว่นสายตา ชนิดเลนส์เดียวขณะเดินหรื ออยูใ่ นสิ่งแวดล้ อมที่ไม่ค้ นุ เคย 7. ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้ อมที่พกั อาศัยให้ เหมาะสม เช่น พื ้นที่ปดู ้ วยพรม ไม่ควรใช้ พรมที่ไม่ยดึ ติดกับพื ้น เช่น พรมที่ไม่มีวสั ดุกันลื่นติดด้ านล่างพรมเช็ดเท้ าหรื อเสื่อที่ตาห่าง พรมที่มีขอบย่น พับไม่เรี ยบ ทาให้ เกิด ความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ มพื ้นผิวในบ้ านควรมีลกั ษณะไม่ลื่นหรื อไม่ขดั มัน โดยเฉพาะพื ้นผิวในบริ เวณที่ เปี ยกน ้า ไม่ควรมีสตั ว์เลี ้ยงขนาดเล็กวิ่งอยู่บริ เวณเท้ า จัดบ้ านให้ มีแสงสว่างเพียงพอ จัดหาเก้ าอี ้ความ สูงระดับพอดี มัน่ คงแข็งแรง เก้ าอี ้ที่ระดับต่าเกินไปทาให้ ไม่สะดวกในการลุก เฟอร์ นิเจอร์ ควรวางอยู่ใน ตาแหน่งที่ไม่กีดขวางทางเดิน หมัน่ ดูแลให้ พื ้นแห้ งเสมอ ควรมีราวจับตามฝาผนัง และให้ มีแสงสว่างส่อง ถึงเพียงพอในพื ้นที่ตา่ งๆ จัดเครื่ องใช้ ในห้ องให้ เป็ นระเบียบ มีอปุ กรณ์ชว่ ยเดินที่เหมาะสม 8.ฝึ กการทรงตัวและการเคลื่อนไหว ควรเปลี่ยนท่าช้ าๆ เพื่อป้องกันภาวะความดันตกในท่ายืน หน้ ามืด วิงเวียน ขณะลุกนัง่ หรื อยืนทุกครัง้

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


8

ข้ อเข่ ำเสื่อม (พูด) เข่าเสื่อมเป็ นโรคของข้ อเข่าที่เกิดจากการเสื่อมของกระดูกอ่อนข้ อต่อ เป็ นปั จจัยเสี่ยงหนึ่งของภาวะ หกล้ ม ข้ อเข่ ำเสื่อม (Osteoarthritis of knee) หมายถึง โรคของข้ อเข่าที่เกิดจากการเสื่อมของกระดูกอ่อนข้ อต่อ (articular cartilage) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกระบวนการเสื่อมจะไม่สามารถกลับสูส่ ภาพเดิมและจะทวี ความรุ นแรงขึ ้นตามลาดับ ผู้สูงอายุที่เป็ นโรคข้ อเข่าเสื่อมส่งผลให้ ต้องลดกิจกรรมทางกายลง ต้ องนัง่ พัก นอนพักอยูบ่ นเตียง การเล่นกีฬา และการเข้ าสังคม ต้ องลดลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีผลให้ สขุ ภาพองค์รวม และคุณภาพชีวิตลดลง ผู้สงู อายุที่มีอาการมานานและเกิดความพิการของข้ อเข่าอย่างถาวร ต้ องพึ่งยา ใช้ ไม้ เท้ า รวมทังรถเข็ ้ นแล้ ว ผู้ป่วยเหล่านี ้ยังต้ องพึง่ พาผู้อื่น เป็ นภาระของผู้ใกล้ ชิด หรื อลูกหลาน (รู ป) อำกำรของโรคข้ อเข่ ำเสื่อม 1. อาการปวด (pain) มีลกั ษณะปวดตื ้อๆ ทัว่ ๆไป บริ เวณข้ อ ไม่สามารถระบุตาแหน่งได้ ชดั เจน อาการ ปวดมักเป็ นเรื อ้ รังและมากขึ ้นเมื่อใช้ งาน หรื อลง น ้าหนักบนข้ อนัน้ ๆ อาการจะทุเลาลงเมื่อพักการใช้ งาน หากการดาเนินโรครุนแรงขึ ้นอาจทาให้ ปวดตลอดเวลา แม้ กลางคืนหรื อขณะพัก บางรายมีอาการ ตึงบริเวณ พับเข่า 2. ข้ อฝื ด (stiffness) พบได้ บ่อย มักเป็ นตอนเช้ า แต่มักไม่เกิน 30 นาทีอาการฝื ดอาจเกิดขึน้ ชั่ว คราว ในช่วงแรกของการเคลื่ อนไหวหลัง จากพักเป็ นเวลานาน เรี ยกว่า ปรากฏการณ์ ข้อหนื ด (gelling phenomenon) 3. ข้ อบวมและผิดรูป (swelling and deformity) อาจพบขาโก่ง (bow legs) หรื อเข่าฉิ่ง (knock knee) 4. สูญเสียการเคลื่อนไหวและการทางาน ผู้ป่วย มีอาการเดินไม่สะดวก มีเสียงดังกรอบแกรบ (crepitus) ในข้ อเข่า ขณะเคลื่อนไหว 5. ข้ อเข่าที่อกั เสบ จะมีอาการบวมแดงร้ อนเมื่อเทียบกับข้ างปกติ อาการปวดอักเสบดังกล่าว เป็ น สัญญาณเตือนภัยเพื่อเตือนให้ ลดการใช้ งานลง ให้ ข้อได้ พกั อาการอักเสบจะได้ ทเุ ลาลง 6. ของเหลวในข้ อเพิ่มขึ ้น บางรายมีก้อนแข็งบริเวณหลังข้ อเข่าเป็ นถุงน ้า ถ้ าเจาะจะได้ น ้าเหนียวใส 7. กล้ ามเนื ้อรอบข้ ออาจมีอาการปวดเมื่อย อ่อนแรง กล้ ามเนื ้อรอบข้ อเข่าลีบเล็กลง พิสยั การ เคลื่อนไหวเริ่มติดขัด เหยียดงอไม่สดุ เหมือนปกติ 8. ขัดภายในข้ อ หรื อมีเสียงขณะขยับข้ อ ดังกรุ๊บกรั๊บเป็ นต้ น 9. การขึ ้นลงบันไดลาบาก ต้ องก้ าวเดินทีละก้ าวช้ าๆ ขณะลุกขึ ้นจากท่านัง่ จะมีอาการปวด

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


9

(พูด) กำรป้องกันและรักษำโรคข้ อเข่ ำเสื่อม ได้ แก่ 1. จากัดอาหารมันและหวาน เพื่อมิให้ น ้าหนักเกินพิกดั อาหารที่แนะนา คือ ผัก ผลไม้ ที่ไม่หวาน เต้ าหู้และ เนื ้อปลา และดื่มน ้าต้ มสุก ลดน ้าหวาน น ้าอัดลม ทานข้ าวซ้ อมมือหรื อข้ าวกล้ อง 2. หลีกเลี่ยงการใช้ งานที่เกินกาลังและท่าทางที่ทาให้ ข้อมีความดันเพิ่มสูง ได้ แก่ ท่านัง่ ยอง คุกเข่า พับเพียบ ท่าก้ มหลัง เป็ นต้ น 3. บริหารร่างกายให้ แข็งแรงอย่างสม่าเสมอ (สำธิต) Knee exercise 4. หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุ ที่อาจทาให้ กระดูกหักผ่านข้ อ เอ็นยึดข้ อฉีกขาด 5. ตรวจเช็คร่างกายอย่างสม่าเสมอทุกปี 6. หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่มีการกระแทก ซึง่ เสี่ยงต่อการบาดเจ็บของข้ อเข่า

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


10

ภำวะกลัน้ ปั สสำวะไม่ อยู่ (พูด) ภาวะกลันปั ้ สสาวะไม่อยู่ หมายถึง ภาวะที่มีน ้าปั สสาวะราดออกมาโดยไม่ได้ ตงใจ ั ้ อาการตังแต่ ้ มี ปั สสาวะหยดมาเปื อ้ นกางเกงตังแต่ ้ ปริมาณที่ไม่มากนัก จนถึงมีปริมาณมาก บางครัง้ อาจมีอจุ จาระเล็ดร่วม ด้ วย และไม่สามารถควบคุมได้ ส่งผลให้ เกิดความยากลาบากในการใช้ ชีวิตประจาวัน ก่อให้ เกิดความกังวล ใจในการเข้ าสังคมของผู้สูงอายุ ทาให้ สูญเสียความมั่นใจในการดาเนินกิจวัตรประจาวัน ไม่สามารถมี กิจกรรมนอกบ้ าน ทาให้ ต้องเก็บตัวอยู่กบั บ้ านแยกตัวจากสังคม นาไปสู่ภาวะซึมเศร้ า และนาไปสู่คณ ุ ภาพ ชีวิตที่แย่ลง อีกทัง้ เกิดผลเสีย ด้ านสุขภาพกาย เช่น โรคติดเชือ้ ทางเดินปั สสาวะซา้ ซ้ อน โรคผิวหนัง เช่น ผิวหนังอักเสบบริ เวณที่สมั ผัสกับน ้าปั สสาวะเป็ นเวลานานจะเปื่ อยและแตก เกิดแผลกดทับ การอักเสบที่ ปลายอวัยวะเพศ (balanitis) และติดเชื ้อราที่ผิวหนังได้ ง่าย ผู้สงู อายุยงั เสี่ยงต่อภาวะหกล้ มและกระดูกหัก ปั จจัยเสี่ยงของภำวะกลัน้ ปั สสำวะไม่ อยู่ ได้ แก่ 1. ผู้ที่มีภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน (Delirium) จะทาให้ สญ ู เสียความสามารถในการควบคุมปั สสาวะชัว่ คราว 2. ยา (Drugs) บางชนิดก็อาจมี ผลทาให้ ผ้ ูป่วยมี อาการปั สสาวะราดได้ ได้ แก่ ยาที่มีผลข้ างเคียงท าให้ ปั สสาวะคัง่ (urinary retention) ได้ แก่ ยากลุ่ม anticholinergic (antihistamine, antipsychotic, tricyclic antidepressant, antiparkinsonian) ยากลุม่ opiate ยาลดความดันโลหิต กลุม่ calcium channel blocker/ dihydropyridine (nifedipine, felodipine, nicardipine) ยาลดอาการคัด จมู ก กลุ่ ม alpha-adrenergic agonist ยาที่มีผลข้ างเคียงต่อการทางานของหูรูดท่อปั สสาวะ (urethral sphincter) ได้ แก่ ยาลดความดันโลหิต กลุม่ alpha-adrenergic blocker (prazosin, doxazosin) ยาที่ทาให้ มีปริ มาณปั สสาวะมาก ได้ แก่ ยาขับปั สสาวะ (hydrochlorothiazide, furosemide) ยาออกฤทธิ์ ต่อจิตประสาทที่ทาให้ ง่วงซึม เช่น benzodiazepine ยาที่มีผลกระตุ้นการไอ เช่น ยาลดความดัน โลหิ ต (angiotensin-converting enzyme inhibitor) เวลาผู้ป่วยไอจะมีปัสสาวะเล็ดหรื อราดได้ 3. การที่ผ้ สู งู อายุไม่สามารถเดินไปห้ องน ้าได้ สะดวก (Retention of urine / Restricted mobility) เช่น การ นอนบนเตียงผู้ป่วยในโรงพยาบาลที่มีที่กนข้ ั ้ างเตียงทังสองข้ ้ างถูกยกขึ ้นตลอดเวลาเพื่อป้องกันการตกเตียง หรื อการที่เตียงผู้ป่วยอยู่ไกลจากห้ องน ้า การผูกมัดผู้ป่วย และการให้ ยาที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตประสาท ทาให้ ผู้ป่วยไม่สามารถกลันปั ้ สสาวะเพื่อจะไปถ่ายปั สสาวะที่ห้องน ้าได้ ทนั 4. ผู้สงู อายุที่มีโรคติดเชื ้อทางเดินปั สสาวะ (Infection) อาจมาด้ วยอาการปั สสาวะราด แทนที่จะมีอาการไข้ หนาวสัน่ เหมือนอย่างในผู้ป่วยทัว่ ไป

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


11

5. ผู้สงู อายุที่มีอาการท้ องผูกมาก (Fecal impaction) จนเกิดภาวะอุจจาระอุดตันในลาไส้ เป็ นสาเหตุของ ภาวะกลันปั ้ สสาวะไม่อยู่ (Incontinence) ได้ ผู้ป่วยกลุ่มนี ้มักมีอาการทังปั ้ สสาวะราดและอุจจาระราดใน เวลาเดียวกัน 6. ภาวะที่ปัสสาวะมีปริ มาณมากผิดปกติ (Polyuria) ได้ แก่ ได้ รับยาลดความดันโลหิตกลุ่มยาขับปั สสาวะ, ยาขยายหลอดลม theophylline การได้ สารคาเฟอีน (caffeine) จากการดื่มชา กาแฟ เครื่ องดื่มที่มีสว่ นผสม ของแอลกอฮอล์,โรคเบาหวาน เป็ นต้ น 7. ภาวะที่มีการอุดกัน้ ที่คอกระเพาะปั สสาวะ (bladder outlet obstruction) มีก้อนในอุ้งเชิงกรานผู้หญิง , ต่อมลูกหมากโตในผู้ชาย ทาให้ ปัสสาวะค้ างในกระเพาะปั สสาวะจานวนมากจนเล็ดออกมา 8. ผู้หญิงที่ผ่านการคลอดบุตรทางช่องคลอด การผ่าตัดบริ เวณอุ้งเชิงกราน เช่น การผ่าตัดมดลูก ผู้ชายที่ ผ่านการผ่าตัดต่อมลูกหมาก และสตรี หมดประจาเดือน 9. กิจกรรมที่ทาให้ ความดันในกระเพาะปั สสาวะสูงขึน้ เช่น การออกกาลังยกของหนัก การไอ การจาม อย่างแรง 10. ผู้ที่มีปัญหาทางสมอง หรื ออยูใ่ นภาวะที่ไม่สามารถไปเข้ าห้ องน ้าได้ เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อม โรค น ้าคัง่ ในโพรงสมองชนิดความดันปกติ (normal pressure hydrocephalus) หรื อสูญเสียความสามารถใน การเดิน (รู ป) อำกำรภำวะกลัน้ ปั สสำวะไม่ อยู่ จาแนกตามชนิดและลักษณะที่สาคัญได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1. ภำวะกลัน้ ปั สสำวะไม่ ได้ จำกมี กำรเพิ่มแรงดันในช่ องท้ อง (Stress incontinence) เมื่อมีการเพิ่ม ความดันในช่องท้ องเพิ่มขึ ้นกะทันหัน ทาให้ ความดันในกระเพาะปั สสาวะสูงขึ ้นทันที จนหูรูดที่ท่อปั สสาวะ ไม่สามารถควบคุมการไหลของปั สสาวะที่พงุ่ ออกมาอย่างรวดเร็ วและรุนแรงได้ เช่น การยกของหนัก การไอ การจาม อย่างแรง นาไปสู่การมี ปัสสาวะเล็ดหรื อราดได้ (ปั สสาวะราดปริ ม าณน้ อย ๆ ประมาณ 5-10 มิลลิลิตรต่อครัง้ ) 2. ภำวะกลั น้ ปั สสำวะไม่ ได้ หลังมี อำกำรปวดปั สสำวะเฉี ยบพลัน (Urge incontinence) เป็ นพยาธิ สภาพที่เกิดจากกล้ ามเนือ้ เรี ยบของกระเพาะปั สสาวะ (detrusor muscle) มีการบีบตัวที่รุนแรงกว่าปกติ หรื อมีการบีบตัวทังๆที ้ ่ปริ มาณปั สสาวะในกระเพาะปั สสาวะไม่มากพอที่จะทาให้ ร้ ู สึกปวดปั สสาวะพบได้ บ่อยที่ สุดในผู้สูง อายุที่มี อาการปั ส สาวะราดเรื อ้ รั ง อาจพบร่ วมกับพยาธิ สภาพอื่ นๆ ที่ บริ เวณทางเดิน ปั สสาวะส่วนล่าง เช่น กระเพาะปั สสาวะอักเสบ ท่อปั สสาวะอักเสบ เนื ้องอกหรื อนิ่วในกระเพาะปั สสาวะ หรื ออาจเกิดขึ ้นเองเนื่องจากวัยสูงอายุ ที่เรี ยกว่ า overactive bladder ผู้ป่วยจะมีปัสสาวะราดในปริ มาณที่ มากกว่ า Stress incontinence เมื่ อ ปวดปั ส สาวะแล้ ว จะอยากปั ส สาวะทัน ที อ ย่ า งมาก (urgency) มี ปั สสาวะราดก่อนที่จะไปถึงห้ องน ้า

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


12

3. ภำวะกลั น้ ปั สสำวะไม่ ไ ด้ จ ำกปั สสำวะล้ น (Overflow incontinence) พยาธิ สภาพชนิดนี เ้ กิ ด จาก กล้ า มเนื อ้ เรี ย บของกระเพาะปั ส สาวะ (detrusor muscle) สูญ เสี ย ความสามารถในการบี บ ตัว ท าให้ กระเพาะปั สสาวะไม่สามารถขับถ่ายปั สสาวะออกได้ หมด หลังจากที่ผ้ ปู ่ วยปั สสาวะเสร็ จแล้ ว สาเหตุหลัก ได้ แก่ ความผิ ดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติในการควบคุม การทางานของกระเพาะปั สสาวะ เช่น ภาวะแทรกซ้ อนจากโรคเบาหวานต่อระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic neuropathy) กลุ่มอาการของ ทางเดินปั สสาวะส่วนล่าง (Lower urinary tract symptomatology หรื อ LUTS) ภายหลังการปั สสาวะเสร็ จ ยังคงเหลือน ้าปั สสาวะค้ างอยูใ่ นกระเพาะปั สสาวะเป็ นจานวนมาก เมื่อไตผลิตน ้าปั สสาวะจนเต็มกระเพาะ ปั สสาวะ ปั สสาวะส่วนเกินความจุของกระเพาะปั สสาวะ ทาให้ ต้องปั สสาวะเล็ดออกมาเองในปริมาณน้ อยๆ แต่ออกมาเรื่ อยๆโดยที่ผ้ ปู ่ วยไม่มีอาการปวดปั สสาวะ หรื อมีปัสสาวะหยดหลังถ่ายปั สสาวะเสร็จแล้ ว 4. ภำวะกลั ้น ปั สสำวะไม่ ไ ด้ จ ำกกำรควบคุ ม บกพร่ อง (Functional incontinence) เกิ ด จากความ ผิดปกติที่นอกเหนือจากสาเหตุที่เกิดจากการควบคุมการถ่ายปั สสาวะแต่เกิดจากมีปัญหาทางสมอง หรื อ อยู่ในภาวะที่ไม่สามารถไปเข้ าห้ องน ้าได้ เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อม หรื อสูญเสียความสามารถในการ เดินไปใช้ ห้องน ้าเพื่อถ่ายปั ส สาวะ เช่น อาการปวดเข่าเนื่องจากข้ อเข่าเสื่อม อาการเหนื่อยง่ายเนื่องจาก ภาวะโลหิตจาง ภาวะหัวใจวายเรื อ้ รัง โรคหลอดลมอุดกันเรื ้ อ้ รัง อาการเดินลาบากเนื่องจากโรคพาร์ กินสัน (Parkinson’s disease) โรคหลอดเลือดสมอง เป็ นต้ น โรคจิตประสาท เช่น ภาวะซึมเศร้ า ทาให้ ผ้ สู งู อายุไม่ สนใจในการดูแลตนเอง ภาวะสมองเสื่อม ทาให้ ผ้ สู ูงอายุไม่รับรู้ ถึงความสาคัญของมารยาททางสังคม ที่ จะต้ องถ่ายปั สสาวะในที่เฉพาะ ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน (delirium) ทาให้ ผ้ สู งู อายุไม่สามารถควบคุมการ กลันปั ้ สสาวะได้ 5. ภำวะกลัน้ ปั สสำวะไม่ ได้ จำกกระแสประสำทผิดปกติ (Reflex incontinence) ผู้ป่วยที่มีพยาธิการ สภาพชนิดนี ้ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปั สสาวะเองได้ เนื่องจากกระแสประสาทที่สงั่ การจากสมองไม่ สามารถผ่านไปตามไขสันหลังจนถึงบริ เวณกระเบนเหน็บที่ควบคุมการทางานของกระเพาะปั สสาวะ ทาให้ กระเพาะปั ส สาวะท างานโดยอัต โนมัติ ป ราศจากการควบคุม (automatic emptying) ในกรณี เ รื อ้ รั ง กระเพาะปั สสาวะจะมีพยาธิสภาพแบบหดเกร็ ง (spastic) ทาให้ ไม่สามารถเก็บกักปั สสาวะได้ มาก ผู้ป่วย จะปั สสาวะบ่อยและกลัน้ ไม่ไ ด้ ภาวะนีเ้ กิดขึน้ เมื่อมีการทาลายไขสันหลัง (spinal cord) อาจเนื่องจาก อุบตั เิ หตุ มะเร็งที่แพร่กระจายมากดไขสันหลัง และภาวะช่องไขสันหลังตีบ (spinal stenosis) ผู้ป่วยจึงต้ อง มีอาการทางระบบประสาทอื่นๆ ร่ วมด้ วยเสมอ เช่น อาการอ่อนแรงของขาทัง้ 2 ข้ าง ภาวะหกล้ ม อาการ สูญเสียความรู้ สึกของร่ างกายตังแต่ ้ ตาแหน่งที่มีการทาลายไขสันหลังที่รับความรู้ สึก จากส่วนนัน้ ๆ ของ ร่างกายตลอดจนไปถึงบริ เวณรอบทวารหนัก ทาให้ มีอาการอุจจาระราดร่วมด้ วย นอกจากนัน้ โรคน ้าคัง่ ใน โพรงสมองชนิดความดันปกติ (normal pressure hydrocephalus) อาจทาให้ มีอาการปั สสาวะราดแบบนี ้ ร่วมกับอาการขาอ่อนแรงทาให้ เดินลาบากในระยะรุนแรงผู้ป่วยจะมีภาวะสมองเสื่อมร่วมด้ วย

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


13

กำรรักษำภำวะกลัน้ ปั สสำวะไม่ อยู่ (พูด) ได้ แก่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจาวัน (Lifestyle intervention) 1. หลีกเลี่ยงเครื่ องดื่มที่มีสว่ นผสมของคาเฟอีน หรื อที่มีแอลกอฮอล์ 2. การไม่ดื่มน ้ามากเกินไป หยุดการดื่มน ้าโดยให้ ห่างจากเวลาเข้ านอน หรื อเวลาที่ต้องออกนอกบ้ านเป็ น เวลาอย่างน้ อย 3-4 ชัว่ โมง ควรจากัดปริ มาณน ้าดื่มไม่เกิน 1 ลิตรต่อวัน ปรับเปลี่ยนชนิดหรื อเวลาที่ รับประทานยาที่ทาให้ ปัสสาวะมีปริมาณมาก 3. การลดน ้าหนักในรายที่มีน ้าหนักตัวเกิน 4. รับประทานอาหารกากใยลดปั ญหาท้ องผูก 5. หลีกเลี่ยงยาที่อาจมีผลข้ างเคียงทาให้ กลันปั ้ สสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 6. ควรไปปั สสาวะที่ห้องน ้าบ่อยๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ น ้าปั สสาวะสะสมในกระเพาะปั สสาวะมากจนนาไปสู่ อาการปั สสาวะราดครัง้ ต่อไป โดยเริ่มจากทุก 2 ชัว่ โมงแล้ วยืดเวลาให้ นานขึ ้นถ้ าผู้ป่วยปฏิบตั ไิ ด้ 7. หลีกเลี่ยงสิ่งที่อาจจะทาให้ เกิดอาการไอเรื อ้ รัง เช่น การหยุดสูบบุหรี่ การควบคุมโพรงไซนัส อักเสบ การ ควบคุมอาการไอจามจากโรคภูมิแพ้ การควบคุมโรคกรดไหลย้ อนจากกระเพาะอาหารเข้ าสูห่ ลอดอาหาร (Gastroesophageal reflux disease หรื อ GERD) 8. หากผู้สูงอายุจาเป็ นต้ องไปอยู่ในสิ่งแวดล้ อมที่ค่อนข้ างเย็น ควรพยายามทาให้ ร่างกายมีความอบอุ่น และเตรี ยมผ้ าอ้ อมสาเร็จรูปหรื ออุปกรณ์เสริมอื่นๆ เช่น กระบอกปั สสาวะชาย 9. ปรั บ เปลี่ ย นสิ่ ง แวดล้ อมภายในบ้ า น และจัด หาอุ ป กรณ์ เ พิ่ ม เติ ม จะได้ ผ ลดี ใ นกรณี functional incontinence เช่น จัดเตียงนอนหรื อบริ เวณที่ผ้ ูสูงอายุมักอยู่ในเวลากลางวันให้ ใกล้ กับห้ องนา้ การ อานวยความสะดวกให้ ผ้ สู งู อายุสามารถเดินไปใช้ ห้องน ้าด้ วยความรวดเร็ ว เช่น มีราวให้ จบั ไปตามทาง

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


14

พื ้นไม่ลื่น ไม่มีธรณีประตู ห้ องน ้า จัดหาหม้ อรองปั สสาวะหรื อกรวยรองปั สสาวะเพื่อให้ สามารถปั สสาวะ ข้ างเตียงได้ จัดหาผ้ าอ้ อมชนิดใช้ แล้ วทิ ้งในกรณีที่ต้องออกไปธุระนอกบ้ าน (รู ป, สำธิต) กำรรักษำเฉพำะ ได้ แก่ 1. การป้องกันอาการปั สสาวะราดเมื่อผู้ป่วยสูงอายุต้องเข้ ารับการรักษาในโรงพยาบาล เช่น ส่งเสริ มให้ ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวได้ เองให้ เร็วที่สดุ โดยเฉพาะการเดินไปเข้ าห้ องส้ วมได้ เอง จัดหาเตียงให้ ผ้ ปู ่ วยที่มี ความเสี่ยงต่อการเกิดอาการปั สสาวะราดอยู่ใกล้ ห้องส้ วม หลีกเลี่ยงการใช้ ยา หรื อระมัดระวังในการใช้ ยาที่อาจนาไปสู่อาการปั สสาวะราดได้ และติดตามการขับ ถ่ายอุจจาระและป้องกันอาการท้ องผูกที่ อาจจะเกิดขึ ้น 2. ผู้สูงอายุที่เคยผ่านการคลอดบุตรทางช่องคลอด หรื อได้ รับการผ่าตัดในช่องเชิงกรานควรให้ มีการฝึ ก ขมิ บ กล้ า มเนื อ้ ฐานกระดูก เชิ ง กราน (pelvic floor exercise) ที่ เ รี ย กว่า Kegel exercise ดัง ภาพที่ 12.29 เป็ นการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้ออุ้งเชิงกราน ในทางปฏิบตั ินกั สาธารณสุขควรแนะนาให้ ผู้สงู อายุทดลองฝึ กกลันปั ้ สสาวะให้ หยุดขณะที่กาลังปั สสาวะ หรื ออาจให้ ฝึกขมิบก้ นขณะที่บคุ ลากรทาง สุขภาพกาลังทาการตรวจทางทวารหนัก (per rectal examination) ถ้ าผู้สูงอายุทาได้ ถูกต้ อง สะโพก จะต้ องไม่ลอยขึ ้นจากพื ้นเตียง หน้ าท้ องไม่เกร็ ง และมีการบีบรัดที่นิ ้วของบุคลากรทางสุขภาพผู้ตรวจ โดยหูรูดของทวารหนัก โดยทัว่ ไปแนะนาให้ ฝึกขมิบก้ น 30 - 200 ครัง้ ต่อวันโดยเกร็ งแต่ละครัง้ ให้ นาน ราว 5-10 วินาที

3. หากปฏิบตั ขิ ้ างต้ นแล้ วอาการไม่ดีขึ ้น ควรส่งต่อแพทย์เพื่อทาการรักษาต่อไป

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


15

กำรดูแลสุขภำพช่ องปำก (พูด) ในผู้สงู อายุ ต่อมรับรสจะทางานลดลง ทาให้ มีแนวโน้ มชอบรับประทานอาหารที่มีรสหวานและรสเค็ม มากขึ ้น ความไวในการรับกลิ่นลดลง เบื่ออาหารได้ ง่าย ต่อมน ้าลายทางานลดลง มีอาการปากแห้ ง สีของ ฟั นเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองหรื อสีน ้าตาลเข้ ม เพราะเนื ้อฟั นมีการสัมผัสสารที่มีสีเป็ นระยะเวลานาน มีเหงือกร่น ช่องระหว่างฟั นกว้ างขึ ้นทาให้ เศษอาหารเข้ าไปติดได้ ง่ายทาให้ ฟันผุ ปั ญหาสุขภาพช่องปากที่พบได้ บอ่ ยในผู้สงู อายุ คือ โรคปริทนั ต์ (หรื ออาจรู้จกั ในชื่อโรครามะนาด) และโรค ฟั นผุ (รู ป) โรคปริทันต์ คือ โรคที่สญ ู เสียกระดูกที่รองรับรากฟั น ฟั นจะโยก คลอน เคี ้ยวอาหารไม่ได้ ในช่อง ปากอาจเห็นมีคราบหินปูนเกาะตามคอฟั น อาจพบมีหนองร่วมด้ วย อาการเริ่มแรกพบเลือดออกจาก เหงือกขณะแปรงฟั น ฟั นจะค่อยๆ โยกมากขึ ้นทีละน้ อย หากไม่ได้ รับการรักษาจะโยกมากขึ ้นจนสูญเสียฟั น ไปในที่สดุ (รู ป) โรคฟั นผุ คือการที่ฟันถูกทาลาย ทาให้ เป็ นรูหรื อโพรง ร่างกายไม่สามารถซ่อมแซมฟั นส่วนที่ทาลาย ไปให้ กลับเป็ นปกติเหมือนเดิมได้ พบได้ บอ่ ยโดยเฉพาะรอยผุบริเวณคอฟั น เนื่องจากในผู้สูงอายุอาจมีการ ไหลของน ้าลายลดลง ประสิทธิภาพในการแปรงฟั น การทาความสะอาดบริเวณคอฟั นน้ อยลง เศษอาหาร คงค้ างอยูบ่ ริเวณรอยต่อของเหงือกกับฟั น ทาให้ เกิดฟั นผุตามมา (พูด) ทัง้ 2 โรคนี ้ทาให้ เกิดการสูญเสียฟั น ถ้ าเป็ นฟั นหน้ าก็จะมีปัญหาด้ านความสวยงาม ถ้ าเป็ นฟั นหลังก็ อาจมีปัญหาเรื่ องการบดเคี ้ยวอาหาร ต้ องแก้ ปญหาด้ วยการใส่ฟันซึง่ มีคา่ ใช้ จา่ ย การป้องกันทาโดยการ แปรงฟั นอย่างถูกวิธี และการทาความสะอาดซอกฟั น (สำธิต) การแปรงฟั นอย่างถูกวิธี คือ การทาความสะอาดฟั นอย่างหมดจด ครบถ้ วนทุกซอกทุกมุม โดย ไม่ได้ ทาอันตรายต่อฟั น จุดที่มกั แปรงไม่สะอาดกัน คือบริเวณคอฟั น และซอกฟั น ซึ่งมักเป็ นจุดเริ่มต้ น ของการเกิดหินปูนสะสม ต้ องเน้ นการทาความสะอาดบริเวณนี ้ ต้ องวางให้ ขนแปรงสีฟันเอียงเข้ าหาคอฟั น ประมาณ 45 องศา กดเบา ๆ ให้ ขนแปรงเข้ าไปในร่องเหงือก ขยับสัน้ ๆ ในแนวขวาง ทาแบบนี ้กับฟั นทุกซี่ และด้ านนอกด้ านใน (สำธิต) การทาความสะอาดซอกฟั น โดยใช้ ไหมขัดฟั น หรื อแปรงซอกฟั น เนื่องจากการแปรงฟั น ขน แปรงสีฟันไม่สามารถเข้ าไปทาความสะอาดถึงบริเวณนี ้ได้ ในผู้สงู อายุ การใช้ แปรงซอกฟั นน่าจะ เหมาะสมกว่า โดยเลือกขนาดของแปรงซอกให้ เหมาะสมกับขนาดซอกฟั น สามารถใช้ ร่วมกับยาสีฟันได้

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


16

โดยแหย่เข้ าไปในซอกฟั น ให้ ขนแปรงสัมผัสกับผิวฟั นด้ านข้ าง กาจัดเศษอาหารและคราบจุลินทรี ย์บริเวณ นี ้ออกไป ควรทาให้ ครบทุกซอก หากซอกฟั นแคบ ฟั นแนบชิดกันดี การใช้ ไหมขัดฟั นอาจเหมาะสมกว่า หากผู้สงู อายุใส่ฟันเทียมต้ องดูแลให้ ถกู วิธี (สำธิต) การดูแลฟั นเทียม ต้ องถอดฟั นเทียมมาทาความสะอาดหลังอาหารทุกครัง้ เพราะเศษอาหารที่ติด ใต้ ฐานฟั นเทียมเป็ นสาเหตุให้ ฟันธรรมชาติที่เหลืออยูผ่ ไุ ด้ ก่อนนอนทุกวันต้ องถอดฟั นเทียมมาทาความ สะอาด ไม่ควรใช้ ยาสีฟันที่มีผงขัดมาทาความสะอาดฟั นเทียม เพราะทาให้ เกิดริว้ รอยเล็ก ๆ บนผิวฟั น เทียม และเกิดการสึกกร่อนได้ ควรใช้ น ้าสบูอ่ ่อน ๆ น ้ายาล้ างจาน หรื อน ้ายาล้ างขวดนมแทน การนอน ในเวลากลางคืน ไม่ควรใส่ฟันเทียม ควรให้ เหงือกพักจากการกด ลดการเกิดการอักเสบของเหงือกใต้ ฐาน เพื่อสุขอนามัยที่ดีควรถอดฟั นเทียมแช่น ้าในภาชนะมีฝาปิ ด ควรพบทันตแพทย์เพื่อตรวจสภาพฟั น เทียมอย่างน้ อยปี ละครัง้ หากมีฟันเทียมแตกหักอาจบาดเหงือกจนทาให้ เกิดแผลเรื อ้ รังได้

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


17

ภำวะสมองเสื่อม (พูด) ภาวะสมองเสื่อม เป็ นภาวะที่สมองมีการถดถอยในกระบวนการรู้คิด ซึ่งได้ แก่ ความจา สมาธิ ทักษะ การรับรู้ ทักษะการแก้ ปัญหา และการควบคุมตนเอง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการทากิจวัตรประจาวันและการ เข้ าสังคม ส่วนภาวะซึมเศร้ า เป็ นภาวะการเจ็บป่ วยอย่างหนึ่ง ที่มีผลกระทบต่อความรู้สึกของบุคคลทาให้ เกิดสภาพอารมณ์ที่เบื่อหน่าย หดหู่ เศร้ า อย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลอย่างรุ นแรงต่อความสามารถของ บุคคลนันในการด ้ าเนินชีวิต อำกำรของภำวะสมองเสื่อม ภาวะสมองเสื่อมในผู้สงู อายุสามารถแบ่งระดับความรุนแรงได้ 3 ระดับ ดังนี ้ 1. ภาวะสมองเสื่อมเล็กน้ อย (mild Dementia) ในระยะนี ้ผู้ป่วยจะมีอาการหลงลืม โดยเฉพาะลืมเรื่ องที่เพิ่ง เกิด เช่น ลืมว่าวางของอยู่ไหน จาชื่อคนหรื อสถานที่ที่ค้ ุนเคยไม่ได้ แต่ส่วนความจาในอดีตยังดีอยู่เริ่ มมี ความบกพร่ อ งในหน้ าที่ ก ารงานและสัง คมอย่ า งเห็ น ได้ ชั ด แต่ ผ้ ู ป่ วยสามารถช่ ว ยเหลื อ ตัว เองใน ชีวิตประจาวันได้ และการตัดสินใจยังค่อนข้ างดี 2. ภาวะสมองเสื่ อมปานกลาง (moderate Dementia) ในระยะนี ค้ วามจ าจะเริ่ ม เสื่ อมมากขึน้ มี ความ บกพร่ องในการทาความเข้ าใจ ความสามารถในการเรี ยนรู้ การแก้ ปัญหาและการตัดสินใจ เช่นไม่สามารถ คานวณตัวเลขง่ายๆได้ เปิ ดโทรทัศน์ไม่ได้ ทาอาหารที่เคยทาไม่ได้ ทงที ั ้ ่สิ่งเหล่านี ้เป็ นสิ่งที่เคยทาได้ มาก่อน ลืมแม้ กระทัง่ ชื่อคนในครอบครัวในช่วงท้ ายของระยะนี ้ผู้ป่วยอาจมีอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน ผู้ป่วย ในระยะนีเ้ ริ่ มไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ การปล่อยให้ อยู่คนเดียวอาจเป็ นอันตรายจาเป็ นต้ องอาศัย ผู้ดแู ลตามสมควร 3. ภาวะสมองเสื่อมระดับรุนแรง (severe Dementia) ในระยะนี ้ผู้ป่วยจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ เลย แม้ แต่การทากิจวัตรประจาวัน ต้ องมีผ้ เู ฝ้าดูแลตลอดเวลาแม้ แต่ความจาก็ไม่สามารถจาสิ่งที่เพิ่งเกิดขึ ้นได้ เลยจ าญาติพี่ น้ องไม่ไ ด้ หรื อแม้ แต่ตนเองก็ จ าไม่ ไ ด้ มี บุคลิกที่ เปลี่ ยนไป เคลื่ อนไหวช้ า ระยะนี อ้ าจเกิ ด ภาวะแทรกซ้ อนที่ทาให้ เกิดอุบตั ิเหตุต่อชีวิตได้ ระยะเวลาการดาเนินของโรคอาจแตกต่างกันในแต่ละคน โดยระยะเวลาตังแต่ ้ เริ่มมีอาการ (ระดับเล็กน้ อย) จนเสียชีวิต (ระดับรุนแรง) โดยเฉลี่ยจะประมาณ 8-10 ปี (สำธิต) การป้องกันภาวะสมองเสื่อม

เรียบเรียงเนื้อหาโดย แพทย์หญิงสุธี สฤษฎิ์ศิริ และคณะ ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.