【 52311x52404 】เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการใช้ยา

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 1 จาก 13

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการใช้ยา ภาพปก “Medication” โดย Steve Buissinne (2016) จาก pixabay.com/en/ thermometer-headache-pain-pills-1539191/

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 2 จาก 13

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา 1. ความหมายและประเภทของยา 1.1 ความหมายของยา “ยา” ตามพระราชบัญ ญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับ ที่แก้ไขเพิ่ม เติม หมายถึง หมายถึง วั ตถุ ที่ รั บ รองไว้ ใ นตำรายาที่ รั ฐ มนตรี ป ระกาศ หรื อ วั ต ถุ ที่ มุ่ ง หมายสำหรั บ ใช้ ใ นการวิ นิ จ ฉั ย บำบั ด บรรเทา รั ก ษา หรื อ ป้ อ งกั นโรค หรื อ ความเจ็ บ ป่ วยของมนุ ษย์ ห รื อ สั ตว์ หรือ วัตถุที่มุ่ง หมายสำหรับ ให้เ กิดผลแก่ สุขภาพ โครงสร้างหรือ การกระทำหน้าที่ใดๆ ของร่างกายมนุษย์ห รือ สัตว์ แต่ไม่ห มายความรวมถึง (1) วัตถุที่มุ่ง หมายสำหรับ ใช้ในการเกษตร หรือ การอุตสาหกรรมตามที่รัฐ มนตรีป ระกาศ (2) วั ต ถุ ที่ มุ่ ง หมายสำหรับ ใช้เ ป็น อาหารสำหรั บ มนุ ษย์ เครื่ อ งกี ฬ า เครื่ อ งมื อ เครื่อ งใช้ ในการ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ เครื่ อ งสำอางหรื อ เครื่ อ งมื อ และส่ ว นประกอบของเครื่ อ งมือ ที่ ใ ช้ ใ นการประกอบโรค ศิ ล ปะหรื อ วิ ชาชี พ เวชกรรม (3) วั ต ถุ ท ี ่ ม ุ ่ ง หมายสำหรั บ ใช้ ใ นห้ อ งวิ ท ยาศาสตร์ ส ำหรั บ การวิ จั ย การวิ เ คราะห์ ห รื อ การ ชันสูตรโรคซึ่ง มิได้ก ระทำโดยตรงต่อ ร่างกายของมนุษย์ ทั้ง นี้ “ยา” อาจหมายถึง วัตถุที่เ ป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ห รือ เภสัชเคมีภัณฑ์กึ่ง สำเร็จ รูป ก็ ได้ 1.2 ประเภทของยา ตามพระราชบัญ ญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับ ที่แก้ไขเพิ่ม เติม มีดัง นี้ 1. ยาแผนปัจ จุบันที่เ ป็น “ยาควบคุม พิเ ศษ” หรือ “ยาอั นตราย” หรือ “ยาบรรจุเ สร็จ ” หรือ “ยาแผนปัจ จุบันบรรจุเ สร็จ ที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือ ยาควบคุม พิเ ศษ” หรือ “ยาสามัญ ประจำบ้ าน” 2. ยาแผนโบราณที่ เ ป็ น “ยาควบคุ ม พิเ ศษ” หรื อ “ยาอั น ตราย” หรื อ “ยาบรรจุเ สร็จ ” หรือ “ยาสามัญ ประจำบ้ าน” 3. ยาสมุ นไพร

2. ข้อ ควรสังเกตในการเลือ กซื้อ ยา 2.1 การสั ง เกตแหล่ ง จำหน่ า ยยา แหล่ ง จำหน่ า ยยาที่ ถูก ต้ อ งตามกฎหมาย คื อ ร้ า นขายยาที่ ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตขายยาจากสำนั ก งานคณะกรรมการอาหารและยาแล้ ว โดยต้ อ งมี ส ถานที่ แ น่ น อน ตามที่ ร ะบุ ใ นใบอนุ ญ าต โดยสั ง เกตได้ จ ากใบอนุ ญ าตขายยา ป้ า ยระบุ ป ระเภทของร้ า นขายยา ป้ า ย

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 3 จาก 13

ระบุชื่อ และวุฒิก ารศึก ษารวมทั้ง เวลาปฏิบั ติก ารของผู้มีห น้ าที่ป ฏิบัติก าร ที่ก ฎหมายกำหนดให้ต้อ งติ ด ไว้ให้ส ามารถมองเห็นได้ชัดจากภายหน้าอาคาร 2.2 การสังเกตเลขทะเบีย นตำรับ ยาที่มีการแสดงบนฉลากยาแผนปัจ จุบัน และแผนโบราณ ให้ สัง เกตที่ฉลากยาว่า เป็นยาที่ได้รับ อนุญ าตจากสำนัก งานคณะกรรมการอาหารและยาแล้วหรือ ไม่ โดย อาจอยู่ในรูป “ยาเดี่ยว” หรือ “ยาผสม” มีทั้ง ที่เ ป็น “ยาใหม่” หรือ ไม่ใช่ “ยาใหม่” 2.3 การสั ง เกตข้อ มู ล จากฉลากภาษาไทย ให้ ซื้ อ ยาที่ มี ฉ ลากภาษาไทยที่ มี ก ารระบุ ส าระสำคัญ ครบถ้ ว น ชั ด เจน เช่ น ชื่ อ ยา ส่ ว นประกอบ วิ ธี ใ ช้ ชื่ อ และที่ ตั้ ง ของผู้ ผ ลิ ต หรื อ ผู้ น ำเข้ า ปริ ม าณสุ ท ธิ เลขที่แสดงครั้ง ที่ผ ลิต เดือ นปีที่ผ ลิต เดือ นปีที่ห มดอายุ (ถ้ามี) คำเตือ น เลขทะเบียนตำรับ ยา ข้อ ควร ระวั ง และข้ อ ห้ ามใช้ (ถ้ ามี ) หมายเหตุ วิธีก ารสัง เกตวันหมดอายุและวันผลิตที่ฉลาก หรือ กล่อ งยา หรื อ แผงยา เช่ นถ้ าเป็น ยาปฏิชีวนะ ผู้ผ ลิตมัก จะแสดงข้อ ความหมดอายุของยาไว้ เช่น ใช้คำว่า Expired Date หรือ Exp. Date หรือ Expiry Date เป็นต้น - ถ้าเป็นยาทั่วไป ผู้ผ ลิตมัก จะแสดงเฉพาะ วัน เดือ น ปี ที่ผ ลิต เท่านั้น ด้วยการแสดงข้อ ความ เช่น Mfg. Date หรือ Manufactured Date แล้วตามด้วย วัน เดือ น ปี ที่ผ ลิต ซึ่ง โดยทั่วไปจะมีอ ายุ ไม่ เ กิ น 5 ปี นั บ จากวัน ที่ ผ ลิ ต อย่ า งไรก็ ตาม ผู้ ผ ลิ ตยาทั่ ว ไปบางรายอาจมีก ารแสดงข้อ ความหมดอายุ ของยาไว้ ด้วยก็ ได้ 2.4 ห้า มใช้ย า ที่มีส่วนผสมของสารที่ผู้เ ลือ กซื้อ / ที่ผู้ใช้เ คยมีป ระวัติก ารแพ้ 2.5 ก่อนซื้อยาทุกครั้ง 2.5.1 ต้ อ งอ่ านฉลากยาและเอกสารกำกั บ ยาให้ ล ะเอี ยดก่อ นซื้อ ยาทุก ครั้ง 2.5.2 หากเป็น “ยาควบคุ ม พิเ ศษ” จะมี อั นตรายได้สู ง ถ้า ใช้ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ดั ง นั้ น การซื้อ ยานี้ จะต้อ งได้รับ การวินิจ ฉัยและมีใบสั่ง ยาจากแพทย์เ ท่านั้น อีก ทั้ง ยานี้จ ะมีขายเฉพาะในร้านขายยา แผนปัจ จุบันเท่านั้น 2.5.3 หากเป็น “ยาอันตราย” หรือ ยาทั่วไป ควรปรึก ษา “เภสัชกร” เพื่อ ขอคำแนะนำใน การใช้ยาที่ถูก ต้อ งและเพื่อ เป็นการลดผลข้างเคียงที่อ าจเกิดจากการใช้ยา 2.6 เมื่อใดสงสัย ว่า ยาที่ซื้อเป็นยาไม่มีทะเบีย นหรือยาปลอมหรือมีปัญ หาใดๆ ให้ป ฏิบัติดัง นี้ 2.6.2 ปรึก ษาแพทย์ห รือ เภสัชกร 2.6.3 ตรวจสอบลั ก ษณะและข้อ มู ล ยาปลอม ยาที่ ไ ม่ มี คุ ณ ภาพมาตรฐานได้ ที่ศู นย์ข้อ มูล กำกับ ระบบยา ของสำนัก งานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ ที่เ ว็บ ไซต์ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 4 จาก 13

http://www.fda.moph.go.th 2.6.3 แจ้ ง ให้ ส ำนั ก งานคณะกรรมการอาหารและยาทราบเพื่ อ ดำเนิ น การเฝ้ า ระวั ง เพื่อ ประโยชน์ ใ นการคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภคต่ อ ไป โดยแจ้ ง ผ่ า นสายด่ ว น อย. 1556 อี เ มล 1556@fda.moph.go.th หรื อ ทางจดหมายหรื อ หนั ง สื อ โดยส่ ง ไปที่ ตู้ ปณ.1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุ ข จั ง หวั ด นนทบุ ร ี 11004 หรื อ แจ้ ง ด้ ว ยตนเองที ่ สำนั ก งาน คณะกรรมการอาหารและยา กทม. และในต่ า งจั ง หวั ด แจ้ ง ที่ ก ลุ่ ม งานคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค และเภสั ชสาธารณสุ ข สำนัก งานสาธารณสุ ขจัง หวัด

3. ข้อ ควรสังเกตในการเลือ กใช้ยา 3.1 อ่ านฉลากยาและเอกสารกำกั บ ยาให้ล ะเอียดก่อ นใช้ย า 3.2 ก่ อ นใช้ “ยาควบคุ ม พิ เ ศษ” หรื อ “ยาใหม่ ” ซึ่ ง เป็ น ยาที่ อ าจเกิ ด อั น ตรายได้ สู ง หากใช้ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง จะต้ อ งได้ รั บ การวิ นิ จ ฉั ย และสั่ ง ใช้ โ ดยแพทย์ สำหรั บ “ยาใหม่ ” จะมี เ ฉพาะในโรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาลเท่านั้น (ไม่ส ามารถจำหน่ายได้ในร้านขายยา) 3.3 ไม่ ใ ช้ ย าที่ ห มดอายุ โดยก่ อ นใช้ ย า ให้ ต รวจสอบวั น หมดอายุ ข องยาจากฉลากกล่อ งของยา หรือ จากแผงยา ขวดยาหรือ ตลับ ยา ทั้ง นี้ วันหมดอายุของยาแต่ล ะชนิด ถึง แม้จ ะเป็นชนิดเดีย วกั น แต่ เป็นคนละยี่ห้อ ก็จ ะมีวันหมดอายุแตกต่างกันไป ขึ้นกับ ปัจ จัยต่างๆ ในการผลิต เช่น 3.3.1 ยาหยอดตา ยาป้ายตา 1) หากยัง ไม่เ ปิดใช้ จะมีอ ายุตามที่แสดงไว้ในฉลากยา แต่ห ากมีก ารเปิดภาชนะ บรรจุ ย า (ขวด/ หลอด) แล้ ว ยานั้ น จะมี อ ายุ ก ารใช้ เ พี ย ง 1 เดื อ นเท่ า นั้ น นั บ แต่ วั นที่ เปิดใช้ 2) หากไม่ มี ก ารใส่ ส ารกั น เสีย (preservatives) ยานั้ น จะมี อ ายุ เ พี ย ง 1 วั น นั บ แต่วันที่เ ปิดใช้ 3.3.2 ยาฆ่าเชื้อ (Antibiotics) ชนิดที่ต้อ งมีก ารผสมน้ำก่อ นใช้ หากต้อ งใช้ม ากกว่า 1 ขวด ให้ผ สมน้ำ ทีล ะขวด และเมื่อ ผสมน้ำแล้ว ยานั้นจะมีอ ายุเ พียง 7 วันเท่านั้น 3.4 ไม่ ใ ช้ ย าเสื่อ มคุณ ภาพ โดยสั ง เกตได้ จ ากลัก ษณะ (สี กลิ่ น รส รู ป ร่า ง ฯลฯ) ของยาที่ผิดไป จากปกติ แ ม้ ว่ า ยานั้ น จะยั ง ไม่ ห มดอายุ ต ามที่ร ะบุ ในฉลากยาก็ต าม แต่ ค วรทิ้ ง ยานั้น ทั น ที และถ้ า มีข้อ สงสัยหรือ ไม่แน่ใจ ควรนำยาไปปรึก ษาเภสัชกรหรือ ให้ติดต่อ ผู้ผ ลิต/ ผู้นำเข้าตามที่อ ยู่ที่ร ะบุไว้ในฉลาก หรือ เอกสารกำกับ ยาทั้ง นี้ ตัวอย่างของการเสื่อ มสภาพของยาเบื้อ งต้นมีดัง นี้ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 5 จาก 13

3.4.1 ยาเม็ ดจะพบการแตก บิ่น ร่วนเป็นจุดตกกระ มี ผ งเกาะตามผิ ว ความมันวาวหายไปขึ้นรา 3.4.2 ยาเม็ดเคลือ บน้ำตาล จะพบว่า เม็ดยาเยิ้ม เหลว มีก ลิ่นหืนหรือ กลิ่นผิดไปจากเดิม 3.4.3 ยาผงสำหรับ ผสมน้ำ จะพบว่า ผงยามีสีเ ปลี่ยนไปจากปกติ หรือ เมื่อ เติม น้ำแล้ว ผงยาไม่ ก ระจายตัว เขย่ ายาก 3.4.4 ยาชนิ ดน้ำแขวนตะกอน จะพบว่า ตะกอนมีก ารจับ ตัวกันเป็นก้อ น เขย่าขวดแล้ว เนื้อ ยาไม่ร วมเข้าเป็นเนื้อ เดียวกัน และความเข้ม ข้น สีห รือ กลิ่นเปลี่ยนไป 3.4.5 ยาแคปซูล จะพบว่า แคปซูล บวมพองออก เปลือ กยานิ่ม และติดกัน หรือ บางครั้ง จะแข็ง และแตกแม้ก ดเพียงเบา ๆ หรือ ผงยาในแคปซูล เปลี่ยนสีห รือ มีสีเ ข้ม ขึ้น 3.4.6 ยาครีม ยาขี้ผึ้ง จะพบว่า มีลัก ษณะเนื้อ ยาแข็ง หรือ อ่อ นกว่าเดิม เนื้อ ยาไม่เ รียบ แห้ง แข็ง 3.4.7 ยาหยอดตา จะพบว่า มีลัก ษณะขุ่นหรือ ตัวยาตกตะกอน

4. การเก็บรักษายา การเก็ บ รั ก ษายาที่ เ หมาะสมจะช่ ว ยให้ ย ามี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานในเวลาที่ ก ำหนดในฉลาก และให้ ก ารรั ก ษามีป ระสิ ท ธิภ าพ ช่ ว ยให้ มี ค วามปลอดภั ยและคุ้ม ค่า จากการใช้ ย า ซึ่ ง มี ข้ อ ควรปฏิบัติ ดัง นี้ 4.1 ตู้ยาหรือ สถานที่ที่ใช้เ ก็บ รัก ษายา ควรมีลัก ษณะดัง นี้ 1) ตั้ง ตู้ยาหรือ เก็บ ยาให้พ้นจากมือ เด็ก และในที่ที่ห่างจากแสงแดด แสงสว่าง ที่ ที่มีอุณหภูมิสูง เกิ น ไปและแหล่ง ความร้อ นหรือ เครื่อ งใช้ ไฟฟ้ าอื่นๆ และที่ที่ ห่ า ง จากความชื้น เช่น ห้อ งครัว ห้อ งน้ำ เป็นต้น 2) จั ด ยาในตู้ ใ ห้ เ ป็ น หมวดหมู่ โดยแยกยากิ น ยาใช้ ภ ายใน ยาใช้ ภ ายนอกและ เวชภั ณ ฑ์ ออกจากกั นให้เ ป็น สัด ส่ วน ทั้ ง นี้เ พื่ อ ป้ อ งกัน อั นตรายจากการหยิบ ยา ผิ ด

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 6 จาก 13

3) เก็บ ยาที่เ สื่อ มคุณภาพได้ง่ายในภาชนะทึบ แสง เช่น ยาหยอดตา ยาปฏิชีวนะ วิ ตามิ น เป็ นต้ น 4.2 เก็บ รัก ษายาให้ตรงตามข้อ แนะนำที่ร ะบุไว้ในฉลากหรือ เอกสารกำกับ ยาอย่าง เคร่ง ครัด

หลักการใช้ ยาและการใช้ ย ารับประทาน การใช้ ย าเป็น สิ่ ง ที่จ ำเป็ นสำหรั บ ผู้ ป่ว ยหรือ ผู้ ที่ มี ค วามเสี่ ยงที่ จ ะมี อ าการเจ็ บ ป่ วยหรือ เป็นโรค ดั ง นั้ น การที่ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งในการใช้ย า ไม่ ว่ า จะเป็ น แพทย์ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ผู้ ป่ ว ย ผู้ ดู แ ลผู้ป่วย ครอบครัวหรือ ประชาชนทั่ ว ไป ฯลฯ นัก ศึก ษาจะต้อ งมีค วามรู้ ความเข้าใจในหลั ก การใช้ ยาให้ ถู ก โรค ถู ก คน ถู ก วิ ธี ถู ก ขนาด ถู ก เวลา และถู ก เหตุ ผ ล รวมถึง การใช้ยาชนิดรับ ประทาน และยาที่ใช้เ ฉพาะที่ ด้ วย

1. หลักการใช้ยา การจะเลือ กใช้ยาให้ ถูก โรค ถูก คน ถูก วิธี ถูก ขนาด ถูก เวลา และถูก เหตุผ ลนั้น ก่อ นใช้ยาควร ปรึ ก ษาแพทย์ ห รื อ เภสั ช กร ซึ่ ง ต้ อ งอ่ า นฉลากยาและเอกสารกำกั บ ยาเพื่ อ ให้ ใ ช้ ย าได้ ถู ก ต้ อ งและ เหมาะสม ดัง นี้ 1.1 การใช้ย าให้ ถู กโรค คื อ การจะเลือ กใช้ยาให้ตรงกับ โรคหรือ อาการที่เ จ็บ ป่ ว ยอยู่ ไม่ค วร ซื้อ ยาหรือ ใช้ยาตามคำบอกเล่าของคนอื่นหรือ หลงเชื่อ คำโฆษณา โดยดูร ายละเอียดในหัวข้อ “ข้อ บ่ง ชี้ (Indication)” จากฉลากและเอกสารกำกับ ยา และให้ใช้ยาเฉพาะที่จ ำเป็นเท่านั้น 1.2 การใช้ ย าให้ ถู ก คน เนื่ อ งจากการใช้ ย าในกลุ่ ม คนต่ า งๆ ต้ อ งใช้ ค วามระมั ด ระวั ง เพราะ อวั ย วะต่ า ง ๆ ของแต่ ล ะคน แต่ ล ะเพศ แต่ ล ะวั ย จะแตกต่า งกั น เช่ น เด็ ก จะตอบสนองต่ อ ยาเร็ ว กว่า ผู้ ใ หญ่ม ากเพราะเด็ ก มี อ วั ย วะที่ ยัง เจริ ญ ไม่ เ ต็ ม ที่ ส่ว นผู้สูง อายุ จ ะมี ก ารทำลายยาโดยตั บ และไตได้ช้า กว่ า ในคนหนุ่ ม สาว สำหรั บ สตรี มี ค รรภ์ แ ละสตรี ที่ ใ ห้ น มบุ ต รก็ มี ค วามเสี่ ย งต่ อ เด็ ก ในครรภ์ แ ละบุตร เป็นต้น 1.3 การใช้ ย าให้ ถู ก วิ ธี ยาแต่ ล ะชนิ ด จะมี วิ ธีใ ช้ ที่ แ ตกต่ างกั น เพราะหากใช้ผิ ด วิ ธี จ ะส่ ง ผลต่อ ประสิท ธิภาพในการใช้ยาแต่ล ะชนิดได้ ดัง นั้น จึง ควรศึก ษารายละเอียดของยาที่ได้รับ มาว่า ใช้อ ย่างไร เช่น ใช้กินหรือ ใช้ท า ถู นวด ปิด แปะ หรือ เหน็บ ทวาร เป็นต้น

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 7 จาก 13

1.4 การใช้ ย าให้ ถูกขนาด (Dose) ยาแต่ล ะชนิดจะมีขนาดการใช้ที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ ชนิ ด ของยาและสภาวะของผู้ที่ใช้ยา ดัง นี้ 1) ใช้ขนาดยาที่ถูก ต้อ งตามข้อ บ่ง ชี้ เหมาะสมกับ ระยะและความรุนแรงของโรค 2) ไม่ใช้ยาในขนาดต่ำกว่าขนาดยามาตรฐานหรือ สูง กว่าขนาดยาสูง สุดที่ควรให้ต่อ วัน 3) ไม่ ค วรใช้ ช้ อ นกาแฟหรื อ ช้ อ นสำหรั บ กิ น อาหารตวงยา เพราะจะได้ ข นาดยาที่ ไ ม่ ถูก ต้อ งแต่ควรใช้ช้อ นตวงยาซึ่ง มาพร้อ มกับ ยาในกล่อ งยา เพื่อ จะได้ขนาดยาที่ถูก ต้อ ง 4) ใช้ขนาดยาที่เ หมาะสมกับ ภาวะของผู้ป่ วยกลุ่ม ต่ างๆ เช่น ต้อ งมีก ารปรับ ขนาดยาใน ผู้ป่วยตับ บกพร่อ ง ไตเสื่อ ม เด็ก และผู้สูง อายุ เป็นต้น 5) ให้ ย าที่ ต รงเวลาที่ ก ำหนดและด้ ว ยความถี่ ท ี่ เ หมาะสมกั บ ผู้ ป ่ ว ยกลุ่ ม ต่ า งๆ โดย หลีก เลี่ยงการใช้ยาที่ต้อ งให้บ่อ ยครั้ง ต่อ วัน เว้นแต่มีความจำเป็น 1.5 การใช้ย าให้ถูกเวลา เวลาและช่วงระยะเวลาที่เ หมาะสม 1) การใช้ ย าให้ ถู ก เวลา นอกจากการให้ ย าตรงเวลาแล้ ว ผู้ ใ ช้ ย าต้ อ งใช้ ย าตามจำนวน ครั้ง ที่แพทย์ห รือ เภสัชกรแนะนำไว้ด้วย มิเ ช่นนั้นจะทำให้เ ชื้อ ดื้อ ยาได้ เช่น การกินยาปฏิชีวนะ ให้ต่อ เนื่อ งจนครบตามที่ก ำหนด 2) การใช้ ยาในช่ วงระยะเวลา (Duration of treatment) ที่ถูก ต้อ งและพอเหมาะ โดย 2.1) ไม่ใช้ยานานเกินความจำเป็นหรือ ให้ยาในระยะเวลาที่สั้นกว่าที่ควรจะเป็น 2.2) เน้นย้ำให้ผู้ป่วยเห็นความสำคัญของการใช้ยาให้ครบระยะเวลาของการรักษา 2.3) ให้ ป รึ ก ษาแพทย์ ห รื อ เภสั ช กรอย่ า งสม่ ำ เสมอเพื ่ อ ทบทวนให้ มี ก ารใช้ ย า เฉพาะที่จ ำเป็น 1.6 การใช้ ย าให้ ถูกเหตุผ ล การใช้ยาควรมีข้อ บ่ง ชี้ที่ตรงกับ อาการหรือ โรค โดยต้อ งเป็นยาที่มี คุ ณ ภาพและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลจริ ง ให้ ป ระโยชน์ ม ากกว่ า ความเสี่ ย งจากการใช้ ย าอย่ า งชั ด เจน มี ร าคา เหมาะสม คุ้ม ค่า เมื่อ เทียบกับ ความเสี่ยงจากการใช้ ยาและค่ าใช้จ่ าย มีอุบัติก ารณ์ของผลข้ างเคี ย งต่ ำ มี ค วามเสี่ ย งจากอั น ตรกิ ริ ย าต่ ำ นอกจากนี้ จะต้ อ งไม่ ใ ช้ ย าซ้ำ ซ้ อ น หลี ก เลี่ ย งการใช้ ย าสู ต รผสม ต้ อ ง คำนึ ง ถึ ง ปั ญ หาเชื้ อ ดื้ อ ยา ใช้ ย าในขนาดที่ พ อเหมาะกั บ ผู้ ป่ ว ยในแต่ ล ะกรณี ด้ ว ยวิ ธี ที่ ผู้ ป่ ว ยให้ ก าร ยอมรั บ และสามารถใช้ ย าดั ง กล่ า วได้ อ ย่า งถู ก ต้ อ งและต่ อ เนื่อ ง โดยให้ อ่ า นคำเตื อ นและข้ อ ควรระวั ง อย่างรอบคอบก่อ นใช้ยามีข้อ ควรปฏิบัติ ดัง นี้ 1) อธิบ ายให้ ผู้บ ริโ ภคทราบอย่างครบถ้ว นถึง อันตรายต่ างๆ จากการใช้ยา ทั้ง แนะนำให้ ผู้บ ริโ ภคมีความรู้เ กี่ยวกับ โทษต่างๆของยา ดัง นี้ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 8 จาก 13

1.1) ต้อ งระมัดระวัง เกี่ยวกับ การใช้ยาในผู้มีป ระวัติก ารแพ้ยา มีโ รคภูมิแพ้ทั้ง ตัว ผู้ป่วยเองและครอบครัว รวมทั้ง ผู้ที่มีอ าการซีดเหลือ งที่เ กิดขึ้นเป็นประจำ 1.2) ต้ อ งศึ ก ษาสรรพคุ ณ ผลข้างเคียง ขนาดยาและระยะเวลาที่ ใช้ และไม่ค วร กิ น ยาชุ ด ที่ ไ ม่ รู้ ว่ า ประกอบด้ ว ยยาอะไรบ้ า ง เพราะอาจมี ย าอั น ตรายผสมอยู่ เช่ น คลอแรมเฟนิคอล เพร็ดนิโ ซโลน ฯลฯ 2) แนะนำผู้บ ริโ ภคว่า หากไม่จ ำเป็นไม่ควรใช้ก ารรัก ษาโดยการฉีด ยา เพราะปกติจ ะใช้ เฉพาะในผู้ป่วยที่มี อ าการรุน แรงอาเจีย น หรือ กินไม่ได้ เนื่อ งจากจะเสี่ยงต่อ อันตรายที่รุ น แรง จากการแพ้ยาที่ฉีดซึ่ง อาจจะแก้ไขได้ไม่ทันการณ์ จนอาจมีอันตรายถึง แก่ชีวิตแล้ว ยัง อาจเสี่ยง ต่ อ การติ ด เชื้ อ จากการฉี ด ยาด้ ว ย เช่ น เป็ น ฝี หั ว เข็ ม โรคตั บ อั ก เสบจากไวรั ส หรื อ โรคเอดส์ เป็นต้น 3) แนะนำร้านขายยาให้รับ ผิดชอบต่อ ลูก ค้า โดยไม่จ่ายยาฟุ่ม เฟือ ยโดยไม่จ ำเป็น 4) ต้อ งคำนึง ถึง ความสะดวกและการยอมรับ ของผู้ป่วยเพื่อ ความร่วมมือ ในการรัก ษา โดยต้อ งอธิบ ายให้ ผู้ใช้ยาเข้าใจ เลือ กยาที่ใช้ได้ส ะดวก ตรวจสอบความเข้าใจของผู้ ป่ ว ย และติ ดตามผลการรั ก ษา 5) ใช้ ย าอย่ า งเหมาะสมและคุ้ ม ค่ า เช่ น ใช้ ต ามชื่ อ สามั ญ ทางยา เลื อ กใช้ ย าที่ มี ร าคา ประหยัด หากเป็นยาราคาแพงหรือ มีมูล ค่าการใช้สูง ต้อ งมีห ลัก ฐานชัดเจนว่า คุ้ม ค่าตามหลั ก เศรษฐศาสตร์ส าธารณสุข

2. วิธีการใช้ยารับประทาน ยารั บ ประทานมี ห ลายรู ป แบบที่ อ าจพบได้ เช่ น ยาเม็ ด หรื อ แคปซู ล สำหรั บ รั บ ประทานที่ มุ่ ง หมายให้ ป ลดปล่ อ ยตั ว ยาสำคั ญ ทั้ ง หมดในครั้ ง เดี ย ว ชนิ ด ที่ อ อกฤทธิ์ น าน ยาน้ ำ แขวนตะกอน (Suspension) ยาน้ ำ สารละลาย (Solution) ผ ง แ ห ้ ง (Dry syrup) ย า น ้ ำ แ ข ว น ล ะ อ อ ง ห รื อ อิ มั ล ชั ่ น (Emulsions) เป็ น ต้ น โดยวิ ธี ก ารให้ ย าทางปาก (Oral administration) หรื อ ยารั บ ประทาน มี ข้ อ คำแนะนำดัง นี้

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 9 จาก 13

1. เวลาในการรับ ประทานยา 1.1 ก่อ นอาหาร จะต้อ งกินยาขณะท้อ งว่าง คือ ก่อ นกินอาหารประมาณครึ่ง ถึง หนึ่ง ชั่วโมง เช่น ยาต้ านอาเจียน Penicillin V, Dicloxacillin, Roxithromycin, และ Norfloxacin เป็นต้น 1.2 หลั ง อาหาร จะต้อ งกิ นยาหลัง จากกินอาหารเสร็จ 15 - 30 นาที 1.3 หลั ง อาหารทั นที ห รื อ กิ นพร้ อ มอาหาร จะต้ อ งกิ นยาทั น ที ห ลั ง จากกิน อาหารเสร็จ หรื อ ระหว่ า งที่ กิ น อาหารก็ ไ ด้ และดื่ ม น้ ำ ตามมากๆ เพราะยากลุ่ ม นี้ อ าจทำให้ มี อ าการข้ า งเคี ย งได้ เช่ น Aspriin NSIADs ยาสเตี ย รอยด์ Co-amoxiclav และ Doxycycline ที่ อ าจระคายเคื อ งกระเพาะ อาหารและทำให้มีอ าการคลื่นไส้ อาเจียนและปวดท้อ งได้ 1.4 ก่ อ นนอนจะต้ อ งกิ น ก่ อ นเวลาเข้ า นอนตอนกลางคืน 15 - 30 นาที โ ดยกิ น ยาหลัง จาก ผ่านการกินอาหารมื้อ เย็นไปแล้วไม่ต่ำกว่า 4 ชั่วโมง 1.5 เมื่อ มีอ าการ ให้กินเฉพาะเมื่อ มีอ าการเท่านั้น 1.6 ยาที่ ก ิ น ได้ โ ดยไม่ ต้ อ งคำนึ ง ถึ ง มื้ อ อาหาร แต่ อ าจเปลี่ ย นมากิ น หลั ง อาหารได้ ถ้ า ยา รบกวนทางเดิ นอาหาร เช่น Amoxicillin, Clarithromycin, Azithromycin 1.7 ยาที่ไม่ควรกินก่อ นนอน เช่น ยาขับ ปัส สาวะ 1.8 ยาที่ควรให้กินตอนเย็นหรือ ตอนกลางคืน เช่น Simvastatin 1.9 ยาที่แพทย์สั่ง ใช้ให้กินวันละครั้ง ควรให้กินเวลาเช้า เช่น Prednisolone 2. ข้อแนะนำวิธีรับ ประทานยา 2.1 ยาที่ร ะคายเคือ งทางเดินอาหาร ควรดื่ม น้ำตามอย่างน้อ ย 1 แก้ว และไม่ ค วรนอนลงภายในครึ่ ง ถึ ง 1 ชั่ ว โมง หลั ง รั บ ประทานยาเพื่ อ ป้ อ งกั น หลอดอาหาร อั ก เสบ 2.2 ยาชนิ ดปลดปล่อ ยช้าชนิดเคลือ บเอนเทอริ ก (Enteric coated) ไม่ควรเคี้ยวหรือ แบ่ง เม็ดยา 2.3 ยาผงสำหรับ รับ ประทาน ต้อ งตวงเป็ นช้อ นหรือ ถ้ วย โดยแบ่ง ขนาดใช้ยาเอง 2.4 ยาผงฟู่ ห รื อ ยาฟองฟู่ (Effervescent powder) ต้ อ งผสมน้ ำ ให้ เ กิด ฟองฟู่ ก่อ นเพื่อ ให้ เกิ ดคาร์บ อนไดออกไซด์และดื่ม ขณะที่ฟ องฟู่เ ริ่ม จางหาย 2.5 ยาเม็ดลดกรด ต้อ งเคี้ยวให้ล ะเอียดก่อ นกลืน 2.6 ยาน้ ำแขวนตะกอน (Suspension) ต้ อ งเขย่ าขวดก่ อ นริ นยาใช้ เป็ นต้ น 3. ยากับ อาหาร เครื่องดื่ม ยา บุหรี่ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 10 จาก 13

3.1 ไม่ ควรกิ นพร้ อ มกับ นม เช่ น Tetracycline และ Ciprofloxacin 3.2 ควรกินห่างจากยาอื่นทุก ชนิดอย่างน้อ ย 30 นาที เช่น Bisphosphonate 3.3 ไม่ ควรกิ นร่ วมกั บ น้ำ grapefruit เช่น Diazepam 3.4 ไม่ ควรกิ นร่ วมกั บ กาแฟ เช่น Theophylline 3.5 ไม่ควรดื่ม ร่วมกับ แอลกอฮอล์ เช่น NSAIDs 3.6 ไม่ควรสูบ บุห รี่ เช่น ผู้ห ญิง ที่ใช้ ยาเม็ ดคุ ม กำเนิ ด “ยาใช้ ภ ายนอก” หมายความว่ า ยาแผนปั จ จุ บั น หรื อ ยาแผนโบราณที่ มุ่ ง หมายสำหรั บ ใช้ ภายนอกร่างกาย เช่น ยาล้างแผล ยาทาสำหรับ โรคผิวหนัง และอาการปวดบวม ยาทาแก้ก ลากเกลื้อ น ยาหม่ อ ง ยาทาแก้ป วด เป็ น ต้ น ส่ ว น“ยาใช้เ ฉพาะที่ ” หมายความว่ า ยาแผนปั จ จุบั นในรูป แบบต่างๆ ที่ มุ่ ง หมายใช้ เ ฉพาะที่ เช่ น ยาหยอดตา ยาพ่ น หรื อ การให้ ย าโดยการสู ด ดมและยาเหน็บ เป็ น ต้ น ซึ่ ง การให้ ยาเข้า สู่ร่ า งกาย สามารถทำได้ใ นหลายช่ อ งทางนอกจากการให้ ยาทางปากแล้ ว ยั ง มี วิ ธีก ารให้ ยาเฉพาะที่และใช้ ภ ายนอกซึ่ง นัก ศึก ษาต้อ งมี ค วามรู้ ใ นการใช้ย าเพื่อ จะสามารถแนะนำคนไข้ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง โดยยาใช้เ ฉพาะที่ เช่น ยาอมใต้ลิ้น ยาหยอดตา ยาป้ายตา ยาหยอดหู การทา การเหน็บ ทวาร หนั ก ทางช่ อ งคลอด ยาทา ถู นวดยาใช้ ภ ายนอกร่ า งกาย เป็ น ต้ น มี วิ ธี ก ารปฏิ บั ติใ นการให้ย าแต่ล ะ ชนิดมีดัง ต่อ ไปนี้ 1. ยาอมใต้ ลิ้ น (Sublingual drug) ซึ่ ง ยาอมใต้ ลิ้ นสำหรั บ ผู้ ที่ เ ป็ นโรคหั ว ใจขาดเลื อ ดนั้นมี วิธีก ารใช้ดัง นี้ 1) ผู้ป่วยควรมีก ารพกยาติดตัวเสมอ 2) เมื่อ เกิดอาการเจ็บ หน้าอกจะต้อ งอมทีล ะ 1 เม็ดเท่านั้น ให้วางยาไว้ใต้ลิ้น 3) (ห้ามเคี้ยว ทำให้แตก หรือ บดยา) จากนั้นปิดปาก 4) อมยาไว้ โดยไม่ก ลืนน้ำลาย ไม่ดื่ม น้ำหรือ ไม่เ ครื่อ งดื่ม ใดๆ ตามลงไปปล่อ ยให้ยาค่อ ยๆ ถู ก ดู ด ซึ ม ผ่ านหลอดเลื อ ดบริ เ วณใต้ ลิ้ น แล้ ว อาการเจ็ บ หน้ า อกก็ จ ะค่ อ ยๆ บรรเทาลง ภายใน 1-2 นาที 5) ถ้ าหลั ง จากอมยาไปแล้ ว 5 นาที อาการยัง ไม่ดีขึ้น ให้อ มยาเม็ดที่ 2 รอดู อ าการอี ก 5 นาที ถ้ายัง มีอ าการเจ็บ หน้าอกอยู่ ให้อ มยาเม็ดที่ 3 แล้วรี บ ไปโรงพยาบาลทันที 6) หากอมยาไป 3 เม็ ด แล้ ว อาการยั ง ไม่ ดี ขึ้ น นั้ น มี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ภาวะกล้ า มเนื้อ หัวใจตายอันจะส่ง ผลต่อ ไปให้ก ารทำงานของหัวใจผิดปกติห รือ อาจถึง ขั้นเสียชีวิตได้

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 11 จาก 13

2. การใช้ย าหยอดตา 1) ล้างมือ ให้ส ะอาด นอนหรือ นั่ง แหงนหน้าขึ้น 2) ดึ ง เปลื อ กตาล่ างลงให้เ ห็นกระพุ้ง ระหว่างเปลือ กตาล่างด้านในกับ ตาขาว 3) หยอดยาลงในกระพุ้ง ตาล่าง 1-2 หยด ระวัง อย่าให้ป ลายหลอดสัม ผัส กับ ตาผู้ป่วยหรือ มือ ผู้ห ยอด 4) หลับ ตานิ่ง ๆ สัก ครู่ นาน 1-2 นาที ไม่ควรกะพริบ ตา และเช็ดน้ำยาส่วนที่ไหลจากตา *** ไม่ควรใช้ยาหยอดตาร่วมกับ ผู้อื่น *** 3. การใช้ย าวิธีการป้า ยตา 1) ล้างมือ ให้ส ะอาด นอนหรือ นั่ง แหงนหน้า หน้ากระจก ดึง หนัง ตาล่างลงให้เ ป็นกระพุ้ง 2) บีบ ยาป้ายตาโดยเริ่ ม จากหั วตาไปหางตา ยาว 1 เซนติเ มตร ระวัง อย่าให้ป ลายหลอด สัม ผัส กับ ตาผู้ป่วยหรือ มือ ผู้ป้าย แล้วหลับ ตาทิ้ง ไว้สัก ครู่ 3) ควรป้ า ยตาก่ อ นจะนอนจริ ง ๆ เพราะเมื่ อ ป้ า ยตาแล้ ว จะทำให้ ตาพร่า มัว และอาจเกิด อุ บั ติเ หตุ ได้ ง่ าย *** ข้ อ ควรทราบ*** 1. กรณี ใ ช้ ย าหยอดหรื อ ยาป้ า ยตาร่ ว มกั น ควรหยอดยาแบบน้ ำ ก่ อ น จากนั้ น 5-10 นาที จึง ป้ายตา เพื่อ ให้ยาที่ห ยอดหรือ ป้ายในแต่ล ะช่วง ซึม เข้าตาและออกฤทธิ์ได้เ ต็ม 2. ควรเก็ บ ยาไว้ในตู้เ ย็นช่อ งธรรมดาหรือ ในที่เ ย็น ถ้าเปิดใช้แล้วเกิน 1 เดือ นหรือ หาก ยามีก ารเปลี่ยนสีห รือ หมดอายุ ให้ทิ้ง ไม่ควรนำมาใช้ 4. การใช้ย าหยอดหู 1) ล้ างมื อ และทำความสะอาดใบหู ด้วยผ้ าชุ บ น้ ำ เช็ ดให้ แห้ ง 2) กำขวดยาไว้ในอุ้ง มือ 2 - 3 นาที เพื่อ ปรับ อุณหภูมิให้ใกล้เ คียงกับ ร่างกาย 3) เอียงหู หรือ นอนตะแคง ให้หูข้างที่จ ะหยอดอยู่ด้านบน 4) ดูดยาและหยอดยาตามจำนวนหยด ตามที่แพทย์สั่ง ดึง ใบหูเ บาๆ เพื่อ ให้ยาไหลลงหูได้ สะดวก 5) เอี ย งหู ข้ า งนั้ น ไว้ 5-10 นาที เพื่ อ ให้ ย าสั ม ผั ส กั บ ผิ ว หนั ง มากที่ ส ุ ด และมี เ วลาดู ด ซึ ม เพียงพอ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 12 จาก 13

6) เช็ ด ยาที่ ไ หลออกมานอกรู หู ไม่ ค วรเช็ ดในรูหู ในกรณี แ ก้ ว หูท ะลุ ยาอาจไหลลงคอทำ ให้รู้สึก ขมในคอได้ 5. วิ ธี ใช้ ย าเหน็ บ ทวารหนั ก (Rectal Suppositories) 1) ปกติใช้ห ลัง จากถ่ายอุจ จาระเรียบร้อ ยแล้ว 2) ก่ อ นใช้ ยา ให้ ท ำความสะอาดร่างกายให้ส ะอาดโดยเฉพาะบริเ วณทวารหนัก 3) ก่อ นเหน็บ ยาให้นอนตะแคงข้าง แล้วงอขาข้างหนึ่ง ขึ้น 4) แกะยาออกจากที่หุ้ม เมื่อ พร้อ มที่จ ะใช้ยา สอดยารูป แท่ง เข้าไปในทวารหนัก โดยดันยา เหน็บ เข้าไปในทวารหนัก จนกระทั่ง สุดนิ้วที่ดันยา 5) นอนพัก สัก ครู่ อย่ารีบ ลุก เดินทันที เพราะอาจทำให้ยาเลื่อ นหลุดได้ 6. การผสมยาน้ำ 1) ยาน้ ำแขวนละอองและยาน้ำแขวนตะกอน ต้อ งเขย่าขวดก่ อ นใช้ 2) ยาผงแห้ ง (Dry syrup) ต้อ งเติม น้ำกระสายยาที่เ หมาะสมก่อ นใช้ มีวิธีก ารผสมดัง นี้ a. หากต้อ งใช้ย ามากกว่า 1 ขวด ให้ล ะลายยาทีล ะขวด โดยขั้นแรกเคาะผงยา ในขวดให้ร่วน b. ใช้น้ำต้ม สุก ที่เ ย็นแล้วหรือ น้ำดื่ม ที่ส ะอาดละลายยา ห้ามใช้น้ำร้อ นหรือ น้ำอุ่น c. เปิ ด ฝาขวดยา เติ ม น้ ำ ลงในขวดยาประมาณครึ่ ง ขวด ปิ ด ฝาขวด เขย่ า ให้ผ ง เปียกทั่วและกระจาย ไม่จับ เป็นก้อ น d. เปิ ด ขวดยาอี ก ครั้ ง เติ ม น้ ำ ลงในขวดจนถึ ง ขี ด ที่ ก ำหนดไว้ บ นขวดยาหรื อ ขีด บอกบนฉลากยา ปิดฝาขวดยา เขย่าให้ยากระจายเข้ากันดี e. ก่อ นรินยา ต้อ งเขย่าขวดก่อ นทุก ครั้ง *** ยาที่ผ สมแล้วจะมีอ ายุก ารใช้ง านไม่เ กิน 7 วันเมื่อ อยู่นอกตู้เ ย็น และไม่เ กิน 14 วั น เมื่อ เก็บ ไว้ในตู้เ ย็นช่อ งธรรมดา *** 7. ยาใช้เ ฉพาะที่และภายนอกอื่นๆ 1) วิ ธีก ารให้ ยาใช้ ภายในปากโดยการอมแบบยาอมลู ก กวาด (Lozenge) หรือ แบบยาเม็ด อม (Pastille) ต้ อ งอมจนกว่ ายาจะละลายในปากอย่ างช้ าๆ แล้ วจึ ง ค่ อ ยๆ กลื น ไม่ ให้ กลืนทันที 2) ยาน้ำใช้ท าภายนอก เช่น ยาคาลาไมน์ เขย่าขวดก่อ นใช้ และทาบริเ วณที่เ ป็น ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง ความรู้ ทั่วไปเกี่ ย วกั บการใช้ ย า

หน้ า 13 จาก 13

3) ยาถู น วด (Liniment) เพื ่ อ บรรเทาอาการเจ็ บ ปวด เช่ น น้ ำ มั น สโต๊ ค (Stoke’s liniment) ให้ท า ถู นวดเบาๆ บริเ วณที่เ ป็น 4) ยาครีม เพื่อ รัก ษาอาการผื่นคันหรือ เชื้อ ราให้ท าบริเ วณที่เ ป็นเช้า-เย็น 5) แผ่ น แปะภายนอกร่ า งกาย เช่ น พลาสเตอร์ ปิ ด แผลหรื อ ปิ ด แก้ ป วดทำความสะอาด บริเ วณที่เ ป็นก่อ นแปะ

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.