【 52311x52404 】เรื่อง การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการซีด

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 1 จาก 5

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการซีด ภาพปก “Petal” โดย DrScythe (2016) จาก pixabay.com/en/poppy-flower-nature-summer-spring-1327259

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 2 จาก 5

ความหมายของอาการซีด อาการซีดเป็นอาการแสดงถึงภาวะโลหิตจาง (Anemia) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายมีป ริม าณ หรือ จำนวนของเม็ดเลือ ดแดงต่ำกว่ าปกติ ซึ่ง อาจจะมีอ าการหรือ ไม่มีอ าการก็ ได้ สุดแต่ความเร็ ว ของ การเกิดและสาเหตุ ถ้ามีก ารตกเลือ ดจะเสียเลือ ดเร็ว มีอ าการเวียนศีร ษะ ความดันโลหิตต่ำและช็ อ ค ถ้าภาวะเลือ ดจางเกิดขึ้นช้าๆ จะไม่มีอ าการอะไร นอกจากมีร ะดับ ฮีโ มโกลบินต่ำว่า 3 กรัม % ถ้ ามี อ าการทางหั วใจร่ วมด้ วยจะมีบ วม หอบ เหนื่อ ย หัวใจโต อาการซี ด เป็ น ความผิ ด ปกติ ที่ แ พทย์ ไ ด้ จ ากการซั ก ประวั ติ และเมิ่ อ มี ข้ อ มู ล ยื น ยั น จากการ ตรวจทางห้อ งปฏิบัติก าร เช่น ค่าฮีโ มโกลบินและค่าฮีม าโตคริ ต แล้ว แพทย์จึง สรุป ปัญ หาหรือ วินิ จ ฉั ย ว่า ผู้ป่วยมีภาวะซีด ตารางที่ 8.10 ค่ าปกติ ของระดั บ ฮี โ มโกลบิ นและค่ าฮี ม าโตคริ ตในคนปกติ คนปกติ ค่า เฉลี่ย ฮีโมโกลบิน (gm/dl) ค่า เฉลี่ย ฮีมาโตคริต (%l) เด็ก อายุ 6 เดือ นถึง 5 ปี 11.0 33 เด็ก อายุ 6 ปี ถึง 64 ปี 12.0 36 ผู้ห ญิง 12.0 36 ผู้ชาย 13.0 40

ลักษณะอาการซีด อาการและอาการแสดงที่เ ป็นผลมาจากอาการซีด ผู้ป่วยที่มีภาวะซีดจะมาด้วยอาการต่างๆ ที่เ ป็นผลมาจากภาวะซีด เช่น อาการอ่อ นเพลีย ไม่มี แรง ใจสั่ น เหนื่ อ ยง่ า ย ทำอะไรเล็ ก ๆ น้ อ ยๆ ก็ เ หนื่ อ ย เวี ย นศี ร ษะ หน้ า มื ด เป็ น ลมบ่อ ย เนื่ อ งจาก โรคที่ ท ำให้ เ กิด ภาวะซี ด นั้ น มี ม ากมาย โดยเฉพาะผู้ ป่ ว ยที่ เ ป็น โรคเรื้ อ รั ง ต่ างๆ มั ก มี ภ าวะซี ด ร่ ว มด้วย เสมอ ที่เ รียกว่า ภาวะซีดในโรคเรื้อ รัง (Anemia of Chronic Disease) อาการซีดหรือภาวะโลหิตจาง แบ่ง ออกได้ ดัง นี้ 1) อาการซีดหรือภาวะโลหิตจางอย่า งเฉี ย บพลัน (Acute anemia) ผู้ป่วยจะให้ป ระวัติ ว่ า ยัง แข็ง แรงอยู่ ทันทีที่เ กิดอาการอ่อ นเพลียหรือ หมดแรงมาต้อ งคำนึง ถึง 1.1) มี ก ารเสี ย เลื อ ดอย่ า งรวดเร็ ว เช่ น ถ่ า ยเป็ น เลื อ ด ตกเลื อ ดในช่ อ งท้ อ ง ในผู้ห ญิง ถ้าเป็นลม ซีดให้นึก ถึง ตั้ง ครรภ์นอกหมดลูก 1.2) มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดงอย่างรวดเร็ ว ที่พ บบ่อ ย คือ มาเลเรีย, G6PD, HbH disease ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 3 จาก 5

2) อาการซี ด หรื อ ภาวะโลหิ ต จางอย่ า งเรื้ อ รั ง (Chronia anemia) ผู้ ป่ ว ยจะบอกว่า อ่อ นเพลียไม่มีแรงมานานเป็นเดือ นเป็นปี ที่พ บได้บ่อ ย คือ 2.1) อาการขาดเหล็ ก ผู้ป่วยจะไม่ผ อม ไม่มีไข้ ตับ และม้ามไม่โ ต เล็บ มือ อ่อ นช้อ น ขึ้น(Koilonychia)ลิ้นเลี่ยนแดง ถ้าให้ป ระวัติไม่รับ ประทานเนื้อ หรือ ไข่ห รือ ถั่ว แสดง ว่ าขาดสารอาหารโปรตี น 2.2) พวกเป็ น โรคเรื้อ รัง ต่ า งๆ พบว่ า ซี ด อ่ อ นเพลี ย เช่ น Chronic renal failure, Rhumatoid arthritis เป็นต้น 2.3) โรคเลือดธาลัส ซีเ มีย (Thalassemia) หน้าตาและรูป ร่าง จะบอกแยกโรคได้ดี 2.4) โรคตั บ มะเร็ ง เม็ ด โลหิ ต จาง Lymphoma และวั ณ โรค ผู้ ป่ ว ยจะมี อ าการ ซีดได้เ ช่นกัน ซึ่ง ต้อ งอาศัยการซัก ประวัติ การตรวจทางห้อ งทดลองช่วย 3) อาการซี ด หรื อ ภาวะโลหิ ต จางอย่ า งรุ น แรง (Severe anemia) ผู้ ป่ ว ยจะบอกว่ า เป็ น ลม มี อ าการเจ็ บ หน้ า อก Chest pain), เจ็ บ หน้ า อกแบบแองไจน่ า (Angina) และเจ็ บ ที่ หั ว ใจ รุ นแรง (Heart attack)

การตรวจร่างกายในภาวะซีด 1) ดู สี ข องเยื่ อ บุต่ า งๆ เช่ น สี ข องเยื่ อ บุ ต าหรื อ สี ข องเยื่อ บุ ภ ายในช่ อ งปาก จะเริ่ ม ตรวจ พบเมื่อ ระดับ ของฮีโ มโกลบินจะต่ำกว่า 10 มิ ล ลิ ก รัม ต่อ เดซิ ลิ ตร 2) ตรวจเล็ บ ถ้ า พบลั ก ษณะของเล็ บ ที่ เ ว้ าลงเหมื อ นช้ อ น (Spoon Nail) หรื อ ที่ เ รี ยกว่า Koilonychia (ดัง ภาพที่ 8.11) แสดงว่ ามี ภาวะซีดจากการขาดธาตุ เ หล็ ก (Iron Deficiency Anemia)

ภาพที่ 8.11 ลัก ษณะของเล็บ ที่เ ว้าลงเหมือ นช้อ น (Koilonychia) ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 4 จาก 5

3) ตรวจชีพจร อาจพบว่ามีก ารเต้นเร็วกว่าปกติแต่ไม่มีก ารเต้นผิดจัง หวะ การตรวจฟัง เสียงหัวใจอาจพบ Systolic Murmur ได้ที่ตำแหน่ง Pulmonic Valve Area

สาเหตุและการวินิจ ฉัยแยกโรค 1) สาเหตุข องการเกิดอาการแสดงว่า ซีดหรือภาวะโลหิตจาง สาเหตุส่วนใหญ่ของภาวะซีดทั้ง ในเด็ก และผู้ใหญ่เ กิดจากการขาดธาตุเ หล็ก สาเหตุทั้งหมด ของอาการซี ดสามารถแบ่ง ออกได้ เป็ น 3 สาเหตุใหญ่ๆ ดัง นี้ 1.1 ภาวะซีดจากการสร้า งเม็ดเลือดแดงที่ล ดลงไปจากภาวะปกติ ได้แก่ 1.1.1 โรคไตวายเรื้อ รัง ทำให้ไม่ส ามารถสร้าง Erythropoietin 1.1.2 การขาดสารอาหารที่จ ำเป็นต่อ การสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ธาตุเ หล็ก กรดโฟ ลิ ก วิ ตามิ นบี 12 เป็นต้น 1.1.3 เซลล์ต้นกำเนิ ดของเม็ ดเลื อ ดแดง (Erythroblast) มีป ริม าณลดลงหรือ ทำงาน น้อ ยลง เช่น โรคไขกระดูก ฝ่อ (Aplastic Anemia) จากสาเหตุต่างๆ 1.1.4 มีสิ่ง อื่นที่ไม่ส ามารถสร้างเม็ดเลือ ดแดง เช่น เซลมะเร็งต่างๆ เป็นต้น มาอาศัย อยู่ในไขกระดูก แทนที่เ ซลต้นกำเนิดของเม็ดเลือ ดแดง (Erythroblast) 1.2 ภาวะซีดจากการที่เ ม็ดเลือดแดงถูกทำลายมากกว่า ภาวะปกติ ที่พ บบ่อ ยคือ สาเหตุท าง พันธุก รรม ได้แก่ โรคที่มีความผิดปกติของส่วนต่างๆของเม็ดเลือ ดแดง เช่น โรคธาลัส ซีเ มีย 1.3 ภาวะซี ด จากการเสี ย เลื อ ด ได้ แ ก่ 1) การเสี ย เลื อ ดจากแผลในทางเดิ น อาหาร 2) การเสียเลือ ดจากการมีป ระจำเดือ นมากผิดปกติ หรือ จากการตกเลือ ดหลัง คลอดหรื อ หลัง การแท้ ง บุ ต ร เป็ น ต้ น 3) การเสี ยเลือ ดจากบาดแผลฉี ก ขาดหลั ง ประสบอุบัติ เ หตุ หรื อ ได้ รั บ การบาดเจ็บ จาก สาเหตุต่างๆ เป็นต้น 2) การวิ นิ จ ฉั ย อาการซี ด หรื อ ภาวะโลหิ ต จาง ต้ อ งอาศั ย ประวั ติ จ ากอาการว่ า เป็ น ชนิ ด เฉียบพลัน หรือ เรื้อ รัง หรือ รุนแรง สำหรับ ภาวะโลหิตจางผู้ป่วยจะแสดงออกโดยอาการซีด ซึ่ง มีโ รค หลายชนิดที่ท ำให้ผู้ป่ว ยซี ด แต่มีอ าการร่วมอื่นๆ ด้วย และอาการซีดหรื อ ภาวะโลหิตจางจาการเสี ย เลื อ ดที ่ ส ามารถทราบได้ เช่ น ริ ด สี ด วงทวาร กระเพาะหรื อ ลำไส้ เ ป็ น แผล การส่ ง ตรวจทาง ห้อ งปฏิบัติก าร ที่ส ำคัญ มีดัง นี้ 2.1 การตรวจสเมี ย ร์เ ลื อดและการตรวจนั บ เม็ดเลือดอย่า งสมบูรณ์ เพื่อ ดูขนาด และรูปร่าง การติดสีซีดหรือจาง ดูเ ม็ดเลือ ดแดงตัวอ่อ น 2.2 การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ ได้ แก่ การทดสอบเพื่อ ยืนยันว่ามีภาวะซีดจากการ ขาดธาตุ เ หล็ ก หรื อ ไม่ เป็นธาลั ส ซีเ มียหรื อ ไม่ เป็ นต้น การวินิจ ฉัยแยกโรคกลุ่ม อาการซีดเฉพาะจาก โรคเลือ ดบางศึ ก ษาได้ ในเอกสารการสอน ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 5 จาก 5

การดูแลเบื้อ งต้น กลุ่มอาการซีด เนื่อ งจากภาวะซี ดเป็น อาการแสดงที่ ได้จ ากการตรวจร่างกาย ผู้ป่วยจึง ไม่ได้ม าพบแพทย์ ด้ ว ย อาการซีดแต่จ ะมาด้วยอาการต่างๆที่เ ป็นผลมาจากการมีภาวะซีด ดัง ที่ได้ก ล่าวไปแล้ว การรัก ษาภาวะ ซี ดจึ ง เป็ นการรั ก ษาตามอาการไปก่ อ นในช่ วงแรก แล้ วจึ ง รั ก ษาตามสาเหตุ ต่อ ไปในภายหลั ง 1) ภาวะซี ด ที่ พ บบ่ อ ยที่สุ ด ทั้ ง ในเด็ ก และผู้ ใหญ่มี ส าเหตุม าจากการขาดธาตุ เ หล็ก การรัก ษา ภาวะซีด 2) ส่วนใหญ่จึง เป็นการให้ผู้ป่วยรับ ประทานธาตุเ หล็ก เสริม 3) กรณี ที่ ส าเหตุ ข องภาวะซี ด เกิ ด จากการเป็ น โรคธาลั ส ซี เ มี ย ซึ่ ง มั ก มี ธ าตุ เ หล็ ก สะสมใน ร่ า งกายมากอยู ่ แ ล้ ว จึ ง ไม่ ต้ อ งให้ ธ าตุ เ หล็ ก เสริ ม อี ก ให้ แ ต่ โ ฟลิ ก และวิ ต ามิ น อื่ น ๆเช่ น วิ ตามิ น B12 เป็นต้น 4) กรณี ท ี ่ ส าเหตุ ข องภาวะซี ด เกิ ด จากโรคไตวายเรื ้ อ รั ง ทำให้ ไ ตไม่ ส ามารถสร้ า ง Erythropoietin ได้ อี ก การรั ก ษาคื อ การให้ Erythropoietin เสริ ม เพื่ อ ไปทดแทนการ ขาด Erythropoietin 5) กรณี ที่ เ กิ ด จากการเสี ยเลื อ ด ให้ ท ำการห้ า มเลือ ดก่อ นแล้ ว จึง ชดเชยด้ ว ยการให้ เ ม็ ดเลือ ด แดงเข้ ม ข้ น (PRC: Packed Red Cell) โดยทั่ ว ไปให้ ห ลี ก เลี่ ย งการใช้ Whole Blood เพราะอาจมี ส ารบางอย่ า งที่ ท ำให้ เ กิ ด อาการแพ้ (Hypersensitivity) หรื อ ไปกระตุ้ น ขบวนการต่างๆทางภูมิคุ้ม กัน เช่น แอนติเ จนบนผิวของเม็ดเลือ ดขาวต่างๆ เป็นต้ น

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.