【 52311x52404 】เรื่อง การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการปวด

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 1 จาก 6

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การดูแลผู้ป่วยกลุ่มอาการปวด ภาพปก “Pain” โดย Anita S. (2014) จาก pixabay.com/en/girl-headache-pain-sadness-504315

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 2 จาก 6

การดูแลเบื้อ งต้น กลุ่มอาการปวด อาการปวด (pain) เป็นกลไกการป้อ งกันตัวของร่างกายชนิดหนึ่ง ปวดตรงไหนบ่ง ชี้ไปที่อ วัยวะได้ ดัง นี้ ส่วนที่ 1 เรียกว่า ใต้ชายโครงขวา อวัยวะที่สำคัญคือ ตับ ถุงน้ำดี ท่อน้ำดี ส่วนที่ 2 เรียกว่า ส่วนลิ้นปี่ หรือยอดอก อวัยวะที่สำคัญคือ ตับ กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนต้น ตับอ่อน

ส่วนที่ 3 เรียกว่า ใต้ชายโครงซ้าย อวัยวะทีส่ ำคัญคือ กระเพาะอาหาร ม้าม และลำไส้ใหญ่ส่วนบนมุมซ้าย (transverse colon) ส่วนที่ 4 เรียกว่า ส่วนเอวขวา อวัยวะที่สำคัญคือ ลำไส้ใหญ่ส่วนขวา ลำไส้เล็ก ส่วนที่ 5 เรียกว่า ส่วนสะดือ อวัยวะที่สำคัญคือ ลำไส้ใหญ่ส่วนกลาง ลำไส้เล็ก ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

หน้ า 3 จาก 6

ส่วนที่ 6 เรียกว่า ส่วนเอวซ้าย อวัยวะที่สำคัญคือ ลำไส้ใหญ่ซ้าย ลำไส้เล็ก ส่วนที่ 7 เรียกว่า ส่วนท้องน้อยขวา อวัยวะที่สำคัญคือ กระเปาะลำไส้ใหญ่ (caecum) ไส้ติ่ง (appendix) ลำไส้เล็กส่วนปลาย (ileum) ส่วนที่ 8 เรียกว่า ท้องน้อยส่วนกลาง อวัยวะที่สำคัญคือ กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้ใหญ่ส่วนทวารหนัก (rectum) ลำไส้เล็ก ส่วนที่ 9 เรียกว่า ท้องน้อยซ้าย อวัยวะที่สำคัญคือ ลำไส้ใหญ่ซ้าย (descending colon) ลำไส้เล็ก (jejunum)

คิดถึงอะไรบ้ าง ? เมื่อผู้ป่ วยมาพบด้ว ยอาการปวดท้อง อาการที่พบ

การวินิจฉัย เบื้องต้น

อาการที่ 1 1) จุก แน่นบริเ วณลิ้นปี่ 2) ปวดแสบในท้อ ง บริเ วณลิ้นปี่

กระเพาะอาหารอักเสบ

3) รู้สึกหิว 4) คลื่นไส้ อาเจียน ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

การดูแลเบื้องต้น 1) ให้ท านยาลดกรด 2) แนะนำอาหารอ่อ น ย่ อ ยง่ าย 3) หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด 4) พัก ผ่อ น 5) คลายเครียด

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

อาการที่พบ

การวินิจฉัย เบื้องต้น

หน้ า 4 จาก 6

การดูแลเบื้องต้น 6) รั บ ประทานอาหารให้ เป็นเวลา 7) หากไม่ห ายหรือ ยัง มี อาการต้อ งตรวจโดย ละเอียดโดยแพทย์หรือ ส่ ง ต่ อ ไปโรงพยาบาล

อาการที่ 2 1) ปวดบริเ วณลิ้นปี่ 2) คลื่นไส้

แผลในกระเพาะอาหาร

3) อ่ อ นเพลี ย 4) น้ำหนัก ลด

1) 2) 3) 4)

ให้ท านยาลดกรด รั ก ษาตามอาการ อาหารอ่อ นย่อ ยง่าย งดชา กาแฟ เครื่อ งดื่ม แอลกอฮอล์ 5) พัก ผ่อ น

5) อาการปวดไม่สัม พันธ์ กั บ อาหาร 6) ปวดเป็นๆหายๆ

อาการที่ 3 1) ปวดท้อ งเมื่อ รั บ ประทานอาหารไป แล้ว ประมาณ 90

แผลในลำไส้เ ล็กส่ว นต้น

นาทีถึง 3 ชั่วโมง 2) ปวดบ่อ ยเวลา กลางคืน

อาการที่ 4 1) ปวดท้อ งรอบสะดือ

ไส้ติ่ง อัก เสบ

และปวดทั่วไปใน 612 ชั่วโมง หลัง จาก นั้นจะปวดและกดเจ็บ

1) งดน้ำอาหาร 2) นอนศรีษะสูง 3) รี บ ส่ง ต่ อ โรงพยาบาล

บริเ วณช่อ งท้อ ง ด้ านล่ างขวา ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

อาการที่พบ 2) มี ไข้ต่ำ ๆ

การวินิจฉัย เบื้องต้น

ไส้ติ่งอักเสบ

3) คลื่นไส้ อาเจียน

หน้ า 5 จาก 6

การดูแลเบื้องต้น 1) งดน้ำอาหาร 2) นอนศรีษะสูง

4) ตรวจโดยนอนหงาย

3) รี บ ส่ง ต่ อ โรงพยาบาล

งอขาขวาผู้ป่วยและ เหยียดออกโดยเร็ว ผู้ป่วยจะปวดมากขึ้น

ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ปวดข้อ อาการที่พบ

การวินิจฉัย เบื้องต้น

การดูแลเบื้องต้น

อาการที่ 1 1) มีอ าการปวดกล้ามเนื้อ

1) การนวดผ่อ นคลาย

ส่วนใดส่วนหนึ่ง 2) มี อ าการปวดเกร็ ง ของ กล้ามเนื้อ เช่น คอ บ่า

แช่น้ำอุ่น

ปวดกล้ามเนื้อ

2) การบริห ารกล้ามเนื้อ 3) การรัก ษาโดยแพทย์

ไหล่

เช่น ฝัง เข็ม ให้ยา

3) อาจพบอาการชาของ แขน มื อ ร่วมด้ วย

อาการที่ 2 1) ปวดหลังบริเ วณด้านข้าง ของกระดู กสั นหลัง 2) ปวดหลังหรือ ด้านข้าง ของต้นขาไปถึง ระดั บ หัว เข่า

ปวดหลัง

3) ปวดร้าวลงไปด้านหลัง หรือ ด้านข้างของขาไป

1) ยาบรรเทาปวด 2) พัก ผ่อ น 3) ออกกำลังกายคลาย กล้ามเนื้อ 4) ส่ง ต่อ เพื่อ ตรวจรัก ษา โดยแพทย์

ถึ ง ข้ อ เท้ าหรื อปลายเท้ า ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การดู แ ลผู้ ป่ วยเบื้ อ งต้ น กลุ่ มอาการซี ด

อาการที่พบ 4) ปวดร้าวลงไปถึง

การวินิจฉัย เบื้องต้น

หน้ า 6 จาก 6

การดูแลเบื้องต้น

ด้ านหน้ าของต้ นขาไปถึ ง

1) ยาบรรเทาปวด

ระดั บ หั วเข่ าปวดรุ นแรง

2) พัก ผ่อ น

ขึ้น มีอ าการชาที่ขาหรือ

ปวดหลัง

เท้า มีอ าการกล้ามเนื้อ

3) ออกกำลังกายคลาย กล้ามเนื้อ 4) ส่ง ต่อ เพื่อ ตรวจรัก ษา

ขาอ่อ นแรงร่ วมด้ วย

โดยแพทย์

อาการปวดไม่สัม พันธ์กับ อาหาร

อาการที่ 3 1) ข้ อ บวม 2) ปวด 3) ไม่สุขสบาย ทำงานไม่ได้

ปวดข้อ ปวดกระดูก

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

1) พัก ข้อ อวัยวะส่วนที่มี อาการ 2) ประคบน้ำเย็น 3) ซัก ประวัติเพื่อ หาสาเหตุ 4) แนะนำการรับ ประทาน อาหาร การพักผ่อ น 5) หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ท ำ ให้เ กิดอาการ 6) ส่ ง ต่ อ ไปตรวจรั ก ษาโดย แพทย์ ถ้ามีอ าการมาก

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.