Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
Module 01 ่ วกับการพั ฒนาอย่างยั่งยืน ความรู้เกีย กับงานก่อสร้าง อาจารย์ อมรรัตน์ เดชอุดมทรัพย์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
1
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง . . . • แนวคิดเกี่ยวกับการพั ฒนาอย่างยั่งยืน • ประเด็นทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากอุตสาหกรรม การก่อสร้าง • ความยั่งยืนกับอุตสาหกรรมก่อสร้าง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
2
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
่ วกับ แนวคิดเกีย การพั ฒนาอย่างยั่งยืน
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
3
จุดเริม ่ ต้นของการพั ฒนาที่ยั่งยืน
• การเพิ่ มขึ้นอย่างรวดเร็วของประชากรโลก • จะมีประชากรถึง 8 พั นล้านคนภายในปี 2020 • ส่งผลกระทบแง่ลบต่อทั้งระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของโลก
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
การพั ฒนาอย่างยั่งยืน “การพั ฒนาที่ตอบสนองความจําเป็นของคนยุคปัจจุบัน โดยไม่ลดขีดความสามารถในการตอบสนองความจําเป็น ของคนยุคต่อไป” ่ งสิ่งแวดล้อม - คณะกรรมาธิการโลกว่าด้วยเรือ และการพั ฒนา (The World Commission on Environment and Development หรือ WCED)
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
5
หลักการการสร้างความยั่งยืน ตามแนวทางสามเสาหลัก (Triple Bottom Line) Environmental Natural resource use, Environmental management Pollution prevention
Sustainability Social Well-being Standard of living Community concern
Economic Profit, Cost savings, Economic growth
ความยั่งยืนระดับนโยบาย (Sustainability on Policy Level) “แนวทางการดําเนินการในระดับสากล ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ อพั ฒนาให้เกิด ความยั่งยืนตามแนวทางสามเสาหลัก ครอบคลุม ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยทั่วโลกได้มีแนวทาง Environmental การดําเนินการออกมา Natural resource use, Environmental management ในรูปแบบทั้งนโยบาย Pollution prevention ข้อตกลง ข้อกําหนด และพิ ธีสารต่าง ๆ” Sustainability Social Well-being Standard of living Community concern
Economic Profit, Cost savings, Economic growth
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
พิ ธีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทําลาย ชั้นบรรยากาศโอโซน (1989) (Montreal Protocol)
“เป็นสนธิสัญญาสากล เกิดขึ้นภายใต้อนุสัญญาเวียนนา ซึ่งจัดทําโดยองค์การสิง ่ แวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme, UNEP) ถูกกําหนดขึ้นเพื่ อเป็นกฏข้อบังคับให้ประเทศที่อยู่ ภายใต้พิธีสารดําเนินการลดปริมาณการใช้สารเคมีที่ ก่อให้เกิดรูโหว่ของชั้นโอโซนในบรรยากาศ อันได้แก่
สารเคมีในตระกูลคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbons/ CFCs) เพื่ อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไป เนื่องจากสารเหล่านี้”
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
8
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
พิ ธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
พิ ธีสารเกียวโตตั้งชื่อขึ้นตามสถานที่ในการเจรจา ที่เมืองเกียวโตเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2540 และ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กุมภาพั นธ์ 2548 มีการกําหนดชนิดก๊าซเรือนกระจก ที่อยู่ภายใต้พิธีสารฯ 6 ชนิดคือ 1) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 2) มีเทน (CH4)
3) ไนตรัสออกไซด์ (N2O)
4) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs)
5) เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PCFs) 6) ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
9
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ความตกลงปารีส (Paris Agreement)
ความตกลงปารีสประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก ดังนี้ • การดําเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) • การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Adaptation) • การรับมือกับความสูญเสียและความเสียหาย (Loss and damage) และการยกระดับ การให้การสนับสนุนด้านการเงิน • การพั ฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี และการเสริม สร้างศักยภาพ (Means of Implementation: Finance, Technology development and transfer, and capacity-building) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
10
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
เป้าหมายการพั ฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นเป้าหมายการพั ฒนาของโลกในอีก 15 ปี ข้างหน้า (2016-2030) ซึ่งจัดทําขึ้นโดยองค์การ สหประชาชาติ (The United Nations หรือ UN) ถูกรับรองโดยผู้นําจากประเทศสมาชิกองค์กา รสหประชาชาติจํานวน 193 ประเทศ ในการประชุม สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly - UNGA) มีการกําหนด “เป้าหมายการพั ฒนาที่ยั่งยืน” (Sustainable Development Goals: SDGs) โดย มีการตั้งเป้าหมายทั้งสิ้น 17 เป้าหมาย (Goals) 169 เป้าประสงค์ (Targets) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
11
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ความยั่งยืนระดับปฏิบัติการ
(Sustainability on Implementation Level) เป็นความเคลื่อนไหวในระดับย่อยลงมา มุ่งเน้น การกําหนดแผนและแนวทางการปฏิบัติการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ, มาตรฐาน, มาตรการต่าง ๆ โดยมักระบุวิธีการวัดผล การดําเนินการที่ชัดเจน ทั้งนี้เพื่ อให้เกิดการพั ฒนา อย่างเป็นรูปธรรม และสามารถบรรลุถึงเป้าหมาย ของการพั ฒนาอย่างยั่งยืนในระดับนโยบายได้
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
13
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ประเด็นทางสิ่งแวดล้อมทีเ่ กิดจาก
อุตสาหกรรมการก่อสร้าง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
15
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ผลกระทบที่เกิดกับสิง ่ แวดล้อมในพื้ นที่ บริเวณโครงการก่อสร้างและพื้ นที่ข้างเคียง
(Impact of Construction activities on the Surrounding)
เกิดจากการพั ฒนาโครงการก่อสร้างที่จะมีผลต่อ สิง ่ แวดล้อมภายในโครงการและพื้ นที่ข้างเคียงใน หลายๆด้าน ซึ่งเกิดจากการพั ฒนาโครงการที่ไม่ได้ คํานึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
16
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
• การเลือกที่ตั้งโครงการไม่เหมาะสม (Inappropriate Land Use)
ü ก่อสร้างบนพื้ นที่ที่เป็นที่อยู่ของสัตว์สงวน หรือ สัตว์ที่ใกล้สูญพั นธุ์ หรือเขตป่าสงวน เขตอนุรักษ์ หรือเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าตามกฎหมายไทย ü พื้ นที่ที่ยังไม่ได้รับการพั ฒนาที่อยู่ใกล้แหล่งนํา้ ธรรมชาติ
ü การเลือกที่ตั้งโครงการในพื้ นที่ที่มีคุณค่าทาง ระบบนิเวศน์สูง หรือขัดแย้งกับผังเมือง เช่น พื้ นที่ลุ่มตํ่านํ้าท่วมถึง พื้ นที่ที่เป็นทางไหลผ่าน ของนํ้าธรรมชาติ พื้ นที่แก้มลิง (Retention Area) พื้ นที่ชุ่มนํ้า (Wetland) เป็นต้น
่ ไี่ ด้รับการพั ฒนาแล้ว วิธีการลดผลกระทบ : การเลือกพื้ นทีท
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
17
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
• การขาดพื้ นที่สีเขียวในโครงการ (Lack of Green Areas)
การเพิ่ มพื้ นที่สีเขียว เป็นวิธีการปรับปรุง สมดุลของสภาพ แวดล้อมในเขตเมือง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
18
• การเพิ่ มพื้ นที่ผิวทึบนํ้า
(An Increase in Impervious Surface)
วิธีการลดผลกระทบ การเลือกใช้วัสดุพื้นผิวในงานภูมิ สถาปัตยกรรม การเพิ่ ม ความสามารถในการซึมซับนํ้าฝน ลงสู่ชั้นดินด้วยการใช้วัสดุปูพื้นที่ นํ้าซึมผ่านได้เช่นคอนกรีตพรุน หรือบล็อกหญ้า
• ปรากฏการณ์เกาะความร้อน (Heat Island Effect) การที่อุณหภูมิของชั้นอากาศ ใกล้พื้นดิน ในเขตชุมชน อุ่นกว่าปกติ เพราะมลภาวะ ทางความร้อนโดยตรง วิธีการลดผลกระทบ การใช้วัสดุบริเวณพื้ นที่ ดาดแข็งที่มีสีที่อ่อน หรือ การปลูกต้นไม้ปกคลุม เพื่ อให้ร่มเงา
• การสิ้นเปลืองวัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง (Material Resources and Wastes)
วิธีการลดผลกระทบ • การใช้วัสดุก่อสร้างที่ผ่านการใช้ งานแล้ว (Reuse Materials) • การใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น (Regional Materials)
แนวทางการบริหารจัดการ ขยะตามหลัก 5R Reduce Repair Reuse Reject Recycle
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
2.2 ผลกระทบด้านการบริโภคพลังงาน พลังงานในอาคารกับแผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเทศไทย รัฐบาลเริม ่ กําหนดนโยบายและเป้าหมายลงใน แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในสาขาพาณิชยกรรม และที่อยู่อาศัย โดยมี 3 มาตรการคือ - มาตรการส่งเสริม - มาตรการจูงใจ - มาตรการกํากับดูแล ในมาตรการกํากับดูแลมีการดําเนินการโดย ออกพระราชบัญญัติอนุรักษ์พลังงาน และฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
22
พลังงานที่ใช้ในอาคาร
พลังงานที่ใช้ในอาคารสามารถแบ่งออกได้เป็นสามระยะ
- พลังงานที่ใช้ในการผลิตวัสดุและการก่อสร้างอาคาร - พลังงานที่ใช้ในการดําเนินการใช้อาคาร
- พลังงานที่ใช้ในการนําอาคารกลับมาใช้ใหม่ หรือ ใช้ในการรื้อถอนทําลาย การแก้ปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่เพิ่ มขึ้น สามารถทําได้ ด้วยการคํานึงถึงการออกแบบอาคารที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม ü แสงแดด ü อุณหภูมิ ü ทิศทางของแดด ü ลม ü ฝน
รวมถึงการเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่ อช่วยในการประหยัดพลังงาน
2.3 ผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการเกิดภาวะโลกร้อน Climate Changes and Global Warming
ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ท่ส ี ําคัญ อีกชนิดหนึ่งคือสารซีเอฟซี (Chlorofluorocarbons หรือCFCs) ซึ่งใช้เป็นสารทําความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม
ผลกระทบ • ธารนํ้าแข็งละลาย ระดับทะเลเพิ่ มสูงขึ้น • เกิดสภาพอากาศรุนแรง • ภัยธรรมชาติ • การขาดแคลนทรัพยากร
การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในภาคอุตสาหกรรมการก่อสร้าง • รอยเท้าคาร์บอน (Carbon Footprint) ü การคํานวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมา สู่สง ิ่ แวดล้อมจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ü กิจกรรมใดๆเพื่ อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์นั้นๆ ตั้งแต่ § การได้มาซึ่งวัตถุดิบ
§ การผลิต § การขนส่ง § การประกอบชิ้นส่วน
§ การใช้งาน
§ การจัดการซากผลิตภัณฑ์นั้น § หลังใช้งาน โดยอยู่ในหน่วยนํา้ หนักของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในภาคอุตสาหกรรมการก่อสร้าง (ต่อ)
- ทางตรง เป็นการวัดปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมา จากกิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยตรง การใช้พลังงานในครัวเรือน - ทางอ้อม เป็นการวัดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากผลผลิต หรือผลิตภัณฑ์ที่เราใช้ โดยคํานวณรวมทั้งกระบวนการผลิต ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA: Life Cycle Assessment) ü กระบวนการได้มาซึ่งวัตถุดิบ ü การเพาะปลูก ü การแปรรูป ü การขนส่ง ü การใช้งาน ü กระบวนการจัดการซากผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ หลังการใช้งาน
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
• รอยเท้าคาร์บอน (Carbon Footprint)
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
29
การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน ภาคอุตสาหกรรมการก่อสร้าง • การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment: LCA) ü เป็นการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในเชิงปริมาณ ที่เกี่ยวเนื่องกับผลิตภัณฑ์ ทั้งวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Impact) § การได้มาซึ่งวัตถุดิบ § การผลิต § การขนส่ง § การใช้งานผลิตภัณฑ์ § การจัดการกับซาก § ผลิตภัณฑ์ พิ จารณาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ เกิดจนตาย (Cradle to Grave) โดยจะพิ จารณาผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมที่ครอบคลุมระบบนิเวศ สุขอนามัยของ ชุมชน รวมถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลก
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ความยั่งยืน กับอุตสาหกรรมก่อสร้าง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
32
สถาปัตยกรรมพื้ นถิ่น (Vernacular Architecture) • เป็นอาคารที่มีการออกแบบตอบรับกับสภาพแวดล้อม ภูมิอากาศในพื้ นถิน ่
• การก่อสร้างเป็นแรงงานคนที่เกิดจากการช่วยเหลือกัน ในชุมชน จากบุคคลทุกเพศทุกวัย • มีการใช้วัสดุก่อสร้างที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิน ่
Africa Vernacular Architecture
บ้านเรือนไทย
การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตหลังการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมได้เกิดเป็นผลกระทบ โดยตรงต่อทั้งลักษณะงานออกแบบและ วิธีการทํางานออกแบบ ปรากฏเป็นงาน ออกแบบ สมัยใหม่ (Modern Design) • เป็นอาคารที่ต้องการใช้พลังงานสูง • เกิดการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง • ไม่มีประสิทธิภาพ • ก่อให้เกิดมลพิ ษเป็นอย่างมาก หลังจากเกิดวิกฤตการณ์พลังงานครัง ้ แรกในปี 1973 ก่อให้เกิดกระแสของ “ยุคการออกแบบอย่างยั่งยืน (Sustainable Design Age)” ซึ่งมีการนําแนวความคิดเรื่องการออกแบบ ที่เป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม มาสร้างผลงาน การออกแบบ
สถาปัตยกรรมสีเขียว
(Green Building or Green Architecture) • เป็นการออกแบบอาคารเพื่ อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • มีความรับผิดชอบต่อสังคมตลอดวัฏจักรชีวิต (Life cycle) ของตัวอาคาร ü ระหว่างการผลิตวัสดุอาคาร ü ระหว่างกระบวนการก่อสร้าง ü ระหว่างช่วงอายุการใช้งานของอาคาร • ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่ อช่วยให้อาคารสามารถ ใช้ประโยชน์จากสภาวะแวดล้อม ตามธรรมชาติ • สร้างสมดุลระหว่างการประหยัด พลังงานและการอยู่อาศัย โดยทฤษฎีสามเสาหลัก (Triple Bottom Line)
อาคารเขียวหรือสถาปัตยกรรมสีเขียว จะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 6 ส่วน ดังนี้
1) คํานึงถึงการออกแบบให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ 2) มีประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน โดยการส่งเสริมให้ใช้ พลังงานธรรมชาติ ซึ่งเป็นพลังงานที่สามารถนํามาใช้ ทดแทนได้ (Renewable Energy) 3) ใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพไม่สร้างมลภาวะทางนํ้า 4) มีประสิทธิภาพของการใช้วัสดุ มีการนําวัสดุกลับมาใช้ใหม่ ช่วยลดการเกิดขยะ 5) คํานึงถึงความอยู่สบายของผู้ใช้อาคาร หลักการ ความอยู่สบายของมนุษย์ต้องคํานึงถึงอุณหภาพ แสงสว่าง เสียง และคุณภาพอากาศภายในอาคาร 6) ปกป้องสุขภาพและส่งเสริมความสามารถในการทํางาน ของผู้คนในอาคาร โดยไม่ใช้วัสดุในการก่อสร้างอาคาร ที่เป็นสารเคมีที่อันตรายต่อสุขภาพของผู้คนในอาคาร
กฎระเบียบ เกณฑ์และมาตรฐานการก่อสร้างสากล ที่เกี่ยวข้องกับอาคารเขียว
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
ขั้นตอนในการพั ฒนาอาคารเขียว แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินและวางแผนในการออกแบบ ขั้นตอนที่ 2 ช่วงระหว่างดําเนินการก่อสร้าง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
38
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
เกณฑ์การประเมินอาคาร LEED
(Leadership in Energy & Environmental Design)
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
39
เกณฑ์การประเมินอาคาร LEED
(Leadership in Energy & Environmental Design)
เกณฑ์การประเมินอาคาร LEED
(Leadership in Energy & Environmental Design)
เกณฑ์การประเมินอาคาร TREES
(Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability Rating system)
เกณฑ์การประเมินอาคาร TREES
(Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability Rating system)
แบ่งระดับรางวัลออกเป็น 4 ระดับ ตามช่วงคะแนน ได้แก่ PLATINUM 61 คะแนน ขึ้นไป GOLD 46-60 คะแนน SILVER 38-45 คะแนน CERTIFIED 30-37 คะแนน ทุกระดับต้องผ่านคะแนน ข้อบังคับ 9 ข้อ
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
เกณฑ์มาตรฐานการออกแบบอาคาร เพื่ อการอนุรักษ์พลังงาน (Building Energy Code, BEC)
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
44
เกณฑ์มาตรฐานการออกแบบอาคาร เพื่ อการอนุรักษ์พลังงาน (Building Energy Code, BEC) ครอบคลุมอาคาร 9 ประเภทดังนี้ 1) สถานพยาบาล 2) สถานศึกษา 3) สํานักงาน 4) อาคารชุด 5) อาคารชุมนุม 6) อาคารโรงมหรสพ 7) อาคารโรงแรม 8) อาคารสถานบริหาร 9) อาคารห้างสรรพสินค้า
มีเกณฑ์การประเมิน 5 ระบบดังนี้ • ระบบกรอบอาคาร • ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง • ระบบปรับอากาศ • อุปกรณ์ผลิตนํ้าร้อน • ระบบพลังงานทดแทน
โดยเริ่มจากอาคารที่มีขนาดพื้ นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป
โปรแกรมประเมินประสิทธิภาพพลังงานของอาคาร (Building Energy Code Software: BEC Software)
ซึ่งเป็นโปรแกรมที่อํานวยความสะดวกแก่สถาปนิก/วิศวกร ในการตรวจและประเมินการออกแบบอาคาร
ประโยชน์ของการพั ฒนาอย่างยัง ่ ยืน กับการบริหารโครงการก่อสร้าง
Module
01
ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น กั บ งานก่ อ สร้ า ง
อาจารย์ อมรรั ต น์ เดชอุ ด มทรั พ ย์
Module 02 ่ วกับการพั ฒนาอย่างยั่งยืน ความรู้เกีย กับงานก่อสร้าง อาจารย์ อมรรัตน์ เดชอุดมทรัพย์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
48