Module 02 กระบวนการจัดการงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน

Page 1

Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

Module 02 กระบวนการจัดการ

งานก่อสร้างอย่างยั่งยืน อาจารย์ ดร.ภิรมย์ แจ่มใส สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

สภาที่ปรึกษาการวิจัยงานก่อสร้างอาคารสากล [Conseil International du Batiment] ได้เคยให้นิยาม ของ Sustainable Construction ไว้ในปี คศ.1994 ว่า งานค้นหาและบริหารสิ่งแวดล้อมสรรสร้าง ที่ก้าวหน้าสมบูรณ์ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ออกแบบที่เป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม เป็นการตอบโจทย์ ความรับผิดชอบต่อสังคม การบริหารต้นทุน ปัญหามลภาวะ สิ่งแวดล้อมเป็นพิ ษ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่กําลังจะหมดไป ประสานงานออกแบบและก่อสร้าง ที่ทําอยู่ในปัจจุบัน รองรับวิวัฒนาการ ที่กําลังพั ฒนา ความเป็นเลิศในการใช้งานอาคาร 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

วัตถุประสงค์หลัก งานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ต่อสาธารณชน

ให้เกิดความรับผิดชอบ สิ่งแวดล้อมให้มากที่สุด

2) ให้ความสําคัญกับการใช้ทรัพยากรทุกประเภท ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคงทนถาวร เพื่ อความเป็นอยู่ที่ดี

สร้างความยั่งยืน

5) จัดการด้านความปลอดภัย 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

หลักของการจัดการ

อย่างยัง ่ ยืน

1. ลดการใช้ทรัพยากรตามธรรมชาติ Reduce 2. ใช้ทรัพยากรที่ใช้แล้ว Reuse 3. ใช้ทรัพยากรที่นํากลับมาใช้ใหม่ได้ Recycle 4. ปกป้องธรรมชาติ 5. ขจัดสารพิ ษทั้งปวง 6. คํานึงถึงต้นทุนของอายุการใช้งาน 7. มุ่งเน้นที่คุณภาพ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

พื้ นฐานของงานก่อสร้าง Green Building 1) 2) 3) 4)

คํานึงถึงต้นทุนในการพั ฒนาอาคารที่ยง ั่ ยืน จิตสํานึกของความรับผิดชอบต่อสิง ่ แวดล้อม ความเข้าใจในวัฎจักรของทรัพยากรธรรมชาติ ความเข้าใจในคุณค่าของการพั ฒนา โครงการก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


BUILDING LIFE CYCLE


ขั้นตอนที่ช่วยให้วงจรชีวิต 1) เจ้าของอาคารเข้าใจผลกระทบของการลงทุนในส่วนงานต่าง ๆ 2) ผู้ออกแบบเข้าใจในความจําเป็น ความต้องการที่จะสร้างอาคารที่ยั่งยืน 3) ผู้ใช้งานอาคารเข้าใจแนวคิดของการออกแบบ การใช้วัสดุก่อสร้าง การประหยัดพลังงาน 4) ผู้ใช้อาคารและเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าใจ ร่วมกําหนดส่วนประกอบต่าง ๆ ของอาคาร 5) ผู้ผลิตวัสดุและอุปกรณ์เพื่ อการก่อสร้างเข้าใจ สร้างนวัตกรรมในการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ 6) สร้างจิตสํานึกให้ผู้รับจ้างคํานึงถึงสภาพแวดล้อม


กระบวนการเพื่ อให้ได้วงจรชีวิตอาคารที่ยั่งยืน • ช่วงเวลาการศึกษา การออกแบบและวางแผนโครงการ - การศึกษาความเป็นไปได้ - การออกแบบงานที่เกี่ยวข้อง - การศึกษาวัสดุและอุปกรณ์ และวางแผนงาน • ช่วงเวลาของการก่อสร้างและตรวจสอบการใช้งาน - การจัดหาวัสดุก่อสร้าง - การจัดหาอุปกรณ์และเครื่องจักรสําหรับอาคาร - การวางแผนก่อสร้าง (วิธีการ เครื่องมือ เครื่องจักร) - การขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ • ช่วงเวลาการใช้งานอาคาร - การบริหารอาคาร การใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์ - การดูแลบํารุงรักษา - การบริหารค่าใช้จ่าย • การรื้อถอนอาคาร - การวางแผน การเตรียมการ - การขนส่งวัสดุ - การเตรียมพื้ นที่เพื่ อใช้งานโครงการต่อไป


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

ข้อคิดในการออกแบบ การจัดการงานก่อสร้างเพื่ อคุณภาพชีวิต 1) การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผู้ใช้อาคาร เกิดขึ้นอยู่ไม่มีที่สุด 2) ความต้องการของผู้ใช้งานและผู้ดูแลบํารุงรักษาอาคาร มักจะห่างไกลกับศักยภาพที่ตัวอาคาร และอุปกรณ์จะอํานวยให้อยู่เสมอ 3) ผู้ออกแบบโดยส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับข้อมูล หลังการก่อสร้างแล้วเสร็จที่จะสามารถใช้ไป ปรับปรุงงานให้ดีขึ้นต่อไป 4) พั ฒนาการทางเทคโนโลยี

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

9


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

คุณค่าที่ได้รับจากผลงานก่อสร้างที่ยง ั่ ยืน 1) 2) 3)

เจ้าของโครงการ ผู้ปฏิบัติวิชาชีพ ผู้ใช้อาคารและสาธารณชน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


Module 02

ประโยชน์ • • • • •

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

เจ้าของอาคาร

ส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร การเพิ่ มมูลค่าโครงการ การเพิ่ มประสิทธิภาพการทํางาน การลดค่าใช้จ่ายของอาคาร การสนับสนุนจากรัฐบาล

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

11


Module 02

ประโยชน์ • • • •

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

ผู้ปฏิบัติวิชาชีพ

โอกาสใหม่ในวิชาชีพ การมีวิชาชีพเฉพาะทาง สร้างจิตสํานึกของความรับผิดชอบต่อสังคม ความก้าวหน้าทางวิทยาการ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Module 02

ประโยชน์ • • • •

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

ผู้ใช้อาคาร

สภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น คุณภาพชีวิตในสํานักงาน จิตสํานึกของการใช้อาคารอย่างยั่งยืน สุขภาพและอนามัย

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


มาตรการการปฏิบัติงานออกแบบ ก่อสร้างเพื่ อผลงานที่ยั่งยืน


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

กระบวนการในการจัดการงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน สุขอนามัยของผู้ใช้อาคาร เรื่องคุณภาพของนํ้า เรื่องคุณภาพอากาศ • การรักษาความสะอาด เรื่องวัสดุและอุปกรณ์อาคาร เพื่ อความสะดวกสบายในการใช้อาคาร ความปลอดภัย เพื่ อการลดมลภาวะและของเสียที่เกิดขึ้น

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

15


การประเมินประสิทธิภาพอาคาร • เจ้าของอาคารเข้าใจผลกระทบของการลงทุนในส่วนงานต่าง ๆ • ผู้ใช้งานอาคารเข้าใจแนวคิดของการออกแบบ การใช้วัสดุก่อสร้างและการประหยัดพลังงานตลอดอายุอาคาร • ช่วยให้ผู้ใช้อาคารและเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าใจ และร่วมกําหนดส่วนประกอบต่าง ๆ ของอาคาร ที่เกี่ยวข้องในระหว่างช่วงงานออกแบบและงานก่อสร้าง • ช่วยให้ผู้ผลิตวัสดุและอุปกรณ์เพื่ อการก่อสร้างเข้าใจ และสร้างนวัตกรรมในการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ • สร้างจิตสํานึกให้ผู้รับจ้างคํานึงถึงสภาพแวดล้อม



Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

Institutions • LEED

• BREEAM

• TGBC

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

18


หัวข้อในการให้คะแนนประเมินของ LEED 1. ความยั่งยืนของสถานที่ตั้ง

26 คะแนน

2. ประสิทธิภาพในการใช้น้าํ

10 คะแนน

3. พลังงานและบรรยากาศ

35 คะแนน

4. วัสดุและทรัพยากร

14 คะแนน

5. คุณภาพของสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร

15 คะแนน

• ระดับของคุณภาพอาคารตามมาตรฐาน LEED • มากกว่า 80 ขึ้นไปแพลตินั่ม 60-79 ทอง 50-59 เงิน มากกว่า 40 ได้รับใบรับรอง


ร่างหลักเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว (วสท.และสมาคมสถาปนิกสยามฯ) หมวดที่ 1 การบริหารจัดการอาคาร • เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย • คู่มอ ื และการฝึกอบรมการใช้งาน • การติดตามและประเมินผล หมวดที่ 2 ผังบริเวณและภูมิทัศน์ • ผลกระทบต่อแหล่งนํ้าและสัตว์ป่า • การจราจร พื้ นที่สีเขียว • การลดปัญหานํา้ ท่วม ปัญหาโลกร้อน หมวดที่ 3 การอนุรักษ์นํ้า • ประสิทธิภาพในการใช้นํ้า • การประหยัดนํ้า (สุขภัณฑ์ & accessories นํ้า recycle นํ้าฝน)


หมวดที่ 4 การใช้พลังงานและบรรยากาศ • ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานและพลังงานทดแทน • การรักษาคุณภาพอากาศ (สารทําความเย็น การกําจัดกลิน ่ ควันและฝุ่นละออง) • การตรวจสอบและการปรับแต่งระบบ หมวดที่ 5 วัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง • วัสดุใช้แล้ว วัสดุ recycle • วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม วัสดุในประเทศ วัสดุไม่เป็นพิ ษ • โครงสร้างสําเร็จรูป หมวดที่ 6 คุณภาพของสภาวะแวดล้อมภายในอาคาร • ความสบาย(อากาศ ความชื้น) การส่องสว่าง • การควบคุมแหล่งมลพิ ษ (ขยะ พื้ นที่สูบบุหรี่ สารเคมี อากาศเสีย)


หมวดที่ 7 การป้องกันผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อม • มลพิ ษและสิ่งรบกวนจากการก่อสร้าง • การบริหารขยะจากการก่อสร้าง • ระบบบําบัดนํ้าเสีย หมวดที่ 8 นวัตกรรม • เทคนิคที่ไม่ได้ระบุไว้ในแบบประเมิน • การบริหารพลังงาน • การบริหารขยะ


กฎหมายเกี่ยวกับเรื่องสิง ่ แวดล้อม

มลภาวะ

ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ อรักษาสภาพธรรมชาติ มิให้กระทบกระเทือนต่อระบบนิเวศ คุณค่าของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม 2) ห้ามการกระทําหรือกิจกรรมใด ๆ ที่อาจเป็นอันตราย ก่อให้เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ เกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม 3) กําหนดประเภทและขนาดของโครงการ กิจกรรมที่จะดําเนินการในพื้ นที่นั้น เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) กําหนดวิธีจัดการโดยเฉพาะสําหรับพื้ นที่นั้น กําหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง 5) กําหนดมาตราการคุ้มครองอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

กฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้พลังงาน เพื่ ออาคารที่ยั่งยืน •

พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่ มเติม พ.ศ.2540)

พระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538

พระราชกฤษฎีกากําหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540

กฎกระทรวงพลังงานเรื่องมาตรฐาน หลักเกณฑ์ วิธีการจัดการพลังงานสําหรับอาคารควบคุม พ.ศ. 2552

ประกาศกระทรวงพลังงานเรื่องหลักเกณฑ์ และการจัดการพลังงานสําหรับอาคารควบคุม พ.ศ. 2552

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

24


Module 02

กระบวนการจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ภิ ร มย์ แจ่ ม ใส

Module 02 กระบวนการจัดการ

งานก่อสร้างอย่างยั่งยืน อาจารย์ ดร.ภิรมย์ แจ่มใส สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

25


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.