Module 03 เกณฑ์การประเมินอาคารเพื่อความยั่งยืน

Page 1

Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 03

เกณฑ์การประเมินอาคาร เพื่ อความยั่งยืน อาจารย์ ดร. ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง.... • ภาพรวมของเกณฑ์การประเมินอาคาร เพื่ อความยั่งยืน • เกณฑ์การประเมินสําหรับการออกแบบอาคาร เพื่ อความเป็นผู้นําทางด้านพลังงาน และสิง ่ แวดล้อม • เกณฑ์การประเมินความยั่งยืน ทางพลังงงานและสิ่งแวดล้อมไทย

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ภาพรวมของเกณฑ์การประเมินอาคารเพื่ อความยัง ่ ยืน ü พั ฒนาการของเกณฑ์การประเมินอาคารเพื่ อความยั่งยืน ü เกณฑ์การประเมินอาคารเพื่ อความยั่งยืนที่สําคัญ ü ต้นแบบสําคัญ เกณฑ์การประเมินสําหรับการออกแบบอาคาร เพื่ อความเป็นผู้นําทางด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ของประเทศสหรัฐอเมริกา ü อาคารโครงการในประเทศไทยที่ได้รับการรับรอง โดยใช้เกณฑ์การประเมิน LEED ü ต้นแบบของเกณฑ์การประเมินความยัง ่ ยืน ทางพลังงงานและสิง ่ แวดล้อมไทยในภายหลัง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน ทางด้านพลังงานและสิง ่ แวดล้อม แบ่งเป็น 5 หมวดหลัก ü สถานที่ต้ง ั และผังบริเวณ ของโครงการที่ยั่งยืน ü ประสิทธิภาพของการใช้น้าํ ü พลังงานและบรรยากาศ ü วัสดุและทรัพยากร ü คุณภาพของสิ่งแวดล้อม ภายในอาคาร

2 หมวด เพิ่ มเติม...

ü นวัตกรรมในส่วนของการออกแบบ ü การให้สิทธิ์พิเศษว่าด้วยภูมิภาค 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน สิ่งแวดล้อมไทย

ทางพลังงาน

การบริหารจัดการอาคาร ผังบริเวณและภูมิทัศน์ การประหยัดนํ้า พลังงานและบรรยากาศ วัสดุและทรัพยากร ในการก่อสร้าง ü คุณภาพของสภาวะแวดล้อมภายในอาคาร ü การป้องกันผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อม รวมทั้งนวัตกรรม

ü ü ü ü ü

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


สมรรถนะเป้าหมาย

เพื่ อความยั่งยืน

เศรษฐศาสตร์

สิ่งแวดล้อม

สังคม


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมินอาคาร

ความยั่งยืน

ü ประเทศอังกฤษมีการพั ฒนาแบบประเมินอาคารเขียว เรียกว่า “BREEAM” (Building Research

Establishment’s Environmental Assessment Method)

ü ประเทศสหรัฐอเมริกา “LEED” เกณฑ์การประเมิน สําหรับการออกแบบอาคารเพื่ อความเป็นผู้นํา ทางด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ü ประเทศสิงคโปร์ “Green Mark Assessment System” ü ประเทศญี่ปุ่น “CASBEE” (Comprehensive Assessment System for Building Environmental Efficiency)

ü ประเทศไทยใช้ “TEEAM”, PCD, TREES-NC

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

7


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ระบบเกณฑ์การประเมินอาคาร (Building Assessment Systems) เพื่ อความยั่งยืน บนพื้ นฐานของการประเมินในลักษณะแบบองค์รวม ü สมรรถนะทางด้านสิ่งแวดล้อม

ü สมรรถนะทางด้านเศรษฐศาสตร์ ü สมรรถนะทางด้านสังคม

“อาคารเขียวสมรรถนะสูง” (High-performance green buildings) หรือ “อาคารเขียว” เป็นผลลัพธ์จากการสมัครเข้ารับการประเมินการก่อสร้าง ที่ยั่งยืน ได้สร้างความตระหนัก และรับผิดชอบ สําหรับสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างขึ้นโดยมนุษย์ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


ความเป็นอาคารสีเขียว Energy Indoor Air Quality

Site

Materials GREEN BUILDING

Water


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ความเป็นอาคารสีเขียว อาคารเขียวสมรรถนะสูง • ผลการดําเนินการเป็นไปตามเงื่อนไข ข้อกําหนดหรือไม่ • อาคารเขียวภายใต้กระบวนทัศน์ ด้านความยั่งยืน ประกอบด้วยอะไร และเชื่อมโยงสัมพั นธ์กันอย่างไร

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ความเป็นอาคารสีเขียว อาคารตามเกณฑ์การประเมินอาคาร เพื่ อความยั่งยืน • เตรียมการในภาพรวมและรายละเอียด ปลีกย่อยตามเงื่อนไขของการประเมิน อย่างไร • การให้คะแนนของแต่ละระดับการรับรอง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

11


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน LEED (Leadership in Energy & Environmental Design) ü ระบบเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว ของประเทศสหรัฐอเมริกา

ü เพื่ อความเป็นผู้นําทางด้านพลังงาน และสิ่งแวดล้อม

ü ถูกนํามาใช้อย่างเต็มรูปแบบ ในปี ค.ศ.2000 (พ.ศ. 2543)

ü ส่งอิทธิพลอย่างกว้างขวาง รวดเร็ว ในรูปแบบของการกําหนดเกณฑ์การประเมิน ü ผ่านการพิ จารณา และการประเมินรับรอง จากคณะบุคคลที่สาม (Third –party green building certification) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน ü Green Star ถูกใช้ในประเทศออสเตรเลีย ปี ค.ศ. 2006 ü CASBEE (Comprehensive Assessment System for Built Environment Efficiency) ถูกพั ฒนาโดย Japan Sustainable Building Consortium (JSBC) ประเทศญี่ปุ่น เมือปี ค.ศ. 2004 ü DGNB (Deutsche Gesell schaft für Nachhaltiges Bauen ) ถูกพั ฒนาโดย the German Green Building Council ประเทศสหพั นธ์สาธารณรัฐเยอรมันนี

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน BREEM, LEED, CASBEE, Green Star และ DGNB ü เป็นเกณฑ์การประเมินชั้นนําของโลกในปัจจุบัน ü เป็นมาตรวัดความเป็นอาคารเขียวหรือสมรรถนะ ของอาคาร ครอบคลุมทั้งในเชิงแนวคิด ü มีสมรรถนะสูงและระบบการให้คะแนน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

15



Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน • TEEAM (Thailand Energy and Environmental Assessment Method) กําหนดโดย กรมพั ฒนาพลังงาน ทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) • PCD (Pollution Control Department) กําหนดโดย กรม ควบคุมมลพิ ษ เกณฑ์อาคารเขียวของไทยเกณฑ์แรก • TREES-NC เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและ สิ่งแวดล้อมไทยที่นิยมใช้ในปัจจุบันถูกพั ฒนาต่อมาจาก TEEAM และ PCD สําหรับการก่อสร้างและปรับปรุงโครงการ ใหม่ จัดทําโดยสถาบันอาคารเขียวไทย

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

17



Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมินอาคารสีเขียว เกณฑ์ TREES

ü เหมาะสมกับอาคารที่มีการก่อสร้างใหม่

ü มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงครั้งใหญ่ ü มีการปรับเปลี่ยนระบบเปลือกอาคารหรืองานระบบทั้งหมด ü คงไว้แต่ระบบงานโครงสร้าง ü มีการต่อเติมอาคารหรือการปรับปรุงอาคารบางส่วน ü สามารถเข้าร่วมประเมินได้ แต่จะไม่สามารถทําคะแนนได้ ในบางหัวข้อ ü เป็นการประเมินด้วยการทําคะแนนในแต่ละหัวข้อคะแนน ü เป็นไปในแนวทางเดียวกับซึ่งเป็นเกณฑ์การประเมิน และ ออกแบบอาคารเพื่ อความเป็นผู้นําทางด้านพลังงานและ สิ่งแวดล้อม LEED (Leadership in Energy & Environmental Design) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

19


Tools around the world


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ประเทศไทย มีจํานวน 23 โครงการ ที่ผ่านการรับรองเป็นอาคาร LEED ทั้ง 2 ประเภทอย่างเป็นทางการ (LEED-NC และ LEED-CS) ถือเป็นโปรแกรมการรับรองอาคารเขียวที่ได้รับการพั ฒนาโดย USGBC ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในประเทศไทย (U.S. Green Building Council : USGBC) หรือ สภาอาคารสี เขียวแห่งสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยงานหลักที่ให้การรับรองอาคาร ตามระบบในหลักเกณฑ์การประเมินของอาคาร

มาตรฐาน LEED ü เป็นหลักเกณฑ์ต้นแบบตามมาตรฐานสากลที่ได้รับ การยอมรับอย่างกว้างขวาง ü มีหลักเกณฑ์การแบ่งหมวดหมู่ที่ชัดเจน ü มีการอธิบายเงื่อนไข วิธีการดําเนินงาน ü มีการให้ค่าคะแนนต่างๆ ที่สามารถนําไปปฏิบัติและ ตรวจสอบทานได้ (ข้อมูลอ้างอิงจาก USGBC : http://www.usgbc.org/search/thailand?filters=type:project 2015, 15 November)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เวอร์ชั่นที่ได้รับความนิยมของ LEED • เวอร์ชั่น 3 LEED 2009 v.3 ได้รับการพั ฒนาปรับปรุงใหม่แล้วในปัจจุบัน

• เวอร์ชั่น 4 1) LEED 2013 v.4 ถูกนํามาใช้เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2013 2) LEED 2013 v.4 ถูกนํามาใช้เมื่อ 14 เมษายน 2017 ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นปัจจุบัน เนื้อหาเกี่ยวกับ LEED-NC ที่จะกล่าวถึงในหน่วยนี้ โดยหลักจะเป็น LEED-NC (2009 v3) เป็นหลักสําคัญ เทียบเคียงกับมาตรฐาน TREES-NC ของประเทศไทย 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

22



Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

LEED (Self-Evaluating Process) ü หน่วยงานภายนอกตรวจพิ สูจน์ยืนยัน ü หน่วยงาน GBCI จะไม่มีการออกไปตรวจ ในหน่วยงานก่อสร้าง แต่จะใช้การตรวจพิ สูจน์ เพื่ อยืนยันเอกสารผ่านระบบออนไลน์เท่านั้น ü โครงการจะมีผู้ประสานงาน LEED (LEED Coordinator) หรือผู้ดําเนินการโครงการ (Project Administrator) ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แทน หน่วยงาน ü โครงการเกี่ยวกับการลงทะเบียน เป็นผู้แทนที่รับผิดชอบโครงการที่ตัดสินใจ ประสงค์เข้ารับการตรวจประเมิน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

24


เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 03 9 Rating Systems N C

C

NC

S

CS Energy

School TM Neighborhood Development TM

Indoor Air Quality

RetailTM HealthcareTM

Materials GREEN BUILDING

Water

Site

HomesTM C O

E

I B

CI

M

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

EBOM

25


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

LEED Rating Systems ü พิ จารณาภายใต้เงื่อนไขร้อยละของการถือครอง พื้ นที่ภายในอาคาร (Building’s Leasable Square Footage) ü เกณฑ์การประเมิน LEED-NC จะสามารถ ดําเนินการได้เมื่อเจ้าของ ผู้ครอบครองอาคาร ผู้เช่า มีพื้นที่ครอบครองภายในอาคาร มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ü หากน้อยกว่าร้อยละ 50 ลงไป จะต้องประเมิน ภายใต้เกณฑ์การประเมิน LEED-CS (Core and Shell)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

26


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

LEED–CS เป็นเกณฑ์การประเมินที่มีความเหมาะสมกับโครงการที่ได้รับ การออกแบบก่อสร้างเพื่ อให้เช่าพื้ นที่ประกอบการในอนาคต จะต้องจัดเตรียมไว้ เช่น ระบบเครื่องกลประกอบอาคาร ระบบไฟฟ้า ระบบประปา (Mechanical Electrical Plumbing : MEP) และระบบป้องกันอัคคีภัยโดย LEED-CS จะมีความเหมาะสมกับอาคารสํานักงานให้เช่า ศูนย์รวมร้านค้าปลีก โกดังคลังสินค้าให้เช่า เป็นต้น ภาพรวมที่เป็นไปในแนวทางเดียวกับเกณฑ์การประเมิน LEED-NC

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

27


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมินที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม (Environmental Categories) แบ่งเป็น 5 หมวดหลัก

1) สถานที่ตั้งและผังบริเวณของโครงการที่ยั่งยืน (Sustainable Sites : SS) 2) ประสิทธิภาพของการใช้นํ้า (Water Efficiency : WE)

3) พลังงานและบรรยากาศ (Energy and Atmosphere: EA) 4) วัสดุและทรัพยากร (Materials and Resources: MR) 5) คุณภาพของสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร (Indoor Environmental Quality: IEQ)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

28


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน LEED-NC ปรากฏอีกสองหมวดเพิ่ มเติม เป็นคะแนนประเมินพิ เศษ (Bonus Point Opportunities) 1) นวัตกรรมในส่วนของการออกแบบ (Innovation and Design Process: ID) 2) และการให้สิทธิ์พิเศษว่าด้วยภูมิภาค (Regional Priority: RP)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

29


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

หลักเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว CASBEE แบ่งเป็น 2 ภาค คือ

1) ภาคคุณภาพ (Q – Quality) 2) ภาคภาระต่อสิ่งแวดล้อม (L – Environmental Loading) โดยนํามาคํานวณค่าดัชนีมาตรฐานอาคาร โดยนําค่า Q หารด้วยค่า L

ดังนั้นอาคารที่มีคุณภาพสูงสอดคล้องกับมาตรฐาน คุณภาพอาคารที่กําหนด ü ü ü ü ü ü ü

มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการอนุรักษ์พลังงาน มีความปลอดภัย มีความคงทน มีคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ดี มีประสิทธิภาพในการใช้งาน คํานวณได้ค่า Q หรือคุณภาพอาคารที่สูง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

30


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

หากค่า Q สูง และค่า L ตํ่า ก็จะได้ค่าดัชนีที่สูง

ü เมื่อนําไปกําหนดลงใน BEE chart มาตรฐานตามภาพ ü จะสามารถระบุระดับมาตรฐานอาคารได้ว่าเป็น A, B+, B-, C หรือ S แสดงตามตัวชี้วัด (Indicator) ü S หมายถึง “Sustainable building” เป็นระดับ มาตรฐานสูงสุด

http://www.ibec.or.jp/CASBEE/english/graphicE.htm

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

31



Score =

Quality Load

Q –2 คุณภาพการบริการ (Quality of Service) Q2 : Quality of Service

Q – 3 สภาพแวดล้อมโดยรอบอาคาร (Outdoor Environment on Site)

s

Q1 : Indoor Environment

4 site

Q –1 สภาพแวดล้อม ภายในอาคาร (Indoor Environment)

Q3 : Outdoor Environment on site

LR3 : Off-Site Environment LR1 : Energy L–1 การใช้พลังงาน (Energy)

LR3 : Off-Site Environment L–2 การใช้ทรัพยากรและวัสดุ (Resources and Materials)

แผนภูมิเรดาร์ (Radar chart) และส่วนค่าดัชนีจากส่วนการประเมิน ที่มาปรับจาก : https://pichapuch.files.wordpress.com/2013/02/untitled06.jpg

L –3 สภาพแวดล้อม ภายนอกโครงการ (Off-Site Environment)


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Q –1 สภาพแวดล้อมภายในอาคาร (Indoor Environment) ส่วนพิ จารณาถึงคุณภาพภายในอาคาร ได้แก่ ü การควบคุมเสียงดัง (Noise and Acoustic) เป็นการพิ จารณาควบคุมระดับเสียงภายในอาคาร ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน เป็นการสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดี ü สภาวะอากาศน่าสบาย (Thermal comfort) เป็นการพิ จารณาควบคุมระดับอุณหภูมิและความชื้นภายในอาคาร ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม กับสภาพการใช้งานการสร้างสภาวะอากาศที่น่าสบาย ü การให้แสงสว่าง (Lighting and Illumination) เป็นการพิ จารณาการควบคุมระดับแสงสว่างภายในอาคาร ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน การสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดี ü คุณภาพอากาศ (Air quality) เป็นการพิ จารณาการควบคุมระดับคุณภาพอากาศภายในอาคาร ให้อยู่ในระดับมาตรฐานที่ดี ส่งเสริมการมีสุขอนามัยที่ดี สําหรับผู้ใช้อาคาร 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

34


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Q – 2 คุณภาพการบริการ (Quality of Service) คุณภาพการให้บริการที่ดี สร้างความพึ งพอใจต่อผู้ใช้อาคาร ü ความสามารถในการบริการ (Service ability) ประกอบด้วย การใช้งาน ความสามารถในการใช้ประโยชน์ ของอาคารได้ตามต้องการ ความสวยงาม มีรูปแบบ และการจัดภูมิทัศน์ที่สวยงาม ü ความคงทน (Durability) มีอายุการใช้งานยาวนานเหมาะสม มีความคุ้มค่า และ ไม่เป็นภาระต่อการดูแลรักษาอาคาร ü ความยืดหยุ่นและการปรับการใช้ (Flexibility and Adaptability) • สามารถปรับเปลี่ยนสภาพการใช้งานได้ • การสํารองพื้ นที่ใช้งานสําหรับรองรับการขยายตัว ในอนาคต • การสํารองนํ้าหนักบรรทุกของอาคาร เพื่ อพร้อมรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงฟังก์ชั่นการใช้งาน ในอนาคต 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

35


Q – 3 สภาพแวดล้อมโดยรอบอาคาร (Outdoor Environment on Site) เป็นส่วนหนึ่งของคุณภาพสภาวะแวดล้อมภายในพื้ นที่ ของโครงการ เพื่ อมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ใช้อาคาร ü การดูแลรักษาและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Maintenance and Creation of Ecosystem) • ออกแบบและก่อสร้างอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • ง่ายและสะดวกต่อการดูแลรักษา และการอยู่อาศัย ü ภูมิสถาปัตยกรรม (Townscape and Landscape) • มีการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่สวยงาม • สัมพั นธ์กับสภาพภูมิสถาปัตยกรรมของชุมชนเมือง ü ลักษณะท้องถิน ่ และวัฒนธรรม (Local characteristics and Culture) • เป็นการพิ จารณาการออกแบบ • ก่อสร้างอาคารที่สอดคล้องกับลักษณะ และวัฒนธรรมท้องถิ่น


L –1 การใช้พลังงาน (Energy)

อาคารที่ดีในอนาคตจะต้องเป็นอาคารอนุรักษ์พลังงานเท่านั้น หัวข้อการพิ จารณา ประกอบด้วย ü ภาระการทําความเย็น (Building thermal load) •

มีการออกแบบระบบ HVAC ที่มีประสิทธิภาพ

ระบบปรับอากาศก็อาจจะไม่จําเป็นต้องมีขนาดใหญ่ พิ จารณาการวางทิศที่ตั้งของอาคาร (Building orientation)

การลดภาระความร้อนจากหน้าต่าง

การเลือกใช้กระจกประสิทธิภาพสูง

ใช้งานฉนวนอาคารทั้งที่ส่วนของผนังและหลังคา

ü การเลือกใช้พลังงานจากธรรมชาติ (Natural energy utilization) •

การนําแสงธรรมชาติมาใช้ การระบายอากาศตามวิธีธรรมชาติ

การเลือกใช้พลังงานแสงอาทิตย์ หรือพลังงานลม เป็นต้น

ü ประสิทธิภาพของระบบวิศวกรรม (Efficiency in building systems) •

พิ จารณาประสิทธิภาพของอุปกรณ์และระบบวิศวกรรม ได้แก่ ระบบปรับอากาศ ระบบระบายอากาศ ระบบแสงสว่าง ระบบทํานํ้าร้อน เป็นต้น

ü ประสิทธิภาพการใช้ (Efficient operation) •

ตรวจสอบปริมาณการใช้พลังงานและการบริหารจัดการ


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

L–2 การใช้ทรัพยากรและวัสดุ(Resources and Materials) โดยเฉพาะวัสดุก่อสร้างต้องอาศัยพลังงานและมีต้นทุนทางด้าน สิ่งแวดล้อม เพื่ อให้ได้มาต่อกระบวนการผลิตและแปรรูป ดังนั้น การนําทรัพยากรและวัสดุไปใช้ จะต้องคุ้มค่า และมีมาตรการจัดการ กับเศษวัสดุท่เี หลือใช้ • การประหยัดนํ้า (Water conservation) ü การนํานํ้าฝน และนํ้าทิ้งกลับมาใช้ให้เป็นประโยชน์ • การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Eco-materials) ü การเลือกใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมคุ้มค่า ü การลดภาระของขยะและของเสีย ü นําเศษวัสดุกลับมาใช้ใหม่ การเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

38


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

L–2 การใช้ทรัพยากรและวัสดุ (Resources and Materials) การควบคุมการใช้วัสดุอันตราย ü ประเภทแอสเบสตอส โฟม วัสดุที่มีกลิ่น และไอระเหยที่เป็นพิ ษ • การเลือกใช้โครงสร้างอาคารแห่งเดิม ü เพื่ อลดปริมาณขยะจากการทําลายและรื้อถอนอาคาร ü การควบคุมขยะและเศษวัสดุในการก่อสร้างอาคาร

• การหลีกเลี่ยงการใช้สาร CFCs (Chlorofluoro Carbons)และ Halons ü ที่ทําลายบรรยากาศชั้นโอโซน (ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

39


L –3 สภาพแวดล้อมภายนอกโครงการ (Off-Site Environment) ให้ความสําคัญกับปัจจัย ที่มีผลกระทบกับสภาวะแวดล้อมภายนอกพื้ นที่โครงการ ที่จะมีผลต่อชุมชนเมือง •

การควบคุมคุณภาพอากาศเสีย ที่ปล่อยออกจากอาคารโครงการ

การควบคุมคุณภาพนํ้าเสีย ที่ปล่อยออกจากอาคารโครงการ

การควบคุมคุณภาพของดิน ที่อาจเกิดการแพร่กระจายของสารพิ ษ

การพิ จารณาผลกระทบจากเสียงและกลิ่นรบกวน

การควบคุมเสียง จากเครื่องจักร เครื่องปรับอากาศ และเครื่องกําเนิดไฟฟ้า

การควบคุมกลิน ่ รบกวน จากนํ้าเสีย ขยะหรือจากสารเคมี

การพิ จารณาผลกระทบของโครงการกับการเปลี่ยนแปลงทิศทางลม ที่จะมีผลกระทบต่อบริเวณโดยรอบ

การพิ จารณาผลกระทบของโครงการกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแสงสว่าง ที่จะมีผลกระทบต่อบริเวณโดยรอบ

การพิ จารณาผลกระทบของโครงการกับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ที่เกิดจากการสะสมความร้อนที่จะมีผลกระทบต่อบริเวณโดยรอบ


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์การประเมิน CASBEE ของประเทศญี่ปุ่น

ü มีรูปแบบของการเปรียบเทียบการประเมินที่ค่อนข้าง แตกต่างในรายละเอียดปลีกย่อยและวิธีการประเมิน

ü ปรากฏหัวข้อการพิ จารณาที่เป็นไปตามเกณฑ์ การประเมินอื่นๆเช่นเดียวกัน

สําหรับเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวที่เป็นที่นิยม ในประเทศไทย คือเกณฑ์การประเมิน LEED ü เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ.2000 (พ.ศ. 2543) ü แสดงให้เห็นถึงกระแสความสนใจอาคารเขียว ü การรับรองตามหลักเกณฑ์ของการประเมิน ü เป็นกระแสของโลกและอุตสาหกรรมก่อสร้าง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

41


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

“มีการสํารวจอาคารสํานักงานโดยทั่วไป (Typical office building) ในปี ค.ศ.2000 ประเทศสหัฐอเมริกา ซึ่งจะมีอัตรา การใช้พลังงานมากกว่า 300 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตารางเมตร ต่อปี (KWh/m2/yr)” “ปัจจุบันอาคารสมรรถนะสูง (High-Performance Building) หรืออาคารเขียว จะมีอัตราการใช้พลังงานราว 100 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตารางเมตรต่อปี (KWh/m2/yr)” DGNB (Deutsche Gesellschaft für Nachhaltiges Bauen) เกณฑ์การประเมินที่ใช้ในประเทศเยอรมัน กําหนดอาคารเขียวจะมีอัตราการใช้พลังงานอยู่ในช่วง ประมาณ 50 กิโลวัตต์-ชัว ่ โมงต่อตารางเมตรต่อปี (KWh/m2/yr) เท่านั้น ดังนั้นเครื่องมือวัด หรือมาตรวัดต่างๆ จึงมีความสําคัญ เพื่ อให้บรรลุเป้าหมายต่อการมุ่งพั ฒนาโครงการฯ เป็นอาคารเขียวสมรรถนะสูงที่ยั่งยืน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

42


00 ü การประเมินเรื่องสถานที่ตั้งและ ผังบริเวณของโครงการที่ยั่งยืน ü เกณฑ์การประเมินเรื่องการใช้นํ้า อย่างมีประสิทธิภาพ ü เกณฑ์การประเมินเรื่องคุณภาพของสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร ü เกณฑ์การประเมินเรื่องนวัตกรรมของการออกแบบ ü เกณฑ์การให้สิทธิพิเศษว่าด้วยภูมิภาค ü เกณฑ์การประเมินเรื่องพลังงานและบรรยากาศ ü เกณฑ์การประเมินเรื่องวัสดุและทรัพยากร


Sustainable Sites

Possible Points

Module Prerequisite 1 00 Construction Activity Pollution Prevention

26 Required

Credit 1

Site Selection

1

Credit 2

Development Density and Community Connectivity

5

Credit 3

Browfield Redevelopment

1

Credit 4.1 Credit 4.2 Credit 4.3

Alternative Transportation -Public Transportation Access Alternative Transportation -Bicycle Storage and Changing Rooms Alternative Transportation -Low Emitting and Fuel-Efficient Vehicles

6 1 3

Credit 4.4

Alternative Transportation -Parking Capacity

2

Credit 5.1

Site Development- Protect or Restore Habitat

1

Credit 5.2

Site Development-Maximum Open Space

1

Credit 6.1

Stormwater Design -Quantity Control

1

Credit 6.2

Stormwater Design -Quality Control

1

Credit 7.1

Heat Island Effect- Nonroof

1

Credit 7.2

Heat Island Effect- Roof

1

Light Pollution Reduction

1

Credit 8


ภาพเกณฑ์การประเมินเรื่องการใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ (Water Efficiency : WE) ที่มา USGBC (2009)


ภาพเกณฑ์การประเมินเรื่องการใช้พลังงานและบรรยากาศ (Energy and Atmosphere : EA) ที่มา USGBC (2009)


Module 00


เกณฑ์การประเมินเรื่องนวัตกรรมของการออกแบบ (Innovation in Design) ่ วชาญทีไ่ ด้การแต่งตั้งโดย LEED (LEED Accredited Professional: การมีผู้เชีย LEED AP) และการให้สิทธิพิเศษว่าด้วยภูมิภาค (Regional Priority)


เกณฑ์การประเมินเรื่องนวัตกรรมของการออกแบบ (Innovation in Design) ่ วชาญทีไ่ ด้การแต่งตั้งโดย LEED (LEED Accredited Professional: การมีผู้เชีย LEED AP) และการให้สิทธิพิเศษว่าด้วยภูมิภาค (Regional Priority)


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เกณฑ์ TREES ปรากฏลักษณะหัวข้อ 2 ประเภท คือ

1) กลุ่มหัวข้อบังคับ • ไม่มีการระบุค่าคะแนน • หน่วยงานผู้เข้าร่วมรับการประเมินต้องผ่านการประเมิน ทุกหัวข้อก่อน 2) การวัดด้วยระดับคะแนน • แตกต่างกันไปตามลําดับความสําคัญ • การทําคะแนนได้มากหรือน้อยจะตัดสินระดับการรับรอง ที่จะได้รับจากเกณฑ์การประเมินนั้น “การเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐาน LEED-NC และ TREES-NC พบว่าขั้นตอน ข้อกําหนด มาตรฐานการดําเนินการ และรายละเอียด ของการดําเนินงานที่มี ปรากฏลักษณะร่วมกันอยู่ หลายประการ แต่บางรายละเอียดปลีกย่อยก็ปรากฏ ความแตกต่างกันเช่นเดียวกัน” 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

50


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ทุกระดับการรับรองจะต้องผ่านหัวข้อบังคับจากคะแนน เต็ม 85 คะแนน แบ่งเป็นหมวดหลัก 8 หมวดหลัก การบริหารจัดการอาคาร (Building Management : BM) ผังบริเวณและภูมิทัศน์ (Site and Landscape : SL) การประหยัดนํ้า (Water Conservation : WC) พลังงานและบรรยากาศ (Energy and Atmosphere : EA) วัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง (Materials and Resources : MR) 6) คุณภาพของสภาวะแวดล้อมภายในอาคาร (Indoor Environmental Quality : IE) 7) การป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection : EP) 8) นวัตกรรม (Green Innovation : GI)

1) 2) 3) 4) 5)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

51


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Certified

Platinum

61 คะแนน ขึ้นไป

Gold

46-60 คะแนน

Silver

38-45 คะแนน

Certified

30-37 คะแนน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

52



แบบร่ าง Preliminary Design

การทําแบบก่อสร้ าง Construction DWG.

การลงทะเบียนกับ TGBI TGBI Registration

การขออนุญาต Building Permission

การก่อสร้ าง Construction

การยื@นแบบเพื@อประเมินขัDนต้ น Design Submittals

อาคารแล้วเสร็จ Construction Complete

ใช้ งานจริง Operation

การยื@นเอกสารทัDงหมด Construction Submittals การรับรอง TREES-NC จาก TGBI TGBI Approval

ขั้นตอนการออกแบบอาคารใหม่ โดยดําเนินการคู่ขนานกับการเข้ารับการประเมินอาคารเขียว ที่มาปรับจาก http://www.tgbi.or.th/files/trees/2012-09-26-เกณฑ์-TREES-NC.pdf


ที่มา : http://thailand.ahk.de/fileadmin/ahk_thailand/Projects/AHKGeschaeftsreise__Energy_Efficiency_in_Buildings/Keynote_Address_by_Dr._Preecha_Maneesatid_TGBI.pdf







31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

61


https://www.pinterest.com/pin/293719206927327356/


Module 03

เกณฑ์ ก ารประเมิ น อาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 03

เกณฑ์การประเมินอาคาร เพื่ อความยั่งยืน อาจารย์ ดร. ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

63


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.