Module 04 การวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ของอาคารเพื่อความยั่งยืน

Page 1

Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 04 การวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ อาคารเพื่ อความยั่งยืน 40

อาจารย์ ดร.ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เศรษฐศาสตร์อาคาร

ความยั่งยืน

• ความรู้เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์ ความยั่งยืน อาคาร • การลงทุนในแง่เศรษฐศาสตร์ ความยั่งยืน 40 โครงการ • ต้นทุนตลอดวัฎจักรชีวิต ก่อสร้างอาคาร ความยั่งยืน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


ตารางต้นทุนส่วนเพิ่ มเฉลี่ย

LEED-NC Rating

จํานวนตัวอย่าง โครงการ

ต้นทุนส่วนเพิ่ ม (%)

Platinum

1

6.50%

Gold

6

1.82%

Silver

18

2.11%

Certified

8

0.66%

Average (เฉลี่ย)

1.84%


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

เศรษฐศาสตร์อาคาร § เครื่องมือสําคัญ

คําตอบที่ต้องการ

การศึกษาความเป็นไปได้

§ การวางแผนเพื่ อดํ า เนิ น โครงการ ขั้ น ตอนการก่ อ สร้ า ขั้นตอนการส่งมอบโครงการ

โครงการ

การใช้งาน 40

ความต้ อ งการ § การกํ า หนดแนวคิ ด วั ต ถุ ป ระสงค์ ตั้ งแต่ เ ริ่ มต้ น ขั้ นตอนการวางแผน เพื่ อดํ า เนิ น โครงการ คํ า ตอบในหลายๆ ตัวแปรที่สําคัญทางด้านเศรษฐศาสตร์

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

การลงทุนในแง่เศรษฐศาสตร์อาคารเพื่ อ ความยั่งยืน ประกอบด้วย

ü การพิ จารณาต้นทุนส่วนเพิ่ มของการลงทุน สําหรับโครงการก่อสร้างอาคารเพื่ อ ความยั่งยืน ü การพิ จารณาตัวอย่างการระบุต้นทุนส่วน เพิ่ ม จากโครงการกรณี40 ศึกษาอาคารเพื่ อ ความยั่งยืน ü การบริหารจัดการต้นทุนส่วนเพิ่ มของการ ลงทุนสําหรับโครงการก่อสร้างอาคารเพื่ อ ความยั่งยืน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ü การวิเคราะห์ต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิตเป็น การพิ จารณาไม่เฉพาะเพี ยงต้นทุนส่วนแรก ประกอบด้วย • ต้นทุนค่าก่อสร้าง • ต้นทุนส่วนในส่วนของค่าออกแบบ • งานวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรม • ค่าที่ปรึกษา

้40ะพิ จารณาส่วน • ค่าธรรมเนียมอื่นๆ แต่ทั้งนีจ ของต้นทุนในระยะยาวรวมอยู่ด้วย อาทิเช่น § ต้นทุนจากการดําเนินการ § การใช้งานและการบํารุงรักษา

ü ต้นทุนที่ปรากฏเหล่านี้เป็นการพิ จารณารวมเข้ากับ มูลค่าของเงินตามเวลา 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

6


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ü รวมถึงการพิ จารณาอัตราคิดลด อัตราเงินเฟ้อ และการปรับเพิ่ มขึ้นของต้นทุน ü ต้นทุนส่วนเพิ่ มถือเป็นเงินต้นที่ต้องลงทุนใน ช่วงแรกก่อน ตัวอย่าง องค์กรผู้เกี่ยวข้องจําเป็นต้องมีความเข้าใจ 40 เกี่ยวกับหลักการทางด้านเศรษฐศาสตร์ ร่วมด้วย เพื่ อพิ จารณาต่อการตัดสินใจดําเนินโครงการ ในแต่ละทางเลือก

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

7


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ü เศรษฐศาสตร์ ü ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตและการดําเนินงาน การกระจายและจัดจําหน่าย ตลอดจนการบริโภคสินค้าและ/หรือบริการ ศึกษาในส่วนของกิจกรรมการดําเนินการที่เกี่ยวข้อง 40 ทางด้านเศรษฐกิจ ที่มนุษย์ใช้เลือกพิ จารณาตัดสินใจ เพื่ อหาแนวทางหรือโอกาสที่จะใช้ปัจจัยหรือทรัพยากร สําหรับการผลิตและการดําเนินงานที่มีอยู่อย่างจํากัด เหล่านั้น เพื่ อให้บังเกิดความคุ้มค่าสูงสุดสุด

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Building Economics Ivor H. Seeley ü พบว่า ขอบเขตของเนื้อหาจะเป็นการศึกษา เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งอิทธิพลต่อต้นทุนของการก่อสร้างอาคาร และการดําเนินการที่เกี่ยวข้องต่อการรับมือ ในช่วงเตรียมการด้านสัญญาก่อสร้างอาคารโครงการ ่จะเกิดขึ้น ü การประเมินและวิเคราะห์ต้นทุนที40 เพื่ อสร้างความเชื่อมัน ่ ว่าอาคารโครงการ เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์จะอยู่ภายใต้กรอบ ของงบประมาณ กําหนดระยะเวลา และคุณภาพ ของการดําเนินการที่ยอมรับได้ โดยมีฟง ั ก์ชั่น การใช้งานที่มีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนอง ต่อมูลค่าของการลงทุน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

9


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics เศรษฐศาสตร์อาคาร (Building Economics) เป็นเครื่องมือ สําคัญในการนํามาซึ่งคําตอบที่ต้องการต่างๆ โดยเกี่ยวข้อง ต่อบริบทในแง่มุมทางด้านเศรษฐศาสตร์ของการก่อสร้าง และการดําเนินโครงการ อาคารเขียว “อาคารสมรรถนะสูง” มากกว่าอาคารในรูปแบบ ดั้งเดิม (Conventional building) เพราะได้รับการพิ สูจน์ แล้วว่ามีความสลับซับซ้อนมากกกว่า ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ การลงทุน หรือการพิ จารณาผลตอบแทนจากความประหยัด 40 ในด้านต่างๆ ได้แก่ • หมวดด้านพลังงาน • หมวดด้านการใช้นํ้าและการกําจัดนํ้าเสีย • หมวดด้านสุขลักษณะและผลิตภาพของผู้อยู่อาศัยและใช้ งานอาคาร • หมวดด้านการซ่อมแซมและบํารุงรักษา • หมวดด้านการปลดปล่อยของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือของเสียในรูปแบบต่างๆ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


Green Building Economics หมวดสาธารณูปโภค

มูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิ ในระยะเวลา 20 ปี ที่สามารถประหยัดลงได้ (ต่อตารางฟุ ต)

ค่าการใช้พลังงาน (Energy value)

5.79 USD

ค่าการปลดปล่อยของเสีย (Emission value)

1.18 USD

ค่าของการประหยัดการใช้นํ้า

0.51 USD

ค่าของการประหยัดการใช้นํ้าจากการก่อสร้างใน 1 ปี

0.03 USD

ค่าของการประหยัดจากการเข้าดําเนินการปรับแต่งระบบฯ

8.47 USD

ค่าของการประหยัดจากการเพิ่ มขึ้นของผลิตภาพ และสุขลักษณะของบุคลากรผู้ใช้งานอาคาร (ระดับ Certified-Silver)

36.89 USD

ค่าของการประหยัดจากการเพิ่ มขึ้นของผลิตภาพและ สุขลักษณะของบุคลากรผู้ใช้งานอาคาร (ระดับ Gold-Platinum)

55.33 USD

มูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิในระยะเวลา 20 ปี ที่สามารถประหยัดลงได้ (ระดับ Certified-Silver)

48.87 USD

มูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิในระยะเวลา 20 ปี ที่สามารถประหยัดลงได้ (ระดับ Gold-Platinum)

67.31 USD


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics ü มูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิในระยะเวลา 20 ปี (20-Year Total Net Present Value) คือ ผลรวมของมูลค่าเงินปัจจุบันสุทธิ ตลอดระยะเวลา 20 ปี แสดงในรูปของการประหยัด 40ที่ 20 ปี จากการใช้งานอาคาร ตลอดอายุ (20-year life cycle) ü หน่วยการเปรียบเทียบ 1 ตารางฟุ ต เท่ากับ 0.09 ตารางเมตร 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Green Building Economics ตาราง

รูปแบบการดําเนินการ

ต้นทุนส่วนเพิ่ มขึ้น (Added Cost: USD)

ความประหยัดต่อปี (Annual Savings: USD)

§

ประสิทธิภาพด้านการใช้พลังงานที่เพิ่ มขึ้น

38,000

4,300

§

การทดสอบและปรับแต่งระบบเครื่องกล ประกอบอาคาร

4,200

1,300

§

การดําเนินการด้านภูมิสถาปัตยกรรม และการจัดการนํ้าฝนไหลล้น

5,600

3,600

§

การดําเนินการเรื่องพื้ นยกระดับ และผนังที่ย้ายเคลื่อนที่ได้

-

35,000

§

การลงทุนสําหรับสุขภัณฑ์โถปัสสาวะไม่ใช้นํ้า

(590)

330

47,210

44,530

รวม


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics ü

อธิบายเกี่ยวกับขอบเขตของการศึกษา เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งอิทธิพลต่อต้นทุน ของการก่อสร้างอาคาร และการดําเนินการ ที่เกี่ยวข้องต่อการรับมือในช่วงเตรียมการด้านสัญญา ก่อสร้างอาคารโครงการ

ü

ประเมินและวิเคราะห์ต้นทุนที่จะเกิดขึ้น เพื่ อสร้างความเชื่อมั่นว่าอาคารโครงการ เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์ 40 จะอยู่ภายใต้กรอบของงบประมาณ กําหนดระยะเวลา และคุณภาพของการดําเนินการที่ยอมรับได้

ü

มีฟง ั ก์ชั่นการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อมูลค่าของการลงทุน การบริหารคุณค่า การระบุถึงแบบจําลองด้านต้นทุน และการพิ จารณาเกี่ยวกับต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics ü

โครงการอาคารเขียวหรืออาคารยั่งยืน จะปรากฏความเกี่ยวข้องกับต้นทุนส่วนแรก หรือต้นทุนที่ปรากฏในช่วงเวลาเริ่มต้น

ü

โครงการก่อสร้างอาคารเขียวหรืออาคารสมรรถนะสูง ปรากฏผลตอบแทนในระยะยาวต่อเจ้าของอาคาร 40 และผู้ใช้อาคาร

ü

ต้องพิ จารณาทั้งต้นทุนส่วนแรกสําหรับการก่อสร้าง โดยตรง และต้นทุนที่เกิดจากการใช้งานในระยะยาว รวมอยู่ด้วย

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

15


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green house gas) เช่น ü ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ü ไนตรัสออกไซด์ ü คาร์บอนไดออกไซด์ ผ่านการคํานวณ

40

ผู้ประกอบการที่ประสงค์ลดการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจก สามารถคํานวณกลับมาเป็นผลประโยชน์ ตอบแทนรายปีได้ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

16


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics การพิ จารณาส่วนของ HVAC และระบบควบคุม ระบบไฟฟ้า และการดําเนินการทดสอบ และปรับแต่งระบบซํ้า สําหรับอาคารที่ผ่านการใช้งาน มาแล้ว (Recommissioning existing building) จะช่วยลดต้นทุนจากการใช้งาน40 ได้ในระยะยาว เป็นหลักการสําคัญของการพิ จารณา ดําเนินการโครงการอาคารสมรรถนะสูง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

17


Green Building Economics องค์กร USGBC ได้กล่าวเกี่ยวกับความสําคัญ และประโยชน์ที่ได้รับในแง่เศรษฐศาสตร์อาคารเพื่ อความยั่งยืน ดังนี้ ü ความพยายามต่อการฟื้นคืนจากการลงทุนในส่วนแรกที่สูง (Recover higher first cost)

ü ความคุ้มค่าอย่างที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเน้นการประหยัด การใช้พลังงานของอาคารในช่วงระหว่าง 20%-50%

ü การเพิ่ มสมรรถนะและผลิตภาพในการทํางาน

มีสภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัย


Green Building Economics องค์กร USGBC ได้กล่าวเกี่ยวกับความสําคัญและประโยชน์ที่ ได้รับในแง่เศรษฐศาสตร์อาคารเพื่ อความยั่งยืน • การลดภาระความรับผิดชอบ โดยเน้นการกําจัด สภาวะความเจ็บป่วยจากการใช้อาคาร • การสร้างคุณค่าแก่ผู้เช่าอาคารโครงการ • การเพิ่ มคุณค่าให้แก่สินทรัพย์

TIP ในต่างประเทศโดยเฉพาะหลายมลรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา จะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในหลายรูปแบบ เช่น เรื่องการลดค่าธรรมเนียมสําหรับการยื่นขออนุญาตก่อสร้าง การลดภาษี (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน) จากการใช้ประโยชน์ของอาคาร


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics องค์กร USGBC ได้กล่าวเกี่ยวกับความสําคัญและประโยชน์ ที่ได้รับในแง่เศรษฐศาสตร์อาคารเพื่ อความยั่งยืน (ต่อ) • การส่งเสริมและสร้างสรรค์ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจ การเปิดโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน ตลอดจนการประกอบธุรกิจใหม่ๆ • ธุรกิจการแปรรูปขยะ การอนุรักษ์40 และหมุนเวียน การใช้งานวัสดุเหลือใช้ • การพิ จารณาต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต เพื่ อสร้างความเชื่อมัน ่ ต่อเจ้าของโครงการ ปรากฏรูปแบบของการดําเนินการอันเป็นแบบอย่าง ของแนวปฏิบัติที่ดี 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

20


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics • ประหยัดตลอดวัฏจักรชีวิต (Life-cycle savings) เป็นผลโดยตรงจากการเพิ่ มสมรรถนะให้แก่อาคารโดยตรง เช่น ü ระบบ HVAC ที่ต้องการขนาดจําเพาะเล็กลง (Downsized mechanically) โดยส่งผลต่อการลดภาระของเครื่องปรับอากาศโดยรวม ü การเพิ่ มขึ้นจากการออกแบบเพื่ อการประหยัดพลังงาน ที่เน้นการพึ่ งพาธรรมชาติ (Passive design) 40 • การประหยัดนํ้าประปาและภาระของการเกิดนํ้าเสีย จากการใช้งานภายในอาคาร ซึ่งมีต้นทุนของการบําบัดนํ้าเสีย เช่นเดียวกัน ซึ่งการประหยัดการใช้นํ้า หรือการใช้น้าํ อย่างมีประสิทธิภาพ • การประหยัดเนื่องจากการมีสภาพแวดล้อมภายในอาคารที่ดี การปรับปรุงผลิตภาพของพนักงาน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Green Building Economics ต้นทุนส่วนเพิ่ มของการลงทุนสําหรับอาคารเขียวสมรรถนะสูง ซึ่งต่างจากอาคารในรูปแบบดั้งเดิมโดยทั่วไป ประกอบด้วย วัสดุและอุปกรณ์ที่อาศัยเทคโนโลยีเฉพาะด้านเข้ามาสนับสนุน ยกตัวอย่างเช่น § โครงสร้างพื้ นฐานเพื่ อการกักเก็บนํ้าฝน (Rainwater harvesting infrastructure) § ส่วนควบคุมการบูรณาการไฟฟ้าแสงสว่างร่วมกับแสง 40 ธรรมชาติ (Daylight-integrated lighting controls) § เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนและความชื้นระหว่างอากาศภายใน และภายนอกอาคาร (Energy Recovery Ventilator: ERV) § เครื่องตรวจจับปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide sensor)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

22


Green Building Economics

ตัวอย่าง Rainwater water storage tank ของอาคาร http://wedesign-nyc.com/portfolio/henry-street-rain-gardens/


Green Building Economics Daylight-integrated lighting controls

ภาพที่ 14-1 แสดงตัวอย่าง Rainwater water storage tank ของอาคาร http://wedesign-nyc.com/portfolio/henry-street-rain-gardens/

ภาพแสดงไดอะแกรมรองรับระบบ Daylight-integrated lighting controls http://www.automatedbuildings.com/news/aug07/articles/zing/070723051101dilouie.htm


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

• เครื่องมือสําคัญสําหรับการประเมินทางด้าน เศรษฐศาสตร์อาคารเขียว คือ การวิเคราะห์ ต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Cost Analysis : LCCA) โดยเป็นการพิ จารณา 2 ส่วนสําคัญ คือ • ต้นทุนส่วนแรก (First cost) บางครั้งอาจ เรียกว่า “ต้นทุนการก่อสร้าง 40 หรือต้นทุน ที่เป็นหลัก (Capital cost)” • ต้นทุนในส่วนของการดําเนินการ (Operating cost) ที่เป็นส่วนของการใช้ งานและการซ่อมบํารุง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

25


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

SS Prerequisite 1 การลดมลภาวะจากกิจกรรมการก่อสร้าง เป็นเกณฑ์ข้อบังคับ

1) ระบุใน TOR แจ้งต่อผู้รับเหมาก่อสร้าง ก่อนดําเนินการ 2) ที่ปรึกษาจัดการฝึกอบรมผู้รับเหมาก่อสร้าง พร้อมจัดเตรียมเอกสาร ตัวอย่างเอกสาร แบบฟอร์ม (Template) ให้กรอก 3) มีต้นทุนเพิ่ มในส่วนของการเตรียมงานในพื้ นที่ก่อสร้าง • การจัดเตรียมการกั้นรั้วตาข่ายกันฝุ่น • การจัดทํารางระบายนํ้ารอบหน่วยงานก่อสร้าง 40 • การดําเนินการจัดทําบ่อพั กตกตะกอน • ต้นทุนในส่วนการเตรียมการเกี่ยวกับการจัดการ หน่วยงานก่อสร้างที่เน้นการรักษาสภาพแวดล้อม 4) ผู้รับเหมาก่อสร้างต้องจัดทํารายงานส่งที่ปรึกษาทุก ๆ 2 สัปดาห์ มีค่าใช้จ่ายส่วนการจัดทําเอกสารรายงาน พิ จารณาจากค่าใช้จ่ายในการดําเนินการ โดยอ้างอิงตามเอกสารโครงการ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

26



Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

• การชี้วัดผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์ต่อแนว ทางการตัดสินใจเพื่ อการออกแบบก่อสร้างอาคาร โครงการ โดยที่การวิเคราะห์ต้นทุน ตลอดวัฏจักรชีวิต เป็นการพิ จารณาไม่เฉพาะเพี ยงต้นทุนส่วนแรก แต่จะพิ จารณาส่วนของต้นทุนในระยะยาวรวมอยู่ด้วย • ต้นทุนที่จะเป็นการพิ จารณา 40 • มูลค่าของเงินตามเวลา • อัตราคิดลด อัตราเงินเฟ้อ • การปรับเพิ่ มขึ้นของต้นทุน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

28


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ตัวแปรสําคัญที่ปรากฏเกี่ยวข้อง กระบวนการประเมินต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต อัตราส่วนผลตอบแทนต่อการลงทุน วัฏจักรชีวิต มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ต้นทุนส่วนที่เกิดซํ้า 40 ต้นทุนคงเหลือหลัง หมดอายุใช้งาน • ผลตอบแทนจากการลงทุน และระยะเวลาคืนทุน

• • • • •

https://www.slideshare.net/shahzad_ali27/ green-buildings-47771372

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

29


Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

กระบวนการประเมินต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต เป็นการพิ จารณาเปรียบเทียบใน 6 ประเภท ขององค์ประกอบสําคัญของอาคาร ประกอบด้วย 1) ระบบพลังงานของอาคาร 2) ระบบเครื่องกลประกอบอาคาร 3) ระบบไฟฟ้าและแสงสว่า40 ง 4) เปลือกหรือกรอบอาคาร 5) การกําหนดตําแหน่งและรูปแบบของอาคาร 6) ระบบโครงสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

30


• LCCA ถือเป็นกระบวนการสําหรับการประเมินสมรรถนะ ทางด้านเศรษฐศาสตร์ของอาคารตลอดอายุการใช้งาน โดยนัย คือ ต้นทุนทั้งหมดของความเป็นเจ้าของ • องค์กรผู้เกี่ยวข้องจําเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทางด้านเศรษฐศาสตร์ร่วมด้วย เพื่ อพิ จารณาต่อการตัดสินใจดําเนินโครงการในแต่ละทางเลือก ซึ่งจะต้องพิ จารณาโดยประเมินเกี่ยวกับเงินลงทุน • ต้นทุนส่วนแรก หรือต้นทุนค่าก่อสร้าง และต้นทุนเพื่ อการดําเนินการเกี่ยวกับสิง ่ อํานวยความสะดวก และการซ่อมบํารุง โดยทั้ง 2 ปัจจัยต้นทุนหลัก ดังกล่าว พิ จารณารวมในลักษณะของแบบจําลองต้นทุน เพื่ อพิ จารณารวมกับมูลค่าของเงินตามเวลา เป็นมูลค่าเชิงเดี่ยว • ปรากฏในมูลค่าปัจจุบันสุทธิทั้งหมด ของต้นทุนรายปี


Stanford LCCA Guideline (2005) ระบุกระบวนการประเมินเกี่ยวกับ LCCA ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลัก 1) การเตรียมการวัตถุประสงค์ 2) การกําหนดบรรทัดฐานสําหรับแนวทางการประเมิน 3) การระบุและพั ฒนาทางเลือก การออกแบบ 4) การรวบรวมข้อมูลด้านต้นทุน การดําเนินการ 5) การพั ฒนา LCC แต่ละทางเลือก



ตัวอย่าง ระบบจ่ายลมเย็น (Air Handling Unit : AHU) ของอาคารแห่งหนึ่ง



พิ จารณา ค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน (ต่อปี) โดยปรับเพิ่ มขึ้น ของต้นทุนด้านพลังงานคาดคะเนที่ 2% ต่อปี โดยปรับเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้การคํานวณแฟกเตอร์มูลค่าปัจจุบัน สําหรับผลรวมการปรับเพิ่ มรายปี (Present Value Factors for An Escalating Annual Amount : EAPF) ปรากฏตามสูตร



Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

มูลค่าซากของทัง ้ สองส่วนมีค่าเป็นศูนย์ เนื่องจากมีการเปลี่ยนทดแทนครบสมบูรณ์ ตามวัฏจักรชีวิตที่ 24 ปี โดยสรุปเป็นตารางคํานวณ 40 เพื่ อหา LCC ต่อไป พิ จารณาตามตาราง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

38


Life Cycle Cost Estimate Alternative 1 Alternative 2 Study Title : Rooftop Air Handler System Performance AHU Economy AHU Discount Rate 10% Est. Cost ($) PW ($) Est. Cost ($) PW ($) Economy Life 24 yrs Initial /Collateral Costs Air Handling Unit (AHU) 15,000.00 15,000.00 10,000.00 10,000.00 Total Initial/Collateral Costs 15,000.00 10,000.00 Replacement/Salvage Costs

Mod 04 ule

(Single Expenditure) PW factor A : Replace Economy AH (yr 8) 0.4665 10,000.00 4,665.07 B : Replace Performance AH 0.3186 15,000.00 4,779.46 (yr 12 ) C : Replace Economy AH (yr 16) 0.2176 10,000.00 2,176.29 Salvage Air Handler (yr 24) 0.1015 Total Replacement/Salvage Costs 4,779.46 6,841.37 Annual Costs Present Value Factors for An Escalating Diff.Escal PWA Annual Amount : EAPF Rate /W Escal. A : Maintenance 8.9847 500.00 4,492.37 800.00 7,187.80 2% 10.668 1,800.00 19,202.40 2,200.00 23,469.60 B : Energy Total Annual Costs 23,694.77 30,657.40

Total Present-Worth Life Cycle Costs Life Cycle Present Worth Dollar Savings

L C C

43,474.23 4,024.53

47,498.76





Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Building Simulation refers to the process of dynamically analysing a building’s energy performance through the use of software simulation and computer modelling techniques. It involves the calculation of thermal loads and energy consumption of the building in order to determine its energy flows and characteristics. Energy analysis are primarily used to predict the annual 40 energy consumed by a structure in terms of KWHs Today energy analysis is becoming more common and is being applied earlier in the design process. Building performance analysis and energy modelling provides design teams with the high quality information needed to quantify and inform iterative decisions, so the project team can effectively develop creative sustainable solutions 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

43



Module 04

การวิ เ คราะห์ ท างด้ า นเศรษฐศาสตร์ ข องอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 04 การวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ อาคารเพื่ อความยั่งยืน 40

อาจารย์ ดร.ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

45


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.