Module 06 การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน

Page 1

Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

Module 06

การจัดการหน่วยงาน ก่อสร้างอย่างยั่งยืน 40

อาจารย์ พิ มพ์ ชนก ศรีรัชตระกูล สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน

1 ผู้บริหารโครงการ

2

ทราบและเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับ ความยั่งยืนในการพั ฒนาหน่วยงาน ก่อสร้างภายในโครงการ

เศรษฐกิจ ผู้บริหารโครงการจะต้องมีการ วางแผนอย่างละเอียดรอบคอบ และมีกระบวนการประเมิน ผลกระทบ

• เข้าใจบริบทโครงการ • มีการวางแผนการ จัดการหน่วยงาน • เข้าใจความ รับผิดชอบของตน เกี่ยวกับการ ดําเนินการภายใน หน่วยงานก่อสร้าง

สังคม

สิง ่ แวดล้อม Triple Bottom Line

การจัดการหน่วยงาน ก่อสร้างเพื่ อให้เกิดความ ยั่งยืน


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ หน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ü แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการหน่วยงาน ก่อสร้างอย่างยั่งยืน ่เกิดจาก ü มลภาวะและผลกระทบที 40 หน่วยงานก่อสร้าง ü ฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการหน่วยงานก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


่ วกับการจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน แนวคิดเกีย

Environmental Natural resource use, Environmental management Pollution prevention

Sustainability Social Well-being Standard of living Community concern

Economic Profit, Cost savings, Economic growth


แนวทางในการดําเนินการก่อสร้างอย่างยั่งยืน (Sustainable Construction) วางแผนเพื่ อผลกระทบ ที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนกับ ผู้ปฏิบัติงานภายในโครงการ

คํานึงถึงคุณภาพชีวิต ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

การจัดการหน่วยงาน ก่อสร้างอย่างยั่งยืน

จัดการการทํางาน อย่างเป็นระบบ

ลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ

ลดความเสี่ยงจากการเกิด อุบัติเหตุและความสูญเสีย


วัตถุประสงค์ในการจัดการหน่วยงานก่อสร้าง มีแผนการดําเนินการ ภายในหน่วยงานก่อสร้าง

เพื่ อลดอัตราการถูกร้องเรียน

เพื่ อลดความเสี่ยง ของการเกิดอุบัติเหตุ

5

3

1 2 เพื่ อควบคุมการใช้ทรัพยากร

4 เพื่ อควบคุมมลพิ ษ


กระบวนการจัดการก่อสร้างอย่างยั่งยืน

1

กระบวนการการ วิเคราะห์และ วางแผนงาน ก่อสร้าง อย่างยั่งยืน

ผู้บริหารโครงการต้อง ทําการศึกษาพื้ นที่ โครงการก่อสร้าง การกําหนดแนวทาง ในการดําเนินงานหรือ ปฏิบัติงานโดยยึด หลักการพั ฒนาอย่าง ยั่งยืน (Triple Bottom line)

2

กระบวนการ ปฏิบัติงาน อย่างยั่งยืน

การลงมือทํางานตาม แผนงานที่ได้วางเอาไว้ ในขั้นตอนนี้ สิ่งสําคัญคือ การควบคุมและดูแล การทํางานให้สามารถ ดําเนินไปได้โดยไม่มี อุปสรรค ผู้บริหาร โครงการต้องบันทึก ข้อมูลของการทํางาน ในรูปแบบของ รายงานต่างๆ

3

การประเมินผล อย่างมี ประสิทธิภาพ

การพิ จารณาเปรียบเทียบ ข้อมูลที่ได้จากการทํางาน จริงกับแผนงานที่ได้วาง ไว้ ต้องมีการตรวจวัด และเปรียบเทียบผลการ ดําเนินงานอยู่โดยตลอด


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

มลภาวะและผลกระทบที่เกิดจากหน่วยงานก่อสร้าง

1. มลภาวะและผลกระทบ ทางอากาศและฝุ่นละออง ทําให้เกิดโรคหอบหืด ระบบทางเดินหายหายใจ หรือ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ส่วนบน เป็นอันตราย โดยตรงต่อระบบหายใจ

2. มลภาวะและผลกระทบ 40 ทางนํ้า คุณภาพนํ้า และ นิเวศวิทยาทางนํ้า ทําให้นํ้ามีคุณภาพเปลี่ยนไปจากเดิม จนมีสภาพที่เลวลง เนื่องจากมีมวล สารสารพิ ษ หรือสารปนเปื้ อนต่างๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

มลภาวะและผลกระทบที่เกิดจากหน่วยงานก่อสร้าง

3. มลภาวะและผลกระทบทางเสียง และแรงสั่นสะเทือน

4. มลภาวะและผลกระทบจากขยะ

มลพิ ษทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน จะไม่เป็นภัยถึงแก่ชีวิตในทันทีแต่ก็ถือว่า เป็นมลพิ ษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เสียงที่เกิดจากการก่อสร้างสามารถ ทําลายประสิทธิภาพระบบการได้ยิน ทําให้การได้ยินเสื่อมลง

ขยะจากกิจกรรมการก่อสร้างอาจมี สารเคมีปนเปื้ อน เช่น หลอดไฟ แบตเตอรี เศษวัสดุก่อสร้างที่จําเป็นต้องได้รับการ กําจัดอย่างถูกวิธี

40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

9


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงานในหน่วยงานก่อสร้าง 40

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมลภาวะ ที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1 2 10


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ในหน่วยงานก่อสร้าง กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน ในการบริหารและจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2549

กฎกระทรวง กําหนดมาตรการในการบริหาร จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับ การก่อสร้าง พ.ศ. 2551

1 2

เพื่ อกําหนดให้มีเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับต่างๆ และคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ของสถานประกอบกิจการ เพื่ อกําหนดการบริหารและการจัดการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย รวมถึงสภาพแวดล้อมในการทํางาน เกี่ยวกับการก่อสร้างอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่ อป้องกัน อันตราย ควบคุมดูแล และสร้าง จิตสํานึกของความปลอดภัยให้แก่ ผู้ปฏิบัติงาน


กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ มลภาวะที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง ประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง ่ แวดล้อม

มลภาวะทางอากาศและ ฝุ่นละออง

1 2

รายงานการวิเคราะห์ผลระทบ สิ่งแวดล้อม (EIA Environmental Impact Assessment) เป็นหลัก พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายพื้ นฐาน ที่มีขอบข่ายครอบคลุมการป้องกัน และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และ การควบคุมภาวะมลพิ ษทุก ๆ ด้าน รวมถึงการป้องกันและรักษา คุณภาพอากาศและการควบคุม มลพิ ษทางอากาศด้วย


กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ มลภาวะที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง (ต่อ)

มลภาวะทางนํ้า

3

โดยภายในโครงการก่อสร้าง สามารถแบ่งประเภทของนํ้าทิง ้ ได้เป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ 1. นํ้าทิ้งจากกระบวนการ ผลิต คือ นํ้าเสียจาก กิจกรรมการก่อสร้าง โดยตรง 2. นํ้าทิ้งจากกิจกรรม ของพนักงาน 3. นํ้าที่ไหลล้นจากบริเวณ หน่วยงานก่อสร้าง


กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ มลภาวะที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง (ต่อ) มลภาวะทางเสียงและ แรงสั่นสะเทือน

4

• กฎหมายควบคุมเสียงและความสั่นสะเทือนในสิ่งแวดล้อม ประกาศคณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) • กฎหมายควบคุมเสียงในที่ทํางาน ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับ สภาวะแวดล้อม พ.ศ.2520 หมวด 3 เสียง ข้อ 13 • ประกาศคณะกรรมการสิง ่ แวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 17 (พ.ศ. 2543) เรื่อง ค่าระดับ เสียงรบกวน • ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง กําหนกหลักเกณฑ์ในการ ก่อสร้างอาคารและสาธารณูปโภค (พ.ศ. 2539)


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

แนวทางการจัดการหน่วยงานก่อสร้าง อย่างยั่งยืน

1

ก่อน การก่อสร้าง

2

ระหว่าง 40 การก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3

หลัง การก่อสร้าง

15


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง

1

ก่อน การก่อสร้าง

2

ระหว่าง การก่อสร้าง

3

หลัง การก่อสร้าง

ü เน้นการวางแผนในระยะยาวเพื่ อกําหนดแนวทางในการทํางาน เป้าหมาย ลําดับการปฏิบัติงาน และบทบาทของบุคคลต่าง ๆ ชัดเจน ü วางแผนอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้ผู้บริหารโครงการสามารถ ควบคุม จัดการ และคาดเดาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในหน่วยงาน ก่อสร้างได้ ü ดําเนินการจัดการหน่วยงานก่อสร้าง ดังนี้ 1) การเลือกที่ตั้งและจัดผังภายในหน่วยก่อสร้าง 2) การกําหนดมาตรการป้องกันมลพิ ษและ สิง ่ รบกวนจากการก่อสร้าง


1) การเลือกที่ตั้งและจัดผังภายในหน่วยงานก่อสร้าง พิ จารณาปัจจัยดังนี้ ตําแหน่งของอาคารชั่วคราวต่าง ๆ ตําแหน่งของการเกิดกิจกรรมการก่อสร้าง ทิศทางลม ตําแหน่งแหล่งนํ้าธรรมชาติใกล้เคียง ทิศทางการไหลของนํ้าฝน และระดับความชันของที่ดิน บริเวณพื้ นที่ของผิวดิน ทั้งที่ถูกรบกวนและไม่รบกวน 6) ตําแหน่งที่ตั้งและช่องเปิดของอาคารข้างเคียง 7) ผู้อยู่อาศัยในบริเวณข้างเคียง 1) 2) 3) 4) 5)


2) การกําหนดมาตรการป้องกันมลพิ ษ และสิ่งรบกวนจากการก่อสร้าง ü ใช้ควบคุมกิจกรรมก่อสร้าง อันเป็นสาเหตุก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ที่เหมาะสมกับโครงการนั้น ๆ ü อ้างอิงตามหลักวิชาการ ความมั่นคงปลอดภัย ความเหมาะสมด้านงบประมาณ และทรัพยากรเป็นหลัก ü มาตรการป้องกันมลพิ ษและ สิ่งรบกวนจากการก่อสร้างนั้น จะต้องถูกกําหนดขึ้น อย่างพิ เศษให้ครอบคลุม ถึงรายละเอียดและวิธีการ ปฏิบัติงาน


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง มาตรการควบคุมการชะล้าง การตกตะกอนและสารปนเปื้อน ภายในพื้ นที่ก่อสร้าง

(Erosion Sedimentation Control Plan/ ESC Plan)

1. ป้องกันการสูญเสียหน้าดินเดิม ระหว่างการก่อสร้าง 2. ป้องกันการตกตะกอนสะสม ของดินที่โดนนํ้าชะล้าง 3. ป้องกันการเกิดมลภาวะทางอากาศ 4. ป้องกันมลภาวะทางอากาศทั้ง ภายในและภายนอกโครงการ 5. ป้องกันและหลีกเลี่ยงกิจกรรมการ ก่อสร้างที่รบกวนแก่บริเวณ โดยรอบ


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

มาตรการควบคุมการชะล้าง การตกตะกอนและสาร ปนเปื้อนภายในพื้ นที่ก่อสร้าง

(Erosion Sedimentation Control Plan/ ESC Plan)

40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

20


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง มาตรการควบคุมคุณภาพอากาศภายในพื้ นที่ก่อสร้าง (Indoor Air Quality Management Plan; During Construction) 1) ปกป้องระบบปรับอากาศ ไม่ให้มีการปนเปื้ อน ่ งการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบ 2) หลีกเลีย อินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Organic Compounds) ลดปริมาณสิ่งปนเปื้ อนจาก สี และวัส40 ดุเคลือบผิวที่มีกลิ่นแรง ภายในอาคาร 3) ระบุผลิตภัณฑ์จากไม้และและวัสดุทดแทนจากพื ชที่ไม่มีการ ผสมของ Urea-formaldehyde resins หรือเป็น Ureaformaldehyde resins ที่ระดับ E0 ทั้งในเนื้อของวัสดุและ วัสดุประสาน 4) ควบคุมกิจกรรมและแหล่งปลดปล่อยมลพิ ษทางอากาศภาย 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21



Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

มาตรการควบคุมคุณภาพอากาศภายในพื้ นที่ก่อสร้าง (Indoor Air Quality Management Plan; During Construction)

40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

23


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง

มาตรการจัดการขยะที่เกิดจากการก่อสร้าง (Construction Waste Management Plan)

1. เพื่ อจําแนกประเภทของขยะที่เกิดขึ้นภายใน หน่วยงานก่อสร้าง และจัดเก็บขยะเหล่านั้นให้ถูกวิธี 2. เพื่ อใช้วางแผนการลดปริมาณขยะในอนาคต 40 ให้หน่วยงานก่อสร้างใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด 3. เพื่ อควบคุมดูแลให้ขยะจากการก่อสร้างนั้น ๆ ถูกนําไปทิ้งและกําจัดอย่างถูกวิธี ไม่เป็นผลเสีย ต่อสภาพแวดล้อมต่อไป 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

24



Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

มาตรการจัดการขยะที่เกิดจากการก่อสร้าง (Construction Waste Management Plan)

40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

26


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง เข้าพู ดคุยกับเจ้าของพื้ นที่ข้างเคียง ü เพื่ อสร้างความสัมพั นธ์อันดีและหลีกเลี่ยงการเกิดข้อพิ พาท จากผู้อยู่อาศัยในบริเวณข้างเคียง ü ชี้แจงข้อมูลและมาตรการป้องกันมลพิ ษและสิ่งรบกวน จากการก่อสร้างที่ทางโครงการได้จัดทําไว้เพื่ อควบคุม และป้องกันผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้น ü แสดงความรับผิดชอบและแนวการแก้ไขหากเกิดความ เสียหายในอนาคต การจัดเตรียมพื้ นที่หน่วยงานก่อสร้าง ü ปรับพื้ นที่ภายในหน่วยงานให้เหมาะสมกับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น ตามที่ได้วางแผนไว้ ü ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันมลพิ ษและสิ่งรบกวนจาก การก่อสร้างควบคู่กันไปด้วย


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง การประชาสัมพั นธ์โครงการ

จัดทําป้ายประชาสัมพั นธ์ โดยแสดงชื่อ ประเภท และขนาด ของโครงการ เจ้าของโครงการ ผู้รับเหมาก่อสร้าง ระยะเวลา ที่ใช้ในการดําเนินงาน พร้อมระบุชื่อ และ เบอร์โทรศัพท์ ของผู้รับผิดชอบในการควบคุมการก่อสร้าง


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง

การจัดเตรียมเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในงานก่อสร้าง

ü จัดเตรียมให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ตามที่ระบุไว้ในคู่มือการใช้งานเป็นหลัก ü ไม่ใช้อุปกรณ์ผิดประเภท เนื่องจากอาจก่อให้เกิด ความเสียหายต่อทั้งเครื่องมือ เครื่องจักร หรือผู้ใช้งานได้ ü มีการตรวจสอบเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่ใช้ในงานก่อสร้างให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งาน ü มีสถานที่จัดเก็บเฉพาะเพื่ อป้องกันความเสียหาย และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ü ต้องทําการจัดเตรียมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย พื้ นฐานให้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคน ได้แก่ หมวกนิรภัย รองเท้า นิรภัย เสื้อสะท้อนแสง และอุปกรณ์ ตามลักษณะงานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องปฏิบัติเฉพาะ


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ก่อนการก่อสร้าง การฝึกอบรมและให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ก่อสร้างก่อนการปฏิบัติงาน ü อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในการทํางาน ไปจนถึงวิธีการ ใช้เครื่องมือเครื่องจักร ที่ถูกต้อง ให้ผู้ปฏิบัติงาน มีความชํานาญจนทําให้สามารถ ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ อย่างราบรื่น ü อบรมให้ความรู้พื้นฐานในเรื่อง ความปลอดภัยในการทํางาน ภายในพื้ นหน่วยงานก่อสร้างด้วย


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ระหว่างการก่อสร้าง

1

ก่อน การก่อสร้าง

2

ระหว่าง การก่อสร้าง

3

หลัง การก่อสร้าง

40

สามารถแบ่งการบริหารจัดการหน่วยงานก่อสร้าง ในระหว่างการก่อสร้างออกเป็นหัวข้อย่อยตามขอบเขต การทํางาน ได้ดังนี้ 1) การบริหารจัดการพื้ นที่ก่อสร้าง 2) การบริหารจัดการมลพิ ษและสิ่งรบกวน จากการก่อสร้าง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

31


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ระหว่างการก่อสร้าง 1) การบริหารจัดการพื้ นที่ก่อสร้าง สามารถสรุปความเสี่ยงของการเกิดมลภาวะต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. งานเข็มและฐานราก การดําเนินงานที่ต้องใช้เครื่องจักรหนัก เป็นส่วนใหญ่ ทําให้เกิดมลภาวะทาง อากาศและฝุ่นละออง มลภาวะทางนํ้า และมลภาวะทางเสียงและแรงสัน ่ สะเทือน

3. งานสถาปัตยกรรมภายในและงานระบบ

การดําเนินงานก่อสร้างที่ใช้วัสดุในการ ก่อสร้างมากที่สุด ซึ่งจําเป็นจะต้องให้ ความสําคัญกับการดําเนินการก่อสร้าง ที่ทําให้เกิดมลภาวะทางอากาศและ ฝุ่นละออง รวมถึงการขนย้ายและ กําจัดเศษวัสดุ

2. งานสถาปัตยกรรมหลัก

การดําเนินงานก่อสร้างก่อสร้างบนดิน เป็นหลัก มีการใช้วัสดุก่อสร้างที่ทําให้ เกิดฝุ่นเป็นจํานวนมาก เริ่มมีขยะเหลือ ทิ้งจากเศษวัสดุและขยะทั่วไปจาก ผู้ปฏิบัติงานภายในพื้ นที่

4. งานภูมิสถาปัตย์

การดําเนินงานในช่วงท้าย ๆ ของการ พั ฒนาโครงการ ต้องให้ความสําคัญกับ การควบคุมมลภาวะทางอากาศและฝุ่น ละอองที่เกิดจากการขุดเปิดหน้าดิน และ มลภาวะทางนํ้า


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ระหว่างการก่อสร้าง 2) การบริหารจัดการมลพิ ษและสิ่งรบกวนจากการก่อสร้าง 2.1 ตรวจสอบการบริหารจัดการมลพิ ษและสิ่งรบกวน ภายในหน่วยงานก่อสร้าง ผู้บริหารโครงการต้องจัดให้มีการเข้าตรวจสอบ (Site Inspection หรือ Site Monitoring) และจัดส่ง 40 รายงานผลให้ผู้เกี่ยวข้อง รับทราบ ทุก ๆ 2 -4 สัปดาห์ 2.2 จัดระบบบันทึกข้อร้องเรียน ผู้บริหารโครงการจะต้องจัดทําระบบบันทึกข้อร้องเรียน หากเกิดปัญหาการร้องเรียนเรื่องมลพิ ษที่เกิดจาก การก่อสร้าง ต้องทําการตรวจสอบและแก้ไข บันทึกผลการแก้ไข 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

33



Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ระหว่างการก่อสร้าง 3) การบริหารจัดการความปลอดภัยภายในหน่วยงานก่อสร้าง ผู้บริหารโครงการต้องจัดให้มีมาตรการเพื่ อดูแลความ ปลอดภัยในระหว่างการทํางาน และเพื่ อควบคุมการ ปฏิบัติงานตามแนวทางและหลักการด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยอย่างเคร่งครัด 40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

35


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ระหว่างการก่อสร้าง การบริหารจัดการบ้านพั กคนงาน

1) การระบายนํ้าทิ้งจากนํ้าใช้ของสํานักงานชั่วคราว ของบ้านพั กคนงาน ซึ่งต้องมีทางระบายนํ้า ที่เพี ยงพอสําหรับจํานวนผู้ใช้นํ้าแต่ละวัน ประมาณ 150 ลิตร ต่อคน 40ต่อวัน

ตัวอย่างแผนการบริหาร จัดการด้านความ ปลอดภัย มีดังนี้

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

36


การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน ระหว่างการก่อสร้าง การบริหารจัดการบ้านพั กคนงาน

2) บริเวณอาคารสํานักงาน บ้านพั กคนงาน ต้องไม่ให้มีน้าํ ท่วมขังใต้อาคาร 3) จํานวนห้องส้วมต้องเพี ยงพอ กับจํานวนคนงาน ที่ใช้ใน แต่ละวันประมาณ 1 ที่ต่อ 25 คน 4) ทิ้งขยะ ถังขยะ ต้องมีขนาดรับ ปริมาณขยะได้เป็น 3 เท่า ของขยะ ที่เกิดแต่ละวัน 5) รักษาความสะอาดทั่วบริเวณ ทั้งในอาคาร นอกอาคารให้ สะอาดอยู่เสมอ


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน หลังการก่อสร้าง

1

ก่อน การก่อสร้าง

2

ระหว่าง การก่อสร้าง

3

หลัง การก่อสร้าง

40 บัติงานเพิ่ มเติม ดังนี้ ผู้บริหารโครงการยังต้องมีแนวทางการปฏิ

1) การประเมินและปรับปรุงคุณภาพอากาศ ก่อนการเปิดใช้งานอาคาร กิจกรรมนี้มุ่งเน้นการนําฝุ่นละอองที่เกิดจากกิจกรรมการ ก่อสร้าง ที่ยังคงค้างและสะสมอยู่ภายในสภาพแวดล้อม และตัวอาคารออกไปให้ได้มากที่สุด 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

38


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน หลังการก่อสร้าง 1) การประเมินและปรับปรุงคุณภาพอากาศ ก่อนการเปิดใช้งานอาคาร a. การทดสอบระดับมลภาวะภายในอาคาร ผู้บริหารโครงการควรทําการตรวจสอบคุณภาพอากาศ ภายในอาคารหลังการก่อสร้างเสร็จสิ้น หากทําการ ตรวจสอบคุณภาพอากาศแล้ว40 ค่าปนเปื้ อนไม่เกินมาตรฐาน ที่กําหนด จะถือว่าอากาศภายในอาคารปลอดภัยต่อผู้เข้าใช้ อาคารแล้ว โดยสารปนเปื้ อนที่ควรดําเนินการตรวจสอบ และความ เข้มข้นในอากาศสูงสุดของแต่ละชนิดสารปนเปื้ อน ขึ้นอยู่กับมาตรฐานที่ใช้ในการอ้างอิง อาทิเช่น หลักเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวของสหรัฐอเมริกา LEED v4 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

39



Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน หลังการก่อสร้าง 1) การประเมินและปรับปรุงคุณภาพอากาศ ก่อนการเปิดใช้งานอาคาร (ต่อ) b. การถ่ายเทอากาศ (Flush Out) เป็นกระบวนการที่จะดูดเอาอากาศจากภายนอกอาคาร หรือโครงการ เป่าสารพิ ษและฝุ่นละอองที่อาจจะสะสม 40 อยู่ตามบริเวณต่าง ๆ ในอาคารจากกิ จกรรมก่อสร้าง ให้เบาบางและลดลงจนหมดไป ด้วยอัตราที่เหมาะสมตามที่ข้อกําหนดตามหลักเกณฑ์ การประเมินอาคารเขียวของสหรัฐอเมริกา LEED ได้ กําหนด ซึ่งส่วนใหญ่ได้กําหนดไว้ที่ 14,000 ลูกบาศก์ฟุต ต่อ ตารางฟุ ต 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

41


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

การจัดการหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน หลังการก่อสร้าง 2. การจัดการรื้อถอนอาคารชั่วคราวต่าง ๆ ผู้บริหารโครงการ ต้องทําการวางแผนเพื่ อรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ต่าง ๆ ที่ใช้สนับสนุนการก่อสร้าง ออกจากพื้ นที่โครงการ โดยยังคงต้องดําเนินมาตรการตามแผนควบคุมการชะล้าง การตกตะกอนและสารปนเปื้ อนภายในพื้ นที่ก่อสร้าง (Erosion Sedimentation Control Plan/ ESC Plan) 40

3. ประเมินผลการดําเนินการพั ฒนาโครงการ หลังการก่อสร้างเสร็จสิ้น ผู้บริหารโครงการต้องทําการรวบรวม รายงานการควบคุมและบริหารหน่วยงานก่อสร้าง เพื่ อนําผล การดําเนินงานตามมาตรการป้องกันมลภาวะจากกิจกรรมการ ก่อสร้างต่าง ๆ มาประเมินผล เพื่ อนํามาปรับปรุงแนวทาง การทํางาน และมาตรการเพื่ อใช้ในโครงการต่อไป 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

42


Module 06

การจั ด การหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล

Module 06

การจัดการหน่วยงาน ก่อสร้างอย่างยั่งยืน 40

อาจารย์ พิ มพ์ ชนก ศรีรัชตระกูล สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

43


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.